The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มหาดไทย ผ้าไทยใส่ให้สนุก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Poopouy Hengsomboon, 2022-12-21 07:20:01

มหาดไทย ผ้าไทยใส่ให้สนุก

มหาดไทย ผ้าไทยใส่ให้สนุก

Keywords: มหาดไทย ผ้าไทยใส่ให้สนุก

ผ้าทอยกมุกลายก้ามปู

เรอ่ื งราวผา้ ทใ่ี ชใ้ นการเดนิ แบบ
“ผ้าทอยกมุกลายก้ามปู” ผ้าอัตลักษณ์ประจำ�จังหวัดสระบุรี ซ่ึงเก็บอยู่ในหอวัฒนธรรม
พ้ืนบ้านไท-ยวน สระบุรี ตำ�บลดาวเรือง อำ�เภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี เป็นผ้าทอของ
กลุ่มชาติพันธ์ุไทยวนท่ีถูกกวาดต้อนมาตั้งถิ่นฐานอยู่ที่จังหวัดสระบุรีในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
ตอนตน้ (รัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช รชั กาลที่ ๑) โดยกลมุ่ ชาตพิ ันธุ์
ไทยวนยังคงสืบทอดมรดกภูมิปัญญาการทอผ้าจากบรรพบุรุษจวบจนปัจจุบัน ซ่ึงผ้าทอยกมุก
ลายกา้ มปมู เี อกลักษณแ์ ละเปน็ ท่กี ลา่ วขานกนั มานานในเรอ่ื งของความประณีตงดงาม
การทอผ้ายกมุกลายก้ามปู เร่ิมต้นด้วยการค้นเครือเส้นยืนตามความกว้างของหน้าผ้าและ
ความยาวของหน้าผ้า เพื่อเป็นเส้นยืนสำ�หรับผ้าพื้น เครือที่ ๑ ค้นเครือดอกมุกตามจำ�นวนเขามุก
ท่ีออกแบบไว้ในท่ีนี้ใช้ ๘ เขา สำ�หรับทอลายก้ามปู นำ�เครือพื้นมาขึงบนก่ีไว้ด้านล่าง และนำ�เครือ
ดอกมุกมาขึงบนกี่ไว้ด้านบน ทำ�การร้อยเขาพื้นและร้อยเขาดอกมุกในตะกอ ร้อยเขาสลับกันไปมา
จนครบดอกตามล�ำ ดบั ตามจ�ำ นวนดอกมกุ ทอ่ี อกแบบไว้ รอ้ ยฝา้ ยเขาจากเขาผา้ พนื้ และเขายกดอกมกุ
เข้าฟันหวีตามลำ�ดับ เมื่อร้อยเขาจนครบ ขึงเส้นฝ้ายกับไม้พันผ้าให้ตึง มัดเขาดอกมุกกับม้าเหยียบ
ด้านลา่ งใหถ้ กู ต้องตามล�ำ ดบั เรยี งจาก ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ และ ๘ การทอจะเริม่ ทอผา้ พ้ืนสลบั กับ
การเหยียบเขามุกตามจำ�นวนเขามุกท่ีทำ�ให้เกิดลวดลายของลายก้ามปูที่ถูกต้อง ซึ่งจะต้องมี
การออกแบบเพื่อกำ�หนดลวดลายให้ถูกต้องและสวยงาม เม่ือเหยียบเขายกดอกมุกและเขาพ้ืนจะมี
การทอพุ่งกระสวยไปฝั่งหน่ึงและสลับเท้าเหยียบเขาพ้ืน จึงพุ่งกระสวยข้ามไปอีกฝั่งหนึ่งเป็นอันจบ
๑ เส้นดอก เหยียบสลับดอกไปเร่ือยๆ จนครบตามลายก้ามปู ในที่นี้ลายก้ามปูมีไม้ท่ีต้องเหยียบ
ทง้ั หมด ๒๐ ไม้ จึงจะครบลาย

รายละเอียดผอู้ อกแบบและตดั เย็บ
ชอ่ื ร้าน/กลุ่มผผู้ ลติ ผู้ประกอบการ จารุนนั ท์ตดั เยบ็
ชอ่ื - สกลุ (ผู้ตัดเยบ็ ) นางสาวจารุนันท์ บญุ ประเสรฐิ โทร. ๐๘ ๖๑๒๗ ๘๔๐๐
ที่อยู่ บา้ นเลขที่ ๔๕/๑๙ หมู่ท่ี ๑ ตำ�บลเสาไห้ อ�ำ เภอเสาไห้ จังหวดั สระบุรี

99

นายสมชาย ลีหลา้ นอ้ ย รองผ้วู ่าราชการจังหวัดสงิ ห์บรุ ี

นางสาววันษา ลหี ลา้ น้อย รองประธานแมบ่ า้ นมหาดไทยจงั หวัดสงิ ห์บรุ ี
100

ผ้าลายขอเจ้าฟ้าสริ วิ ณั ณวรีฯ

กรมการพัฒนาชุมชน ได้จัดทำ�โครงการส่งเสริมภูมิปัญญาและพัฒนาศักยภาพผ้าไทย
เพอ่ื สบื สานพระราชปณธิ านสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง
ในเร่ืองการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถ่ินไทยและเผยแพร่พระอัจฉริยภาพของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ
เจา้ ฟา้ สริ วิ ณั ณวรี นารรี ตั นราชกญั ญา ดา้ นการออกแบบเครอ่ื งแตง่ กายสงิ่ ทอและการอนรุ กั ษผ์ า้ ไทย
ให้เห็นเป็นท่ีประจักษ์ กลุ่มผลิตภัณฑ์จากผ้าบางน้ําเช่ียว จังหวัดสิงห์บุรี จึงได้ขอรับการสนับสนุน
งบประมาณจากกองทนุ พัฒนาบทบาทสตรี ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เพอ่ื ฝกึ อบรมในการทอ
ผา้ ลายขอเจา้ ฟา้ สริ วิ ณั ณวรฯี เพอื่ เปน็ การสง่ เสรมิ ใหข้ า้ ราชการ พนกั งาน รฐั วสิ าหกจิ และประชาชน
ทั่วไป ได้สวมใส่ผ้าลายขอฯ ของผู้ประกอบการโอทอปจังหวัดสิงห์บุรี จนปัจจุบันสามารถต่อยอด
เปน็ ลายผ้าต่าง ๆ มากมายหลายแบบ

รายละเอยี ดผูอ้ อกแบบและตัดเย็บ
ชื่อรา้ น/กลุ่มผ้ผู ลิต ผู้ประกอบการ กลุม่ ผลติ ภัณฑจ์ ากผ้าบางน้าํ เชย่ี ว
ชอื่ - สกุล (ผู้ตัดเยบ็ ) นางดวงพร อารีพันธุ์ โทร. ๐๙ ๕๔๙๘ ๓๕๘๒
ที่อยู่ ๔๘ หมู่ที่ ๔ ตำ�บลบางนา้ํ เชีย่ ว อ�ำ เภอพรหมบรุ ี จังหวัดสิงห์บุรี

101

นายณฐั ภทั ร สวุ รรณประทีป ผู้วา่ ราชการจงั หวดั สพุ รรณบุรี

นางนภสั สร สุวรรณประทีป ประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวัดสุพรรณบรุ ี
102

ผ้าไหมมดั หม่ี ลายดอกมะเกลอื

เรอ่ื งราวผา้ ที่ใช้ในการเดนิ แบบ
“ลายดอกมะเกลอื ” เรม่ิ ตน้ จากต้นมะเกลือเป็นพันธไ์ุ มพ้ ระราชทาน เพอ่ื ปลกู เป็นไม้มงคล
ของจงั หวดั สุพรรณบุรี เป็นท้ังพืชสมนุ ไพรและวตั ถดุ ิบในการใชท้ ำ�สียอ้ มผา้ คณะกรรมการพจิ ารณา
ลายผา้ จงึ พิจารณาให้ลายดอกมะเกลอื เป็นลายผ้าอตั ลักษณป์ ระจำ�จังหวดั สพุ รรณบุรี ประกอบด้วย
ลายขอ พฒั นามาจากนาคและลายนาํ้ ไหล ซ่งึ จะมีลายขอเปน็ หลกั สว่ นพน้ื ท่ีว่างสามารถใส่ลวดลาย
ตา่ ง ๆ ตามความเช่ือของแตล่ ะชาตพิ นั ธ์ุ หรอื เอกลกั ษณอ์ ื่น ๆ ตามความเหมาะสม
การทอโดยใช้เส้นไหมพุ่งและยืนมาขัดประสานกันจนได้เป็นผืนผ้าและลวดลายที่สวยงาม
ตามความต้องการโดยใชก้ ี่ สำ�หรับสีจะใช้ ๕ สหี ลัก คอื แดง เหลือง เขียว น้าํ เงนิ และม่วง ส�ำ หรบั
สแี ดง เหลอื ง เขียว มาจากการผสมของเหลอื งและคราม สีขาว ดำ� แดง มาจากคร่งั (สธี รรมชาต)ิ
เหลือง (ขม้ิน) ขาว (สีของฝ้าย) ดำ� (มะเกลือ) วัตถุดิบสำ�หรับใช้ในการทอผ้าท้ังหมดทุกขั้นตอน
เป็นของจังหวัดสุพรรณบุรี เริ่มจากการเลี้ยงไหม ปลูกหม่อน การมัดย้อมจากสีธรรมชาติ และทอ
โดยกลมุ่ ทอผา้ ชุมชนบ้านพุนํ้ารอ้ น อ�ำ เภอดา่ นชา้ ง จังหวัดสุพรรณบรุ ี

