The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการเมินแบบ AUN-QA (V.3)
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ พ.ศ. 2562 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ประจำปี 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thirawit.p, 2022-07-11 01:23:12

English.edu.kpru.AUN-QA -2563

รายงานผลการเมินแบบ AUN-QA (V.3)
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ พ.ศ. 2562 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ประจำปี 2563

Keywords: AUN-QA,English Program

AUN-QA Self-Assessment Report
ประจำปีการศึกษา 2563

(วนั ท่ี 16-17 กรกฎาคม พ.ศ. 2564)

หลกั สูตรครศุ าสตรบัณฑิต
สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ (4 ปี)
หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2562

คณะครุศาสตร์
มหาวทิ ยาวิทยาลยั ราชภฏั กำแพงเพชร
(30 มถิ ุนายน 2563 - 31 พฤษภาคม 2564)

download file

รายงานประเมนิ ตนเอง (ตามแนว AUN-QA)
ประจำปีการศกึ ษา 2563

(วันที่ 16-17 กรกฎาคม 2564)

หลกั สตู รครุศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ (4 ปี)
หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2562

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาวิทยาลัยราชภฏั กำแพงเพชร
(30 มถิ นุ ายน 2563 - 31 พฤษภาคม 2564)

สารบัญ

ส่วนที่ 1 ส่วนนำ หนา้
1. บทสรุปผู้บริหาร 1
2. การจดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเอง 1
3. ขอ้ มูลพน้ื ฐาน 1
3.1 ภาพรวมของมหาวิทยาลัย 2
3.2 ภาพรวมของคณะ 2
3.3 ภาพรวมของหลักสตู ร 3
6

สว่ นท่ี 2 ผลการดำเนินงานตามองคป์ ระกอบและตัวบ่งชี้ 16
1. ข้อมูลของหลกั สูตร 16
16
1.1 รายช่อื อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสตู ร 16
1.2 คุณวฒุ ิอาจารย์ประจำหลักสูตร 16
1.3 รายชอ่ื อาจารยผ์ ู้สอน 17
2. องค์ประกอบท่ี 1 การกำกับใหเ้ ป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตร 17
ตัวบ่งชี้ 1.1 การกำกับมาตรฐานหลักสูตรตามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตร
ที่กำหนดโดยสกอ. 19
3. องค์ประกอบท่ี 2 ผลการดำเนินงานตามเกณฑ์ AUN-QA ของหลักสตู ร 19
Criterion 1 ผลการเรยี นรทู้ ีค่ าดหวัง (Expected Learning Outcomes) 27
Criterion 2 ขอ้ กำหนดของหลักสตู ร (Program Specification)
Criterion 3 โครงสร้างและเน้ือหาของหลกั สตู ร (Program Structure and 29

Content) 39
Criterion 4 วธิ กี ารเรียนการสอน (Teaching and Learning Approach) 42
Criterion 5 การประเมนิ ผเู้ รยี น (Student Assessment) 55
Criterion 6 คุณภาพบคุ ลากรสายวิชาการ (Academic Staff Quality) 65
Criterion 7 คณุ ภาพบุคลากรสายสนับสนนุ (Support Staff Quality) 70
Criterion 8 คุณภาพและการสนบั สนุนผ้เู รยี น (Student Quality and Support) 78
Criterion 9 ส่ิงสนับสนนุ การเรียนรู้ทางกายภาพ (Facilities and Infrastructure) 83
Criterion 10 การสง่ เสรมิ คณุ ภาพการศึกษา (Quality Enhancement) 101
Criterion 11 ผลผลติ (Output)

รายงานการประเมินตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ ปกี ารศกึ ษา 2563 ก

สารบญั (ต่อ) หน้า
111
สว่ นที่ 3 การวเิ คราะห์หลักสูตร 111
1. จุดแขง็ ของหลักสตู ร 111
2. จดุ อ่อนของหลักสตู ร 111
3. การให้คะแนนการประเมินตนเองในแต่ละเกณฑข์ องหลกั สตู ร 117
4. แนวทางที่คาดวา่ จะดำเนนิ การเพ่ือการแก้ไข/ปรับปรงุ จากผลการประเมินตนเอง

รายงานการประเมนิ ตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ ปีการศกึ ษา 2563 ข

สว่ นที่ 1 สว่ นนำ

1. บทสรุปผู้บรหิ าร
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 จัดทำขึ้นเพื่อรายงานผลการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาประจำปี
การศกึ ษา 2563 ตามเกณฑ์ ASEAN University Network - Quality Assurance (AUN-QA) version 3.0

2. การจดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเอง
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจัดทำรายงานการประเมินตนเอง ประจำปีการศึกษา 2563 (วันที่ 1

กรกฎาคม 2563 - 30 มิถุนายน 2564) ประกอบด้วย การกำกับมาตรฐานหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐาน
หลักสูตรที่กำหนด และการดำเนินงานตามเกณฑ์ ASEAN University Network - Quality Assurance
(AUN-QA) version 3.0 จำนวน 11 Criterion โดยมผี ลการประเมินตนเอง ดังน้ี

1.1 ตวั บง่ ชี/้ Criterion ผลการประเมนิ ตนเอง
Criterion 1 การกำกบั มาตรฐานหลกั สตู รตามเกณฑ์มาตรฐานหลกั สูตรท่ี ผา่ น
Criterion 2 กำหนดโดย สกอ. 2
Criterion 3 ผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวัง (Expected Learning Outcomes) 3
ขอ้ กำหนดของหลักสตู ร (Program Specification) 3
Criterion 4 โครงสรา้ งและเนื้อหาของหลักสตู ร (Program Structure
and Content) 3
Criterion 5 วิธีการเรยี นการสอน (Teaching and Learning 3
Criterion 6 Approach) 3
Criterion 7 การประเมนิ ผู้เรยี น (Student Assessment) 3
Criterion 8 คณุ ภาพบุคลากรสายวิชาการ (Academic Staff Quality) 3
คณุ ภาพบุคลากรสายสนับสนุน (Support Staff Quality)
Criterion 9 คณุ ภาพและการสนับสนุนผูเ้ รียน (Student Quality and 3
Support) 2
Criterion 10 สิ่งสนบั สนนุ การเรยี นรทู้ างกายภาพ (Facilities and 3
Criterion 11 Infrastructure)
การสง่ เสริมคณุ ภาพการศกึ ษา (Quality Enhancement)
ผลผลิต (Output)

รายงานการประเมินตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาองั กฤษ ปีการศึกษา 2563 1

3. ข้อมูลพื้นฐาน
3.1 ภาพรวมของมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร เป็นสถาบันอุดมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปีพุทธศักราช 2516 มติคณะรัฐมนตรี
อนุมัติให้กรมการฝึกหัดครูจัดตั้งวิทยาลัยครูกำแพงเพชร โดยสถาปนาขึ้น เมื่อ 29 กันยายน 2516 ปี
พุทธศักราช 2518 มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พุทธศักราช 2518 ยกฐานะเป็น
สถาบันอุดมศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ มหาวิทยาลัยได้สั่งสมประสบการณ์ องค์ความรู้ และสร้าง
บุคลากรออกไปรับใช้ประเทศชาติเป็นจำนวนมาก โดยมหาวิทยาลัยยึดถือปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ
คา่ นิยมหลักในการพฒั นา ดังต่อไปน้ี

ปรชั ญา
“มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร มุ่งเน้นให้โอกาสทางการศึกษาแก่ประชาชน สร้างศักยภาพให้
เป็นขุมพลังแห่งปัญญา พัฒนาท้องถิ่น ผลิตกำลังคนที่มีความรู้ ความสามารถ และมีคุณธรรม โดยเน้นที่
จติ สำนกึ ในการรับใชท้ ้องถน่ิ และประเทศชาต”ิ

วิสยั ทศั น์
“มหาวทิ ยาลยั ทมี่ คี วามพร้อมในการเป็นสถาบันอดุ มศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถน่ิ ”

พันธกิจของมหาวทิ ยาลัย
1. สร้างความเขม้ แขง็ ให้กบั ชุมชนท้องถิ่น
2. ผลติ และพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
3. ผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ทักษะ และความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา การสร้างสรรค์และ
การส่ือสารดว้ ยหลักคณุ ธรรม คณุ ภาพและมาตรฐานระดบั ชาติและสากล
4. บริหารจัดการมหาวทิ ยาลัยดว้ ยเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมท่ที ันสมัย โปรง่ ใส ด้วยหลัก
ธรรมาภบิ าล มีการพัฒนาอยา่ งก้าวหน้า ตอ่ เนอ่ื งและยัง่ ยนื

คา่ นยิ มหลกั ของมหาวทิ ยาลยั (Core values)
K – Knowledge : สร้างสรรค์ความร้ใู หม่
P – Public Service and Productivity : ใหบ้ ริการชมุ ชน สังคมและมีผลติ ภาพที่ดี
R – Responsibility : ยึดถอื ความรบั ผิดชอบต่อหนา้ ที่
U – Unity : มคี วามรกั สามคั คใี นองคก์ ร

รายงานการประเมินตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ ปีการศกึ ษา 2563 2

เอกลักษณข์ องมหาวทิ ยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
“การผลิต พัฒนาครู และการพัฒนาทอ้ งถิ่น”

อตั ลกั ษณ์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภฏั กำแพงเพชร
“บัณฑติ มีจติ อาสา สร้างสรรคป์ ญั ญา พฒั นาท้องถน่ิ ”

3.2 ภาพรวมของคณะ
คณะครุศาสตร์ เดมิ มชี อื่ วา่ คณะวิชาครศุ าสตร์ เปน็ สว่ นราชการหนง่ึ ของวิทยาลัยครูกำแพงเพชร ตาม

พระราชบัญญัติวิทยาลัยครูพุทธศักราช 2518 เมื่อพระราชบัญญัติวิทยาลัยครูพุทธศักราช 2518 มีการแก้ไข
เพิ่มเติมปรับมาใช้พระราชบญั ญัตวิ ทิ ยาลัยคร(ู ฉบับท่ี 2) พุทธศักราช 2527 ประกาศให้กรมการฝึกหัดครู โดย
วิทยาลัยครูมีภาระหน้าที่ในการจัดการศึกษา เช่นเดียวกับสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ คณะวิชาครุศาสตร์ จึง
สามารถผลิตครูระดับปริญญาตรี ปี พ.ศ. 2528 มีการประกาศแบ่งส่วนราชการในวิทยาลัยครูกำแพงเพชร
เพื่อให้สอดคล้องกับภารกิจของวิทยาลัยครูตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พุทธศักราช 2528 จึงเปลี่ยนชื่อ
จากคณะวชิ าครุศาสตร์มาเปน็ คณะครศุ าสตร์

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรด
เกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานนาม “สถาบันราชภัฏ” เป็นชื่อสถาบันการศึกษาในกรมการฝึกหัดครู คณะ
ครศุ าสตรจ์ ึงเปน็ หนว่ ยงานหนง่ึ ของสถาบนั ราชภัฏกำแพงเพชร

วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2538 มีการเปลี่ยนแปลงพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏกำแพงเพชรและ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการให้คณะครุศาสตร์สามารถจัดการเรียนการสอนสูงกว่าปริญญาตรีและเปลี่ยน
ตำแหน่งผู้บริหารจาก “หัวหน้าคณะ” เป็นตำแหน่ง “คณบดี”ก่อนการเปลี่ยนแปลงหน่วยงานในคณะเป็น
โปรแกรมวิชา คณะครุศาสตร์มีทั้งหมด 8 ภาควิชา ได้แก่ ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมทางการศึกษา ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนวภาควิชาอนุบาลศึกษา ภาควิชาการศึกษาพิเศษ
ภาควชิ าหลกั สูตรและการสอน ภาควิชาทดสอบและวิจยั ภาควิชาพลศกึ ษาและนันทนาการ และ 2 ศูนย์ได้แก่
ศนู ย์คอมพวิ เตอร์ศกึ ษา ศูนย์เดก็ ปฐมวัย

ปกี ารศกึ ษา 2541 ไดม้ กี ารเปล่ียนแปลงการบรหิ ารงานวชิ าการจากภาควชิ าเปน็ โปรแกรมวิชา เพื่อให้
การปฏิบัติภารกิจด้านการจัดการศึกษาเกิดประสิทธิภาพสูงสุด สามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพตามนโยบาย
การประกันคณุ ภาพของสถาบนั ราชภัฏ และเพ่อื ใหม้ ีการใชท้ รพั ยากรที่มีอยอู่ ย่างเต็มศกั ยภาพ

ปีการศึกษา 2544 คณะครุศาสตร์จัดการบริหารแบบโปรแกรมวิชา 3 โปรแกรมวิชา ได้แก่ โปรแกรม
วิชาการศึกษาปฐมวัย โปรแกรมวิชาการประถมศึกษา โปรแกรมวิชาพลศึกษา และมีศูนย์เพื่อเป็นแหล่ง
ทรัพยากรการเรียนรู้ ส่งเสริมนโยบายการฝึกหัดครูและประกันคุณภาพการศึกษา 4 ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์เด็ก

รายงานการประเมนิ ตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ปกี ารศกึ ษา 2563 3

ปฐมวัย ศูนย์คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา ศูนย์ส่งเสริมและบริการสุขภาพ (โปรแกรมวิชาพลศึกษาดำเนินการ
ร่วมกบั สำนักกิจการนักศกึ ษา) และศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาครู

ปีการศึกษา 2545 คณะครุศาสตรย์ งั คงจัดการบรหิ ารเหมือนในปีการศึกษา 2544
ปีการศึกษา 2546 นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาท่ีเคยสังกัดคณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ คณะ
เทคโนโลยีอุตสาหกรรม ได้ย้ายมาสังกัดคณะครุศาสตร์ได้แก่ โปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษ ภาษาไทย สังคม
ศึกษา ดนตรีศึกษา อุตสาหกรรมศิลป์และยังคงได้รับความร่วมมือในการจัดการเรียนการสอนวิชาเอก การ
พัฒนาวิชาชีพจากโปรแกรมวชิ าในคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์และคณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม
ปีการศึกษา 2547 นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาที่เคยสังกัดคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ย้ายมา
สังกัดคณะครุศาสตร์ได้แก่ โปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ทั่วไป และคณะครุศาสตร์ได้รับมอบหมาย
ให้ผลติ บณั ฑิตโครงการผลติ ครูการศึกษาขั้นพื้นฐานระดบั ปริญญาตรี (หลักสตู ร 5 ป)ี เป็นร่นุ แรก มีนักศึกษาใน
โครงการจำนวน 39 คน ได้แก่โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ทั่วไป ศิลปกรรม
(ดนตรี) นอกจากนั้นปีการศึกษา 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ซึ่งสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
อุดมศึกษา มีการปรับเปลี่ยนหน่วยงานภายในใหม้ ีความเหมาะสม คณะครุศาสตร์จัดกลุ่มโปรแกรมวิชาเป็น 3
กลมุ่ สงั กดั ในภาควิชาดงั น้ี ภาควิชาการศกึ ษาพ้ืนฐาน และเทคนิคการศึกษา มโี ปรแกรมวิชาการประถมศึกษา
การศึกษาปฐมวัย การบริหารการศึกษา การศึกษาพิเศษ พลศึกษา เทคโนโลยีทางการศึกษา ภาควิชา
การศึกษาสังคมศาสตร์ มโี ปรแกรมวิชาภาษาไทย สงั คมศกึ ษา ภาษาอังกฤษ ศลิ ปกรรม (กล่มุ ดนตร)ี ศลิ ปกรรม
(กลุ่มทัศนศิลป์) ภาควิชาการศึกษาวิทยาศาสตร์ มีโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตรท์ ัว่ ไป คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์
ศึกษา เป็นต้น
ปีการศึกษา 2548 คณะครศุ าสตร์เปิดสอนโปรแกรมการศึกษาพเิ ศษและเปดิ ศูนย์การศึกษาพิเศษรับ
ดแู ลเดก็ พิเศษออทสิ ติกและเด็กปัญญาออ่ นในระยะแรกมเี ด็กพเิ ศษ จำนวน 8 คน
ปกี ารศกึ ษา 2549 ศูนยเ์ ด็กปฐมวยั เปลีย่ นเปน็ โรงเรยี นอนบุ าลราชภฏั กำแพงเพชรรบั นักเรยี น ใน
ระดบั ก่อนอนบุ าลและอนุบาล 1
ปีการศึกษา 2551 คณะครุศาสตร์ได้ดำเนินการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรผ่านการรับรองจากคุรุสภา
เมื่อปี พ.ศ. 2551 จำนวน 5 หลักสูตร ประกอบไปด้วย หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2546)
รับรองเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2551 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2549) รับรองเมื่อวันที่ 4
ธันวาคม 2551 ประกอบด้วย โปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย โปรแกรมวิชาการศึกษาพิเศษ โปรแกรมวิชา
คณิตศาสตร์ โปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษ โปรแกรมวิชาดนตรีศึกษา โปรแกรมวิชาพลศึกษา โปรแกรมวิชา
วิทยาศาสตร์ทั่วไป โปรแกรมวิชาสังคมศึกษา โปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตร
บัณฑิตการบริหารการศึกษา รับรองเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตสาขาวิชาชพี
ครู (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2549) รับรองเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2551 และหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตสาขาวิชา
ภาษาจีน รับรองเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2551 ทั้งนี้นักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
ที่สำเร็จการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2551 สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการและบุคลากรทางการศึกษา

