The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มคอ.2 วศ.บ. วิศวกรรมยานยนต์สมัยใหม่ บางเขน ปป.2562 อว.รับทราบวันที่ 14 ก.พ. 63

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ruangurai.se, 2021-07-29 12:38:33

มคอ.2 วศ.บ. วิศวกรรมยานยนต์สมัยใหม่ บางเขน ปป.2562 อว.รับทราบวันที่ 14 ก.พ. 63

มคอ.2 วศ.บ. วิศวกรรมยานยนต์สมัยใหม่ บางเขน ปป.2562 อว.รับทราบวันที่ 14 ก.พ. 63

Keywords: วิศวกรรมยานยนต์สมัยใหม่,ยานยนต์สมัยใหม่

1

รายละเอยี ด
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบณั ฑติ

สาขาวชิ าวศิ วกรรมยานยนต์สมัยใหม่

(หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. 2562)

มคอ.2
คณะวศิ วกรรมศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยศรปี ทมุ บางเขน

2

รายละเอียดของหลักสตู ร
หลกั สตู รวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ
สาขาวชิ าวศิ วกรรมยานยนต์สมัยใหม่

หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ.2562

หมวดที่ 1 ข้อมลู ทัว่ ไป

ชือ่ สถาบนั อุดมศึกษา มหาวทิ ยาลัยศรีปทมุ
วทิ ยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ /สาขาวิชาวิศวกรรมยานยนต์สมัยใหม่/บางเขน

1. รหสั และช่อื หลักสูตร

ภาษาไทย : หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมยานยนต์สมยั ใหม่

ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Engineering Program in Next-Generation

Automotive Engineering

2. ชอ่ื ปริญญาและสาขาวิชา
ชือ่ เตม็ (ไทย) : วศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ (วศิ วกรรมยานยนต์สมัยใหม)่
ชื่อย่อ (ไทย) : วศ.บ. (วศิ วกรรมยานยนต์สมยั ใหม)่

ชื่อเต็ม(อังกฤษ) : Bachelor of Engineering (Next-Generation Automotive Engineering)
ชือ่ ยอ่ (อังกฤษ) : B.Eng. (Next-Generation Automotive Engineering)

3. วิชาเอก
ไม่มี

4. จำนวนหน่วยกติ วิชาทเ่ี รยี นตลอดหลักสตู ร
149 หนว่ ยกติ

5. รปู แบบของหลกั สตู ร

5.1 รปู แบบ
เป็นหลกั สตู รระดบั ปริญญาตรี

5.2 ภาษาทใ่ี ช้
การเรียนการสอนใชภ้ าษาไทย และ/หรือ ภาษาองั กฤษ/หรือภาษาจนี

5.3 การรบั เขา้ ศึกษา

รบั นกั ศกึ ษาไทยหรือนกั ศึกษาตา่ งประเทศท่ีใช้ภาษาไทย และ/หรือภาษาองั กฤษ/หรือภาษาจนี
5.4 ความร่วมมือกบั สถาบนั อนื่

เป็นหลกั สตู รของสถาบนั โดยเฉพาะ
5.5 การใหป้ รญิ ญาแกผ่ สู้ ำเรจ็ การศึกษา

ให้ปริญญาเพยี งสาขาวิชาเดียว

3

6. สถานภาพของหลกั สูตร และการพิจารณาอนุมตั ิ/เห็นชอบหลักสตู ร
หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562 เรม่ิ ใช้หลกั สูตรน้ี ตั้งแตป่ ีการศกึ ษา 2562

- คณะกรรมการมาตรฐานหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวิศวกรรมยานยนต์ ได้ให้ความเห็นชอบการ
ปรับปรงุ หลักสูตร จากหลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิศวกรรมยานยนต์(หลักสูตรปรับปรุง
พ.ศ.2557) โดยปรับปรุงชื่อหลักสูตรเป็น หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมยานยนต์สมัยใหม่(หลักสูตร
ปรบั ปรุง พ.ศ.2562) เมอื่ วันที่ 4 เดอื น ธันวาคม พ.ศ. 2561

- สภาวิชาการมหาวิทยาลัยศรีปทุมได้ให้ความเห็นชอบหลักสูตร ในการประชุม ครั้งที่ 3 ปีการศึกษา 2561
วันท่ี 18 ธนั วาคม 2561

- สภามหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ ไดอ้ นมุ ตั ิการปรบั ปรงุ หลกั สูตร ในการประชุม ครั้งที่ 1/2562 วนั ที่ 8 มกราคม 2562

7. ความพร้อมในการเผยแพรห่ ลักสตู รท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน
หลักสูตรจะได้รับการเผยแพร่วา่ เป็นหลักสูตรที่มคี ุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับปริญญาตรี

สาขาวศิ วกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2553 ในปีการศึกษา 2564

8. อาชพี ที่สามารถประกอบได้หลงั สำเรจ็ การศกึ ษา
(1) วศิ วกรยานยนต/์ เครอื่ งกลประจำโรงงาน วศิ วกรอำนวยการผลติ วศิ วกรควบคุมคณุ ภาพสนิ ค้า วิศวกร

ควบคุมหรือซ่อมบำรงุ เครือ่ งจกั รกลภายในโรงงานทางด้านอุตสากรรมยานยนต์
(2) วศิ วกรออกแบบ ทดสอบ งานทางด้านยานยนตแ์ ละเครือ่ งกล
(3) วศิ วกรควบคุมการตดิ ตัง้ ระบบงานทางด้านยานยนตแ์ ละเคร่อื งกล
(4) วศิ วกรการขายหรืองานบรกิ ารทางดา้ นเทคนิคในอุตสาหกรรมยานยนต์ วิศวกรประจำทมี การแข่งขัน

หรือฝ่ายจัดการแขง่ ขันทางดา้ นยานยนต์
(5) นักวชิ าการและนกั วิจัยทางดา้ นวศิ วกรรมยานยนต์
(6) งานอ่ืนที่เกย่ี วข้องกบั ทางวศิ วกรรมยานยนต์และเคร่อื งกล เช่น วิศวกรประเมนิ ราคา ธรุ กิจบรกิ ารงาน

ทางดา้ นยานยนต์ เป็นต้น

4

9. ชอื่ เลขประจำตวั บัตรประชาชน ตำแหน่ง และคณุ วุฒิการศึกษา

9.1 อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลกั สูตร

ลำดบั ชอื่ -สกุล/ตำแหนง่ / คุณวฒุ ิการศึกษา/ปีท่ีสำเรจ็ สถาบนั ทส่ี ำเรจ็ การศึกษา
เลขประจำตวั บัตรประชาชน
- M.S. (Control System - West Virginia Institute of
1 ผศ.อดุลย์ พฒั นภักดี Engineering), 1999 Technology, U.S.A.
- วศ.บ.(วศิ วกรรมเครือ่ งกล), 2535 - สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
3-8006-0051X-XX-X เจา้ คุณทหารลาดกระบัง

2 นายวทิ ยา พนั ธุเ์ จริญศลิ ป์ - วศ.ม.(วิศวกรรมเครอื่ งกล), 2538 - จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย
3-8603-0021X-XX-X - วศ.บ.(วิศวกรรมเคร่อื งกล), 2535 - มหาวิทยาลัยสยาม

3 นายเกียรติศกั ดิ์ สกุลพนั ธ์ - Ph.D. (Industrial and - Asian Institute of Technology,
3-8498-0004X-XX-X Manufacturing Engineering), 2018 Thailand.
- M.Eng. (Industrial and - Asian Institute of Technology,
4 ผศ.ดร.ชลธศิ เอยี่ มวรวุฒิกลุ Manufacturing Engineering), 2008 Thailand.
3-1012-0246X-XX-X - วศ.บ.(วิศวกรรมเครอ่ื งกล), 2546 - มหาวทิ ยาลัยศรีปทมุ

5 ผศ. เติมพงษ์ ศรีเทศ - Ph.D. (Mechanical Engineering), - North Carolina State
3-6799-0018X-XX-X 2001 University, U.S.A.
- M.S. (Mechanical Engineering), Southern Illinois University,
1996 U.S.A.
- วศ.บ. (วิศวกรรมเครอื่ งกล), 2534 - จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

- บธ.ม., 2552 - มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม
- วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา้ ), 2540 - มหาวทิ ยาลัยศรีปทมุ

9.2 อาจารย์ประจำหลักสูตร

ลำดบั ชือ่ -สกุล/ตำแหน่ง/ คณุ วุฒิการศึกษา/ปที สี่ ำเร็จ สถาบันทีส่ ำเรจ็ การศึกษา
เลขประจำตวั บัตรประชาชน
- Ph.D. (Architectural Engineering), - University of Nebraska at
1 ดร.เดน่ ชยั วรเดชจำเรญิ 2015 Lincoln (UNL), U.S.A.
3-1021-0005X-XX-X - M. Eng. (Mechanical Engineering), - Chulalongkorn University,
2552 Thailand.
- B. Eng. (Mechanical Engineering), - Chulalongkorn University,
2548 Thailand.

5

2 ดร.เทพฤทธิ์ ทองชบุ - วศ.ด. (วิศวกรรมเคร่อื งกล), 2548 - จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3-9499-0002X-XX-X - วศ.ม. (วศิ วกรรมเครอ่ื งกล), 2541 - จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

3 นายอภริ กั ษ์ สวสั ดก์ิ ิจ - วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล), 2537 - จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั
5-1002-0022X-XX-X
- วศ.ม. (เทคโนโลยกี ารจัดการพลงั งาน), - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
4 นายเผชิญ จันทรส์ า
3-6704-0034X-XX-X 2541 พระจอมเกลา้ ธนบุรี
- อส.บ.(วิศวกรรมเครอ่ื งกล), 2536 - มหาวทิ ยาลัยศรีปทมุ
5 นายมฮู ำมดั ทรงชาติ - M.Sc. (Mechanical Engineering), - Sirindhorn International
3-9409-0036X-XX-X 2004 Institute of Technology,

6 นายทปี กร คณุ าพรววิ ฒั น์ Thammasat University.
3-3012-0108X-XX-X - วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล), 2540 - มหาวทิ ยาลัยศรีปทุม

7 ดร.ชวลิต มณีศรี - วศ.ม. (วิศวกรรมเคร่อื งกล), 2560 - มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
3-2001-0061X-XX-X - วศ.บ. (วิศวกรรมเคร่อื งกล), 2541 - มหาวทิ ยาลัยศรีปทมุ

8 นายพฒั นพงศ์ อรยิ สิทธ์ิ - วศ.ม. (การจัดการพลังงานและ - มหาวทิ ยาลัยศรปี ทมุ
3-6099-0094X-XX-X
สิ่งแวดลอ้ มวศิ วกรรมเครือ่ งกล), 2557
9 นายธนภัทร พรหมวัฒนภกั ดี
3-6402-0002X-XX-X - อส.บ.(วิศวกรรมเครื่องกล) - มหาวิทยาลยั ศรปี ทุม

มหาวทิ ยาลัยศรีปทุม, 2540

- วศ.ด.(วิศวกรรมอุตสาหการ), 2560 - มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

- วศ.ม.(วิศวกรรมการจัดการ - มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี

อุตสาหกรรม), 2546 พระจอมเกลา้ พระนครเหนือ

- วศ.บ.(วศิ วกรรมอตุ สาหการ), 2542 - มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

- วศ.ม. (วิศวกรรมอตุ สาหการ), 2547 - มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์

- วท.บ. (เคมีอตุ สาหกรรม), 2540 - สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนอื

- วศ.ม.(วิศวกรรมพลงั งาน), 2546 - มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่

- วศ.บ.(วศิ วกรรมไฟฟา้ ), 2541 - มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม

10. สถานท่จี ดั การเรียนการสอน
จัดการเรียนการสอนท่ี มหาวิทยาลยั ศรปี ทุม

11. สถานการณภ์ ายนอกหรอื การพัฒนาท่ีจำเป็นต้องนำมาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร

11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกจิ
สถานการณห์ รือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ท่นี ำมาพิจารณาในการวางแผนหลกั สตู รจะสอดคลอ้ งกับทิศทาง

ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตฉิ บับที่ 12 พ.ศ. 2562 – 2566 โดยยึดหลักของ “ปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง” ภายใตส้ ถานการณ์โลกในปัจจุบัน ทีม่ ีการพัฒนาของระบบคมนาคม และการสอ่ื สาร ทำให้การติดต่อธุรกิจ

และการค้าขายมีความสะดวกรวดเร็ว และเข้าถึงกลุ่มลูกค้าที่อยู่ห่างไกลได้มากขึ้น ส่งผลให้ภาคอุตสาหกรรมมีการ
ขยายตัวอย่างรวดเร็ว รวมถึงการเปิดเขตการค้าเสรีต่างๆ ทั้งแบบทวิภาคี และเขตการค้าเสรีอาเซยี น ทำให้เกิดการ
แขง่ ขันในภาคอุตสาหกรรมมากข้ึน ดงั นัน้ ภาคอุตสาหกรรมภายในประเทศต้องมกี ารพัฒนาและปรับตัว ต้องมีการนำ

เทคโนโลยสี มยั ใหมเ่ ข้ามาใช้ในภาคการผลิต เพอื่ เพ่ิมผลผลติ และลดต้นทุน ในขณะเดียวกนั ต้องรจู้ ักเรียนรู้และพัฒนา

6

เทคโนโลยีด้วยตนเองด้วย เพื่อมิให้ประเทศชาติเป็นแค่ผู้ตามทางดา้ นเทคโนโลยี ทำให้วิศวกรยานยนต์สมัยใหม่ต้อง
เป็นนักคิดและนักพัฒนาด้วย การพัฒนาจะเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิศวกรยานยนต์ก็ต้องมีความรู้ทาง
เทคโนโลยสี ารสนเทศและภาษาสากลด้วย เพอ่ื ความรวดเรว็ และความสะดวกในการติดต่อสื่อสารและนำองค์กรก้าวสู่
ระดับสากล นอกจากนี้การลดการใช้พลังงานก็ เป็นปัจจัยสำคัญที่ที่จะต้องพิจารณาเช่นกัน เนื่องจาก
ทรพั ยากรธรรมชาติท่ีมอี ยอู่ ย่างจำกดั ทำใหต้ ้นทุนด้านพลงั งานสงู ขึน้ ทุกวนั วศิ วกรยานยนต์ต้องมคี วามสามารถในการ
บริหารและลดการใช้พลงั งาน การเปลี่ยนแปลงเครื่องจกั รในกระบวนการผลิตท่มี ปี ระสิทธิภาพสงู ทดแทนของเดิม การ
เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพสายการผลิต รวมถงึ การพฒั นาระบบโลจสิ ติกส์ เพื่อเพิม่ ประสทิ ธิภาพในการขนส่งทง้ั ในและระหว่าง
ประเทศ จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นว่าผู้ประกอบการต้องการวิศวกรยานยนต์ ที่นอกจากจะมีความรูค้ วามสามารถ
หลายด้านในวิชาชีพแล้ว ยงั ต้อง รู้จกั เรยี นร้สู ิ่งใหมๆ่ เป็นนักพัฒนาทัง้ ตนเองและองคก์ ร มคี วามเป็นผู้นำและสามารถ
ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี ทำให้ต้องมีการปรับปรุงการวางแผนหลักสูตรวิศวกรรมยานยนต์ขึ้นเพื่อรองรับการ
เปลย่ี นแปลงดงั กลา่ ว และพฒั นาวิศวกรยานยนตไ์ ทยให้สามารถแขง่ ขันกับวศิ วกรจากตา่ งประเทศได้

ในส่วนของแผนพัฒนามหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้มีนโยบายปรับกระบวนการจัดการศึกษาเพื่อ
พัฒนาศักยภาพของผู้เรียนให้สามารถแข่งขันได้ทั้งทางด้านองค์ความรู้ และทักษะทางด้านภาษา รวมท้ังการเป็น
e-University รองรับการเรียนการสอน นำ e -Learning มาช่วยเสริมการจดั การเรียนการสอนผ่านสื่อต่างๆ รวมทัง้
สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ รวมทงั้ การมีระบบทดสอบผู้เรียนผ่านสื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์การบริการ และการบรหิ ารจดั การ เชน่ การ
พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานที่ทันสมัย และพัฒนาทักษะของนักศึกษาให้มีความรู้ด้าน ICT การใช้เทคโนโลยี ICT
เพือ่ การบริการการเรียนรู้ตลอดชีวติ

11.2 สถานการณห์ รอื การพฒั นาทางสงั คมและวัฒนธรรม
การพัฒนาทางอุตสาหกรรมมีความเกี่ยวเนื่องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ระบบ

สารสนเทศทำให้สามารถตดิ ตอ่ ส่ือสาร แลกเปลีย่ นขอ้ มลู กันได้ท่วั โลกและสะดวกรวดเรว็ ขึน้ มีการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ
เข้ามาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ระบบการทำงานเป็นแบบอัตโนมัติมากขึ้น มีการใช้เครื่องจักรแทน
แรงงานคน ในขณะเดียวกันคนกท็ ำงานเหมือนเคร่ืองจักร ทำใหว้ ิถีการดำรงชวิ ติ เปล่ยี นไป มีความเจริญทางดา้ นวัตถุ
สูงขึ้น ความใส่ใจในด้านจริยธรรมน้อยลง ดังนั้นวิศวกรยานยนต์จะต้องใส่ใจในการใช้เทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาใช้ การ
เปลี่ยนแปลงการใช้เครื่องจักรแทนแรงงานคน ที่จะส่งผลกระทบตอ่ วิถกี ารดำรงชวิ ติ ในสังคม การเปิดเขตการค้าเสรี
ข้ามชาติ นอกจากส่งผลกระทบอย่างรวดเร็ว ต่อระบบการค้า การบริการ แล้วยังส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ ด้วย การถา่ ยเทแรงงานข้ามชาตทิ ง้ั ในระดับวิศวกร ชา่ งเทคนิค และ
ผูใ้ ช้แรงงานกม็ จี ำนวนมากขน้ึ เมือ่ มีการยา้ ยถิน่ ฐานที่อย่กู ็จะทำใหม้ ีการผสมผสานวัฒนธรมข้ามชาติ ซ่ึงบางสิ่งอาจมี
ความขัดแย้งกับวัฒนธรรมดั้งเดิมทำให้เกิดปัญหาในสังคมขึ้นได้ วิศวกรยานยนตค์ วรแสดงบทบาทสภาวะความเปน็
ผู้นำ ในการที่จะเรียนรู้และรับเฉพาะสิ่งดีๆ จากวัฒนธรรมอื่น มาผสมผสานกับวัฒนธรรมท้องถิ่นโดยไม่เกิดความ
ขัดแย้ง การศกึ ษาในปจั จปุ ันก็มรี ปู แบบทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป เทคโนโลยสี ารสนเทศเข้ามามีบทบาททำใหม้ กี ารแลกเปล่ียน
ความรู้กนั ได้ง่ายและสะดวกข้ึน มีความรว่ มมอื กันระหวา่ งสถาบนั ในประเทศและระหว่างประเทศ ทำให้แนวโน้มใน
การเคลือ่ นยา้ ยของนกั ศึกษาต่างถ่ินมีมากขนึ้ รปู แบบการเรียนการสอนก็เปล่ียนไปเป็นแบบ e-leaning และมีการใช้
Socail Network กันมากขึ้น ทำให้ปฏิสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์กับนักศึกษานอ้ ยลง ดังนั้นจึงต้องมีการเน้นในเรื่อง
ของจรรยาบรรณ คุณธรรม และจริยธรรม สอดแทรกเข้าไปในเนื้อหาตามหลักสูตรให้มากขึ้น นอกจากนี้วิศวกรยานยนต์
จะต้องใส่ใจกับการรักษาส่ิงแวดลอ้ ม เน่ืองจากผลกระทบท่ีเกิดข้ึนกับสง่ิ แวดล้อม ซง่ึ ทำใหส้ ภาพภูมิอากาศของโลกมี
การเปล่ียนแปลง จะส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพสงั คม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมดว้ ย และสิ่งท่ีสำคัญ
ที่สุด คือการมีจิตสำนึกที่ดตี ่อจรรณยาบรรณวิชาชีพ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยี อุตสาหกรรม ร่วมไปกับวถิ ี