รายละเอยี ดผู้ออกแบบและตดั เย็บ
ชดุ นายณฐั ภทั ร สวุ รรณประทีป ผู้ว่าราชการจงั หวัดสุพรรณบุรี
ชอื่ ร้าน/กลุ่มผูผ้ ลิต ผ้ปู ระกอบการ ร้านสทู มาสเตอร์ชอ๊ ป สพุ รรณบรุ ี
ชือ่ -สกุล (ผู้ตัดเยบ็ ) นางสาวสวุ รรณา หอมเพชร โทร. ๐๘ ๑๔๐๒ ๖๔๘๒
ท่อี ยู่ ๒๑๔ ถนนขนุ ชา้ ง ต�ำ บลท่าพเี่ ลยี้ ง อ�ำ เภอเมอื งสุพรรณบุรี จงั หวัดสพุ รรณบุรี
ชดุ นางนภสั สร สุวรรณประทีป ประธานแมบ่ ้านมหาดไทยจงั หวดั สพุ รรณบุรี
ชื่อร้าน/กล่มุ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ ร้านอัมพร
ชอื่ -สกุล (ผตู้ ดั เย็บ) นางอุดม ล้ิมนสุ นธิ์ โทร. ๐ ๓๖๔๒ ๐๗๙๔
ทีอ่ ยู่ ๑๒๑ ถนนชนะสงคราม ตำ�บลทะเลชุบศร อำ�เภอเมอื งลพบุรี จงั หวดั ลพบุรี

103

นางสาวเอกรตั น์ นาคาคง รองผ้วู ่าราชการจงั หวดั อ่างทอง

นางณัฐธัญ กาหลง เกษตรและสหกรณจ์ ังหวัดอา่ งทอง
104

ลายรวงทอง

เรือ่ งราวผา้ ทีใ่ ชใ้ นการเดินแบบ
จังหวัดอ่างทอง เดิมชื่อ “เมืองวิเศษชัยชาญ” โดยเช่ือว่า “อ่างทอง” มาจากลักษณะ
ทางกายภาพของพ้ืนที่คือ เป็นท่ีราบลุ่มมีลักษณะเป็นแอ่งคล้ายอ่าง ซึ่งเต็มไปด้วยทุ่งนา ทุ่งข้าว
ที่ออกรวงสีเหลืองอร่ามเหมือนทอง จึงนำ�มาเป็นที่มาของลายผ้าอัตลักษณ์ประจำ�จังหวัดอ่างทอง
“ลายรวงทอง” ซึง่ ลายของผ้ามคี วามหมาย ประกอบดว้ ย
ลายนกกระจิบ หรือลายตะลุ่ม หรือลายโคมห้า หมายถึง ดวงอาทิตย์/โคมไฟที่ส่องสว่าง
แสดงถงึ ความอดุ มสมบรู ณ์
ลายรวงข้าว มีลักษณะเป็นอ่างน้ําที่มีต้นข้าวงอกเงยข้ึนมา หมายถึง วิถีชีวิตชาวนา
เมืองแห่งเกษตรกรรม เมอื งอู่ขา้ วอนู่ า้ํ
ลายรวงข้าวร้อยเรยี งผกู กัน หมายถึง ความอุดมสมบรู ณ์ และสื่อถงึ ความรักความสามคั คี
ที่ร้อยเรียงผกู พนั กนั
ลายต้นสน เป็นลวดลายอัตลักษณ์ของชาติพันธุ์ท่ีแตกต่างกัน คือ ชาวลาวเวียง ท่ีอาศัย
อยู่รว่ มกันในจงั หวดั อย่างสันตสิ ขุ
ลายกลอง สื่อถึงหมู่บ้านทำ�กลองที่มีชื่อเสียงระดับโลก คือ หมู่บ้านทำ�กลองเอกราช
ต�ำ บลเอกราช อ�ำ เภอปา่ โมก

รายละเอยี ดผ้อู อกแบบและตดั เย็บ
ชอ่ื ร้าน/กล่มุ ผู้ผลติ ผู้ประกอบการ ห้องเสอื้ ดลพร
ชอื่ - สกุล (ผตู้ ัดเย็บ) นางดลพร บุญสมบตั ิ โทร. ๐๘ ๗๗๕๑ ๗๔๔๗
ทีอ่ ยู่ ๑๑ หมู่ที่ ๖ ต�ำ บลปา่ ง้วิ อำ�เภอเมอื งอา่ งทอง จังหวดั อา่ งทอง

105

นายพฒุ พิ งศ์ ศิรมิ าตย์ ผู้ว่าราชการจังหวดั กระบ่ี

นางสุภาเพญ็ ศิรมิ าตย์ ประธานแม่บ้านมหาดไทยจงั หวดั กระบ่ี
106

ผา้ บาติกลาย “ลมหายใจจากฟ้าสู่กระบ”ี่

เรือ่ งราวผ้าทใ่ี ชใ้ นการเดินแบบ
ลายผ้า “ลมหายใจจากฟา้ สู่กระบี่” เป็นลายผา้ ทเ่ี กดิ จากการบูรณาการของลายผา้ ๒ ลาย
คือ ลายผา้ พระราชทานของสมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟ้าสิรวิ ัณณวรี นารรี ัตนราชกัญญา “ลายขอ
เจ้าฟ้าสิริวัณณวรีฯ” ที่พระราชทานให้กลุ่มผลิตผ้าทุกกลุ่ม ทุกเทคนิค สามารถนำ�ไปใช้ผลิตผ้า
ได้ตามเอกลักษณ์ประจำ�ถ่ินเพ่ือให้รายได้กลับสู่ชุมชน และ “ลายลมหายใจกระบี่” ซึ่งเป็นลายผ้า
ที่แสดงถึงวถิ ชี ีวิตของคนกระบ่ที ี่ผกู พนั กับวถิ ีเกษตรกรรม วิถกี ารทำ�ประมง และธรรมชาตทิ ีง่ ดงาม
มีเสนห่ ์ดึงดูด เป็นจุดหมายปลายทางแหง่ ความสขุ ส�ำ หรบั ผ้มู าเยือน

รายละเอียดผู้ออกแบบและตดั เยบ็
หอ้ งเสือ้ อนิ แอนดอ์ อน ผตู้ ดั เยบ็ คือนางสาวจิรนนั ท์ สุวรรณโชติ โทร. ๐๘ ๗๔๗๐ ๗๗๗๔
ท่ีอยู่ เลขที่ ๔๒-๔๔ ซอย ๔ ถนนมหาราช ตำ�บลปากนํ้า อำ�เภอเมอื งกระบี่ จงั หวดั กระบี่ ๘๑๐๐๐

107

นายโชตนิ รนิ ทร์ เกดิ สม ผู้วา่ ราชการจงั หวัดชุมพร
นางปวีณร์ ศิ า เกิดสม ประธานแมบ่ า้ นมหาดไทยจังหวดั ชมุ พร
108

“ภูษาวัตถ์ อตั ศิลป์ถ่ินชมุ พร”

