The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นวัตกรรมทางสุขภาพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panpilai_suth, 2022-01-27 03:12:31

นวัตกรรมทางสุขภาพ

นวัตกรรมทางสุขภาพ

นวัตกรรมเรื่อง

มหัศจรรย์ถ่วั เขยี วพาเดิน & ถัว่ เขยี วนอ้ ยอโรมา

หลักการและเหตุผล
จากการศกึ ษาพบว่าบุคลากรในโรงเรียนร้อยละ 80 มีปัญหาเกย่ี วกับการปวดเมือ่ ยตามร่างกาย เหน็บ

ชาตามมือตามเทา้ ซง่ึ สาเหตุมาจากทา่ ทางการทางาน ระยะเวลาในการทางาน ความเครยี ด ขาดการออกกาลัง
กาย เป็นต้น ซ่ึงสาเหตุดังกล่าวล้วนแตส่ ่งผลกระทบต่อสุขภาพของบุคลากรในโรงเรียน และเป็นปัจจยั ซ่ึงจะทา
ให้เกิด Office syndrome ดังน้ันสมาชิกในกลุ่มจึงเล็งเห็นปัญหาและความสาคัญในการแก้ไขปัญหา เพื่อลด
อาการปวดเมือ่ ยตามร่างกายของบุคลากรในโรงเรียน โดยการออกแบบนวัตกรรม มหัศจรรย์ถว่ั เขียวพาเดิน &
ถั่วเขียวน้อยอโรมา ซงึ่ นวตั กรรมดังกล่าวสามารถลดอาการปวดเมอ่ื ยตามร่างกายได้
วัตถุประสงค์

1. เพอื่ ลด/บรรเทาอาการปวดเมอื่ ยตามร่างกาย
2. เพือ่ ลด/บรรเทาอาการปวดทอ้ งประจาเดอื น
3. เพื่อลด/บรรเทาอาการชาท่ีเท้า
วิธีดาเนินการ : สารวจปัญหาในโรงเรียนบ้านน้าอ้อมผักกระย่า ตาบลยางโยภาพ อาเภอม่วงสามสิบ จังหวัด
อุบลราชธานี จากน้ันจัดทานวัตกรรมแล้วทดลองใช้กับบุคลากรในโรงเรียนและทาการประเมินผลการใช้
นวัตกรรม
ผลการดาเนินงาน
จากการทดลองใช้นวตั กรรม พบวา่ นวัตกรรมสามารถบรรเทาอาการปวดเมื่อย เท่ากับร้อยละ91.4
ได้รับความพึง่ พอใจจากกลุ่มตัวอยา่ งจานวน 8 คน รอ้ ยละของความพึงพอใจต่ออปุ กรณ์เท่ากับร้อยละ90 มี
ความงา่ ยและความสะดวกในการใช้งานเทา่ กับรอ้ ยละ 97.2

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 48

มหัศจรรยถ์ ั่วเขยี วพาเดิน & ถว่ั เขียวน้อยอโรมา

หลกั การและเหตผุ ล
จากการศึกษาพบว่าบคุ ลากรในโรงเรียนรอ้ ยละ 80 มปี ัญหาเก่ียวกับการปวดเมอื่ ยตามร่างกาย เหน็บ

ชาตามมือตามเท้า ซึ่งสาเหตุมาจากท่าทางการทางาน ระยะเวลาในการทางาน ความเครียด ขาดการออก
กาลังกาย เป็นต้น ซึ่งสาเหตุดังกล่าวล้วนแต่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของบุคลากรในโรงเรียน และเป็นปัจจัย
ซงึ่ จะทาให้เกดิ Office syndrome ดังนั้นสมาชิกในกลุ่มจงึ เลง็ เห็นปัญหาและความสาคัญในการแก้ไข เพ่ือลด
ปญั หาอาการปวดเมื่อยตามร่างกายของบุคลากรในโรงเรยี น โดยการออกแบบนวัตกรรม มหัศจรรย์ถั่วเขียวพา
เดิน & ถั่วเขยี วนอ้ ยอโรมา ซงึ่ นวตั กรรมดังกล่าวสามารถลดอาการปวดเม่ือยตามรา่ งกายได้
วัตถุประสงค์

1. เพอ่ื บรรเทาอาการปวดเมอ่ื ยตามรา่ งกาย
2. เพือ่ บรรเทาอาการปวดทอ้ งประจาเดือน
3. เพื่อบรรเทาอาการชาทีเ่ ท้า
ขั้นตอนการทานวตั กรรม
1. ศกึ ษาปัญหา
2. ประชมุ ปรกึ ษาหารือหรือคิดคน้ นวตั กรรมมาแก้ไขปญั หาทเี่ กดิ ข้ึน
3. ออกแบบนวัตกรรมใหเ้ หมาะสมกบั ปัญหาท่ีพบ
4. ประชมุ และแบ่งหน้าท่รี ับผิดชอบ
5. เตรียมอปุ กรณ์ในการทานวตั กรรม

1) หนั่ ใบเตย,ใบมะกรูด,ผวิ มะกรูด,ตะไคร้หอมและนาไปตากแห้ง

ภาพที่ 1 อุปกรณใ์ นการทานวัตกรรม 49
นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU

2) ตดั ผ้าขาวบางและผ้าฝา้ ยตามรปู แบบของนวตั กรรมท่ีกาหนดไว้และนามาเย็บเปน็ ปลอก
ไดแ้ ก่ ปลอกหมอนรองคอ ปลอกถุงอเนกประสงค์ ปลอกสายรัดเอว ปลอกรองเทา้

ภาพที่ 2 ตดั ผ้าขาวบางและผา้ ฝ้ายตามรปู แบบของนวัตกรรมท่กี าหนด

การใชป้ ระโยชน์

1. นาถวั่ เขียวและสมนุ ไพรทต่ี ากแหง้ มาใส่ในปลอกรปู แบบต่างๆ ทที่ าจากผา้ ขาวบางแล้วเย็บปดิ ให้
สนทิ

2. นาไปอบในไมโครเวฟเพื่อใหเ้ กดิ ความร้อนด้วยอุณหภูมิ 42 องศา ประมาณ 3-4 นาที แลว้ นาไปใส่
ถุงผา้ ฝา้ ยชนั้ นอกท่มี ซี ปิ เยบ็ ปิด

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 50

3. นาไปใชป้ ระคบได้ตามความตอ้ งการ

ภาพท่ี 3 การใชป้ ระโยชนข์ องนวัตกรรม

ผลการศกึ ษา

จากการทดลองใชน้ วตั กรรม พบวา่ นวตั กรรมสามารถ บรรเทาอาการปวดเมื่อยเท่ากบั รอ้ ยละ91.4
ได้รบั ความพงึ่ พอใจจากกลุ่มตัวอยา่ งจานวน 8 คน ร้อยละของความพงึ พอใจตอ่ อปุ กรณ์เท่ากับร้อยละ90 มี
ความงา่ ยและความสะดวกในการใชง้ านเท่ากับรอ้ ยละ97.2

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 51

สรปุ ผลการศกึ ษา
นวัตกรรมนี้เป็นที่พึงพอใจต่อผู้ทดลองใช้เป็นอย่างมาก ท้ังรูปลักษณ์ภายนอกท่ีดูน่าใช้สวยงามและ

คุณสมบัติที่สามารถบรรเทาอาการต่างๆจาการทางานอยู่กับที่และเป็นระยะเวลานานได้ แต่นวัตกรรมมี
ข้อจากัดในเรื่องของไมโครเวฟ ซ่ึงปัญหานี้สามารถแก้ไขได้โดยนานวัตกรรมที่ผ่านการอบความร้อนด้วย
ไมโครเวฟแลว้ นาไปบรรจไุ วใ้ นถงุ เก็บความรอ้ น เพอ่ื สามารถพกพาไปในสถานทตี่ ่างๆได้
เอกสารอา้ งองิ :

https://www.gotoknow.org/posts/263116
203.157.169.5/Eoffice/.../e.../f.../25560705040234no042035file01.doc

สมาชิกในกลมุ่ (Section.03)

1. นางสาวชตุ มิ า ศุภธรี ารักษ์ 56125020111

2. นางสาวเพชรรงุ่ ห่อคา 56125020112

3. นางศิรประภา หล้าสงิ ห์ 56125020134

4. นายภทั รพล วะมะพทุ ธา 56125020151

5. นางสาวกนกวรรณ ประนัดถานัง 56125020201

6. นางสาวมานติ า จนั ทร์ทรง 56125020225

7. นางสาวอรอนงค์ สยุ งั กุล 56125020444

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 52

นวัตกรรมเรอื่ ง

Amazing Bag คลายปวดเมอ่ื ย

หลกั การและเหตุผล
เนื่องจากชุมชนบ้านหนองยาว ตาบลโพนงาม อาเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี เป็นชุมชน

เกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 90 จึงมักพบปัญหาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ เช่นคนท่ีทาสวนมักจะปวด
บริเวณกล้ามเน้ือแขน กล้ามเน้ือขา และกล้ามเนื้อหลัง คิดเป็นร้อยละ 85 ซ่ึงคนส่วนใหญ่จะรักษาโดยการ
รับประทานยาแก้ปวด ซ่ึงการรับประทานยาจะส่งผลเสียต่อตับในระยะยาว เป็นต้น คณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็น
ปัญหาของชุมชนน้ี จึงได้ทานวัตกรรม Amazing Bag คลายปวดเมื่อย เพื่อช่วยบรรเทาอาการปวดเม่ือย
กลา้ มเนื้อ โดยนาเอาคุณสมบัติของถงุ น้ารอ้ นท่ีสามารถเก็บความร้อนได้ดี และกลน่ิ หอมจากสมุนไพรเพอื่ ความ
ผ่อนคลายมาใช้ในการสรา้ งนวัตกรรมสามารถนามาใช้เพอื่ เป็นทางเลอื กอีกทางหน่ึงทล่ี ดอาการปวดเมื่อย และ
ชว่ ยประหยัดคา่ ใช่จ่ายไดโ้ ดยการนาเอาวสั ดอุ ปุ กรณ์ที่มอี ยู่ในท้องถิน่ มาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์

วตั ถปุ ระสงค์
เพื่อชว่ ยบรรเทาอาการปวดเม่ือยกล้ามเนอ้ื และเพ่ือบรรเทาความเครยี ดโดยใช้กลน่ิ สมุนไพร

ผลการทดลอง
จากการนานวัตกรรม Amazing Bag คลายปวดเม่ือย ไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง จานวน 6 คน ที่มี

ปัญหาการปวดเม่ือยกล้ามเน้ือส่วนต่างๆ เช่น ปวดบริเวณกล้ามเน้ือแขน กล้ามเนื้อขา และกล้ามเน้ือหลัง ท่ี
เกิดจากการทางาน พบว่ากลุ่มตัวอย่างท่ีทดลองใช้นวัตกรรมมีอาการปวดเม่ือยลดลงและรู้สึกผ่อนคลาย
ความเครยี ด ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 66.7 และมคี วามพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมทีม่ ีการใช้งานงา่ ยและ
ไม่ซับซ้อน ใช้ได้กับหลายส่วนของรา่ งกาย อย่ใู นระดบั ดีมากทส่ี ุด คดิ เปน็ 100 %

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 53

Amazing Bag คลายปวดเมื่อย

หลักการและเหตุผล
เน่ืองจากชุมชนบ้านหนองยาว ตาบลโพนงาม อาเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี เป็น

