The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มหาดไทย ผ้าไทยใส่ให้สนุก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Poopouy Hengsomboon, 2022-12-21 07:20:01

มหาดไทย ผ้าไทยใส่ให้สนุก

มหาดไทย ผ้าไทยใส่ให้สนุก

Keywords: มหาดไทย ผ้าไทยใส่ให้สนุก

มหาดไทย

1

มหาดไทย

จัดท�ำ โดย

กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

สมเดจ็ พระเจา้ ลูกเธอ เจ้าฟา้ สิริวณั ณวรี นารีรัตนราชกญั ญา
พระราชทานโครงการ “ผ้าไทยใสใ่ หส้ นุก”

2

3

4

5

พลเอก อนุพงษ์ เผา่ จินดา
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
6

ดร.ทรงศักดิ์ ทองศรี
รฐั มนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย

7

ค�ำ ปรารภ

ของ

นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ

ปลัดกระทรวงมหาดไทย

ผ้าไทยใส่ให้สนุก เป็นพระกรุณาธิคุณที่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี
นารรี ตั นราชกัญญา พระราชทานให้กบั พวกเราชาวไทย ทั้งนีเ้ พอื่ ให้พีน่ ้องคนไทยที่รักษาภูมิปัญญา
ผ้าไทยได้พัฒนาชิ้นงานให้ถูกใจคนทุกเพศทุกวัย นำ�มาซึ่งการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมายความว่า
ถา้ พวกเราทกุ คนช่วยกนั สวมใสผ่ ้าไทย นอกจากจะชว่ ยรักษาภมู ปิ ัญญาความเป็นไทยไว้ ยงั สามารถ
ช่วยเหลือพ่ีน้องคนไทยอีกนับล้านครอบครัวนับล้านชีวิตให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดี เพราะฉะน้ัน
การสวมใส่ผ้าไทยตามโครงการผ้าไทยใส่ให้สนุก ไม่ใช่แค่เรามีเสื้อผ้าเคร่ืองนุ่งห่มที่สวยงามเท่าน้ัน
แต่ว่าเรายังจะได้มีโอกาสช่วยเหลือพ่ีน้องคนไทยด้วยกัน ให้มีกำ�ลังใจในการรักษาภูมิปัญญาผ้าไทย
ใหอ้ ยูค่ ู่กับโลกตอ่ ไป

ในช่วงที่เราทำ�งานกันอย่างหนักหน่วงในรอบปีท่ีผ่านมา เพ่ือความเป็นอยู่ที่ดีของพ่ีน้อง
ประชาชน แต่ว่าอย่างไรก็ตามในการทำ�งานท่ีหนักหน่วง นอกจากจะสนองแนวพระดำ�ริของ
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ในการพัฒนาคุณภาพของผ้าไทย
ควบคู่ไปกับการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตรวมไปถึงองค์ความรตู้ ่าง ๆ ท�ำ ให้กลุ่มทอผา้ ช่างทอผา้ ของไทย
ยังคงรักษาภูมิปัญญาผ้าไทย สามารถท่ีจะพัฒนาฝีมือ พัฒนาผลงานให้ถูกใจพ่ีน้องคนไทย
เพิ่มมากขึ้น สิ่งหน่ึงที่สำ�คัญท่ีสุดคือ โครงการผ้าไทยใส่ให้สนุกน้ัน มีเป้าประสงค์ท่ีจะนำ�ผ้าไทย
ไปตัดเย็บ สามารถท่ีจะออกแบบให้ถูกใจคนทุกเพศทุกวัยและสวมใส่ในทุกโอกาส ทุกวาระ
ดร.วันดี กญุ ชรยาคง จุลเจรญิ นายกสมาคมแม่บา้ นมหาดไทย จงึ ไดเ้ ชญิ ชวนผบู้ รหิ ารระดบั สูงของ
กระทรวงมหาดไทย อันประกอบไปด้วยผู้ว่าราชการจังหวัด และประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวัด
รวมทง้ั ปลดั กระทรวงมหาดไทย รองปลดั กระทรวง และอธิบดพี รอ้ มคู่สมรส ใหช้ ว่ ยกันเป็นตวั อยา่ ง
เป็นต้นแบบในการส่งเสริมและอุดหนุนผ้าไทยในแต่ละจังหวัด นำ�ผ้าในท้องถ่ินแต่ละจังหวัดไป
ออกแบบตดั เยบ็ และทส่ี �ำ คัญทีส่ ุด ผา้ ไทยเป็นแฟชั่น จึงเกิดเปน็ งานแสดงแบบ “ผ้าไทยใส่ให้สนุก”
เพ่อื ทจี่ ะประกาศให้ประชาชนท้ังประเทศและทว่ั โลกไดเ้ ห็นว่าถงึ แม้จะอยูใ่ นชว่ งอายุใด ตำ�แหนง่ ใด
กส็ ามารถนำ�ผา้ ไทยมาตัดเยบ็ และก็สวมใส่ได้อยา่ งถกู ใจและสนกุ สนานเชน่ กัน

ขอขอบคุณทุกท่านที่เป็นส่วนหน่ึงของการสนองแนวพระดำ�ริของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ
เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ในการสวมใส่ผ้าไทยในทุกโอกาส และช่วยรณรงค์ส่งเสริม
ให้คนในสังคมสวมใส่ผ้าไทยเพ่ิมมากขึ้น เพื่อช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของพี่น้องชาวไทย และรักษา
ภูมิปัญญาผ้าไทยให้คงอยู่ตลอดไป ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ “ผ้าไทยใส่ให้สนุก” อันเป็น
การช่วยขับเคลอ่ื นภารกจิ “บ�ำ บดั ทกุ ข์ บำ�รุงสขุ ” อย่างได้ผลดีย่ิงดว้ ย


นายสุทธิพงษ์ จลุ เจริญ
ปลัดกระทรวงมหาดไทย

8

9

คำ�ปรารภ

ของ

ดร.วันดี กญุ ชรยาคง จลุ เจรญิ

นายกสมาคมแม่บา้ นมหาดไทย

สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ สริ วิ ณั ณวรี นารรี ตั นราชกญั ญา มพี ระทยั ตงั้ มนั่ ทจ่ี ะสบื สาน รกั ษา และตอ่ ยอดพระราชปณธิ าน
ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร และสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ
พระบรมราชชนนีพันปีหลวง พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
และพระบรมวงศานุวงศ์ ในการพัฒนาและยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของพสกนิกรชาวไทย ได้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีอาชีพ มีงานทำ�
มีรายได้ ควบคู่ไปกบั การอนรุ กั ษศ์ ิลปวัฒนธรรม ที่ท�ำ ใหส้ งั คมไทยเต็มไปด้วยรอยยม้ิ

ด้วยพระกรุณาธิคุณของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ท่ีได้พระราชทานลายผ้าลายแรก
ทชี่ อ่ื วา่ “ผา้ มดั หมล่ี ายขอเจา้ ฟา้ สริ วิ ณั วรฯี ” และผา้ ลายพระราชทานลายตอ่ มา คอื “ผา้ ลายขดิ นารรี ตั นราชกญั ญา” เมอ่ื ชว่ งประมาณปี
๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ ท่ผี า่ นมากท็ �ำ ให้วงการผ้าไทยเปล่ียนแปรไป และพระราชทาน “ลายทอ้ งทะเลไทย ลายปา่ แดนใต้ และลายปาเตะ๊
ร่วมใจเทิดไท้เจ้าหญิง” ให้กลุ่มผ้าบาติก อีกทั้งพระราชทานโครงการ “ผ้าไทยใส่ให้สนุก” คือการออกแบบลายผ้าไทยให้สามารถ
สวมใส่ได้ทุกช่วงวัย ทุกโอกาส สามารถนำ�มาออกแบบตัดเย็บให้สวยงามมีความทันสมัย ใส่แล้วทำ�ให้รู้สึกสนุก เป็นที่มาของ
การขับเคลื่อนโครงการ “ผ้าไทยใสใ่ ห้สนกุ ” โดยกระทรวงมหาดไทยตลอดชว่ งปี ๒๕๖๕

เมื่อวันท่ี ๑๖ กันยายน ๒๕๖๕ ท่ีผ่านมา ในงานวันแสดงมุทิตาจิตแด่ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดท่ีเกษียณอายุราชการ
ในวันท่ี ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๕ ท่ีจดั ข้นึ ณ กระทรวงมหาดไทย โดยสมาคมแม่บ้านมหาดไทย ได้เชญิ ชวนผู้ว่าราชการจังหวดั ทุกจังหวดั
และประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวัดร่วมแสดงแบบ “ผ้าไทยใส่ให้สนุก” โดยนำ�เสนอกิจกรรมการดำ�เนินงานผ้าไทยใส่ให้สนุก
ตลอดปี ๒๕๖๕ ท่ีแต่ละจังหวัดได้ออกแบบตามอัตลักษณ์ของ ๗๖ จังหวัด ให้สนุกสนานและเกิดการตระหนักรู้ความสำ�คัญ
ของการสวมใส่ผ้าไทย เพ่ือเป็นการบำ�บัดทุกข์ บำ�รุงสุขให้แก่พี่น้องประชาชนเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาความยากจน การพัฒนา
คณุ ภาพชวี ติ ใหแ้ กค่ นทอผา้ ใหม้ คี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ขี น้ึ อกี ทงั้ เปน็ การอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมมรดกภมู ปิ ญั ญาของพนี่ อ้ งคนไทยทมี่ าจากจงั หวดั
ด้วยการออกแบบผ้าไทยใส่ให้สนุกในรูปแบบต่าง ๆ ตั้งแต่ผ้ามัดย้อม ผ้าไหม ผ้าฝ้าย และผ้าบาติก รวมถึงเทคนิคการออกแบบผ้า
ทุก ๆ รปู แบบที่มอี ยใู่ นประเทศไทย กไ็ ด้นำ�มาแสดงแบบในกิจกรรม “ผา้ ไทยใส่ให้สนุก” พร้อมทั้งพจิ ารณาคดั เลือกรางวัลเกียรตยิ ศ
ท้ังส้ิน ๘ รางวัล ได้แก่ รางวัลอัตลักษณ์ดีเด่น รางวัลความคิดสร้างสรรค์ รางวัลการใช้สีธรรมชาติ รางวัลขวัญใจสื่อมวลชน
รางวัลการออกแบบยอดเยี่ยม รางวัลการใช้ไหมพื้นบ้าน รางวัลขวัญใจปลัดกระทรวงมหาดไทยและนายกสมาคมแม่บ้านมหาดไทย
และรางวัลขวญั ใจกองเชยี ร์

โครงการ “ผ้าไทยใส่ให้สนุก” น้ี จะเป็นโครงการท่ีขยายผลต่อไปในอนาคตอย่างดียิ่ง และจะเป็นการจุดประกายให้กับ
นักออกแบบได้นำ�ผ้าไทยมาออกแบบเพื่อสวมใส่ให้สนุก สามารถสวมใส่ทุกช่วงวัย พร้อมท้ังมุ่งเน้นในเรื่องการใช้ผ้าฝ้าย ผ้าไหม
ตลอดจนการตัดเย็บในรูปแบบที่เป็นวัยรุ่น วัยทำ�งาน วัยผู้ใหญ่ ได้ทุกเพศ ทุกวัย ซ่ึงหวังเป็นอย่างย่ิงว่าจะเพ่ิมมูลค่าให้ผ้าไทย
และเพมิ่ รายได้ใหพ้ ีน่ อ้ งประชาชนท่ีทอผา้ ด้วย

สมาคมแม่บ้านมหาดไทย น้อมสำ�นึกในพระกรุณาธิคุณและมีความมุ่งม่ันในการสนองพระดำ�ริ “ผ้าไทยใส่ให้สนุก”
ด้วยการจัดประกวดการออกแบบตัดเย็บผ้าไทยให้มีความหลากหลายใส่ได้ในทุกโอกาส ทุกช่วงวัย เช่น ชุดไปงานฉลองรับปริญญา
ชุดไปงานแต่งงาน เพือ่ ท�ำ ใหเ้ ราไดเ้ หน็ ว่า ผา้ ไทยสามารถตัดเยบ็ ได้ทกุ แบบ สามารถขยายผลเปน็ ชดุ ทีม่ ีหลากสีสันได้ โดยจะเปน็ หน่งึ
ในกจิ กรรมการประชมุ สมาคมแมบ่ า้ นสญั จร ซงึ่ จะมขี น้ึ ตง้ั แตเ่ ดอื นพฤศจกิ ายน ๒๕๖๕ เปน็ ตน้ ไป โดยมปี ระธานแมบ่ า้ นมหาดไทยจงั หวดั
ทุกจังหวัด เป็นผู้นำ�ร่วมกับภาคีเครือข่ายในพ้ืนที่จังหวัด ทั้งผู้นำ�กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี สมาคมสตรี กลุ่มสตรีระดับจังหวัด
อ�ำ เภอ ตำ�บล โรงเรยี น มหาวทิ ยาลัย และทกุ กลุม่ เปา้ หมาย ซง่ึ เม่ือเราสามารถขับเคลอ่ื นการส่งเสรมิ ผา้ ไทยเหลา่ นีไ้ ดส้ ำ�เร็จ จะท�ำ ให้
เกิดกระแสความสนใจและความนิยมชมชอบ เกิดการกระตุ้นภาคการผลิต (ต้นนํ้า) จากปริมาณความต้องการผ้าไทย (กลางนํ้า)
ท่เี พม่ิ มากข้ึน กส็ ง่ ผลท�ำ ให้ปลายนาํ้ คอื ช่างทอผา้ ไดม้ อี าชพี ทมี่ ่นั คง มีรายได้ท่ีเพ่ิมพูน ครอบครวั และลูกหลานไดม้ ีคุณภาพชีวติ ทด่ี ี
อยา่ งยัง่ ยืน