7

การดำเนินชีวิตของชุมชนรอบด้านในสังคม ในแนวทางที่ถูกต้องและส่งผลกระทบในทางลบต่อสังคมและวัฒนธรรม
นอ้ ยทีส่ ุด

12. ผลกระทบจาก ข้อ 11 ตอ่ การพัฒนาหลกั สตู รและความเกยี่ วขอ้ งกับพนั ธกิจของสถาบัน
12.1 การพฒั นาหลกั สตู ร
จากผลกระทบของสถานการณ์ภายนอกในการพัฒนาหลักสูตรจึงจำเป็นต้องพัฒนาหลักสูตร วิศวกรรม

ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมยานยนต์สมัยใหม่ในเชิงรุก ที่มีศักยภาพและสามารถปรับเปลี่ยน และก้าวทัน
วิวัฒนาการของอุตสาหกรรม และรองรับการแข่งขันทางธุรกิจทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ โดยการผลิต
บุคลากรทางวิศวกรรมยานยนต์ ให้เป็นวิศวกรเชิงปฏิบัติที่มีความพร้อมที่จะปฏิบัติงานได้ทันที โดยสามารถนำ
เทคโนโลยีใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้งานในเชิงวิศวกรรมได้อย่างเหมาะสม เพ่ือรองรับการเติบโตของภาคอุตสาหกรรมยาน
ยนตใ์ นอนาคต ท่ีมกี ารใชเ้ ทคโนโลยแี ละเครอื ข่ายสงั คมยุคใหม่อย่างก้าวกระโดด รวมทงั้ เตรยี มความพรอ้ มในการเข้าสู่
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยมีความสามารถในการปรับตัวและเรียนรู้การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่อย่างรวดเร็วเพอ่ื
ประยกุ ตใ์ ช้กับองค์กร มีความพร้อมทางดา้ นภาษาทกั ษะการส่อื สารเจรจาท่ีเป็นสากล โดยยงั คงคำนึงถึงความรับผดิ ชอบ
ตอ่ สภาพสงั คมและสง่ิ แวดล้อม และประกอบดว้ ยคณุ ธรรมและจริยธรรมในวิชาชพี รู้จกั เรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองให้ก้าว
ทันโลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือช่วย และมีความสามารถในการสื่อสารโดยใช้ภาษาสากล มี
ความสามารถในการเปน็ นกั คดิ และนักพฒั นา

นอกจากนี้หลักสูตรยังได้มีกระบวนการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนให้สามารถแข่งขันได้ทั้ง
ทางด้านองค์ความรู้ และทักษะทางด้านภาษา รวมทั้งการเป็น e-University รองรับการเรียนการสอน การนำ e-Learning
มาชว่ ยเสรมิ การจัดการเรยี นการสอนผา่ นส่อื ตา่ งๆ รวมท้ังสอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ รวมทัง้ การมรี ะบบทดสอบผู้เรียนผ่านสื่อ
อิเลก็ ทรอนิกส์ การบรกิ าร และการบริหารจดั การ เชน่ การพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานทท่ี ันสมยั และพัฒนาทักษะ
ของนักศึกษาใหม้ คี วามรู้ด้าน ICT การใช้เทคโนโลยี ICT เพื่อการบริการการเรียนรู้ตลอดชีวติ ซึ่งเป็นไปตามนโยบาย
และวิสัยทัศน์ของมหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุม

12.2 ความเกย่ี วขอ้ งกับพันธกิจของสถาบนั
การพัฒนาหลักสูตรได้ดำเนินการให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยที่เน้นการผลิตบุคลากรที่สามารถ

ปฏิบตั ิงานไดจ้ ริงและเป็นที่ตอ้ งการของภาคอุตสาหกรรม มีความเช่ียวชาญและชำนาญในสายวิชาชีพของตน มีความ
เป็นมืออาชีพเพื่อการสร้างความเป็นเลิศในการประยุกต์ความรู้สู่ภาคปฏิบัติ และสอดคล้องกับอัตลักษณ์ของ
มหาวิทยาลยั ทเ่ี น้นความโดดเด่นทางดา้ น ICT โดยมพี ันธกจิ ดังน้ี

(1) การผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพ สอดคล้องกบั กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ปณิธาน อัตลกั ษณ์
ของมหาวิทยาลยั และรองรบั ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

(2) การสง่ เสรมิ และผลกั ดนั การใหม้ ีผลงานนวัตกรรม และผลงานทางวิชาการอน่ื ๆที่ สามารถใช้
ประโยชน์ไดใ้ นภาคธุรกจิ และอุตสาหกรรม

(3) การบริการทางวชิ าการแก่สงั คม สรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้
(4) การปลกู ฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรมสบื สานศิลปวฒั นธรรมของไทย
(5) การพัฒนาระบบบริหารจัดการภายในใหม้ ีประสิทธิภาพ
(6) การพัฒนาให้การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาเป็นกลไกสง่ เสริมกระบวนการทำงานให้มี

ประสิทธภิ าพ

8

การพฒั นาหลกั สูตรไดส้ อดคลอ้ งกบั วสิ ยั ทัศน์ของมหาวทิ ยาลัยทเี่ นน้ การผลิตบุคลากรทสี่ ามารถปฏิบัติงาน
ได้จริง เพื่อการสร้างความเป็นเลิศในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี รวมไปถึงพัฒนานวัตกรรมที่เป็นที่ต้องการของ
อตุ สาหกรรมและสงั คม ซ่ึงเปน็ ภาระหนึง่ ของพันธกจิ ดา้ นการผลิตบัณฑิตของมหาวทิ ยาลยั

13.ความสัมพนั ธ์กับหลักสูตรอ่นื ในสถาบนั
หลักสูตรนี้ มีความสัมพันธ์กบั หลักสตู รอน่ื ที่เปดิ สอนในคณะ / ภาควิชา อืน่ ของสถาบัน ดังนี้

13.1 กลุม่ วิชา/รายวิชาในหลกั สูตรทเี่ ปิดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลกั สตู รอื่น
กลุ่มรายวิชาที่นักศึกษาต้องไปเรยี นในคณะ/หลักสูตรสาขาวิชาอื่น ประกอบด้วยรายวิชาในหมวดศกึ ษา

ทัว่ ไป รายวชิ าในกลมุ่ ภาษาต่างประเทศเพอ่ื งานอาชีพ และรายวิชาในหมวดวชิ าเลือกเสรี
13.2 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลกั สูตรท่ีเปดิ สอนให้ภาควชิ า/หลกั สูตรอน่ื ต้องมาเรยี น
รายวิชาทเ่ี ปดิ สอนในหลักสตู รนี้ นักศึกษาตา่ งคณะกส็ ามารถเลือกเรยี นเปน็ วิชาชีพเลอื กเสรีได้
13.3 การบริหารจัดการ
(1) ประสานงานกับคณะตา่ งๆ ท่ีจดั รายวิชาซ่งึ นักศกึ ษาในหลักสูตรนี้ต้องไปเรียน
โดยตอ้ งมกี ารวางแผนร่วมกนั ระหว่างผเู้ กย่ี วข้อง ตัง้ แตผ่ บู้ ริหารและอาจารยผ์ สู้ อนซึ่งอยู่ตา่ งคณะ เพือ่
กำหนดเนื้อหา และกลยุทธ์การสอน ตลอดจนการวัดผล ประเมินผล ทั้งนี้เพื่อให้นักศึกษาได้
บรรลผุ ลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรนี้
(2) ประสานกับคณะต้นสังกัดของนักศึกษาที่มาเรียนรายวิชาของหลักสูตรนี้
เพื่อให้ทราบถึงผลการเรียนรู้ของนักศึกษาว่าสอดคล้องกับหลักสูตรที่นักศึกษาเหล่านั้นเรียน
หรอื ไม่

หมวดที่ 2 ขอ้ มูลเฉพาะของหลักสูตร

1. ปรชั ญา ความสำคญั และวัตถุประสงค์ของหลกั สตู ร
1.1 ปรชั ญา
วิศวกรรมยานยนต์สมัยใหม่เป็นสาขาวิชาที่มุ่งจัดการศึกษาให้บัณฑิตเป็นผู้มีความรู้ความสามารถ

เกี่ยวกับ เทคโนโลยีทางวิศวกรรมในสาขาวิศวกรรมยานยนต์ และกลไกการทำงานของชิ้นส่วนยานยนต์ การนำ
เชอ้ื เพลงิ และพลงั งานมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ตอ่ การผลิตทางอุตสาหกรรมอย่างมีประสทิ ธิภาพและคุณภาพชีวิต
ของมนุษย์ โดยหน้าที่หลักของวิศวกรยานยนต์ เกี่ยวข้องกับ การคำนวณออกแบบ ควบคุมการผลิต ค้นคว้า วิเคราะห์
ทดสอบ ดัดแปลง เกยี่ วกับยานพาหนะ อกี ทัง้ สามารถอำนวยการใชร้ ะบบและอุปกรณเ์ กี่ยวกับ เครื่องยนต์ต้นกำลัง
อุปกรณ์ถ่ายเทความร้อน ภาชนะใส่กา๊ ซภายใต้ความดัน ระบบเครอ่ื งปรับอากาศและอุปกรณ์อำนวยความสะดวกใน
ยานยนต์

หลักสูตรวศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมยานยนต์สมัยใหม่มวี ัตถปุ ระสงค์เพื่อผลิตวิศวกรท่มี ี
ความรแู้ ละปัญญา ท่ีสามารถประกอบอาชีพทางวศิ วกรรมยานยนตไ์ ดอ้ ย่างมีประสิทธิผล การศึกษาจะเน้นทั้งทางด้าน
ทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เพื่อให้บัณฑิตมีความรู้ นำไปสู่การวิเคราะห์วิจัยปัญหาทางวิศวกรรมอย่างถูกต้อง มีแนวคิด
หลกั การ และการประยุกต์ทางด้านเทคนคิ ตา่ ง ๆ ทีจ่ ะนำไปใช้ในการแก้ปัญหาอย่างมีประสทิ ธิภาพ มีการใช้ทรัพยากร
อยา่ งคมุ้ ค่าและสง่ ผลกระทบตอ่ สิง่ แวดลอ้ มน้อยท่ีสุด นอกเหนอื จากความรู้ทางด้านวิชาการ และวิชาชีพแล้ว บัณฑิต
ทุกคนยงั จะได้รบั การอบรมให้เป็นผู้มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ความซ่ือสัตยส์ ุจริต ความมานะอดทนและมมี นุษยสัมพันธ์ท่ี
ดี เพือ่ เป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพ

9

1.2 ความสำคญั ของหลกั สูตร
อุตสาหกรรมยานยนต์ในปัจจุบันมีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่ เข้ามาประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลาย ในการ

วางโครงการ การออกแบบ ควบคุม ติดตั้ง ระบบหรือเครื่องจักรและอุปกรณ์ต่างๆ ตลอดจนการวิจัย ทดลอง ทดสอบ
ค้นคว้า หรือวิเคราะห์ ในงานที่เกี่ยวขอ้ งกบั ทางวิศวกรรมยานยนต์ เพื่อลดต้นทุนและทำใหเ้ กิดประสิทธภิ าพสูงสุดในการ
ผลติ ซึ่งเทคโนโลยเี หลา่ นีม้ ีการพัฒนาและเปล่ยี นแปลงตลอดเวลา และการพัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศทำให้สามารถ
เข้าถึงข้อมูลต่างๆ ได้มากขึ้น ดังนั้นวิศวกรยานยนต์ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในอุตสาหกรรม ต้องมีการปรับตัว เรียนรู้ และ
พฒั นาตนเอง เพอื่ เพิ่มศักยภาพขององคก์ รในการแขง่ ขันของอุตสาหกรรมยุคใหม่

มหาวทิ ยาลัยศรีปทุม มหี ลักสตู รดา้ นวศิ วกรรมยานยนต์สมยั ใหม่ ที่ผลติ บณั ฑติ ที่มีความรคู้ วามเช่ียวชาญ
ทางดา้ นวิศวกรรมยานยนต์ รูจ้ กั ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีที่ทันสมัยให้เข้ากับงาน มีความสามารถในการใช้เคร่อื งมือสารสนเทศ
เพื่อพัฒนาตนเอง และการสื่อสารในภาษาสากล มีทักษะความเป็นผู้นำและทำงานร่วมกับผู้อื่น ภายใต้หลักคุณธรรม
จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมุ่งเน้นคุณภาพไปท่กี ารฝกึ ปฏบิ ัติ โดยการไปศึกษาดูงาน ฝกึ งาน วชิ าสหกิจศึกษา
ตลอดจนเชิญผู้ประกอบการที่มีประสบการณ์สูงมาเป็นวิทยากรพิเศษ เพื่อสนับสนุน ภาคอุตสาหกรรมการผลิตให้มี
วศิ วกรยานยนต์ทมี่ ีคุณภาพ รู้จักปรบั ตัวและพฒั นาตนเอง โดยใช้ทรัพยากรภายนอกและความรว่ มมือกับภาคเอกชน
โดยที่หลักสูตรนี้เปิดสอนตั้งแต่ปีการศึกษา 2548 และมีการปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อปีการศึกษา 2557 ประกอบกับ
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาได้มีประกาศมาตรฐานคณุ วุฒิระดับปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมศาสตร์ จึงต้องมีการ
ปรับปรุงหลักสูตรเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว และเพื่อให้มีการจัดการเรียนการสอนให้บรรลุผลการ
เรยี นรตู้ ามทีม่ าตรฐานกำหนด

1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร
1.3.1 ผลติ บัณฑิตทางด้านวิศวกรรมยานยนตส์ มัยใหม่ทม่ี ีความรู้ความเข้าใจ มที ักษะและมคี วามเช่ียวชาญ

ในการประกอบอาชพี และเทคโนโลยที ่ีเก่ยี วขอ้ ง
1.3.2 ผลติ บณั ฑติ ท่ีสามารถปฏิบัติหน้าท่ีสอดคลอ้ งตามจรรยาบรรณวิชาชีพ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม มคี วาม

รับผิดชอบต่อสังคม

1.3.3 ผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะทางภาษา และใช้เทคโนโลยีอย่าง
เหมาะสมเพอื่ ช่วยในการทำงาน

1.3.4 ผลิตบัณฑิตที่มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความเป็น
ผู้นำ มีความสามารถพึ่งตนเองและเป็นที่พึ่งของผู้อื่น สามารถปรับตัวและพัฒนาตนเองต่อสภาพแวดล้อมที่มีการ
เปลีย่ นแปลง

1.3.5 ผลิตบัณฑิตที่มีความแข็งแกร่งด้านวิชาการ มีศักยภาพในการแก้ปัญหาและพัฒนางานด้าน
วิศวกรรมยานยนตห์ รอื นวัตกรรมในระดับท่สี งู ข้ึน

1.3.6 สร้างเสรมิ เอื้ออำนวยใหเ้ กดิ การผลติ ผลงานทางวชิ าการและงานวจิ ยั ระดบั ชาติ และ นานาชาติ
การบริการวิชาการต่อสงั คม การใช้ประโยชน์จากการสะสมองค์ความร้ตู ่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและสงั คมในระดับทีส่ งู ข้ึน

2. แผนพฒั นาปรับปรงุ กลยทุ ธ์ หลกั ฐาน/ตวั บง่ ชี้

แผนการพัฒนา/เปลย่ี นแปลง 1.ติดตามประเมนิ หลักสตู รอย่าง 1.1 เอกสารการปรับปรุงหลกั สตู ร
1. ปรับปรงุ หลักสูตรใหม้ ีมาตรฐานตามเกณฑ์ สม่ำเสมอ 1.2 รายงานผลการประเมนิ หลักสูตร
มาตรฐานหลกั สูตร ของสกอ.

10

แผนการพฒั นา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ตวั บ่งช้ี
2. ปรับปรงุ หลกั สูตรให้ทนั สมยั สอดคล้องกบั
ความก้าวหน้าทางวิชาการ ความต้องการของ 2. ติดตามประเมนิ ผลความตอ้ งการ 2.1 รายงานผลความพงึ พอใจของ
ตลาด/ผู้ใช้บัณฑิค/การเปลีย่ นแปลงทาง
เทคโนโลยี ของผปู้ ระกอบการในอตุ สาหกรรมที่ ผู้ใชบ้ ัณฑติ
3. พฒั นาคณาจารย์/บุคลากรดา้ นการเรียน
การสอนและการบริการวชิ าการ เก่ียวข้องกับสาขาวิศวกรรมยานยนต์ 2.2 ความพงึ พอใจในความรู้ความสามารถ

4. ปรบั ปรงุ วธิ กี ารเรียนการสอน สมัยใหม่ และปรบั หลกั สตู รใหท้ นั การใชเ้ ทคโนโลยี/ทกั ษะการทำงานในระดบั ดี

5. ปรบั ปรุงวิธีการวัดและประเมินผล ต่อการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี
6. ปรับปรงุ ปัจจัยสนบั สนนุ การเรียนการ
สอน 3.1 อาจารยท์ กุ คนโดยเฉพาะ 3.1.1 ความสามารถในการวดั และ

อาจารยใ์ หมต่ อ้ งเข้ารบั การฝึกอบรม ประเมนิ ผลของหลักสตู ร

เก่ียวกับหลักสูตรการสอนรปู แบบ 3.1.2 ปรมิ าณงานบริการวชิ าการตอ่

ต่างๆ และการวัดผล ประเมนิ ผล อาจารย์ในหลกั สูตร

ทั้งนเี้ พอ่ื ให้มีความรคู้ วามสามารถ

ในการประเมนิ ผลตามกรอบ

มาตรฐานคุณวุฒทิ ่ผี สู้ อนจะตอ้ ง

สามารถวัดและประเมินผลได้เป็น

อย่างดี

3.2 สนับสนนุ อาจารยใ์ หท้ ำงาน 3.2 รายงานผลประเมินความพงึ พอใจของ

บริการวิชาการแก่องคก์ รภายนอก ผ้ใู ช้บริการวิชาการ

3.3 ส่งเสรมิ ให้มีการนำความรทู้ ้งั 3.3 จำนวนโครงการ/กจิ กรรมทเี่ ป็น

จากภาคทฤษฎแี ละปฎิบัตแิ ละ ประโยชน์ตอ่ ชุมชนและความบรรลุผล

งานวิจัยไปใช้จริงเพื่อทำประโยชน์ สำเร็จ

ใหแ้ ก่ชุมชน

4.1 สนับสนนุ ใหอ้ าจารยม์ อบหมาย 4.1 จำนวนรายวิชาทีใ่ ชง้ านผา่ นระบบ
งานในแตล่ ะรายวชิ าผา่ นระบบทาง
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-learning)

5.1 วิเคราะห์ข้อสอบ 5.1 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ สอบ
5.2 วเิ คราะห์ผลสมั ฤทธิท์ างการ 5.2ผลการวิเคราะหผ์ ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของ
เรยี นของนักศึกษา นักศกึ ษา
6.1 รายงานการสำรวจจำนวนอุปกรณ์
6.1 สำรวจความต้องการของการ
เรียนการสอน 6.2.1 จำนวนเงนิ ทนุ
6.2 จัดหาและจดั สรรทนุ เพอ่ื 6.2.2 จำนวนเงินคา่ ใชจ้ ่าย
ปรับปรงุ ปจั จัยสนบั สนนุ การเรียน 6.2.3 จำนวนอปุ กรณ์/กิจกรรม/โครงการที่
การสอนใหม้ ีความทนั สมัยและมี ปรับปรุงปัจจัยสนบั สนนุ การเรยี นการสอน
ประสิทธิภาพยิง่ ขึน้

11

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดำเนนิ การ และโครงสร้างหลักสตู ร