ชมุ ชนเกษตรกรรม คดิ เปน็ ร้อยละ 90 จงึ มักพบปญั หาการปวดเมื่อยกล้ามเน้ือส่วนต่างๆ เชน่ คนท่ที าสวนมกั จะ
ปวดบริเวณกล้ามเน้ือแขน กลา้ มเนื้อขา และกล้ามเนื้อหลัง คดิ เป็นรอ้ ยละ 85 ซ่งึ คนส่วนใหญ่จะรกั ษาโดยการ
รับประทานยาแก้ปวด ซ่ึงการรับประทานยาจะส่งผลเสียต่อตับในระยะยาว เป็นต้น คณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็น
ปัญหาของชุมชนน้ี จึงได้ทานวัตกรรม Amazing Bag คลายปวดเมื่อย เพื่อช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อย
กล้ามเน้ือ โดยนาเอาคุณสมบัตขิ องถงุ นา้ รอ้ นท่ีสามารถเก็บความร้อนได้ดี และกล่ินหอมจากสมุนไพรเพื่อความ
ผอ่ นคลายมาใช้ในการสร้างนวัตกรรมสามารถนามาใช้เพื่อเป็นทางเลือกอีกทางหน่ึงท่ีลดอาการปวดเมื่อย และ
ชว่ ยประหยัดค่าใช่จ่ายได้โดยการนาเอาวัสดุอุปกรณ์ท่ีมอี ย่ใู นท้องถิ่นมาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์
วัตถุประสงค์

1. เพื่อชว่ ยบรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเน้ือ
2. เพอ่ื บรรเทาความเครียดโดยใชก้ ล่นิ สมนุ ไพร
ขนั้ ตอนการทานวตั กรรม
1.ขน้ั ตอนการทากระเป๋า
1.1 จดั เตรียมอุปกรณ์ตา่ งๆทีใ่ ชใ้ นการทานวัตกรรม
1.2 นาผา้ มาตัดเปน็ รปู สเี่ หล่ยี มผืนผ้า ขนาดกว้าง 12 เซนติเมตร ยาว 22 เซนติเมตร
1.3 นาผ้าทต่ี ัดไว้แล้วมาเยบ็ ติดกับฟองน้า เพื่อปอ้ งกนั ความรอ้ นไม่ใหส้ ัมผัสผวิ หนังโดยตรง
1.4 นากระเป๋าท้งั สองชิ้นท่ที าไวแ้ ล้วมาเยบ็ ตดิ กนั ให้เป็นชิ้นเดียว
1.5 ตดั ผ้า ขนาดกวา้ ง 4 เซนตเิ มตร ยาว 35 เซนตเิ มตร เพ่ือทาสายกระเป๋าแล้วเยบ็ ติดกันกับฟองน้าเพื่อ

ลดการบาดเจบ็ โดยตรงกับบ่าไหล่
1.6 เรม่ิ ทาการเจาะรงั ดุมทส่ี ายของกระเปา๋ เพ่ือปรบั ระดบั ให้มีความกระชบั ตามความเหมาะสมของสรีระ

ร่างกาย
1.7 ตดิ กระดุมบนกระเปา๋ ท้ังสี่ด้านเพื่อทจี่ ะยดึ สายกระเป๋า
1.8 ทาการเยบ็ ตีนตุ๊กแกบนกระเป๋าเพ่อื ปรับระดบั ตามความเหมาะสมของขนาดช่วงแขน

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 54

1.9 ใส่ซิบดา้ นขา้ งของกระเปา๋ ทัง้ สองด้านเพื่อยึดติดกันเป็นช้ินเดียว เพอ่ื ที่จะสามารถนาแขนเขา้ ไปได้
1.10ใสซ่ ิบด้านบนของกระเป๋าทัง้ สองชน้ิ เพื่อป้องกันถงุ น้ารอ้ นหลดุ ออกจากกระเป๋า

ภาพท่ี 1 ตัดผา้ ฟองนา้ และเยบ็ ตามรปู แบบของนวตั กรรมที่กาหนด

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 55

2.ขั้นตอนการเตรยี มสมุนไพร
2.1 จัดหาสมนุ ไพรโดยคณะผูจ้ ดั ทาเลอื กใชส้ มนุ ไพรอยูส่ องชนดิ คอื ตะไครห้ อม และ ใบมะกรูด

เพราะเป็นสมุนไพรท่ีหาไดง้ ่ายและมีกล่ินหอม
2.2 นาสมุนไพรมาห่ันเป็นชน้ิ เลก็ ๆแลว้ นาไปตากแดดใหแ้ ห้ง
2.3 นาสมุนไพรท่ีแห้งแลว้ มาผสมกนั ในอัตราส่วน 1 ต่อ 1
2.4 นาผ้าขาวบางมาเย็บเพ่ือบรรจสุ มุนไพร
2.5 นาสมุนไพรท่ีบรรจุแลว้ มาใส่ในนวตั กรรม

ภาพท่ี 2 มะกรูด ตะไครห้ อม ทต่ี ากแห้งเสร็จแลว้

ภาพที่ 3 นานวัตกรรมไปทดลองใชใ้ นชุมชน 56
นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU

ผลการศกึ ษา
จากการนานวัตกรรม Amazing Bag คลายปวดเม่ือย ไปทดลองใชก้ ับกลุ่มตัวอยา่ ง จานวน 6 คน ที่มี

ปัญหาการปวดเม่ือยกล้ามเน้ือส่วนต่างๆ เช่น ปวดบริเวณกล้ามเน้ือแขน กล้ามเน้ือขา และกล้ามเน้ือหลัง ท่ี
เกิดจากการทางาน พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ทดลองใช้นวัตกรรมมีอาการปวดเมื่อยลดลงและรู้สึกผ่อนคลาย
ความเครยี ด ในระดับดมี าก คดิ เป็นร้อยละ 66.7 และมีความพึงพอใจในการใช้นวัตกรรมท่มี กี ารใช้งานงา่ ยและ
ไม่ซบั ซ้อน ใชไ้ ด้กบั หลายสว่ นของรา่ งกาย อยใู่ นระดบั ดีมากที่สดุ คิดเป็น 100 %
สรปุ ผลการดาเนนิ การ

จากการนานวัตกรรม Amazing Bag คลายปวดเม่ือย ไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง พบว่ากลุ่ม
ตัวอย่างท่ีทดลองใช้นวัตกรรมมีอาการปวดเมื่อยลดลงและรู้สึกผ่อนคลายความเครียด ในระดับดีมาก คิดเป็น
ร้อยละ 66.7 จากคณะผ้จู ัดทาได้ทดลองวัดอุณหภูมิของกระเปา๋ น้าร้อน ในชว่ ง 1-30 นาที วัดได้ 40-54 องศา
เซลเซียส และสามารถเก็บความร้อนได้นานประมาณ 2 ชั่วโมง ในส่วนของสมุนไพรใช่สมุนไพร 2 ชนิด คือ
ตะไคร้หอม และมะกรูด ซึ่งตะไคร้หอมจะมี Citronella oil น้ามันหอมระเหย ให้กล่ินหอม พร้อมคุณสมบัติ
ในการบาบัดโรค เช่น ช่วยลดไข้ กระตุ้นการย่อยอาหาร และบรรเทาอาการปวดประจาเดือน ส่วนมะกรูด มี
Bergamot oil น้ามนั หอมระเหยจากมะกรูด ให้กล่ิน เปรี้ยวอมหวานทาให้รู้สกึ สดช่ืน ผ่อนคลาย ช่วยบรรเทา
อาการเครียด และนอนไม่หลับจากความเครยี ด

นวัตกรรมนี้เป็นทพ่ี ึงพอใจต่อผทู้ ดลองใชเ้ ป็นอย่างมาก เนอื่ งจากคณุ สมบตั ทิ ี่หลากหลาย ไมว่ า่ จะเป็น
คลายความปวดเม่อื ยและลดความเครียด ใช้งานได้งา่ ยและสามารถพกพาได้สะดวก และใช้ไดห้ ลากหลายส่วน
ของร่างกาย สาหรับข้อเสนอแนะจากการทดลองใช้นวัตกรรม คือ อยากให้เพิ่มความหลากหลายของกล่ิน
สมนุ ไพร
เอกสารอา้ งองิ :

ทมี มาน siamhealth.net.2554.การใชค้ วามร้อนในการรกั ษาโรค.(ออนไลน)์ .แหลง่ ท่ีมา:
http://www.siamhealth.net. 8 มีนาคม 2559.

สมพัฒน์ จารสั โรมรัน.บรรเทาอาการปวดเม่ือย.(ออนไลน์).แหล่งท่ีมา:
http://www.healthtoday.net. 8 มีนาคม 2559.

Yourrelaxs . ความร้อนบาบัด.(ออนไลน)์ .แหลง่ ทีม่ า: https://yourrelaxs.wordpress.com . 8
มีนาคม 2559

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 57

พญ.ศิรนิ าถ ศิริเลิศ อ.พญ.อุษณยี ์ แสนหม่ี.การรักษาภาวะปวดประจาเดือน.(ออนไลน์).
แหลง่ ท่ีมา: http://www.med.cmu.ac.th. 8 มีนาคม 2559.

มูลนธิ เิ พอ่ื การวจิ ัยและพัฒนาระบบยา.2553.ประคบร้อน.(ออนไลน)์ .แหลง่ ที่มา:
http://www.yaandyou.net/content-view.php?conid=553 .8 มีนาคม 2559.

ดร.ประเสริฐ สกลุ ศรปี ระเสรฐิ .2552.รอ้ น เย็น ลดปวด.(ออนไลน์).แหลง่ ท่ีมา:
http://www.pt.mahidol.ac.th . 8 มนี าคม 2559.

การประคบความร้อนเย็น.(ออนไลน)์ .แหลง่ ที่มา: http://student.mahidol.ac.th . 8 มนี าคม
2559

1. นางสาวจิตรา สมาชิกในกล่มุ (Section.02)
2. นางสาวพรรณภา
3. นางสาวมณีรตั น์ ทองไทย รหัสนักศกึ ษา 56125020305
4. นางสาวศริ ิลักษณ์ คัทธมาต รหัสนักศึกษา 56125020321
5. นางสาวสุดารัตน์ พงษแ์ ผนศรี รหัสนักศกึ ษา 56125020324
6. นางสาวอรุโณทยั พรรณนา รหสั นกั ศกึ ษา 56125020335
7. นายจกั รกรชิ ปาวรยี ์ รหัสนักศึกษา 56125020338
8. นายพทิ ยา โอทาตะวงค์ รหสั นักศกึ ษา 56125020345
งอกกาไร รหัสนักศกึ ษา 56125020347
เรียนพมิ พ์ รหสั นกั ศกึ ษา 56125020350

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 58

นวตั กรรมนวตั กรรมนวตั กรรมประเภท ฟื้นฟสู ุขภาพ

ประเภท ฟ้ืนฟสู ุขภาพประเภท ฟนื้ ฟูสุขภาพ

1. เก้าอลี้ ดชา
2. มหศั จรรยแ์ ทน่ ไมใ้ ช้ยืดเอน็
3. Biking for us “มหศั จรรย์ปั่นเพอื่ เรา
4. Orthorapy เก้าอมี้ หัศจรรย์
5. มหัศจรรย์อุปกรณ์สวมใสถ่ งุ เทา้
6. ท่นี อนหลอด อโรมา่ ลดแผลกดทับ
7. เก้าอมี้ หศั จรรย์เพื่อสขุ ภาพ
8. ชวี ิตดี๊ดี เม่ือมีถุงยาง
9. วงล้อบริหารหวั ไหลต่ ดิ
10. พรมหินนวดเทา้

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 59

นวัตกรรมเร่ือง เก้าอ้ีลดชา

หลักการและเหตผุ ล

จากการศึกษาในพนื้ ท่ี หมู่ 3 บ้านกา้ นเหลอื ง ตาบลขามใหญ่ อาเภอเมือง จังหวดั อบุ ลราชธานี พบว่า
มผี ้ปู ว่ ยดว้ ยโรคเบาหวานคดิ เป็นร้อยละ 30 ของหมู่บา้ น แล้วส่งผลให้มีอาการมนึ ชาฝ่ามือฝ่าเทา้ ซง่ึ สว่ น
ใหญ่มักพบในผ้สู ูงอายแุ ละผู้ท่ีปวดเมอื่ ยจากการทางาน