ท้ายนี้ อยากจะขอเชิญชวนประชาชนท้ังประเทศได้ร่วมกันสวมใส่ผ้าไทย เพ่ือเป็นการรักษาเอกลักษณ์ภูมิปัญญาผ้าทอ
ของไทย สืบสานรักษาและต่อยอดพระราชปณิธานของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา หากว่าคนไทยเพียงครึ่งประเทศหันมาใส่ผ้าไทย ซื้อเพิ่มเพียง
คนละ ๑๐ เมตร เมตรละ ๓๐๐ บาท เงินกวา่ ๑ แสนล้านบาท จะกลบั ไปสพู่ ่ีนอ้ งประชาชนคนทอผ้าทว่ั ประเทศกวา่ ล้านคน ถอื เป็น

การส่งเสริมอาชพี ให้ประชาชนมรี ายไดแ้ ละคุณภาพชวี ติ ความเป็นอยูท่ ีด่ ขี น้ึ

ดร.วนั ดี กุญชรยาคง จลุ เจรญิ
นายกสมาคมแมบ่ ้านมหาดไทย


10

รางวัลอัตลกั ษณ์ดีเด่น

นายเอกรัฐ หลีเสน็
ผ้วู ่าราชการจงั หวัดสตูล
นาวาตรหี ญงิ โนสมา หลเี สน็
ประธานแมบ่ า้ นมหาดไทยจงั หวัดสตูล

ผ้าปาเต๊ะโบราณ ลายดาวน์บูดงิ ฟอสซิลสตูล

เรอ่ื งราวผา้ ท่ใี ชใ้ นการเดินแบบ
สืบเน่ืองจากชาวสตูลในสมัยอดีตน้ัน ได้รับอิทธิพลด้านการแต่งกายจากเช้ือชาติมลายู
ชาวจีน ชาวเปอร์เซีย อินโดนีเซีย และประเทศจากทวีปยุโรป โดยเฉพาะการแต่งกายจะใช้ผ้าลาย
ใบไม้ ดอกไมต้ ามธรรมชาติท่ีมีความหลากหลายรปู แบบและสีสัน มาน่งุ หรอื สวมใส่เปน็ ผา้ ถุง
ลายดาวนบ์ ูดงิ ฟอสซิลสตูล เกดิ จากการนำ�ลายดาวนบ์ ดู ิงมาผสมผสานกับลายฟอสซิลหอย
ในพนื้ ทจี่ งั หวดั สตลู ลายดาวน์บูดงิ ทป่ี รากฏบนผืนผา้ เปน็ ลวดลายคล้ายซุ้มดอกไม้โบราณชนดิ หน่งึ
ที่มีลักษณะเป็นไม้เล้ือย โดยสำ�นักงานประวัติศาสตร์ประเทศมาเลเซียได้สันนิษฐานว่า ดอกไม้
ท่ีปรากฏบนผืนผ้า คือ ดาวน์บูดิง (Daun Buding) (ดอกบูดิง) มาจากภาษามลายู หรือดาวน์บูดี
(Daun Budy) (ดอกบดู )ี มาจากภาษาอนิ โดนเี ซยี ดอกไมช้ นดิ นพี้ บมากในคาบสมทุ รมลายู มลี กั ษณะ
คล้ายดอกสายหยุด ดอกมีสีเหลือง กลิ่นหอม ใบมีลักษณะเป็นรูปหอก ปลายใบแหลม
หรือมีติ่งแหลม ประเทศในแถบคาบสมุทรมลายูนิยมนำ�ดอกไม้ชนิดนี้มาทำ�เป็นซุ้มดอกไม้เพ่ือใช้ใน
พธิ ตี อ้ นรบั บา่ วสาวในงานแตง่ งาน จงึ กลา่ วไดว้ า่ ดอกไมช้ นดิ นถี้ อื เปน็ ดอกไมม้ งคลของชาวมลายโู บราณ
ส่วนลายฟอสซิล เป็นการนำ�ลายฟอสซิลในอุทยานธรณีสตูล ซ่ึงได้รับการประกาศให้เป็นอุทยาน
ธรณีโลกแห่งแรกของประเทศไทย และเป็นแห่งท่ี ๕ ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยยูเนสโก
ทางกลุ่มผ้าปันหยาบาติกจึงได้นำ�ลวดลายดาวน์บูดิงและฟอสซิลหอยในมหายุคพาลีโอโซอิก
(อายปุ ระมาณ ๒๙๙ - ๕๔๒ ลา้ นป)ี มาผสมผสานเปน็ ลวดลายผา้ ทแ่ี สดงถงึ อตั ลกั ษณข์ องจงั หวดั สตลู
ตอ่ มา สมเดจ็ พระเจา้ ลูกเธอ เจา้ ฟา้ สิริวณั ณวรี นารีรตั นราชกญั ญา ทรงคดั เลอื กผ้าปาเต๊ะ
ลายโบราณของกลุ่มปันหยาบาติก มาตัดเย็บสำ�หรับฉลองพระองค์ เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์
สง่ เสริมการใชผ้ า้ ปาเต๊ะลายโบราณใหเ้ ปน็ ที่นิยมขนึ้ มาใหม่

รายละเอียดผูอ้ อกแบบและตัดเยบ็
ผผู้ ลติ ผ้ปู ระกอบการ : วสิ าหกจิ ชุมชนปนั หยาบาติก
ชุดผู้วา่ ราชการจังหวดั

- ร้านจอหน์ โดยนายสมพงษ์ สวุ รรณสะอาด
- ท่ีอยู่ ๔๓๐ หมู่ท่ี ๑ ซอย ๓๖ ถนนเขาจนี อำ�เภอเมอื งสตูล จังหวัดสตูล
ชดุ ประธานแมบ่ า้ นมหาดไทย
- ห้องเสื้อดวงใจ โดยคณุ ดวงใจ อสิ ระ
- ทอ่ี ยู่ ๖๘ หมู่ท่ี ๑ ต�ำ บลก�ำ แพง อำ�เภอละงู จงั หวัดสตลู

11

รางวัลความคิดสรา้ งสรรค์

นายเชาวลิตร แสงอุทยั
ผวู้ ่าราชการจังหวดั ก�ำ แพงเพชร

นางนวลจนั ทร์ แสงอุทยั
ประธานแมบ่ า้ นมหาดไทยจังหวัดก�ำ แพงเพชร

ผ้าฝา้ ยทอ “ลายศิลาล้อมเพชร”

เรือ่ งราวผา้ ทใ่ี ชใ้ นการเดินแบบ
ในมมุ มองทน่ี กึ ถงึ ก�ำ แพงเพชร อตั ลกั ษณข์ องจงั หวดั ก�ำ แพงเพชร คอื เมอื งโบราณทไี่ มไ่ ดต้ าย
และมชี ีวติ มากว่า ๖๐๐ ปี (ผู้เขียนขอใช้ขอ้ มลู ท่ีเปน็ ขอ้ มูลช้นั ปฐมภูมิคอื ขอ้ มูลจากจารกึ เปน็ สำ�คัญ
มิใช่ข้อมูลอายุเมืองจากตำ�นาน นิทาน นิยาย แต่เป็นจารึกลานเงินในการข้ึนเสวยราชย์ของ
พ่อพญาแสนสอยดาว ในปี พ.ศ. ๑๙๖๓) ผู้ออกแบบขอนำ�งานประติมากรรมในพิพิธภัณฑสถาน
แหง่ ชาติ ก�ำ แพงเพชร มาเปน็ แนวทางในการออกแบบเพอ่ื งา่ ยตอ่ การสรา้ งสรรคผ์ ลงาน อาทิ รปู เทวดา
ประติมากรรมดินเผารูปร้อยรัก สกุลช่างกำ�แพงเพชร แผ่นลวดลายรูปกลีบบัวดินเผาประดับ
โบราณสถานศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ ๒๑) ช้างทรงเคร่ืองวัดช้างรอบลายประดับต่าง ๆ
และลวดลายศิราภรณ์เทวรูปพระอิศวรและเทวสตรี และศิลาแลงท่ีเป็นเอกลักษณ์โดดเด่น มาเป็น
แรงบันดาลใจในการออกแบบ ในส่วนของการให้สี ผู้ออกแบบได้หยิบยกหรือเลือกใช้ชุดข้อมูล
“ผ้าห่มคัมภีร์ ผ้าลายอย่างจากวัดคูยาง” จังหวัดกำ�แพงเพชร ก็ปรากฏว่าใช้ “ผ้าลายอย่างท่ีใช้
ห่อคัมภีร์และมีอายุไม่ต่ํากว่า ๒๐๐ ปี” หากศึกษาดี ๆ ผ้าลายอย่างยังเป็นที่นิยมต้ังแต่ราชสำ�นัก
อยุธยาซ่งึ เมอื งก�ำ แพงเพชรไมส่ ามารถปฏเิ สธความสมั พนั ธแ์ ละอทิ ธพิ ลกบั อาณาจักรอยุธยาไดเ้ ลย

รายละเอียดผ้อู อกแบบและตัดเยบ็
กลมุ่ ผา้ มดั หมท่ี อมอื ทอเทยี นทอง โดยนางราตรี บวั หลวง ประธานกลมุ่ ผา้ มดั หมที่ อมอื ทอเทยี นทอง
ท่ีอยู่ : ต�ำ บลทา่ พทุ รา อ�ำ เภอคลองขลงุ จังหวดั ก�ำ แพงเพชร โทร. ๐๘ ๙๕๖๔ ๒๑๓๔

12

รางวลั ความคดิ สร้างสรรค์

นายโชตินรนิ ทร์ เกดิ สม
ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ชุมพร

นางปวณี ร์ ศิ า เกดิ สม
ประธานแม่บา้ นมหาดไทยจังหวัดชมุ พร

“ภูษาวตั ถ์ อตั ศิลป์ถ่นิ ชุมพร”

เรือ่ งราวผ้าท่ใี ชใ้ นการเดินแบบ
ผ้าไหมมัดหม่ี : เริ่มจากปลูกหม่อนโดยไร้ซ่ึงสารเคมี เล้ียงไหมพันธุ์เหลืองสระบุรี
รังสเี หลอื ง รบั จากศนู ย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ ชมุ พร ช่วยกันเลยี้ งภายในครอบครวั สาวไหม
ด้วยเครื่องสาวไหมแบบปรับปรุง ลอกกาวเส้นไหมด้วยข้ีเถ้าจากเหง้ากล้วยและย้อมสีด้วยพันธ์ุไม้
ย้อมสีท่ีหาได้จากข้างบ้าน เส้นยืนใช้เส้นไหมน้อย (ไหมชั้นกลาง) ย้อมด้วยเปลือกมะพร้าวอ่อน
และเส้นพุ่งใช้เส้นไหมหลืบ (ไหมชั้นนอกสุด) ย้อมด้วยเปลือกมะพร้าวอ่อนหมักด้วยโคลนดินแดง
ทอี่ ดุ มไปดว้ ยแรธ่ าตแุ ละเปน็ ตวั ชว่ ยใหส้ เี สน้ ไหมตดิ ทนนาน ทอดว้ ยกที่ อผา้ แบบพน้ื บา้ นพงุ่ กระสวย
ด้วยมือ ความพิเศษของผ้าผืนนี้ คือ การผสมผสานระหว่างเส้นไหมน้อยและเส้นไหมหลืบ ทำ�ให้
เน้ือผ้ามีความแน่นและประกอบกับผ้าไหมผืนนี้ผ่านการหมักโคลนเลยทำ�ให้มีเนื้อสัมผัสที่นุ่มและ
น่มิ ยิง่ ข้ึน ผู้สวมใสจ่ ะร้สู กึ เบาสบายซงึ่ เปน็ เอกลกั ษณ์ของผา้ ไหมไทย
ผ้าไหมมัดหมี่ ลายดอกพุทธรักษา นางปวีณ์ริศา เกิดสม ประธานแม่บ้านมหาดไทย
จงั หวดั ชุมพร
แรงบันดาลใจ : ดอกพุทธรักษาเป็นดอกไม้ประจำ�จังหวัดชุมพร ในจังหวัดชุมพรมีการ
ปลูกต้นพทุ ธรกั ษาเป็นจำ�นวนมาก คนโบราณเช่อื ว่า บา้ นใดปลกู ต้นพทุ ธรกั ษาไว้ประจำ�บา้ นจะชว่ ย
คุ้มครองป้องกันอันตรายแก่บ้านและผู้อาศัยได้ เพราะพุทธรักษาเป็นพรรณไม้ท่ีคนโบราณเชื่อว่า
มพี ระเจา้ คมุ้ ครองรกั ษาให้มคี วามสงบสขุ คอื เป็นไมม้ งคลน่ันเอง ดงั น้ัน ชา่ งผทู้ อผ้าจงึ ไดน้ �ำ มาแสดง
ลวดลายบนผนื ผา้ เพอ่ื สร้างเปน็ ผ้าอัตลกั ษณ์ของชาวจังหวดั ชุมพร
วัตถุดิบ : เส้นไหม ใช้เส้นไหมน้อยพันธุ์ไทยรังสีเหลืองเลี้ยงด้วยใบหม่อนที่ปลอดสารพิษ
ผ่านกระบวนการสาวเส้นไหมด้วยเครื่องสาวไหมแบบปรับปรุง ในส่วนของผ้ามัดหม่ี เส้นยืน
ย้อมด้วยใบมังคุด เส้นพุ่งย้อมด้วยแก่นขนุนและคร่ังและใบมังคุด และผ้าพื้น เส้นยืนย้อมด้วย
เปลือกมะพร้าวอ่อนหมักโคลนดินแดง และเส้นพุ่งย้อมด้วยใบมังคุดหมักโคลนดินแดง ซ่ึงเป็น
สธี รรมชาตทิ ไี่ มท่ �ำ ลายสง่ิ แวดลอ้ ม การกรอและมดั หมใ่ี ชเ้ ครอ่ื งมอื ทอผา้ แบบพนื้ บา้ น ทอดว้ ยกที่ อมอื
แบบกระทบ ซ่ึงได้รับการสนับสนุนจากนายโชตินรินทร์ เกิดสม ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร ในการ
ปลกู หม่อนเลี้ยงไหม ออกแบบลายผ้า และการพฒั นารูปแบบผลติ ภณั ฑ์ผ้าอตั ลกั ษณ์จงั หวัดชมุ พร

