The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มหาดไทย ผ้าไทยใส่ให้สนุก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Poopouy Hengsomboon, 2022-12-21 07:20:01

มหาดไทย ผ้าไทยใส่ให้สนุก

มหาดไทย ผ้าไทยใส่ให้สนุก

Keywords: มหาดไทย ผ้าไทยใส่ให้สนุก

ผา้ ลายละกอนไสห้ มู

เรือ่ งราวผ้าทใี่ ชใ้ นการเดินแบบ
เสอื้ เป็นผ้าฝา้ ยทอมอื ยอ้ มสีจากครัง่ ตกแตง่ ด้วยลวดลายผ้าอัตลักษณจ์ งั หวัดลำ�ปาง ผ้า “ลายละกอน
ไส้หมู” จากกลุ่มทอผ้านํ้ามอญแจ้ซ้อน อำ�เภอเมืองปาน จังหวัดลำ�ปาง และกลุ่มผ้าตีนจกแก้วใจผ้าไทยทอมือ
โบราณ อำ�เภอเมอื งลำ�ปาง จงั หวดั ลำ�ปาง
กลุ่มทอผ้านํ้ามอญแจ้ซ้อนมีกรรมวิธีการย้อมสีธรรมชาติท่ีแตกต่างจากชุมชนอื่น ด้วยการนำ�นํ้าแร่
จากบ่อน้ําพุร้อนแจ้ซ้อนมาใช้ในกระบวนการผลิต ทำ�ให้สีย้อมธรรมชาติติดทนนาน มีเฉดสีสดใส สว่างขึ้น
เส้นใยฝ้ายท่ยี ้อมก็จะมคี วามน่มุ นวล เมื่อน�ำ มาทอเปน็ ผา้ ผืนท�ำ ใหเ้ น้ือผา้ ไม่แขง็ สวมใสส่ บาย นอกจากนี้ ในน้ําแร่
ยังมีแร่ธาตุหลายชนิดที่เป็นสารช่วยย้อม ทำ�ให้ช่วยลดต้นทุนการผลิต เป็นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิด
ประโยชน์สูงสุดและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ชาวบ้านนิยมย้อมสีจากครั่งในช่วงหน้าแล้งหลังจากที่เก็บเกี่ยวรัง
ของครั่งที่เลี้ยงไว้กับต้นฉำ�ฉา (จามจุรี) คร่ังสดถ้านำ�มาย้อมผ้าสีจะได้สีเข้มสวยสด ถ้านำ�มาย้อมฝ้ายจะได้สีชมพู
หรอื สแี ดงอมส้มคล้ายสหี มากสุก แต่หากยอ้ มเสน้ ไหมจะได้สีแดง
กระโปรง นำ�ผ้าลายพระราชทาน “ผ้าขิดลายนารีรัตนราชกัญญา” มาทอผสมผสานกับลวดลายผ้า
อตั ลกั ษณ์จังหวัดล�ำ ปาง ผา้ “ลายละกอนไส้หม”ู จากกล่มุ ผ้าตีนจกแกว้ ใจผา้ ไทยทอมือโบราณ อ�ำ เภอเมอื งล�ำ ปาง
จังหวดั ลำ�ปาง
ลายผ้าอัตลักษณ์ลำ�ปาง คือ ลายละกอนไส้หมู เป็นลายผ้าอัตลักษณ์ของจังหวัดลำ�ปาง เป็นลวดลาย
ของสกุลช่างลำ�ปางที่ปรากฏเฉพาะในเขตลุ่มน้ําวัง ในสถาปัตยกรรม วัด บ้านเรือน และงานพุทธศิลป์ของ
จงั หวดั ล�ำ ปางจ�ำ นวนมาก ลกั ษณะของลวดลายตอ่ เนอื่ งตลอดชน้ิ งาน ไมข่ าดชว่ ง และยงั สามารถลนื่ ไหล ปรบั รปู แบบ
ให้มีความเป็นสากลและร่วมสมัย สามารถนำ�ไปใช้ต่อยอดในการผลิตผ้าได้หลากหลายเทคนิค อาทิ เทคนิค
การจก การพิมพล์ าย การปักทอ การมัดยอ้ ม รวมถงึ พฒั นาลวดลายใหส้ ามารถนำ�ไปใช้กับผลิตภัณฑอ์ ่นื ๆ ได้
สีอัตลักษณ์ลำ�ปาง คือ สีแดงคร่ัง สีเขียวมะกอก และสีดินภูเขาไฟ ซ่ึงสีแดงครั่งและสีเขียวมะกอก
เป็นสีที่นิยมใช้บนผืนผ้าของจังหวัดลำ�ปางมาตั้งแต่อดีต เน่ืองจากจังหวัดลำ�ปางเป็นแหล่งปลูกคร่ังจำ�นวนมาก
และจังหวัดลำ�ปางมีดินจากภูเขาไฟแฝดคือ ภูเขาไฟดอยผาคอก-จำ�ปาแดด และผาคอก-หินฟู ซึ่งไม่เหมือนท่ีใด
ในประเทศไทยอกี ดว้ ย
สีทใ่ี ชย้ ้อมเส้นใยส�ำ หรับผ้าทอ เสน้ ดา้ ยคอตตอน ๑๐๐% ดงั นี้
- สีนํ้าตาล ยอ้ มจากเปลือกประดู่
- สชี มพู ยอ้ มจากครง่ั
- สแี ดง ย้อมจากคร่ัง
- สีเหลือง ยอ้ มจากใบเหว
- สีเขยี ว ยอ้ มจากใบเหว

รายละเอยี ดผู้ออกแบบและตัดเย็บ
กล่มุ ผู้ผลติ ผูป้ ระกอบการ : ๑. กลมุ่ ทอผา้ นา้ํ มอญแจซ้ ้อน อำ�เภอเมอื งปาน จงั หวดั ลำ�ปาง
๒. กลุ่มผา้ ตีนจกแก้วใจผา้ ไทยทอมอื โบราณ อำ�เภอเมอื งลำ�ปาง จังหวดั ลำ�ปาง
ชอ่ื - สกลุ (ผู้ตัดเยบ็ ) : รา้ นเงาะดไี ซน์ โทร. ๐ ๕๔๒๑ ๗๒๘๙
ทอี่ ยู่ : เลขท่ี ๑๐๗๒ ถนนเจรญิ เมอื ง ต�ำ บลสวนดอก อ�ำ เภอเมืองลำ�ปาง จงั หวดั ล�ำ ปาง
ชอ่ื - สกุล (ผ้ตู ดั เยบ็ ) : นางเล็ก คำ�ปันบุตร โทร. ๐๘ ๖๑๘๐ ๑๓๘๒
ท่ีอยู่ : บ้านฝายนอ้ ย หมู่ท่ี ๙ ต�ำ บลพชิ ัย อำ�เภอเมอื งล�ำ ปาง จงั หวัดลำ�ปาง

49

นายวรยุทธ เนาวรัตน์ ผู้ว่าราชการจงั หวัดลำ�พนู

นางปนดั ดา เนาวรัตน์ ประธานแมบ่ ้านมหาดไทยจังหวดั ล�ำ พนู
50

ผา้ ยกดอกย้อมสีธรรมชาติ (ลายขิดนารีรตั นราชกัญญา)

เร่อื งราวผ้าทใ่ี ชใ้ นการเดนิ แบบ
ผ้าลายขิดนารีรัตนราชกัญญา เป็นลายที่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี
นารีรัตนราชกัญญา ทรงออกแบบผ้าลายพระราชทาน “ผ้าขิดลายนารีรัตนราชกัญญา” โดยได้รับ
แรงบันดาลพระทัยจาก “ผ้าขิดลายสมเด็จ” ซึ่งปรากฏอยู่บ่อยคร้ังในฉลองพระองค์ของ
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ซ่ึงมีความงดงาม
โดยจังหวัดลำ�พูนนำ�มาทอบนผืนผ้าและใช้เทคนิคการทอยกดอกจากซ่ึงเป็นอัตลักษณ์ผ้าประจำ�ถิ่น
ของจังหวัดลำ�พูน โดยชุดของผู้ว่าราชการจังหวัดลำ�พูนเป็นผ้าฝ้ายยกดอกย้อมสีธรรมชาติ
ลายขิดนารีรัตนราชกัญญา จากกลุ่มทอผ้าบ้านป่าตึงงาม ตำ�บลตะเคียนปม อำ�เภอทุ่งหัวช้าง
ยอ้ มจากครัง่ ซง่ึ ใหส้ ีแดง โดยน�ำ สารส้มมาผสมและท�ำ การยอ้ ม ๓ ครง้ั จนไดส้ ีสม้ อิฐ และชุดประธาน
แม่บ้านมหาดไทยจังหวัดลำ�พูน เป็นผ้าไหมยกดอกลายขิดนารีรัตนราชกัญญาจากปาริชาติไหมไทย
ต�ำ บลบา้ นปวง อ�ำ เภอทงุ่ หัวช้าง ใช้เสน้ ไหมจากจุลไหมไทย ยอ้ มสธี รรมชาติ สสี ม้ อ่อนจากใบตน้ เข
ทใ่ี ห้สเี หลอื งและครง่ั ให้สีแดงนำ�มาผสมกันได้สสี ม้ โดยผา่ นการยอ้ ม ๕ ครง้ั

รายละเอยี ดผู้ออกแบบและตัดเยบ็
ชดุ ทา่ นผู้ว่าราชการจังหวดั
ชื่อรา้ น/กลุ่มผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ กลุ่มผา้ ทอบ้านปา่ ตึงงาม นางสมบรู ณ์ ยาปานะ
ที่อยู่ ๒๒ หมู่ท่ี ๓ ต�ำ บลตะเคยี นปม อำ�เภอท่งุ หวั ชา้ ง จังหวัดลำ�พูน โทร. ๐๘ ๗๕๗๕ ๖๙๗๐
ตดั เย็บโดยรา้ นนภาศิลป์
ชือ่ - สกุล (ผ้ตู ัดเยบ็ ) กฤษฏิ์ บญุ ชัย โทร. ๐๖ ๒๕๔๑ ๕๘๔๒
ทอ่ี ยู่ ๑๑ ซอย ๖ สนามบนิ เกา่ ต�ำ บลสุเทพ อ�ำ เภอเมอื งเชยี งใหม่ จงั หวัดเชยี งใหม่
ชดุ ประธานแมบ่ ้านมหาดไทยจงั หวดั ลำ�พูน
ชอ่ื ร้าน/กลุ่มผูผ้ ลติ ผปู้ ระกอบการ ปารชิ าติไหมไทย นางปาริชาติ หนักแก้ว
ทอ่ี ยู่ ๖๙ หม่ทู ี่ ๘ ต�ำ บลบา้ นปวง อำ�เภอทุ่งหวั ช้าง จงั หวดั ล�ำ พนู โทร. ๐๘ ๕๓๕๙ ๒๖๔๔
ตดั เยบ็ โดยรา้ นงาม
ชื่อ - สกลุ (ผู้ตัดเยบ็ ) นางนิรุบล ประเสริฐศรี โทร. ๐๘ ๑๗๘๓ ๕๒๐๓
ท่ีอยู่ ๑๙๓/๑๕ กุลพันธ์วิลล์ โครงการ ๗ ตำ�บลแม่เหียะ อำ�เภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
๕๐๑๐๐