เรือ่ งราวผา้ ท่ใี ชใ้ นการเดนิ แบบ
ผ้าไหมมัดหมี่ : เร่ิมจากปลูกหม่อนโดยไร้ซ่ึงสารเคมี เลี้ยงไหมพันธุ์เหลืองสระบุรี
รงั สีเหลอื ง รับจากศูนย์หม่อนไหมเฉลมิ พระเกยี รตฯิ ชมุ พร ช่วยกันเลี้ยงภายในครอบครัว สาวไหม
ด้วยเครื่องสาวไหมแบบปรับปรุง ลอกกาวเส้นไหมด้วยขี้เถ้าจากเหง้ากล้วยและย้อมสีด้วยพันธุ์ไม้
ย้อมสีที่หาได้จากข้างบ้าน เส้นยืนใช้เส้นไหมน้อย (ไหมชั้นกลาง) ย้อมด้วยเปลือกมะพร้าวอ่อน
และเส้นพุ่งใช้เส้นไหมหลืบ (ไหมช้ันนอกสุด) ย้อมด้วยเปลือกมะพร้าวอ่อนหมักด้วยโคลนดินแดง
ทอี่ ดุ มไปดว้ ยแรธ่ าตแุ ละเปน็ ตวั ชว่ ยใหส้ เี สน้ ไหมตดิ ทนนาน ทอดว้ ยกท่ี อผา้ แบบพน้ื บา้ นพงุ่ กระสวย
ด้วยมือ ความพิเศษของผ้าผืนนี้ คือ การผสมผสานระหว่างเส้นไหมน้อยและเส้นไหมหลืบ
ทำ�ให้เน้ือผ้ามีความแน่นและประกอบกับผ้าไหมผืนนี้ผ่านการหมักโคลนเลยทำ�ให้มีเนื้อสัมผัส
ทีน่ ุ่มและน่มิ ย่งิ ขนึ้ ผสู้ วมใสจ่ ะรสู้ กึ เบาสบายซง่ึ เป็นเอกลักษณข์ องผา้ ไหมไทย
ผ้าไหมมัดหม่ี ลายดอกพุทธรักษา นางปวีณ์ริศา เกิดสม ประธานแม่บ้านมหาดไทย
จงั หวดั ชุมพร
แรงบันดาลใจ : ดอกพุทธรักษาเป็นดอกไม้ประจำ�จังหวัดชุมพร ในจังหวัดชุมพร
มีการปลูกต้นพุทธรักษาเป็นจำ�นวนมาก คนโบราณเชื่อว่า บ้านใดปลูกต้นพุทธรักษาไว้ประจำ�บ้าน
จะช่วยคุ้มครองป้องกันอันตรายแก่บ้านและผู้อาศัยได้ เพราะพุทธรักษาเป็นพรรณไม้ที่คนโบราณ
เช่ือว่ามีพระเจ้าคุ้มครองรักษาให้มีความสงบสุข คือเป็นไม้มงคลนั่นเอง ดังนั้น ช่างผู้ทอผ้าจึงได้
นำ�มาแสดงลวดลายบนผืนผ้า เพ่อื สร้างเป็นผา้ อัตลักษณ์ของชาวจงั หวดั ชมุ พร
วตั ถุดิบ : เส้นไหม ใช้เส้นไหมน้อยพนั ธไุ์ ทยรงั สีเหลอื ง เลย้ี งด้วยใบหมอ่ นทป่ี ลอดสารพษิ
ผ่านกระบวนการสาวเส้นไหมด้วยเครื่องสาวไหมแบบปรับปรุง ในส่วนของผ้ามัดหมี่ เส้นยืน
ย้อมด้วยใบมังคุด เส้นพุ่งย้อมด้วยแก่นขนุนและครั่งและใบมังคุด และผ้าพื้น เส้นยืนย้อมด้วย
เปลือกมะพร้าวอ่อนหมักโคลนดินแดง และเส้นพุ่งย้อมด้วยใบมังคุดหมักโคลนดินแดง ซ่ึงเป็น
สธี รรมชาตทิ ไี่ มท่ �ำ ลายสง่ิ แวดลอ้ ม การกรอและมดั หมใ่ี ชเ้ ครอ่ื งมอื ทอผา้ แบบพน้ื บา้ น ทอดว้ ยกที่ อมอื
แบบกระทบ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากนายโชตินรินทร์ เกิดสม ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร
ในการปลูกหม่อนเล้ียงไหม ออกแบบลายผ้า และการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ผ้าอัตลักษณ์จังหวัด
ชมุ พร

รายละเอียดผูอ้ อกแบบและตัดเย็บ
ชอ่ื รา้ น หอ้ งเส้อื คณุ อน้
ผูต้ ดั เย็บ : นางทพิ ย์เนตร ประจนั บาล โทร. ๐๙ ๓๓๕๖ ๒๕๒๕
ทีอ่ ยู่ ๑๑/๙ หมูท่ ี่ ๘ ต�ำ บลนาท่งุ อำ�เภอเมืองชุมพร จงั หวัดชุมพร

109

นายขจรศักดิ์ เจริญโสภา ผ้วู า่ ราชการจงั หวัดตรงั

นางละมัย เจรญิ โสภา ประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวดั ตรงั
110

“ผา้ ครามคูน”

เร่อื งราวผ้าที่ใชใ้ นการเดินแบบ
๑. สีคราม มีความหมายส่ือถึงสีนํ้าเงินเข้มจากต้นคราม ท่ีได้ผ่านกระบวนการสกัดสี
จากธรรมชาติจนออกมาเป็นสคี รามทีม่ องแล้วสวยงาม สบายตา
๒. ผ้าไหมมัดยอ้ มจากสคี รามธรรมชาติ ภายใต้ชื่อว่า “ลายอควาเรียมแห่งทอ้ งทะเลตรัง”
แรงบันดาลใจที่ทำ�ลายผ้านี้มาจากความงดงามของท้องทะเลตรัง ธรรมชาติของท้องทะเลตรัง
ที่สวยงาม มีพะยูนเป็นเอกลักษณ์ มีสัตว์นํ้า ปะการังที่สวยงาม จึงเกิดแรงบันดาลใจเอาลวดลาย
ท้องทะเลตรังข้ึนมาอยู่บนผืนผ้า โดยใช้สีครามส่ือถึงสีสันในทะเลที่ดูเย็นสบายตา และลวดลาย
คลื่นลายนาํ้ ดูพลิว้ ไหว
- ผ้าไหมไทยท่ีนำ�มาใช้สื่อถึงความเย็นของน้ําเมื่อสัมผัสผิวกาย ลวดลายส่ือถึงอารมณ์และ
ความสงบสวยงามของเมืองตรงั
- สคี รามทใ่ี ชเ้ ปน็ สธี รรมชาตทิ ไี่ ดจ้ ากตน้ คราม ผา้ ไหมทใ่ี ชเ้ ปน็ ไหมธรรมชาติ ๑๐๐ เปอรเ์ ซน็ ต์

รายละเอียดผ้อู อกแบบและตัดเยบ็
ชอ่ื รา้ น/กลุม่ ผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ

- ครามคูน (ผลิตภณั ฑผ์ า้ มดั ยอ้ มจากสีธรรมชาติ เทคนิค “ชโิ บร”ิ )
ผู้ตดั เย็บชดุ ประธานแมบ่ ้านมหาดไทยจงั หวดั ตรงั

- นางสชุ ญั ญา เมืองแกน่ โทร. ๐๘ ๓๑๗๓ ๓๙๐๘
ทอี่ ยู่ ๒๐๑/๔๘ ซอย ๗ ถนนท่ากลาง ตำ�บลทับเท่ยี ง อ�ำ เภอเมืองตรงั จังหวดั ตรงั
ผูต้ ัดเยบ็ ชุดผูว้ า่ ราชการจังหวดั ตรัง

- หอ้ งเสอื้ ชโิ ด้ โทร. ๐๘ ๖๕๙๓ ๑๙๙๓
ทีอ่ ยู่ ๑๖/๑ ถนนรษั ฎา ข้างโรงเรียนพรศริ ิกุล ตำ�บลทับเท่ยี ง อ�ำ เภอเมืองตรัง จังหวดั ตรัง

111

นายไกรศร วศิ ษิ ฎ์วงศ์ ผู้วา่ ราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช

นางอนุรี วิศิษฎว์ งศ์ ประธานแม่บา้ นมหาดไทยจังหวัดนครศรธี รรมราช
112

ผา้ ยกเมอื งนคร “ลายดอกพิกลุ ”

เรื่องราวผ้าท่ใี ชใ้ นการเดินแบบ
ภาพลายดอกพกิ ุลทเ่ี ป็นลายอัตลักษณ์ประจ�ำ จังหวัดนครศรธี รรมราช
ผ้ายกเมืองนคร “ลายดอกพิกุล” เป็นลวดลายที่เลียนแบบธรรมชาติ ซ่ึงเป็นดอกไม้ คือ
ดอกพิกุล เป็นผ้าทอมือด้วยก่ีกระตุก “ผ้ายกเมืองนคร” เป็นช่ือเฉพาะ หมายถึง ผ้าทอพ้ืนเมือง
ของจังหวดั นครศรธี รรมราช ที่ทอสบื กนั มาแตโ่ บราณ ดว้ ยการทอยกเพ่ิมลวดลาย ดว้ ยเสน้ พงุ่ พเิ ศษ
(Supplementary Weft) ท�ำ ใหเ้ กดิ ลายนนู บนผนื ผา้ มลี ายเชงิ ผา้ เปน็ กรวยเชงิ ชนั้ เดยี วหรอื กรวยเชงิ
ซ้อนกันหลายช้ันและกรวยเชิงขนานกับริมผ้า โดยดัดแปลงลายอ่ืนมาเป็นลายกรวยเชิง วิธีการทอ
จะคัดเส้นยืนขน้ึ ลงเปน็ จงั หวะทแี่ ตกต่างกันตามลวดลายทตี่ อ้ งการแล้วใช้เส้นพุง่ พิเศษเขา้ ไป

รายละเอยี ดผอู้ อกแบบและตัดเย็บ
ชอ่ื ร้าน/กลมุ่ ผผู้ ลติ ผู้ประกอบการ ชุมชนหัตถกรรมผา้ ยกบ้านตรอกแค
ชื่อ - สกลุ (ผู้ตัดเยบ็ ) นางวไิ ล จิตเวช โทร. ๐๘ ๗๓๘๓ ๗๖๓๙
ทอี่ ยู่ ๑/๑ หมทู่ ี่ ๔ ตำ�บลขอนหาด อ�ำ เภอชะอวด จังหวดั นครศรธี รรมราช

113

นายสนน่ั พงษอ์ ักษร ผวู้ า่ ราชการจงั หวัดนราธิวาส

นางสิริวิมล พงษอ์ ักษร ประธานแม่บ้านมหาดไทยจงั หวดั นราธวิ าส
114

“ปาเต๊ะ หัตถศิลป์ ถ่ินนรา”

หมายถงึ ผ้าที่เปน็ ศลิ ปะสะทอ้ นอตั ลักษณ์ทอ้ งถ่ินของจงั หวัดนราธวิ าส
เรอื่ งราวผ้าท่ีใช้ในการเดนิ แบบ