ดังน้ัน นักศึกษาสาขาสาธารณสุขชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร์ จงึ ได้คิดค้นนวตั กรรมเกา้ อลี้ ดชา ท่ี
นาถาดไขไ่ กแ่ ละลูกกลิง้ มาใชใ้ นการปอ้ งกนั สร้างเสริมและฟน้ื ฟสู ขุ ภาพในผปู้ ่วยโรคเบาหวาน เพื่อลดอาการชา
จงึ ได้มีการจดั หาวสั ดเุ หลอื ใช้ประยุกตส์ รา้ งชิ้นงาน โดยใชว้ ิธีการนวดคลึงฝ่ามอื ฝ่าเทา้ ดว้ ยถาดไขแ่ ละลูกกล้งิ
เพอ่ื กระตุ้นการไหลเวียนโลหติ ใหด้ ีขน้ึ และลดอาการชา อาการตะครวิ บริเวณฝา่ มอื และฝา่ เทา้ ได้

วตั ถุประสงค์

1.เพ่ือลดอาการชาฝ่ามือฝา่ เท้าในผูป้ ่วยโรคเบาหวาน

วิธกี ารดาเนินงาน

สารวจปัญหาในบา้ นก้านเหลือง หมู่ 3 ตาบลขามใหญ่ อาเภอเมอื ง จงั หวัดอุบลราชธานี จากน้ันจดั ทา
นวตั กรรมแล้วนาไปทดลองใช้กับผปู้ ่วยโรคเบาหวานและทาการประเมินผลการใชน้ วัตกรรม

ผลการดาเนนิ งาน

จากการทดลองนวตั กรรมเก้าอ้ลี ดชาไปใช้กบั ผปู้ ว่ ยโรคเบาหวาน จานวน 5 ราย พบวา่ หลงั จากการ
ใช้นวัตกรรมเกา้ อีล้ ดชาผปู้ ว่ ยโรคเบาหวาน มคี วามพงึ พอใจในการใชน้ วตั กรรม มีอาการชาฝ่ามือฝ่าเทา้ ลดลง
ร้อยละ 80.39 รองลงมา คือมีการประยุกต์ใชท้ รัพยากรท่ีใช้แล้วนากลบั มาใช้ใหม่ ร้อยละ 68.50 และน้อย
ทส่ี ุด คอื ความรู้ความเขา้ ใจท่ีได้รับในเร่อื งการนวดฝา่ มือฝ่าเท้าโดยใช้ลกู กลิ้งและแผงไข่ ร้อยละ 45.74

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 60

นวตั กรรมเรื่องเกา้ อ้ีลดช้า

หลักการและเหตผุ ล
จากการศึกษาในพ้ืนที่ หมู่ 3 บา้ นก้านเหลือง ตาบลขามใหญ่ อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี พบว่า

มีผ้ปู ว่ ยดว้ ยโรคเบาหวานคดิ เปน็ รอ้ ยละ 30 ของหมู่บ้าน แลว้ ส่งผลใหม้ อี าการมนึ ชาฝา่ มือฝา่ เท้า ซง่ึ ส่วน
ใหญ่มักพบในผู้สูงอายแุ ละผู้ที่ปวดเม่ือยจากการทางาน

ดังนนั้ นกั ศกึ ษาสาขาสาธารณสขุ ชมุ ชน คณะสาธารณสุขศาสตร์ จึงได้คิดค้นนวตั กรรมเกา้ อี้ลดชา ที่
นาถาดไขไ่ ก่และลูกกลิ้งมาใชใ้ นการป้องกนั สร้างเสรมิ และฟ้ืนฟูสุขภาพในผู้ปว่ ยโรคเบาหวาน เพื่อลดอาการชา
จึงไดม้ ีการจดั หาวัสดุเหลือใช้ประยุกตส์ ร้างชิ้นงาน โดยใช้วธิ กี ารนวดคลงึ ฝา่ มอื ฝ่าเท้าด้วยถาดไขแ่ ละลูกกล้ิง
เพ่ือกระตุน้ การไหลเวียนโลหติ ใหด้ ขี ้นึ และลดอาการชา อาการตะครวิ บริเวณฝา่ มือและฝ่าเท้าได้
วัตถุประสงค์

1.เพื่อลดอาการชาฝ่ามือฝ่าเท้าในผูป้ ่วยโรคเบาหวาน
ข้นั ตอนการทานวัตกรรม

1.นาเหล็กมาเชอื่ มให้มลี กั ษณะคล้ายเก้าอี้

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 61

2.นาตาข่ายเหลก็ มาดัดให้พอดีกบั เกา้ อ้ีท่ีทาไวก้ ่อนหนา้ น้ี

3. นาแทง่ เหล็กเชือ่ มต่อกับขาเกา้ อฝ้ี งั่ ขวาด้านหนา้ ใหส้ งู เหนือฐานรองนงั่
ประมาณ 43 ซม. และเชอ่ื มต่อจากขาด้านหน้าของเก้าอีเ้ พ่ือทาเป็นฐานวางเทา้

4. ทาฐานรองมือโดยดัดเหลก็ ให้มลี ักษณะเป็นคร่ึงวงรี และตดั ไม้อัดใหม้ ี
ขนาดเท่ากบั เหล็กท่ีดดั ไว้
แลว้ นำมำเช่ือมติดกนั

5. ยดึ ระหวา่ งฐานรองมือกับเหล็กทเี่ ชอื่ มไวท้ ่ขี าเกา้ อี้
โดยเหลก็ ที่เชือ่ มไว้กอ่ นแล้วนัน้ สามารถหมนุ ได้เพื่อให้
ฐานรองมือหมุนเขา้ – ออกได้

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 62

6.นาเอาหัวลูกกลิง้ โรลออนและก้นขวดทีต่ ดั เอา
เฉพาะก้นที่เป็นปุ่มติดกับฐานรองมือท่ีทาไว้แลว้

7. นาไมอ้ ัดมาตดั ให้มีความกว้างพอดกี ับฐานวางเท้าท่เี ชือ่ มไวแ้ ล้ว
8. นาไมอ้ ัดท่ตี ดั ไวต้ ิดกับแท่งเหลก็ ที่มคี วามยาวเทา่ กนั ทา
เปน็ ฐานวางเทา้ และยดึ ถาดไขท่ าเป็นท่นี วดเทา้

9. นาลกู ปงิ ปองมารอ้ ยกับเชือกแลว้ เอามาวาง
ตามหลมุ ของถาดไข่ให้เตม็

10.พอเสรจ็ ทกุ ขั้นตอนแล้ว ก็นาเก้าอ้ีไปทดสอบกับผปู้ ่วยทเี่ ป็น
โรคเบาหวาน เพือ่ ท่ีจะทดสอบการใชง้ านได้จริงของช้นิ งาน

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 63

ผลการศกึ ษา

จากการทดลองนวตั กรรมเก้าอี้ลดชาไปใช้กบั ผู้ปว่ ยโรคเบาหวาน จานวน 5 ราย พบวา่ หลงั จากการ
ใชน้ วัตกรรมเกา้ อ้ลี ดชาผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีความพึงพอใจในการใชน้ วัตกรรม มีอาการชาฝา่ มอื ฝ่าเท้าลดลง
ร้อยละ 80.39 รองลงมา คอื มีการประยุกต์ใช้ทรัพยากรท่ีใช้แล้วนากลบั มาใชใ้ หม่ ร้อยละ 68.50 และน้อย
ทีส่ ดุ คอื ความรคู้ วามเขา้ ใจที่ไดร้ ับในเร่อื งการนวดฝา่ มือฝ่าเทา้ โดยใชล้ ูกกล้งิ และแผงไข่ ร้อยละ 45.74

สรุปผลการศกึ ษา

จากผลการทดลองใชน้ วัตกรรม พบว่า ผู้ปว่ ยโรคเบาหวาน มอี าการชาบริเวณฝ่ามอื และฝ่าเทา้ ลดลง
ร้อยละ 80.39 และสามารถรักษาอาการชาบรเิ วณฝ่ามือและฝ่าเทา้ จนหายเปน็ ปกติ ร้อยละ 10.67 ทาให้
ผ้ปู ว่ ยใช้ชวี ิตประจาวนั ได้สะดวกข้ึน

จุดเด่นของนวัตกรรม
-นวัตกรรมมคี วามแข็งแรงสามารถรับนา้ หนกั ผู้ป่วยได้มาก
-วัสดแุ ละส่วนประกอบของนวตั กรรมหาไดง้ ่ายในท้องถิ่น
-ประหยดั ค่าใช้จ่าย

จดุ ดอ้ ยของนวตั กรรม
-นวัตกรรมมีนา้ หนักมาก ไมส่ ะดวกต่อการเคลือ่ นย้าย

สงิ่ ท่ีควรปรับปรุง
-เพม่ิ ลอ้ เล่อื นบริเวณขาเกา้ อ้ี พร้อมทีล่ ็อกลอ้ เพือ่ สะดวกต่อการเคล่ือนย้าย

อา้ งอิง : http://www.thaksinaclinic.com
http://www.thaksinaclinic.com/แผงไข่มะกรูดลดอาการชาปลายเทา้ ผสู้ งู อายเุ บาหวาน
สบื คน้ วันที่ 2 มีนาคม 2559

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 64

คณะผู้จดั ทา

1.นางสาวเกษรา ศรสี มทุ ร 56125020502

2.นางสาวขนั ติชากรณ์ ยาดี 56125020503

3.นางสาวเทพธิดา บุตพิ ันดา 56125020513

4.นางสาวณฐั รณิ ีย์ ยอยเงนิ 56125020517

5.นางสาวพัชรารตั น์ เรอื งโสม 56125020521

6.นาสาวสดุ านันท์ นามบตุ ร 56125020537

7.นาสาวสุพัตรา ไชยโยธนิ 56125020539

8.นางสาวเสาวทิพย์ กันยามา 56125020541

9.นางสาวอัญชณา นนั ตะเคน 56125020545

10.นายกฤตานนท์ คาหลา้ 56125020546

Section 03

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 65

นวตั กรรมเร่ือง

มหัศจรรยแ์ ท่นไม้ใช้ยดื เอน็

หลกั การและเหตผุ ล

จากการศกึ ษาพบวา่ ประชาชนบา้ นบงุ่ ไหม ตาบลบุ่งไหม อาเภอวารนิ ชาราบ จังหวดั อุบลราชธานี รอ้ ย
ละ 80 มีปัญหาเกี่ยวกับการปวดเมื่อยตามร่างกาย ปวดคอ ปวดหลัง ปวดสะโพก ปวดขา ปวดข้อเท้าบริเวณ
เส้นเอ็นร้อยหวาย ซึ่งสาเหตุมาจากการทางาน ระยะเวลาในการทางาน ทางานท่ีหนักเกินไป อายุท่ีมากขึ้น
เป็นต้น ซึ่งจากการลงพ้ืนที่ ได้ไปพบ นางบังอร แก้วอุ่นเรือน อายุ 65 ปี มีอาการปวดข้อเท้าบริเวณเส้นเอ็น
ร้อยหวาย เวลาเดินจะร้สู กึ เจบ็ เลก็ น้อย ซง่ึ อาการดงั กล่าวคือ อาการของเส้นเอน็ รอ้ ยหวายท่ยี ดึ และอายุทเ่ี พ่ิม
มากข้ึนยังเป็นสาเหตุของการปวดเส้นเอ็นร้อยหวายอีกด้วย ดังนั้นสมาชิกในกลุ่มจึงเล็งเห็นปัญหาและ
ความสาคัญในการแก้ไขปัญหา จึงได้ทานวัตกรรม มหัศจรรย์แท่นไม้ใช้ยืดเอ็น เพื่อลด/บรรเทาอาการปวดข้อ
เท้าบริเวณเส้นเอ็นร้อยหวาย โดยนาเอาคุณสมบัติของไม้ประดู่ที่มีความแข็งแรงทนทานมาใช้ในการรองรับ
น้าหนัก แล้วนามาสร้างเป็นนวัตกรรม โดยการปรับให้มีระดับความสูง 3 ระดับ เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการ
ยืดเสน้ เอน็ และชว่ ยประหยดั คา่ ใช้จ่ายไดโ้ ดยการนาเอาวัสดุอปุ กรณ์ที่มีอยใู่ นท้องถ่ินมาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์