51

นายวริ ุฬ พรรณเทวี ผ้วู า่ ราชการจงั หวดั สโุ ขทยั

นางกนกพร พรรณเทวี ประธานแมบ่ า้ นมหาดไทยจังหวดั สุโขทยั
52

ผา้ ยกดอก บ้านปลายนา จังหวัดสุโขทัย

เรื่องราวผา้ ที่ใชใ้ นการเดินแบบ
ผ้ายกดอก บ้านปลายนา จังหวัดสุโขทัย เป็นภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมาตั้งแต่คร้ังโบราณ
ของชาวบ้านปลายนาซ่ึงมีถิ่นฐานเดิมอยู่ท่ีใดไม่ปรากฏแน่ชัด บางตำ�นานเล่าว่าเป็นชาวมอญ
อพยพมา เดิมบ้านปลายนาเป็นท่ีต้ังของอำ�เภอด้ง ปัจจุบันมีศาลเจ้าพ่อเมืองด้งซึ่งเป็นต้นตระกูล
บรรพบุรุษ ให้ชนรุ่นหลังได้เคารพกราบไหว้ ภายหลังได้ย้ายที่ทำ�การอำ�เภอไปท่ีบ้านหาดเสี้ยวหรือ
อำ�เภอศรีสัชนาลัยในปัจจุบัน แต่ก่อนหญิงสาวชาวบ้านปลายนาจะทอผ้าเป็นกันทุกคน เด็กผู้หญิง
เมื่อเร่ิมเข้าสู่วัยสาวจะหัดทอผ้าจากกี่ท่ีมีอยู่ใต้ถุนเรือนทุกบ้าน เรียนรู้จากรุ่นสู่รุ่น หญิงสาวท่ีจะ
ออกเรือนแต่งงาน จะต้องทอผ้าสำ�หรับทำ�ที่นอนหมอนมุ้ง เสื้อ ผ้าซิ่นสำ�หรับชุดใส่ในงานแต่ง
ตลอดจนผ้าขาวม้าสำ�หรับเจ้าบ่าวด้วยตนเอง ลายผ้าทอจะประยุกต์จากธรรมชาติรอบ ๆ ตัว
มตี �ำ นานที่เล่าขานสืบตอ่ กนั มาแตค่ รงั้ โบราณวา่ มีพญานาคอาศัยอย่ใู นถ้าํ บนดอยเขามงุ้ ซึ่งชาวบ้าน
เชื่อกันว่า พญานาคเป็นส่ิงศักด์ิสิทธ์ิบนดอยเขามุ้ง จะคอยปกปักรักษาให้อยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุข
และผ้าผืนน้ีได้แรงบันดาลใจมาจากเร่ืองเล่า กลายมาเป็นลายเกล็ดพญานาค ต่อด้วยเชิงจก
ลายดอกทานตะวัน จึงมีความหมายอันมงคลว่า ความอุดมสมบูรณ์ ม่ันคง ทรงพลัง และเป่ียม
ไปด้วยชีวติ ชวี า ทอด้วยไหมแทเ้ ส้นตอ่ เส้นจากช่างทอภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ

รายละเอยี ดผ้อู อกแบบและตัดเยบ็
รา้ นบา้ นระเบยี งฝา้ ย เปน็ รา้ นทมี่ กี ารน�ำ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ทไี่ ดน้ �ำ ผา้ ผา่ นกรรมวธิ หี มกั โคลน
ตามตำ�รับที่สั่งสมสืบต่อกันมายาวนาน ผ้าผ่านกรรมวิธีหมักโคลนจะทำ�ให้ได้คุณสมบัติที่ให้
เนอ้ื สมั ผสั นมุ่ ลนื่ เงางาม พลว้ิ ไหว สวมใสส่ บาย เพราะเนอ้ื ผา้ จะระบายอากาศไดด้ ี อากาศรอ้ นจะเยน็
อากาศหนาวจะทำ�ใหผ้ สู้ วมใสร่ ูส้ ึกอบอุน่
ชือ่ – สกุล (ผ้ตู ัดเยบ็ )
ชุดบรุ ษุ ผา้ ย้อมสีธรรมชาติจากเปลือกตน้ ประดู่
ร้านช่างแกละ โทร. ๐๘ ๗๒๑๑ ๒๗๔๒
ทอี่ ยู่ ๓๖๒ หม่ทู ่ี ๓ ตำ�บลหนองออ้ อ�ำ เภอศรสี ัชนาลัย จงั หวดั สโุ ขทยั
ชดุ สตรี ผ้ายอ้ มสีธรรมชาติจากดอกดาวเรือง ตน้ ทองอไุ ร ใบสาบเสือ
คณุ กมลชนก ปยิ ะโอสถสรรค์ โทร. ๐๙ ๓๑๓๐ ๘๖๗๕
ท่ีอยู่ ๗๑/๒ หมู่ที่ ๖ ต�ำ บลศรสี ชั นาลยั อำ�เภอศรีสัชนาลยั จังหวดั สโุ ขทัย

53

นายผล ดำ�ธรรม ผ้วู ่าราชการจงั หวัดอุตรดิตถ์

นางวันทนา ด�ำ ธรรม ประธานแม่บา้ นมหาดไทยจงั หวดั อตุ รดติ ถ์
54

ผา้ ทอลายดอกประดศู่ รอี ตุ รดติ ถ์
ลายอตั ลักษณ์ประจำ�จังหวัดอุตรดติ ถ์

เรื่องราวผา้ ท่ีใช้ในการเดินแบบ
ลายดอกประดศู่ รอี ตุ รดติ ถ์ เกดิ จากแนวคดิ การพฒั นาลายผา้ อตั ลกั ษณข์ องจงั หวดั อตุ รดติ ถ์
เพื่อเป็นลายผ้าอัตลักษณ์ร่วมกันของ ๓ วัฒนธรรม ได้แก่ ล้านนา ล้านช้าง และไทยสยาม
ประกอบด้วย ลายหงส์ของชาติพันธ์ุไทยวนและสอดแทรกลายขอสองทางจากแม่น้ําสองสี
(แมน่ ้ําน่านและแมน่ ้าํ ปาด) และประเพณีแห่ขา้ วพนั กอ้ น

รายละเอยี ดผ้อู อกแบบและตดั เย็บ
ชื่อกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP (กลุ่มทอผ้า) : คุณโด่งผ้าทอน้ําอ่าง ตำ�บลน้ําอ่าง
อ�ำ เภอตรอน จงั หวัดอตุ รดติ ถ์
ชือ่ รา้ นตดั เยบ็ : รา้ นวเิ ชียรผ้าไทย
ช่อื - สกลุ : นางวเิ ชียร แหยมยนิ ดี
ที่อยู่ ๗๙/๑๘ ถนนสายเอเชยี พิษณุโลก-เด่นชยั ตำ�บลป่าเซา่ อำ�เภอเมอื งอตุ รดิตถ์ จังหวัดอุตรดติ ถ์

55

นายขจรเกยี รติ รักพานิชมณี ผู้ว่าราชการจังหวัดอุทัยธานี

นางปิติมา รักพานชิ มณี ประธานแมบ่ ้านมหาดไทยจงั หวัดอทุ ัยธานี
56

ผา้ ทอจกของกลุม่ ชาติพันธล์ุ าวเวยี ง

เรอ่ื งราวผ้าทีใ่ ช้ในการเดินแบบ
ผา้ ทอจกของกลมุ่ ชาตพิ ันธ์ุลาวเวยี ง ลาวครงั่ ของจังหวัดอทุ ัยธานี เป็นผา้ ทอพ้นื ถ่ินและเปน็
ผลิตภัณฑ์เด่นของจังหวัดอุทัยธานี มีความประณีตสวยงาม เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าทางภูมิปัญญา
และมีมูลคา่ สูง
ผูผ้ ลิตและผ้ปู ระกอบการผ้าทอนำ�ผ้าพ้นื ถน่ิ มาออกแบบตัดเย็บเป็นเคร่อื งแต่งกาย ดังนี้
๑. ผา้ พ้ืนสขี าว ผลติ จากเส้นใยฝ้าย ตกแตง่ ดว้ ยผ้าทอจกลายขอก่าย (ขอกง่ิ ไม)้ สลับดว้ ย
ลายดอกแก้วใหญห่ รือดอกตาแหลว่ หรือเรยี กอีกชื่อหนง่ึ ว่า ดอกตะวนั
๒. ผ้าพ้ืนสีแดง ผลิตจากเส้นใยไหมประดิษฐ์ ตกแต่งด้วยผ้าจกไหมย้อมสีธรรมชาติ
ลายสรอ้ ยสา โดยใชร้ ปู แบบการทอผ้าก่านสลับด้าน

รายละเอียดผูอ้ อกแบบและตัดเยบ็
ชื่อรา้ น/กลุ่มผผู้ ลิต ผูป้ ระกอบการ หอ้ งเส้ือบอดี้ชอฟ โทร. ๐ ๓๕๕๒ ๓๑๙๓
ท่อี ยู่ ๔๖๖ ถนนประชาธิปไตย ตำ�บลท่าพเ่ี ล้ียง อำ�เภอเมืองสุพรรณบรุ ี จังหวัดสุพรรณบรุ ี
ชอื่ รา้ น/กลมุ่ ผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ หอ้ งเส้ือนงเยาว์ โทร. ๐๘ ๖๗๕๒ ๓๙๘๑
ทอี่ ยู่ ๔๗/๓๓ ถนนหลวงทรงพล ต�ำ บลทา่ พ่ีเลยี้ ง อำ�เภอเมืองสพุ รรณบรุ ี จังหวดั สพุ รรณบรุ ี

57

นายช�ำ นาญ ชน่ื ตา รองผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี

นางมัณฑนา ช่ืนตา รองประธานแม่บา้ นมหาดไทยจังหวดั กาญจนบรุ ี
58

ชดุ ผ้าไทยประยุกต์ผา้ พ้ืนเมือง (ผ้าสไบมอญ)
จังหวดั กาญจนบุรี

เรือ่ งราวผา้ ที่ใชใ้ นการเดินแบบ
ชุดผ้าไหมสีฟ้า ๓ ตะกอ จากมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ
พระบรมราชนิ ีนาถ ประยุกตด์ ว้ ยผ้าสไบมอญสขี าวนวล ปกั ลายดอกไมส้ ีสันสดใส ผา้ อตั ลักษณ์ของ
ชาวมอญ วิถีวัฒนธรรมท้องถิ่นของอำ�เภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี นำ�มาคล้องคอประดับ
กบั ชุดผ้าไหม เพ่ิมความสวยงาม