1. ระบบการจดั การศกึ ษา
1.1 ระบบ

หลกั สตู รนจี้ ัดการศึกษาระบบทวิภาค โดยหนึง่ ปีการศึกษาแบง่ ออกเปน็ 2 ภาคการศกึ ษาโดยมีระยะเวลาการศึกษา
ไมน่ อ้ ยกวา่ 15 ชั่วโมงตอ่ หนว่ ยกิต และ/หรอื 15 สัปดาห์ ต่อภาคการศกึ ษาและอาจจัดภาคฤดรู ้อนด้วยได้ ข้อกำหนดต่างๆ
ให้เปน็ ไปตามข้อบังคบั มหาวทิ ยาลัยศรีปทมุ วา่ ดว้ ยการศกึ ษาระดับปริญญาตรี (ภาคผนวก จ)

1.2 การจดั การศึกษาในภาคฤดรู ้อน
อาจจัดภาคฤดูรอ้ นด้วย โดยมีระยะเวลาการศึกษาไมน่ ้อยกวา่ 15 ชวั่ โมงต่อหนว่ ยกติ และ/หรือ 8
สัปดาห์ ขอ้ กำหนดต่างๆ ใหเ้ ป็นไปตามขอ้ บงั คบั มหาวิทยาลัยศรปี ทมุ ว่าด้วยการศกึ ษาระดับปริญญาตรี

1.3 การเทียบเคยี งหน่วยกติ ในระบบทวิภาค
ไม่มี

2. การดำเนินการหลักสตู ร

2.1 วัน-เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน

จัดการเรียนการสอนท้ังในและนอกเวลาราชการ

ภาคการศกึ ษาที่ 1 เดอื นสงิ หาคม - เดือนธันวาคม

ภาคการศึกษาท่ี 2 เดือนมกราคม - เดอื นพฤษภาคม

ภาคฤดูร้อน เดอื นมิถุนายน - เดือนกรกฎาคม

2.2 คณุ สมบัตขิ องผูเ้ ข้าศึกษา

(1) การเข้าศกึ ษา

- ตอ้ งสำเร็จการศกึ ษาไมต่ ำ่ กวา่ มธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรือเทียบเท่า

- เป็นผสู้ ำเร็จการศกึ ษาประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชั้นสูงหรือเทียบเทา่ หรืออนปุ รญิ ญา

- เปน็ ไปตามข้อบงั คับมหาวิทยาลยั ศรปี ทุมวา่ ดว้ ยการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี

(2) การคดั เลือกผเู้ ข้าศึกษา
- นกั เรยี นทเ่ี ขา้ ศกึ ษาโดยระบบคดั เลือกของสำนกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

- นกั เรียนทมี่ หาวทิ ยาลัยศรีปทุม เปน็ ผูด้ ำเนินการคดั เลือกเอง
- โดยคณาจารย์ประจำหลักสูตรด้วยวิธีการสอบข้อเขียน และ/หรือการสอบสัมภาษณ์รวมท้ัง

พิจารณาจากผลการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและคะแนนสอบโดยระบบคัดเลือกของสำนักงาน
คณะกรรมการการอดุ มศึกษา (สกอ.)

2.3 ปญั หาของนักศกึ ษาแรกเขา้

ปญั หาการปรับตัวจากการเรียนในระดับมัธยมศึกษา มาเป็นการเรยี นท่มี รี ูปแบบแตกต่างไปจากเดิมท่ีคุ้นเคย
มีสังคมกว้างขึ้น ต้องดูแลตนเองมากขึ้น มีกิจกรรมทั้งการเรียนในห้องและกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่นักศึกษาต้อง
สามารถจัดแบ่งเวลาให้เหมาะสม นอกจากนี้คือปัญหาด้านความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และทักษะการใช้
ภาษาองั กฤษ ทัง้ การเรียนในห้องเรยี นและการศึกษาจากตำราเรยี นทีเ่ ป็นภาษาอังกฤษ

2.4 กลยทุ ธ์ในการดำเนนิ การเพ่ือแก้ไขปญั หา/ขอ้ จำกัดของนักศกึ ษาในข้อ 2.3

12

2.4.1 กลยุทธ์ในการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหานักศึกษาด้านการปรับตัว ทางสาขาวิชาฯ จะจัดให้มีการ
ดูแลอย่างใกล้ชิดโดยอาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษารุ่นพี่ พร้อมทั้งได้มีการจัดโครงการเสริมหลักสูตรที่เหมาะสม
ใหก้ บั นักศกึ ษา

2.4.2 กลยทุ ธ์ในการแกไ้ ขปัญหาด้านพืน้ ฐานทางคณิตศาสตรม์ ีการสอนเสริมทกั ษะทางดา้ นคณติ ศาสตร์
2.4.3 กลยุทธ์ในการแก้ไขปัญหาด้านพื้นฐานทางภาษาอังกฤษ มีการเริ่มสอดแทรกเนื้อหาที่เป็น
ภาษาองั กฤษเพมิ่ มากขนึ้ ตามลำดบั ช้นั ปขี องนกั ศึกษา

2.5 แผนการรบั นกั ศกึ ษาและจำนวนผสู้ ำเร็จการศกึ ษาในระยะเวลา 5 ปี

ชน้ั ปี จำนวนนกั ศกึ ษา (คน) 2566
ปกี ารศึกษา 2562 2563 2564 2565
120
ชนั้ ปที ่ี 1 120 120 120 120 100
90
ชั้นปีท่ี 2 100 100 100 80
390
ชนั้ ปีท่ี 3 90 90 80

ชน้ั ปีที่ 4 80

รวม 120 220 310 390

จำนวนบณั ฑติ - - - 80

2.6 งบประมาณตาม แผน
งบประมาณค่าใชจ้ า่ ยตอ่ หัวตอ่ ปี(สูงสุด) 75,000 บาท
งบประมาณค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร 300,000 บาท

2.7 ระบบการศึกษา
แบบช้ันเรยี น ท้งั น้ีในบางรายวชิ าอาจมีการเรยี นด้วยสื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Learning) เพ่มิ เติมได้ตามความ

เหมาะสม

2.8 การเทียบโอนหน่วยกติ รายวชิ าและการลงทะเบยี นข้ามหาวทิ ยาลยั
เป็นไปตามข้อบงั คับมหาวิทยาลยั ศรปี ทุมว่าดว้ ยการศึกษาระดบั ปริญญาตรี

3. หลักสูตรและอาจารยผ์ สู้ อน 30 หนว่ ยกติ
3.1 หลกั สตู ร 113 หนว่ ยกติ

3.1.1 จำนวนหน่วยกิต 35 หน่วยกิต
ตลอดหลกั สตู ร 149 หนว่ ยกิต 21 หนว่ ยกติ
14 หนว่ ยกิต
3.1.2 โครงสร้างหลกั สตู ร
57 หน่วยกิต
(1) หมวดวิชาศกึ ษาทั่วไป
(2) หมวดวิชาเฉพาะ

(2.1) วชิ าพนื้ ฐานวชิ าชพี
- รายวิชาพนื้ ฐานทางคณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์
- รายวิชาพืน้ ฐานทางวศิ วกรรมศาสตร์

(2.2) วชิ าชพี บังคับ

13

(2.3) วิชาชีพเลือก 15 หนว่ ยกิต

(2.4) วิชาศาสตรอ์ น่ื 6 หนว่ ยกิต

(3) หมวดวชิ าเลอื กเสรี 6 หน่วยกติ

3.1.3 รายวิชา

ความหมายของรหัสวิชา

วิชา AEGxxx

AEG หมายถงึ รายวชิ าวศิ วกรรมยานยนต์ (Automotive Engineering)

EGR หมายถงึ รายวชิ าพน้ื ฐานวศิ วกรรม (General Engineering)

IEG หมายถึงรายวชิ าวิศวกรรมอตุ สาหการ (Industrial Engineering)

MEG หมายถึงรายวิชาวิศวกรรมเครื่องกล (Mechanical Engineering)

REG หมายถึงรายวิชาวิศวกรรมระบบราง (Railway Engineering)

หลักร้อย หมายถึง ช้ันปที ่ีควรเรียน

หลักสบิ หมายถึง กลมุ่ ประเภทวชิ า

หลักหน่วย หมายถงึ ลำดบั วชิ าในแตล่ ะกลุม่

(1) หมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไป 30 หน่วยกติ

เลือกจากรายวชิ าทก่ี ำหนดในหมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป มหาวิทยาลัยศรีปทุม โดยไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะ

(2) หมวดวิชาเฉพาะ 113 หน่วยกติ
(2.1) วชิ าพนื้ ฐานวิชาชพี 35 หนว่ ยกิต

หนว่ ยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศกึ ษาดว้ ยตนเอง)

รหสั วชิ า ชือ่ วชิ า หนว่ ยกติ
CHM100
CHM110 เคมีทัว่ ไป 3(3-0-6)
MAT115 (General Chemistry)
MAT116
MAT215 ปฏิบตั ิการเคมีทวั่ ไป 1(0-3-1)
PHY111
PHY121 (General Chemistry Laboratory)
PHY212
แคลคลู สั สำหรบั วิศวกร 1 3(3-0-6)

(Calculus for Engineer 1)

แคลคลู ัสสำหรบั วิศวกร 2 3(3-0-6)

(Calculus for Engineer 2)

แคลคลู ัสสำหรบั วิศวกร 3 3(3-0-6)

(Calculus for Engineer 3)

ฟสิ ิกส์ 1 3(3-0-6)

(Physics 1)

ปฏิบัตกิ ารฟิสกิ ส์ 1 1(0-3-1)

(Physics Laboratory 1)

ฟสิ กิ ส์ 2 3(3-0-6)

(Physics 2)

14

รหสั วชิ า ชื่อวิชา หนว่ ยกติ
PHY222 1(0-3-1)
EGR102 ปฏบิ ัติการฟิสิกส์ 2 3(2-3-5)
EGR109 (Physics Laboratory 2) 1(0-2-1)
EGR110 1(0-3-1)
EGR205 เขยี นแบบวศิ วกรรม 3(2-3-5)
EGR210 (Engineering Drawing) 3(3-0-6)
EGR221 3(3-0-6)
แนะนำวิชาชีพวศิ วกร
(Introduction to Engineering Profession)

การฝกึ ฝีมือช่างเบอ้ื งต้น
(Workshop Practice)

โปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ ำหรบั วศิ วกร
(Computer Programming for Engineers)
วัสดวุ ศิ วกรรม
(Engineering Materials)

กลศาสตรว์ ศิ วกรรม 1
(Engineering Mechanics 1)

(2.2) วชิ าชพี บงั คบั 57 หน่วยกติ

รหัสวิชา ช่อื วชิ า หน่วยกิต

AEG361 พืน้ ฐานกลศาสตรย์ านยนต์ 3(3-0-6)
(Fundamental of Vehicle Mechanics)

AEG456 ระบบควบคุมยานยนต์ 3(3-0-6)
(Automotive Control System)

AEG498 เตรียมสหกจิ ศึกษาวศิ วกรรมยานยนต์ 3(1-4-4)
(Automotive Engineering Pre-Cooperative

Education)

AEG499 สหกิจศึกษาวิศวกรรมยานยนต์ 6(0-40-0)
(Automotive Engineering Cooperative Education)

EEG201 พนื้ ฐานวศิ วกรรมไฟฟ้า 1 3(3-0-6)
(Principles of Electrical Engineering 1)

EGR212 ปฏบิ ัติการทดสอบวัสดุ 1(0-3-1)
EGR222 (Materials Testing Laboratory) 3(3-0-6)

กลศาสตร์วศิ วกรรม 2
(Engineering Mechanics 2)

IEG321 กระบวนการผลติ 3(3-0-6)
(Manufacturing Processes)

MEG223 กลศาสตร์ของวสั ดุ 3(3-0-6)

(Mechanics of Materials)

MEG303 ปฏบิ ตั กิ ารกลศาสตรข์ องไหล 1(0-3-1)

15

รหสั วิชา ชือ่ วิชา หนว่ ยกิต
MEG304 1(0-3-1)
MEG305 (Fluid Mechanics Laboratory) 1(0-3-1)
MEG306 1(0-3-1)
MEG320 ปฏบิ ตั ิการยานยนต์ 3(3-0-6)
MEG331 (Automotive Laboratory) 3(3-0-6)
MEG341 3(3-0-6)
MEG343 ปฏิบตั กิ ารอณุ หพลศาสตรแ์ ละการถ่ายเทความร้อน 1(0-3-1)
MEG347 (Thermodynamics and Heat Transfer Laboratory) 3(2-3-5)
MEG361 ปฏบิ ัติการพลศาสตรแ์ ละระบบควบคุม 3(3-0-6)
MEG371 (Dynamics and Control System Laboratory) 3(3-0-6)
MEG372 3(3-0-6)
MEG452 กลศาสตรเ์ ครอื่ งจกั รกล 3(3-0-6)
(Mechanics of Machinery)

อณุ หพลศาสตร์ 1
(Thermodynamics 1)

การออกแบบเคร่อื งจักรกล 1
(Machine Design 1)

ปฏิบตั กิ ารออกแบบเครอ่ื งจักรกลดว้ ยคอมพวิ เตอร์
(Computer Aided Machine Design Laboratory)

คอมพิวเตอรช์ ว่ ยการออกแบบทางวิศวกรรมเคร่ืองกล
(Computer Aided Mechanical Engineering Design)

เครอื่ งยนต์สนั ดาปภายในและชดุ ต้นกำลงั
(Internal Combustion Engine and Propulsion Unit)

กลศาสตร์ของไหล 1
(Fluid Mechanics 1)

การถา่ ยเทความร้อน
(Heat Transfer)

การส่ันสะเทอื นทางกล
(Mechanical Vibrations)

หมายเหตุ นกั ศกึ ษาที่ไมส่ ามารถเรียนรายวิชา AEG498 เตรียมสหกิจศกึ ษาวิศวกรรมยานยนต์ และ AEG499 สหกจิ
ศึกษาวศิ วกรรมยานยนต์ ให้เลือกเรียนรายวิชาดังต่อไปน้ีแทน โดยไดร้ ับอนมุ ัติจากคณะ

รหัสวิชา ช่ือวชิ า หน่วยกติ
AEG393 3(0-35-0)
การฝึกงานวิศวกรรมยานยนต์
AEG391 (Automotive Engineering Practice) 3(0-9-3)

AEG392 การพฒั นาโครงงานทางวิศวกรรมยานยนต์ 3(0-9-3)
(Project Development in Automotive Engineering)

โครงงานทางวิศวกรรมยานยนต์
(Project in Automotive Engineering)

16

(2.3) วิชาชพี เลือก 15 หนว่ ยกิต

ใหน้ ักศกึ ษาเลอื กจากรายวิชากลมุ่ วิชาใดกลมุ่ วชิ าหน่ึงต่อไปน้ี จำนวนไมน่ ้อยกว่า 15 หน่วยกิต ทั้งน้ตี ้องไดร้ ับ

ความเหน็ ชอบจากคณะ

กลมุ่ รถไฟฟ้า (Electric Vehicle)

รหสั วิชา ช่อื วิชา หนว่ ยกติ
3(2-3-5)
AEG304 เทคโนโลยยี านยนต์ไฟฟา้ 3(2-3-5)
3(2-3-5)
(Electric Vehicle Technology) 3(2-3-5)
3(2-3-5)
AEG305 เทคโนโลยีบรกิ ารยานยนต์ 3(3-0-6)
3(2-3-5)
(Automotive Service Technology)

AEG362 ระบบรองรบั น้ำหนักและส่งกำลัง

(Automotive Suspension and Power Trains System)

AEG365 ไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์ยานยนต์

(Automotive Electrical and Electronics System)

AEG452 หน่วยควบคมุ อเิ ล็กทรอนิกส์ของยานยนต์

(Electronics Controlled Unit for Automotive)

AEG461 เทคโนโลยียานยนต์ติจิตอล

(Digital Automotive Technology)

AEG490 หวั ข้อเฉพาะดา้ นวิศวกรรมยานยนต์

(Special Topics in Automotive Engineering)

กลมุ่ กฬี ารถแข่ง (Motor Sport)

รหสั วิชา ช่อื วิชา หนว่ ยกติ
3(2-3-5)
AEG305 เทคโนโลยีบรกิ ารยานยนต์ 3(2-3-5)
3(2-3-5)
(Automotive Service Technology) 3(2-3-5)
3(2-3-5)
AEG341 การออกแบบและการผลิตโดยใช้คอมพวิ เตอรช์ ว่ ย
3(3-0-6)
(CAD/CAM)

AEG362 ระบบรองรบั นำ้ หนักและสง่ กำลงั

(Automotive Suspension and Power Trains System)

AEG365 ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ยานยนต์

(Automotive Electrical and Electronics System)

AEG441 การใชค้ อมพิวเตอร์ชว่ ยในการวเิ คราะห์ทางวศิ วกรรมสำหรบั

วิศวกรรมยานยนต์

(Computer Aided Engineering for Automotive

Engineering)

AEG471 เทคโนโลยียานยนต์สำหรบั การแข่งขัน

(Automotive Motor Sport Technology)

17

รหสั วิชา ชอ่ื วชิ า หนว่ ยกติ
AEG472 3(2-3-5)
เทคโนโลยีรถแข่งฟอรม์ ลู ารว์ นั
AEG473 (Formular-One Technology) 3(3-0-6)

AEG490 การจัดการแขง่ ขันรถแขง่ 3(2-3-5)
(Motor Sport Engineering Management)

หวั ข้อเฉพาะดา้ นวศิ วกรรมยานยนต์
(Special Topics in Automotive Engineering)

กลมุ่ ยานพาหนะทางราง (Railway Vehicle)

รหสั วชิ า ชอ่ื วิชา หน่วยกิต
3(2-3-5)
AEG490 หัวขอ้ เฉพาะดา้ นวศิ วกรรมยานยนต์ 3(3-0-6)
3(3-0-6)
(Special Topics in Automotive Engineering) 3(3-0-6)
3(3-0-6)
REG201 แนะนำระบบราง 3(3-0-6)
3(3-0-6)
(Introduction to Railway System) 3(3-0-6)
3(3-0-6)
REG337 อุปกรณ์ทางกลของรถรางไฟฟา้ 3(3-0-6)
3(3-0-6)
(EMU Mechanical Device)

REG338 ระบบโครงขา่ ยและการควบคมุ รถรางไฟฟา้

(EMU Network and Control System)

REG339 อปุ กรณ์หวั รถจักรไฟฟา้

(Locomotive Electrical Equipment)

REG340 เคร่ืองจกั รกลหัวรถจักรไฟฟา้

(Locomotive Machinery)

REG341 ระบบควบคมุ หัวรถจกั รไฟฟา้

(Locomotive Control System)

REG351 เทคโนโลยตี วั รถระบบราง

(Rolling Stock Technology)

REG419 การบำรุงรกั ษายานพาหนะทางราง

(Maintenance of Railway Vehicles)

REG422 การบำรุงรักษาเคร่ืองจกั รกลทางราง

(Railway Machinery Maintenance)

REG431 รถไฟความเร็วสงู เบอ้ื งต้น

(Introduction to High speed Railway)

(2.4) วิชาศาสตร์อืน่ 6 หน่วยกิต

นักศกึ ษาเลอื กเรยี นรายวชิ าจากกลมุ่ วิชาโท หรือวชิ าชีพเอก/วิชาชพี หรือวิชาแกน/วิชาชีพพืน้ ฐาน

ของหลักสูตรทเ่ี ปดิ สอนในระดบั ปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยศรีปทมุ ทงั้ นตี้ ้องไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะ

(3) หมวดวิชาเลอื กเสรี 6 หน่วยกิต

18

นักศกึ ษาเลือกจากรายวิชาทีเ่ ปดิ สอนในระดับปริญญาตรขี องมหาวิทยาลยั ศรีปทมุ ท้งั หลกั สูตรภาษาไทยและ
หลกั สูตรนานาชาติ ท้ังน้ตี อ้ งไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะ

19

3.1.4 แสดงแผนการศกึ ษา

ปที ี่ 1 / ภาคการศกึ ษาท่ี 1

รหสั วิชา ชื่อวิชา หนว่ ยกิต
(บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดว้ ยตนเอง)

EGR109 แนะนำวิชาชีพวิศวกร 1(0-2-1)

EGR110 การฝกึ ฝีมอื ช่างเบ้ืองต้น 1(0-3-1)

EGR205 โปรแกรมคอมพิวเตอรส์ ำหรับวศิ วกร 3(2-3-5)

MAT115 แคลคลู ัสสำหรบั วิศวกร 1 3(3-0-6)

PHY111 ฟสิ ิกส์ 1 3(3-0-6)

PHY121 ปฏิบัติการฟิสิกส์ 1 1(0-3-1)

กล่มุ สาขาวิชามนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2

กลุ่มสาขาวิชาคณติ ศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ 1

กลมุ่ สาขาวชิ าภาษาและการสื่อสาร 2

กลุม่ สาขาวิชาคณติ ศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ 2

รวม 19 หน่วยกิต

ปีท่ี 1 / ภาคการศึกษาที่ 2

รหสั วิชา ชือ่ วชิ า หน่วยกิต
(บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศึกษาดว้ ยตนเอง)

CHM100 เคมที วั่ ไป 3(3-0-6)

CHM110 ปฏบิ ัตกิ ารเคมีทว่ั ไป 1(0-3-1)

EGR102 เขยี นแบบวิศวกรรม 3(2-3-5)

EGR221 กลศาสตรว์ ศิ วกรรม 1 3(3-0-6)

MAT116 แคลคลู สั สำหรับวิศวกร 2 3(3-0-6)

PHR100 สขุ ภาพและการออกกำลังกาย 1

กลุ่มสาขาวิชาคณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ 2

กลุ่มสาขาวิชาภาษาและการสอื่ สาร 2

กลุ่มสาขาวชิ าภาษาและการสอื่ สาร 2

รวม 20 หนว่ ยกิต

รวมหน่วยกิตปที ่ี 1 39 หน่วยกติ

รวมหนว่ ยกิตสะสม 39 หนว่ ยกติ

20

ปที ่ี 2 / ภาคการศึกษาท่ี 1

รหัสวิชา ช่อื วชิ า หน่วยกติ
(บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศกึ ษาดว้ ยตนเอง)
EGR210 วสั ดวุ ศิ วกรรม
EGR212 ปฏบิ ัติการทดสอบวสั ดุ 3(3-0-6)
1(0-3-1)
MAT215 แคลคลู สั สำหรับวิศวกร 3 3(3-0-6)
MEG223 กลศาสตร์ของวัสดุ 3(3-0-6)
MEG304 ปฏบิ ตั ิการยานยนต์ 1(0-3-1)
3(3-0-6)
PHY212 ฟิสิกส์ 2 1(0-3-1)
PHY222 ปฏิบัติการฟิสิกส์ 2
2
กลุ่มสาขาวิชาคณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ 2
กลุ่มสาขาวิชาภาษาและการสอ่ื สาร 1
กลุ่มวชิ ามนุษยศ์ าสตรแ์ ละสังคมศาสตร์
รวม 20 หนว่ ยกติ

ปที ี่ 2 / ภาคการศึกษาท่ี 2

รหสั วิชา ชอ่ื วิชา หน่วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศกึ ษาด้วยตนเอง)
EGR222 กลศาสตรว์ ิศวกรรม 2
3(3-0-6)
MEG331 อณุ หพลศาสตร์ 1 3(3-0-6)
MEG371 กลศาสตร์ของไหล 1 3(3-0-6)
MEG303 ปฏิบัติการกลศาสตร์ของไหล 1(0-3-1)

กลุ่มสาขาวชิ ามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2
กลมุ่ สาขาวชิ าภาษาและการส่อื สาร 2
3
วชิ าเลือกเสรี 1 3
วชิ าชพี เลือก 1
รวม 20 หนว่ ยกติ

รวมหน่วยกิตปที ่ี 2 40 หนว่ ยกิต
รวมหนว่ ยกิตสะสม 79 หนว่ ยกิต

21

ปที ่ี 3 / ภาคการศึกษาที่ 1

รหสั วิชา ช่อื วิชา หน่วยกติ
(บรรยาย-ปฏบิ ตั ิ-ศกึ ษาดว้ ยตนเอง)
AEG361 พน้ื ฐานกลศาสตร์ยานยนต์
EEG201 พน้ื ฐานวิศวกรรมไฟฟา้ 1 3(3-0-6)
3(3-0-6)
IEG321 กระบวนการผลติ 3(3-0-6)
MEG305 ปฏิบตั กิ ารอณุ หพลศาสตรแ์ ละการถา่ ยเทความร้อน 1(0-3-1)
MEG320 กลศาสตรเ์ ครื่องจกั รกล 3(3-0-6)
3(3-0-6)
MEG372 การถ่ายเทความร้อน
วิชาชพี เลือก 2 3
2
กลุ่มสาขาวิชาภาษาและการสื่อสาร
รวม 21 หน่วยกิต

รหสั วชิ า ปที ี่ 3 / ภาคการศกึ ษาที่ 2 หนว่ ยกติ
(บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศกึ ษาดว้ ยตนเอง)
MEG341 ชอ่ื วิชา
MEG361 3(3-0-6)
MEG343 การออกแบบเครื่องจกั รกล 1 3(3-0-6)
MEG452 เคร่อื งยนต์สนั ดาปภายในและชุดตน้ กำลัง 1(0-3-1)
ปฏิบัติการออกแบบเครอื่ งจักรกลดว้ ยคอมพวิ เตอร์ 3(3-0-6)
การสั่นสะเทอื นทางกล
วิชาชพี เลือก 3 3
วชิ าชีพเลือก 4 3
วิชาเลอื กเสรี 2 3
กลุ่มสาขาวิชามนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2
กลุ่มสาขาวิชามนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 1

รวม 22 หนว่ ยกิต

รวมหนว่ ยกิตปีที่ 3 43 หนว่ ยกิต
รวมหน่วยกิตสะสม 122 หนว่ ยกิต

22

ปที ่ี 4 / ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวชิ า ช่ือวิชา หนว่ ยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศกึ ษาดว้ ยตนเอง)
AEG456 ระบบควบคมุ ยานยนต์
MEG306 ปฏบิ ัติการพลศาสตร์และระบบควบคุม 3(3-0-6)
1(0-3-1)
MEG347 คอมพวิ เตอร์ช่วยการออกแบบทางวิศวกรรมเคร่อื งกล 3(2-3-5)
AEG498 เตรยี มสหกิจศึกษาวิศวกรรมยานยนต์ 3(1-4-4)
วิชาชีพเลือก 5
3
วชิ าศาสตรอ์ น่ื 1 3
วิชาศาสตรอ์ ่ืน 2 3
2
กลมุ่ สาขาวชิ ามนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
รวม 21 หนว่ ยกิต

ปีที่ 4 / ภาคการศกึ ษาที่ 2

รหัสวิชา ช่อื วชิ า หน่วยกิต
(บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศกึ ษาด้วยตนเอง)
AEG499 สหกจิ ศกึ ษาวศิ วกรรมยานยนต์
6(0-40-0)

รวม 6 หน่วยกติ

หมายเหตุ นักศกึ ษาท่ไี มส่ ามารถเรยี นรายวิชา AEG498 เตรยี มสหกจิ ศึกษาวิศวกรรมยานยนต์ และ AEG499 สหกจิ
ศึกษาวศิ วกรรมยานยนต์ ให้เลอื กเรียนรายวชิ าดังตอ่ ไปนแี้ ทน โดยได้รบั อนุมัตจิ ากคณะ

รหสั วิชา ชอื่ วิชา หน่วยกติ
AEG393 3(0-35-0)
การฝกึ งานวิศวกรรมยานยนต์
AEG391 (Automotive Engineering Practice) 3(0-9-3)

AEG392 การพฒั นาโครงงานทางวศิ วกรรมยานยนต์ 3(0-9-3)
(Project Development in Automotive Engineering)

โครงงานทางวิศวกรรมยานยนต์
(Project in Automotive Engineering)

รวมหนว่ ยกิตปที ี่ 4 27 หน่วยกิต
รวมหน่วยกิตสะสม 149 หนว่ ยกิต

23

3.1.5 คำอธิบายรายวชิ า

CHM100 เคมที ่วั ไป 3(3-0-6)

(General Chemistry)

ปริมาณสารสัมพนั ธ์ พนื้ ฐานทฤษฎีอะตอม คุณสมบตั ิของแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย สมดุล

เคมี สมดุลไอออนิก จลนพลศาสตร์เคมี การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม พันธะเคมี คุณสมบัติของธาตุในตารางธาตุ

ธาตุเรพรเี ซนเททีฟ กลมุ่ ธาตอุ โลหะ กลุม่ ธาตทุ รานซชิ ัน อุณหพลศาสตร์เบอ้ื งต้น กรดและเบสเคมไี ฟฟา้

CHM110 ปฏบิ ัติการเคมีท่ัวไป 1(0-3-1)

(General Chemistry Laboratory)

วชิ าบังคับก่อนหรอื ลงร่วม : CHM100 เคมีทั่วไป

หรอื ได้รบั ความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวิชา

การทดลองท่สี มั พนั ธ์กับทฤษฎีทไี่ ดศ้ ึกษาเกีย่ วกับการแยกสารผสม ปฏิกริ ิยาเคมี เปอร์เซ็นต์ของธาตุ

ในสารประกอบและสูตรอย่างง่าย การไทเทรตกรดและเบส การหาค่าคงท่ีของแก๊สและปริมาตรหน่ึงโมลของแก๊สท่ีสภาวะ

อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน ความร้อนของสารละลายและของปฏิกิริยา อัตราของปฏิกิริยา สมดุลเคมี ความ

กระด้างของนำ้ ออกซิเจนละลาย

MAT115 แคลคูลัสสำหรบั วศิ วกร 1 3(3-0-6)

(Calculus for Engineers 1)

ตรีโกณมิติและการประยุกต์เวกเตอร์ในสองและสามมิติ พีชคณิตของเวคเตอร์ ลิมิตและความ

ต่อเนือ่ ง อนุพันธแ์ ละการประยกุ ต์ใช้อนุพันธ์ ปรพิ นั ธ์และการประยุกต์ใชป้ ริพันธ์ คา่ เฉลีย่ ของฟังก์ชัน เทคนิคการหา

ปรพิ นั ธ์ การหาปรพิ นั ธต์ ามเสน้ การหาปริพันธ์ไมต่ รงแบบ

MAT116 แคลคูลัสสำหรับวิศวกร 2 3(3-0-6)

(Calculus for Engineers 2)

วชิ าบงั คบั ก่อน : MAT115 แคลคูลสั สำหรับวิศวกร 1

หรอื ไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะเจ้าของวชิ า

อนุพนั ธย์ อ่ ยของฟงั กช์ ันหลายตัวแปร กฎลูกโซ่ อนุพันธย์ ่อยอันดบั สงู การหาอัตราการเปลี่ยนแปลง

ของฟังกช์ ันหลายตัวแปร พิกัดเชิงขั้ว การหาปรพิ นั ธ์หลายช้ันในระบบพิกัดเชิงขั้ว การหาลิมิตโดยกฎโลปิตาล ลำดับ

และอนุกรม อนุกรมอนันต์ การลู่เข้าและลู่ออกของอนกุ รมอนันต์ อนุกรมกำลังและอนุกรมเทย์เลอร์ อนุกรมฟูริเยร์

เบอื้ งตน้ การหาปริพนั ธ์เชิงตวั เลข สมการเชิงอนพุ ันธ์เบอ้ื งต้น

MAT215 แคลคลู สั สำหรบั วิศวกร 3 3(3-0-6)

(Calculus for Engineers 3)

วิชาบังคับก่อน : MAT116 แคลคลู ัสสำหรับวศิ วกร 2

หรือได้รบั ความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวิชา

ระบบเวกเตอร์ของเส้นตรง ระนาบ และพื้นผิวในปริภูมิสามมิติ อนุพันธ์ของฟังก์ชันหลายตัวแปร การ

ประยุกต์อนุพันธ์ การหาค่าสงู สุดต่ำสดุ ของพ้ืนผวิ ปริพันธ์ของฟังก์ชนั หลายตัวแปร การหาปริพันธ์ตามพืน้ ผิว การหา

24

ปรพิ ันธใ์ นสนามเวคเตอร์ สมการอนพุ นั ธอ์ นั ดบั หน่ึงและการหาผลเฉลย การประยุกต์สมการเชิงอนุพันธ์อนั ดับหนึง่ สมการ
อนพุ นั ธ์อนั ดบั สองและการหาผลเฉลย ตัวแปรลาปลาซเบื้องต้น

PHY111 ฟสิ กิ ส์ 1 3(3-0-6)

(Physics 1)

การวดั และระบบหนว่ ยเอสไอ ปรมิ าณเวกเตอร์ จลนพลศาสตร์ของอนุภาค พลศาสตร์ของอนภุ าค งาน

และพลังงาน โมเมนตัม การเคลื่อนที่ของระบบอนุภาค การหมุนของวัตถแุ ข็งเกร็ง การเคลื่อนที่แบบแกว่งกวัด ความ

โนม้ ถ่วง สมดุลสถติ ของวตั ถุแข็งเกรง็ และสภาพยืดหยุ่น กลศาสตร์ของไหล คล่นื กล ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของ

แกส๊ อณุ หพลศาสตร์

PHY121 ปฏบิ ัติการฟสิ ิกส์ 1 1(0-3-1)

(Physics Laboratory 1)

วชิ าบงั คบั กอ่ นหรอื ลงร่วม : PHY111 ฟิสกิ ส์ 1

หรือไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวิชา

การทดลองที่สัมพนั ธ์กับทฤษฎีที่ไดศ้ ึกษาเกี่ยวกับการวัดและการวิเคราะห์ข้อมลู การเคลื่อนที่แบบ

โพรเจกไทล์ กฎข้อทสี่ องของนิวตัน การเคลอ่ื นท่ีแบบซมิ เปลิ ฮารม์ อนกิ การอนุรักษพ์ ลังงานกล การเคล่ือนท่ี

แบบบอลลิสติกเพนดูลัม การเคลื่อนที่แบบหมุน คลื่นนิ่งบนเส้นเชือก บีตส์ การขยายตัวเนื่องจากความร้อน การ

ขยายตวั แบบแอเดยี แบติก

PHY212 ฟิสกิ ส์ 2 3(3-0-6)

(Physics 2)

วิชาบังคับก่อนหรือลงรว่ ม : PHY111 ฟิสกิ ส์ 1

หรอื ไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวิชา

สนามไฟฟ้าสถิต ศักย์ไฟฟ้า ความจุไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าและความต้านทาน วงจรไฟฟ้ากระแสตรง

สนามและแรงแม่เหล็กสถิต แหล่งกำเนิดสนามแม่เหล็ก กฎของฟาราเดย์ ความเหนี่ยวนำ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ คล่ืน

แมเ่ หล็กไฟฟ้า อเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ บือ้ งต้น การสะทอ้ นและการหกั เหของแสง ทัศนศาสตร์เชงิ เรขาคณิต การแทรกสอดและการ

เลยี้ วเบนของคลื่นแสง ฟสิ ิกส์ยุคใหม่

PHY222 ปฏิบัตกิ ารฟสิ ิกส์ 2 1(0-3-1)

(Physics Laboratory 2)

วิชาบังคับกอ่ นหรือลงรว่ ม : PHY212 ฟิสิกส์ 2

หรือไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวิชา

การทดลองท่ีสัมพันธ์กับทฤษฎที ี่ได้ศึกษาเกีย่ วกบั กฎของคูลอมบ์ ความจุไฟฟ้าและไดอิเล็กตริก กฏ

ของโอห์มและวงจรกระแสตรง การใช้ออสซิโลสโคป การหาค่าคงตัวเวลาของวงจร RC การวัดเฟสและการเกิดเร

โซแนนซ์ในวงจรกระแสสลับ การเรียงกระแส ไดโอด สารกึ่งตัวนำ การวัดค่าสนามแม่เหล็กโลก เลนส์บางและ

ทศั นปู กรณ์ ปรากฏการณโ์ ฟโตอิเล็กตรกิ

EGR102 เขยี นแบบวศิ วกรรม 3(2-3-5)
(Engineering Drawing)

25

การเขียนตัวอักษร การฉายภาพออโธกราฟฟิก การเขียนภาพออโธกราฟฟิก การเขียนภาพพิกตอ
เรียล หลกั การใหข้ นาดและความเผอ่ื การใชว้ ิวช่วย ภาพคลี่และภาพพับ การเขียนภาพตดั มาตรฐานเขียนแบบของ
ไทยและสากล การเขียนแบบภาพแยกช้ิน และภาพประกอบ การสเก็ทซ์แบบร่าง การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการ
เขียนแบบเบ้ืองต้น

EGR109 แนะนำวิชาชีพวศิ วกร 1(0-2-1)

(Introduction to Engineering Profession)

วธิ กี ารเรยี นทางด้านวิศวกรรมใหม้ ีประสิทธภิ าพ การเตรียมตวั สู่อาชีพทางด้านวิศวกรรม โอกาสและ

แนวทางการประกอบวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ และความเปน็ มอื อาชีพตามคณุ ลักษณะบณั ฑติ ทีพ่ งึ ประสงค์

EGR110 การฝกึ ฝีมือชา่ งเบ้อื งตน้ 1(0-3-1)

(Workshop Practice)

หลักการและการใช้เครื่องมือกลต่าง ๆ ความปลอดภัย การใช้เครื่องมือและวินัยในการปฏิบัติงาน

ฝกึ ปฏบิ ัตงิ านพ้นื ฐาน เชน่ งานตะไบ งานตดั งานเจาะ งานท่อและโลหะแผ่น งานกลงึ งานทำเกลียว งานแบบหล่อ งานไม้

งานปนู งานเช่อื ม และงานไฟฟ้า

EEG201 พ้นื ฐานวิศวกรรมไฟฟ้า 1 3(3-0-6)

(Principles of Electrical Engineering 1)

หลกั พ้ืนฐานการวเิ คราะห์และปฏบิ ัติการของวงจรไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลบั (แรงดนั กระแส

กำลังไฟฟ้า) ระบบและการใช้งานเครอื่ งจกั รกลไฟฟา้ (หมอ้ แปลงไฟฟา้ มอเตอร์ เครื่องกำเนดิ ไฟฟา้ ) ระบบไฟฟา้ กำลัง

(ระบบไฟฟา้ 1 เฟส และ 3 เฟส การส่งผ่านกำลังไฟฟ้า) พน้ื ฐานระบบควบคุมและเครอ่ื งมอื วัดทางไฟฟา้

EGR205 โปรแกรมคอมพวิ เตอร์สำหรับวศิ วกร 3(2-3-5)

(Computer Programing for Engineers)

แนวคดิ ของคอมพวิ เตอร์ สว่ นประกอบของคอมพิวเตอร์ การปฏิสมั พนั ธ์ระหว่าง ฮาร์ดแวรแ์ ละ

ซอฟตแ์ วร์ การโปรแกรมภาษาปัจจบุ ัน ปฏิบัติการการโปรแกรม

EGR210 วัสดุวศิ วกรรม 3(3-0-6)

(Engineering Materials)

ความสมั พันธ์ระหวา่ งโครงสรา้ ง คุณสมบตั ิ กระบวนการผลติ และการใช้งานของประเภทวัสดุหลักที่

ถูกใช้ทางวิศวกรรม เช่น โลหะ พลาสติก โพลีเมอร์ เซรามิกส์ วัสดุผสม แอสฟัลต์ ไม้ และคอนกรีต การทดสอบ

และความหมายของคุณสมบตั ทิ างกลของวัสดุ การเสื่อมสภาพของวัสดุ

EGR212 ปฏิบัติการทดสอบวสั ดุ 1(0-3-1)