ผา้ ทใ่ี ชใ้ นการเดนิ แบบของผวู้ า่ ราชการจงั หวดั นราธวิ าส เปน็ ผา้ ปาเตะ๊ รว่ มสมยั ลายยอดพรกิ
ผสมผสานดอกชบาโบราณ

ผ้าที่ใช้ในการเดินแบบของประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวัดนราธิวาส เป็นผ้าบาติก
ลายพระราชทานสมเดจ็ พระเจ้าลูกเธอ เจา้ ฟา้ สิริวัณณวรี นารรี ัตนราชกัญญา “ลายทอ้ งทะเลไทย”
จังหวัดนราธิวาส ชนิดผ้าเป็นผ้าคอตตอน โดยใช้เทคนิคการพิมพ์ลายหลายชั้น สีของผ้ามีความ
สดใส สะดดุ ตา

รายละเอียดผอู้ อกแบบและตดั เย็บ
ผ้าจากกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ กลุ่มซาโลมาบาติก (SALOMA PATEK) อำ�เภอสุไหงโก-ลก
จงั หวัดนราธิวาส
ช่ือผู้ตัดเย็บ ร้านแสวงสูท ๒๕๖/๒ ถนนโสมพะมิตร ตำ�บลกาฬสินธุ์ อำ�เภอเมืองกาฬสินธุ์
จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ

115

นายนพิ นั ธ์ บญุ หลวง ผวู้ า่ ราชการจังหวัดปัตตานี

นางประภา บุญหลวง ประธานแม่บา้ นมหาดไทยจงั หวดั ปตั ตานี
116

ผา้ ไหมมดั หม่จี วนตานี

เรือ่ งราวผ้าทใี่ ช้ในการเดนิ แบบ
ผ้าจวนตานีมีเอกลักษณ์เฉพาะท่ีการออกแบบลวดลายและสีสัน โดยมีการทอท้ังจาก
เส้นไหม ฝ้าย และยกด้วยเส้นเงินหรือเส้นทอง มีแถบริ้วลวดลายวางเป็นแนวแทรกอยู่ระหว่าง
ผนื ผา้ และชายผา้ ทง้ั สองด้าน มีคำ�เรียกในภาษาพ้ืนถน่ิ วา่ จูวา หรือ จวน ซ่งึ แปลว่า ร่อง หรอื ทาง
จึงมีชื่อเรียกผ้าชนิดนี้อีกช่ือหนึ่งว่า “ผ้าล่องจวน” สีของผืนผ้านิยมใช้สีที่ตัดกัน โดยบริเวณท้องผ้า
จะใชส้ หี ลัก ไดแ้ ก่ มว่ ง เขียว ฟ้า นํ้าตาล สว่ นชายผ้าจะใช้เฉดสีแดงเป็นเอกลกั ษณ์ ผา้ ท่ใี ช้เดินแบบ
เป็นผ้าจวนตานีท่ีผลิตจากไหมพื้นบ้าน ด้วยกรรมวิธีมัดหม่ีลวดลายดอกหน้าระ ซึ่งเป็นดอกไม้
โบราณ มีลกั ษณะดอกสขี าว เกสรสีชมพู มกี ลิน่ หอม หญิงสาวในอดีตนิยมน�ำ มาทดั หูหรอื เสยี บผม
เพื่อประดับตกแต่งร่างกายให้มีความสวยงาม ถอดแบบมาจากผ้าโบราณซ่ึงในอดีตใช้แพร่หลายใน
แถบแหลมมลายู
เจ้าของผ้า นายฉัตรชัย ประแก้ว ตำ�บลทรายขาว อำ�เภอโคกโพธิ์ จงั หวดั ปตั ตานี
รายละเอียดผู้ออกแบบ (นางประภา บุญหลวง ประธานแม่บ้านมหาดไทยจงั หวัดปัตตานี)
ช่อื ร้าน หอ้ งเสือ้ พรชัย ช่อื -สกุล (ผู้ตดั เยบ็ ) นายเล็ก โปทอง โทร. ๐๘ ๙๗๓๘ ๒๐๕๗
ท่ีอยู่ ๑๐๐/๗ ถนนหนองจกิ ซอย ๑๐ ตำ�บลสะบารัง อำ�เภอเมอื งปัตตานี จังหวัดปตั ตานี ๙๔๐๐๐

รายละเอยี ดผ้อู อกแบบและตดั เยบ็
ชดุ ประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวัด
ช่อื ร้าน หอ้ งเส้อื วภิ าวี โทร. ๐๘ ๑๙๓๔ ๑๔๒๗ ช่อื -สกุล (ผู้ตัดเยบ็ ) คุณขนษิ ฐา ทรงธรรม
ทีอ่ ยู่ ๙๐/๓๕๒ หมู่บา้ นอย่เู จรญิ ๓ ต�ำ บลลาดสวาย อำ�เภอล�ำ ลูกกา จงั หวดั ปทุมธานี ๑๒๑๕๐

117

นายเถลงิ ศักด์ิ นชุ ประหาร รองผ้วู ่าราชการจงั หวัดพงั งา
118

ผา้ จำ�ปูนภงู า

ประวัติความเป็นมา : “ผ้าจำ�ปูนภูงา” ออกแบบโดย ผศ. ดร.ภาณุวัฒน์ เสง่ียม
โดยมีแนวคดิ ดงั นี้

จำ�ปูนภูงา เป็นการเชื่อมโยงความคิดจากความสมบูรณ์ของทุนทางวัฒนธรรม วิถีชีวิต
และความงดงามของธรรมชาติทส่ี รา้ งสรรคเ์ ป็นลายผ้า ประกอบดว้ ย

ดอกจำ�ปูน เป็นดอกไม้ประจำ�จังหวัดพังงา ดอกมีสีขาวเป็นมัน มี ๓ กลีบ และมีกลิ่น
หอมมาก ออกดอกทง้ั ปี ซง่ึ ผอู้ อกแบบไดน้ �ำ ดอกจ�ำ ปนู มาจดั วางในลกั ษณะหมนุ รอบจดุ สอ่ื ถงึ ความรกั
และความสามคั คขี องผคู้ นในจังหวัด ก่งึ กลางใช้รปู ทรงสเ่ี หลีย่ ม ๙ ชนิ้ จดั เรยี งตอ่ กัน แทนสัญลักษณ์
ของดวงอาทติ ย์ แทนความหวัง แสงสว่าง และความเจริญรุ่งเรอื ง

เส้นคลื่น ส่ือถึงจังหวัดท่ีมีพื้นที่ติดทะเลอันดามัน มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์
และการเคลื่อนไหว การพฒั นาอยา่ งไม่สน้ิ สดุ

เขาช้าง เขาช้างเป็นสัญลกั ษณ์ของเมอื งพงั งา รูปลกั ษณะคลา้ ยชา้ งหมอบ
เขาตะปู เป็นเขาหินปูนที่มีลักษณะเหมือนตะปูต้ังอยู่กลางน้ํา เป็นสัญลักษณ์หนึ่งเดียวใน
ประเทศ การสอดแทรกลายขอเพ่ือสอ่ื ความหมายถงึ การสง่ มอบความรกั และความสุขของผคู้ น

รายละเอยี ดผู้ออกแบบและตดั เย็บ
ช่อื ร้าน/กลมุ่ ผผู้ ลติ ผ้ปู ระกอบการ ร้าน Her & Him
ช่อื - สกลุ (ผู้ตดั เยบ็ ) นางปราณี เพชรชูช่วย โทร. ๐ ๗๖๒๒ ๑๐๕๔
ที่อยู่ ๕๘/๑๐-๑๑ ถนนบางกอก ตำ�บลตลาดเหนอื อำ�เภอเมอื งภเู ก็ต จังหวดั ภูเกต็

119

นายกูเ้ กยี รติ วงศก์ ระพันธุ์ ผ้วู ่าราชการจังหวัดพัทลุง

นางมะลิ วงศ์กระพันธ์ุ ประธานแม่บา้ นมหาดไทยจงั หวัดพทั ลงุ
120

ผ้าทอยกดอก ลายดอกพะยอมเล็ก

เรื่องราวผ้าที่ใช้ในการเดนิ แบบ
“ผ้าทอยกดอก ลายดอกพะยอมเลก็ ” ได้รับการคัดเลือกให้เปน็ ลายผา้ ทแี่ สดงถงึ ความเป็น
อัตลักษณ์ของจังหวัดพัทลุง เป็นลายผ้าประจำ�จังหวัดพัทลุง โดยใช้เทคนิคการทอด้วยกี่กระตุก
๓ ตะกอ ชา่ งทอไดแ้ รงบนั ดาลใจมาจากตน้ พะยอม ซง่ึ เปน็ พนั ธไ์ุ มพ้ ระราชทาน เพอ่ื ปลกู เปน็ ไมม้ งคล
ในจงั หวดั พทั ลงุ และดอกพะยอมเปน็ ดอกไมป้ ระจ�ำ จงั หวดั พทั ลงุ ดอกพะยอมเปน็ ดอกไมม้ กี ลนิ่ หอม
ดอกมีสีเหลอื งอ่อน เปน็ ช่อใหญอ่ อกตามยอดของต้น ดอกมี ๓ กลบี โดยกลบี ดอกตดิ กับกา้ นดอก
มีลักษณะกลม กลีบดอกเรียบ โค้ง และในการตัดเย็บได้นำ�ลูกปัดมโนราห์มาประดับตกแต่งเพื่อ
สือ่ ให้เห็นถงึ เมืองถน่ิ โนรา ซึง่ เป็นมรดกทางวัฒนธรรม