รายละเอียดผอู้ อกแบบและตดั เยบ็
ชือ่ รา้ น สูทไชโย กาญจนบุรี (ชดุ รองผู้วา่ ราชการจังหวดั ) โทร. ๐๘ ๙๒๖๐ ๗๘๗๗
ที่อยู่ บา้ นเลขท่ี ๑๔๔/๓ ถนนแสงชูโต ตำ�บลท่าลอ้ อำ�เภอทา่ ม่วง จังหวัดกาญจนบรุ ี ๗๑๑๑๐
ชื่อร้าน Ying Design (ชดุ สตรีผหู้ ญงิ ) โทร. ๐๙ ๒๔๔๖ ๗๘๘๙
ท่ีอยู่ ตำ�บลบา้ นใต้ อ�ำ เภอเมอื งกาญจนบุรี จงั หวดั กาญจนบรุ ี ๗๑๐๐๐

59

นายสธุ ี ทองแย้ม ผวู้ า่ ราชการจังหวดั จนั ทบุรี
นางสุนิชฌาน์ ทองแย้ม ประธานแม่บา้ นมหาดไทยจังหวดั จนั ทบรุ ี
60

ผ้าปัญจจนั ทบูร

เรอ่ื งราวผา้ ทีใ่ ชใ้ นการเดินแบบ
แนวคิดเกิดจากจังหวัดจันทบุรีมีอัตลักษณ์ที่โดดเด่น ๕ อย่าง ได้แก่ ชุมชนริมนํ้าจันทบูร
สละเนนิ วง เสน้ จนั ท์ พรกิ ไทย และอญั มณี เอกลกั ษณท์ งั้ ๕ อยา่ งนี้ ไดน้ �ำ มาจดั ท�ำ เปน็ ลวดลายผา้ ไหม
ประจำ�จังหวัดจันทบุรี โดยใช้ชือ่ ว่า ลาย “ปญั จจนั ทบูร” (คำ�วา่ ปญั จะ แปลวา่ หา้ ) ท่ีมีความหมายว่า
๕ ส่ิงมหัศจรรย์ในจังหวัดจันทบุรี อีกท้ังยังเป็นผ้าไทยลายแรกท่ีชนะการประกวดการออกแบบ
ลวดลายผ้าประจ�ำ จังหวดั จนั ทบุรี สวมใสค่ ู่กบั เคร่อื งประดับ พลอย “ทบั ทิม” อญั มณีลา้ํ ค่าประจ�ำ
จังหวัดจันทบุรี (เครื่องประดับชุดนี้ได้รับการสนับสนุนจากห้างเพชรทอง “แม่กิมตี” จากจังหวัด
จนั ทบรุ )ี

รายละเอียดผู้ออกแบบและตัดเย็บ
ศูนย์ทอผ้าบ้านคลองบอน อำ�เภอโป่งน้ําร้อน จังหวัดจันทบุรี และศูนย์ทอผ้าบ้านซับตารี
อำ�เภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี

61

นายไมตรี ไตรตลิ านนั ท์ ผ้วู า่ ราชการจงั หวดั ฉะเชิงเทรา

นางจันทรรตั น์ ไตรติลานนั ท์ ประธานแม่บา้ นมหาดไทยจงั หวดั ฉะเชิงเทรา
62

ผา้ สีด่อน

เรือ่ งราวผ้าที่ใช้ในการเดนิ แบบ
ผา้ สีประจ�ำ จังหวดั เรยี กวา่ “ผ้าสดี อ่ น” ก�ำ หนดการทอดว้ ยเสน้ ทางยืนเปน็ ด้ายสีน้ําเงนิ สด
เส้นทางพุ่ง (เส้นทอ) เป็นการใช้ด้ายสองสีตีเกลียว (ควบหรือเข็น) ด้วยสีฟ้าและสีขาวให้เป็นด้าย
เสน้ เดยี วกนั แล้วนำ�มาทอด้วยกี่ทอมือของคนในชมุ ชนออกมาเปน็ ผืนผ้าเรยี กวา่ “ผา้ หางกระรอก”
จะได้สีฟ้าหรือสีนํ้าเงินท่ีมีความเก่า ออกเป็นสีฟ้าหม่น มีความเป็นคลื่นสีขาวแซมบนผืนผ้าท่ี
แตกตา่ งกนั บนผา้ ผนื เดยี ว ซงึ่ หมายถงึ ลายตามคลนื่ ของสายนา้ํ บางปะกง ความสวยงามและลวดลาย
ทเี่ กดิ ข้นึ จึงเปน็ ไปตามธรรมชาตขิ องการทอผา้ ดว้ ยมอื
ลายเอกลักษณ์ประจำ�จังหวัด จำ�นวน ๖ ลาย คือ ลายมีรูปร่างด้านบนเป็นสามเหล่ียม
สองชนั้ ดา้ นขา้ งสามเหลย่ี ม เปน็ เสน้ แนวนอน ปลายเสน้ เปน็ เสน้ ทแยงมมุ ดคู ลา้ ยหลงั คาพระอโุ บสถ
ส่วนด้านล่างเป็นแบบเดียวกันประกอบด้วย สีต่าง ๆ จำ�นวน ๕ สี คือ ๑) สีเหลือง หมายถึง
หลวงพ่อโสธร ๒) สีฟ้าเทา (สีด่อน) หมายถึง หลังคาโบสถ์หลวงพ่อโสธร ๓) สีขาว หมายถึง
สายนํ้าบางปะกง ที่เป็นแหล่งชีวิตของชาวฉะเชิงเทรา ๔) สีเลือดนก หมายถึง ธงประจำ�จังหวัด
ฉะเชิงเทรา และ ๕) สีนํ้าตาล หมายถึง ความเป็นเมืองเก่าแก่โบราณ มีตำ�นาน มีความสงบ
ความเรยี บง่าย ความมน่ั คงของจงั หวัดฉะเชิงเทรา
แบบเส้ือเอกลักษณป์ ระจ�ำ จังหวดั ฉะเชิงเทรา เป็นแบบเสอื้ สำ�หรบั สุภาพบรุ ษุ ซงึ่ ได้ตน้ แบบ
จากเสื้อของพระยาศรีสนุ ทรโวหาร เปน็ เส้อื คอจีนกระดุมเฉยี งแขนยาว จึงก�ำ หนดใหต้ ัวเส้อื ตัดดว้ ย
ผ้าสีด่อน และตกแต่งลายผ้าเอกลักษณ์ประจำ�จังหวัดตามความเหมาะสม สวยงาม ทันสมัย
กบั การใช้งาน และไดม้ ีการพัฒนาลายขิดตกแต่งขึ้นมาอกี ๒ ลาย ดงั นี้
๑. ลายขอเจา้ ฟา้ ฯ ประยกุ ต์ (ตวั S) โดยทอเป็นผา้ ขิดตวั S ๕ แถวโดยใชส้ ตี ่าง ๆ จ�ำ นวน
๕ สี ตามความหมายของสปี ระจ�ำ จงั หวดั
๒. ลายขอเจา้ ฟ้าฯ

รายละเอยี ดผอู้ อกแบบและตดั เยบ็
ออกแบบโดย : นางจนั ทรรัตน์ ไตรติลานันท์ ประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวัดฉะเชิงเทรา
ชอื่ ร้าน/กลุม่ ผู้ผลติ ผูป้ ระกอบการ : กลุม่ แปรรปู ผา้ สตรีบ้านเนนิ นอ้ ย
ช่ือ - สกุล (ผู้ตัดเย็บ) นางละเอียด สาทิพย์จันทร์ โทร. ๐๘ ๔๕๐๖ ๗๓๕๓
ท่อี ยู่ ศาลากลางบา้ นเนนิ นอ้ ย หม่ทู ่ี ๒๐ ตำ�บลท่าตะเกยี บ อำ�เภอทา่ ตะเกยี บ จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

63

นายนิติ วิวัฒนว์ านชิ รองผวู้ า่ ราชการจังหวัดชลบุรี

นางปัทมา วิวฒั น์วานิช รองประธานชมรมแม่บา้ นมหาดไทยจังหวดั ชลบรุ ี
64

ผ้าบาติกลายโคกพนมดี

เรอ่ื งราวผา้ ที่ใชใ้ นการเดนิ แบบ
การออกแบบลวดลายพัฒนามาจากเครื่องประดับในสมัยชุมชนโบราณโคกพนมดี เช่น
สร้อยคอ สร้อยข้อมือ เครื่องประดับศีรษะ เป็นต้น โดยนำ�มาจัดองค์ประกอบ ลวดลายแบบ
ผสมผสาน จัดวางสลบั กนั บนผืนผ้าบาติก จนเกิดเปน็ ลวดลายทีโ่ ดดเดน่ มีสไตลไ์ มซ่ ้าํ ใคร
ลักษณะลวดลายของผา้ : เป็นลวดลายทน่ี �ำ เอาเอกลักษณ์ของเมืองพนสั นิคมและวิถีชีวิต
ของชาวพนัสนิคม เช่น การจักสาน การทำ�นา การใช้ชีวิต ฯลฯ นำ�มาวาดลวดลายลงบนผืนผ้า
ซ่ึงเป็นลวดลายเฉพาะเพราะเกิดจากจินตนาการของผู้ออกแบบในขณะนั้น ลักษณะของลาย
ส่วนใหญ่จะเป็นเส้นสีหลาย ๆ เส้นลากม้วนตัวกันเป็นรูปต่าง ๆ ได้แก่ ดอกไม้ ทุ่งนา ดวงดาว
สัตว์ตา่ ง ๆ เป็นตน้
จุดเด่นของลายผ้า : เป็นลายท่ีบ่งบอกเอกลักษณ์ความเป็นเมืองชนบทในอดีตที่คน
ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรเป็นหลัก พร้อมทั้งยังสื่อถึงงานฝีมือท่ีมีความโดดเด่นของชาวพนัสนิคม
น่ันคอื งานจกั สาน

รายละเอียดผอู้ อกแบบและตัดเย็บ
ชื่อรา้ น/กลมุ่ ผ้ผู ลติ ผู้ประกอบการ กลุม่ เพน้ ท์ผ้าพฤกษาบาตกิ ตำ�บลหนองเหยี ง อ�ำ เภอพนสั นคิ ม
จังหวัดชลบุรี
ช่ือ - สกลุ (ผ้ตู ัดเยบ็ ) นางสาวภณอญั ท�ำ เนาว์
ท่อี ยู่ ๘๒/๑ หมทู่ ่ี ๖ ต�ำ บลหนองเหียง อ�ำ เภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี โทร. ๐๘ ๑๘๖๔ ๗๖๒๘