รายงานการประเมนิ ตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ปีการศึกษา 2563 4

มีมติรับรองคุณวุฒิเพื่อประโยชน์ในการบรรจุ และแต่งตั้งเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ในสังกดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงการทอ่ งเทีย่ ว และกีฬา และกระทรวงวฒั นธรรม ไดก้ ำหนดและรบั รอง
อัตราเงินเดือน 8,700 บาท ตามบัญชีอัตราเงินเดือน ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาที่มีใบอนุญาต
ประกอบวิชาชีพแนบท้าย พระราชกฤษฎีกาการปรับอัตราเงินเดือนข้าราชการครูและบุคลการทางการศึกษา
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 และในปีการศึกษา 2551 นักศึกษาโครงการผลิตครูการศกึ ษาขั้นพื้นฐานระดับปริญญา
ตรี (หลักสูตร 5 ปี) สำเรจ็ การศึกษา ไดร้ ับการบรรจเุ ขา้ รับราชการครู ร้อยละ 100

ปรัชญา
ครดู สี ร้างคน คนดีสร้างชาติ ครศุ าสตรส์ รา้ งครูดี

วิสยั ทศั น์
คณะครศุ าสตร์เปน็ ผู้นำในการประยกุ ต์ศาสตร์พระราชามาใช้ในการผลติ และพัฒนาวชิ าชพี ครู เพ่ือ

การพฒั นาท้องถิน่ ที่มีคุณภาพระดับสากล

วัตถุประสงค์
1. เพือ่ ผลิตบัณฑิตครูให้มีความรู้ ทักษะและความสามารถด้านวชิ าการและวิชาชีพ
2. เพื่อพฒั นางานวจิ ัยและสร้างสรรคน์ วตั กรรมทางการศึกษา
3. เพอ่ื ทำนบุ ำรุงศลิ ปวฒั นธรรมและใหบ้ ริการวชิ าการเพ่ือสร้างความเขม้ แขง็ ใหแ้ ก่ชมุ ชนและท้องถนิ่
4. เพ่อื บรหิ ารจัดการองคก์ รดว้ ยเทคโนโลยีและนวัตกรรมทท่ี นั สมยั และมธี รรมาภิบาล

พนั ธกิจ
1. ผลิตบณั ฑิตครูใหม้ ีความรู้ ทกั ษะและความสามารถดา้ นวชิ าการและวชิ าชพี
2. พฒั นางานวจิ ยั และสรา้ งสรรค์นวตั กรรมทางการศึกษา
3. ใหบ้ รกิ ารวชิ าการเพ่ือสรา้ งความเข้มแข็งให้แก่ชมุ ชนและท้องถนิ่
4. พัฒนาเครือขา่ ยความร่วมมือทางวิชาการและทำนุบำรุงศลิ ปวฒั นธรรม
5. บรหิ ารจัดการองค์กรดว้ ยเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมท่ีทันสมัยและมธี รรมาภบิ าล

ประเดน็ ยุทธศาสตร์
1. การยกระดบั คุณภาพและมาตรฐานการผลิตบณั ฑติ ครทู ่ีเน้นสมรรถนะสูงท้ังด้านความรู้และคณุ ธรรม
2. สรา้ งงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทีม่ ุ่งเน้นการพัฒนาวิชาชพี ครู
3. เพิ่มประสทิ ธภิ าพการให้บริการวชิ าการ
4. พฒั นาเครอื ข่ายความรว่ มมอื ทางวิชาการและศลิ ปวฒั นธรรม

รายงานการประเมินตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ ปีการศกึ ษา 2563 5

5. เสรมิ สร้างธรรมาภิบาลและพฒั นาองค์กรสู่ความเป็นสากล

เป้าประสงค์
1. ผลิตบัณฑติ ครทู ีม่ ีคณุ ภาพและมีขีดสมรรถนะสูงตามแนวทางศาสตรพ์ ระราชา “เข้าใจ เขา้ ถึง พัฒนา”
2. พัฒนางานวิจยั และนวัตกรรมท่ีมีคุณคา่ เพ่ือการพัฒนาท้องถน่ิ ดว้ ยศาสตร์พระราชา “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา”
3. ใหบ้ รกิ ารวชิ าการและพัฒนาวิชาชพี ครูดว้ ยหลักสูตรระยะสั้นที่หลากหลาย
4. พฒั นาเครอื ข่ายความรว่ มมอื ทางวชิ าการและศลิ ปวัฒนธรรมทงั้ ในและต่างประเทศ
5. บริหารจัดการท่ีทันสมยั และยึดหลักธรรมาภิบาลดว้ ยมาตรฐานระดบั สากล

คา่ นยิ มหลัก
EDU E : Efficiency คอื ใชท้ รพั ยากรอย่างประหยดั และคุ้มคา่ ชุมชนและสังคมพงึ พอใจ

D : Democracy คอื การทำงานร่วมกันโดยยึดหลกั ประชาธปิ ไตย

U : Unity คอื มีความรกั ความสามัคคเี ปน็ อันหนึ่งอนั เดยี วกันและภักดีต่อองค์กร

อัตลักษณ์
บณั ฑิตมีจติ อาสา สรา้ งสรรค์ปัญญา พัฒนาท้องถ่ิน

จุดเน้น จุดเดน่ หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะ
ผลิต พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

คณุ ลักษณะบัณฑติ คณะครศุ าสตร์
อ่อนน้อม ซื่อสัตย์ เสยี สละ อดทน อทุ ิศตนให้กับงาน รอบรู้วิชาการ เชย่ี วชาญวชิ าชพี