รายละเอียดผอู้ อกแบบและตดั เยบ็
ชอ่ื รา้ น/กลมุ่ ผผู้ ลติ ผูป้ ระกอบการ กลุ่มทอผา้ นิคมลานข่อย
ชอ่ื - สกลุ (ผู้ตดั เยบ็ ) นางจ�ำ เรยี ง ค�ำ ทอง โทร. ๐๘ ๗๙๖๗ ๒๔๘๗
ทอ่ี ยู่ ๒๐๕ หมทู่ ี่ ๗ ต�ำ บลลานขอ่ ย อ�ำ เภอปา่ พะยอม จังหวัดพัทลงุ

121

นางบญุ วนั ดี ว่นุ ซิ้ว ประธานแมบ่ า้ นมหาดไทยจงั หวัดภเู กต็
122

ปะการังและท้องทะเล

เรอ่ื งราวผ้าทใี่ ชใ้ นการเดินแบบ
ผ้าลาย “ปะการังและท้องทะเล” ทีเ่ ปน็ ลายอัตลักษณ์ประจำ�จงั หวัดภเู ก็ต
การผลิต “ผ้าบาติก” มีต้นกำ�เนิด ณ จุดใดของโลก ไม่มีใครบอกได้ชัดเจน แต่ได้
เดินทางผ่านหมูเ่ กาะน้อยใหญ่ของชวา ขา้ มนาํ้ ข้ามทะเลเขา้ มายังจงั หวัดภเู กต็ โดยวิทยาลยั ครภู เู กต็
(มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภเู กต็ ) ไดน้ �ำ มาสอนเป็นทีแ่ พรห่ ลายจนถึงปัจจบุ ัน โดยจดุ เดน่ ของผา้ บาติกคือ
เปน็ ลวดลายทส่ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ความงดงามของธรรมชาติ โดยเฉพาะทอ้ งทะเลทเี่ ปน็ เมอื งทอ่ งเทยี่ ว
ทางทะเลระดบั โลก จงึ ไดอ้ อกแบบลวดลาย “ปะการงั และทอ้ งทะเล” บนผา้ บาตกิ ทม่ี เี สนห่ แ์ หง่ สสี นั
ทส่ี วยสด ลายเส้นเทยี นท่ีพลว้ิ ไหวออ่ นหวาน เหน็ ถึงความงดงามของธรรมชาติ จนทำ�ให้ใครต่อใคร
หลงใหลและประทบั ใจ

รายละเอยี ดผอู้ อกแบบและตัดเย็บ
ออกแบบและตัดเยบ็ โดยนกั เรยี น นกั ศึกษา และผูเ้ ข้ารว่ มฝกึ อบรมตามโครงการเพิ่มทกั ษะ
อาชีพเพ่ือรองรบั การขับเคล่ือนแผนพัฒนาเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรมดา้ นการทอ่ งเที่ยวคุณภาพสูง
กิจกรรมอบรมหลักสูตรผลิตภัณฑ์งานผ้าเพ่ือธุรกิจ โดยอาจารย์แผนกวิชาแฟชั่นและส่ิงทอ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาภูเก็ต อำ�เภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต และจากร้านวรรณาบาติก
โทร. ๐๘ ๑๙๖๘ ๑๙๑๔ ๕๕/๘๒๔ หมู่บ้านวิลล่าดาวรงุ่ ถนนเจ้าฟา้ ตำ�บลวชิ ติ อ�ำ เภอเมืองภูเกต็
จงั หวัดภูเกต็

123

นายภริ มย์ นิลทยา ผูว้ า่ ราชการจงั หวดั ยะลา

ผศ. ดร.ทพิ ยวรรณ นลิ ทยา ประธานแมบ่ ้านมหาดไทยจงั หวัดยะลา
124

ผ้าบาติกพิมพ์ลายดว้ ยแม่พิมพบ์ ลอ็ กไม้ ลายยะลารวมใจ

เรอ่ื งราวผ้าทใี่ ช้ในการเดินแบบ
ผา้ บาติก (Batik) หรอื ปาเตะ๊ (Batek) เป็นผา้ ท่สี ร้างลวดลายท่เี กิดจากการก้นั สีด้วยเทียน
แล้วแต้มระบายหรือย้อมในส่วนที่ต้องการให้ติดสี เทคนิคการเขียนเทียนกลายเป็นภูมิปัญญาล้ําค่า
เอกลกั ษณข์ องผา้ บาตกิ คอื สสี นั ทสี่ ดใส มเี ทคนคิ ในการผลติ หลายแบบ เชน่ การเขยี นดว้ ยมอื จดั เปน็
ผ้าบาติกชั้นสูง การเพ้นท์และพิมพ์ลวดลายบนผ้า นอกจากนี้ยังมีการฟ้ืนฟูเทคนิคผ้าบาติกโบราณ
มาสร้างลวดลายและปรับสีสันให้ทันสมัยมากข้ึน เช่น ผ้าปะลางิง ผ้าบาติกพิมพ์ลายด้วยแม่พิมพ์
บล็อกไม้ “ลายยะลารวมใจ” ได้รบั แรงบันดาลใจในการออกแบบลวดลายมาจาก ค�ำ ว่า ยะลอ หรอื
ยาลอ ช่อื เมอื งยะลาในภาษาพน้ื เมอื งมลายู ซ่งึ แปลวา่ แห หรอื ตาข่าย และดอกพกิ ุล ดอกไมป้ ระจ�ำ
จังหวดั ยะลา มาก�ำ หนดและออกแบบลวดลายอตั ลกั ษณป์ ระจ�ำ จังหวัดยะลา

รายละเอียดผู้ออกแบบและตัดเยบ็
ช่ือร้าน/กลุ่มผูผ้ ลติ ผปู้ ระกอบการ กลุ่มศรยี ะลาบาติก
ชอ่ื - สกลุ (ผูต้ ัดเย็บ) นายสธุ รรม วิมล โทร. ๐๘ ๗๘๓๗ ๔๐๐๗
ทอ่ี ยู่ ๘๕ ซอย ๑๒ (สุขธร ๒) ถนนเวฬวุ ัน ต�ำ บลสะเตง อำ�เภอเมืองยะลา จงั หวัดยะลา ๙๕๐๐๐

125

นายสมเกยี รติ ศรีษะเนตร ผ้วู า่ ราชการจงั หวัดระนอง
126

ผา้ บาตกิ พมิ พล์ ายอนิ ทนิล สินธุ์แรน่ อง

ลายอินทนิล สินธ์ุแร่นอง ลายผ้าอัตลักษณ์ประจำ�จังหวัดระนอง ได้รับแรงบันดาลใจ
มาจาก “อินทนิล” ซึ่งเป็นต้นไม้ประจำ�จังหวัดระนอง ส่ือความด้วยช่อใบเสมือนลมหายใจของ
คนระนอง โอบล้อมด้วยความจงรักภักดีผ่านตัวอักษร “ร” ซึ่งเป็นจุดศูนย์กลางให้เห็นถึงการอยู่
รว่ มกนั ในสงั คมพหวุ ฒั นธรรม และลวดลายตา่ ง ๆ ทป่ี ระกอบอยบู่ นผนื ผา้ แสดงถงึ ความเปน็ สริ มิ งคล
ต่อผู้สวมใส่ รักระนอง รํ่ารวย ราบรื่น มีความสุข สำ�หรับรูปแบบการตัดเย็บ เป็นชุดต่ึงจวง
เปน็ เสอื้ คอสงู แบบจนี ผา่ หนา้ ตลอด สาบหนา้ อาจจะตรงหรอื ปา้ ยออกขา้ ง กลดั ดว้ ยกระดมุ จนี “หลนิ ”
๕ เม็ด ที่ผูกด้วยผ้าเป็นลูกกลมคล้ายหัวแมลงวัน ทรงเส้ือตรงปล่อยคลุมสะโพก ผ่าข้างเล็กน้อย
ปะกระเป๋าสองข้าง

รายละเอยี ดผูอ้ อกแบบและตัดเยบ็
ชอื่ ร้าน/กล่มุ ผูผ้ ลติ ผูป้ ระกอบการ : รา้ นระนองบาตกิ นายด�ำ รงศกั ด์ิ ฝอยทอง
ชือ่ - สกุล (ผ้ตู ัดเย็บ) นางสาวพัชรา สันสถิตย์ โทร. ๐๘ ๑๕๖๙ ๙๘๖๘
ที่อยู่ ๑๐/๑๗ ซอยจัดสรร ๑๐ หมูท่ ี่ ๑ ต�ำ บลบางร้ิน อำ�เภอเมืองระนอง จังหวดั ระนอง