รายละเอยี ดผอู้ อกแบบและตดั เยบ็
ชื่อร้าน ห้องเส้อื คณุ อ้น
ผู้ตัดเย็บ : นางทิพยเ์ นตร ประจันบาล โทร. ๐๙ ๓๓๕๖ ๒๕๒๕
ที่อยู่ ๑๑/๙ หมู่ที่ ๘ ตำ�บลนาทุ่ง อ�ำ เภอเมอื งชมุ พร จงั หวัดชมุ พร

13

รางวลั ความคิดสร้างสรรค์

นายวิบรู ณ์ แววบัณฑติ
ผวู้ ่าราชการจงั หวดั น่าน
นางสดุ ารัตน์ แววบัณฑติ
ประธานแม่บา้ นมหาดไทยจังหวัดนา่ น

ผ้าอตั ลกั ษณก์ ล่มุ ชาติพนั ธุ์

เร่ืองราวผ้าทใ่ี ช้ในการเดนิ แบบ
ชุดท่านผู้วา่ ราชการจงั หวดั : งานดีไซน์ทีด่ ึงเอาอตั ลักษณแ์ ละกลิน่ อายของกล่มุ ชาตพิ ันธุ์
ม้ง เม่ยี น กะเหรยี่ ง มาออกแบบผสมผสานตัดเปน็ ชุดส�ำ เร็จรูป โดยใชผ้ า้ ฝ้ายตดั เปน็ ตัวเสอื้ หน้าส้นั
หลงั ยาว ให้มีความเป็นสากลและรว่ มสมัย สามารถสวมใสไ่ ดท้ กุ โอกาส
ชุดประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวัดน่าน : งานดีไซน์ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากกางเกง
ของกลมุ่ ชาติพันธมุ์ ง้ และเสื้อของกลุ่มชาติพันธเุ์ มย่ี น ผสมผสานกนั อย่างลงตัวและรว่ มสมัย ซง่ึ แบบ
เสื้อผ้าน้ีสวมใส่กันมาตั้งแต่โบราณเป็นพันปี ใช้ผ้าปักและใยกัญชงซ่ึงมีคุณสมบัติคือ ใส่แล้วไม่ร้อน
ผา้ ทง้ิ ตัว มคี วามพลวิ้ และทนั สมยั

รายละเอยี ดผ้อู อกแบบและตัดเยบ็
ชอื่ ร้าน/กลุ่มผู้ผลิต ผปู้ ระกอบการ : บ้านไหมลายปกั
ผตู้ ัดเยบ็ : คณุ ชนาภา แซโ่ ซ้ง
ท่ีอยู่ ๑๕๕ หมู่ ๑ ต�ำ บลป่ากลาง อ�ำ เภอปวั จังหวดั น่าน โทร. ๐๘ ๑๗๙๐ ๒๓๔๐,
๐๙ ๑๕๕๒ ๔๑๖๖

14

รางวลั การใช้สธี รรมชาติ

นายชาธิป รุจนเสรี
ผู้วา่ ราชการจังหวัดนครพนม

นางกาญจนี รจุ นเสรี
ประธานแมบ่ า้ นมหาดไทยจังหวัดนครพนม

“ผา้ ไหมมัดหมล่ี ายขดิ นารรี ัตนราชกัญญา”

เร่ืองราวผา้ ทใี่ ชใ้ นการเดินแบบ
ผ้าไหมมัดหม่ีลายขิดนารีรัตนราชกัญญา จากการทอของศูนย์ศิลปาชีพบ้านท่าเรือ อำ�เภอ
นาหว้า จังหวัดนครพนม ซ่ึงเป็นกลุ่มทอผ้าไหมกลุ่มแรกของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จ
พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ย้อมด้วยสีธรรมชาติจากพืชในพ้ืนถ่ิน โดยเส้นพุ่งเป็นไหม
สาวมอื ย้อมดว้ ยเปลือกเสียดและมะเกลอื เส้นยืนท�ำ จากไหมสาวเครื่องยอ้ มด้วยดอกจาน ส่วนลาย
พื้นถ่ินท่ีนำ�มาผสมผสานในลายผ้าคือลายหมากจับหว่าน ซ่ึงเป็นลายโบราณท่ีสืบทอดมาจาก
บรรพบรุ ษุ

รายละเอียดผ้อู อกแบบและตดั เย็บ
กลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการทอผ้า นางอรพิณ วะสาร ศูนย์ศิลปาชีพบ้านท่าเรือ อำ�เภอนาหว้า
จงั หวัดนครพนม
ช่อื - สกุล (ผู้ตดั เยบ็ )

- ชดุ ทา่ นผวู้ า่ ราชการจังหวดั ตัดเย็บโดย ร้านอารต์ เทเลอร์ จงั หวัดนครพนม
- ชุดประธานแมบ่ ้านมหาดไทย ตดั เยบ็ โดย ห้องเสือ้ คณุ หน่อย จังหวดั นครพนม

15

รางวลั ขวญั ใจสือ่ มวลชน

นายชนก มากพันธ์ุ
รองผู้ว่าราชการจงั หวดั พิจติ ร
ดร.เพชรประทุมมาพร ทองอ่นุ เกตุมณีศา
รองประธานแม่บ้านมหาดไทยจงั หวดั พจิ ิตร

“โอฆะบรุ ี ศรีวจิ ิตร พสิ มัย”

เรื่องราวผา้ ทีใ่ ชใ้ นการเดินแบบ
การออกแบบชุดแต่งกายของนายชนก มากพันธ์ุ รองผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร แบบชุด
ราชปะแตน โดยใช้ผ้าลายดอกบุนนาคสีเขียว ผ้าอัตลักษณ์ของจังหวัดพิจิตร จากกลุ่มผ้าทอ
บ้านปา่ แดง ต�ำ บลหนองพยอม อำ�เภอตะพานหิน จงั หวัดพิจิตร มาตัดเยบ็ เป็นเสือ้ ห่มทบั ดว้ ยสไบ
ผา้ ทอขาวม้าของจงั หวดั พิจิตร และ ดร.เพชรประทมุ มาพร ทองอุ่นเกตมุ ณศี า รองประธานแม่บา้ น
มหาดไทยจังหวัดพิจิตร ออกแบบชุดโดยนำ�ผ้าลายดอกบุนนาคมาประยุกต์ผสมผสานกับผ้าขาวม้า
จากกลุ่มทอผา้ บา้ นป่าแดง ตำ�บลหนองพยอม อ�ำ เภอตะพานหนิ จังหวดั พิจิตร ใหม้ ีความรว่ มสมยั
สวยงาม กับผ้าทอสีเขียว สีประจำ�จังหวัดพิจิตร มาใช้ในการตัดเย็บชุดแต่งกายเพ่ิมความสวยงาม
พร้อมถือกระเป๋าผักตบชวา ซ่ึงเป็นวัสดุจากธรรมชาติที่ช่วยรักษาส่ิงแวดล้อม โดยผลิตภัณฑ์ทุกชิ้น
เปน็ ของ OTOP จังหวัดพิจิตร

รายละเอียดผู้ออกแบบและตัดเยบ็
ช่ือรา้ น สทู ช่างหนุ่ม
ชอ่ื – สกลุ (ผู้ตดั เยบ็ ) นายทานนิ ท์ รงั สูงเนิน โทร. ๐๘ ๔๗๗๗ ๙๖๘๔
ท่อี ยู่ ๑๒๒ หมทู่​ ่ี ๒ ตำ�บลโรงช้าง อำ�เภอเมอื งพิจิตร จังหวัดพิจิตร

16

รางวลั การออกแบบชดุ ยอดเยีย่ ม

นายพงศร์ ตั น์ ภริ มย์รัตน์
ผูว้ า่ ราชการจังหวดั อุบลราชธานี

นางศลษิ า ภริ มยร์ ตั น์
ประธานแมบ่ ้านมหาดไทยจังหวดั อบุ ลราชธานี

“ผา้ กาบบวั ”

เร่อื งราวผ้าทีใ่ ชใ้ นการเดินแบบ
ผ้ากาบบัว เป็นผ้าเอกลักษณ์จังหวัดอุบลราชธานี ทอพุ่งด้วยมับไม (ไหมเกลียวหางกระรอก)
สลับทอ ยกขิด และมัดหม่ี เส้นยืน ย้อมแยกสีอย่างซ่ินทิว ต้นแบบของผ้ากาบบัวน้ันมีการคิดค้นและ
ออกแบบโดยนายมีชัย แต้สุจริยา ซึ่งเป็นบุตรของนางคำ�ปุน ศรีใส ผู้ควบคุมการทอ “ผ้ากาบบัว”
ประกาศให้เป็นลายผา้ เอกลักษณ์ประจำ�จงั หวดั อบุ ลราชธานี เมอื่ วันอังคารที่ ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๓
ผา้ กาบบวั เปน็ ผา้ ทมี่ ลี กั ษณะรวมเอาเอกลกั ษณอ์ นั โดดเดน่ ของผา้ พน้ื เมอื งอบุ ลราชธานี มารวมไว้
หลายชนิด ได้แก่ ลักษณะของซิ่นทิว มับไม มัดหม่ี ผ้าขิดหรือจก ซ่ินทิวผ้ากาบบัวต้องมีเส้นยืนหรือ
ริ้วหรือทิว ๒ สี มับไมผ้ากาบบัวต้องมีเส้นพุ่งมับไม ซ่ึงเกิดจากการเข็น คือ ป่ันเกลียวเส้นพุ่ง ๒ เส้น
เข้าด้วยกัน มัดหม่ีผ้ากาบบัวจะสวยงามมากน้อยเพียงใด ข้ึนอยู่กับลวดลายหม่ีเป็นองค์ประกอบหลัก
ลายหมี่ในผ้ากาบบัว ท้ังลายดั้งเดิมและลายประยุกต์ข้ึนใหม่ ขิดผ้ากาบบัวต้องมีเส้นพุ่งท่ีเป็นเส้นใหญ่
หรือเส้นนูนข้ึนจากเน้ือผ้า เป็นการเลียนแบบเส้นลายของกลีบบัว ซึ่งใช้วิธีขิดจก การจกเป็นการตกแต่ง
ให้ผา้ กาบบัวมคี วามวิจิตรงดงามยง่ิ ข้ึน
ผ้ากาบบัวที่ใช้เดินแบบท่านผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี เป็นผ้ากาบบัวลายไม้ไผ่ เทคนิค
ในการทอ เส้นยืนทิวมัดหม่ี ขิด มับไม สีชมพูย้อมจากคร่ัง สีน้ําตาลย้อมจากมะยม ขิดจากรังไหม
เพื่อให้เกิดความเป็นมงคล เปน็ ทนี่ ิยมชมชอบ มีคนรกั ใคร่ ลายต้นไผ่ บง่ บอกถงึ ความออ่ นโยน เมตตา
ผ้ากาบบัวที่ใช้เดินแบบท่านประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวัดอุบลราชธานี เทคนิคการทอ
เส้นยืนทิว มัดหมี่ มับไม ในการทำ�เครือทิว ซ่ึงลายนี้ใช้หม่ีลายขอเจ้าฟ้าสิริวัณณวรีฯ ผสมผสานกับผ้า
กาบบัว เพือ่ ให้เกดิ ความเป็นสริ มิ งคลรว่ มสมยั

รายละเอียดผอู้ อกแบบและตดั เยบ็
ชอ่ื - สกลุ (ผูอ้ อกแบบ) นายกฤษดา รัตนางกรู อาจารย์ประจ�ำ สาขาสิง่ ทอและแฟชนั่ คณะศลิ ปะประยกุ ต์
และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานี
ชื่อรา้ น ห้างสูทสาคร
ชื่อ - สกุล (ผู้ตัดเย็บ) นายชยกร สีหะวงษ์ โทร. ๐๙ ๐๓๒๖ ๑๖๙๖
ท่ีอยู่ ๒๕๒/ ๒-๓ ถนนพิชติ รังสรรค์ ตำ�บลในเมือง อ�ำ เภอเมอื งอบุ ลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
ชอื่ ร้าน ดา้ ยเนา แฟช่ัน เฮา้ ส์
ช่อื - สกุล (ผู้ตดั เย็บ) นางสาวอนงค์ภัทร์ ผลประเสริฐ โทร. ๐๖ ๑๔๑๕ ๓๕๘๙
ที่อยู่ ๑๓๕/๙ หมู่ท่ี ๑๘ ซอยเทคโน ถนนชยางกูร ตำ�บลขามใหญ่ อำ�เภอเมืองอุบลราชธานี
จังหวดั อบุ ลราชธานี

17

รางวัลการใช้ไหมพนื้ บา้ น

นางธันยภ์ ัคนนั ท์ หตั ถาธยากลู
ประธานแม่บา้ นมหาดไทยจังหวดั บุรีรัมย์

“ผา้ ไหมมดั หมี่ตนี แดง”

เรื่องราวผ้าท่ีใช้ในการเดินแบบ
ผา้ ไหมมัดหมีต่ ีนแดง ผา้ ซ่ินตนี แดง หรือผา้ หวั แดงตีนแดง เปน็ ผา้ ทพ่ี บในกลมุ่ ชาติพันธุล์ าว
พบครั้งแรกประมาณ ๒๐๐ ปีมาแล้ว ผลิตโดยช่างทอผ้าในคุ้มพระยาเสนาสงคราม (เจ้าเมือง
พุทไธสงคนแรก) ปจั จุบันเป็นผา้ ที่ชาวบุรรี มั ยน์ ิยมอยา่ งกว้างขวาง ผลิตมากทอี่ �ำ เภอพุทไธสง อ�ำ เภอ
นาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์ได้กำ�หนดเป็น “ผ้าเอกลักษณ์ประจำ�จังหวัดบุรีรัมย์” ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๖
ผ้าไหมมัดหม่ีตีนแดง (ที่ประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวัดบุรีรัมย์) สวมใส่ในการแสดงแบบผ้า
เปน็ ผา้ ไหมมดั หมต่ี นี แดง โดยใชเ้ ทคนคิ การทอแบบโบราณ ทอดว้ ยกไี่ มก้ ระทบมอื ๒ ตะกอ ฟมื ทอ ๖๕
เสน้ ไหม “ทางยนื ” เปน็ สนี าํ้ เงนิ เสน้ ไหม “ทางพงุ่ ” มดั หมด่ี ว้ ยเกลด็ หมส่ี ที อง โอบดว้ ยสเี ขยี วและแดง
ผนื ผ้าจะเป็นสนี ้าํ เงินประกายมว่ ง ชอื่ ลายผา้ “ลายนพเก้าโบราณ”