3.3 ภาพรวมของหลักสตู ร หลักสูตรครศุ าสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาองั กฤษ
ชอื่ หลักสตู ร Bachelor of Education Program in English
ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ

ช่อื ปรญิ ญาและสาขาวิชา 6
ภาษาไทย ช่ือเตม็ ครุศาสตรบัณฑติ (ภาษาองั กฤษ)
ชื่อยอ่ ค.บ. (ภาษาองั กฤษ)

รายงานการประเมินตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาองั กฤษ ปีการศึกษา 2563

ภาษาองั กฤษ ชื่อเตม็ Bachelor of Education (English)
ชื่อย่อ B.Ed. (English)

รปู แบบของหลักสตู ร
เป็นหลกั สูตรระดบั ปรญิ ญาตรี 4 ปี ตามมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับปรญิ ญาตรี สาขาครุศาสตร์

และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสตู รสีป่ )ี พ.ศ. 2562
ประเภทของหลักสูตร
หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ
ภาษาท่ีใช้
ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
การรับเข้าศกึ ษา
รบั นกั ศกึ ษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศท่ีสามารถส่ือสารภาษาไทยได้
ความรว่ มมือกบั สถาบนั อืน่
เปน็ หลกั สตู รเฉพาะของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั กำแพงเพชรท่ีจดั การเรยี นการสอนโดยตรง
การให้ปรญิ ญาแกผ่ ้สู ำเร็จการศกึ ษา
ให้ปริญญาเพยี งสาขาวิชาเดยี ว
ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรทมี่ ีคุณภาพและมาตรฐาน
หลักสตู รมคี วามพรอ้ มในการเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับ

ปริญญาตรี สาขาครุศาสตรแ์ ละสาขาศึกษาศาสตร์ (หลกั สูตรสป่ี ี) พ.ศ. 2562 ในปีการศึกษา พ.ศ. 2564
อาชพี ท่ีสามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศกึ ษา
1. ครู/อาจารยใ์ นโรงเรียนและสถาบันการศึกษาตา่ ง ๆ
2. มคั คุเทศก์ ล่าม
3. นักธุรกจิ ระหวา่ งประเทศ
4. นกั วิชาการอิสระ
5. ผูป้ ระกอบการโรงเรยี นกวดวชิ า
6. ผู้ประกอบการระหว่างประเทศ
7. พนักงานต้อนรับบนเคร่ืองบิน
8. งานในกระทรวงการตา่ งประเทศ
9. พนกั งานโรงแรม
ปรชั ญา
หลักสูตรครศุ าสตรบัณฑิตสาขาวิชาภาษาอังกฤษเป็นหลักสูตรที่จัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคน พัฒนา

งานและพัฒนาระบบการทำงาน โดยยึดหลักความเสมอภาค ความถูกต้อง ความชอบธรรม มุ่งผลิตครูที่มี
ความรู้ความสามารถมีคุณภาพ คุณธรรมและจริยธรรมแห่งวิชาชีพตามแนวทางพระราชบัญญัติการศึกษา

รายงานการประเมนิ ตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ ปีการศึกษา 2563 7

แห่งชาติ พทุ ธศกั ราช 2542 และที่แกไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 และหลักเกณฑ์เงื่อนไขทค่ี ณะกรรมการ
สภาวิชาวิชาชีพครูกำหนดและข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562ตามเกณฑ์
มาตรฐานหลักสตู รปริญญาตรี 2558 มปี รัชญาการศึกษาเพ่ือม่งุ ให้การผลิตบณั ฑติ มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับ
แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาของชาติปรัชญาของการอุดมศึกษาปรัชญาของสถาบันอุดมศึกษาและ
มาตรฐานวิชาการและวิชาชพี ทเ่ี ป็นสากล

ความสำคัญ
หลักสูตรครุศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มคี วามจำเป็นต่อการพัฒนาการศึกษาในยคุ
ศตวรรษท่ี 21 โดยกระบวนการพัฒนาหลักสูตรมีการปรับเปลยี่ นใหม้ ีความสมบูรณแ์ บบในเรอ่ื งการนำศาสตร์
พระราชาและการพัฒนาครูให้เป็นบุคคลทมี่ ีความรู้ความสามารถต่อวทิ ยาการจัดการเรียนรู้ท้ังในสาขาวิชาชีพ
ครู รวมถึงการพฒั นาทักษะภาษาอังกฤษสำหรบั การจัดการเรยี นรูใ้ นระบบการศึกษาขน้ั พื้นฐานท่ีจำเป็นตอ้ ง
อาศยั หลกั สูตรในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเปน็ สถาบนั อุดมศึกษาท่ีพฒั นา
ทอ้ งถ่ินทีม่ ีตน้ กำเนิดจากโรงเรยี นฝกึ หัดครู วิทยาลยั ครูจึงจำเปน็ ตอ้ งเปน็ ต้นแบบในการพัฒนาวชิ าชพี ครใู หม้ ี
ความทนั สมยั ตรงตามมาตรฐานทคี่ ุรสุ ภากำหนดร่วมกับสถาบนั พัฒนาวชิ าชีพทางภาษาอังกฤษทจี่ ำเปน็ ต้อง
พฒั นาให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถทางการสอนภาษาอังกฤษใหม้ คี วามย่ังยนื
วตั ถปุ ระสงค์
หลักสูตรครุศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั กำแพงเพชร
มวี ตั ถปุ ระสงคท์ ัว่ ไปในการผลิตบัณฑิตให้มคี ุณสมบตั ิ ดงั น้ี

1. มีความรคู้ วามสามารถทักษะในการประกอบวชิ าชพี ครู ตามมาตรฐานวิชาชพี ครูและสามารถ
วเิ คราะหป์ ัญหา วางแผน แก้ปัญหาได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

2. มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษและทักษะภาษาอังกฤษเป็น
อย่างดี

3. มคี วามรัก ศรัทธา ภมู ใิ จในวิชาชีพครู และมีจรรยาบรรณของวชิ าชพี ครู
4. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีความเมตตา กรณุ า ต่อผเู้ รยี น
5. มจี ติ สำนึกในการพัฒนาตนเอง สงั คม มีจติ ใจเปน็ ประชาธิปไตย สามารถทำงานรว่ มกับผ้อู น่ื ได้
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
6. มีบุคลิกภาพเหมาะสมที่จะประกอบวชิ าชพี ครมู ีความประพฤตปิ ฏิบตั ิตนเป็นแบบอย่างทีดี
7. มคี วามใฝ่รู้ ใฝเ่ รยี น กระตือรอื ร้น แสวงหาความรู้เพ่ือพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนอ่ื งและสามารถ
นำความรู้ทไ่ี ดร้ ับไปประยกุ ต์ใชใ้ นการจัดประสบการณ์ให้แกผ่ ูเ้ รยี นได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
8. มีความสามารถในการใชภ้ าษาไทย ภาษาต่างประเทศ เพ่อื การส่อื สารได้อย่างดี และสามารถ
ใชส้ ื่อเทคโนโลยตี ่าง ๆ ท่มี ีความทนั สมยั ได้
9. สามารถผลติ ส่ือ วัสดอุ ุปกรณ์ทางการศึกษาเพือ่ ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรูไ้ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี

รายงานการประเมินตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ปีการศึกษา 2563 8

โครงสรา้ งหลักสูตร

จำนวนหนว่ ยกิตรวมตลอดหลกั สตู ร ไม่น้อยกว่า 138 หน่วยกิต

1) หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป ไมน่ อ้ ยกวา่ จำนวน 30 หน่วยกิต
9 หน่วยกิต
1. กลมุ่ วิชาภาษาและการส่ือสาร ไมน่ ้อยกว่า จำนวน 6 หนว่ ยกติ
6 หนว่ ยกติ
2. กลมุ่ วิชามนุษยศาสตร์ ไม่น้อยกวา่ จำนวน 6 หนว่ ยกติ
3 หนว่ ยกติ
3. กลุ่มวชิ าสังคมศาสตร์ ไมน่ ้อยกวา่ จำนวน 102 หน่วยกิต
39 หน่วยกิต
4. กลมุ่ วชิ าคณิตศาสตรว์ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไมน่ อ้ ยกว่า จำนวน 25 หนว่ ยกติ
14 หน่วยกิต
และเลอื กเรียนในกลุ่มวชิ า 1.1 – 1.4 ไมน่ ้อยกว่า จำนวน 63 หน่วยกติ
42 หน่วยกิต
2) หมวดวชิ าเฉพาะ ไม่น้อยกวา่ จำนวน 21 หน่วยกติ
6 หนว่ ยกติ
2.1 กลุ่มวชิ าวชิ าชพี ครบู ังคับ จำนวน

1) วชิ าชีพครบู งั คบั จำนวน

2) วชิ าการปฏิบัติการสอนในสถานศกึ ษา จำนวน

2.2 กลุ่มวชิ าเอก จำนวน

1) วิชาเอกบังคบั จำนวน

2) วิชาเอกเลือก จำนวน

3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่นอ้ ยกวา่ จำนวน

มาตรฐานผลการเรยี นรู้ของหลักสูตร
หมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไป

มาตรฐานผลการเรียนรู้
1. ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม

1.1 มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ
1.2 มรี ะเบียบวนิ ัยและความรบั ผิดชอบ อดทน ขยัน ซื่อสตั ย์
1.3 มคี วามเสียสละ มจี ิตอาสา เป็นแบบอยา่ งทดี่ ี มีความเขา้ ใจตนเอง เข้าใจผูอ้ ืน่ เข้าใจสังคมไทยและ
สงั คมโลก
1.4 รู้จักความจริงของชีวิต คุณค่าของความเป็นมนุษย์ ดำเนินชีวิตโดยพื้นฐานตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพยี ง
2. ด้านความรู้
2.1 มคี วามเขา้ ใจแนวคิด หลักการ ทฤษฎดี ้านคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
2.2 มีความร้คู วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสือ่ สาร
2.3 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และนำความรู้ด้านมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์มาใช้ใน
ชวี ติ ประจำวนั

รายงานการประเมินตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาองั กฤษ ปกี ารศกึ ษา 2563 9

มาตรฐานผลการเรยี นรู้
2.4 มคี วามรู้ความเข้าใจดา้ นภาษา
3. ทักษะทางปญั ญา
3.1 สามารถค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ ประเมินข้อมูลจากหลักฐานและ นำข้อสรุปมาใช้
ประโยชน์ได้
3.2 สามารถศกึ ษา วิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไข
4. ทกั ษะความสมั พันธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ
4.1 มีทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล มีภาวะผู้นำและภาวะผู้ตามที่ดี มีความเข้าใจวัฒนธรรมและ
สงั คมทแี่ ตกต่าง มคี วามสามารถในการทำงาน และแกป้ ญั หากลมุ่ ได้
4.2 มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสังคม
5. ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
5.1 มีทักษะในการคิดวเิ คราะห์ ใชเ้ ทคนคิ ทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาและการตัดสินใจใน
การดำรงชีวติ
5.2 มที กั ษะในการติดต่อสอื่ สาร ทงั้ การฟงั พดู อา่ น เขยี น และเลอื กใชร้ ูปแบบการนำเสนอได้เหมาะสม
ทง้ั ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ
5.3 มที กั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ การสบื ค้น ค้นควา้ แหลง่ ขอ้ มลู ความรู้และเรยี นร้ดู ้วยตนเอง
การเรียนรูต้ ลอดชวี ิต ตลอดถงึ รู้เทา่ ทันการสอ่ื สารจากแหล่งสารสนเทศทุกรปู แบบ