(Materials Testing Laboratory)

วชิ าบังคับกอ่ นหรือลงรว่ ม : EGR210 วัสดวุ ิศวกรรม

หรือได้รับความเห็นชอบจากคณะเจา้ ของวชิ า

การทดสอบทางกลของวสั ดุ การหาความแข็งและความทนแรงดึง การทดสอบโดยการถ่ายภาพจุลภาค

กรรมวธิ ีทางความรอ้ น การทดสอบโดยไมท่ ำลายและการทดสอบพ้นื ฐานอ่ืนๆ

26

EGR221 กลศาสตร์วศิ วกรรม 1 3(3-0-6)

(Engineering Mechanics 1)

วิชาบังคับกอ่ นหรือลงร่วม : PHY111 ฟสิ กิ ส์ 1

หรอื ได้รับความเหน็ ชอบจากคณะเจ้าของวิชา

เวกเตอร์ การสมดุล และผลลัพธ์ของระบบแรง แผนผงั วตั ถอุ ิสระ สมดุลของอนภุ าค จดุ ศนู ย์ถ่วงและจุด

เซ็นทรอยด์ สมมูลของระบบแรงและโมเมนต์ สมดุลของวัตถุแข็งเกร็ง แรงเสียดทาน การวิเคราะห์โครงสร้างอย่างง่าย

งานเสมอื นและเสถียรภาพ พลศาสตรเ์ บ้ืองต้น

EGR222 กลศาสตรว์ ศิ วกรรม 2 3(3-0-6)

(Engineering Mechanics2)

วชิ าบังคบั กอ่ น : EGR221 กลศาสตร์วศิ วกรรม 1

หรือไดร้ ับความเหน็ ชอบจากคณะเจ้าของวิชา

กฏการเคลอ่ื นที่ของนิวตัน จลนศาสตร์ (kinematics) และ จลนพลศาสตร์ (kinetics) ของอนภุ าคและวัตถุ

แขง็ เกรง็ งานและพลังงาน อมิ พัลสแ์ ละโมเมนตมั

AEG304 เทคโนโลยยี านยนต์ไฟฟ้า 3(2-3-5)

(Electric Vehicle Technology)

เทคโนโลยียานยนตไ์ ฟฟา้ ยานยนตไ์ ฮบรดิ เทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลงิ เทคโนโลยแี บตเตอร่ี ตัว

เก็บประจุไฟฟ้าความจุสูง เครื่องประจุแบตเตอรี่ อิเล็กทรอนิกส์กำลังและระบบขับเคลื่อน แบบจำลองและการ

วเิ คราะห์สมรรถนะของยานยนตไ์ ฟฟ้า มาตรฐานความปลอดภัยของยานยนตไ์ ฟฟา้

AEG305 เทคโนโลยีบริการยานยนต์ 3(2-3-5)

(Automotive Service Technology)

ทฤษฎีและปฏบิ ตั ิงานบรกิ ารยานยนต์ เทคโนโลยกี ารวัดและเคร่อื งมือวัด การวิเคราะหแ์ ละซ่อมบำรงุ

ทางด้านระบบโครงสร้างและสว่ นประกอบของระบบยานยนต์ การบริหารจดั การทางด้านการซ่อมบำรงุ ยานยนต์

AEG341 การออกแบบและการผลติ โดยใช้คอมพิวเตอรช์ ่วย 3(2-3-5)

(CAD/CAM)

พื้นฐานเกีย่ วกับ CAD/CAM แนวคดิ พืน้ ฐานของ CAD/CAM/ CAE กลยุทธ์และการออกแบบ

ผลติ ภัณฑ์ แนวคิดแบบจำลองสามมิติ เทคนคิ สำหรบั แบบจำลองรปู ทรงเชงิ เรขาคณิต การออกแบบผิวและ การ

วเิ คราะหก์ ารออกแบบ แนวคดิ การผลิตโดยใช้คอมพิวเตอรช์ ว่ ย การเช่ือมต่อระหว่างการออกแบบและการผลิต แนว

ทางการพัฒนา ผลิตภณั ฑ์ การประดษิ ฐ์การควบคุมเชิงตวั เลขและการตรวจสอบความถูกตอ้ ง การเชอื่ มตอ่ สู่การผลติ

มาตรฐานและการสง่ ข้อมูลจาก CAD สู่ CAM พ้ืนฐานเกี่ยวกับ CIM การสร้างต้นแบบรวดเรว็

AEG361 พ้ืนฐานกลศาสตรย์ านยนต์ 3(3-0-6)
(Fundamental of Vehicle Mechanics)
วิชาบงั คับก่อน : EGR221 กลศาสตร์วศิ วกรรม 1

หรือไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวิชา

27

แนวคิดการออกแบบยานยนต์สมยั ใหม่ การเรง่ ความเร็ว สมรรถนะเบรก แรงกระทำในชนิ้ ส่วนต่างๆ
ของยานยนต์ แรงขบั และแรงต้านการเคลอ่ื นท่ี สมรรถนะเครือ่ งยนต์และการเปล่ียนแปลง ความเสถยี รในการเข้าโค้ง
พลศาสตรก์ ารขับข่ี ระบบบังคบั เลีย้ ว ระบบรองรบั ลักษณะยาง พลศาสตร์การกลิง้ กลศาสตรข์ องการถา่ ยโอนนำ้ หนัก
ยานยนต์

AEG362 ระบบรองรับน้ำหนกั และส่งกำลัง 3(2-3-5)

(Automotive Suspension and Power Trains System)

ทฤษฎีและปฏิบัติการเกี่ยวกับระบบส่งกำลัง ระบบคลัทช์เกยี ร์และเฟืองท้าย ระบบบังคับเลี้ยว มุม

ลอ้ ระบบการรองรบั น้ำหนัก ระบบเบรค ลอ้ และยาง ระบบควบคุมอตั โนมัตแิ ละเทคโนโลยสี ำหรบั ยานยนต์สมยั ใหม่

AEG365 ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ สย์ านยนต์ 3(2-3-5)

(Automotive Electrical and Electronics System)

ทฤษฎีและปฏิบัติ เกี่ยวกับระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ในยานยนต์ ไดนาโม แบตเตอร่ี

วงจรไฟฟ้ายานยนต์ ระบบจุดระเบดิ ระบบประจุไฟ ระบบแสงสว่าง ระบบอำนวยความสะดวกและความปลอดภยั

AEG391 การพฒั นาโครงงานทางวิศวกรรมยานยนต์ 3(0-9-3)

(Project Development in Automotive Engineering)

การพฒั นาหัวข้อและเตรียมการทำโครงงานวิศวกรรมยานยนตภ์ ายใต้การแนะนำของอาจารยท์ ่ีปรึกษา

ศกึ ษาปัญหาและความต้องการที่เกี่ยวข้องกบั วิศวกรรมยานยนตใ์ นอุตสากรรมหรือสงั คม การสัมมนา และทัศนศึกษาดู

งาน การพฒั นาแนวคดิ การออกแบบ ขอบเขต และวตั ถปุ ระสงค์ ของโครงงาน การออกแบบโครงงานโดยแสดงแบบทาง

วศิ วกรรม รายการคำนวณ ผังงานของโปรแกรม หรืออื่นๆ ท่ีจำเป็นตอ่ การดำเนนิ การจัดทำโครงงาน การเขยี นรายงาน

การนำเสนอ และสอบปากเปล่าโดยคณะกรรมการ

AEG392 โครงงานทางวศิ วกรรมยานยนต์ 3(0-9-3)

(Project in Automotive Engineering)

วิชาบงั คับกอ่ น : AEG391 การพัฒนาโครงงานทางวศิ วกรรมยานยนต์

หรือไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวชิ า

ดำเนินการจัดทำโครงงานที่ได้เสนอในวิชา AEG391 ภายใต้การแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษา การ

แสดงผลงานในรูปแบบของการสัมมนา และแสดงการทำงานของโครงงาน นักศึกษาต้องเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์

อธบิ ายผลการดำเนินงานของโครงงาน และการสอบปากเปล่าโดยคณะกรรมการ

AEG393 การฝกึ งานวศิ วกรรมยานยนต์ 3(0-35-0)

(Automotive Engineering Practice)

การฝกึ งานทางวิศวกรรมในสาขาวิชาวิศวกรรมยานยนต์ ภายใตก้ ารดูแลของวิศวกรอาวโุ ส นักศึกษา

ต้องทำบนั ทกึ ประจำวัน และรายงานสรุปการฝกึ งาน

AEG441 การใชค้ อมพวิ เตอร์ช่วยในการวิเคราะหท์ างวิศวกรรม 3(2-3-5)

สำหรับวิศวกรรมยานยนต์

(Computer Aided Engineering for Automotive Engineering)

28

การใชค้ อมพวิ เตอร์สำหรบั ออกแบบและวเิ คราะหป์ ญั หา วิศวกรรมยานยนต์ การสร้าง
แบบจำลองเชิงกายภาพและการจำลอง ปัญหาด้านวิศวกรรมยานยนต์ และปัญหาประยุกต์ที่เกี่ยวข้อง การใช้
โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปสำหรับแก้ปัญหาทางวิศวกรรมยานยนต์ โครงงานการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสำหรับ
ออกแบบและวเิ คราะห์ ปญั หาทางวิศวกรรมยานยนต์ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง

AEG456 ระบบควบคุมยานยนต์ 3(3-0-6)

(Automotive Control System)

แบบจำลองระบบ ผลตอบสนองระบบ พ้ืนฐานระบบควบคุม การออกแบบระบบควบคุม ระบบควบคมุ

ยานยนต์ เซ็นเซอร์ แอคทูเอเตอร์ (actuator) อุปกรณ์ควบคุม และ ระบบควบคุมต่างๆ ในยานยนต์

AEG452 หนว่ ยควบคมุ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ของยานยนต์ 3(2-3-5)

(Electronics Controlled Unit for Automotive)

โครงสร้างสถาปัตยกรรมไมโครคอนโทรเลอร์และตัวประมวลผลสัญญาณดิจิตอลสำหรับหน่วย

ควบคุมอิเล็กทรอนิกส์สำหรับยานยนต์ การโปรแกรมด้วยซอฟท์แวร์ การควบคุมและการเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอก

การตรวจวดั ทางไฟฟา้ การพฒั นาระบบควบคุมแบบป้อนกลบั ระบบตรวจวัดดว้ ยเซนเซอรแ์ ละทรานสดิวเซอร์ในงาน

ยานยนต์ การส่อื สารข้อมลู การควบคุมการทํางานของยานยนต์ และความปลอดภัย

AEG461 เทคโนโลยยี านยนตด์ จิ ิตอล 3(3-0-6)

( Digital Automotive Technology )

ระบบเซ็นเซอร์ ระบบการสื่อสาร ระบบนำทาง ระบบการเรียนร้แู ละการรับรู้ของเคร่ืองจกั ร การ

ควบคุมและระบบอตั โนมตั ผิ า่ นระบบสื่อสารสมัยใหม่ อนิ เตอรเ์ น็ทประสานสรรพสงิ่ ไอโอที (IoT) ฐานขอ้ มูลขนาด

ใหญ่ สมองกลอัจฉรยิ ะ cyber security ระบบยานยนต์ไร้คนขับ

AEG471 เทคโนโลยียานยนตส์ ำหรบั การแข่งขัน 3(3-0-6)

(Automotive Motor Sport Technology)

รถยนต์สมรรถนะสูง การเตรียมรถสำหรบั การแข่งขนั การปรับแต่งสมรรถนะ โครงสร้าง ระบบสง่

กำลัง การทดสอบ สนามแขง่ และการปรบั สภาพรถ

AEG472 เทคโนโลยีรถแขง่ ฟอร์มลู ารว์ นั 3(2-3-5)

(Formular-One Technology)

เทคโนโลยีรถแข่งฟอรม์ ลู ารว์ ัน การออกแบบเคร่ืองยนต์ ระบบสง่ กำลงั โครงรถ ระบบรองรับ

น้ำหนกั ระบบบงั คับเลี้ยว ระบบเกียร์ ตัวถังรถ การยศาสตรแ์ ละความปลอดภยั รถแข่งฟอรม์ ลู าร์วัน

AEG473 การจัดการแขง่ ขนั รถแขง่ 3(3-0-6)

(Motor Sport Engineering Management)

เทคโนโลยีวิศวกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการแข่งขันรถแข่ง เศรษฐกิจศาสตร์ของการแขง่ ขนั รถ องคก์ ร

จัดการแขง่ ขนั ประเภทและคุณสมบัติของรถแขง่ ธุรกจิ และอุตสาหกรรมทเี่ กยี่ วขอ้ งกับรถแข่ง โอกาสทางอาชีพ

วศิ วกรรมในธรุ กิจรถแข่ง และหัวขอ้ อน่ื ๆท่เี ก่ียวข้องกบั การแข่งขันรถแข่ง

29

AEG490 หวั ขอ้ เฉพาะด้านวิศวกรรมยานยนต์ 3(2-3-5)

(Special Topics in Automotive Engineering)
หวั ขอ้ ที่ได้รบั ความสนใจหรือเทคโนโลยีใหมๆ่ ในปัจจุบันทางดา้ นวิศวกรรมยานยนต์

AEG498 เตรยี มสหกิจศึกษาวิศวกรรมยานยนต์ 3(1-4-4)

(Automotive Engineering Pre-Cooperative Education)

หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับสหกิจศึกษา กระบวนการและขั้นตอนของสหกิจศึกษา ระเบียบ

ขอ้ บังคับทเี่ กีย่ วข้องกับสหกจิ ศึกษา ความร้พู ืน้ ฐาน เทคนิคและการเตรยี มความพร้อมสำหรับการปฏิบัติงานในสถาน

ประกอบการ วิธีการทำโครงงานและรายงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพทางด้านวิศวกรรมยานยนต์ เตรียมโครงงาน

กำหนดหัวข้อ ลักษณะและรายละเอียดของโครงงานสหกจิ ศกึ ษาที่ต้องออกปฏิบัติงาน

AEG499 สหกิจศกึ ษาวศิ วกรรมยานยนต์ 6(0-40-0)

(Automotive Engineering Cooperative Education)

วชิ าบงั คับกอ่ น : AEG 498 เตรยี มสหกิจศึกษาวศิ วกรรมยานยนต์

หรือไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะเจ้าของวิชา

การปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพทางวิศวกรรมยานยนต์ ณ สถานประกอบการ การทำโครงงานหรือ

รายงานท่ีเก่ียวข้องกับวิชาชีพซงึ่ มีประโยชน์ทั้งต่อนักศึกษาและสถานประกอบการ การจัดการและการวางแผน วิจารณญาณ

และการตัดสินใจ การแก้ไขปัญหา วัฒนธรรมองค์การ การทำงานเป็นทีม มนุษยสัมพันธ์ บุคลิกภาพและการวางตัว

ทักษะการสือ่ สาร ความรับผดิ ชอบ คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม

IEG321 กระบวนการผลิต 3(3-0-6)

(Manufacturing Processes)

วิชาบังคับกอ่ น : EGR210 วสั ดวุ ศิ วกรรม

หรือได้รบั ความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวิชา

ทฤษฎีและแนวคิดของกระบวนการผลิต การหล่อ การขึ้นรูป การเชื่อม ผงโลหะวิทยา การตัด การ

กลึง ไส เจาะ กดั ขนาดและทำผวิ เรยี บ การตรวจสอบความสมั พนั ธ์ของกระบวนการผลิตและวัสดุ และพื้นฐานต้นทุน

ของกระบวนการผลติ

MEG223 กลศาสตร์ของวัสดุ 3(3-0-6)

(Mechanics of Materials)

วชิ าบังคบั กอ่ น : EGR221 กลศาสตรว์ ิศวกรรม 1

หรือไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวชิ า

แรง ความเค้นและความเครียด ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครยี ด ความเคน้ ในคาน

ไดอะแกรมของแรงเฉือนและโมเมนต์ดัด การโกง่ ของคาน การวิเคราะห์ช้ินสว่ นทีร่ บั แรงแนวแกน แรงบิด ภาชนะความดัน

การโกง่ ของเสา วงกลมโมร์ ความเคน้ ผสม และทฤษฎีความเสยี หาย

MEG303 ปฏบิ ตั กิ ารกลศาสตร์ของไหล 1(0-3-1)
(Fluid Mechanics Laboratory)

30

ปฏบิ ัติการพ้นื ฐาน ปฏิบตั ิการประยกุ ตใ์ ชง้ านจริง กลศาสตรข์ องไหล โดยใช้เครื่องมอื ทดลองที่สมั พันธ์

กบั ทฤษฎีเพอ่ื เพ่มิ ความเข้าใจและยืนยนั แนวความคิดเชิงวิเคราะห์ท่ไี ด้ศกึ ษา รายงานแสดงการวเิ คราะหผ์ ลการทดลอง
และสรุปผลการทดลอง

MEG304 ปฏบิ ัติการยานยนต์ 1(0-3-1)

(Automotive Laboratory)

ปฏิบตั ิการพืน้ ฐาน ปฏบิ ัตกิ ารประยุกตใ์ ชง้ านจริง ยานยนต์ โดยใชเ้ ครือ่ งมือทดลองที่สมั พนั ธ์กับทฤษฎี

เพอื่ เพ่มิ ความเข้าใจและยนื ยนั แนวความคิดเชิงวเิ คราะห์ทีไ่ ด้ศึกษา รายงานแสดงการวิเคราะห์ผลการทดลอง และ

สรุปผลการทดลอง

MEG305 ปฏิบตั กิ ารอุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน 1(0-3-1)

(Thermodynamics and Heat Transfer Laboratory)

ปฏบิ ตั ิการพ้นื ฐาน ปฏิบตั กิ ารประยุกต์ใช้งานจรงิ อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน โดยใช้

เครอ่ื งมอื ทดลองทส่ี มั พนั ธ์กบั ทฤษฎีเพ่ือเพิม่ ความเข้าใจและยืนยันแนวความคิดเชงิ วิเคราะหท์ ไี่ ด้ศกึ ษา รายงานแสดงการ

วิเคราะหผ์ ลการทดลอง และสรปุ ผลการทดลอง

MEG306 ปฏบิ ตั กิ ารพลศาสตรแ์ ละระบบควบคมุ 1(0-3-1)

(Dynamics and Control System Laboratory)

ปฏิบตั ิการพื้นฐาน ปฏบิ ัตกิ ารประยุกต์ใชง้ านจรงิ พลศาสตร์และระบบควบคมุ โดยใช้เครือ่ งมอื ทดลอง

ทสี่ ัมพันธก์ ับทฤษฎีเพ่อื เพม่ิ ความเข้าใจและยนื ยนั แนวความคดิ เชิงวิเคราะห์ท่ไี ด้ศกึ ษา รายงานแสดงการวเิ คราะห์ผลการ

ทดลอง และสรปุ ผลการทดลอง

MEG320 กลศาสตร์เครอ่ื งจักรกล 3(3-0-6)

(Mechanics of Machinery)

วิชาบงั คบั กอ่ นหรือลงร่วม : EGR222 กลศาสตรว์ ิศวกรรม 2

หรือได้รับความเหน็ ชอบจากคณะเจ้าของวิชา

การวิเคราะห์การเคลือ่ นท่ี ความเร็วและความเรง่ ของกลไกแบบต่างๆ จลนศาสตร์และพลศาสตรข์ องกลไก

เช่น ลกู เบยี้ วและตวั ตาม เฟอื ง ชุดเฟืองทด ระบบทางกล และสมดุลของมวลทมี่ ีการหมุนและเคลื่อนทีก่ ลบั ไปกลบั มา

MEG331 อณุ หพลศาสตร์ 1 3(3-0-6)

(Thermodynamics 1)

คุณสมบัติทางความร้อนของสาร แก๊สอุดมคติ การอนุรักษ์และการถ่ายเทพลงั งาน กฎข้อที่หน่ึงของอณุ