65

นายนที มนตริวัต รองผวู้ า่ ราชการจังหวัดชัยนาท

นางมนสวี มนตรวิ ัต รองประธานแม่บ้านมหาดไทยจงั หวดั ชยั นาท
66

เสื้อจบุ หม้อและผ้าลายชอ่ ใบมะขาม

เรอ่ื งราวผา้ ท่ีใชใ้ นการเดนิ แบบ
๑. เส้ือจุบหม้อ เส้ือจุบหม้อมีลักษณะสำ�คัญ คือ เป็นเสื้อท่ีทำ�จากผ้าดิบ ทรงไหล่ตก
การเย็บจะใช้เพียงเส้นด้ายสีแดงของชายเส้ือ แขนเสื้อ โดยทำ�เป็นเชือกห้อยบริเวณกระดุมสำ�หรับ
ใช้ผูกส่ิงของหรือผูกปลาเวลาไปไร่นา คนโบราณจะใช้เส้ือจุบหม้อในการดำ�นา เน่ืองจากคุณสมบัติ
ของเสื้อผา้ ฝ้ายยอ้ มสามารถถ่ายเทอากาศได้ดี รวมถึงคณุ สมบตั ขิ องครามชว่ ยป้องกันรังสียูวีในแดด
ปจั จบุ ันกลมุ่ ทอผา้ ได้สร้างสรรคแ์ บบและปกั ลวดลายตา่ ง ๆ เพือ่ เพม่ิ ความสวยงาม ทมี่ าของชอื่ เรยี ก
“เส้ือจุบหม้อ” เนื่องจากกรรมวิธีการย้อมผ้าด้วยสีของต้นครามต้องนำ�มาแช่น้ําไว้ในหม้อ เพ่ือให้
สีครามออกมา แล้วจึงนำ�ผ้าทอไปจุ่มลงในหม้อท่ีมีน้ําครามอยู่ จึงเรียกติดปากกันต่อมาว่า
“เสือ้ จุ่มหมอ้ ” แล้วมกี ารเพีย้ นมาเป็น “เสอื้ จุกหม้อ” หรอื “จบุ หม้อ” ในปจั จุบัน
๒. ผา้ ทอลายชอ่ ใบมะขาม เนอ่ื งจากอ�ำ เภอเนนิ ขามมตี น้ มะขาม ขนึ้ อยโู่ ดยรอบจ�ำ นวนมาก
จึงได้มีการนำ�ก่ิงใบมะขามมาจินตนาการเป็นศิลปะอันสะท้อนให้เห็นถึงตัวตนพ้ืนถ่ินผ่านลวดลาย
ของผ้าทอ จากการนำ�ก่ิงใบมะขามมาจินตนาการถอดลวดลายจนได้ลายผ้า ซ่ึงลักษณะใบมะขาม
จะอยู่รวมกันเปน็ ช่อ ตา่ งจากใบไมช้ นดิ อ่ืน ๆ จึงไดถ้ อดลายช่อใบมะขามออกมาเป็นลวดลายผา้ และ
ตัง้ ช่ือว่า “ช่อใบมะขาม” ทัง้ นี้ การออกแบบลวดลายเปน็ จำ�นวนเลขมงคล ๓ คู่ ๕ คู่ ๗ คู่ ๙ คู่
ท่ีมีความเชื่อว่าจะทำ�ให้ผู้ท่ีสวมใส่ผ้าทอลายช่อใบมะขาม มีความน่าเกรงขาม มีความสุข
และความเจริญรงุ่ เรอื ง

รายละเอียดผู้ออกแบบและตัดเย็บ
กลมุ่ ทอผ้าบา้ นทงุ่ รงั กระโดน หม่ทู ่ี ๑๐ ต�ำ บลเนินขาม อ�ำ เภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท
นางฉวี ศรีเดช โทร. ๐๘ ๐๖๔๙ ๒๔๙๘
บ้านทุ่ง เลขที่ ๖๒ หมู่ท่ี ๑๐ ตำ�บลเนนิ ขาม อำ�เภอเนนิ ขาม จังหวดั ชัยนาท

67

นายกฬั ชยั เทพวรชยั รองผู้วา่ ราชการจังหวดั ตราด

นางบุณณฎา เทพวรชยั รองประธานแม่บา้ นมหาดไทยจังหวดั ตราด
68

ผา้ ลายเพลินสมุทรและลายกฤษณาชมคล่ืน

เรือ่ งราวผา้ ทใี่ ชใ้ นการเดินแบบ
ลายเพลินสมุทร เป็นการออกแบบลายผ้าพิมพ์โดยน�ำ เสนออัตลักษณ์ประจำ�จังหวัดตราด
ประกอบดว้ ย ประภาคารสุดแดนบรู พาที่อำ�เภอแหลมงอบ ลวดลายท้องทะเลอา่ วไทย และลวดลาย
สตั วท์ ะเลตา่ ง ๆ สอื่ ถงึ ความผาสกุ ความอม่ิ อนุ่ ปลอดภยั มนั่ คง มง่ั คง่ั ยง่ั ยนื โดยแนวคดิ ของลวดลาย
สญั ลักษณ์ท้งั ๓ ลาย มที ม่ี าจาก
๑. ลวดลายประภาคาร สัญลักษณ์แห่ง “ดวงประทีปแห่งท้องทะเล” สื่อถึงเร่ืองราว
วิถีถิ่นตราด จากอดีตสู่ปัจจุบัน ที่พัฒนาจากรูปแบบกระโจมไฟแหลมงอบในอดีต พัฒนารุ่งเรือง
สปู่ ระภาคารแหลมงอบ
๒. ลวดลายทอ้ งทะเลอา่ วไทย ทเี่ ปน็ เสมอื นอขู่ า้ วอนู่ า้ํ สอดแทรกอยใู่ นเสน้ เลอื ดของชาวตราด
ชาวตราดอยู่ดีมีสขุ เพราะคุณประโยชน์จากทอ้ งทะเล ทัง้ การประกอบอาชพี หรอื วถิ กี ารด�ำ เนนิ ชวี ติ
๓. ลวดลายสัตว์ทะเลต่าง ๆ สื่อถึงความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรทางธรรมชาติของ
สงิ่ มชี วี ติ ใตท้ อ้ งทะเล ระบบนเิ วศทเ่ี กอื้ หนนุ กอ่ ใหเ้ กดิ ความมน่ั คงมงั่ คงั่ ทางเศรษฐกจิ ความมงั่ มศี รสี ขุ
ลายกฤษณาชมคลน่ื เปน็ การออกแบบลายผา้ พมิ พ์ โดยน�ำ เสนออตั ลกั ษณข์ องจงั หวดั ตราด
ประกอบด้วย ช่อดอกกฤษณา ซ่ึงเป็นดอกไม้ประจำ�จังหวัดตราด คลื่นทะเลและเปลือกหอยที่เป็น
องค์ประกอบแสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ โดยเน้นการใช้โทนสีก่ึงพาสเทลแบบสดใสและสบายตา
โดยพ้ืนของลายจะใช้โทนสีเขียวเวอร์ริเดียน (สีเขียวนํ้าทะเล) เพ่ือบ่งบอกถึงความเป็นเมืองแห่ง
ท้องทะเลของจังหวัดตราด ผสมผสานกับช่อดอกกฤษณาที่เป็นดอกไม้ประจำ�จังหวัดตราดและ
ไม้มงคลแห่งศรัทธาและความเชื่อ และความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติแห่งท้องทะเล
เมืองตราดวถิ บี รู พาโดยใชล้ ายเปลอื กหอยเป็นตัวแทนแหง่ ความอุดมสมบรู ณ์

69

นายอำ�พล อังคภากรณก์ ุล ผวู้ า่ ราชการจังหวดั นครนายก

นางสุวจี ศิรปิ ญั โญ ประธานแมบ่ า้ นมหาดไทยจงั หวัดนครนายก
70

ผา้ ไหมมดั หมี่ ลายดอกสุพรรณิการ์

เร่ืองราวผา้ ทีใ่ ช้ในการเดินแบบ
ผ้าลายดอกสุพรรณิการ์ ดอกไม้ประจำ�จังหวัดนครนายก ท่ีออกแบบลวดลายขึ้นมาใหม่
โดยนายสุนันท์ จันนา สำ�หรับผ้าลายนี้จะเป็นผ้ามัดหมี่ทอมือ ๒ ตะกอ ทอด้วยเส้นใยสังเคราะห์
ไหมประดิษฐ์ จังหวัดนครนายก และมะยงชิด ผลไม้ประจำ�จังหวัดนครนายก ออกแบบลวดลาย
โดยกลมุ่ ผา้ ทอบา้ นใหมไ่ ทยพวน โดยนครนายกเปน็ จงั หวดั ทมี่ คี นไทยเชอื้ สายพวนอาศยั อยจู่ �ำ นวนมาก
ท่ีอำ�เภอปากพลี โดยเฉพาะตำ�บลท่าแดง บริเวณบ้านฝั่งคลอง บ้านใหม่ (วัดปทุมวงษาวาส)
โดยถูกกวาดต้อนมาจากเมืองเชียงขวาง ประเทศลาว เม่ือคร้ังสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก
ยกทัพไปตเี มอื งเวยี งจนั ทนแ์ ละหัวเมืองต่าง ๆ ในสมัยกรงุ ธนบรุ ี ประมาณปี พ.ศ. ๒๓๒๑
การทอผา้ ของชาวไทยพวนบา้ นใหม่ จงั หวดั นครนายก มกี ารขาดชว่ งการสบื ทอดภมู ปิ ญั ญา
การทอผ้าไปช่วงระยะเวลาหนึ่ง เน่ืองมาจากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม วัตถุดิบหาได้
ยากขึ้น และเสื้อผ้าสมัยใหม่หาซ้ือได้ง่ายและราคาถูกกว่า และใช้เวลาผลิตน้อยกว่าเม่ือเทียบกับ
การทอผ้าใช้เอง ต่อมาการทอผ้าได้รับการฟื้นฟูอีกครั้งในปี ๒๕๔๕ ด้วยการจัดตั้งกลุ่มทอผ้า
ไทยพวนบ้านใหม่ข้ึน เพ่ืออนุรักษ์การทอผ้าลายด้ังเดิมของไทยพวน โดยมีแม่ครูสนิท ขุมเงิน
จากลพบรุ ีมาเปน็ ผู้ฝึกสอนให้ในช่วงแรก