127

นายเจษฎา จิตรัตน์ ผ้วู ่าราชการจงั หวดั สงขลา

นางดาเรศ จติ รัตน์ ประธานแม่บ้านมหาดไทยจงั หวัดสงขลา
128

ผ้าบาติกลายเจ้าฟา้ สพู่ อ่ เมอื งสงขลา

เร่ืองราวผ้าที่ใช้ในการเดนิ แบบ
ลายผ้าพระราชทานจากฟา้ สดู่ นิ ที่มาส่ปู า่ แดนใต้แหง่ เมืองสงขลา ซ่งึ สมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอ
เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา ได้ทรงรังสรรค์ลายผ้าที่เป็นอัตลักษณ์ของชาวใต้ มีความ
สงา่ งามควรค่พู อ่ เมอื งสงขลา “ลายขอเจ้าฟา้ สริ วิ ณั ณวรี ลายขดิ นารีรัตนราชกัญญา ลายป่าแดนใต้
ลายเงอื กทองแหง่ เมอื งสงขลา”
ลวดลายผ้าดังกล่าวได้ถูกสื่อสารและถ่ายทอดแนวคิดออกมาจากใจของเยาวชนท่ีมี
ความรักต่อการสืบทอดภูมิปัญญาด้านบาติกให้ย่ังยืน ต่อยอดผสมผสานจนเกิดเป็นลายผ้าบาติก
“ลายเจ้าฟา้ สพู่ ่อเมอื งสงขลา” โดยใช้สีเหลือง ซ่ึงส่อื ถงึ ความจงรักภกั ดตี ่อสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์

รายละเอยี ดผอู้ อกแบบและตดั เยบ็
ออกแบบ : นางดาเรศ จิตรัตน์ (ประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวดั สงขลา)
ตัดเยบ็ : นางสารภี สวุ รรณทวี (ห้องเสื้อสารภ)ี
ชือ่ ร้าน/กลุม่ ผู้ผลติ ผู้ประกอบการ : กลุ่มมดี ี นาทับ
เลขที่ ๙๘ หมทู่ ่ี ๗ ตำ�บลนาทับ อำ�เภอจะนะ จงั หวดั สงขลา ๙๐๑๓๐
โทร. ๐๘ ๖๒๙๔ ๕๗๑๖, ๐๘ ๐๐๕๔ ๗๓๗๔

129

นายเอกรฐั หลีเส็น ผู้วา่ ราชการจงั หวดั สตูล

นาวาตรหี ญงิ โนสมา หลีเส็น ประธานแม่บา้ นมหาดไทยจงั หวัดสตลู
130

ผ้าปาเต๊ะโบราณ ลายดาวน์บูดิงฟอสซลิ สตูล

เรอ่ื งราวผ้าทใ่ี ช้ในการเดินแบบ
สืบเน่ืองจากชาวสตูลในสมัยอดีตน้ัน ได้รับอิทธิพลด้านการแต่งกายจากเช้ือชาติมลายู
ชาวจีน ชาวเปอร์เซีย อินโดนีเซีย และประเทศจากทวีปยุโรป โดยเฉพาะการแต่งกายจะใช้ผ้า
ลายใบไม้ ดอกไมต้ ามธรรมชาติท่ีมีความหลากหลายรูปแบบและสีสัน มานงุ่ หรือสวมใสเ่ ปน็ ผา้ ถงุ
ลายดาวน์บูดงิ ฟอสซิลสตูล เกดิ จากการนำ�ลายดาวนบ์ ูดิงมาผสมผสานกบั ลายฟอสซิลหอย
ในพน้ื ทจี่ ังหวดั สตลู ลายดาวนบ์ ูดิงท่ปี รากฏบนผนื ผา้ เปน็ ลวดลายคล้ายซมุ้ ดอกไม้โบราณชนิดหนึง่
ท่ีมีลักษณะเป็นไม้เล้ือย โดยสำ�นักงานประวัติศาสตร์ประเทศมาเลเซียได้สันนิษฐานว่า ดอกไม้
ที่ปรากฏบนผืนผ้า คือ ดาวน์บูดิง (Daun Buding) (ดอกบูดิง) มาจากภาษามลายู หรือดาวน์บูดี
(Daun Budy) (ดอกบดู )ี มาจากภาษาอนิ โดนเี ซยี ดอกไมช้ นดิ นพี้ บมากในคาบสมทุ รมลายู มลี กั ษณะ
คล้ายดอกสายหยุด ดอกมีสีเหลือง กล่ินหอม ใบมีลักษณะเป็นรูปหอก ปลายใบแหลมหรือมี
ตงิ่ แหลม ประเทศในแถบคาบสมทุ รมลายนู ยิ มน�ำ ดอกไมช้ นดิ นมี้ าท�ำ เปน็ ซมุ้ ดอกไมเ้ พอ่ื ใชใ้ นพธิ ตี อ้ นรบั
บ่าวสาวในงานแต่งงาน จึงกล่าวได้ว่าดอกไม้ชนิดน้ีถือเป็นดอกไม้มงคลของชาวมลายูโบราณ ส่วน
ลายฟอสซลิ เปน็ การน�ำ ลายฟอสซลิ ในอทุ ยานธรณสี ตลู ซงึ่ ไดร้ บั การประกาศใหเ้ ปน็ อทุ ยานธรณโี ลก
แห่งแรกของประเทศไทย และเป็นแห่งที่ ๕ ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยยูเนสโก ทางกลุ่มผ้า
ปันหยาบาติกจึงได้นำ�ลวดลายดาวน์บูดิงและฟอสซิลหอยในมหายุคพาลีโอโซอิก (อายุประมาณ
๒๙๙ - ๕๔๒ ลา้ นป)ี มาผสมผสานเปน็ ลวดลายผา้ ทีแ่ สดงถึงอตั ลักษณข์ องจังหวัดสตลู
ต่อมา สมเด็จพระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ สริ วิ ัณณวรี นารรี ัตนราชกัญญา ทรงคัดเลือกผ้าปาเตะ๊
ลายโบราณของกลุ่มปันหยาบาติก มาตัดเย็บสำ�หรับฉลองพระองค์ เพ่ือเป็นการประชาสัมพันธ์
ส่งเสรมิ การใชผ้ ้าปาเต๊ะลายโบราณใหเ้ ปน็ ท่นี ิยมข้ึนมาใหม่

รายละเอยี ดผูอ้ อกแบบและตดั เยบ็
ผูผ้ ลติ ผูป้ ระกอบการ : วิสาหกจิ ชุมชนปนั หยาบาตกิ
ชดุ ผู้ว่าราชการจังหวัด

- รา้ นจอหน์ โดยนายสมพงษ์ สุวรรณสะอาด
- ทอ่ี ยู่ ๔๓๐ หม่ทู ี่ ๑ ซอย ๓๖ ถนนเขาจนี อำ�เภอเมอื งสตูล จังหวัดสตูล
ชดุ ประธานแม่บา้ นมหาดไทย
- หอ้ งเสอ้ื ดวงใจ โดยคุณดวงใจ อสิ ระ
- ทอ่ี ยู่ ๖๘ หมู่ท่ี ๑ ต�ำ บลกำ�แพง อำ�เภอละงู จงั หวดั สตลู

131

นายวชิ วทุ ย์ จนิ โต ผู้วา่ ราชการจังหวัดสรุ าษฎร์ธานี
นางอุรสา จินโต ประธานแมบ่ ้านมหาดไทยจังหวดั สุราษฎรธ์ านี

132

ผ้าลายราชวัตรโคมหรือราชวัตรดอกใหญ่

เรื่องราวผา้ ที่ใช้ในการเดินแบบ
ผ้ายกลายราชวัตรโคมเป็นท่ีนิยมแพร่หลาย ต้องใช้ทักษะความชำ�นาญของช่างทอ
ในพ้ืนท่ีสรุ าษฎรธ์ านสี ืบเนอ่ื งมายาวนานนับร้อยปี ดงั ปรากฏหลกั ฐานวา่ เมื่อปีพทุ ธศักราช ๒๔๐๓
มีหนังสือจากราชสำ�นักแจ้งมายังพระยาไชยาว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์
ผา้ ราชวัตรสำ�หรับพระราชทานพระบรมวงศานวุ งศ์ทง้ั ขา้ งหน้าขา้ งใน จึงโปรดเกล้าฯ พระราชทาน
ไหมและค่าแรงให้พระยาไชยาจัดการให้ช่างทอเมืองไชยา (ปัจจุบันคืออำ�เภอไชยา จังหวัด
สุราษฎร์ธานี) ทอเข้าไปถวายกรุงเทพมหานคร
ผ้ายกลายราชวัตรโคม มีลักษณะโครงสร้างรวมอยู่ในรูปตารางสี่เหล่ียมแนวตะแคง
ทำ�นองเดียวกับร้ัวกำ�หนดเขตมณฑลพิธี จึงส่ือถึงความหมายมงคลเปรียบประดุจร้ัวราชวัตร นำ�มา
ซงึ่ คณุ งามความดี สริ ิมงคล และชว่ ยปกปักรกั ษาผู้สวมใส่
ลักษณะเด่นเปน็ ลายเรขาคณิต รายละเอยี ดของลวดลายมลี ักษณะเป็นรปู โคมหรือสเ่ี หลี่ยม
ย่อมุมไม้สิบสองวางอยู่ในโครงสร้างรูปตารางสี่เหลี่ยมแนวตะแคง ซึ่งสะท้อนทั้งความโบราณ
ภูมปิ ัญญาดั้งเดมิ อนั เป็นรากฐาน และความร่วมสมัยในสงั คมปัจจุบนั