รายละเอยี ดผู้ออกแบบและตัดเยบ็
ช่ือรา้ น/กลมุ่ ผู้ผลติ ผปู้ ระกอบการ ณฐั ฐาผา้ ไหม อ�ำ เภอนาโพธิ์ จังหวัดบุรรี มั ย์
ออกแบบชดุ โดย นางธันย์ภคั นันท์ หัตถาธยากลู ประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวัดบรุ รี มั ย์
ชื่อผู้ตัดเย็บ นางดวงจันทร์ หมื่นภักดี ที่อยู่ ๑๔๑/๑ หมู่ที่ ๒ บ้านสี่เหลี่ยม ตำ�บลเขาคอก
อำ�เภอประโคนชัย จังหวัดบรุ ีรัมย์ โทร. ๐๘ ๙๐๑๖ ๙๒๕๒

18

และนปาลยัดกสกรรมาะางทวครลัมวขแงวมมญั ่บห้าใาจนดมไทหยาดไทย

นายขจรศกั ดิ์ เจรญิ โสภา
ผ้วู า่ ราชการจังหวัดตรงั
นางละมยั เจริญโสภา
ประธานแม่บ้านมหาดไทยจงั หวดั ตรงั

“ผา้ ครามคนู ”

เรอ่ื งราวผา้ ทใ่ี ช้ในการเดนิ แบบ
๑. สีคราม มีความหมายส่ือถึงสีน้ําเงินเข้มจากต้นคราม ที่ได้ผ่านกระบวนการสกัดสี
จากธรรมชาตจิ นออกมาเป็นสคี รามทม่ี องแล้วสวยงาม สบายตา
๒. ผ้าไหมมัดยอ้ มจากสีครามธรรมชาติ ภายใต้ช่ือว่า “ลายอควาเรียมแหง่ ทอ้ งทะเลตรัง”
แรงบันดาลใจท่ีทำ�ลายผ้าน้ีมาจากความงดงามของท้องทะเลตรัง ธรรมชาติของท้องทะเลตรัง
ที่สวยงาม มีพะยูนเป็นเอกลักษณ์ มีสัตว์นํ้า ปะการังท่ีสวยงาม จึงเกิดแรงบันดาลใจ
เอาลวดลายท้องทะเลตรังขึ้นมาอยู่บนผืนผ้า โดยใช้สีครามส่ือถึงสีสันในทะเลท่ีดูเย็นตา
สบายตา และลวดลายคลนื่ ลายนา้ํ ดูพลวิ้ ไหว
- ผ้าไหมไทยที่นำ�มาใช้ส่ือถึงความเย็นของน้ําเม่ือสัมผัสผิวกาย ลวดลายส่ือถึงอารมณ์และ
ความสงบสวยงามของเมอื งตรงั
- สคี รามทใ่ี ชเ้ ปน็ สธี รรมชาตทิ ไี่ ดจ้ ากตน้ คราม ผา้ ไหมทใ่ี ชเ้ ปน็ ไหมธรรมชาติ ๑๐๐ เปอรเ์ ซน็ ต์

รายละเอียดผ้อู อกแบบและตัดเย็บ
ช่อื รา้ น/กลุม่ ผผู้ ลติ ผู้ประกอบการ

- ครามคนู (ผลิตภณั ฑผ์ ้ามัดยอ้ มจากสธี รรมชาติ เทคนิค “ชิโบริ”)
ผู้ตัดเย็บชุดประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวดั ตรัง

- นางสุชัญญา เมืองแกน่ โทร ๐๘ ๓๑๗๓ ๓๙๐๘
ที่อยู่ ๒๐๑/๔๘ ซอย ๗ ถนนทา่ กลาง ต�ำ บลทับเทย่ี ง อ�ำ เภอเมอื งตรัง จังหวัดตรงั
ผตู้ ดั เยบ็ ชดุ ผวู้ ่าราชการจังหวดั ตรงั

- ห้องเสอ้ื ชโิ ด้ โทร. ๐๘ ๖๕๙๓ ๑๙๙๓
ทีอ่ ยู่ ๑๖/๑ ถนนรษั ฎา ขา้ งโรงเรยี นพรศริ ิกุล ตำ�บลทับเท่ียง อ�ำ เภอเมืองตรงั จงั หวดั ตรัง

19

รางวลั ขวญั ใจกองเชยี ร์

นายสมคดิ จันทมฤก
อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ผศ. ดร.ศศิธร จันทมฤก
ประธานชมรมแม่บ้านพฒั นาชมุ ชน

“ผา้ บาติกพมิ พ์ลายดว้ ยบล็อกไม้
ลายขดิ นารีรตั นราชกัญญา”

เร่ืองราวผา้ ที่ใช้ในการเดินแบบ
ผ้าบาติกพิมพ์ลายด้วยบล็อกไม้ ลายขิดนารีรัตนราชกัญญา ผสมผสานด้วยลวดลาย
เครอื่ งถว้ ยชามจนี โบราณทค่ี น้ พบในอา่ วปตั ตานี บรเิ วณชมุ ชนบาราโหม ต�ำ บลบาราโหม อ�ำ เภอเมอื ง
ปัตตานี ซ่ึงเป็นลวดลายอัตลักษณ์ประจำ�กลุ่ม ในอดีตบาราโหมเป็นท่ีต้ังของเมืองหลวงในสมัย
ปาตานีดารุสซาลาม เมืองท่าที่สำ�คัญที่มีการติดต่อค้าขายแลกเปล่ียนสินค้าและวัฒนธรรมระหว่าง
คาบสมุทรมลายูกับนานาอารยประเทศ สีท่ีใช้ในผืนผ้าเป็นสีธรรมชาติท่ีสกัดจากผงชา (ใช้ช่ือว่า
ชาชกั ปัตตานี) หนึ่งในคอลเลก็ ชนั เมนูปัตตานขี องชมุ ชนท่องเทีย่ ว OTOP นวัตวถิ ี ต�ำ บลบาราโหม
และกลุ่มบาราโหมบาซาร์

รายละเอียดของผ้อู อกแบบ
ตัดเย็บโดย ทีมช่างบาราโหมปัตตานี โทร. ๐๙ ๓๕๘๐ ๒๗๐๒ (ฟารดี า กลา้ ณรงค)์
ทอ่ี ยู่ บาราโหมบาซาร์ หมทู่ ่ี ๑ ต�ำ บลบาราโหม อ�ำ เภอเมืองปตั ตานี จังหวดั ปัตตานี

20

ค�ำ น�ำ

นับเป็นระยะเวลากว่า ๖๐ ปี ท่ีสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อการอนุรักษ์และสืบสาน
ภูมิปัญญาของคนไทย ตั้งแต่เม่ือคร้ังที่ได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในคราวเสด็จพระราชดำ�เนินไปทรงเย่ียมราษฎร
ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เปน็ ครงั้ แรก เมอื่ วนั ท่ี ๒ ธนั วาคม ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๔๙๘ ไดท้ อดพระเนตร
เห็นราษฎรนุ่งซ่ินไหมมัดหมี่กันเป็นส่วนใหญ่ จึงได้มีพระราชดำ�ริว่าควรจะมีการนำ�ภูมิปัญญา
ของราษฎรทไี่ ดท้ อผา้ ไวใ้ ชม้ าพฒั นาเปน็ อาชพี ใหเ้ กดิ รายไดแ้ กร่ าษฎร ซง่ึ ในเวลาตอ่ มากไ็ ดท้ รงกอ่ ตงั้
มูลนธิ ิส่งเสริมศลิ ปาชพี ในสมเด็จพระนางเจา้ สริ ิกติ ์ิ พระบรมราชนิ ีนาถข้นึ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๑ กรกฎาคม
ปีพุทธศักราช ๒๕๑๙ เพื่อทำ�การฝึกอาชีพเสริมให้กับราษฎร อีกท้ังยังมีพระราชประสงค์เพื่อ
การอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาของคนไทยให้คงอยู่สืบไป ซึ่งรัฐบาลได้น้อมนำ�แนวพระราชดำ�ริ
มาขยายผลจดั ท�ำ เปน็ โครงการหนงึ่ ต�ำ บล หนงึ่ ผลติ ภณั ฑ์ หรอื One Tambon One Product (OTOP)
และกรมการพัฒนาชุมชนได้ดำ�เนินการสานต่อพระราชปณิธานของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง และอนุรักษ์ผ้าไทยให้คงอยู่คู่แผ่นดิน โดยได้
ลงนามบันทกึ ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กบั สภาสตรีแหง่ ชาติในพระบรมราชินปู ถัมภ์ และจดั ทำ�
โครงการ “สืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถ่ินไทย ดำ�รงไว้ในแผ่นดิน” ขึ้น อีกท้ังยังได้มีการผลักดัน
มาตรการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การใชแ้ ละสวมใสผ่ า้ ไทย จนเปน็ มตคิ ณะรฐั มนตรี เมอ่ื วนั ที่ ๙ มถิ นุ ายน
๒๕๖๓ เห็นชอบมาตรการดังกล่าว โดยการรณรงค์เชิญชวนคนไทยสวมใส่ผ้าไทยอย่างน้อย
สัปดาห์ละสองวัน เพ่ือส่งเสริมการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมอันล้ําค่า ให้ดำ�รงคงอยู่ปรากฏเป็น
ความภาคภมู ิใจของคนไทย

สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ สริ วิ ณั ณวรี นารรี ตั นราชกญั ญา มแี นวพระด�ำ ริ “ผา้ ไทยใสใ่ หส้ นกุ ”
คือความสุขท่ีได้เลือกใช้ศิลปหัตถกรรมไทย เพื่อให้รายได้กลับเข้าสู่ชุมชน เป็นวงจรเศรษฐกิจ
เชิงมหภาค จากการเสด็จพระราชดำ�เนินทอดพระเนตรผลิตภัณฑ์ด้านผ้าและงานหัตถกรรมชุมชน
๓ ภมู ภิ าค ในระหวา่ งปี ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔ ทรงสรา้ งแรงบนั ดาลใจ แบง่ ปนั องคค์ วามรู้ และแลกเปลยี่ น
ประสบการณ์ส่วนพระองค์ให้แก่ศิลปินช่างทอผ้าและผู้ประกอบการด้านหัตถกรรมทุกประเภท
ทรงพระวินิจฉัยนำ�แนวคิดอันเป็นสากลมาสู่การพัฒนาต่อยอดมรดกภูมิปัญญาผ้าไทย ให้ผ้าไทย
มีชีวิตชีวา คงคุณค่าอยู่สืบไป ตลอดท้ังพระราชทานแบบลายผ้าแก่ช่างทอผ้า ชื่อลาย “ผ้ามัดหม่ี
ลายขอเจ้าฟ้าสิริวัณณวรีฯ” และแบบผ้าบาติกพระราชทาน ๓ ลาย คือ ลายปาเต๊ะร่วมใจเทิดไท้
เจ้าหญิง ลายทอ้ งทะเลไทย และลายป่าแดนใต้ ผ่านอธบิ ดกี รมการพัฒนาชมุ ชน เพอื่ เป็นของขวัญ
ท่ีสื่อความหมายถึงการส่งมอบความรักและความสุขให้แก่ชาวไทยทุกคน และพระราชทาน

21

พระอนุญาตใหก้ ลมุ่ ทอผา้ ทุกกลุ่ม ทกุ เทคนิค สามารถนำ�ไปใชท้ อผ้า ผลติ ผ้าได้ กระทรวงมหาดไทย
โดยกรมการพัฒนาชุมชน ร่วมกับสภาสตรีแห่งชาติในพระบรมราชินูปถัมภ์ ได้สนองแนวพระดำ�ริ
โดยแจ้งทุกจังหวัดทำ�พิธีมอบลายผ้าพระราชทานฯ แก่กลุ่มทอผ้าในจังหวัด ได้นำ�ไปเป็นต้นแบบ
และพฒั นาตอ่ ยอดไปสเู่ ครอื่ งแตง่ กาย เครอ่ื งประดบั ตามวถิ ที เี่ ปน็ เอกลกั ษณป์ ระจ�ำ ถน่ิ สง่ เสรมิ กระตนุ้
ผ้าไทยให้ทันสมัยสู่สากลเป็นท่ีนิยมในทุกเพศ ทุกวัย และทุกโอกาส และได้จัดการประกวด
ผ้าลายพระราชทานข้ึน ซึ่งกิจกรรมได้ดำ�เนินการเสร็จสิ้นและสร้างประโยชน์อันมหาศาลให้กับ
ประชาชนชาวไทยยามวิกฤตจิ ากโรคระบาด

ในปี ๒๕๖๕ กระทรวงมหาดไทย โดยกรมการพัฒนาชุมชน ได้รับพระกรุณาธิคุณ
จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา พระราชทานลายผ้า “ผ้าขิด
ลายนารีรัตนราชกัญญา” ให้กับช่างทอผ้าทุกกลุ่ม ทุกเทคนิค นำ�ไปใช้ทอผ้า ผลิตผ้าได้
ผ่านปลัดกระทรวงมหาดไทย เม่ือวันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๖๕ ณ วัดธาตุประสิทธ์ิ อำ�เภอนาหว้า
จังหวัดนครพนม คร้ังเสด็จพระราชดำ�เนินทอดพระเนตรผลิตภัณฑ์ผ้าและงานหัตถกรรมชุมชน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ กลุ่มทอผ้าวัดธาตุประสิทธ์ิ และหอประชุมโรงเรียนนาหว้าพิทยาคม
อำ�เภอนาหว้า จังหวัดนครพนม อีกทั้ง เสด็จทอดพระเนตรผลิตภัณฑ์ผ้าและงานหัตถกรรม
ชมุ ชนใน ๔ ภูมภิ าค พร้อมทงั้ พระราชทานพระวนิ จิ ฉัยการพฒั นาผา้ ไทยใหร้ ว่ มสมยั และมคี ุณภาพ
เทยี บเท่าสากล