รายละเอียดผู้ออกแบบและตัดเยบ็
ชื่อรา้ น/กล่มุ ผผู้ ลิต ผูป้ ระกอบการ รา้ นบญุ เลิศ ตดั เสอ้ื
ชือ่ - สกลุ (ผตู้ ัดเยบ็ ) นางบุญเลิศ เกตุแก้ว โทร. ๐๘ ๗๕๓๗ ๗๖๙๒
ทีอ่ ยู่ บา้ นเลขท่ี ๖ หม่ทู ่ี ๖ ต�ำ บลบ้านใหญ่ อ�ำ เภอเมอื งนครนายก จังหวัดนครนายก ๒๖๐๐๐

71

นายสรุ ศกั ด์ิ เจรญิ ศริ โิ ชติ ผ้วู า่ ราชการจงั หวัดนครปฐม

นางวราภรณ์ เจริญศริ ิโชติ ประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวัดนครปฐม
72

ปูรณฆฏาศรที วารวดี

เรอื่ งราวผ้าท่ใี ชใ้ นการเดินแบบ
ลายหลัก คือ ลายหม้อปูรณฆฏะ ซ่ึงเป็นสัญลักษณ์มงคล หมายถึงการกำ�เนิดชีวิตที่มี
ความสมบูรณ์ มั่งคั่ง โดยลวดลายดังกล่าวปรากฏอยู่บนเหรียญตราและประติมากรรมประดับบน
โบราณวัตถุสมยั ทวารวดี
ลายประกอบ คอื กวางหมอบอันเป็นสญั ลักษณห์ น่งึ ของความเป็นดนิ แดนแห่งพุทธศาสนา
ผสมกบั ลายเอกลกั ษณ์ของกลุม่ ชาติพนั ธ์ุ
ลาย “ปรู ณฆฏาศรที วารวด”ี หมายถงึ จงั หวดั นครปฐมเปน็ ดนิ แดนอารยธรรมสมยั ทวารวดี
ทม่ี ีความอดุ มสมบรู ณ์ท้ังสภาพแวดลอ้ ม พชื พรรณ ธัญญาหาร มีความหลากหลายของกลมุ่ ชาตพิ ันธ์ุ
โดยมีองค์ประกอบลายหลัก คือ ลายหม้อน้ําปูรณฆฏะ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์มงคลที่มีรากศัพท์มาจาก
ภาษาสันสกฤต หมายถึง การกำ�เนดิ ชวี ติ ทม่ี คี วามอดุ มสมบรู ณ์ มง่ั คง่ั โดยลวดลายดังกล่าวปรากฏ
อยู่บนเหรียญตรา และประติมากรรมประดับบนโบราณวัตถุสมัยทวารวดี และมีลายประกอบ คือ
กวางหมอบอนั เปน็ สญั ลกั ษณห์ นงึ่ ของความเปน็ ดนิ แดนแหง่ พระพทุ ธศาสนา ผสมกบั ลายเอกลกั ษณ์
ของกลมุ่ ชาติพนั ธ ุ์
ผ้าผืนน้ีเป็นผ้าฝ้าย ทอมัดหม่ีย้อมคราม โดยนายกมนพรรธน์ บ่อแก้ว ผู้นำ�กลุ่มผ้าทอมือ
ศรีอทุ ุมพร ซ่งึ เปน็ กลุ่มชาติพนั ธุล์ าวครงั่ ต�ำ บลโพรงมะเดื่อ อ�ำ เภอเมอื งนครปฐม จังหวัดนครปฐม
คุณสมบัติผ้าฝ้ายคือสวมใส่แล้วเย็นสบาย เป็นลายท่ีมีเรื่องเล่าถึงความเจริญรุ่งเรืองสมัยอาณาจักร
ทวารวดี ดนิ แดนแหง่ พระพทุ ธศาสนา ความสมคั รสมานสามคั คขี องกลมุ่ ชาตพิ นั ธใ์ุ นจงั หวดั นครปฐม

รายละเอียดผู้ออกแบบและตัดเยบ็
ออกแบบโดย นางวราภรณ์ เจรญิ ศริ ิโชติ ประธานแม่บ้านมหาดไทยจงั หวัดนครปฐม
ช่อื รา้ น/กลุม่ ผู้ผลิตผูป้ ระกอบการ นางกญั ญาภคั ถงั เงิน
ช่ือ - สกุล ผู้ตัดเยบ็ นางกญั ญาภคั ถงั เงิน โทร. ๐๘ ๙๔๑๑ ๕๙๙๔
ท่ีอยู่ ๕๑ หมู่ที่ ๓ ตำ�บลวงั เยน็ อำ�เภอเมอื งนครปฐม จงั หวดั นครปฐม

73

นายสจุ ินต์ ไชยชุมศักดิ์ ผ้วู ่าราชการจงั หวัดนนทบรุ ี
พญ.สุวรรณา ไชยชุมศกั ด์ิ ประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวัดนนทบรุ ี

74

ลายหม้อนาํ้ ลายวิจิตร

เร่ืองราวผ้าท่ีใชใ้ นการเดินแบบ
สีของผา้ ประกอบดว้ ย สมี ่วง สีครีม สีเหลอื งอ่อน และสีเหลอื งเขม้ โดยสไี หมทอยกทอง
ไหมทอยก เป็นทองคำ�ผสมโลหะท่ีมีค่าประกอบด้วยโลหะทองแดง เงนิ และทองคำ�มาพัน
กบั เสน้ ไหมกลายเป็นเส้นไหมทองโลหะ น�ำ มาทอเปน็ เสน้ ยกให้เกดิ ลวดลาย ซึง่ ลวดลายของจังหวัด
นนทบุรี คือหม้อวิจิตรสลับกับดอกนนทรีและลายกรวยเชิงประกอบลายหน้ากระดาน ๑ แถว
อันเปน็ ผา้ ทอยกท่ใี ช้ในรายการฝ่ายในรูปแบบโบราณ
ลายผ้าทอ แม่ลายประกอบดว้ ย
- ลายกรวยเชิง ๑ ชนั้ สีทีใ่ ชเ้ ป็นสีเหลืองออ่ นทอขัดกบั เสน้ ยืนสคี รมี สีทไี่ ดค้ อื สดี อกรวงผงึ้
ซง่ึ เปน็ ตน้ ไมป้ ระจ�ำ พระองคข์ องรชั กาลท่ี ๑๐ เปรยี บเสมอื นพระมหากษตั รยิ ท์ ม่ี พี ระบารมแี ผก่ ระจาย
ไพศาลดูแลพสกนิกร
- ลวดลายกรวยเชิง ๓ ชั้น ลวดลายหม้อนํ้าวิจิตรและดอกนนทรี หมายถึงประชาชน
ชาวจงั หวดั นนทบุรี สมคั รสมานสามคั คีกลมเกลยี วแสดงความจงรักภกั ดีต่อสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์
- ลายชุดหน้ากระดาน นำ�เอาลายหม้อน้ําวิจิตรและดอกนนทรี มาประกอบเป็นลาย
หน้ากระดานสลับช่วงเว้นหม้อน้ําและดอกนนทรี จะมีลายลูกขนาบคู่สีม่วงเปรียบเสมือน
สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี อยู่เคียงข้างองค์พระบาทสมเด็จ
พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ลายดอกนนทรีสลับ
เส้นลายแสดงถึงศิลปวัฒนธรรมของชาวจังหวัดนนทบุรี คือ ลายหม้อนํ้าวิจิตร และดอกไม้ประจำ�
จังหวัดนนทบุรี คือ ดอกนนทรี ท่ีมีประวตั คิ วามเป็นมาอนั ยาวนาน
- ลายทอ้ งผา้ เปน็ สมี ว่ งทท่ี อลายขดั เสน้ พงุ่ สมี ว่ งและเสน้ ยนื สคี รมี เปน็ สพี น้ื สมี ว่ งเปน็ สปี ระจ�ำ
จังหวัดนนทบุรี เปรียบเสมือนสีประจำ�พระองค์ของสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ
พระบรมราชนิ ี ลวดลายทอ้ งผา้ ทอยกไหมทองสลบั ไหมสี ลวดลายทท่ี อยกเป็นลายหม้อนา้ํ ลายวจิ ติ ร
ทอยกไหมทองและดอกนนทรี ทอยกสีเหลืองเป็นดอกลายหม้อน้ําลายวิจิตรและดอกนนทรี
กระจายท่วั เปน็ ผืนท้องผ้า เปรยี บเสมอื นชาวจงั หวดั นนทบุรที ีม่ คี วามจงรกั ภกั ดีตอ่ พระองค์ทา่ น

รายละเอยี ดผอู้ อกแบบและตดั เยบ็
ช่อื รา้ น PANITAN ปณธิ าน
ชอื่ - สกลุ (ผู้ตดั เย็บ) นายปณิธาน ขันธพัฒน์ โทร. ๐๘ ๖๓๖๔ ๕๕๐๕
ทอ่ี ยู่ ร้าน PANITAN ศนู ย์ราชการเฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐
อาคารรฐั ประศาสนภกั ดี (อาคาร B) ช้ัน ๑ ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงท่งุ สองห้อง เขตหลักส่ี กรุงเทพฯ
๑๐๒๑๐

75

นายณรงคศ์ กั ด์ิ โอสถธนากร ผ้วู ่าราชการจงั หวัดปทมุ ธานี

นางจินจณา โอสถธนากร ประธานแม่บ้านมหาดไทยจงั หวัดปทุมธานี
76

ผ้าใยบัวหลวง

เร่ืองราวผา้ ท่ีใชใ้ นการเดนิ แบบ
ใช้อัตลักษณ์จังหวัดปทุมธานี คือ ดอกบัวหลวง นำ�เส้นใยจากก้านดอกบัวหลวงมาทอ
เป็นผนื ผ้า
สบื เนอ่ื งจากกลมุ่ วสิ าหกจิ ชุมชนคอตตอนดีไซน์ ภายใตแ้ บรนด์ “WORLACHA” ได้รับมอบ
ลายผ้ามัดหม่ี “ลายขอเจ้าฟ้าสิริวัณณวรีฯ” ต่อมาได้มีโอกาสเข้าเฝ้าฯ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ
เจา้ ฟา้ สริ วิ ัณณวรี นารรี ตั นราชกัญญา ตามโครงการยกระดับการพฒั นาผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาผ้าไทย
และงานหตั ถกรรมชมุ ชนภาคกลาง ณ พระราชวงั สนามจนั ทร์ จงั หวดั นครปฐม ไดร้ บั ฟงั พระองคท์ า่ น
ทรงพระวนิ จิ ฉยั การพฒั นาเสน้ ใยบวั หลวง ท�ำ ใหเ้ กดิ แรงบนั ดาลใจทจ่ี ะสบื สานและตอ่ ยอดภมู ปิ ญั ญา
การทอผ้าฝ้ายจากใยบัวหลวงให้คงอยู่ในชุมชนจังหวัดปทุมธานีต่อไป โดยใช้วิธีการมัดหม่ีลายขิด
แลว้ ทอดว้ ยกี่โบราณ แบบ ๔ ตะกอ ใชเ้ ทคนิค “การทอเส้นยนื เปน็ เส้นฝ้าย เส้นพงุ่ เป็นใยบัวทงั้ ผนื ”
การย้อมสีธรรมชาติ เปน็ การสกัดสีย้อมจากแก่นแกแล หรือทีร่ ู้จกั กันในนาม แกน่ “แข” ผา้ จะได้
สเี หลอื งทองสวยงาม และเปน็ สธี รรมชาติ ไรส้ ารเคมี เปน็ มติ รตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม และปลอดภยั กบั ผสู้ วมใส่