วตั ถปุ ระสงค์

เพือ่ ลด/บรรเทาอาการปวดข้อเทา้ บรเิ วณเสน้ เอ็นร้อยหวาย

วิธีดาเนินการ : สารวจปัญหาในบ้านบุ่งไหม ตาบลบุ่งไหม อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี จากน้ัน
จดั ทานวัตกรรมแลว้ ทดลองใช้กับ นางบังอร แกว้ อุ่นเรอื น และทาการประเมินผลการใช้นวตั กรรม

ผลการดาเนินงาน

จากการทดลองใช้นวัตกรรม พบว่านวัตกรรม มีความเหมาะสมของขนาด รูปร่าง อุปกรณ์ท่ีนามาใช้ เท่ากับร้อยละ 75
ความเหมาะสมของระยะเวลาที่ใช้ในการยืดเส้นเอ็นเท่ากับร้อยละ 75ความมั่นคงปลอดภัยเท่ากับร้อยละ 100ระดับความชัน
เท่ากบั ร้อยละ100ความรูค้ วามเข้าใจท่ีได้รับในเรื่องการยืดเส้นเอ็นเท่ากับรอ้ ยละ 75การยืดเหยียดและการผ่อนคลายกล้ามเน้ือ
ข้อเท้าเส้นเอ็นร้อยหวายเท่ากับร้อยละ75อาการปวดขอ้ เท้าบริเวณเส้นเอ็นร้อยหวายลดลงเท่ากับร้อยละ 75มีการใช้ทรัพยากร
อย่างคุ้มค่า มีประสิทธิภาพ ไม่ฟุ่มเฟือยมีการประยุกต์ใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นเท่ากับร้อยละ 75ความพึงพอใจโดยรวมที่มีต่อ
นวตั กรรม“มหศั จรรย์แท่นไมใ้ ช้ยืดเอน็ ”เทา่ กับร้อยละ75

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 66

มหศั จรรยแ์ ท่นไมใ้ ชย้ ืดเอ็น

หลักการและเหตผุ ล

จากการศึกษาพบว่าประชาชนบ้านบงุ่ ไหม ตาบลบุ่งไหม อาเภอวารนิ ชาราบ จังหวดั อบุ ลราชธานี รอ้ ย
ละ 80 มีปัญหาเกี่ยวกับการปวดเมอื่ ยตามร่างกาย ปวดคอ ปวดหลัง ปวดสะโพก ปวดขา ปวดข้อเท้าบริเวณ
เส้นเอ็นร้อยหวาย ซึ่งสาเหตุมาจากการทางาน ระยะเวลาในการทางาน ทางานท่ีหนักเกินไป อายุท่ีมากข้ึน
เป็นต้น ซ่ึงจากการลงพื้นที่ ได้ไปพบ นางบังอร แก้วอุ่นเรือน อายุ 65 ปี มีอาการปวดข้อเท้าบริเวณเส้นเอ็น
ร้อยหวาย เวลาเดินจะรสู้ กึ เจ็บเล็กน้อย ซึง่ อาการดงั กล่าวคือ อาการของเส้นเอน็ รอ้ ยหวายทย่ี ึด และอายุทีเ่ พิ่ม
มากขึ้นยังเป็นสาเหตุของการปวดเส้นเอ็นร้อยหวายอีกด้วย ดังน้ันสมาชิกในกลุ่มจึงเล็งเห็นปัญหาและ
ความสาคัญในการแก้ไขปัญหา จึงได้ทานวัตกรรม มหัศจรรย์แท่นไม้ใช้ยืดเอ็น เพ่ือลด/บรรเทาอาการปวดข้อ
เท้าบริเวณเส้นเอ็นร้อยหวาย โดยนาเอาคุณสมบัติของไม้ประดู่ท่ีมีความแข็งแรงทนทานมาใช้ในการรองรับ
น้าหนัก แล้วนามาสร้างเป็นนวัตกรรม โดยการปรับให้มีระดับความสูง 3 ระดับ เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการ
ยดื เสน้ เอน็ และช่วยประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ยได้โดยการนาเอาวสั ดุอุปกรณท์ ี่มีอยใู่ นท้องถิน่ มาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์

วัตถุประสงค์
เพอ่ื ลด/บรรเทาอาการปวดข้อเทา้ บรเิ วณเสน้ เอ็นรอ้ ยหวาย

ขัน้ ตอนการทานวตั กรรม
1. ศึกษาปัญหา
2. ประชุมปรึกษาหารือหรอื คิดค้นนวัตกรรมมาแก้ไขปัญหาทีเ่ กดิ ข้ึน
3. ออกแบบนวัตกรรมใหเ้ หมาะสมกบั ปัญหาท่ีพบ
4. ประชมุ และแบ่งหนา้ ท่รี ับผิดชอบ
5. สรา้ งนวตั กรรม

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 67

ขั้นตอนท่ี 1 เตรียมไม้กระดานใหญ่ 2 แผ่น กว้าง 34 เซนติเมตร ยาว 38 เซนติเมตร แผ่นที่ 1
เชื่อมไม้กระดานเล็กใส่ใต้แผ่น เชื่อมโดยบานพับประตู แผ่นท่ี 2 ทาระดับขั้น โดยการนาเอาไม้ส่ีเหล่ียม ยาว
38 cm กว้าง 1 น้วิ ตอกดว้ ยตะปู ให้เป็น 3 ระดบั

ขั้นตอนที่ 2 เช่ือมแผ่นกระดาน 2 แผ่นเข้าด้วยกันโดยใช้บานพับประตูเป็นตัวเช่ือมจะได้เคร่ือง

บาบัดเส้นเอ็นตามรปู
ขั้นตอนท่ี 3 ใช้พรม กว้าง 34 เซนติเมตร ยาว 38 เซนติเมตร มารองที่เครื่องบาบัด เพ่ือลดการ

เจบ็ ปวดของขอ้ เทา้ ในระหวา่ งการขนึ้ เหยียบโดยใช้ตะปูตอก

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 68

การใชป้ ระโยชน์

1. ชว่ ยบรรเทาอาการปวดขอ้ เทา้ บรเิ วณเสน้ เอ็นรอ้ ยหวาย
2. มหัศจรรย์แท่นไม้ใช้ยืดเอ็นไม่เพียงแต่จะช่วยยืดเส้นเอ็นร้อยหวายเท่านั้น ยังสามารถช่วยบรรเทา
อาการปวดขา ปวดเข่า ปวดน่อง ปวดหลงั ได้ด้วย
3. ปอ้ งกันอัมพฤกษ์ อัมพาตและลดการเป็นตะคริว เหน็บชา เม่ือใช้เป็นประจาจะทาให้อาการปวดเมื่อย
หายไป
4. ช่วยลดความเส่ียงจากการผ่าตดั เน่ืองจากหากเส้นเอ็นยึดเปน็ เวลานานโดยไม่ไดร้ ับการรักษา อาจจะ
ทาให้มพี งั ผดื มาเกาะ และอาจทาใหเ้ กิดอนั ตรายจนถงึ ข้นั ไดร้ บั การผา่ ตดั ได้
5. ลดค่าใชจ้ า่ ยในการรักษาพยาบาล
6. ช่วยใหม้ สี ุขภาพท่ดี ขี ึ้นและสามารถทางาน/ประกอบอาชีพได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ
7. เลือดลมไหลเวียนสะดวก ทาให้สุขภาพแข็งแรงขึ้น กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นจะถูกยืดคลายพร้อมที่จะ
รองรับการทางาน สบายตวั ตลอดท้งั วัน
8. ช่วยใหม้ ีบุคลิกภาพทีด่ ีขึ้น และสาหรบั ผสู้ งู อายุ ช่วยบรรเทาอาการปวด หลัง ขา และช่วยทาให้หลงั ไม่
คอ่ มและเดินสะดวกมากย่ิงข้นึ
ผลการศึกษา

จากการทดลองใช้นวัตกรรม พบว่านวัตกรรม มีความเหมาะสมของขนาด รูปร่าง อุปกรณ์ที่นามาใช้
เท่ากับร้อยละ 75 ความเหมาะสมของระยะเวลาท่ีใช้ในการยดื เส้นเอ็นเท่ากับร้อยละ 75 ความม่ันคงปลอดภัย
เท่ากับร้อยละ 100 ระดบั ความชันเท่ากับร้อยละ 100 ความรู้ความเข้าใจท่ีได้รับในเรื่องการยืดเส้นเอ็นเท่ากับ
ร้อยละ 75 การยืดเหยียดและการผ่อนคลายกล้ามเน้ือข้อเท้าเส้นเอ็นร้อยหวายเท่ากับร้อยละ 75 อาการปวด
ข้อเท้าบริเวณเส้นเอ็นร้อยหวายลดลงเท่ากับร้อยละ 75 มีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มีประสิทธิภาพ ไม่
ฟุ่มเฟือยมีการประยุกต์ใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นเท่ากับร้อยละ 75 ความพึงพอใจโดยรวมท่ีมีต่อนวัตกรรม
“มหศั จรรยแ์ ทน่ ไมใ้ ชย้ ืดเอ็น”เท่ากับร้อยละ 75

สรปุ ผลการศึกษา

จากผลการทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างคือ นางบังอร แก้วอุ่นเรือน อายุ 65 ปี สามารถช่วยบรรเทา
อาการปวดข้อเทา้ บริเวณเส้นเอ็นร้อยหวายได้ และยังสามารถชว่ ยบรรเทาอาการปวดขา ปวดเข่า ปวดน่องได้
ด้วย ข้อควรระวังในการใช้นวัตกรรม คอื ใหเ้ ร่ิมใช้ในระดับทีต่ ่าก่อน เมอื่ เส้นเอ็นรอ้ ยหวายเรมิ่ คลายตัวจงึ เพ่ิม
ระดบั ทสี่ ูงขนึ้ ไมค่ วรใชใ้ นระดบั ที่สูงกอ่ น เพราะจะทาใหเ้ สน้ เอน็ รอ้ ยหวายอกั เสบ และฉีกขาดได้

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 69

เอกสารอา้ งอิง :
ชนศิ า แย้มศิร.ิ 2552.การยืดเส้นเอน็ .(ออนไลน์).เข้าถงึ ไดจ้ าก ; https://www.gotoknow.org.สบื ค้นเมื่อ

วนั ที่ 22 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2559
ชนศิ า แยม้ ศริ .ิ 2552.การรกั ษาดว้ ยไมส้ ามเหลี่ยม.(ออนไลน์).เข้าถงึ ได้จาก ; https://www.gotoknow.org.

สบื ค้นเมื่อวันท่ี 22 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2559
ชนศิ า แยม้ ศริ .ิ 2552.วธิ ียืดเส้นเอน็ ทเี่ ปน็ ปัญหา.(ออนไลน)์ .เข้าถึงได้จาก ; https://www.gotoknow.org.