ดว้ ยสำ�นกึ ในพระกรุณาธคิ ณุ สมเด็จพระเจา้ ลกู เธอ เจ้าฟา้ สริ วิ ัณณวรี นารีรตั นราชกัญญา
และเป็นการต่อยอดการพัฒนาผ้าลายพระราชทาน ซึ่งกรมการพัฒนาชุมชนได้ส่งมอบต่อให้กับ
กลุ่มทอผ้าในจังหวัด ได้นำ�ไปเป็นต้นแบบและพัฒนาต่อยอดไปสู่เครื่องแต่งกาย เคร่ืองประดับ
ตามวิถีท่ีเป็นเอกลักษณ์ประจำ�ถ่ิน ตามพระดำ�ริ “ผ้าไทยใส่ให้สนุก” คือ ความสุขท่ีได้เลือกใช้
ศลิ ปหตั ถกรรมไทย เพอ่ื ใหร้ ายไดก้ ลบั เขา้ สชู่ มุ ชน เปน็ วงจรเศรษฐกจิ เชงิ มหภาค และสง่ เสรมิ กระตนุ้
ผ้าไทยให้ทันสมัยสู่สากลเป็นที่นิยมในทุกเพศ ทุกวัย และทุกโอกาส อีกท้ัง กรมการพัฒนาชุมชน
ยังได้กำ�หนดจัดทำ�โครงการต่อยอดการพัฒนาผ้าไทยตามแนวพระดำ�ริ “ผ้าไทยใส่ให้สนุก”
เชน่ โครงการพฒั นาศกั ยภาพผปู้ ระกอบการ OTOP ผา้ ไทย (Coaching ผา้ ขดิ ลายนารรี ตั นราชกญั ญา)
การประกวดผา้ ลายพระราชทาน “ผา้ ขดิ ลายนารรี ตั นราชกญั ญา” โครงการพฒั นาตอ่ ยอดภมู ปิ ญั ญา
ผลิตภัณฑ์ Young OTOP สู่สากล โครงการสืบสานพระราชปณิธาน “นาหว้าโมเดล” ในโอกาส
ครบรอบ ๕๐ ปี โครงการศิลปาชีพ โครงการพัฒนารูปแบบชุมชนภูมิปัญญา โครงการศึกษาวิจัย
และพฒั นาสจี ากธรรมชาติ กรณีศกึ ษาสยี อ้ มร้อน เปน็ ตน้ ดงั นนั้ เพ่อื เป็นการเผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์
ผ้าไทยให้เป็นที่รู้จักแก่สาธารณชนทั่วไป และเป็นการส่งเสริมช่องทางการตลาดให้เพิ่มมากขึ้น
อีกท้ังเพื่อให้คนรุ่นใหม่ได้ศึกษาเรียนรู้ สืบสาน รักษา ต่อยอดมรดกภูมิปัญญางานผ้าไทยให้คงไว้
คแู่ ผน่ ดนิ ไทยสบื ไป กรมการพฒั นาชมุ ชนจงึ ไดจ้ ดั ท�ำ โครงการสง่ เสรมิ การสวมใสผ่ า้ ไทยตามพระด�ำ ริ
“ผา้ ไทยใสใ่ หส้ นกุ ” ของสมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอ เจา้ ฟ้าสริ ิวัณณวรี นารรี ัตนราชกัญญา ข้ึน

22

สารบัญ

หน้า

ค�ำ ปรารภ ๘ จังหวดั นครนายก ๗๐
คำ�นำ� จงั หวัดนครปฐม ๗๒
การแสดงแบบ “ผา้ ไทยใสใ่ ห้สนุก” ๒๑ จังหวดั นนทบรุ ี ๗๔
ภาคเหนอื ๗๖
จังหวดั ปทุมธาน ี ๗๘
จังหวดั ก�ำ แพงเพชร จังหวดั ประจวบครี ีขันธ์ ๘๐
จงั หวัดเชียงราย ๒๖ จงั หวดั ปราจีนบุรี ๘๒
จังหวดั เชียงใหม ่ ๒๘ จังหวดั พระนครศรีอยุธยา ๘๔
จังหวัดตาก ๓๐ จงั หวัดเพชรบุร ี ๘๖
จังหวัดนครสวรรค์ ๓๒ จงั หวัดราชบรุ ี ๘๘
จงั หวัดนา่ น ๓๔ จงั หวัดลพบรุ ี ๙๐
จงั หวัดพิจติ ร ๓๖ จังหวดั สมุทรปราการ ๙๒
จังหวดั พษิ ณุโลก ๓๘ จงั หวดั สมุทรสงคราม ๙๔
จงั หวดั เพชรบูรณ ์ ๔๐ จงั หวัดสมทุ รสาคร ๙๖
จังหวดั แพร ่ ๔๒ จังหวดั สระแก้ว ๙๘
จังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน ๔๔ จงั หวดั สระบรุ ี ๑๐๐
จงั หวัดล�ำ ปาง ๔๖ จังหวัดสงิ หบ์ รุ ี ๑๐๒
จังหวัดล�ำ พนู ๔๘ จังหวดั สพุ รรณบุรี ๑๐๔
จงั หวดั สุโขทยั ๕๐ จังหวัดอ่างทอง ๑๐๖
จงั หวัดอตุ รดติ ถ์ ๕๒ ๑๐๘
จังหวัดอุทยั ธาน ี ๕๔ ภาคใต ้ ๑๑๐
๕๖ จงั หวดั กระบ่ี ๑๑๒
ภาคกลาง จงั หวดั ชมุ พร ๑๑๔
จงั หวดั กาญจนบุรี จังหวดั ตรงั ๑๑๖
จังหวัดจนั ทบรุ ี ๕๘ จังหวัดนครศรธี รรมราช ๑๑๘
จงั หวดั ฉะเชิงเทรา ๖๐ จงั หวัดนราธวิ าส ๑๒๐
จังหวัดชลบรุ ี ๖๒ จงั หวดั ปัตตาน ี
จังหวดั ชยั นาท ๖๔ จังหวัดพังงา
จังหวดั ตราด ๖๖ จงั หวัดพัทลุง
๖๘

23

จงั หวดั ภูเก็ต ๑๒๒ จังหวดั บุรรี ัมย ์ ๑๔๖
จงั หวดั ยะลา ๑๒๔ จังหวัดมหาสารคาม ๑๔๘
จังหวดั ระนอง ๑๒๖ จงั หวัดมกุ ดาหาร ๑๕๐
จงั หวัดสงขลา ๑๒๘ จงั หวดั ยโสธร ๑๕๒
จงั หวดั สตูล ๑๓๐ จงั หวัดรอ้ ยเอด็ ๑๕๔
จังหวดั สรุ าษฎรธ์ าน ี ๑๓๒ จังหวดั ศรีสะเกษ ๑๕๖
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จงั หวดั สกลนคร ๑๕๘
จงั หวดั กาฬสินธุ์ จงั หวดั สุรินทร ์ ๑๖๐
จงั หวัดขอนแก่น ๑๓๔ จังหวดั หนองคาย ๑๖๒
จงั หวดั ชยั ภมู ิ ๑๓๖ จังหวัดหนองบวั ลำ�ภู ๑๖๔
จังหวัดนครพนม ๑๓๘ จงั หวัดอดุ รธานี ๑๖๖
จงั หวัดนครราชสีมา ๑๔๐ จงั หวัดอุบลราชธาน ี ๑๖๘
จงั หวดั บงึ กาฬ ๑๔๒ จังหวัดอ�ำ นาจเจริญ ๑๗๐
๑๔๔

กิจกรรมการรณรงค์และส่งเสริมการใช้และสวมใส่ผ้าไทยตามแนวพระดำ�ริ “ผ้าไทยใส่ให้สนุก”
ของสมเด็จพระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ สริ ิวัณณวรี นารรี ัตนราชกญั ญา

ภาคเหนือ จังหวดั สโุ ขทัย ๑๘๗
จังหวดั กำ�แพงเพชร ๑๗๔ จงั หวดั อตุ รดิตถ์ ๑๘๘
จงั หวดั เชยี งราย ๑๗๕ จังหวัดอุทัยธานี ๑๘๙
จงั หวัดเชยี งใหม่ ๑๗๖ ๑๙๐
จังหวัดตาก ๑๗๗ ภาคกลาง ๑๙๑
จังหวัดนครสวรรค์ ๑๗๘ จังหวัดกาญจนบุร ี ๑๙๒
จังหวัดนา่ น จังหวดั จนั ทบุร ี ๑๙๓
จงั หวดั พิจิตร ๑๗๙ จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ๑๙๔
จงั หวดั พิษณโุ ลก ๑๘๐ จังหวดั ชลบุรี ๑๙๕
จงั หวัดเพชรบรู ณ์ ๑๘๑ จังหวัดชยั นาท ๑๙๖
จังหวัดแพร ่ ๑๘๒ จงั หวดั ตราด ๑๙๗
จงั หวัดแม่ฮ่องสอน ๑๘๓ จังหวดั นครนายก ๑๙๘
จงั หวัดลำ�ปาง ๑๘๔ จังหวัดนครปฐม
จังหวดั ล�ำ พูน ๑๘๕ จังหวดั นนทบรุ ี
๑๘๖

24

จงั หวดั ปทุมธานี ๑๙๙ จังหวดั ระนอง ๒๒๔
จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ ๒๐๐ จังหวดั สงขลา ๒๒๕
จังหวดั ปราจีนบุร ี ๒๐๑ จังหวัดสตลู ๒๒๖
จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ๒๐๒ จังหวดั สุราษฎรธ์ าน ี ๒๒๗
จงั หวัดเพชรบรุ ี ๒๐๓
จงั หวดั ราชบรุ ี ๒๐๔ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ๒๒๘
จังหวดั ลพบรุ ี ๒๐๕ จงั หวดั กาฬสินธ ุ์ ๒๒๙
จังหวดั สมทุ รปราการ ๒๐๖ จงั หวดั ขอนแกน่ ๒๓๐
จังหวัดสมุทรสงคราม จงั หวัดชยั ภมู ิ ๒๓๑
จงั หวัดสมทุ รสาคร ๒๐๗ จงั หวัดนครพนม ๒๓๒
จังหวดั สระแก้ว ๒๐๘ จงั หวดั นครราชสมี า ๒๓๓
จงั หวัดสระบุรี ๒๐๙ จงั หวัดบงึ กาฬ ๒๓๔
จงั หวดั สงิ ห์บุร ี ๒๑๐ จงั หวัดบุรรี มั ย ์ ๒๓๕
จังหวัดสุพรรณบุร ี ๒๑๑ จงั หวัดมหาสารคาม ๒๓๖
จังหวดั อา่ งทอง ๒๑๒ จังหวดั มุกดาหาร ๒๓๗
ภาคใต้ ๒๑๓ จงั หวดั ยโสธร ๒๓๘
จังหวดั กระบี่ ๒๓๙
จงั หวดั ชุมพร จงั หวดั ร้อยเอด็ ๒๔๐
จงั หวัดตรัง ๒๑๔ จังหวดั ศรีสะเกษ ๒๔๑
จงั หวัดนครศรธี รรมราช ๒๑๕ จังหวัดสกลนคร ๒๔๒
จังหวัดนราธวิ าส ๒๑๖ จังหวัดสรุ นิ ทร์ ๒๔๓
จังหวัดปัตตานี ๒๑๗ จังหวดั หนองคาย ๒๔๔
จังหวัดพงั งา ๒๑๘ จังหวัดหนองบัวล�ำ ภ ู ๒๔๕
จงั หวัดพัทลุง ๒๑๙ จังหวัดอุดรธานี ๒๔๖
จงั หวัดภูเกต็ ๒๒๐ จังหวัดอุบลราชธาน ี ๒๔๗
จังหวัดยะลา ๒๒๑ จงั หวัดอำ�นาจเจริญ
๒๒๒
๒๒๓ คณะผู้จดั ทำ�

25

นายเชาวลติ ร แสงอุทยั ผู้วา่ ราชการจงั หวดั ก�ำ แพงเพชร

นางนวลจนั ทร์ แสงอทุ ัย ประธานแม่บา้ นมหาดไทยจังหวดั กำ�แพงเพชร
26

ผา้ ฝ้ายทอ “ลายศิลาล้อมเพชร”

เรื่องราวผา้ ท่ีใช้ในการเดนิ แบบ
ในมมุ มองทน่ี กึ ถงึ ก�ำ แพงเพชร อตั ลกั ษณข์ องจงั หวดั ก�ำ แพงเพชร คอื เมอื งโบราณทไ่ี มไ่ ดต้ าย
และมชี วี ติ มากว่า ๖๐๐ ปี (ผู้เขยี นขอใชข้ ้อมลู ทเี่ ป็นขอ้ มูลชน้ั ปฐมภูมคิ อื ข้อมูลจากจารึกเป็นส�ำ คญั
มิใช่ข้อมูลอายุเมืองจากตำ�นาน นิทาน นิยาย แต่เป็นจารึกลานเงินในการขึ้นเสวยราชย์ของ
พ่อพญาแสนสอยดาว ในปี พ.ศ. ๑๙๖๓) ผู้ออกแบบขอนำ�งานประติมากรรมในพิพิธภัณฑสถาน
แหง่ ชาติ ก�ำ แพงเพชร มาเปน็ แนวทางในการออกแบบเพอื่ งา่ ยตอ่ การสรา้ งสรรคผ์ ลงาน อาทิ รปู เทวดา
ประติมากรรมดินเผารูปร้อยรัก สกุลช่างกำ�แพงเพชร แผ่นลวดลายรูปกลีบบัวดินเผาประดับ
โบราณสถานศิลปะอยุธยา (พุทธศตวรรษท่ี ๒๑) ช้างทรงเครื่องวัดช้างรอบลายประดับต่าง ๆ
และลวดลายศิราภรณ์เทวรูปพระอิศวรและเทวสตรี และศิลาแลงที่เป็นเอกลักษณ์โดดเด่น มาเป็น
แรงบันดาลใจในการออกแบบ ในส่วนของการให้สี ผู้ออกแบบได้หยิบยกหรือเลือกใช้ชุดข้อมูล
“ผ้าห่มคัมภีร์ ผ้าลายอย่างจากวัดคูยาง” จังหวัดกำ�แพงเพชร ก็ปรากฏว่าใช้ “ผ้าลายอย่างท่ีใช้
ห่อคัมภีร์และมีอายุไม่ต่ํากว่า ๒๐๐ ปี” หากศึกษาดี ๆ ผ้าลายอย่างยังเป็นท่ีนิยมต้ังแต่ราชสำ�นัก
อยุธยาซึ่งเมอื งกำ�แพงเพชรไม่สามารถปฏิเสธความสมั พนั ธ์และอิทธิพลกับอาณาจกั รอยุธยาได้เลย