หพลศาสตร์ หลักพื้นฐานกฎข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์ เอนโทรปี วัฏจักรพื้นฐานทางอุณหพลศาสตร์ และการ

ถา่ ยเทความร้อนเบอื้ งต้น

MEG341 การออกแบบเครอื่ งจกั รกล 1 3(3-0-6)

(Machine Design 1)

วชิ าบังคบั ก่อน : MEG223 กลศาสตรข์ องวัสดุ

หรอื ได้รบั ความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวิชา

พื้นฐานการออกแบบเครื่องกล คุณสมบัติของวัสดุ ทฤษฎีความเสียหาย การออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักร

อย่างงา่ ย และโครงงานการออกแบบเคร่อื งจกั รกล

31

MEG347 คอมพวิ เตอร์ช่วยการออกแบบทางวิศวกรรมเครื่องกล 3(2-3-5)

(Computer Aided Mechanical Engineering Design)

วชิ าบังคบั ก่อน : MEG341 การออกแบบเครื่องจักรกล 1

หรอื ไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวิชา

การสร้างโมเดลและการจำลองปญั หาทางวิศวกรรมเครอ่ื งกลและงานประยุกตท์ เ่ี กย่ี วขอ้ ง ระเบียบวิธี

เชงิ ตวั เลข เพ่ือการวิเคราะห์ จำลองและออกแบบปญั หาทางด้านวศิ วกรรมเครอ่ื งกล

MEG343 ปฏบิ ัติการออกแบบเคร่ืองจักรกลดว้ ยคอมพวิ เตอร์ 1(0-3-1)

(Computer Aided Machine Design Laboratory)

วิชาบังคับก่อนหรอื ลงรว่ ม : MEG341 การออกแบบเคร่อื งจกั รกล 1

หรอื ได้รับความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวิชา

พัฒนาทกั ษะการออกแบบเครื่องจกั รกลด้วยการใชค้ อมพิวเตอร์ชว่ ยในการออกแบบชนิ้ สว่ นเคร่ืองจักรกล

และโครงงานออกแบบเครือ่ งจักรกลด้วยคอมพวิ เตอร์

MEG361 เครื่องยนต์สนั ดาปภายในและชุดตน้ กำลัง 3(3-0-6)

(Internal Combustion Engine and Propulsion Unit)

ทฤษฏีและปฏิบตั กิ ารเกี่ยวกบั เคร่ืองยนต์ เครอื่ งยนตจ์ ดุ ระเบิดด้วยประกายไฟและอดั ระเบดิ การเผา

ไหม้ และเชื้อเพลิง ส่วนผสมเชื้อเพลิงและอากาศทางอุณหเคมี ระบบการจุดระเบิด วัฏจักรเครื่องยนต์ตา่ ง ๆ และ

แบบจำลองทางอุดมคติ มอเตอร์ไฟฟ้าและชุดต้นกำลังแบบอื่น การเกิดมลพิษและการควบคุม การซูเปอร์ชาร์จและสคา

เวนจ้ิง สมรรถนะการทำงานของเครอื่ งยนต์และการทดสอบ การตรวจและวเิ คราะหไ์ อเสยี การหลอ่ ลื่น

MEG371 กลศาสตร์ของไหล 1 3(3-0-6)

(Fluid Mechanics 1)

วิชาบังก่อน : EGR221 กลศาสตรว์ ิศวกรรม 1

หรือได้รับความเหน็ ชอบจากคณะเจ้าของวิชา

คุณสมบัติของของไหล พฤติกรรมทางสถิตและพลวตั ของของไหลอัดตัวไม่ได้ กฏการอนุรักษข์ องมวล

สมการต่อเนือ่ ง สมการพลงั งานและโมเมนตัม มิติวเิ คราะห์ การไหลในทอ่ และการไหลภายนอก การประยุกต์กับ

ปญั หาทางวศิ วกรรมศาสตร์

MEG372 การถ่ายเทความรอ้ น 3(3-0-6)

(Heat Transfer)

วิชาบงั คับกอ่ น : MEG371 กลศาสตร์ของไหล 1

หรือได้รบั ความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวิชา

หลกั การและการประยุกตใ์ ช้การถ่ายเทความร้อนโดยการนำความร้อน การพาความรอ้ นและการแผ่รังสีความ

ร้อน การนำความร้อนอย่างสม่ำเสมอและเปลี่ยนแปลงตามเวลา การพาความร้อนโดยวิธีบังคับและโดยวิธีอิสระ

คุณลักษณะการดูดกลืนและการแผ่กระจายรังสีความร้อนของผิววัตถุ อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน หลักการเพ่ิม

สมรรถนะการถา่ ยเทความรอ้ น หลกั การถา่ ยเทความรอ้ นโดยการเดอื ดและการควบแน่น

MEG452 การสน่ั สะเทือนทางกล 3(3-0-6)

32

(Mechanical Vibrations)
วิชาบังคบั กอ่ น : EGR222 กลศาสตร์วิศวกรรม 2

หรือไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะเจ้าของวิชา
การจำลองระบบพลวัตของเครื่องกล การเคลื่อนไหวแบบออสซิเลท ระบบการสั่นสะเทือนแบบค่า
อิสระเดียว การสั่นสะเทือนเนื่องจากแรงบิด การสั่นสะเทือนแบบอสิ ระและแบบถกู กระทำ การตอบสนองชัว่ ครู่และ
การตอบสนองทีส่ ภาวะคงตัว วธิ ขี องระบบเทยี บเท่า การส่นั สะเทอื นของระบบหลายค่าอิสระของการเคลอ่ื นไหว วิธีเชิง
ตวั เลขสำหรบั การวิเคราะห์การสน่ั สะเทอื น เทคนิคการวดั และการลดการสน่ั สะเทอื น

REG201 แนะนำระบบราง 3(3-0-6)

(Introduction to Railway System)

ระบบและการพัฒนาการขนส่งทางราง องค์ประกอบของระบบราง สถานีระบบราง ประเภทของ

รถไฟ เทคโนโลยีการขับเคลื่อนและตัวรถ ระบบไฟฟ้าและการส่งจ่าย การควบคุม การสื่อสารและเทคโนโลยีที่

เกีย่ วขอ้ ง อาณตั ิสญั ญาณ มาตรฐานของระบบราง ระบบปอ้ งกันและความปลอดภัย

REG337 อุปกรณ์ทางกลของรถรางไฟฟา้ 3(3-0-6)

(EMU Mechanical Device)

โครงดา้ นนอกของตัวรถอีเอม็ ยู โบก้ี อุปกรณเ์ ชื่อมตอ่ กบั ตวั รถอีเอม็ ยู ห้องขบั ขี่ อปุ กรณ์เบรคขน้ั

พ้ืนฐาน การตรวจสอบอุปกรณ์ การบำรุงรกั ษา ขอ้ กำหนดและความรทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ ง ข้อกำหนดทถี่ กู ต้องของตวั รถอีเอ็มยู

โบกี้ และอปุ กรณเ์ ช่อื มตอ่

REG338 ระบบโครงข่ายและการควบคุมรถรางไฟฟา้ 3(3-0-6)

(EMU Network and Control System)

ระบบการลากและระบบควบคุมอีเอ็มยู การจดั สรา้ งและการบำรุงรักษาระบบเครือขา่ ยสารสนเทศ

ของอเี อ็มยู การแสดงและการใช้งานเครอื ข่ายข้อมูลอีเอ็มยู การแสดงขอ้ มลู รถไฟ การแสดงข้อมลู ความผิดพลาดของ

อเี อม็ ยู และการตอบสนองเหตุฉกุ เฉิน

REG339 อปุ กรณ์หัวรถจกั รไฟฟ้า 3(3-0-6)

(Locomotive Electrical Equipment)

อุปกรณ์ไฟฟ้าของหัวรถจักรไฟฟ้า กระบวนการซ่อมแซม การปฎิบัติงานและการบำรุงรักษาทาง

ไฟฟา้ ของหวั รถจกั รไฟฟา้ ความร้ทู างวชิ าชีพอ่ืน ๆ เกีย่ วกบั อุปกรณ์ไฟฟ้าของหัวรถจักรไฟฟ้า การเก็บรวบรวมข้อมูล

การตรวจวดั ทางไฟฟ้าและการใช้เคร่ืองมอื วัดทางไฟฟ้า

REG340 เครื่องจกั รกลหัวรถจักรไฟฟา้ 3(3-0-6)

(Locomotive Machinery)

อุปกรณ์ทางกลของหัวรถจักรไฟฟา้ มอเตอร์หัวรถจักรไฟฟ้า กระบวนการซอ่ มแซม การปฎิบัติงาน

และการบำรุงรักษาทางกลของหัวรถจักรไฟฟ้า ความรู้ทางวิชาชีพอื่น ๆ เกี่ยวกับมอเตอร์หัวรถจักรไฟฟ้า การเก็บ

รวบรวมขอ้ มลู การตรวจสอบทางกลและการใช้เคร่ืองมือทางกล

33

REG341 ระบบควบคมุ หวั รถจกั รไฟฟ้า 3(3-0-6)

(Locomotive Control System)

ระบบควบคุมของหัวรถจักรไฟฟ้า กระบวนการซ่อมแซม การปฎิบัติงานและการบำรุงรักษาระบบ

ควบคุมของหัวรถจักรไฟฟ้า ความรู้ทางวิชาชีพอื่น ๆ เกี่ยวกับระบบควบคุมของหัวรถจักรไฟฟ้า การเก็บรวบรวม

ข้อมลู การทดสอบระบบความคมุ และการใช้เครอ่ื งมือทดสอบ

REG351 เทคโนโลยตี ัวรถระบบราง 3(3-0-6)

(Rolling Stock Technology)

ขอ้ มูลเกีย่ วกับตู้รถไฟและองคป์ ระกอบหลัก ภาพรวมของพลวัตของรถราง พลวตั ของรถรางตามแนว

การว่ิง (การลากและเบรก) การสัมผัสของล้อเลอื่ นและรางรถไฟ โบก้ี ช่วงล่าง ระบบเบรก และตวั ถังรถ ระบบการเฝ้า

ติดตาม การบำรงุ รกั ษา และแนวคิดการออกแบบขั้นพนื้ ฐาน เทคโนโลยีหวั รถจักร

REG419 การบำรงุ รักษายานพาหนะทางราง 3(3-0-6)

(Maintenance of Railway Vehicles)

ความรู้พื้นฐานโครงสร้างสร้างของตู้โดยสารหลัก ตู้บรรทุก ตู้รถพ่วง หน้าที่การทำงาน ระบบล้อ

หลักและอุปกรณ์ประกอบ อุปกรณ์รับแรงกระแทก งานตัวถัง อุปกรณ์ภายในยานพาหนะ ประสิทธิภาพของ

ยานพาหนะ มาตรฐานการบำรงุ รกั ษายานพาหนะ ระบบวธิ ีการบำรงุ รกั ษาของช้ินส่วนยานยนตท์ ั่วไป การตรวจสอบ

ข้อบกพร่องด้วยอุปกรณ์ตรวจจับต่าง (การตรวจหาคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การตรวจหาข้อบกพร่องของอัลตราซาวด์

อปุ กรณต์ รวจจบั ฟอสเฟอร์) หลักการทำงานวิธกี ารปฏิบตั ิงาน

REG422 การบำรุงรักษาเคร่ืองจักรกลทางราง 3(3-0-6)

(Railway Machinery Maintenance)

ข้อมูลหลักการสร้างและหน้าทพ่ี ้ืนฐานของชน้ิ ส่วนหรืออุปกรณเ์ ครื่องจกั รกล ความรู้พ้นื ฐานอน่ื ๆ

ระบบการ วธิ กี ารบำรุงรกั ษายานพาหนะประจำ กระบวนการซ่อมแซม การตรวจหาคลืน่ แม่เหล็กไฟฟา้

REG431 รถไฟความเรว็ สูงเบื้องตน้ 3(3-0-6)

(Introduction to Highspeed Railway)

ข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานทางรถไฟความเร็วสูง สถานีแหล่งจ่ายไฟ องค์กรการขนส่ง การใช้ความ

ปลอดภยั และความร้อู ่นื ๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง การประยกุ ตใ์ ชเ้ เทคโนโลยีและอุปกรณ์สมยั ใหม่ ของรถไฟความเร็วสูง

หมายเหตุ : เงื่อนไขรายวิชาบงั คับก่อน อาจพิจารณายกเว้นไดต้ ามความเหมาะสม ขึน้ อยกู่ บั ความเห็นชอบจากคณะ
เจา้ ของวิชา

34

3.2 ช่อื สกลุ เลขประจำตัวบตั รประชาชน ตำแหนง่ และคุณวฒุ ิของอาจารย์
3.2.1 อาจารย์ผูร้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร

มหาวิทยาลัยศรีปทมุ (บางเขน)

ลำ ชอ่ื -สกลุ /เลขประจำตวั บัตร คณุ วุฒิ สาขาวชิ าเอก ตำแหน่ง ภาระการสอน นก./ต่อปี
ดับ ประชาชน วิชาการ การศึกษา

2562 2563 2564 2565

1 นายอดุลย์ พฒั นภกั ดี M.S. Control System ผศ. 18 18 18 18
3-8006-0051X-XX-X
Engineering
วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล

2 นายวทิ ยา พันธุเ์ จรญิ ศิลป์ วศ.ม. วศิ วกรรมเครื่องกล - 18 18 18 18
3-8603-0021X-XX-X วศ.บ. วศิ วกรรมเครือ่ งกล - 24 24 24 24

3 นายเกยี รติศักด์ิ สกุลพันธ์ Ph.D. Industrial and
3-8498-0004X-XX-X Manufacturing
Engineering

M.Eng. Industrial and
Manufacturing
Engineering

วศ.บ. วศิ วกรรมเคร่ืองกล

4 ดร.ชลธศิ เอีย่ มวรวุฒกิ ลุ Ph.D. Mechanical ผศ. 12 12 12 12
3-1012-0246X-XX-X Engineering ผศ. 24 24 24 24

5 นายเตมิ พงษ์ ศรีเทศ M.S. Mechanical
3-6799-0018X-XX-X Engineering

วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล
บธ.ม.

วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟ้า

35

3.2.2 อาจารย์ประจำหลกั สูตร

มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุม (บางเขน)

ลำ ช่อื -สกุล/เลขประจำตวั บัตร คุณวุฒิ สาขาวชิ าเอก ตำแหน่ง ภาระการสอน ชม./ต่อปี
ดบั ประชาชน วชิ าการ การศึกษา

2562 2563 2564 2565

1 ดร.เด่นชัย วรเดชจำเริญ Ph.D. Architectural - 12 12 12 12
3-1021-0005X-XX-X Engineering

วศ.ม. วศิ วกรรมเคร่อื งกล
วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล

2 ดร.เทพฤทธ์ิ ทองชบุ วศ.ด. วิศวกรรมเครอ่ื งกล - 18 18 18 18
3-9499-0002X-XX-X
วศ.ม. วิศวกรรมเครอ่ื งกล
3 นายอภิรกั ษ์ สวัสดิก์ ิจ
5-1002-0022X-XX-X วศ.บ. วิศวกรรมเคร่ืองกล

4 นายเผชญิ จันทร์สา วศ.ม. เทคโนโลยีการจัด ผศ. 24 24 24 24
3-6704-0034X-XX-X
การพลงั งาน

อส.บ. วิศวกรรมเครื่องกล

M.Sc. Mechanical ผศ. 24 24 24 24

Engineering

วศ.บ. วิศวกรรมเครือ่ งกล

5 นายมฮู ำมัด ทรงชาติ วศ.ม. วศิ วกรรมเคร่ืองกล - 24 24 24 24
3-9409-0036X-XX-X วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล

6 นายทีปกร คุณาพรววิ ฒั น์ วศ.ม. การจัดการพลังงาน - 24 24 24 24
3-3012-0108X-XX-X และสิง่ แวดล้อม ผศ. 24 24 24 24
วิศวกรรมเครือ่ งกล ผศ. 24 24 24 24
7 ดร.ชวลิต มณศี รี
3-2001-0061X-XX-X อส.บ. วศิ วกรรมเครอ่ื งกล

8 นายพัฒนพงศ์ อริยสทิ ธ์ิ วศ.ด. วศิ วกรรมอุตสาหการ
3-6099-0094X-XX-X วศ.ม. วศิ วกรรมการจัดการ

อุตสาหกรรม
วศ.บ. วศิ วกรรมอุตสาหการ

วศ.ม. วิศวกรรมอุตสาหการ
วท.บ. เคมอี ตุ สาหกรรม

9 นายธนภัทร พรหมวัฒนภกั ดี วศ.ม. วศิ วกรรมพลังงาน ผศ. 24 24 24 24

3-6402-0002X-XX-X วศ.บ. วิศวกรรมไฟฟ้า

36

4. องคป์ ระกอบเก่ยี วกบั ประสบการณ์ภาคสนาม (การฝกึ งาน หรอื สหกจิ ศกึ ษา)
จากผลการประเมินความพงึ พอใจจากผใู้ ชบ้ ัณฑิต มีความตอ้ งการให้บณั ฑิตมปี ระสบการณ์ในวชิ าชีพก่อนเข้า

ส่กู ารทำงานจรงิ ดังนน้ั ในหลกั สูตรจึงมรี ายวิชาประสบการณ์ภาคสนาม เพอ่ื ฝึกให้นกั ศึกษารจู้ ักการประยุกต์ใช้ความรู้
ทีเ่ รียนมา มาใช้กับสภาพการทำงานจริง และเพ่ือเป็นการเตรียมความพร้อมในทุกๆ ดา้ น กอ่ นออกไปทำงานจริง

4.1 ผลการเรยี นร้ขู องประสบการณภ์ าคสนาม
ความคาดหวังในผลการเรยี นรปู้ ระสบการณภ์ าคสนามของนกั ศกึ ษา มีดงั นี้
(1) ทักษะในการปฏิบัตงิ านจากสถานประกอบการ ตลอดจนมีความเข้าใจในหลกั การ
ความจำเปน็ ในการเรียนรทู้ ฤษฎีมากยิง่ ข้นึ
(2) บูรณาการความรู้ที่เรียนมาเพื่อนำไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาทางด้านวิศวกรรมยาน
ยนต์สมยั ใหม่ได้
(3) มมี นษุ ยสมั พนั ธ์และสามารถทำงานร่วมกบั ผู้อน่ื ได้ดี
(4) มรี ะเบยี บวินยั ตรงเวลา และเข้าใจวัฒนธรรมขององค์กร ตลอดจนสามารถปรับตวั ใหเ้ ข้ากับสถาน

ประกอบการได้
(5) มคี วามกลา้ ในการแสดงออก และนำความคดิ สรา้ งสรรค์ไปใชป้ ระโยชนใ์ นงานได้

4.2 ช่วงเวลา
ภาคการศึกษาท่ี 2 ของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สำหรับการฝึกงาน และ ภาคการศึกษาสุดท้ายของนักศึกษา

สำหรบั สหกจิ ศกึ ษา
4.3 การจดั เวลาและตารางสอน
ภาคการศึกษาท่ี 2 ของนักศกึ ษาชน้ั ปที ่ี 4 สำหรบั การฝกึ งาน และ ภาคการศึกษาสุดท้ายของนกั ศกึ ษา

สำหรับสหกจิ ศึกษา

5. ข้อกำหนดเก่ียวกับการทำโครงงานหรืองานวจิ ยั
ข้อกำหนดในการทำโครงงาน ต้องเป็นหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านวิศวกรรม

เครื่องกล/ยานยนต์ มาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบ หรือแก้ไขปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยมีจำนวนผู้ร่วมโครงงาน 2-3 คน และมีรายงานที่ต้องนำส่งตามรูปแบบและระยะเวลาที่หลักสูตร
กำหนด

5.1 คำอธบิ ายโดยย่อ
หัวข้อวิชาโครงงาน จะเป็นหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ สามารถศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมได้ สามารถแก้ไขปัญหา