รายละเอียดผอู้ อกแบบและตดั เยบ็
ร้านนอ้ งเลก็ ตัดผา้ นางประภา บรรจงสตั ย์
ทีอ่ ยู่ ๔๑ หมทู่ ี่ ๓ ตำ�บลบา้ นฉาง อ�ำ เภอเมอื งปทุมธานี จงั หวัดปทมุ ธานี
โทร. ๐๘ ๔๓๖๑ ๙๔๔๕

77

นายคมกริช เจริญพฒั นสมบัติ รองผวู้ า่ ราชการจังหวดั ประจวบคีรขี ันธ์

นางวนดิ า เจริญพัฒนสมบัติ รองประธานแม่บ้านมหาดไทยจงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ์
78

ผ้าทอยกดอกลายเต่า

เร่อื งราวผา้ ท่ีใช้ในการเดนิ แบบ
เรอ่ื งราวผลติ ภณั ฑก์ ลมุ่ สตรที อผา้ บา้ นเขาเตา่ ดง้ั เดมิ เปน็ การทอผา้ ดว้ ยกก่ี ระตกุ แบบลกู กลงิ้
และแบบคันยก ซ่ึงถ่ายทอดการทอผ้ามาตั้งแต่ปี ๒๕๐๙ จนถึงปัจจุบัน และมีความชำ�นาญการ
ด้านการทอผ้าด้วยกี่กระตุก โดยชุมชนเขาเต่ามีภูมิทัศน์ติดทะเลและมีเต่าอาศัยเป็นจำ�นวนมาก
จึงทำ�เป็นลายเอกลักษณ์คือ ผ้ายกลายเต่า และในปัจจุบันผ้ายกลายเต่าได้ยกระดับเป็นผ้าลาย
ประจำ�จังหวัด ซ่ึงทางชุมชนเขาเต่าเช่ือกันว่า ผ้ายกลายเต่าเป็นการส่ือถึงคำ�อวยพรให้กับผู้รับ
ไดม้ สี ุขภาพท่ดี ี อายุยนื ยาวเหมอื นเต่า และความเป็นสิรมิ งคลให้กับผรู้ บั และผใู้ ช้ผา้ ยกลายเตา่

รายละเอียดผอู้ อกแบบและตดั เยบ็
ชื่อร้าน/กลมุ่ ผผู้ ลิต ผูป้ ระกอบการ กลุ่มสตรที อผา้ บา้ นเขาเตา่
ชอ่ื - สกุล (ผู้ตัดเยบ็ ) นางสาวธญั รดา พลายชมภู
ทอ่ี ยู่ เลขที่ ๕๔ ต�ำ บลหนองแก อำ�เภอหัวหนิ จังหวดั ประจวบครี ขี ันธ์ โทร. ๐๘ ๙๗๔๓ ๒๕๕๙

79

นายวรพนั ธ์ุ สุวัณณสุ ส์ ผวู้ ่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี

นางมัทนา สุวณั ณุสส์ ประธานแม่บา้ นมหาดไทยจงั หวดั ปราจนี บรุ ี
80

ผ้าลายปราจีนศรภี ษู า

เร่อื งราวผ้าท่ใี ช้ในการเดินแบบ
ลายผ้าอัตลักษณ์ประจำ�จังหวัดปราจีนบุรี ซ่ึงได้พัฒนาและออกแบบขึ้น โดยทอแบบ
ลายขิด ประกอบดว้ ย
๑. ลายใบโพธิ์ อยบู่ นสดุ สอ่ื ถงึ ตน้ โพธศ์ิ รมี หาโพธ์ิ ตน้ ไมป้ ระจ�ำ จงั หวดั ปราจนี บรุ ี ตง้ั อยใู่ นเขต
วดั ตน้ โพธ์ิศรีมหาโพธิ ตำ�บลโคกปีบ อ�ำ เภอศรมี โหสถ เชอ่ื วา่ เป็นต้นโพธ์ิที่เก่าแก่ทีส่ ุดในประเทศไทย
สนั นษิ ฐานว่าเปน็ หนอ่ จากตน้ พระศรมี หาโพธิ์ สถานทต่ี รสั รูจ้ ากพุทธคยา ประเทศอนิ เดีย
๒. ลายสวัสติกะ มี ๗ แถวแนวต้ัง ส่ือถึงตัวแทนของพ้ืนที่จังหวัดมี ๗ อำ�เภอ และแถว
สุดท้ายลายสวัสติกะ ใช้สีเหลืองสลับกับสีแดง ซึ่งสีเหลืองส่ือถึงความม่ังค่ังเจริญรุ่งเรือง และสีแดง
สอ่ื ถึงความมีพลงั ชื่อเสยี ง ลาภยศ ปอ้ งกนั สิ่งไม่ดี ปกป้องคมุ้ ครองให้ปลอดภัย
ลายสวัสติกะ หมายความว่า สัญลักษณ์แห่งโชคและความอยู่ดีมีสุข ปรากฏอยู่ใน
รอยพระพุทธบาทคู่ซ่ึงมีแห่งเดียวในประเทศไทย และเป็น ๑ ใน ๔ ของโลก ณ โบราณสถาน
สระมรกต อ�ำ เภอศรมี โหสถ เป็นรอยพระพทุ ธบาทท่ีเก่าแก่ที่สุดในประเทศไทย
๓. ลายแมน่ าํ้ ปราจนี บรุ ี สอ่ื ถงึ ความอดุ มสมบรู ณข์ องจงั หวดั ปราจนี บรุ ี วถิ ชี วี ติ ทมี่ คี วามผกู พนั
กับสายนา้ํ ในการดำ�รงชีวติ
๔. ลายดอกปีบ มี ๗ แถวเป็นแนวตั้ง ไลล่ ดหลน่ั ใหส้ วยงาม ส่อื ถึงตวั แทนของพื้นทจี่ งั หวัด
มี ๗ อ�ำ เภอ เป็นดอกไม้ประจ�ำ จังหวดั ปราจนี บรุ ี ซ่งึ มลี กั ษณะรูปดอกเป็นแตร กลีบดอก ๕ กลบี
สีขาวนวล สง่ กลิน่ หอมอ่อนชวนหลงใหล

รายละเอยี ดผู้ออกแบบและตดั เยบ็
ช่ือ - สกุล (ผตู้ ดั เยบ็ ) นายสนุ ทร แกว้ อมร โทร. ๐๘ ๑๑๗๗ ๒๑๒๔
ทอ่ี ยู่ เลขท่ี ๑ หมูท่ ่ี ๖ ตำ�บลหนองแสง อำ�เภอประจันตคาม จังหวดั ปราจีนบุรี ๒๕๑๔๐

81

นายไพรตั น์ เพชรยวน รองผวู้ ่าราชการจังหวดั พระนครศรีอยุธยา

นางสรญั ญา เพชรยวน รองประธานแม่บ้านมหาดไทยจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
82

ผ้าไหมบาตกิ ลายดอกโสน

เร่ืองราวผ้าท่ีใช้ในการเดนิ แบบ
“ผ้าลายดอกโสน” เป็นลวดลายที่เกิดจากการนำ�ดอกโสน ซ่ึงเป็นดอกไม้ประจำ�จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา และสีฟ้า สีน้ําเงินของผ้ามาจากสีธงประจำ�จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นำ�มา
ออกแบบเป็นลวดลายผ้าดอกโสน มีชื่อจังหวัด “พระนครศรีอยุธยา” บนผืนผ้าเป็นดอกไม้ประจำ�
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

รายละเอยี ดผูอ้ อกแบบและตัดเย็บ
กลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนย้อมผ้าบาติกและมัดหม่ี หมู่ที่ ๖ ตำ�บลบ้านชุ้ง
อ�ำ เภอนครหลวง จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา
ช่อื - สกุล (ผู้ตดั เยบ็ ) รา้ นสกาลา่ ๗๖
ท่ีอยู่ เลขที่ ๕ ถนนนเรศวร ตำ�บลหัวรอ อำ�เภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
โทร. ๐ ๓๕๒๕ ๑๒๑๒

83

นายณัฐวฒุ ิ เพช็ รพรหมศร ผู้วา่ ราชการจงั หวดั เพชรบรุ ี
84

สวุ รรณวชั ร์

เร่อื งราวผ้าท่ใี ชใ้ นการเดนิ แบบ
ลาย “สุวรรณวัชร์” ได้มาจากการถอดแบบลายพระปรางค์วัดมหาธาตุวรวิหาร และลาย
จิตรกรรมที่ปรากฏบนเสาพระอุโบสถวัดใหญ่สุวรรณาราม อำ�เภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี
ส่วนช่ือ “สุวรรณวัชร์” มีท่ีมาจากชื่อวัดใหญ่สุวรรณาราม และสมณศักด์ิพระสุวรรณมุนี ซึ่งเป็น
สมณศักดิ์เดิมของสมเด็จพระสังฆราช (แตงโม) ท่ีมีนามเดิมว่า “ทอง” รวมกับคำ�ว่า “วัชระ”
ที่มาจากคำ�ว่า “ศรีชัยวัชรปุระ” นามเมืองเพชรบุรี ท่ีปรากฏในจารึกปราสาทพระขรรค์ ตรงกับ
รัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ทรงครองราชย์ นำ�ไปทอแบบขิดโดยใช้เทคนิคการทอผ้าของ
ชาวไทยพวนเพชรบรุ นี ำ�ไปตดั เย็บเปน็ เส้ือสทู ซาฟารีแขนสั้น

รายละเอยี ดผูอ้ อกแบบและตดั เย็บ
ช่อื ร้าน/กลุม่ ผูผ้ ลิต ผปู้ ระกอบการ รา้ นตดั เสื้อ “เชอรี่”
ชือ่ - สกุล (ผ้ตู ัดเยบ็ ) นางสุทศั ศรี ตรีหลาบ โทร. ๐๘ ๖๑๐๒ ๑๘๓๔
ทอี่ ยู่ เลขท่ี ๖๕ ตำ�บลคลองกระแชง อ�ำ เภอเมอื งเพชรบรุ ี จงั หวัดเพชรบรุ ี