รายละเอยี ดผูอ้ อกแบบและตัดเย็บ
กลมุ่ ผา้ มดั หมท่ี อมอื ทอเทยี นทอง โดยนางราตรี บวั หลวง ประธานกลมุ่ ผา้ มดั หมท่ี อมอื ทอเทยี นทอง
ทอี่ ยู่ : ตำ�บลท่าพทุ รา อำ�เภอคลองขลุง จังหวดั กำ�แพงเพชร โทร. ๐๘ ๙๕๖๔ ๒๑๓๔

27

นายวราดศิ ร ออ่ นนุช รองผู้วา่ ราชการจงั หวดั เชียงราย
28

ผ้าทอลา้ นนาเชียงแสน
ลายไข่ปลา ลายกาแล ลายเสอื ยอ่ ย และลายขอพนั เสา

เรอ่ื งราวผา้ ทใี่ ช้ในการเดินแบบ
ผ้าทอล้านนาลายเชียงแสน เป็นผ้าทอด้วยมือ โดยใช้ก่ีกระตุกในการทอ ใช้เส้นด้ายและ
ไหมประดษิ ฐใ์ นการทอ มลี วดลายดง้ั เดิมของชาวเชียงแสน ซึ่งถอดแบบจากลายผา้ เชยี งแสนโบราณ
ทค่ี น้ พบในพน้ื ทอ่ี �ำ เภอเชยี งแสน เปน็ ลายดง้ั เดมิ ทมี่ อี ยดู่ ว้ ยกนั ๕ ลาย ประกอบดว้ ย ๑) ลายขอพนั เสา
๒) ลายเสือยอ่ ย ๓) ลายดอกมะลิ ๔) ลายกาแล และ ๕) ลายไข่ปลา ซงึ่ มีการจดทะเบยี นลิขสิทธิ์
ลายผ้าท้ัง ๕ ลาย เรียบร้อยแล้ว ผ้าทอลายเชียงแสนจึงมีลักษณะท่ีโดดเด่น คือ มีการผสมผสาน
ลายทัง้ ๕ ลายเขา้ ดว้ ยกนั จึงท�ำ ให้ผา้ ทอมีลวดลายท่ีสวยงาม

รายละเอยี ดผู้ออกแบบและตดั เยบ็
กลมุ่ ทอผ้าพื้นเมอื งเชยี งแสน (วัดพระธาตุผาเงา) บา้ นสบค�ำ
เลขที่ ๒๗๖/๑ หมู่ที่ ๕ ตำ�บลเวียง อำ�เภอเชยี งแสน จังหวดั เชยี งราย ๕๗๐๐๐
โทร. ๐๘ ๙๔๒๙ ๐๗๓๒, ๐๘ ๖๙๑๖ ๖๗๗๐, ๐๘ ๔๘๐๘ ๓๑๔๔

29

นายประจญ ปรัชญ์สกุล ผวู้ ่าราชการจงั หวดั เชยี งใหม่

นางดวงจติ ต์ ปรชั ญ์สกลุ ประธานแม่บา้ นมหาดไทยจงั หวดั เชยี งใหม่
30

ผ้าใยกญั ชงปักเม่ยี น

เร่ืองราวผา้ ท่ีใชใ้ นการเดนิ แบบ
การสวมใส่เส้ือผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติลายหงส์ในโคม ซ่ึงเป็นลายผ้าอัตลักษณ์ประจำ�
จังหวัดเชียงใหม่ มีที่มาจากลายผ้าทอโบราณที่โดดเด่นและแพร่หลายในกลุ่มชาติพันธุ์ไทยวนหรือ
คนเมืองในเชียงใหมม่ าแตอ่ ดตี ตัดเยบ็ จากผา้ ฝ้ายทอมอื ทเ่ี รยี บงา่ ย สวยงาม ดูดี และมเี อกลักษณ์
จงั หวดั เชยี งใหมม่ วี ฒั นธรรมการแตง่ กายทห่ี ลายหลาย มากดว้ ยกลมุ่ ชาตพิ นั ธท์ุ อี่ าศยั อยบู่ น
พ้ืนท่ีสูง แต่ไม่ง่ายที่ใครจะได้สัมผัสวิถีชีวิตของชาวเขาหลากหลายเผ่าถึงถิ่นฐานบนดอยสูง
โดยเฉพาะการสวมใสผ่ นื ผ้าเพื่อเปน็ เครื่องแต่งกายในการท�ำ กจิ กรรมต่าง ๆ
ชุดเดรสใยกัญชงปักเมี่ยน เป็นการนำ�อัตลักษณ์ที่โดดเด่นของวัฒนธรรมการแต่งกาย
ที่หลากหลายของชนเผา่ ต่าง ๆ กลมุ่ ชาตพิ ันธุท์ อ่ี าศัยอยูใ่ นจงั หวดั เชยี งใหม่ มาผสมผสานควบคกู่ ับ
ผา้ ใยกญั ชงในเชงิ วฒั นธรรม
การปลกู ตน้ กญั ชงเป็นประเพณแี ละวิถชี วี ติ ทีอ่ ยูค่ ู่กบั ชาวมง้ (แมว้ ) ตงั้ แตเ่ กดิ จนสนิ้ อายขุ ยั
ชาวม้ง (แม้ว) มักนำ�เส้นใยกัญชงมาทอเป็นเครื่องนุ่งห่มในชีวิตประจำ�วัน ด้วยเหตุนี้ชาวม้ง (แม้ว)
จึงปลูกต้นกัญชงเพื่อนำ�เส้นใยมาใช้ประโยชน์เป็นประจำ�ทุก ๆ ปี นอกจากนี้ ผ้าทอใยกัญชง
ยังเปรียบเสมือนทองคำ�ท่ีพ่อแม่มอบให้กับลูกสาวไว้ติดตัวไปตอนออกเรือน ซึ่งมีคุณสมบัติเด่น
ท่ีเหนียวทนทาน ไม่อับช้ืน ปราศจากเชื้อราและแบคทีเรีย ที่สำ�คัญคือป้องกันรังสียูวีโดยธรรมชาติ
แถมยังทนความร้อนได้สูงถึง ๑๗๐ องศาเซลเซียส โดยไม่มีส่วนผสมของสารเคมีแต่อย่างใด
สรา้ งมลู คา่ เพม่ิ ดว้ ยการน�ำ ผา้ ปกั ไหมเสน้ เดยี วแบบกางเกงของชนเผา่ เมยี่ น (เยา้ ) มาตดั เยบ็ ตอ่ เปน็ ผนื
ร่วมกับผ้าฝ้ายใยกัญชงสีดำ� ออกแบบปลายแขนด้วยงานปักผ้าโพกศีรษะของชนเผ่าเม่ียน (เย้า)
เพ่ือให้ร่วมสมัย สามารถสวมใส่ได้ทุกโอกาส ส่งเสริมการสร้างอาชีพ และสร้างรายได้ให้แก่
คนในพืน้ ทีจ่ ังหวัดเชยี งใหม่

รายละเอยี ดผอู้ อกแบบและตัดเย็บ
ช่ือรา้ น/กล่มุ ผูผ้ ลติ ผปู้ ระกอบการ : ร้านบัวคำ�ผา้ ไทย
Facebook page : วิราชณยี ์ เครือแกว้
ชอ่ื - สกุล (ผู้ตดั เยบ็ ) นางสาววิราชณีย์ เครือแกว้
ทีอ่ ยู่ บา้ นเลขท่ี ๗๗/๓ หมู่ที่ ๔ ดอนตัน ต�ำ บลเหมืองแก้ว อำ�เภอแมร่ ิม จงั หวัดเชียงใหม่ ๕๐๑๘๐
โทร. ๐๘ ๔๖๗๗ ๑๑๔๓

31

นายสมชัย กจิ เจรญิ รุง่ โรจน์ ผู้ว่าราชการจงั หวดั ตาก

นางวรรณฤดี กิจเจริญรุ่งโรจน์ ประธานแมบ่ ้านมหาดไทยจังหวดั ตาก
32

ผ้าฝา้ ยทอมือ ลายดอกเสีย้ วดอกขาว

เรอ่ื งราวผ้าทีใ่ ชใ้ นการเดินแบบ
ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ช่างทอผ้ามีแนวคิดจากการนำ�ดอกไม้พระราชทานประจำ�จังหวัด เป็น
ส่วนดอก เส้นผ่านศูนย์กลาง ๗ - ๑๒ เซนติเมตร กลีบดอก ๕ กลีบ รูปไข่กลับ สีขาวหรือสีม่วง
ดอกมีกล่ินหอมออ่ น ๆ ออกดอกตลอดปี มาเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบลวดลายลงบนผืนผ้า
เทคนิคการทอผ้าแบบยกดอกหรือยกลาย แสดงถึงความอ่อนหวานผสมผสานความแข็งแกร่ง
ในผืนปา่ กลายมาเปน็ ผ้าอตั ลกั ษณ์ประจ�ำ จงั หวัด น�ำ ไปสู่การสร้างความยง่ั ยนื ทางมรดกวัฒนธรรม
และภมู ปิ ญั ญาพ้ืนถนิ่ ใหค้ งอยตู่ อ่ ไป
ชอื่ ชดุ ทส่ี วมใส่ “หอมหวน ชวนรกั อตั ลกั ษณจ์ งั หวดั ตาก” ทางผอู้ อกแบบตดั เยบ็ จงึ หยบิ
เอาแรงบันดาลใจดังกล่าวมาเล่าผ่านลวดลายและโทนสีของชุดที่มีเอกลักษณ์และกลิ่นอายของ
ความเป็นไทย โทนสีที่ใช้จะเป็นการใช้สีม่วงประจำ�จังหวัดตาก เทคนิคและรายละเอียดงานตัดเย็บ
มดี ังน้ี
ผเู้ ดินแบบ
ชดุ “ผวู้ ่าราชการจังหวัดตาก” ชุดสูทเช้ติ แขนยาว เป็นการผสมผสานระหวา่ งงานผา้ ทอ
ลายดอกเสย้ี วกบั ผา้ พื้นทอสีม่วง ท�ำ ให้ผสู้ วมใส่ดบู คุ ลิกภาพแสดงถึงความเรียบง่าย
ชุด “ประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวัดตาก” ชุดเดรส เป็นการผสมผสานระหว่าง
งานผา้ ทอมอื ลายดอกเสย้ี วสมี ว่ ง ตดั เยบ็ รว่ มกบั ผา้ ลายลกู ไมบ้ หุ งา และชว่ งเอวใชผ้ า้ ชฟี องสมี ว่ งออ่ น
เป็นระบายของกระโปรง แสดงถึงความอ่อนโยนแกผ่ ู้สวมใส่
ทั้ง ๒ ชดุ นเี้ ปน็ การประชาสัมพนั ธว์ า่ มผี า้ ทอเมืองตากสวย ๆ และมลี วดลายผ้าอกี มากมาย
นำ�มาตัดเย็บในรูปแบบต่าง ๆ ในการสวมใส่ผ้าไทยได้อย่างสง่างามลงตัว และยังเป็นการอนุรักษ์
อัตลกั ษณผ์ ้าไทย สรา้ งอาชีพสรา้ งรายได้ใหก้ บั ชมุ ชนอยา่ งย่งั ยืน
ออกแบบโดย นางวรรณฤดี กจิ เจริญรงุ่ โรจน์
ผู้ตัดเยบ็ : นางผอ่ ง ทองมาลา โทร : ๐๘ ๖๙๓๒ ๓๙๔๖
ท่อี ยู่ : ๓๔๙ ถนนตากสนิ ตำ�บลหนองหลวง อำ�เภอเมอื งตาก จังหวดั ตาก ๖๓๐๐๐