สืบคน้ เม่ือวันที่ 22 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2559

รายช่อื สมาชิกในกลุ่ม

1.นางสาวกมลรตั น์ สมบุตร 56125020301
2.นางสาวชนกนนั ท์ กรงาม 56125020309
3.นางสาวชลดา พ่วั พนั ธ์ 56125020310
4.นางสาวฐานิตา รปู ใส 56125020311
5.นางสาววนิดา ก้านกิง่ 56125020329
6.นางสาวศศิมาภรณ์ สมสอน 56125020333
7.นางสาวสุวนนั ท์ เสียงเสนาะ 56125020341
8.นางสาวหทยั ชนก มะตนั 56125020342
9.นางสาวอรสธุ ี จนั ทร์สุข 56125020344
Section 02

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 70

นวัตกรรมเรอ่ื ง

Biking for us “มหศั จรรย์ป่นั เพอื่ เรา

หลักการและเหตผุ ล

จากการศึกษาพบว่า มผี ู้ปว่ ยติดเตยี งรอ้ ยละ 20 ของคนในหมบู่ ้านที่มปี ญั หาแขนขาอ่อนแรง และแผล
กดทบั เกิดขึ้น เน่ืองจากมอี าการตาพรา่ มัวทัง้ 2 ขา้ ง และกล้ามเนื้อขาอ่อนแรงทเ่ี กดิ จากการขาดการออกกาลัง
กายซึ่งเป็นสาเหตุมาจากโรคเก๊าท์ ผู้จัดทานวัตกรรมจึงเล็งเห็นปัญหาของผู้ป่วย จึงได้จัดทานวัตกรรม Biking
for us “มหัศจรรย์ปั่นเพื่อเรา”ข้ึนมา นวัตกรรมช้ินนี้ได้พัฒนาเพ่ือเป็นเครื่องออกกาลังกายให้กับผู้ป่วยที่มี
ปัญหานอนติดเตียงทาให้ผู้ป่วยมีความสะดวกสบายต่อการออกกาลังกาย และผู้ป่วยสามารถเคล่ือนย้ายหรือ
ช่วยเหลือตัวเองได้ โดยการใช้นวัตกรรมมหัศจรรย์ปั่นเพื่อเราในการบริหารร่างกายอย่างเหมาะสม
วัตถปุ ระสงค์

1 เพื่อให้ผปู้ ่วยสามารถเคลื่อนย้ายและช่วยเหลอื ตัวเองได้

2 เพ่อื ให้ผปู้ ว่ ยตดิ เตยี ง ลดปัญหาการเกดิ อาการแขนขาอ่อนแรง และการเกิดแผลกดทับ

วิธดี าเนนิ การ

อุปกรณ์

1. เหล็ก 2. รปู ร่างกลมยาว 3. แผ่นเหล็ก

4. อลมู ิเนยี ม 5. น็อต 6. ทปี่ นั่ จักรยาน

1. นาเหล็กแผน่ สเ่ี หลีย่ มผนื ผา้ มาทาเป็นฐาน

2. นาเหล็กอลูมิเนียมมาต่อเป็นโครงโดยมีการเชื่อมเหล็กให้มีรูปทรงคร่ึงส่ีเหล่ียมให้มีขนาดสูงตามขนาดที่วัด

จากผู้ปว่ ย

ผลการดาเนินงาน

จากการศึกษาพบว่าผู้ทดลองใชน้ วัตกรรมนมี้ ีความพึงพอใจในความสวยงามของนวัตกรรม คิดเปน็
ร้อยละ 60 ความแข็งแรงของนวตั กรรม คดิ เปน็ ร้อยละ 80 นวัตกรรมมคี วามสะดวกต่อการใชง้ าน คดิ เปน็ รอ้ ย
ละ 60 นวตั กรรมมปี ระโยชนต์ อ่ สุขภาพ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80 ผ้ปู ่วยมคี วามพอใจในนวัตกรรม คิดเป็นร้อยละ 80

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 71

Biking for us “มหศั จรรย์ปัน่ เพ่ือเรา”

ขั้นตอนการทานวตั กรรม
1. ศกึ ษาปัญหา
2. ประชุมปรึกษาหารือหรอื คิดค้นนวัตกรรมมาแก้ไขปัญหาที่เกดิ ข้ึน
3. ออกแบบนวตั กรรมให้เหมาะสมกบั ปัญหาที่พบ
4. ประชมุ และแบ่งหน้าทีร่ บั ผิดชอบ

ผลการศึกษา

จากการทดลองใชน้ วัตกรรม พบว่านวตั กรรมสามารถลดปัญหาแขนขาอ่อนแรงคิดเป็นร้อยละ 80
ความแขง็ แรงของนวัตกรรม คิดเป็นร้อยละ 80 ความสะดวกตอ่ การใช้งาน คดิ เปน็ ร้อยละ 60 ผู้ปว่ ยในกลมุ่
ทดลองมีความพอใจในนวัตกรรม คิดเปน็ ร้อยละ 80
สรปุ ผลการศกึ ษา

จากการทดลองใช้นวัตกรรมทาใหผ้ ปู้ ว่ ยสามารถเคลื่อนยา้ ยและช่วยเหลอื ตัวเองได้ ลดปัญหาการเกิด
อาการแขนขาอ่อนแรงเนื่องจากนวตั กรรมช้นิ นี้ใช้การบรหิ ารกลา้ มเน้อื แขนและขาโดยการป่ันอยู่กบั ที่ ลักษณะ
ของผปู้ ว่ ยนอนราบอย่บู นเตียง ท่าทางในการป่นั จะคลา้ ยกับการป่นั จักรยาน ทาให้มีการใชก้ าลังมากข้นึ
จดุ เดน่ คือ นวัตกรรมชน้ิ นม้ี ีความแข็งแรงและทนทานต่อการใชง้ านแต่ยังมีข้อจากัดในเร่ืองของการเก็บอปุ กรณ์
และการเคลอื่ นย้ายซึ่งถือวา่ ยังเปน็ ปญั หาและต้องการพัฒนาตอ่ ไป

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 72

สมาชิกในกลุ่ม (Section.03)

นางสาวจริ าภรณ์ อินทรกุ ขา 56125020506
56125020507
นางสาวจุฬารตั น์ นาคสุด 56125020519
56125020522
นางสาวปวีณา มุ่งหมาย 56125020532
56125020542
นางสาวพิชชาพร บุญสงู 56125020544
56125020553
นางสาวศรญั รตั น์ ธานี 56125020556

นางสาวใหม่ กาละจกั ร

นางสาวอรญั ญา ชว่ งโชติ

นางสาวสพุ ตั รา ทองตัน

นางสาวสุวนันท์ ราชตรี

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 73

นวัตกรรมเรอ่ื ง

Orthorapy เก้าอี้มหัศจรรย์

หลักการและเหตผุ ล

จากการลงพื้นที่ระดับหมู่บ้านในหมู่บ้านหนองหล่ม ตาบลเหล่าแดง อาเภอดอนมดแดง จังหวัด
อบุ ลราชธานี พบว่ามีปัญหาโรคกระดูกและข้อที่ไม่ได้เกดิ จากการบาดเจ็บยังพบอยู่เป็นจานวนมาก ซึ่งเป็นโรค
ท่ีเกิดจากการเส่ือมสึกหรอของข้อต่างๆของร่างกายภายหลังการใช้งานเป็นเวลางาน ภาวะข้อเสื่อมตามสภาพ
ร่างกายนั้นจึงเกิดข้ึนกับทุกคนเมื่อมีอายุมากขึ้น แต่จะเป็นปัญหาสาหรับภาวะข้อเส่ือมท่ีทาให้เกิดอาการปวด
เท่าน้ัน โรคข้อเส่ือมเป็นโรคที่พบบ่อยท่ีสุดถึงร้อยละ 40 ของจานวนผู้ป่วยท่ีไปพบแพทย์ด้วยอาการปวดข้อท่ี
อายุ 50 ปีข้ึนไป บางรายพบตง้ั แตอ่ ายุ 30 ปี พบในเพศหญิงมากกวา่ เพศชาย และมอี าการปวดรุนแรงมากกว่า
ในจานวนน้ี พบว่าเป็นอาการของขอ้ เข่าเสื่อมและอักเสบถึงร้อยละ 28.34 เน่ืองจากเป็นข้อท่ีรับนา้ หนกั และใช้
งานมาก และจากการศึกษาภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุหมู่บ้านหนองหล่ม พบว่า ผู้สูงอายุมีอาการปวดข้อเข่า
ในสัดส่วนค่อนข้างสูง คือ ร้อยละ 33.9 ส่วนใหญ่อาการปวดข้อเข่ามีสาเหตุมาจากข้อเข่าเสื่อม ปัญหาปวดข้อ
ทาให้ผู้สูงอายุเกิดความยากลาบากในการเคล่ือนไหว ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุลดลง ผู้สูงอายุเมื่อมี
อาการปวดจะไม่ขยับข้อข้างท่ีปวด ส่งผลให้ไม่ออกกาลังกายหรือบริหารกล้ามเนื้อรอบข้อ ทาให้ระดับความ
รุนแรงของอาการปวดเพิ่มข้ึน หากไม่เคลื่อนไหว ไม่ออกกาลังกายและขาดการบริหารกล้ามเน้ือข้อเข่าอย่าง
สม่าเสมอ อาจส่งผลให้ประสิทธิภาพร่างกายลดลง เกิดภาวะแทรกซอ้ น ความถึงความพิการทจี่ ะตามมาดว้ ย

จากปัญหาดังกล่าวทาให้ผู้วจิ ัยสนใจท่ีจะศกึ ษาและพัฒนาการดูแลผู้ปว่ ยโรคข้อเข่าเสื่อม นักศึกษาจึงได้คิดค้น
นวัตกรรม ท่ีมีชื่อว่า “เก้าอี้บาบัดโรคข้อเข่าเส่ือม” เพ่ือช่วยในการบริหารกล้ามเน้ือต้นแขน กล้ามเน้ือต้นขา
สาหรับผู้ป่วยโรคข้อเข่าเส่ือม ให้มีสุขภาพร่างกายท่ีแข็งแรงข้ึน ให้ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตนเอง ลดอาการ
ปวด ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคต่างๆ ชะลอความเส่ือมของข้อ ป้องกันความพิการและมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน
ต่อไป

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 74

วัตถปุ ระสงค์

1. เพ่ือเพมิ่ สมรรถภาพความแขง็ แรงของผู้ป่วยในด้านการดแู ลเบ้ืองต้นในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเส่ือมในหมู่
หนองหล่ม ตาบลเหลา่ แดง อาเภอดอนมดแดง จงั หวดั อุบลราชธานี

2. เพ่ือลดปัญหากล้ามเน้ืออ่อนแรงในวัยอย่างเข้าสู่วัยสูงอายุจนกระท่ังวัยผู้สูงอายุ ในหมู่บ้านหนอง
หล่ม ตาบลเหลา่ แดง อาเภอดอนมดแดง จงั หวัดอุบลราชธานี

วธิ ีดาเนินการ : ขนั้ ตอนการสรา้ งนวตั กรรม

1.นักศึกษาได้คิดค้นนวัตกรรม ที่มีชื่อว่า “เก้าอ้ีบาบัดโรคข้อเข่าเส่ือม” ออกแบบและสร้างเค้าโครง
นวตั กรรมขนึ้

2.นาแบบโครงร่างเก้าอ้ีไปมายังร้านอลูมิเนียมและโลหะ เพ่ือประกอบโครงสร้างให้เกิดเปน็ นวัตกรรม
ท่ีสมบูรณ์

3.นายางอิลาสติกสองเส้นสาหรับบรหิ ารกลา้ มเนื้อแขนสอดเข้าโครงเหล็กด้านบนดงั ภาพ

4.นายางยืดสาหรับบริหารกล้ามเนอ้ื ขาสอดเขา้ ใตเ้ บาะเก้าอดี้ ้านหน้าดังภาพ

5.ทดสอบคณุ ภาพสิ่งประดิษฐ์และนาสิง่ ประดษิ ฐล์ งพน้ื ท่ี

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 75

ผลการดาเนินงาน

จากการทดลองใช้นวัตกรรม พบว่าผู้ปว่ ยมสี มรรถภาพในการใช้กล้ามเนอ้ื ขาและแขนเพิ่มมากข้ึน โดย
วัดจากการทดสอบกล้ามเน้ือแขนในสัปดาห์แรก พบว่าผู้ป่วยใช้อุปกรณ์ จานวน 49 ครัง้ ต่อนาที และหลังจาก
1 เดือน ผู้ป่วยสามารถใช้อุปกรณ์ จานวน 150 ครั้งต่อนาที และจากการทดสอบกล้ามเน้ือขาในสัปดาห์แรก
พบว่าผู้ป่วยใช้อุปกรณ์ จานวน 45 ครั้งต่อนาที และหลังจาก 1 เดือน ผู้ป่วยสามารถใช้อุปกรณ์ จานวน 145
ครั้งต่อนาที ดังจะเห็นได้ว่าสมรรถภาพของผู้ปวยเพิ่มข้ึนอย่างเห็นได้ชัดเจน ซึ่งเพ่ิมข้ึน 2 เท่า จากผลการ
ทดสอบพบว่ากล้ามเน้ือแขนและขาของผู้ป่วย มีสมรรถภาพดีข้ึนอย่างชัดเจนกล้ามเนื้อผู้ป่วยแข็งแรงขึ้นและ
เคล่อื นไหวแขนขาไดอ้ ยา่ งคล่องตัวขนึ้