85

นายองั กรู ศีลาเทวากลู รองผูว้ ่าราชการจังหวัดราชบุรี

นางศรินทพิ ย์ ศลี าเทวากูล รองประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวดั ราชบรุ ี
86

ผา้ จกลายข้าวลีบ ยกมุขลายขา้ วแหใหญ่ ตอ่ เชิง

เร่ืองราวผ้าทใ่ี ช้ในการเดินแบบ
จังหวัดราชบุรี เป็นจังหวัดท่ีมีประวัติศาสตร์ความเป็นมายาวนาน มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์
โบราณสถาน โบราณวัตถุที่ค้นพบในพ้ืนที่มีอายุอยู่ในสมัยทวารวดี เป็นเมืองที่สำ�คัญทางยุทธศาสตร์
ในฐานะเมืองปราการหรอื เมอื งหน้าด่านทิศตะวันตกของอาณาจักรอยธุ ยาและรัตนโกสินทร์ ดนิ แดนแหง่ น้ี
เป็นชัยภูมิที่สำ�คัญสำ�หรับการตั้งถ่ินฐานของกลุ่มชาติพันธุ์ท่ีอพยพโยกย้ายถ่ินฐานเข้ามาตั้งถ่ินฐาน
จำ�นวนมาก มีวิถีชีวิตวัฒนธรรมท่ีหลากหลายถึง ๘ ชาติพันธ์ุ ประกอบด้วย ชาวไทยพ้ืนถิ่น ชาวไทย
เช้ือสายจีน ชาวไทยเชื้อสายมอญ ชาวไทยเช้ือสายยวน ชาวไทยเชื้อสายกะเหรี่ยง ชาวไทยเช้ือสายเขมร
ชาวไทยเช้ือสายลาวเวยี ง และชาวไทยเชื้อสายลาวโซง่
กลมุ่ ชาตพิ นั ธไุ์ ท-ยวน มวี ฒั นธรรมทส่ี ะทอ้ นเอกลกั ษณอ์ นั โดดเดน่ เฉพาะตวั นนั้ กค็ อื การทอผา้ จก
ทเี่ ปน็ ภมู ปิ ญั ญาและองคค์ วามรทู้ เ่ี กดิ จากการสะสมประสบการณ์ จนเกดิ ทกั ษะ ความช�ำ นาญ และถา่ ยทอด
สืบต่อกันจากรุ่นส่รู ่นุ
ลักษณะเด่นของการทอผ้าจกไท-ยวน คือจะมีโครงสร้าง ๓ ส่วนประกอบกัน คือ ส่วนหัว
สว่ นกลางตวั และสว่ นตนี โดยสว่ นหวั จะเปน็ ผา้ ฝา้ ยสขี าว สว่ นตวั ซน่ิ จะมลี วดลายและลกั ษณะทแี่ ตกตา่ งกนั
ตามชนิดของซิ่น ส่วนล่างสุดคือตีนซ่ิน ซึ่งการตกแต่งบริเวณตีนซ่ินด้วยลายจกน้ัน ผู้ทอจะทอข้ึนด้วย
ความประณีตงดงาม ลวดลายจกท่ีปรากฏบนซ่ินตีนจกมักจะมีท่ีมาจากแรงบันดาลใจจากส่ิงมีชีวิต
ลายสตั ว์ ลายพฤกษาและสิง่ รอบตัว
ผา้ จกผนื นมี้ ชี อื่ ลายวา่ ลายขา้ วลบี ยกมขุ ลายขา้ วแหใหญ่ ตอ่ เชงิ เปน็ ลายโบราณทไ่ี ดร้ บั การสบื ทอด
มาจากบรรพบุรุษชาวไท-ยวน ประยุกต์เข้ากับลายผ้าพระราชทาน “ลายขอเจ้าฟ้าสิริวัณณวรีฯ” ใช้โทน
สีม่วงดอกรัก ท่ีเป็นเทร็นด์สีแห่งปี ๒๐๒๒ ออกแบบให้เข้ากับยุคสมัยใหม่ หรือ Modern Style
รายละเอียดดงั น้ี
- หัวซ่นิ ทอด้วยผ้าพ้นื สมี ว่ งดอกรกั เสน้ ยนื จากเส้นใยฝ้ายยอ้ มสีด�ำ
- ตัวซ่นิ ทอด้วยผ้าพน้ื สีมว่ งดอกรักขัดดว้ ยลายข้าวแหใหญ่ และจกดว้ ยลายขา้ วลีบ
- ตีนซ่ิน ทอด้วยผ้าพื้นสีม่วงดอกรัก จกด้วยลายดอกจัน ลายดอกกล้วยไม้ และลายขอ
เจ้าฟ้าสิริวัณณวรีฯ ประยกุ ต์

รายละเอียดผู้ออกแบบและตัดเย็บ
ชื่อร้าน/กลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ ศูนย์ส่งเสริมอาชีพการทอผ้าจกบ้านใต้ ๓๕/๒ หมู่ที่ ๔ ตำ�บลคูบัว
อ�ำ เภอเมืองราชบรุ ี จงั หวัดราชบรุ ี ๗๐๐๐๐ หรอื นางสาววันวสิ าข์ อบเชย โทร. ๐๘ ๙๘๘๐ ๙๐๐๙
ชอื่ - สกลุ (ผ้ตู ดั เย็บ)

๑. ชุดของนายอังกูร ศีลาเทวากูล ตัดเย็บโดยห้องสูทโปร ท่ีอยู่ ๒๙-๙-๑๐ ถนนทรงพล
ต�ำ บลบา้ นโป่ง อ�ำ เภอบ้านโปง่ จงั หวัดราชบุรี ๗๐๑๑๐ โทร. ๐ ๓๒๓๐ ๑๘๗๔

๒. ชุดของนางศรินทิพย์ ศีลาเทวากูล ตัดเย็บโดยนางประไพ กำ�ลังหาญ ชาวบ้านในพื้นท่ี
ตำ�บลคูบัว อ�ำ เภอเมืองราชบุรี จงั หวัดราชบุรี โทร. ๐๘ ๙๑๐๔ ๓๔๗๙

87

นายนิวัฒน์ รุ่งสาคร ผูว้ า่ ราชการจงั หวัดลพบุรี

นางวัชราภรณ์ รงุ่ สาคร ประธานแมบ่ า้ นมหาดไทยจังหวดั ลพบรุ ี
88

ผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาตจิ ากกลมุ่ บาตกิ น้ําเตา้ หู้

เร่ืองราวผ้าท่ใี ชใ้ นการเดนิ แบบ
กลุ่มบาติกนํ้าเต้าหู้และกลุ่มไทยพวนคลาสสิก ใช้นํ้าเต้าหู้แทนการเขียนเทียน ถือเป็นงาน
ศิลปะอีกแขนงหน่ึงที่รังสรรค์ข้ึนมาโดยพ่ึงพาวัตถุดิบท่ีหาได้จากธรรมชาติ ปราศจากการปรุงแต่ง
ดว้ ยสารเคมี ชว่ ยใหผ้ ทู้ น่ี �ำ ผา้ ไปตดั เยบ็ สวมใสห่ รอื น�ำ ผา้ ไปใชอ้ น่ื ๆ รสู้ กึ ถงึ ความปลอดภยั และยงั เปน็
ส่วนหนึ่งในการช่วยกันรักษาส่ิงแวดล้อมจากการลดใช้สารเคมี ในการตัดเย็บเสื้อผ้าจะใช้แรงงาน
จากคนในชมุ ชน และการเนน้ ใช้ผ้าฝ้ายแทนในการน�ำ มายอ้ มด้วยสธี รรมชาติ การเดนิ แบบในครงั้ น้ี
เส้ือของผู้ว่าราชการจังหวัดลพบรุ ี เปน็ ผา้ ฝา้ ยยอ้ มดว้ ยสธี รรมชาตจิ ากเปลอื กตน้ กระท้อน เนื่องจาก
กระท้อนเป็นไม้ผลท่ีปลูกมากในจังหวัดลพบุรีและเป็นสินค้า GI ในส่วนของสีท่ีย้อมได้ออกมา
เป็นสีส้มอ่อน สำ�หรับเสื้อคลุมของประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวัดลพบุรี ผ้าฝ้ายย้อมด้วย
เปลอื กตน้ ประดู่ ใหส้ ที อ่ี อกมานา้ํ ตาลเขม้ และกางเกงผา้ ฝา้ ยทย่ี อ้ มดว้ ยสจี ากลกู มะเกลอื ใหส้ นี าํ้ ตาล
อมดำ� และเขยี นดว้ ยนา้ํ เตา้ ห้ใู นลวดลายพระราชทาน ลายขอเจา้ ฟา้ สริ ิวณั ณวรฯี

รายละเอยี ดผู้ออกแบบและตัดเย็บ
เสื้อแขนยาวของผู้วา่ ราชการจงั หวดั ลพบรุ ี
กลุ่มแม่บา้ นเทศบาลบ้านหม่ี
ที่อยู่ : ๑๔/๖๖ ถนนปยิ ะบุตร อ�ำ เภอบา้ นหม่ี จังหวดั ลพบุรี โทร. ๐๘ ๑๗๙๕ ๔๘๑๖
เสอื้ คลมุ และกางเกงของประธานแม่บ้านมหาดไทยจังหวดั ลพบุรี
ตัดเย็บโดยกลุ่มไทยพวนคลาสสิก ท่ีอยู่ ๒๔ หมู่ท่ี ๗ ตำ�บลหินปัก อำ�เภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี
โทร. ๐๘ ๑๓๑๘ ๐๓๗๙

89

นายวันชัย คงเกษม ผ้วู า่ ราชการจงั หวดั สมทุ รปราการ

นางนงรตั น์ คงเกษม ประธานแม่บา้ นมหาดไทยจงั หวดั สมุทรปราการ
90

ลายดอกดาวเรอื ง ลายผ้าประจำ�จังหวัดสมุทรปราการ

เร่ืองราวผา้ ทีใ่ ช้ในการเดนิ แบบ
“ลายดอกดาวเรือง” ได้รับแรงบันดาลใจมาจากดอกดาวเรืองซ่ึงเป็นดอกไม้ประจำ�
จังหวัดสมุทรปราการ ดาวเรืองเป็นต้นไม้ท่ีได้รับความนิยมในการปลูก เนื่องจากมีความเช่ือ
ที่ว่าเป็นไม้มงคล เพราะสีเหลืองทองอร่ามของดอกดาวเรืองเปรียบเสมือนเงินทอง ยิ่งไปกว่าน้ัน
ดาวเรืองยังถูกยกให้เป็นดอกไม้ประจำ�พระองค์ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ ๙ เนื่องด้วยดอกดาวเรืองมีสีเหลือง
ตรงกับวันจันทร์ ซึ่งเป็นวันพระบรมราชสมภพ อีกทั้งพระองค์ทรงนำ�ความชื่นบานและความเจริญ
มาสูช่ าติบา้ นเมอื ง ซ่ึงสอดคล้องกบั ความหมายและความเชื่อของดอกดาวเรอื ง
เมื่อวันท่ี ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ จังหวัดสมุทรปราการ ได้จดทะเบียนจดสิทธิบัตร
การออกแบบลายผ้า ท้งั ๕ ลาย ไดแ้ ก่
๑. ลายดอกดาวเรือง ซงึ่ เป็นดอกไมป้ ระจ�ำ จงั หวัด
๒. ลายโพทะเล ซงึ่ เปน็ ต้นไม้ประจ�ำ จังหวัด
๓. ลายปลาสลิด ซึง่ เปน็ ผลิตภณั ฑท์ ี่มีช่ือเสียงของจงั หวัด
๔. ลายโพธริ์ ม่ ฉตั ร ซงึ่ มแี นวคดิ มาจากการระลกึ ถงึ พระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระบาทสมเดจ็
พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
๕. ลายนพเก้าสุวรรณภูมิ ซ่ึงมีแนวคิดจากสนามบินนานาชาติสุวรรณภูมิที่ตั้งอยู่ในพื้นท่ี
จงั หวัดสมทุ รปราการ