33

นายชยนั ต์ ศิริมาศ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์

ทันตแพทย์หญิงศริ ริ ตั น์ ศริ มิ าศ ประธานแมบ่ ้านมหาดไทยจังหวดั นครสวรรค์
34

ผ้าลายพาสาน

เรื่องราวผา้ ท่ใี ชใ้ นการเดนิ แบบ
“ลายพาสาน” เปน็ ลายผา้ ประจ�ำ จงั หวดั โดยมคี วามหมายลายผา้ ทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบ ดงั นี้
- ลายขอ เปน็ ลายผา้ พระราชทานของสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ สริ วิ ณั ณวรี นารรี ตั นราชกญั ญา
“S” หมายถงึ ความจงรักภกั ดีทช่ี าวไทยมีต่อพระบรมราชจกั รีวงศ์
- ลายผักกดู คอื พนั ธุ์พชื โบราณทข่ี นึ้ เฉพาะแถวหมบู่ ้านจนั เสน จังหวัดนครสวรรค์ บรเิ วณคูเมอื ง
โบราณสมยั ทวารวดที ม่ี อี ายมุ ากกวา่ ๑,๐๐๐ ปี ผกั กดู แสดงถงึ ความอดุ มสมบรู ณใ์ นพนื้ ท่ี สอ่ื ความหมายถงึ
ความงดงามของธรรมชาติ เชื่อกันว่าลายผักกูดช่วยให้ผู้สวมใส่เกิดความสมดุลของธาตุท้ัง ๔ ในร่างกาย
คอื ดนิ นํา้ ลม ไฟ ยอ่ มหมายถงึ รา่ งกายทสี่ มบูรณ์แขง็ แรง
- ลายขดิ เปน็ วิธีการทำ�ลวดลายบนผืนผ้า พบได้ทัว่ ไปในประเทศไทย โดยใช้แตง่ หนา้ หมอน ย่าม
ผ้าหลบ ผ้าเช็ด ตุง หัวซ่ิน ตีนซ่ิน ผ้าห่อคัมภีร์ และผ้าเบ่ียง “ผ้าขิด” เป็นผ้าท่ีทอข้ึนและสร้างลวดลาย
ด้วยวิธีการที่เรียกว่า “ขิด” ที่มาจากคำ�ว่า “สะกิด” หมายถึงการงัดซ้อนข้ึน หรือสะกิดซ้อนขึ้นเพื่อ
ท�ำ ลวดลาย โดยกลมุ่ ทอผา้ บา้ นโปรง่ เขนง อ�ำ เภอบรรพตพสิ ยั จงั หวดั นครสวรรค์ ไดค้ ดิ คน้ “ลายขดิ ไมล้ อด”
เป็นลายเอกลักษณ์เฉพาะ โดยได้รับการสืบทอดภูมิปัญญาทอผ้าจากกลุ่มลาวคร่ังในอำ�เภอสว่างอารมณ์
จังหวัดอทุ ัยธานี
- ลายหมี่ตาประยุกต์ เป็นการนำ�อัตลักษณ์ของกลุ่มทอผ้าบ้านหัวถนนกลาง อำ�เภอท่าตะโก
มาปรบั ใช้โดยน�ำ เอกลกั ษณล์ ายผ้า คือ “ลายหม่ตี า” ลักษณะเดน่ คือ ผา้ ทอจะออกสีแดงชาด ซ่งึ แสดงถงึ
ความเป็นลาวครงั่ ท่ีสืบทอดภมู ปิ ญั ญาการทอผา้ มาจากวัฒนธรรมลาวคร่ัง จังหวดั สุพรรณบุรี
- ลายดอกเสลา เสลาเป็นพันธ์ุไม้พระราชทาน ปลูกเป็นสิริมงคล ประจำ�จังหวัดนครสวรรค์
ลักษณะเด่นมี ๖ กลีบ มีช่ือเรียกหลายชื่อ เช่น ตะเกรียบ ตะแบกขน เสลาใบใหญ่ อีกช่ือว่า อินทรชิต
ช่ือยักษ์ในรามเกียรต์ิ (เป็นโอรสของทศกัณฐ์กับนางมณโฑ แต่เดิมช่ือ รณพักตร์ ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น
อินทรชิต เพราะไปรบกับพระอินทร์จนได้ชัยชนะ มีฤทธ์ิเดชร้ายกาจ เนื่องจากได้พรจากพระอิศวร
พระพรหม และพระนารายณ์)
- ลายพลุ คือแนวคิดจากการจุดพลุเฉลิมฉลองวันขึ้นปีใหม่ของชาวจีน การเร่ิมต้นสิ่งท่ีดี
เพื่อความเป็นสิริมงคล (ประเพณีตรุษจีน ตรงกับวันข้ึน ๑ ค่ํา เดือน ๑ ตามปฏิทินจีน เป็นประเพณี
เก่ียวกบั การไหว้เจ้า ไหวบ้ รรพบุรุษของคนไทยเช้อื สายจีน)
ลายท้ังหมดผสมผสานจนเป็น “ลายพาสาน” ช่ือเดียวกับสถาปัตยกรรมที่เป็นจุดนัดพบของ
แม่น้ําเจ้าพระยา (ปิง วัง ยม น่าน) ณ ต้นนํ้าเจ้าพระยา ท่ีหมายถึงการนำ�พาสายนํ้ามาผสมผสาน
รวมกันเป็นหน่ึงเดียว เช่นเดียวกับเอกลักษณ์ลายผ้าในท้องถิ่นมาผสมผสานกันจนเป็นเอกลักษณ์
ลายผ้าของนครสวรรค์ โดยจังหวัดนครสวรรค์ได้ประกาศให้เป็นลายผ้าประจำ�จังหวัดนครสวรรค์
ณ วนั ที่ ๑๕ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๕

รายละเอยี ดผู้ออกแบบและตดั เยบ็
ผูอ้ อกแบบลายผ้า คอื สาขาวชิ าการออกแบบ วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษานครสวรรค์ จากคณะทำ�งานฝ่ายผลิต
ลวดลายผา้ ทอ คณะกรรมการและคณะทำ�งานสง่ เสริมผ้าถ่ินไทยในการส่งเสรมิ เศรษฐกิจฐานราก
ผู้ตัดเยบ็ คือ ร้านเอกตัดสทู เลขที่ ๕๕ จ.๔๓ ถนนดาวดงึ ส์ อำ�เภอเมืองนครสวรรค์
จังหวัดนครสวรรค์ ๖๐๐๐๐ โทร. ๐๘ ๑๘๘๘ ๙๘๘๔

35

นายวิบรู ณ์ แววบณั ฑิต ผ้วู า่ ราชการจงั หวดั น่าน

นางสุดารัตน์ แววบณั ฑติ ประธานแมบ่ า้ นมหาดไทยจงั หวดั นา่ น
36

ผา้ อัตลักษณก์ ลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ

เรอ่ื งราวผา้ ทใ่ี ช้ในการเดินแบบ
ชดุ ทา่ นผวู้ า่ ราชการจงั หวัด : งานดีไซน์ทด่ี ึงเอาอัตลักษณแ์ ละกลน่ิ อายของกลุ่มชาติพนั ธุ์
มง้ เม่ยี น กะเหรย่ี ง มาออกแบบผสมผสานตดั เปน็ ชดุ สำ�เรจ็ รปู โดยใช้ผา้ ฝ้ายตดั เปน็ ตวั เส้อื หนา้ สั้น
หลงั ยาว ใหม้ ีความเป็นสากลและร่วมสมัย สามารถสวมใสไ่ ดท้ กุ โอกาส
ชุดประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวัดน่าน : งานดีไซน์ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากกางเกง
ของกลุ่มชาติพนั ธม์ุ ง้ และเส้อื ของกลมุ่ ชาติพนั ธ์ุเม่ียน ผสมผสานกนั อยา่ งลงตวั และร่วมสมัย ซึง่ แบบ
เสื้อผ้าน้ีสวมใส่กันมาตั้งแต่โบราณเป็นพันปี ใช้ผ้าปักและใยกัญชงซึ่งมีคุณสมบัติคือ ใส่แล้วไม่ร้อน
ผ้าท้ิงตัว มีความพลวิ้ และทนั สมยั

รายละเอียดผ้อู อกแบบและตดั เย็บ
ชอื่ ร้าน/กลุ่มผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ : บา้ นไหมลายปกั
ผู้ตัดเยบ็ : คุณชนาภา แซโ่ ซง้
ทอ่ี ยู่ ๑๕๕ หมูท่ ่ี ๑ ตำ�บลปา่ กลาง อ�ำ เภอปวั จงั หวดั นา่ น โทร. ๐๘ ๑๗๙๐ ๒๓๔๐,
๐๙ ๑๕๕๒ ๔๑๖๖

37

นายชนก มากพนั ธุ์ รองผ้วู ่าราชการจังหวดั พิจิตร

ดร.เพชรประทุมมาพร ทองอ่นุ เกตุมณีศา รองประธานแมบ่ า้ นมหาดไทยจงั หวดั พจิ ติ ร
38

โอฆะบรุ ี ศรีวิจิตร พสิ มัย

เร่ืองราวผ้าท่ใี ช้ในการเดินแบบ
การออกแบบชุดแต่งกายของนายชนก มากพันธุ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร
แบบชุดราชปะแตน โดยใช้ผ้าลายดอกบนุ นาคสีเขียว ผา้ อตั ลักษณข์ องจงั หวดั พิจิตร จากกลุ่มผ้าทอ
บ้านปา่ แดง ต�ำ บลหนองพยอม อ�ำ เภอตะพานหนิ จงั หวดั พิจติ ร มาตดั เยบ็ เป็นเส้ือ หม่ ทับดว้ ยสไบ
ผ้าทอขาวมา้ ของจังหวดั พิจติ ร และ ดร.เพชรประทุมมาพร ทองอ่นุ เกตุมณศี า รองประธานแม่บา้ น
มหาดไทยจังหวัดพิจิตร ออกแบบชุดโดยนำ�ผ้าลายดอกบุนนาคมาประยุกต์ผสมผสานกับผ้าขาวม้า
จากกลุ่มทอผ้าบา้ นป่าแดง ตำ�บลหนองพยอม อำ�เภอตะพานหนิ จังหวัดพจิ ิตร ให้มีความรว่ มสมัย
สวยงาม กับผ้าทอสีเขียว สีประจำ�จังหวัดพิจิตร มาใช้ในการตัดเย็บชุดแต่งกายเพิ่มความสวยงาม
พร้อมถือกระเป๋าผักตบชวา ซ่ึงเป็นวัสดุจากธรรมชาติท่ีช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม โดยผลิตภัณฑ์ทุกชิ้น
เปน็ ของ OTOP จงั หวัดพิจติ ร

รายละเอยี ดผอู้ อกแบบและตดั เย็บ
ชือ่ รา้ น สูทช่างหนมุ่
ช่ือ - สกลุ (ผตู้ ัดเย็บ) นายทานินท์ รังสูงเนิน โทร. ๐๘ ๔๗๗๗ ๙๖๘๔
ทีอ่ ยู่ ๑๒๒ หมทู่​ ี่ ๒ ตำ�บลโรงชา้ ง อำ�เภอเมืองพิจติ ร จังหวดั พิจิตร

39

นายพยนต์ อัศวพชิ ยนต์ รองผูว้ ่าราชการจงั หวัดพษิ ณโุ ลก

นางชลุ ี อัศวพิชยนต์ รองประธานแมบ่ า้ นมหาดไทยจังหวัดพษิ ณโุ ลก
40

ลายเสน้ สายฝน

เร่อื งราวผ้าทใี่ ชใ้ นการเดนิ แบบ
ผ้าทอ ๔ ตะกอ ผิวไม่เรียบ เอกลักษณ์ของบ้านป่าแดง อำ�เภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร
มีลายในเนื้อผ้า ผ้าหนานุ่ม สอดด้วยดิ้นเงิน โดยที่การทอแบบ ๔ ตะกอ มีการข้ึนลายหลายแบบ
เส้นสายฝนสีนา้ํ เงินสลบั สเี งนิ

รายละเอียดผู้ออกแบบและตัดเยบ็
ช่ือกลุ่มทอผา้ : กลมุ่ ผ้าทอปา่ แดง อ�ำ เภอตะพานหนิ จังหวัดพิจิตร โทร. ๐๘ ๙๘๕๖ ๖๐๘๓
ชือ่ -สกลุ (ผตู้ ัดเย็บ) : นางสาวพรทพิ ย์ อัครผล โทร. ๐๘ ๐๑๙๒ ๔๕๖๔
ที่อยู่ ๖/๑๔๓ ซอยนวธานี ต�ำ บลในเมือง อำ�เภอเมอื งพจิ ิตร จงั หวัดพิจติ ร ๖๖๐๐๐

41

นายกฤษณ์ คงเมอื ง ผ้วู ่าราชการจงั หวัดเพชรบรู ณ์
42

ผา้ ขดิ ลายขอเจา้ ฟ้าสิรวิ ณั ณวรีฯ

เรือ่ งราวผา้ ท่ีใช้ในการเดนิ แบบ
ผ้าไหมเทคนิคขิดโบราณ ย้อมสีด้วยมะเกลือหมักโคลน เส้นพุ่งไหมขาวแท้จากสีของไหม
ธรรมชาติ ลายขอเจา้ ฟา้ สริ ิวณั ณวรีฯ
ชา่ งผ้ทู อ : กลุม่ หตั ถกรรมทอผา้ ขิดวดั โฆษา ตำ�บลหว้ ยไร่ อ�ำ เภอหลม่ สกั จงั หวัดเพชรบูรณ์
เทคนคิ การทอ : ผ้าทอขิดเทคนิคโบราณ
วสั ดุ : ไหมแท้
สยี อ้ ม : เส้นยืนยอ้ มด้วยมะเกลือหมักโคลน เสน้ พงุ่ ไหมขาวแท้สีจากไหมธรรมชาติ
สขี องผา้ : ผ้าใหโ้ ทนสเี ทาเงางาม โทนสีเทาออ่ นสลบั เส้นสเี ทาเข้ม ใหม้ ติ กิ ารเหลอื บสลับ
ของสีกลมกลืนออกโทนเทาอ่อน ผ้าทอด้วยเทคนิคขิด ยกลวดลายนูนข้ึนเป็นมิติทำ�ให้ลาย
มีความคมชดั และเป็นอัตลกั ษณข์ องกลุ่มหัตถกรรมทอผา้ ขิดวัดโฆษา ที่ทอผ้าขดิ ด้วยเทคนคิ โบราณ
ทำ�ให้ลวดลายมีความคมชัดและมีการทอที่ละเอียด ประณีต ผืนผ้าสีเทาเข้มที่ย้อมด้วยมะเกลือ
และเสน้ พุ่งสร้างลวดลายด้วยสีขาวนวลของไหมขาว ซ่งึ ได้จากไหมขาวโดยธรรมชาติ ไม่ไดผ้ า่ นการ
ยอ้ มสี สีไหมขาวนวลสวยสะทอ้ นแสงใหค้ วามเงางามทำ�ใหต้ ัวผ้ามมี ติ สิ วา่ งลงตวั
การออกแบบดีไซน์ : ทรงเส้ือเป็นทรงคอพระราชทาน แขนยาว ตัดเย็บด้วยผ้าขิดล้วน
ทั้งตัว ใหค้ วามลงตัวสวยทันสมัย สวมใสแ่ ล้วดสู งา่ งาม ภมู ิฐาน
รา้ นตดั เยบ็ : รา้ นสทู วิลเล่ยี ม อ�ำ เภอเมอื งเพชรบรู ณ์ จงั หวัดเพชรบรู ณ์