สรุปผลการศึกษา

จากผลการดาเนินงานพบว่าสิ่งประดิษฐ์ที่คิดค้นข้ึนสามารถช่วยบาบัดผู้ป่วยโรคข้อเข่าเส่ือมให้มี
สมรรถภาพความแข็งแรง ลดปัญหากล้ามเน้ืออ่อนแรง มีการเคล่ือนไหวที่คล่องตัวข้ึน สามารถช่วยตนเองได้
โดยไม่จาเป็นต้องใช้ไม้เท้าขณะเดนิ สิ่งประดิษฐ์สร้างความพึงพอใจกับผู้ป่วยวัยอย่างเข้าสู่วัยสูงอายุจนกระทั่ง
วยั ผสู้ งู อายุ ในหมบู่ า้ นหนองหลม่ ตาบลเหลา่ แดง อาเภอดอนมดแดง จังหวัดอบุ ลราชธานี

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 76

เอกสารอ้างองิ :

ศนู ย์สมเดจ็ พระสงั ฆราชญาณสงั วรเพ่ือผ้สู งู อายุ จงั หวดั ชลบรุ ี.คมู่ อื การดแู ลตนเองโรคข้อเขา่ เสอ่ื มฉบบั วางแผน
จาหนา่ ยผ้ปู ่ วยสงู อายโุ รคข้อเขา่ เสอ่ื มโดยสหวิชาชีพ.พิมพ์ครัง้ ท1่ี .บริษัท บยี อนด์ พบั ลสิ ซิ่ง จากดั ,2554

รัตนาวลี ภกั ดสี มยั ,พนิษฐา พานชิ าชีวะกลุ .การพฒั นาการดแู ลผ้สู งู อายทุ ม่ี ปี ัญหาข้อเขา่ ของโรงพยาบาล
สง่ เสริมสขุ ภาพตาบลบ้านบาก อาเภอจงั หาร จงั หวดั ร้อยเอด็ .วารสารพยาบาลศาสตร์และสขุ ภาพ.ฉบบั ที่ 4,2554

ศรีวรรณ ปัญติ.คมู่ ือปฏบิ ตั กิ ารตรวจสอบสมรรถภาพทางกายในผ้สู งู อาย.ุ ใน จงจิตน์ รัตนาภินนั ท์ชยั .
ความก้าวหน้าทางกายภาพบาบดั คลนิ กิ เน่ืองในโอกาสฉลอง 25 ปี ภาควิชากายภาพบาบดั คณะเทคนคิ การแพทย์
มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม.่ In Press,2551

สมาชกิ ในกลุ่ม (Section.01)

1. นางสาวจนั ทะณี สังขท์ อง 56125020504

2. นางสาวชนากานต์ ศรีจกั ร 56125020505

3. นางสาวมนทิรา พึง่ ภพ 56125020524

4. นางสาวรจุ ริ า คทั วี 56125020528

5. นางสาววรกมล ศรสี มทุ ร 56125020529

6. นางสาวอรฐนี ี พนั เพช็ ร 56125020543

7. นายพีรพล หวังสวสั ดิ์ 56125020550

8. นางสาวกาญจนา ทองออ่ น 56125020552

9. นางสาวธมลวรรณ อินตะ๊ ราช 56125020555

10. นางสาวเกษร คูณพูล 56125020557

11. นางสาวรัตตยิ ากร บุญเลศิ 56125020558

12. นางสาวอภิญญา โครศรี 56125020560

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 77

นวตั กรรมเร่ือง

มหศั จรรยอ์ ุปกรณ์สวมใสถ่ งุ เท้า

หลกั การและเหตผุ ล

จากการลงพื้นที่สารวจปัญหาในชุมชนต้นแต้ ตาบลวารินชาราบ อาเภอวารินชารา บ จังหวัด
อุบลราชธานี พบว่าประชากรร้อยละ 30 มีปัญหาเกี่ยวกับหลังส่วนล่างทาให้ไม่สามารถก้มตัวได้ ซ่ึงปัญหา
ดงั กล่าวอาจมสี าเหตุมาจาก 1) การเปล่ียนแปลงทางด้านโครงสร้างของรา่ งกายหรือระบบกระดกู 2) อุบัตเิ หตุ
3) โรคอ้วน 4) โรคเก่ียวกับหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท เป็นต้น ดังนั้นนักศึกษาในกลุ่มจึงเล็งเห็นปัญหา
และความสาคัญในการแก้ไขปัญหา เพื่อให้ผู้ที่มีปัญหาสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ โดยเฉพาะในเร่ืองท่ีผู้ป่วย
สามารถสวมใส่ถุงเท้าถอดถุงเท้าเองได้และเพิ่มคุณภาพในการดารงชีวิตของผู้ป่วยโดยการออกแบบนวัตกรรม
“มหศั จรรย์อปุ กรณส์ วมใส่ถุงเทา้ ”

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพอื่ ชว่ ยใหผ้ ู้ปว่ ยสามารถสวมถงุ เท้าและถอดถุงเท้าได้เองโดยไมต่ ้องก้มงอตวั
2. เพอ่ื ชว่ ยลดปญั หาทางสุขภาพกายและสภาพจิตใจของผปู้ ว่ ย

วิธีดาเนินการ : ลงพ้ืนที่สารวจปัญหาในชุมชนต้นแต้ ตาบลวารินชาราบ อาเภอวารินชาราบ จังหวัด

อบุ ลราชธานี และประชุมกลุ่มจากนน้ั จัดทานวัตกรรมข้ึนแล้วนานวัตกรรมไปทดลองใชก้ ับผู้ท่ีมีปัญหาเกย่ี วกับ
หลังส่วนลา่ งทไี่ ม่สามารถก้มตวั ได้ ประเมินและสรปุ ผล

ผลการดาเนินงาน

จากการนานวัตกรรมมหัศจรรยอ์ ุปกรณ์สวมใส่ถุงเท้าไปทดลองใช้กับผู้ที่มีปญั หาเก่ียวกับหลังส่วนล่าง
ที่ไม่สามารถก้มงอตัวได้ในชุมชนต้นแต้ ตาบลวารินชาราบ อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี พบว่า
กลุ่มตัวอย่างสามารถช่วยเหลือตัวเองจากการใส่ถงุ เท้าและถอดถุงเทา้ ได้ด้วยตนเอง ซง่ึ ระดับความพึงพอใจต่อ
นวตั กรรมในระดับดมี ากคิดเป็นรอ้ ยละ 66.7 ความพงึ พอใจต่อนวัตกรรมในระดบั ดีคิดเป็นรอ้ ยละ 33.3

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 78

มหัศจรรย์อุปกรณ์สวมใส่ถุงเทา้

หลักการและเหตุผล
จากการลงพ้ืนท่ีสารวจปัญหาในชุมชนต้นแต้ ตาบลวารินชาราบ อาเภอวารินชารา บ จังหวัด

อุบลราชธานี พบว่า ประชากรร้อยละ 30 มีปัญหาเก่ียวกับหลังส่วนล่างทาให้ไม่สามารถก้มตัวได้ ซ่ึงปัญหา
ดังกลา่ วอาจมีสาเหตุมาจาก 1) การเปลี่ยนแปลงทางด้านโครงสร้างของร่างกายหรือระบบกระดูก 2) อุบัติเหตุ
3) โรคอว้ น 4) โรคเกี่ยวกบั หมอนรองกระดกู ทับเสน้ ประสาท เป็นตน้ ดังนัน้ นกั ศึกษาในกลุ่มจึงเลง็ เหน็ ปัญหา
และความสาคัญในการแก้ไขปัญหา เพ่ือให้ผู้ท่ีมีปัญหาสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ โดยเฉพาะในเรื่องที่ผู้ป่วย
สามารถสวมใส่ถุงเท้าถอดถุงเท้าเองได้และเพ่ิมคุณภาพในการดารงชีวิตของผู้ป่วยโดยการออกแบบนวัตกรรม
“มหศั จรรยอ์ ุปกรณส์ วมใส่ถงุ เท้า”
วัตถุประสงค์

1. เพือ่ ช่วยใหผ้ ปู้ ่วยสามารถสวมถุงเทา้ และถอดถุงเทา้ ไดเ้ องโดยไมต่ ้องก้มงอตวั
2. เพอ่ื ช่วยลดปญั หาทางสขุ ภาพกายและสภาพจิตใจของผปู้ ว่ ย

ขั้นตอนการทานวัตกรรม
1. ศกึ ษาปญั หาและประชุมกลุม่ ชว่ ยกนั คิดคน้ นวัตกรรม
2. ออกแบบและจัดทานวตั กรรมเพ่ือนาไปทดลองใช้
3. เตรียมอปุ กรณใ์ นการทานวัตกรรม
1) วัดทอ่ PVC ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง 11 ซม. ยาว 32 ซม. แผ่นไม้ กว้าง 35 ซม. ยาว 40

ซม. หนา 1.5 ซม. และตดั อปุ กรณ์ นากระดาษทรายมาขดั ไม้ ใหเ้ นยี นเพอื่ ลบรอย

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 79

ภาพท่ี 1 อปุ กรณ์ในการทานวัตกรรม

2) วดั ขนาดบริเวณที่จะเจาะรู ใชส้ วา่ นเจาะแผ่นไมเ้ พื่อใช้ยดึ ติดกบั ฐาน นาอปุ กรณม์ าประกอบ

โดยใช้สว่านเจาะท่อPVC เพื่อจะประกอบใส่กับไม้ ใช้น็อตเกลียวในการยึดติดอุปกรณ์ ส่วนไม้ที่ใช้จับ จะนา
สนบั แขง้ มายดึ ตดิ กบั ดา้ มไม้ไผ่ โดยใช้นอ็ ตเกลียว

ภาพท่ี 2 ประกอบอุปกรณต์ ามรปู แบบของนวตั กรรมทีเ่ รากาหนด

3) ใช้น้ามันแลคเกอร์ทาไม้และด้ามจับให้เรียบร้อย ปล่อยท้ิงไว้ให้แห้งและทาอีก 1 รอบ ทาต่อด้วย
น้ามนั เคลอื บแขง็ พ้ืนไม้ นาท่อมาติดกบั แผน่ ไมเ้ พ่อื ใชเ้ ก็บในสว่ นของดา้ มจับ ตกแต่งใหส้ วยงามก่อนนาไปใช้

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 80

ภาพที่ 3 ทาสีและตกแต่งอปุ กรณข์ องนวตั กรรม

การใช้ประโยชน์

1. หยบิ จับอุปกรณ์ขึ้นมาวางไวบ้ นหน้าตกั โดยใช้ไม้ถอดถุงเทา้ มาเกาะกบั ตะขอ นาถุงเท้ามาสวมใสท่ ี่
อปุ กรณ์

2. ใช้ดา้ มจับเก่ยี วตะขอท่อี ยู่บนฐาน แล้ววางอปุ กรณส์ วมถงุ เท้าลงพน้ื จากน้นั สอดเทา้ เข้าไปในถุงเท้า
โดยการเหยยี ดขาใหส้ ุด และใชเ้ ท้าอีกขา้ งหนึ่งเหยียบฐานเอาไว้ ทาแบบนท้ี ั้งสองข้าง