รายละเอยี ดผู้ออกแบบและตัดเยบ็
กลุ่มอาชพี ทอผ้าตำ�บลบางเสาธง อ�ำ เภอบางเสาธง จังหวัดสมทุ รปราการ โดยนางอัญพร สุทธโิ ส
ทีอ่ ยู่ ๒๐๔/๑ ถนนเทพารกั ษ์ ตำ�บลบางเสาธง อ�ำ เภอบางเสาธง จงั หวัดสมทุ รปราการ

91

นายกรกฎ วงษ์สวุ รรณ รองผ้วู ่าราชการจงั หวัดสมทุ รสงคราม

นางณัฐสดุ า วงษ์สุวรรณ รองประธานแม่บ้านมหาดไทยจงั หวดั สมุทรสงคราม
92

ผา้ มดั ยอ้ มลายเถาพดุ ตานการเวก

เรื่องราวผา้ ท่ใี ช้ในการเดินแบบ
ผ้ามัดย้อมเป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินในพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม ปรากฏหลักฐานเส้นทาง
การค้าเดมิ ปลายสมัยอยุธยา ทแี่ หลง่ ชมุ ชนยีส่ าร ชมุ ชนมีการยอ้ มผ้าท่มี ีคณุ สมบัตชิ ้ันเลิศ คุณสมบัติ
ของสีที่ใช้ยอ้ มน้นั สามารถป้องกันแสงแดด จึงได้แรงบนั ดาลใจในการออกแบบชุดทร่ี ว่ มสมยั ใสส่ นกุ
ฝ่ายชาย ตัวเส้ือตัดเย็บจากผ้าย้อมใบหูกวาง ลวดลายย้อมออกมาดูเป็นเอกลักษณ์
สามารถตอ่ ยอดนำ�มาตดั เยบ็ เครื่องแต่งกายทเ่ี ป็นสากลได้
ฝ่ายหญิง ตัดเย็บจากผ้าย้อมเปลือกตะบูน นำ�มาต่อยอดด้วยการพิมพ์ลวดลายลงบนผ้า
ด้วยยางของเปลือกตะบูน ยางรัก และเปลือกฝาง พิมพ์ร่วมกับเทคนิคศิลปกรรมโบราณ รูปแบบ
ลายประคบทองสมัยอยุธยา ซึ่งลวดลายได้รับแรงบันดาลใจจากบานประตูไม้แกะสลักฝีพระหัตถ์
ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ ลายเถาพุดตานการเวก สวมใส่คู่กับ
เส้ือลูกไม้ถักลายคลื่นทะเลย้อมด้วยสีธรรมชาติ แสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิตระบบนิเวศทะเลชายเลน
และน�ำ มาผสมผสานใหเ้ ปน็ ชุดท่ีสามารถสวมใส่ไดร้ ว่ มสมัยกบั ยุคปัจจุบนั

รายละเอียดผ้อู อกแบบและตัดเยบ็
ช่ือร้าน/กลมุ่ ผู้ผลิต ผ้ปู ระกอบการ กลมุ่ เปลือกไมบ้ า้ นเขาย่สี าร หม่ทู ี่ ๑ ตำ�บลย่ีสาร อ�ำ เภออมั พวา
จังหวดั สมุทรสงคราม
ช่ือ - สกลุ (ผตู้ ดั เยบ็ ) นายบุหลัน ปัน้ บรรจง โทร. ๐๘ ๒๖๘๙ ๙๙๑๘
ทอ่ี ยู่ ๑๓๔ หม่ทู ่ี ๑ ตำ�บลย่ีสาร อำ�เภออมั พวา จังหวดั สมุทรสงคราม โทร. ๐๘ ๙๙๘๖ ๐๑๔๒

93

นายณรงค์ รกั ร้อย ผ้วู ่าราชการจงั หวัดสมุทรสาคร

นางเตอื นจติ ร์ รกั รอ้ ย ประธานแมบ่ า้ นมหาดไทยจังหวัดสมทุ รสาคร
94

ไพลินแห่งสยาม ศรีสาครบุรี

เร่อื งราวผา้ ทใ่ี ชใ้ นการเดินแบบ
จังหวัดสมุทรสาคร มีภูมิประเทศอยู่ติดกับชายทะเลฝั่งอ่าวไทยตอนใน (อ่าวไทยรูปตัว ก)
มีความสมดุลด้านระบบนิเวศ มีความอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งอาหารทะเล และมีการจับปลาทู
มากทส่ี ดุ ในประเทศไทย ปลาทสู มทุ รสาครมเี นอื้ แนน่ รสชาตหิ วานมนั ไมเ่ หมอื นปลาทจู ากแหลง่ อน่ื
ผนวกกับมีวัฒนธรรมชุมชนท่ีเรียบง่าย จึงนำ�มาใช้เป็นแรงบันดาลใจสะท้อนความเป็นอัตลักษณ์
ของจังหวัดสมุทรสาคร ในการจัดทำ� “ผ้าลายปลาทู” โดยสามารถจัดทำ�ลวดลายบนผืนผ้าได้
หลากหลายวธิ ี ท้ังการปกั การวาด การเพ้นท์ โดยใชโ้ ทนสีฟ้าคอื สแี หง่ ท้องทะเล และสนี าํ้ เงินเป็น
สีประจำ�จังหวัดสมุทรสาครเป็นองค์ประกอบ ซ่ึงสอดคล้องกับธีม “ไพลินแห่งสยาม ศรีสาครบุรี”
เพราะไพลนิ เปน็ อัญมณสี นี ํา้ เงิน เปน็ ส่ิงที่ล้ําคา่ สร้างความมงั่ ค่งั มน่ั คง เหมอื นจงั หวัดสมุทรสาคร
ทอ่ี ดุ มสมบูรณแ์ หล่งอาหารทางทะเล ที่จะชว่ ยสร้างรายไดแ้ ละพัฒนาเศรษฐกจิ ไทย

รายละเอยี ดผู้ออกแบบและตัดเยบ็
ชอ่ื รา้ น/กลุม่ ผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ กลุม่ ชนาณัติผ้าไทย จังหวัดสมทุ รสาคร
ช่อื - สกุล (ผตู้ ดั เย็บ) นางจฑุ ากาญจน์ มัน่ คง โทร. ๐๘ ๕๒๒๓ ๓๒๒๕
ทอี่ ยู่ ๓๘/๔๔ หมูท่ ่ี ๒ ตำ�บลนาดี อ�ำ เภอเมอื งสมุทรสาคร จงั หวัดสมุทรสาคร

95

นายปรญิ ญา โพธิสตั ย์ ผู้วา่ ราชการจังหวัดสระแกว้

นางเยาวรตั น์ โพธิสตั ย์ ประธานแมบ่ ้านมหาดไทยจังหวัดสระแกว้
96

ผ้าไหมมดั หมี่ ลายสระแก้ว

เรือ่ งราวผา้ ท่ใี ชใ้ นการเดินแบบ
“ผ้าลายสระแก้ว” ประกอบด้วย ๔ ลาย ได้แก่ ลายปราสาทสด๊กก๊อกธม หมายถึง
ปราสาทขอมโบราณ ซึ่งเป็นโบราณสถานที่สำ�คัญของจังหวัดสระแก้ว สร้างขึ้นด้วยหินศิลาแลง
ตามศิลปะขอมแบบคลัง - บาปวน สร้างเสร็จในสมัยพระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ ๒ ลายผีเส้ือไหม
ดาหลา หมายถึง ผีเส้ือกลางคืนที่มีขนาดใหญ่และสวยงาม ตัวหนอนกินใบดาหลาเป็นอาหาร
มีการเพาะเล้ียงเพ่ือใช้ประโยชน์และอนุรักษ์ในโครงการศิลปาชีพศึกษาพัฒนาไหมไทยพ้ืนบ้าน
ไหมดาหลาและแมลงทับ ตำ�บลสระแก้ว อำ�เภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว ลายผีเสื้อปางสีดา
หมายถึง ผีเส้ือกลางวันในอุทยานแห่งชาติปางสีดา ซ่ึงเป็นผืนป่ามรดกโลกในนามสันป่า
ดงพญาเย็น - เขาใหญ่ มีนักท่องเที่ยวนิยมมาเท่ียวชมเป็นจำ�นวนมาก และลายดอกแก้ว
หมายถึง ดอกไม้ประจำ�จังหวัดสระแก้ว เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงกลาง ใบออกเป็นช่อแผงเรียง
สลับกัน ดอกออกเปน็ ชอ่ ใหญ่ขนาด ๒ - ๓ เซนติเมตร ผลรปู ไขว่ งรปี ลายทูม่ สี ีสม้ ผ้าลายสระแกว้
จึงเปน็ ผ้าทแี่ สดงถงึ เอกลักษณ์ของจงั หวดั สระแก้วไดอ้ ย่างสวยงาม

รายละเอียดผอู้ อกแบบและตดั เย็บ
ชื่อร้าน/กลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ กลุ่มทอผ้าไหมบ้านใหม่ไทยพัฒนา อำ�เภอวัฒนานคร
จงั หวดั สระแกว้
ชอ่ื - สกลุ (ผู้ตดั เย็บ) นางเมตตา กระตา่ ยทอง โทร. ๐๘ ๗๖๑๘ ๖๗๓๓
ที่อยู่ ตำ�บลพานทอง อ�ำ เภอพานทอง จงั หวดั ชลบุรี

97

นายแมนรัตน์ รัตนสุคนธ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสระบุรี

นางวรสุดา รัตนสคุ นธ์ ประธานแม่บา้ นมหาดไทยจงั หวัดสระบรุ ี
98


Click to View FlipBook Version