สามารถคิดวิเคราะห์ ออกแบบและพฒั นาหรือแกไ้ ขปญั หาได้ โดยสามารถนำทฤษฎีมาประยุกต์ใช้ในการทำโครงงาน
ได้ มขี อบเขตโครงงานทสี่ ามารถทำเสรจ็ ภายในระยะเวลาท่ีกำหนด

5.2 ผลการเรยี นรู้
นักศึกษาสามารถทำงานเป็นกลุ่ม สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีความสามารถในการสื่อสารด้วย

ภาษาเขียนและภาษาพูด มีความเชี่ยวชาญในการใช้เครื่องมือ มีการประยุกต์ใช้ทฤษฏีในการทำโครงงาน โครงงาน
สามารถเปน็ ต้นแบบในการพัฒนาตอ่ ได้หรือแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ

5.3 ชว่ งเวลา
ภาคการศกึ ษาที่ 1-2 ของชั้นปที ่ี 4

37

5.4 จำนวนหน่วยกิต
6 หนว่ ยกติ

5.5 การเตรียมการ
มีการอบรมให้ความรู้ในการจัดทำโครงงานตั้งแต่การเขียนโครงร่างงานวิจัย (Proposal) โดยมีวิทยากร

ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกมาให้ความรู้และถ่ายทอดประสบการณ์ มีการกำหนดชั่วโมงการให้คำปรึกษา มีการให้
คำปรึกษา ให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโครงงานทางเว็บไซต์ และปรับปรุงให้ทันสมัยเสมอ มีกระบวนการให้นักศึกษา
รายงานความก้าวหน้าปัญหาอปุ สรรคอยา่ งต่อเนือ่ งตลอดภาคการศกึ ษา อีกทัง้ มตี วั อย่างโครงงานให้ศกึ ษา

5.6 กระบวนการประเมนิ ผล
ประเมนิ ผลจากรายงานความก้าวหน้าในการทำโครงงาน มหี นังสือโครงงานท่ีตรวจสอบโดยอาจารย์ที่ปรึกษา มีการ

ประเมินผลจากผลสำเร็จของโครงงาน โดยโครงงานดังกล่าวต้องสามารถทำงานได้ในเบื้องต้น และการจัดสอบการ
นำเสนอ ต่อกรรมการสอบ ซงึ่ ประกอบด้วยอาจารย์และผูท้ รงคุณวุฒิรวมไมต่ ่ำกว่า 3 คน

38

หมวดท่ี 4 ผลการเรยี นรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมนิ ผล
1. การพฒั นาคณุ ลักษณะพิเศษของนกั ศกึ ษา

คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธห์ รอื กิจกรรมของนกั ศึกษา

1. มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมถ่อมตนและทำหน้าทเี่ ปน็ พลเมอื ง ส่งเสรมิ และสอดแทรกให้นักศึกษามจี รรยาบรรณในวิชาชีพ

ดีรับผดิ ชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม เคารพในสิทธิทางปัญญาและข้อมูลส่วนบุคคล การใช้

เทคโนโลยีในการพัฒนาสังคมที่ถูกต้อง นอกจากนี้อาจมีการ

จัดค่ายพัฒนาชุมชน เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสประยุกต์หรือ

เผยแพรค่ วามรู้ทไี่ ดศ้ ึกษามา

2. มคี วามรพู้ ื้นฐานในศาสตร์ทเ่ี กยี่ วขอ้ งท้งั ภาคทฤษฎี รายวิชาบังคับของหลักสูตรต้องปูพื้นฐานของศาสตร์และ
และภาคปฎิบัตอิ ยใู่ นเกณฑด์ ีสามารถประยกุ ต์ได้อย่าง สร้างความเชื่อมโยงระหว่างภาคทฤษฎีและปฏิบัติ มี

เหมาะสมในการประกอบวิชาชพี และการศึกษาตอ่ ใน ปฏิบัติการ แบบฝึกหัด โครงงาน และกรณีศึกษาให้
ระดบั สงู นักศึกษาเข้าใจการประยุกต์องค์ความรู้กับปัญหาจริง

รวมถึงการมีวิชาทีบ่ ูรณาการองค์ความรู้ที่ได้ศึกษามา เช่น
วิชาการออกแบบทางวิศวกรรมต่างๆ วิชาโครงงาน
วิศวกรรม การฝกึ งาน และสหกจิ ศกึ ษา

3. มีความรู้ทันสมัยใฝร่ ้แู ละมคี วามสามารถพัฒนาความรู้ รายวิชาเลือกที่เปิดสอนต้องต่อยอดความรู้พื้นฐานในภาค

เพ่อื พฒั นาตนเองพฒั นางานและพฒั นาสงั คม บังคับ และปรับตามวิวฒั นาการของศาสตร์ มีโจทย์ปัญหา

ที่ท้าทายให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้ในการพัฒนา

ศกั ยภาพ

4. คดิ เป็นทำเปน็ และเลือกวธิ กี ารแก้ปัญหาได้อย่างเปน็ ทกุ รายวชิ าตอ้ งมโี จทยป์ ัญหา แบบฝึกหัด หรือโครงงาน ให้

ระบบและเหมาะสม นกั ศึกษาได้ฝึกคิด ฝกึ ปฏิบัติ ฝกึ แกป้ ญั หา แทนการทอ่ งจำ

5. มคี วามสามารถทำงานร่วมกับผอู้ ื่นมีทักษะการบริหาร โจทย์ปัญหาและโครงงานของรายวิชาต่างๆ ควรจัดแบบ

จดั การและทำงานเป็นหมู่คณะ คณะทำงาน แทนที่จะเป็นแบบงานเดี่ยว เพื่อส่งเสริมให้

นกั ศึกษาไดฝ้ ึกฝนการทำงานเป็นหมูค่ ณะ

6. รู้จกั แสวงหาความรดู้ ้วยตนเองและสามารถ ต้องมีการมอบหมายงานให้นักศึกษาได้สืบค้นข้อมูล

ตดิ ต่อสื่อสารกับผ้อู ่นื ได้เป็นอย่างดี รวบรวมความรู้ที่นอกเหนือจากที่ได้นำเสนอในชั้นเรียน

และเผยแพร่ความรู้ที่ได้ระหว่างนักศึกษาด้วยกัน หรือ

ให้กบั ผสู้ นใจภายนอก

7. มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยและ มีระบบเพือ่ ส่ือสารแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ ในหมู่นักศึกษา
ภาษาตา่ งประเทศในการสอ่ื สารและใชเ้ ทคโนโลยีไดด้ ี หรือบุคคลภายนอกที่ส่งเสริมให้เกิดการแสวงหาความรู้ท่ี
ทนั สมยั การเผยแพร่ การถามตอบ และการแลกเปลยี่ นความรู้

8. มคี วามสามารถวเิ คราะห์ ออกแบบ พัฒนา และ ตอ้ งมีวชิ าท่บี รู ณาการองคค์ วามรู้ทไ่ี ด้ศกึ ษามา (เช่น วิชา
ปรับปรุงระบบการทำงานทัง้ ในอุตสาหกรรมผลติ และ โครงงานวิศวกรรม) ในการวเิ คราะห์ ออกแบบ พฒั นา และ
อตุ สาหกรรมบริการใหต้ รงตามขอ้ กำหนด
ปรับปรงุ ระบบการทำงานท้ังในอุตสาหกรรมผลิตและ
2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน ได้แก่ อตุ สาหกรรมบรกิ ารตามขอ้ กำหนดของโจทยป์ ญั หาทไี่ ดร้ บั

39

2.1 การพฒั นาผลการเรยี นรู้หมวดศกึ ษาท่วั ไป
2.1.1 ดา้ นคณุ ธรรม
(1) มีคารวะธรรม ซื่อสัตยส์ ุจรติ และกตญั ญู
(2) มีวินัย มีความรับผิดชอบ มีความตรงตอ่ เวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับของ

องคก์ รและสงั คม
(3) มีจิตสาธารณะ รับผดิ ชอบต่อตนเอง สังคม และส่งิ แวดลอ้ ม
(4) มคี วามใฝร่ ูแ้ ละใฝเ่ รียน
(5) เคารพและช่ืนชมงานศลิ ปวัฒนธรรมทอ้ งถนิ่ และสากล

2.1.2 ดา้ นความรู้
(1) มีความรอบรู้ อยา่ งกว้างขวาง ตดิ ตามความก้าวหน้า ก้าวทันการเปลย่ี นแปลง
(2) มีความสามารถในการเชอื่ มโยงและบรู ณาการศาสตร์ไปใช้ในการดำเนนิ ชีวติ
(3) ตระหนักถงึ งานวจิ ยั ในปจั จุบนั ท่เี ก่ยี วขอ้ งกับชวี ติ และสังคม
(4) มคี วามรู้และสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี พื่อการพัฒนา

อยา่ งยงั ยนื
2.1.3 ดา้ นทักษะทางปัญญา
(1) สามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผลอยา่ งเปน็ ระบบ
(2) สามารถค้นหาข้อเทจ็ จรงิ ทำความเขา้ ใจ ประเมินขอ้ มลู จากหลกั ฐานได้ และนำข้อสรุป

มาใช้
(3) สามารถศกึ ษาวเิ คราะหป์ ญั หาท่ซี ับซ้อนและเสนอแนวทางแกไ้ ขท่ีสร้างสรรค์

2.1.4 ด้านทักษะความสมั พันธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ
(1) สามารถปรบั ตวั ทำงานร่วมกบั ผู้อน่ื ท้งั ในฐานะผนู้ ำและสมาชิกกลุ่ม
(2) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนือ่ ง
(3) เป็นแบบอย่างที่ดตี ่อผู้อ่นื มีภาวะผนู้ ำและผู้ตามท่ีดี
(4) เคารพในคุณคา่ และศกั ด์ศิ รขี องความเป็นมนุษย์
(5) สามารถนำทกั ษะดา้ นพลานามยั และสุขศกึ ษามาใชใ้ นการดำเนินชีวิตได้อยา่ งสมบูรณ์

2.1.5ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่อื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
(1) มีความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการประมวล การแปลความหมาย การ

วิเคราะห์สถานการณ์ และการแนะนำประเด็นการแกไ้ ขปญั หาทเ่ี กีย่ วขอ้ งอย่างถกู ต้องและสรา้ งสรรค์
(2) สามารถสรุปประเด็น และสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน และเลือกใช้รูปแบบการ

นำเสนอได้เหมาะสมทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
(3) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร การเก็บรวบรวมข้อมูล การ

วเิ คราะห์ และสังเคราะห์ข้อมลู ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ

2.2 การพฒั นาผลการเรียนรู้ตามหลกั สตู ร
2.2.1 ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
2.2.1.1 ผลการเรยี นรดู้ า้ นคุณธรรม จริยธรรม
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย เคารพกฎเกณฑ์ของสังคม สามารถทำหน้าที่ในฐานะผ้นู ำ

หรือผู้ตามที่ดีได้ เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม นอกจากนั้น
อุตสาหกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภาคการผลิตหรือบริการ มีความสำคัญต่อความมั่นคงและการพัฒนาประเทศ การ

40

ออกแบบหรืออำนวยการใช้ระบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องจำเป็นมีความรับผิดชอบต่อผลที่เกิดขึ้นเชน่ เดียวกบั การประกอบ
อาชีพในสาขาอื่นๆ อาจารย์ที่สอนในแต่ละวิชาต้องพยายามสอดแทรกเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งต่อไปนี้ ทั้ง 5 ข้อ เพื่อให้
นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรม และจริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการตา่ ง ๆ ที่ศึกษา รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้าน
คณุ ธรรม และจริยธรรม 5 ขอ้ ตามท่ีระบุไว้

(1) เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม
จรยิ ธรรมเสียสละ และซื่อสัตยส์ ุจรติ

(2) มวี นิ ยั ตรงต่อเวลา รบั ผิดชอบตอ่ ตนเองและสงั คม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ
ต่างๆขององค์กรและสังคม

(3) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อ
ขดั แย้งตามลำดับความสำคญั เคารพสิทธแิ ละรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผูอ้ ื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักด์ิศรี
ของความเปน็ มนุษย์

(4) สามารถวิเคราะห์และประเมนิ ผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล
องคก์ รสังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม

(5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวชิ าชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบ
วิชาชีพ
รวมถงึ เขา้ ใจถึงบรบิ ททางสงั คมของวชิ าชีพวศิ วกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถงึ ปัจจุบนั

2.2.1.2 กลยุทธก์ ารสอนทีใ่ ช้พัฒนาการเรยี นร้ดู า้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการ เข้าชั้น

เรียนใหต้ รงเวลา ตลอดจนการแตง่ กายท่ีเป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นกั ศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยใน
การทำงานกลุ่มนั้น ต้องฝึกใหร้ ู้หนา้ ทขี่ องการเปน็ ผู้นำกลมุ่ และการเปน็ สมาชกิ กล่มุ มคี วามซอื่ สัตย์โดยต้องไม่กระทำ
การทจุ ริตในการสอบหรอื ลอกการบา้ นของผู้อนื่ เปน็ ตน้ นอกจากน้ีอาจารยผ์ ูส้ อน ทุกคนต้องสอดแทรกเรือ่ งคณุ ธรรม
จรยิ ธรรมในการสอนทุกรายวิชา รวมท้งั มกี ารจดั กจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เชน่ การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี
ทำประโยชนแ์ กส่ ว่ นรวม เสียสละ

2.2.1.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม

(1)ประเมนิ จากการตรงเวลาของนกั ศกึ ษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด
ระยะเวลาท่มี อบหมาย และการรว่ มกจิ กรรม

(2)ประเมินจากการมีวนิ ยั และพรอ้ มเพรียงของนักศกึ ษาในการเข้ารว่ มกิจกรรมเสรมิ
หลกั สตู ร
(3) ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
(4) ประเมนิ จากความรบั ผิดชอบในหนา้ ที่ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย

2.2.2 ดา้ นความรู้
2.2.2.1 ผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้
นักศกึ ษาตอ้ งมีความร้เู ก่ียวความเข้าใจกบั วิชาท่ีศกึ ษาในสาขาวิศวกรรมยานยนต์สมัยใหม่ทั้งในด้าน

วิศวกรรม บริหารธุรกิจและสงั คมศาสตร์ รวมท้งั สามารถบรู ณาการความรู้ และประยุกต์ใชเ้ ครอ่ื งมอื ท่ีเหมาะสมในการ
แกไ้ ขปัญหา และนำไปปฏบิ ตั จิ รงิ ได้ ดงั นน้ั มาตรฐานความรตู้ ้องครอบคลุมส่ิงต่อไปน้ี

41

(1) มคี วามร้แู ละความเข้าใจทางคณติ ศาสตร์พื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรม
พ้ืนฐานและเศรษฐศาสตร์ เพ่ือการประยกุ ต์ใช้กับงานทางดา้ นวศิ วกรรมยานยนต์และการสร้างนวตั กรรมทาง
เทคโนโลยี

(2) มคี วามรูแ้ ละความเข้าใจเกีย่ วกับหลกั การที่สำคญั ทัง้ ในเชงิ ทฤษฎแี ละปฏบิ ัติ ใน
เนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวศิ วกรรมยานยนต์

(3) สามารถบรู ณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศกึ ษากบั ความรใู้ นศาสตร์อนื่ ๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ ง
(4) สามารถวเิ คราะหแ์ ละแกไ้ ขปัญหา ดว้ ยวธิ ีการท่ีเหมาะสม รวมถงึ การประยุกต์ใช้
เครื่องมอื ทีเ่ หมาะสม เชน่ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นตน้
(5) สามารถใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปญั หาในงาน
จรงิ ได้
2.2.2.2 กลยทุ ธ์การสอนที่ใชพ้ ัฒนาการเรียนร้ดู า้ นความรู้
ใช้การสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ใช้ทางปฏิบัติใน
สภาพแวดล้อมจริง เช่น กรณีศึกษาโรงงานอุตสาหกรรม หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทาง
เทคโนโลยี ทั้งนีใ้ ห้เปน็ ไปตามลักษณะของรายวชิ าตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้ควรจัดให้มีการ
เรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผูเ้ ชี่ยวชาญทีม่ ีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะ
เรื่อง ตลอดจนฝึกปฏบิ ัติงานในสถานประกอบการ เช่น สหกจิ ศกึ ษา หรือ ฝึกงาน เปน็ ต้น
2.2.2.3 กลยทุ ธก์ ารประเมนิ ผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้
ประเมนิ จากผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนและการปฏิบัตขิ องนักศกึ ษา ในด้านตา่ งๆ คอื
(1) การสอบย่อย
(2) การทดสอบย่อย
(3) การสอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรยี น
(4) ประเมนิ จากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
(5) ประเมินจากโครงงานวศิ วกรรม
(6) ประเมนิ จากการเสนอรายงานในชั้นเรยี น
(7) ประเมินจากวิชาสหกิจศึกษา หรือฝึกงาน

2.2.3 ดา้ นทกั ษะทางปญั ญา
2.2.3.1 ผลการเรียนร้ดู า้ นทักษะทางปัญญา
นักศึกษาต้องสามารถคิดอย่างมีระบบ มีตรรกะที่เหมาะสม เพื่อที่จะสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่าง

ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งปรับความรู้ที่มีอยู่ใช้กับสถานการณต์ ่างๆ ที่ประสบได้ และมีความสามารถในการ
เรยี นรอู้ ย่างต่อเนอ่ื งเพ่อื ให้ทำงานไดเ้ ขา้ กบั สภาพในปจั จุบันและอนาคตได้

(1) มีความคิดอย่างมวี จิ ารณญาณที่ดี
(2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรปุ ประเด็นปัญหาและความตอ้ งการ
(3) สามารถคิด วิเคราะห์ และแกไ้ ขปัญหาดา้ นวิศวกรรมได้อย่างมรี ะบบ รวมถงึ การใช้
ขอ้ มลู ประกอบการตดั สินใจในการทำงานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ
(4) มจี นิ ตนาการและความยืดหยนุ่ ในการปรบั ใช้องค์ความรู้ที่เก่ียวขอ้ งอย่างเหมาะสม
ในการพฒั นานวตั กรรมหรือต่อยอดองค์ความรูจ้ ากเดมิ ไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์
(5) สามารถสบื ค้นข้อมลู และแสวงหาความรู้เพม่ิ เตมิ ได้ด้วยตนเอง เพือ่ การเรยี นรู้
ตลอดชวี ิตและทันต่อการเปล่ยี นแปลงทางองคค์ วามรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ

42

2.2.3.2 กลยุทธก์ ารสอนทีใ่ ชใ้ นการพฒั นาการเรยี นรู้ดา้ นทักษะทางปญั ญา
(1) กรณีศกึ ษาทางการประยุกต์ใช้ความรดู้ า้ นวศิ วกรรมยานยนต์
(2) การอภิปรายกลุม่
(3) ให้นักศึกษามีโอกาสปฏบิ ตั ิจรงิ

2.2.3.3 กลยทุ ธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ด้านทกั ษะทางปญั ญา
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา นี้สามารถทำได้โดยการออกข้อสอบที่ให้
นกั ศึกษาแก้ปญั หา อธบิ ายแนวคดิ ของการแกป้ ัญหา และวธิ กี ารแก้ปญั หาโดยการประยุกตค์ วามรู้ทีเ่ รยี นมา หลกี เลี่ยง
ข้อสอบที่เป็นการเลือกคำตอบที่ถกู มาคำตอบเดยี วจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา ไม่ควรมีคำถามเกี่ยวกับนิยามต่างๆ หรือ
การใชค้ วามจำ
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการนำเสนอ
รายงานในชั้นเรยี น การทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบหรอื สมั ภาษณ์ เป็นตน้

2.2.4 ดา้ นทกั ษะความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคลและความรบั ผดิ ชอบ
2.2.4.1 ผลการเรียนร้ดู ้านทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างตวั บุคคลและความรบั ผดิ ชอบ