3. วธิ กี ารใชไ้ ม้ถอดถุงเทา้ สอดไม้ที่บรเิ วณส้นเทา้ เพอ่ื ทาการถอดถุงเท้า

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 81

ภาพท่ี 3 การใชป้ ระโยชน์ของนวัตกรรม

ผลการศึกษา
จากการนานวตั กรรมมหัศจรรยอ์ ุปกรณ์สวมใส่ถุงเท้าไปทดลองใช้กับผ้ทู ่ีมีปัญหาเก่ียวกับหลังส่วนล่าง

ท่ีไม่สามารถก้มงอตัวได้ในชุมชนต้นแต้ ตาบลวารินชาราบ อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี พบว่า
กลุ่มตัวอย่างสามารถช่วยเหลือตัวเองจากการใส่ถุงเทา้ และถอดถงุ เท้าได้ด้วยตนเอง ซง่ึ ระดับความพึงพอใจต่อ
นวตั กรรมในระดบั ดมี ากคดิ เปน็ ร้อยละ 66.7 ความพงึ พอใจต่อนวตั กรรมในระดบั ดีคิดเปน็ รอ้ ยละ 33.3

สรุปผลการศกึ ษา
หลังจากการทดลองใช้นวัตกรรมมหัศจรรย์อุปกรณ์สวมใส่ถุงเท้า พบว่าโดยส่วนใหญ่ผู้ป่วยช่ืนชอบ

นวัตกรรมช้ินน้ี เนือ่ งจากมีความสะดวกในการสวมใส่ และช่วยแก้ปัญหาในผทู้ ่ีมีปญั หาในเรื่องการงอตัวยาก ผู้
ที่เคล่ือนไหวลาบาก และผู้สูงอายุ ที่มีความจาเป็นต้องสวมใส่ถุงเท้า ท้ังนี้ผู้ป่วยยังสามารถสวมใส่ถุงเท้าและ
ถอดถงุ เท้าได้ด้วยตนเอง และมีความปลอดภัยไมส่ ง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ พกพาสะดวก

เอกสารอา้ งอิง :

https://www.facebook.com/%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A
3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%8A%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%AA
%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%96%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%
E0%B9%89%E0%B8%B2-172948256414561/ สบื ค้นข้อมูลเมอื่ วนั ที่ 16 เมษายน 2559

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 82

สมาชิกในกลุ่ม (Section.01)

1.นางสาวเจนจิรา ชงิ ชยั รหสั นกั ศึกษา 56125020108
2.นางสาวพชิ ญาวี
3.นางสาวสุดารตั น์ ลาวรรณา รหัสนักศกึ ษา 56125020123
4.นางสาวจิรญั ญา
5.นายศกั ด์สิ ิทธ์ิ กาละบุตร รหสั นักศึกษา 56125020138
6.นายกติ ตศิ ักดิ์
7.นางสาวมะลวิ ลั ย์ บุญอมุ้ รหสั นักศึกษา 56125020155
8.นางสาวสุธาสินี
9.นางสาวอรญั ญา วามะลนุ รหสั นักศกึ ษา 56125020152
10.นางสาวอญั ญาพร
กนิ รี รหัสนกั ศึกษา 56125020147

คาบุญเหลือ รหสั นกั ศกึ ษา 56125020125

แรกเรียง รหสั นักศกึ ษา 56125020139

มณพี นั ธ์ รหัสนกั ศึกษา 56125020145

ทานให้ รหสั นกั ศึกษา 56125020157

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 83

นวตั กรรมเรอื่ ง

ท่นี อนหลอด อโรมา่ ลดแผลกดทบั

หลักการและเหตุผล

จากการสารวจชุมชนบ้านยางลุ่ม ตาบลไร่น้อย อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี พบวา่ มผี ู้ป่วยติดเตียงเปน็ ผู้สงู อายุ
เน่ืองจากผูป้ ว่ ยไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองไดท้ าให้การเคลื่อนไหวรา่ งกายลาบากการนอนตดิ เตยี งเปน็ เวลานานทาให้เน้ือบรเิ วณ
ท่ีมีการกดทับเกิดเป็นแผลข้ึนเน่ืองจากผิวหนังขาดเลือดไปเล้ียงจึงทาให้เกิดแผลกดทับ การศึกษาข้อมูลในการดูแลผู้ป่วยเพ่ือ
ปอ้ งกันและลดการเกิดแผลกดทับ คือการใช้ทีน่ อนลม เนื่องจากสามารถถ่ายเทน้าหนักและถ่ายเทอากาศไดด้ ี ช่วยลดแรงกดทับ
แต่ที่นอนลมมีข้อจากัดคือมรี าคาแพงทาให้ครอบครัวผู้ป่วยไม่สามารถจัดหาซื้อได้ ดังน้ันสมาชิกในกลุ่มจงึ เล็งเห็นปัญหาและ
ความสาคัญในการแกไ้ ขปญั หาเพ่อื ลดแผลกดทับของผู้ป่วยตดิ เตียงจงึ ได้จัดทานวัตกรรม “ ทีน่ อนหลอดอโรม่าลดแผลกดทบั ”
เพื่อป้องกันและลดการเกิดแผลกดทับขึ้น โดยมีแนวคิดที่จะประยุกต์นวัตกรรมดังกล่าวทดแทนที่นอนลมจากวัสดุท่ีสามารถ
หาไดง้ า่ ย

วัตถปุ ระสงค์

เพอื่ ลดปญั หาแผลกดทับของผ้ปู ่วยตดิ เตียง

วิธีดาเนินการ : สารวจปัญหาในชุมชนบ้านยางลุ่ม ตาบลไร่น้อย อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี จากน้ัน
จัดทานวตั กรรมแลว้ ทดลองใช้กบั ผูป้ ่วยติดเตยี งในชุมชนและทาการประเมินผลการใช้นวัตกรรม

ผลการดาเนินงาน

จากการทดลองใช้นวัตกรรม พบว่าหลอดกาแฟและเม็ดโฟมมีคุณสมบัติช่วยในการลดแผลกดทับจากเดิมท่ีมีอยู่ให้ดี
ขึ้นและความหอมของกลนิ่ อโรม่าช่วยใหผ้ ู้ปว่ ยมคี วามเครียดลดลงจากการประเมนิ แบบสอบถามและการวัดขนาดของแผลกอ่ นใช้
นวตั กรรมซึ่งมี ลกั ษณะของแผลแผลบรเิ วณต้นขาที่มีการสูญเสียผวิ หนงั ถงึ ช้นั dermis สามารถวัดขนาดกว้าง 5ซม. ยาว 5 ซม.
ลึก 1 ซม. ได้ โดยที่พื้นแผลมีลักษณะอักเสบ บวม แดงและมีหนอง หลังใช้ มีลักษณะแห้งสนิทแต่ยังคงท้ิงรอยแผลเป็นสีดาไว้
นวตั กรรมช่วยในการลดแผลกดทับจากเดิมท่ีมีอยใู่ ห้ดีข้ึน เท่ากบั ร้อยละ 95 ไดร้ ับความพ่ึงพอใจจากผปู้ ่วย รอ้ ยละของความพึง
พอใจต่อนวัตกรรม เท่ากับร้อยละ 90การลดความปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ เท่ากับร้อยละ 40ความหอมของกลิ่นอโรม่าและ
ความเครยี ดลดลงเท่ากับร้อยละ80

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 84

ทนี่ อนหลอด อโรมา่ ลดแผลกดทบั

หลกั การและเหตุผล

จากการสารวจชุมชนบ้านยางลุ่ม ตาบลไร่น้อย อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี พบว่ามีผู้ป่วยติด
เตียงเปน็ ผูส้ ูงอายุ เน่อื งจากผปู้ ่วยไม่สามารถช่วยเหลอื ตวั เองได้ทาให้การเคลื่อนไหวร่างกายลาบากการนอนติด
เตียงเป็นเวลานานทาให้เนอ้ื บริเวณที่มกี ารกดทับเกิดเป็นแผลข้นึ เนือ่ งจากผวิ หนังขาดเลือดไปเลี้ยงจงึ ทาให้เกิด
แผลกดทับ การศึกษาข้อมูลในการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันและลดการเกิดแผลกดทับ คือการใช้ที่นอนลม
เนือ่ งจากสามารถถ่ายเทน้าหนกั และถ่ายเทอากาศไดด้ ี ช่วยลดแรงกดทับ แต่ทน่ี อนลมมีข้อจากัดคอื มีราคาแพง
ทาให้ครอบครัวผปู้ ว่ ยไมส่ ามารถจดั หาซื้อได้ ดงั นน้ั สมาชกิ ในกลุ่มจึงเลง็ เหน็ ปัญหาและความสาคัญในการแก้ไข
ปัญหาเพ่ือลดแผลกดทับของผู้ป่วยติดเตียงจึงได้จัดทานวัตกรรม “ ที่นอนหลอดอโรม่า ลดแผลกดทับ ” เพ่ือ
ปอ้ งกันและลดการเกิดแผลกดทับขึ้น โดยมีแนวคดิ ท่ีจะประยุกต์นวัตกรรมดังกล่าวทดแทนที่นอนลมจากวัสดุท่ี
สามารถหาไดง้ ่าย

วัตถปุ ระสงค์

เพ่ือลดปัญหาแผลกดทบั ของผปู้ ว่ ยติดเตียง

ขน้ั ตอนการทานวัตกรรม

1. ศึกษาปญั หา

2. ประชุมปรึกษาหารือหรอื คิดคน้ นวัตกรรมมาแก้ไขปัญหาที่เกิดขน้ึ

3. ออกแบบนวัตกรรมใหเ้ หมาะสมกบั ปัญหาที่พบ

4. ประชมุ และแบ่งหนา้ ที่รบั ผิดชอบ

5. เตรยี มอุปกรณใ์ นการทานวตั กรรม

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 85

ข้นั ตอนสร้างนวตั กรรม
1) นาหลอดกาแฟมาตัดเป็นช้ินเล็กๆ ประมาณ 1 เซนติเมตร ผสมกับกับเม็ดโฟม อัตราส่วน 6:4 เพราะ

หลอดกาแฟมีความคงทน และเมด็ โฟมมคี วามยืดหยนุ่ นามาผสมกันทาใหท้ ่ีนอนไมแ่ ข็งหรือนุม่ จนเกินไป

ภาพท่ี 1 หลอดกาแฟและเม็ดโฟมทีผ่ สมกนั แลว้
2) ทาผืนท่ีนอนขนาด 100 x 350 เซนติเมตร นามาเย็บติดกันท้ังสองด้านและเย็บทางด้านกว้าง 35 ช่อง

ชอ่ งขนาด 10 เซนตเิ มตร และเหลอื ชอ่ งไว้ยดั หลอดกาแฟทต่ี ดั แลว้ และเม็ดโฟม

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 86

ภาพที่ 2 ขนาดของทน่ี อนหลอด อโรมา่ ลดแผลกดทับ
3) นาหลอดกาแฟที่ตดั แล้วและเม็ดโฟม ยัดเข้าที่นอนแต่ละช่องให้เต็มช่องยัดใหแ้ น่นไม่ให้มีช่องวา่ งโดยเร่ิม

จากชอ่ งแรกถงึ สุดทา้ ยใหค้ รอบทุกช่อง

ภาพท่ี 3 การยดั เมด็ โฟมและหลอดท่ีผสมกันเข้าไปในผ้าทเ่ี ยบ็ เตรียมไว้
4) เย็บติดขอบด้วยดา้ ยใหแ้ น่น

ภาพที่ 4 เยบ็ ทน่ี อนใหต้ ดิ กัน 87
นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU

5) ใส่ปลอกท่ีนอนและนาถุงหอมกลิ่นลาเวนเดอร์ ใส่ในปลอกท่ีนอนด้านข้าง รุดซิบ และนาไปให้ผู้ป่วย
ทดลอง