รายละเอียดผูอ้ อกแบบและตดั เยบ็
ชอ่ื ร้าน/กลุ่มผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ : กล่มุ หัตถกรรมทอผา้ ขดิ วัดโฆษา ตำ�บลหว้ ยไร่ อำ�เภอหลม่ สกั
จงั หวัดเพชรบูรณ์ โทร. ๐๘ ๔๔๙๐ ๔๙๑๐ นายวรี พล วันเสน ประธานกลมุ่ ฯ
ช่ือร้าน (ผู้ตัดเย็บ) : ร้านสูทวิลเล่ียม ถนนในเมือง ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมืองเพชรบูรณ์
จังหวัดเพชรบรู ณ์ โทร. ๐๘ ๑๐๔๑ ๗๓๙๘

43

นายสมหวัง พว่ งบางโพ ผู้ว่าราชการจงั หวดั แพร่

นางวนั ทนา พว่ งบางโพ ประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวดั แพร่
44

ผา้ หม้อห้อม ผา้ ทอลายดอกสัก

เรอื่ งราวผา้ ทใี่ ช้ในการเดินแบบ
รายละเอยี ดการทอผ้า
ลาย “ดอกสัก” เป็นลายอัตลักษณ์ประจำ�จังหวัดแพร่ เป็นการผูกลายผ้ามีลักษณะเป็น
รูปดอกสักตามคำ�ขวัญของจังหวัด ในการทอผ้าตีนจกลายดังกล่าวประกอบด้วยกลีบดอก ๖ กลีบ
และเกสร ๖ เกสร ซ่ึงจะทอโดยช่างผู้มีความชำ�นาญท่ีมีการสืบสานมาจากบรรพชนซึ่งเป็น
ชาติพันธุ์ไทยวนที่มีวัฒนธรรมการทอผ้าท่ีเป็นเอกลักษณ์ของชาวล้านนา ซ่ึงต้องใช้ระยะเวลา
ในการทอที่ยาวนานกว่าจะเต็มผืน โดยช่างทอจะใช้เทคนิคการขิด แกะล้วงเส้นฝ้ายข้ึนมาทีละเส้น
ทีละจุด ใหเ้ กดิ ลวดลายตามจนิ ตนาการของผ้ทู อ และมีการสอดแทรกเส้นฝา้ ยท่มี สี ีสนั งดงาม โดยใช้
ไมแ้ หลมหรอื ขนเมน่ จกเสน้ ด้ายเสน้ ยืนยกขึน้ แลว้ สอดกระสวยเสน้ ดา้ ยพ่งุ ทีละเสน้ เขา้ ไปเป็นชว่ ง ๆ
สีสันที่วิจิตรสวยงามที่ปรากฏบนผืนผ้าแสดงให้เห็นถึงความละเอียด ประณีตบรรจง ความต้ังใจ
มุ่งม่ัน จิตทีเ่ ปน็ สมาธิ ความอ่อนโยนสขุ ุมเยอื กเยน็ เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ า้ ที่งดงามแกผ่ สู้ วมใส่
ประวตั ิความเป็นมา
ลาย “ดอกสัก” เป็นการอ้างอิงจากลายผ้าตีนจกโบราณเมืองลอง จังหวัดแพร่ คือ
“ลายผักแว่น” ซึ่งเป็นลายโบราณเกา่ แก่ท่ีมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว เป็นลายตีนจกท่ีเรียกว่า ลายกุม
(หมายถึง เทคนิคการจกหรือยกลายที่นำ�ลายลักษณะเดียวกันมาผูกรวมเป็นลายเต็มทั้งผืน)
โดยน�ำ ลักษณะการผูกลายแบบตนี จกลายผกั แวน่ มาประดษิ ฐ์เป็นลายดอกสกั ที่มีกลีบดอก ๖ กลีบ
๖ เกสร เลข ๖ ตามความเช่ือทางโหราศาสตร์เป็นเลขมงคล เลข ๖ เป็นตัวแทนของดาวศุกร์
เกี่ยวข้องกับความสวยความงามและศิลปะ ตามความเช่ือของชาวจีน เลข ๖ เป็นตัวเลขแห่ง
ความร่ํารวยและความสำ�เร็จในธุรกิจ จึงเป็นนิมิตหมายอันดีท่ีจะช่วยให้ผ้าลายดอกสัก อัตลักษณ์
ประจำ�จังหวัดแพร่มีความเจริญรุ่งเรือง คำ�ว่า สัก พ้องเสียงกับคำ�ว่า ศักด์ิ หรือความมีศักดิ์มีศรี
ความศักด์สิ ิทธิ์ ล้วนเปน็ คำ�ท่ีมีความหมายมงคล

รายละเอยี ดผอู้ อกแบบและตดั เย็บ
ชอ่ื ร้าน/กลมุ่ ผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ : รา้ นอวิกาหม้อหอ้ มแฟชน่ั
ชอ่ื - สกุล (ผตู้ ดั เย็บ) : นางชวัลณัฎฐ ถิน่ จอม โทร. ๐๙ ๑๐๗๒ ๐๒๔๘
ทอ่ี ยู่ ๕/๒ หม่ทู ี่ ๓ ต�ำ บลเวยี งทอง อำ�เภอสงู เมน่ จงั หวดั แพร่
ชอ่ื ร้าน/กลมุ่ ผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ : รา้ นแหวว
ชื่อ - สกุล (ผู้ตดั เยบ็ ) : นายสำ�ราญ ศรอินทร์ โทร. ๐๘ ๒๐๓๔ ๓๑๓๕
ที่อยู่ ๙๒ ถนนค�ำ ลือ ต�ำ บลในเวียง อ�ำ เภอเมืองแพร่ จงั หวดั แพร่

45

นายเชษฐา โมสกิ รัตน์ ผูว้ า่ ราชการจงั หวดั แม่ฮ่องสอน

นางจิราภรณ์ โมสกิ รตั น์ ประธานแมบ่ ้านมหาดไทยจังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน
46

ลายดอกเออ้ื งแซะ ราชินีกลว้ ยไม้หอมแหง่ เมืองสามหมอก

เรอ่ื งราวผา้ ท่ใี ช้ในการเดินแบบ

ลายเอ้อื งแซะ ราชินกี ลว้ ยไม้แห่งเมอื งสามหมอกไดร้ บั แรงบนั ดาลใจจากชาตพิ นั ธ์ุ ๑๓ กลมุ่ ภูมปิ ระเทศ
ท่ีงดงาม และดอกกล้วยไมพ้ นั ธ์เุ อ้ืองแซะท่พี บมากในพืน้ ทจี่ ังหวดั แมฮ่ ่องสอน ซึ่งในอดีตถือเป็นของสงู ของมงคล
และเปน็ หนึ่งในเครือ่ งราชบรรณาการทเี่ จา้ เมอื งแมฮ่ ่องสอนส่งถวายเจา้ เมอื งเชยี งใหม่ในสมัยโบราณ

เม่ือครั้งสมเดจ็ พระนางเจ้าสริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนพี ันปีหลวง เสดจ็ พระราชดำ�เนนิ
ไปทรงตรวจเยี่ยมงานในโครงการพัฒนาตามพระราชดำ�ริจังหวัดแม่ฮ่องสอน ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๖ เป็นต้นมา
มีพระราชเสาวนีย์ให้เพาะขยายพันธ์ุเอื้องแซะหอมเพื่อคืนสู่ป่า และส่งเสริมให้ราษฎรปลูกโดยวิธีธรรมชาติ
เพอื่ น�ำ มาแปรรปู เปน็ นา้ํ หอม ดอกกลว้ ยไมพ้ นั ธเุ์ ออ้ื งแซะจงึ มคี วามส�ำ คญั ทงั้ ในเชงิ วฒั นธรรมประเพณแี ละเศรษฐกจิ
ของจังหวัดแมฮ่ อ่ งสอนอยา่ งมาก

ดอกเออื้ งแซะ สอ่ื ถงึ ดอกกลว้ ยไมท้ พ่ี บมากในจงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน ในอดตี เปน็ หนง่ึ ในเครอ่ื งราชบรรณาการ
ดวงดาว ๑๓ ดวง ส่ือถึงจำ�นวนชาติพันธ์ุท้ังหมดในจังหวัดแม่ฮ่องสอนและการร้อยดวงใจเป็น
หน่ึงเดียวของกลุ่มพี่น้องชาติพันธุ์และประชาชนทุกหมู่เหล่าในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้แก่ คนไทยเช้ือสาย
ไทยใหญ่ กะเหรย่ี งขาว กะเหรยี่ งแดง กะเหรี่ยงโปว กะเหรี่ยงคอยาว มูเซอแดง มูเซอด�ำ ลีซหู รือลีซอ ลัวะ มง้
จนี ยูนานหรือจนี ฮอ่ ปะโอ และพ้นื เมือง
เมฆหมอก ส่ือถึงภูมิอากาศของจังหวัดแม่ฮ่องสอนท่ีปกคลุมด้วยสายหมอกท้ังสามฤดูอันเกิดจาก
ความชมุ่ ช้ืนและความอดุ มสมบรู ณ์ของธรรมชาติ ขุนเขา และป่าไมเ้ บญจพรรณ
ภเู ขา สือ่ ถงึ ลกั ษณะภมู ิประเทศของจงั หวดั แม่ฮ่องสอนทโี่ อบลอ้ มดว้ ยป่าเขาลำ�เนาไพร
สายธาร สื่อถึงลำ�น้ําปายอันเป็นสายนํ้าหลักที่หล่อเลี้ยงชีวิตและทุกสรรพส่ิง ให้เกิดความอุดมสมบูรณ์
ที่มีความใสสะอาด ประดุจความมนี ํ้าใจ ความชุ่มเยน็ ของชาวจงั หวัดแมฮ่ ่องสอน
ชดุ เดินแบบ
จงั หวดั แม่ฮ่องสอนมีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ซึ่งชาติพนั ธไุ์ ทยใหญ่เปน็ หน่งึ ในชาติพนั ธุ์ท่ีอาศยั อยู่
จ�ำ นวนมากในจงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน โดยวฒั นธรรมการแตง่ กายของชาวไทยใหญจ่ ะมอี ตั ลกั ษณเ์ ฉพาะ ซง่ึ ผา้ ไทยใหญ่
เป็นผ้าท่ีได้รับอิทธิพลตามแฟช่ันของการใช้ผ้าทอนำ�เข้าทั้งจากพม่าและจากจีน สะท้อนถึงความเจริญทางการค้า
ในพม่าที่ทำ�ให้มีสินค้าจากต่างประเทศเป็นจำ�นวนมากหลั่งไหลเข้ามา ผู้หญิงไทยใหญ่นิยมสวมเส้ือคอกลมเข้ารูป
สาบหน้าป้ายข้างติดกระดุม ๕ เม็ด แขนยาวหรือแขนสามส่วน ตัดเย็บจากผ้าทอหรือผ้าโรงงานสีอ่อน ซ่ึงผ้าที่
ใช้ในการสวมใส่คร้ังนี้เป็นผ้าไทยใหญ่ประยุกต์ลายอัตลักษณ์ของจังหวัดแม่ฮ่องสอน คือลาย “ดอกเอ้ืองแซะ
ราชินีกล้วยไม้หอมแห่งเมืองสามหมอก” เป็นลายผ้าอัตลักษณป์ ระจ�ำ จงั หวดั แม่ฮ่องสอน
กระโปรง ท�ำ มาจากผา้ ทอกะเหรย่ี ง ทอดว้ ยก่ีเอวของชาติพนั ธป์ุ กาเกอะญอ จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน ย้อมสี
ธรรมชาติ และผา้ ทอกเี่ อวของชาวจงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอนมคี วามเปน็ เอกลกั ษณแ์ ละเฉพาะตวั โดยจะมกี ารปกั ลกู เดอื ย
ลายดอกไม้ป่าล้อมใยแมงมุม รวมถึงการปักลวดลายต่าง ๆ ด้วยเส้นด้ายลงบนผืนผ้าอีกด้วย เป็นการสร้างงาน
สร้างอาชีพ สรา้ งรายไดส้ ู่ชุมชน พัฒนาเศรษฐกจิ ฐานรากให้มน่ั คงและชมุ ชนสามารถพึง่ ตนเองได้อยา่ งยั่งยนื

รายละเอยี ดผูอ้ อกแบบและตัดเย็บ

ช่อื -สกลุ (ผอู้ อกแบบ) นางจิราภรณ์ โมสิกรตั น์ ประธานแมบ่ า้ นมหาดไทยจงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน
ชื่อ-สกุล (ผ้ตู ดั เยบ็ ) คุณอังคณา มหายศ โทร. ๐๙ ๓๑๙๖ ๒๙๒๒
ทีอ่ ยู่ ๒๖๖ หมู่ท่ี ๑๑ ต�ำ บลปางหมู อ�ำ เภอเมืองแมฮ่ อ่ งสอน จังหวดั แมฮ่ ่องสอน
ช่อื -สกลุ (ผทู้ อผ้า) กลมุ่ งานปักผ้าฝา้ ย โทร. ๐๘ ๖๙๒๔ ๘๙๑๙
ที่อยู่ ๘๒ หมู่ที่ ๒ ต�ำ บลผาบ่อง อำ�เภอเมืองแมฮ่ อ่ งสอน จังหวดั แม่ฮ่องสอน

47

นายสธิ ชิ ยั จินดาหลวง ผ้วู ่าราชการจังหวดั ลำ�ปาง

นางธติ พิ ร จินดาหลวง ประธานแมบ่ า้ นมหาดไทยจงั หวดั ล�ำ ปาง
48


Click to View FlipBook Version