นักศึกษาต้องออกไปประกอบอาชีพซึ่งส่วนใหญ่ต้องเกี่ยวข้องกับคนที่ไม่รู้จักมาก่อน คนที่มาจาก
สถาบนั อ่นื ๆ และคนทจี่ ะมาเป็นผู้บังคับบญั ชา หรือคนท่ีจะมาอยใู่ ต้บังคับบัญชา หรือคนทใี่ ช้ภาษาหรือการสื่อสารท่ี
แตกต่างกันออกไป ความสามารถที่จะปรับตัวให้เข้ากับกลุ่มคนต่างๆ เป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้นอาจารย์ต้อง
สอดแทรกวิธีการที่เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติต่างๆ ต่อไปนี้ให้นกั ศึกษาระหว่างทีส่ อนวิชา หรืออาจให้นักศึกษาไปเรียน
วชิ าทางดา้ นสงั คมศาสตร์ทเ่ี กย่ี วกับคณุ สมบัติตา่ งๆ ดงั นี้

(1) สามารถส่ือสารกับกลุ่มคนท่ีหลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ
ภาษา ต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ใน
ประเด็นท่ีเหมาะสม

(2) สามารถเป็นผู้รเิ รมิ่ แสดงประเด็นในการแกไ้ ขสถานการณ์เชงิ สร้างสรรค์ทั้งส่วนตัว
และส่วนรวม พร้อมทัง้ แสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทัง้ ของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและ
อำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณต์ ่างๆ

(3) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และ
สอดคล้องกบั ทางวิชาชพี อย่างตอ่ เนื่อง

(4) รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามทีม่ อบหมาย ทั้งงาน
บคุ คลและงานกลุ่ม สามารถปรับตวั และทำงานร่วมกับผู้อ่นื ทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถวางตัวไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั ความรับผิดชอบ

(5) มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษา
สภาพแวดล้อม ต่อสงั คม

2.2.4.2 กลยทุ ธก์ ารสอนทใี่ ชใ้ นการพัฒนาการเรียนรดู้ ้านทกั ษะความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลและ
ความรบั ผดิ ชอบ

ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อน่ื
ข้ามหลักสูตร หรือต้องค้นควา้ หาข้อมลู จากการสมั ภาษณบ์ ุคคลอ่ืน หรือผู้มีประสบการณ์ มีการศึกษาค้นควา้ หรือทำ

43

รายงานที่จำเป็นต้องใช้ภาษาต่างประเทศ โดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัว
บุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ ดงั น้ี

(1) สามารถทำงานกบั ผอู้ ่ืนได้เป็นอยา่ งดี
(2) มคี วามรับผิดชอบตอ่ งานท่ไี ด้รับมอบหมาย รวมทงั้ ความปลอดภยั และสิง่ แวดลอ้ ม
(3) สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณแ์ ละวฒั นธรรมองคก์ รทไ่ี ปปฏบิ ัตงิ านได้เป็นอย่างดี
(4) มีมนุษยสมั พันธท์ ่ีดกี บั ผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลท่ัวไป
(5) มภี าวะผ้นู ำ

2.2.4.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรู้ดา้ นทักษะความสมั พันธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความ
รับผดิ ชอบ

ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุม่ ในช้ันเรยี น และ
สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูลที่ได้
รวมถงึ ความสามารถในการทำงานหรอื ใช้ภาษาตา่ งประเทศ

2.2.5 ดา้ นทักษะในการวเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
2.2.5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
นักศึกษาต้องมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ขั้นต่ำ

ดงั นี้
(1) มีทกั ษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานทเี่ กยี่ วข้องกบั วชิ าชพี ไดเ้ ป็นอย่าง

ดี
(2) มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติ

ประยุกต์ต่อการแกป้ ัญหาท่ีเก่ียวขอ้ งไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์
(3) สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่าง

เหมาะสมและมปี ระสทิ ธิภาพ
(4) มที กั ษะในการสอื่ สารขอ้ มลู ท้งั ทางการพูด การเขียน และการสอ่ื ความหมายโดยใช้

สญั ลักษณ์
(5) สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครือ่ งมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพ

ในสาขาวศิ วกรรมที่เก่ียวขอ้ งได้

2.2.5.2 กลยทุ ธ์การสอนท่ีใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะในการวเิ คราะหเ์ ชงิ ตัวเลข การ
สื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ

กลยทุ ธก์ ารสอนทใี่ ช้ในการพฒั นาการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะหเ์ ชิงตัวเลขและการสื่อสารน้ี
อาจทำได้ในระหว่างการสอน โดยอาจให้นักศึกษาแก้ปัญหา โดยใช้ความรู้ด้านวิศวกรรมที่มีอยู่ผนวกกับเทคโนโลยี
สารสนเทศ และทำการสื่อสารผลของการดำเนินการแก้ปญั หาด้วยเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสม เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องเข้าใจได้
อย่างชัดเจนในภาพรวมของปัญหาและการแกไ้ ขท้ังหมด

2.2.5.3 กลยทุ ธก์ ารประเมนิ ผลการเรียนร้ดู ้านทกั ษะในการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การสอื่ สาร และ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

44

(1) ประเมนิ จากเทคนคิ การนำเสนอโดยใช้ทฤษฎี การเลอื กใช้เครื่องมือทาง
เทคโนโลยสี ารสนเทศ หรือคณติ ศาสตร์และสถติ ิ ทีเ่ กี่ยวข้อง

(2) ประเมินจากความสามารถในการอธบิ าย ถึงข้อจำกดั เหตุผลในการ
เลือกใช้เคร่อื งมอื ต่างๆ การอภปิ ราย กรณศี กึ ษาต่างๆที่มกี ารนำเสนอตอ่ ช้ันเรียน

3.ผลการพฒั นาผลการเรยี นรู้
3.1 ผลการพฒั นาการเรยี นรู้ หมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป (PLO)
PLO 1. มีคณุ ธรรมจริยธรรมในการดำเนนิ ชวี ติ บนพน้ื ฐานปรชั ญาเศรษฐกิจ
PLO 2. ตระหนักและสำนกึ ในความเป็นไทย
PLO 3. มคี วามรอบรอู้ ยา่ งกวา้ งขวาง มีโลกทัศนก์ ว้างไกล เขา้ ใจและเห็นคณุ ค่าของตนเอง ผู้อ่ืน สังคม

ศลิ ปวัฒนธรรมและธรรมชาติ
PLO 4. มีทักษะการแสวงหาความรู้ตลอดชวี ิต เพื่อพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื ง
PLO 5. มีทกั ษะการคิดแบบองค์รวม
PLO 6. มจี ติ อาสาและสำนกึ สาธารณะ เป็นพลเมอื งท่ีมีคุณค่าของสงั คมไทยและสังคมโลก
PLO 7. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งรเู้ ทา่ ทัน
PLO 8. ใชภ้ าษาในการส่อื สารอย่างมีประสิทธิภาพ

3.2 ผลการพฒั นาเรียนรู้ตามหลักสตู ร (PLO)
1. PLO1 สามารถประยกุ ตใ์ ชอ้ งคค์ วามรู้ทางวศิ วกรรมในอตุ สาหกรรมและธุรกิจยานยนต์สมัยใหม่
2. PLO2 สามารถใช้หลักการดำเนนิ งานโครงงาน สำหรับการปฏิบตั งิ านในโลกของการเปล่ียนแปลง
3. PLO3 แสดงออกถงึ การปฏิบตั ิในส่ิงที่ถูกต้อง บนพนื้ ฐานของ ความปลอดภัยและจรยิ ธรรม

3.3 ผลการพฒั นาเรียนรู้ย่อยของหลกั สูตร (SubPLO)
1. PLO1 มีความรู้พน้ื ฐานทางวิศวกรรมยานยนต์ท่ีตอบสนองตอ่ การปฏิบตั งิ านในอุตสาหกรรมยานยนต์
PLO1 Sub1 : เขา้ ใจภาพรวมในอุตสาหกรรมและธุรกิจยานยนต์
PLO1 Sub2 : สามารถใช้ หลกั คณิตศาสตร์วทิ ยาศาสตร์ เคร่ืองมอื และวธิ ีการทางวิศวกรรม
รวมถึงหลักข้ันตอนการคิดวเิ คราะห์ สำหรบั การปฏิบัติงานและแก้ปัญหาดา้ นวศิ วกรรมยานยนต์
PLO1 Sub3 : มีความเขา้ ใจถึงความเก่ยี วข้องของงานวศิ วกรรมยานยนต์กับ เศรษฐศาสตร์
ส่ิงแวดลอ้ ม สังคม
2. PLO2 แสดงออกถึงความสามารถในการปฏิบัติงานในอุตสาหกรรมการยานยนต์ในโลกของการ

เปลีย่ นแปลง บนพืน้ ฐานของหลกั ทางวศิ วกรรม ความปลอดภัยและจรยิ ธรรม
PLO2 Sub1 : สามารถออกแบบหรอื ปรับปรงุ ระบบเคร่อื งจักรอุปกรณ์ กระบวนการปฏิบตั ิงาน
ทางดา้ นวิศวกรรมยานยนต์ ภายใตข้ ้อจำกดั ของธรุ กจิ อุตสาหกรรม
PLO2 Sub2 : สามารถคิดวิเคราะห์ ระบุประเด็นปญั หา ศึกษาค้าควา้ ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ญั หา
หรอื ปรับปรุง ดำเนนิ การบันทึกวิเคราะห์และสรุปผล ในงานทีเ่ กีย่ วข้องกับวศิ วกรรมยานยนต์
PLO2 Sub3 : แสดงออกถงึ ความสามารถทำงานเปน็ ทีม การสอ่ื สาร การปฏบิ ตั ิงานอย่างมือ
อาชพี บนพนื้ ฐานของความปลอดภัยและมจี ริยธรรม
PLO2 Sub4 : สามารถศึกษาเรียนรู้ดว้ ยตนเองในศาสตร์สมัยใหมท่ างด้านวิศวกรรมยานยนต์

45

และทีเ่ กี่ยวขอ้ ง
3. PLO3 แสดงออกถึงการยึดม่ันในสง่ิ ทีถ่ กู ต้อง มีวิจารณญาณดา้ นความปลอดภยั กฏระเบียบ
มาตรฐานข้อกำหนด และจริยธรรมในการปฏิบัตงิ าน

PLO3 Sub1 : มีความตระหนกั และปฏบิ ัติงานบนพนื้ ฐานของความปลอดภัย
PLO3 Sub2 : มคี วามตระหนักและปฏิบตั งิ านบนพ้ืนฐานของ กฏระเบยี บ มาตรฐานขอ้ กำหนด
และจรยิ ธรรม

46

3.4 แผนท่แี สดงการกระจายความรับผดิ ชอบต่อผลการเรียนรู้หมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป
• ความรบั ผดิ ชอบหลกั  ความรบั ผดิ ชอบรอง

หมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป 1. คณุ ธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทาง 4. ทกั ษะความสมั พนั ธ์ระหว่าง 5 .ทกั ษะการ
ปัญญา บุคคลและความรับผดิ ชอบ วเิ คราะหเ์ ชงิ ตัวเลข

(1) (2) (3) (4) (5) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (2) (3) (4) (5) การสอื่ สารและ
•••oo•ooooooooo• เทคโนโลยี
PLO 1. มคี ุณธรรมจรยิ ธรรมในการ • สารสนเทศ
ดำเนินชีวติ บนพนื้ ฐานปรชั ญา
(1) (2) (3)
เศรษฐกจิ พอเพยี ง •oo

PLO 2. ตระหนักและสำนกึ ในความเป็น • o•o•oooo•ooooo•o o•o
ไทย o o ••• o •o o o o• o • o• ooo

PLO 3. มคี วามรอบรู้อยา่ งกวา้ งขวาง มี o •••

โลกทศั น์กวา้ งไกล เขา้ ใจและเหน็ คุณค่า •••
ooo
ของตนเอง ผ้อู น่ื สงั คม ศลิ ปวัฒนธรรม
•o•
และธรรมชาติ o••

PLO 4. มีทักษะการแสวงหาความรู้ o • o •o • o •••••o • o o o

ตลอดชวี ิต เพอื่ พฒั นาตนเองอยา่ ง ••ooo•oo•••ooooo
o•ooooooooo•oo•o
ต่อเน่อื ง
••oo•oo•oooooooo
PLO 5. มที ักษะการคดิ แบบองคร์ วม o oooo••o•ooo•oooo

PLO 6. มจี ิตอาสาและสำนกึ สาธารณะ o

เปน็ พลเมืองท่ีมีคุณคา่ ของสังคมไทยและ

สังคมโลก

PLO 7. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง o

ร้เู ทา่ ทนั

PLO 8. ใช้ภาษาในการสอื่ สารอยา่ งมี o

ประสิทธิภาพ

47

3.5 แผนทีแ่ สดงการกระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรยี นรตู้ ามหลกั สตู ร

• ความรบั ผดิ ชอบหลัก o ความรบั ผดิ ชอบรอง

Knowledge ID 1. คณุ ธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความ 5. ทกั ษะการวิเคราะห์เชงิ
สัมพันธ์ระหว่างบคุ คล ตวั เลขการส่อื สารและ
Program Learning Outcome 1234 5 และความรบั ผดิ ชอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ
o••o •
PLO1 สามารถประยกุ ต์ใช้องคค์ วามรู้ • oo• o 12 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5
ทางวศิ วกรรมในอุตสาหกรรมและ o••• o
ธรุ กิจยานยนต์สมยั ใหม่ o•o • • o o • o • o • o o • o •
PLO2 สามารถใช้หลกั การดำเนินงาน
โครงงาน สำหรับการปฏิบตั งิ านในโลก •o•o o • o • o • • o o o•• o
ของการเปลีย่ นแปลง
PLO3 แสดงออกถงึ การปฏบิ ัตใิ นส่งิ ท่ี o o• • • o o • • o o • o • o o •
ถูกตอ้ ง บนพนื้ ฐานของ ความ
ปลอดภยั และจริยธรรม

48

4. แผนท่แี สดงการกระจายความรับผิดชอบตอ่ ผลการเรยี นรู้จากหลักสตู รสู่รายวิชา (Curriculum mapping)
แสดงใหเ้ หน็ วา่ แตล่ ะรายวิชาในหลกั สูตรรับผดิ ชอบตอ่ ผลการเรยี นรู้ในด้านใดบ้าง (สัมพันธก์ บั การพัฒนาผล

การเรยี นรแู้ ตล่ ะด้านตามขอ้ 2 ) โดยระบวุ ่าเปน็ ความรบั ผิดชอบหลกั หรือความรับผิดชอบรอง โดยท่ผี ลการเรียนรู้แต่
ละขอ้ ของด้านต่างๆ ในตารางมีความหมายดงั ตอ่ ไปน้ี

4.1 ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
(1) เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรมเสียสละ และซื่อสัตย์

สจุ รติ
(2) มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและ

สังคม
(3) มีภาวะความเป็นผ้นู ำและผ้ตู าม สามารถทำงานเป็นหมคู่ ณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแยง้ ตามลำดับความสำคัญ

เคารพสิทธิและรบั ฟังความคดิ เหน็ ของผอู้ ่นื รวมทง้ั เคารพในคณุ คา่ และศักดิศ์ รขี องความเป็นมนษุ ย์
(4) สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กรสังคมและ

สง่ิ แวดล้อม
(5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึง

บรบิ ททางสังคมของวิชาชพี วิศวกรรมในแต่ละสาขาตง้ั แตอ่ ดตี จนถงึ ปัจจบุ นั
4.2 ด้านความรู้
(1) มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน
และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมยานยนต์ และการสร้างนวัตกรรมทาง
เทคโนโลยี
(2) มคี วามรแู้ ละความเขา้ ใจเก่ียวกับหลักการทีส่ ำคัญ ทั้งในเชงิ ทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนอื้ หาของ
สาขาวิชาเฉพาะดา้ นทางวิศวกรรมยานยนต์
(3) สามารถบรู ณาการความรูใ้ นสาขาวชิ าท่ศี กึ ษากบั ความรใู้ นศาสตร์อนื่ ๆ ที่เก่ียวข้อง
(4) สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ดว้ ยวธิ กี ารท่ีเหมาะสม รวมถึงการประยกุ ต์ใชเ้ ครื่องมือที่
เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เปน็ ตน้
(5) สามารถใชค้ วามร้แู ละทกั ษะในสาขาวชิ าของตน ในการประยุกตแ์ กไ้ ขปัญหาในงานจริงได้
4.3 ดา้ นทกั ษะทางปญั ญา
(1) มีความคดิ อย่างมีวิจารณญาณท่ีดี
(2) สามารถรวบรวม ศึกษา วเิ คราะห์ และ สรุปประเดน็ ปัญหาและความต้องการ
(3) สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมลู
ประกอบการตดั สินใจในการทำงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ
(4) มีจินตนาการและความยดื หยุ่นในการปรับใชอ้ งค์ความรู้ท่ีเกีย่ วข้องอย่างเหมาะสม ในการ
พัฒนานวัตกรรมหรอื ตอ่ ยอดองคค์ วามรจู้ ากเดิมไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์
(5) สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
และทันต่อการเปล่ียนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
4.4 ด้านทักษะความสัมพันธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรับผิดชอบ
(1) สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ
ภาษาตา่ งประเทศได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารตอ่ สงั คมได้ในประเด็นที่
เหมาะสม

49

(2) สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและ
ส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและ
อำนวยความสะดวกในการแก้ไขปญั หาสถานการณ์ตา่ งๆ

(3) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับ
ทางวชิ าชีพอยา่ งตอ่ เน่อื ง

(4) รู้จักบทบาท หนา้ ท่ี และมีความรับผดิ ชอบในการทำงานตามท่มี อบหมาย ทั้งงานบุคคลและ
งานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อ่ืนทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถ
วางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผดิ ชอบ

(5) มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดลอ้ ม
ต่อสังคม
4.5 ดา้ นทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสอ่ื สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

(1) มที ักษะในการใชค้ อมพวิ เตอร์ สำหรบั การทำงานท่เี ก่ยี วข้องกบั วชิ าชพี ไดเ้ ป็นอย่างดี
(2) มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อ
การแก้ปญั หาท่เี ก่ียวขอ้ งไดอ้ ยา่ งสร้างสรรค์
(3) สามารถประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารที่ทันสมัยไดอ้ ย่างเหมาะสมและมี
ประสทิ ธิภาพ
(4) มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้
สัญลักษณ์
(5) สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวชิ าชีพในสาขา
วิศวกรรมท่ีเกีย่ วขอ้ งได้

50

แผนท่แี สดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นร้จู ากหลกั สูตรสูร่ ายวิชา (Curriculum Mapping)
• ความรบั ผิดชอบหลัก  ความรบั ผิดชอบรอง

รายวชิ า 1. คุณธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ 5. ทกั ษะการวิเคราะห์
จรยิ ธรรม ระหว่างบุคคล เชิงตัวเลข การสื่อสาร
CHM100 เคมีทั่วไป และเทคโนโลยสี าร
CHM110 ปฏบิ ัติการเคมีท่ัวไป 123451234512345 และความรับผดิ ชอบ
MAT115 แคลคูลสั สำหรบั วศิ วกร 1 สนเทศ
MAT116 แคลคูลสั สำหรับวศิ วกร 2 12345
MAT215 แคลคลู ัสสำหรบั วศิ วกร 3 1 234 5
PHY111 ฟสิ ิกส์ 1 •
PHY121 ปฏบิ ตั กิ ารฟสิ กิ ส์ 1 • •  • • • •
PHY212 ฟิสกิ ส์ 2 • •  • • • •
PHY222 ปฏิบตั ิการฟิสกิ ส์ 2 •
EGR102 เขยี นแบบวิศวกรรม • •  • • • • •
• •  • • • •
• •  • • • •
• •  • • • •
• •  • • • •
• •  • • • •
• •  • • •
•  • • •


Click to View FlipBook Version