ภาพที่ 5 ใส่กล่นิ ลาเวนเดอร์ลงในทน่ี อนหลอด อโรมา่ ลดแผลกดทับ

การใช้ประโยชน์

1) นาทน่ี อนที่ทาสาเรจ็ แลว้ มาใส่กลิ่นอโรมา่ ตามท่ีต้องการ
2) นาไปทดลองใช้กับผู้ป่วยติดเตียง

ภาพท่ี 6 การใชป้ ระโยชน์ของนวัตกรรม 88
นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU

ผลการศึกษา

จากการทดลองใช้นวัตกรรม พบว่าหลอดกาแฟและเม็ดโฟมมีคุณสมบัติช่วยในการลดแผลกดทับจาก
เดมิ ที่มีอยู่ให้ดขี ึ้นและความหอมของกล่นิ อโรม่าชว่ ยให้ผู้ป่วยมคี วามเครียดลดลงจากการประเมนิ แบบสอบถาม
และการวัดขนาดของแผลกอ่ นใช้นวัตกรรมซ่ึงมี ลกั ษณะของแผลแผลบริเวณตน้ ขาท่ีมีการสญู เสยี ผิวหนงั ถึงชั้น
dermis สามารถวดั ขนาด กวา้ ง 5 ซม. ยาว 5 ซม. ลกึ 1 ซม. ได้ โดยท่ีพื้นแผลมีลกั ษณะอักเสบ บวม แดงและ
มีหนอง หลังใช้ มลี ักษณะแห้งสนิทแต่ยังคงท้งิ รอยแผลเปน็ สีดาไว้ นวตั กรรมช่วยในการลดแผลกดทับจากเดิม
ทีม่ ีอยู่ให้ดีข้ึน เท่ากบั ร้อยละ 95 ได้รบั ความพงึ่ พอใจจากผูป้ ่วย รอ้ ยละของความพึงพอใจตอ่ นวัตกรรม เท่ากับ
ร้อยละ 90 การลดความปวดเม่ือยกล้ามเน้ือ เท่ากับร้อยละ 40 ความหอมของกลิ่นอโรม่าและความเครียด
ลดลง เทา่ กบั ร้อยละ 80

สรปุ ผลการศกึ ษา

นวัตกรรมน้ีเป็นท่ีพึงพอใจต่อผู้ป่วยติดเตียงท่ีทดลองใช้เป็นอย่างมาก ท้ังมีกล่ินหอมและคุณสมบัติท่ี
สามารถช่วยในการลดแผลกดทับจากเดิมท่ีมีอยู่ให้ดีขึ้น แต่นวัตกรรมมีข้อจากัดในเรื่องการลดความปวดเม่ือย
กล้ามเนื้อ ดังนั้น การที่จะทาท่ีนอนเพ่ือลดการปวดเมื่อยกล้ามเน้ือ ควรเพ่ิมปริมาณเม็ดโฟมเพราะสามารถทา
ให้ ท่ีนอนหลอดอโรม่าลดแผลกดทับ มีความนุ่มมีน้าหนักเบามีความยืดหยุ่นกันแรงกระแทกและเม็ดโฟมรอง
รบั น้าหนกั ไดด้ ี

เอกสารอ้างองิ

การเกิดแผลกดทับและการดูแลรักษา.สบื คน้ เมื่อ 13 มนี าคม 2559, จาก
www.memoryfoamthai.com

ประโยชนล์ าเวนเดอร์.สืบค้นเมอ่ื 13 มีนาคม 2559, จาก www.health.kapook.com/view96930
html.

โฟม EPS.สบื คน้ เมอ่ื 13 มนี าคม 2559, จาก www.insufoam.co.th
รวี วิ วิธีทาหมอนหลอดเพื่อสุขภาพแก้ปวดคอ ไมม่ ไี รฝุน่ .สืบค้นเม่อื 13 มีนาคม 2559, จาก
www.gobank.com/290
10 วิธดี แู ลผูป้ ว่ ยแผลกดทับ. สบื คน้ เม่อื 13 มนี าคม 2559, จาก www.cheewajit.com

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 89

สมาชกิ ในกลุ่ม (Section.02)

1. นางสาวแคทลิยา วงษจ์ ันทร์ รหัส 56125020304
2. นางสาวเจนจิรา วงศ์ขนั รหสั 56125020308
3. นางสาวนนั ท์นภสั หิปะนัต รหสั 56125020316
4. นางสาวนิรบุ ล นนั ทะพันธ์ รหสั 56125020317
5. นางสาวปลายฝน อ่นุ ทวง รหสั 56125020319
6. นางสาวพชั รี โยธี รหัส 56125020322
7. นางสาวรัตนพร ยวนใจ รหสั 56125020327
8. นางสาวรุ่งทวิ า เหรยี ญทอง รหสั 56125020328
9. นางสาวไอรดา ประยงค์หอม รหัส 56125020346
10. นางสาวมลฤดี พเิ คราะห์ รหัส 56125020355
11. นางสาววรนชุ พรมดาว รหัส 56125020356

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 90

นวตั กรรมเรอื่ ง

เกา้ อ้มี หศั จรรยเ์ พอ่ื สุขภาพ

หลักการและเหตุผล
จากการลงพ้ืนที่ชุมชนบ้านกดุ ซวย ต.คาพระ อ.หัวตะพาน จ.อานาจเจรญิ พบวา่ ผู้ป่วยประกอบอาชีพ

เกษตรกรรมท่ีพบปัญหาเก่ียวกับโรคกระดูกและกล้ามเน้ือ ซ่ึงเป็นภาวะผิดปกติของกระดูกและกล้ามเนื้อท่ีทา
ให้ข้อแขนติด ปวดแขน มือส่ัน โดยมีสาเหตุมาจากท่าทางซ้า ๆ และท่าทางท่ีฝืนธรรมชาติ รวมท้ังจากการ
ทางานเป็นสาเหตุหนึ่งที่เพิ่มความเสย่ี งต่อการเกดิ โรคกระดูกและกลา้ มเนื้อ สง่ ผลให้อวัยวะสว่ นนั้นใช้งานได้ไม่
เต็มท่ีซึ่งโดยท่ัวไปกระดูกและกล้ามเน้ือเป็นอวัยวะที่สาคัญสาหรับใช้ในการเคลื่อนไหวร่างกาย เป็น
แหล่งกาเนิดของแรง (force) ที่จะทาให้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเกิดการเคลื่อนไหว แรงท่ีเกิดจากการหดตัว
ของกล้ามเน้ือจะดึงกระดูกที่ยึดให้เคล่ือนไหว ซ่ึงทาให้ร่างกายเกิดการเคล่ือนไหวตามไปด้วย ดังน้ันการดูแล
รักษาให้กระดูกและกล้ามเน้ืออยู่ในสภาพท่ีพร้อมใช้งานได้อย่างเต็มท่ีก็จะทาให้ร่างกายสามารถเคล่ือนไหวได้
อย่างคลอ่ งแคลว่ ข้ึน

จากเหตผุ ลดังกลา่ วคณะผจู้ ัดทาไดต้ ระหนกั ถงึ ความสาคัญของการแก้ไขขอ้ แขนติด ปวดแขน มอื สน่ั
โดยการนานวัตกรรมมาใช้ท่ีจะเป็นตวั ช่วยใหผ้ ้ปู ว่ ยได้บริหารกระดูกและกล้ามเนอ้ื อย่างสม่าเสมอและต่อเน่อื ง
เพ่อื ลดปญั หาข้อแขนติด ปวดแขน และมอื สัน่ ใหก้ บั ผปู้ ว่ ย

วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่อื ใหผ้ ู้ปว่ ยได้บริหารกลา้ มเนอื้ แขน ลดปัญหาขอ้ แขนตดิ อาการปวดแขนและมอื ส่ันได้

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 91

ข้ันตอนการทานวัตกรรม
1.นาเก้าอสี้ าเร็จมาใช้ (โดยความยาวของเก้าอวี้ ัดจากความยาวของสะโพกถึงหัวเข่า)

2.นาไมไ้ ผ่ 2 ท่อน ท่ีมคี วามยาว 1 เมตร 90 เซนตเิ มตร มาเชื่อมเข้ากับขาเก้าอ้ีดา้ นหลงั จากด้านล่างขนึ้ มา
(โดยวัดจากสดั ส่วนรา่ งกายของผปู้ ่วยเวลานง่ั เบนเก้าอ้ี)

คาน

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 92

3.วธิ กี ารทาคาน นาไมไ้ ผ่ 2 ท่อนท่มี ีขนาด 70 เซนติเมตร มาเชื่อมกบั ไม้ไผท่ ่ีต่อกับเกา้ อ้ีไปทางดา้ นหน้า (โดยมี
ความยาวเท่ากบั แขนของเกา้ อ)้ี

ไม้ยดึ คาน

4.นาไม้ไผ่อกี ครง่ึ ท่อนขนาด 70 เซนตเิ มตร 2 อัน มายึดกับคานท้ัง 2 ข้าง เพื่อไมใ่ ห้คานโยก

ไม้ยึดมุมฉากคาน

5.นาไมไ้ ผ่ครึ่งท่อน ขนาด 50 เซนติเมตร 2 อัน มายดึ กบั มมุ ฉากของคานทง้ั 2 ขา้ ง เพื่อค้าคานไมใ่ หห้ กั ลงมา

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 93

6.ถักยาง ขนาด 16 ข้อ ข้อละ 7 เส้น แลว้ นามาตอ่ กนั (โดยวัดจากสดั ส่วนของรา่ งกายเวลาน่ังบนเกา้ อ้ี)

ดา้ มจับด้านบน
7.นาไมย้ ูคา ขนาด 14 เซนติเมตร 2 ทอ่ น มาสอดใส่กับยางทถี่ กั ไว้ เพ่อื ใช้จบั (โดยความยาววัดจากความ
กว้างของฝ่ามือ)
สว่ นท่ีนายางยึดกับคาน

8.นายางทถ่ี ักเสรจ็ แลว้ มายึดเข้ากบั คานทงั้ 2 ขา้ ง (โดยใช้สมรรถภาพความแขง็ แรงของกล้ามเนอ้ื ผปู้ ่วย)

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 94

9.ทาแขนเกา้ อ้ีใหม่ นาไมห้ น้า 3 ขนาดความยาว60 เซนติเมตร หนา 1 น้ิว 2 แผน่ แลว้ วดั ขนาดทีจ่ ะเจาะรูทง้ั
ดา้ นหัวและด้านท้ายของไม้ ทั้ง 2 แผน่ เพ่อื ทาแขนเกา้ อใ้ี หม่ (โดยความกว้างแขนเก้าอ้ีวัดจากความกวา้ งของ
แขนผู้ป่วย)

10.เจาะรูของไม้จากทว่ี ดั ขนาดเสร็จ

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 95

11.นาไม้ยูคา 2 ทอ่ น ขนาด 14 เซนตเิ มตร มาลอกเปลือกออกเพื่อทาเปน็ ที่จบั ตรงปลายแขนเกา้ อี้ที่ทาขึ้นใหม่
(โดยวัดจากขนาดของมอื เวลาจบั )

12.นาไม้ยูคาที่ปลอกเสร็จมาเชือ่ มกบั ไมห้ น้าสาม (แขนเก้าอ้ีที่ทาขึน้ ใหม่) ส่วนปลายที่เจาะไว้ (ดงั ภาพ)

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 96

13.นาสกรูยาว 3 นว้ิ มาใสใ่ นรูทเ่ี จาะไวส้ ว่ นต้นของไม้หนา้ สาม (แขนเกา้ อี้ท่ีทาขึน้ ใหม่)

14.เจาะรูตรงกลางแขนของเก้าอี้สาเรจ็ รูป

นวตั กรรมทางสุขภาพ (Innovation for Health )_PH UBRU 97


Click to View FlipBook Version