รายละเอยี ดผูอ้ อกแบบและตดั เย็บ “เสื้อลายราชวัตรโคม”
ชอื่ ร้าน/กลุ่มผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ ร้านทีโรส T.Rose
ช่อื - สกลุ (ผูต้ ดั เยบ็ ) นายบุญสอด สุขกลับ
ทอ่ี ยู่ ๓๑/๒๘ ถนนดอนนก ตำ�บลตลาด อ�ำ เภอเมอื งสุราษฎรธ์ านี จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี
โทร. ๐ ๗๗๒๘ ๖๒๘๙, ๐ ๗๗๒๘ ๙๓๑๗

133

นายทรงพล ใจกริ่ม ผ้วู ่าราชการจงั หวัดกาฬสินธ์ุ
134

ผ้าลายแพรวากาฬสินธุ์

เร่อื งราวผา้ ทใี่ ชใ้ นการเดนิ แบบ
ชอ่ื ลาย : ลายใน ลายใบบุ่นกา้ นก่อง อมุ้ ลายขอเบ็ด อ้มุ กาบแบด
ลายนอก ลายนาคอุ้มดอกฟนั ปลา
เรื่องราว : เป็นการทอลายโบราณดั้งเดิมที่มีลวดลายโดดเด่น เน่ืองจากสีของการจับจก
ค่อนข้างโดดเด่นเป็นพิเศษ จะมีสีขาวและสีเหลืองแทรกเพ่ิมความสว่างของผ้า ผ้าผืนนี้จะมีท้ัง
ลายหลักและลายคั่น ซง่ึ ลายค่นั ทอเปน็ ลายคล้ายดอกไม้
สที ใ่ี ช้ สีพ้ืนใชส้ แี ดง และสเี กาะใชส้ ีขาว สีเหลอื ง สเี ขียว และสีน้ําเงนิ

รายละเอียดผ้อู อกแบบและตัดเย็บ
ชอ่ื รา้ น/กลมุ่ ผผู้ ลิต ผ้ปู ระกอบการ ร้านแสวงสทู
ชอ่ื - สกุล (ผูต้ ัดเยบ็ ) นายแสวง จกั ษุมาศ โทร. ๐๘ ๑๔๙๒ ๖๑๘๐
ท่ีอยู่ ๖๒/๓ ถนนหนา้ เรอื นจำ� อำ�เภอเมอื งกาฬสินธุ์ จงั หวัดกาฬสินธุ์ ๔๖๐๐๐

135

นางสาวธนียา นยั พินจิ รองผ้วู า่ ราชการจังหวดั ขอนแกน่
136

ผ้าไหมมดั หมล่ี ายแคนแกน่ คูน

เร่อื งราวผา้ ทีใ่ ช้ในการเดินแบบ
“ลายแคนแก่นคูน” นครขอนแก่นได้รับฉายาว่าเป็น “นครแห่งไหม” ในภาคอีสาน
ปี ๒๕๖๑ จึงเป็นปีประวัติศาสตร์ทจ่ี ารึกว่า เมืองนมี้ ลี ายผ้าเป็นเอกลกั ษณข์ องเมือง เป็นการตกผลกึ
ทางภูมิปัญญาโดยกลุ่มปราชญ์ชาวบ้าน มาช่วยกันระดมความคิด สกัดสัญลักษณ์ ประกอบข้ึน
เป็นลายผ้าที่มีความหมายอันเป็นมงคล สืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษ ความลงตัวทางความคิด
ท่ีเหน็ ชอบรว่ มกนั เกิดเป็นลายท่เี ปน็ เอกลกั ษณ์แหง่ การรวมภูมปิ ัญญาสมบรู ณค์ รบถว้ น
KAN คอื King Of Music ของคนขอนแก่น เปน็ เสียงแห่งมนต์เสนห่ ์ อนั เป็นสุนทรีย์แหง่
ดนตรี เป็นเอกลกั ษณ์ของนครขอนแก่น
KAEN คือ King Of Esan หมายถึงมหานครขอนแก่น อันเป็นเมืองหลวงของภาคอีสาน
ซ่ึงเปน็ ภมู ิเมอื งของลายมดั หม่ี “แคนแกน่ คูน” อีกหนึ่งนัย ขอนแกน่ ซง่ึ หมายถงึ แก่นแท้หรือสาระ
อนั เปน็ ท่ีมาของลาย “แคนแก่นคูน”
KOON คือ King Of Tree and Flower หมายถึง ต้นไม้ของพระราชา ดอกไม้ประจำ�
จังหวดั ขอนแก่น และดอกไม้ประจำ�ชาติ ซ่งึ มคี วามเปน็ ราชาแห่งพฤกษาท้งั ปวง

รายละเอยี ดผอู้ อกแบบและตัดเย็บ
ชอ่ื ร้าน/กลมุ่ ผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ ร้านเชฟขอนแกน่
ช่อื -สกุล (ผู้ตัดเยบ็ ) นายประหยดั ลานอก โทร. ๐๙ ๑๘๖๙ ๗๘๗๘, ๐๘ ๘๓๐๗ ๕๕๓๖
ที่อยู่ ๕๕/๑๓ ถนนประชานาคสันติ ตำ�บลในเมอื ง อำ�เภอเมอื งขอนแกน่ จังหวัดขอนแกน่ ๔๐๐๐๐

137

นางกรรณกิ า กองฉลาด ประธานแมบ่ า้ นมหาดไทยจังหวดั ชัยภมู ิ
138

ผา้ ไหมมัดหมลี่ ายหมค่ี ่นั ขอนารี

เร่ืองราวผ้าท่ใี ช้ในการเดนิ แบบ
ผ้าขิดลายนาคย้อมสีธรรมชาติ เกิดจากการนำ�ลวดลายจากผ้าที่ใช้คลุมศีรษะของนาค
ในการเข้าพิธีอุปสมบทของหมู่บ้านโนนเสลา อำ�เภอภูเขียว ถือเป็นประเพณีโบราณและปฏิบัติ
สบื ทอดตอ่ กนั มาหลายรอ้ ยปหี ลายชว่ั คน ซงึ่ มแี หง่ เดยี วในประเทศไทยและหนง่ึ เดยี วในโลก เพอ่ื เปน็
การทดสอบความตั้งใจว่าผู้บวชจะมีความมุ่งม่ันอดทนจริงจังท่ีจะบวชแทนคุณบิดามารดาหรือไม่
โดยผ้าขิดลายนาคทอข้ึนด้วยการยกขิด ๕๑ ตะกอ ด้วยเส้นฝ้ายที่ทำ�ข้ึนเองด้วยวัตถุดิบในท้องถ่ิน
และนำ�มายอ้ มสีธรรมชาติดว้ ยการนำ�ขยุ มะพร้าวผสมกบั เปลอื กเงาะ ซง่ึ จะใหส้ นี ้าํ ตาลแกมทอง

รายละเอียดผูอ้ อกแบบและตดั เยบ็
ชือ่ ร้าน/กลมุ่ ผูผ้ ลิต ผู้ประกอบการ นายสขุ มุ นวลสกลุ หอ้ งเสอ้ื ชายสากล
ที่อยู่ ๓๘๓/๙๘ ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมืองชัยภูมิ จังหวดั ชยั ภมู ิ โทร. ๐๘ ๖๒๖๑ ๙๐๙๙

139

นายชาธิป รจุ นเสรี ผู้ว่าราชการจงั หวัดนครพนม

นางกาญจนี รจุ นเสรี ประธานแม่บา้ นมหาดไทยจงั หวัดนครพนม
140

ผา้ ไหมมดั หมลี่ ายขดิ นารีรตั นราชกัญญา

เร่ืองราวผา้ ที่ใช้ในการเดินแบบ
ผ้าไหมมัดหม่ีลายขิดนารีรัตนราชกัญญา จากการทอของศูนย์ศิลปาชีพบ้านท่าเรือ
อำ�เภอนาหว้า จังหวัดนครพนม ซ่ึงเป็นกลุ่มทอผ้าไหมกลุ่มแรกของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ
ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ย้อมด้วยสีธรรมชาติจากพืชในพื้นถิ่น โดยเส้นพุ่ง
เป็นไหมสาวมือย้อมด้วยเปลือกเสียดและมะเกลือ เส้นยืนทำ�จากไหมสาวเคร่ืองย้อมด้วยดอกจาน
ส่วนลายพ้ืนถ่ินที่นำ�มาผสมผสานในลายผ้าคือลายหมากจับหว่าน ซ่ึงเป็นลายโบราณท่ีสืบทอด
มาจากบรรพบรุ ษุ

รายละเอยี ดผอู้ อกแบบและตดั เยบ็
กลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการทอผ้า นางอรพิณ วะสาร ศูนย์ศิลปาชีพบ้านท่าเรือ อำ�เภอนาหว้า
จงั หวัดนครพนม
ชอื่ - สกลุ (ผู้ตดั เย็บ)

- ชุดท่านผวู้ ่าราชการจังหวัด ตัดเยบ็ โดยรา้ นอาร์ตเทเลอร์ จงั หวัดนครพนม
- ชดุ ประธานแมบ่ า้ นมหาดไทย ตดั เยบ็ โดยหอ้ งเสอื้ คณุ หน่อย จงั หวดั นครพนม

141

นายวิเชียร จันทรโณทัย ผวู้ ่าราชการจงั หวดั นครราชสมี า

นางณัฏฐินีภรณ์ จนั ทรโณทยั ประธานแม่บ้านมหาดไทยจงั หวัดนครราชสมี า
142

ผา้ ไหมลายโนต้ ดนตรขี อหลงดอกแก้ว

เร่อื งราวผ้าท่ใี ชใ้ นการเดินแบบ
ผ้าไหมลายโน้ตดนตรีขอหลงดอกแก้ว เป็นผ้าขิด ๔ ตะกอ ทอมือด้วยกี่พ้ืนบ้านจาก
เส้นไหมหรอื ท่สี าวดว้ ยมอื ลวดลายที่เกิดขึน้ ใหมล่ ะมา้ ยคลา้ ยลายกราฟกิ มมี ติ ขิ องผืนผ้า โดยได้รบั
การถ่ายทอดองค์ความรู้จากวิทยาลัยช่างทองหลวง สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกร
คมึ มะอ-ุ สวนหมอ่ น อำ�เภอบวั ลาย เข้ารบั การถา่ ยทอดวชิ าการสรา้ งลายผา้ และนำ�ความรูม้ าพัฒนา
ต่อยอด ถ่ายทอดให้แก่คนรุ่นหลังและสมาชิกรายอื่น ๆ ผ้าไหมลายโน้ตดนตรีขอหลงดอกแก้ว
จึงเป็นลายท่ีมีความสวยงามโดดเด่นและแฝงด้วยความหมายที่เป็นมงคล โดยมีความเช่ือว่า
ลายขอหลง ส่อื ถึงความชืน่ ชมและหลงใหล ดอกแก้วซ่ึงมีสขี าวและกลิ่นหอมละมุน สอื่ ความหมาย
ถงึ ความบรสิ ุทธิ์และชือ่ เสยี งท่ฟี ุ้งขจร

รายละเอยี ดผ้อู อกแบบและตดั เย็บ
ชอื่ ร้าน : ร้านลอรด์ เทเลอร์ ผตู้ ัดเย็บ : นายสายันห์ โกลาตี
ทอ่ี ยู่ : เลขที่ ๔๘๓ ตำ�บลในเมือง อำ�เภอเมอื งนครราชสีมา จังหวดั นครราชสมี า
โทร. ๐๘ ๑๙๙๙ ๓๕๓๖
ชือ่ รา้ น : รา้ นห้องเสอื้ ดีเทล/ผูต้ ัดเยบ็ : นายรพิ ทิมอดุ ม
ทอ่ี ยู่ : ๑๗๓๓/๑๖ ตำ�บลในเมอื ง อำ�เภอเมอื งนครราชสมี า จังหวัดนครราชสีมา
โทร. ๐๙ ๖๒๖๙ ๒๕๒๔

143

นายสนทิ ขาวสอาด ผ้วู ่าราชการจงั หวดั บึงกาฬ
144

ผ้าฝา้ ยมดั หมี่ ยอ้ มสีธรรมชาติ

ลายไทบูชา ชาวประชาบงึ กาฬ

เร่ืองราวผา้ ท่ใี ชใ้ นการเดนิ แบบ
ผ้าลายไทบูชา ชาวประชาบงึ กาฬ เกดิ จากโครงการประกวดออกแบบลายผา้ พระราชทาน
“ลายขอเจ้าฟ้าสิริวัณณวรีฯ” อัตลักษณ์บึงกาฬ โดยนายอิทธิกร อินทร์แสง เป็นผู้ออกแบบลาย
“ไทบูชา ชาวประชาบึงกาฬ” โดยได้รับแรงบันดาลใจจากความเช่ือ ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี
พิธีกรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ของชาวบึงกาฬ โดยผสมผสานกับลายขอพระราชทาน ออกแบบผ้า
เป็นลายไทบูชา ชาวประชาบงึ กาฬ
ตัว S ๘ ตัว หมายถึง ความรํ่ารวย เลข ๘ เป็นเลขมงคลอันดับ ๑ ของจีน และยังเป็น
เคร่ืองหมาย infinity ที่แปลวา่ ไมม่ ีท่สี ้ินสดุ คนจีนจงึ เช่ือวา่ เลข ๘ มีความหมายวา่ รวยไมม่ ที ีส่ ิ้นสุด
ขันหมากเบ็ง หรือ ขันหมากเบญจ์ คือ พานพุ่มดอกไม้ท่ีใช้เป็นพานพุ่มบูชาในพิธีกรรม
และบชู าพระรตั นตรยั ในวนั อโุ บสถหรอื วนั สำ�คญั ทางพระพทุ ธศาสนา รวมทง้ั การนำ�ไปบชู าวญิ ญาณ
บรรพบรุ ษุ ท่ีล่วงลบั ไปแลว้

รายละเอียดผอู้ อกแบบและตดั เยบ็
ช่ือร้าน/กลมุ่ ผู้ผลติ ผปู้ ระกอบการ (ผู้ออกแบบลายผา้ ) นายอทิ ธกิ ร อนิ ทร์แสง กล่มุ สองมอื พมิ พ์
ทีอ่ ยู่ ๑๐๕ หมู่ที่ ๒ ตำ�บลหอคำ� อำ�เภอเมอื งบึงกาฬ จังหวดั บงึ กาฬ โทร. ๐๖ ๓๗๒๖ ๖๒๖๙
ชื่อ - สกุล (ช่างทอ) นางสมสาย ทิพย์ทอง กลุ่มทอผ้าแม่บ้านสามหนอง ที่อยู่ ๔๙ หมู่ท่ี ๙
ตำ�บลบัวตูม อำ�เภอโซพ่ ิสยั จังหวัดบงึ กาฬ โทร. ๐๙ ๓๓๒๙ ๔๓๔๗
ช่ือ - สกุล (ผู้ตัดเย็บ) นางพรทิพย์ สุวรรณนำ�ปน ร้านสมาร์ทสูท บ้านแสนสำ�ราญ อำ�เภอเมือง
บึงกาฬ จงั หวัดบงึ กาฬ โทร. ๐๘ ๗๓๕๓ ๘๙๖๔

145

นางธันยภ์ คั นันท์ หตั ถาธยากลู ประธานแมบ่ า้ นมหาดไทยจงั หวดั บุรรี มั ย์
146

ผ้าไหมมดั หมี่ตนี แดง

เรอ่ื งราวผ้าที่ใชใ้ นการเดนิ แบบ
ผ้าไหมมดั หม่ตี นี แดง ผา้ ซน่ิ ตนี แดง หรอื ผ้าหัวแดงตนี แดง เปน็ ผ้าทีพ่ บในกล่มุ ชาติพันธ์ุลาว
พบครั้งแรกประมาณ ๒๐๐ ปีมาแล้ว ผลิตโดยช่างทอผ้าในคุ้มพระยาเสนาสงคราม (เจ้าเมือง
พทุ ไธสงคนแรก) ปัจจบุ ันเปน็ ผา้ ทชี่ าวบุรีรมั ยน์ ิยมอย่างกว้างขวาง ผลิตมากท่ีอำ�เภอพุทไธสง อำ�เภอ
นาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์ได้กำ�หนดเป็น “ผ้าเอกลักษณ์ประจำ�จังหวัดบุรีรัมย์” ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๖
ผ้าไหมมัดหม่ีตีนแดง (ที่ประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวัดบุรีรัมย์) สวมใส่ในการแสดงแบบผ้า
เปน็ ผา้ ไหมมัดหมีต่ นี แดง โดยใช้เทคนคิ การทอแบบโบราณ ทอด้วยก่ีไมก้ ระทบมือ ๒ ตะกอ ฟมื ทอ
๖๕ เส้นไหม “ทางยืน” เปน็ สนี ้าํ เงิน เสน้ ไหม “ทางพ่งุ ” มดั หม่ีดว้ ยเกลด็ หม่สี ีทอง โอบดว้ ยสเี ขยี ว
และแดง ผนื ผา้ จะเป็นสีนา้ํ เงินประกายม่วง ชื่อลายผ้า “ลายนพเกา้ โบราณ”

รายละเอยี ดผู้ออกแบบและตดั เย็บ
ชือ่ รา้ น/กลมุ่ ผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ ณัฐฐาผา้ ไหม อำ�เภอนาโพธิ์ จังหวดั บุรีรัมย์
ออกแบบชุดโดย นางธนั ย์ภคั นันท์ หตั ถาธยากลู ประธานแมบ่ า้ นมหาดไทยจงั หวัดบุรรี ัมย์
ช่ือผู้ตัดเย็บ นางดวงจันทร์ หมื่นภักดี ที่อยู่ ๑๔๑/๑ หมู่ท่ี ๒ บ้านส่ีเหล่ียม ตำ�บลเขาคอก
อำ�เภอประโคนชัย จังหวดั บรุ ีรมั ย์ โทร. ๐๘ ๙๐๑๖ ๙๒๕๒

147

นายเกยี รตศิ กั ดิ์ ตรงศิริ ผวู้ ่าราชการจังหวัดมหาสารคาม

นางพรศรี ตรงศริ ิ ประธานแม่บา้ นมหาดไทยจงั หวัดมหาสารคาม
148


Click to View FlipBook Version