หมวดวชิ าเฉพาะ
มาตรฐานการเรยี นรู้

1. ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม
1.1 รัก ศรัทธาและภูมใิ จในวชิ าชพี ครู มีจิตวิญญาณและอดุ มการณ์ความเปน็ ครู และปฏบิ ัติตนตามจรรยาบรรณ
วชิ าชพี ครู
1.2 มจี ติ อาสา จติ สาธารณะ อดทนอดกลน้ั มีความเสียสละ รบั ผดิ ชอบและซือ่ สัตย์ต่องานที่ไดร้ ับมอบหมายท้ัง
ดา้ นวิชาการและวิชาชีพ และสามารถพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนื่อง ประพฤติตน เป็นแบบอย่างทด่ี แี กศ่ ิษย์
ครอบครวั สังคมและประเทศชาติ และเสริมสรา้ งการพฒั นาทีย่ ง่ั ยืน
1.3 มคี ่านิยมและคุณลกั ษณะเป็นประชาธปิ ไตย คือ การเคารพสิทธิและให้เกียรติคนอน่ื มีความสามัคคแี ละ
ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ใช้เหตผุ ลและปัญญาในการดำเนินชีวิตและการตัดสินใจ
1.4 มีความกลา้ หาญและแสดงออกทางคณุ ธรรมจรยิ ธรรม สามารถวนิ ิจฉยั จัดการและ คดิ แกป้ ัญหาทาง
คุณธรรมจรยิ ธรรมดว้ ยความถกู ต้องเหมาะสมกบั สังคม การทำงานและสภาพแวดล้อม โดยอาศัยหลกั การ
เหตุผลและใชด้ ุลยพินิจทางคา่ นยิ ม บรรทัดฐานทางสงั คม ความรู้สึกของผู้อื่นและประโยชนข์ องสังคมสว่ นรวม มี

รายงานการประเมนิ ตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ ปกี ารศึกษา 2563 10

มาตรฐานการเรยี นรู้

จิตสำนกึ ในการธำรงความโปรง่ ใสของสงั คมและประเทศชาติ ต่อตา้ นการทจุ ริตคอรปั ชน่ั และความไม่ถูกต้อง ไม่
ใชข้ ้อมลู บดิ เบือนหรือการลอกเลยี นผลงาน

2. ความรู้
2.1 มคี วามรอบร้ใู นหลกั การ แนวคิด ทฤษฎี เนื้อหาสาระด้านวิชาชพี ของครู อาทิ คา่ นิยม

ของครู คุณธรรม จริยธรรมรรยาบรรณ จิตวิญญาณครู ปรัชญาความเป็นครู จิตวิทยาสำหรับครู จิตวิทยา
พฒั นาการ จิตวทิ ยาการเรียนรู้เพื่อจัดการเรียนรู้และช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา ส่งเสรมิ และพัฒนาผู้เรียนหลักสูตร
และวิทยาการการจัดการเรียนรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารการศึกษาและการเรียนรู้
การวัดประเมินการศึกษาและการเรียนรู้ การวิจัยและการพัฒนานวตั กรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนและภาษาเพื่อการ
สื่อสารสำหรับครู ทักษะการนิเทศและการสอนงาน ทักษะเทคโนโลยีและดิจิทัล ทักษะการทำงานวิจัยและวัด
ประเมิน ทักษะการร่วมมือสร้างสรรค์ และทักษะศตวรรษที่ ๒๑ มีความรู้ ความเข้าใจในการบูรณาการความรู้
กับการปฏิบัติจริงและการบูรณาการข้ามศาสตร์ อาทิ การบูรณาการการสอน (Technological Pedagogical
Content Knowledge: TPCK) การสอนแบบบูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี กระบวนการทาง
วิศวกรรมและคณิตศาสตร์ (Science Technology Engineering and Mathematics Education: STEM
Education) ชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community: PLC) และมี ความรู้ในการ
ประยุกต์ใช้

2.2 มีความรอบรู้ในหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เนื้อหาวิชาที่สอน สามารถวิเคราะห์ความรู้ และเนื้อหาวิชาท่ี
สอนอย่างลึกซึ้ง สามารถติดตามความก้าวหน้าด้านวิทยาการและนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนา ผู้เรียน โดยมี
ผลลพั ธก์ ารเรียนร้แู ละเน้อื หาสาระด้านมาตรฐานผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้ของแต่ละสาขา

2.3 มีความรู้ เข้าใจชีวิต เข้าใจชุมชน เข้าใจโลกและการอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่าง ทางวัฒนธรรม
สามารถเผชญิ และเท่าทันกบั การเปลี่ยนแปลงของสงั คม และสามารถนำแนวคิดปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง
ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดำเนินชีวิตและพฒั นาตน พฒั นางานและพฒั นาผ้เู รียน

2.4 มีความรู้และความสามารถในการใชภ้ าษาไทยและภาษาองั กฤษเพ่อื การส่ือสารตามมาตรฐาน
2.5 ตระหนกั รู้ เหน็ คุณคา่ และความสำคญั ของศาสตร์พระราชาเพอ่ื การพฒั นาท่ยี ่ังยืน และนำมาประยกุ ต์ใช้
ในการพัฒนาตน พฒั นาผู้เรียน พฒั นางานและพฒั นาชุมชน
3. ทกั ษะทางปญั ญา
3.1 คิด ค้นหา วิเคราะห์ข้อเท็จจริง และประเมินข้อมูล สื่อ สารสนเทศจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่าง
รู้เท่าทัน เป็นพลเมืองตื่นรู้ มีสำนึกสากล สามารถเผชิญและก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงในโลกยุคดิจิทัล
เทคโนโลยีข้ามแพลทฟอร์ม (Platform) และโลกอนาคต นำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน และวินิจฉัย
แก้ปัญหาและพัฒนางานได้อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงถึงความรู้ หลักการทางทฤษฎี ประสบการณ์ ภาคปฏิบัติ
คา่ นยิ ม แนวคิด นโยบายและยทุ ธศาสตร์ชาติ บรรทดั ฐานทางสังคมและผลกระทบท่อี าจเกดิ ขึน้
3.2 สามารถคิดรเิ รม่ิ และพฒั นางานอย่างสรา้ งสรรค์

รายงานการประเมินตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาองั กฤษ ปีการศึกษา 2563 11

มาตรฐานการเรยี นรู้

3.3 สร้างและประยุกต์ใช้ความรู้จากการทำวิจัยและสร้างหรือร่วมสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนา การเรียนรู้ของ
ผูเ้ รยี นและพฒั นาผู้เรียนให้เป็นผูส้ รา้ งหรือร่วมสรา้ งนวตั กรรม รวมทงั้ การถา่ ยทอดความรู้ แก่ชุมชนและสังคม
4. ดา้ นทกั ษะความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คลและความรับผิดชอบ

4.1 เข้าใจและใส่ใจอารมณค์ วามรูส้ ึกของผอู้ ่นื มีความคดิ เชิงบวก มวี ุฒิภาวะทางอารมณ์
และทางสังคม

4.2 ทำงานรว่ มกบั ผอู้ ่ืน ทำงานเป็นทมี เป็นผ้นู ำและผู้ตามทีด่ ี มีสัมพนั ธภาพผู้ร่วมงาน ผู้ปกครองและคนใน
ชมุ ชน มีความรับผดิ ชอบต่อสว่ นรวมท้งั ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คมและสง่ิ แวดล้อม

4.3 มคี วามรบั ผิดชอบต่อหน้าที่ ต่อตนเอง ต่อผ้เู รียน ตอ่ ผูร้ ว่ มงาน และต่อส่วนสามารถชว่ ยเหลอื และ
แกป้ ญั หาตนเอง กลมุ่ และระหว่างกลุ่มได้อย่างสรา้ งสรรค์

4.4 มีภาวะผู้นำทางวิชาการและวิชาชีพ มีความเข้มแขง็ และกล้าหาญทางจรยิ ธรรมสามารถชนี้ ำและถ่ายทอด
ความรแู้ กผ่ ้เู รียน สถานศกึ ษา ชมุ ชนและสงั คมอยา่ งสร้างสรรค์
5. ดา้ นทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การส่ือสารและการใชเ้ ทคโนโลยี

5.1 มีทักษะ การวเิ คราะห์ขอ้ มูลสถิติ การสงั เคราะหข์ อ้ มูลเชิงปริมาณและเชิงคณุ ภาพเพอ่ื เข้าใจองคค์ วามรู้
หรอื ประเดน็ ปญั หาทางการศึกษาได้อย่างรวดเร็วและถูกตอ้ ง

5.2 สื่อสารกับผู้เรียน พ่อแม่ผู้ปกครอง บุคคลในชุมชนและสังคม และผู้เกี่ยวข้องกลุ่มต่าง ๆ ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพโดยสามารถเลือกใช้การสื่อสารทางวาจา การเขียนหรือการนำเสนอด้วยรูปแบบต่าง ๆ โดยใช้
เทคโนโลยกี ารสื่อสารหรือนวตั กรรมต่าง ๆ ท่เี หมาะสม

5.3 ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการสืบคน้ ข้อมูลหรือความรจู้ ากแหลง่ การเรียนรู้ต่าง ๆ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
สามารถใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่จำเป็นสำหรบั การเรียนรู้ การจัดการเรยี นรู้ การทำงาน การประชมุ การจัดการ
และสืบค้นข้อมูลและสารสนเทศ รับและส่งข้อมูลและสารสนเทศโดยใช้ดุลยพินิจที่ดี ในการตรวจสอบความ
นา่ เชอ่ื ถอื ของข้อมูลและสารสนเทศ อีกทง้ั ตระหนกั ถึงการละเมดิ ลิขสิทธแิ์ ละการลอกเลยี นผลงาน
6. ดา้ นวิธีวิทยาการจดั การเรียนรู้

6.1 สามารถเลอื กใช้ปรัชญาตามความเชื่อในกสร้างหลักสตู รรายวชิ า การออกแบบ เนอื้ หาสาระ กิจกรรม
การเรยี นการสอน สอ่ื และเทคโนโลยกี ารสอื่ สาร การวัดและประเมินผูเ้ รียน การบรหิ าร จดั การชัน้ เรียนการ
จัดการเรยี นโดยใช้แหล่งการเรียนร้ใู นโรงเรียน และนอกโรงเรยี น แหล่งการเรยี นร้แู บบเปิด ได้อย่างเหมาะสมกับ
สภาพบรบิ ทท่ตี ่างกนั ของผู้เรียนและพน้ื ที่

6.2 สามารถในการนำความรูท้ างจิตวิทยาไปใช้ในการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ออกแบบกิจกรรม การ
จัดเนื้อหาสาระ การบริหารจัดการและกลไกการช่วยเหลือ แก้ไขและส่งเสริมพัฒนา ผู้เรียนที่ตอบสนองความ
ตอ้ งการ ความสนใจ ความถนดั และศกั ยภาพของผูเ้ รียนที่มีความแตกต่างระหว่าง บุคคล ทัง้ ผ้เู รียนปกติและผู้ที่
มีความต้องการจำเปน็ พิเศษหรือผู้เรียนทม่ี ีข้อจำกัดทางกาย

6.3 จัดกิจกรรมและออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ เรียนรู้ผ่านการลงมือ
ปฏิบัติและการทำงานในสถานการณ์จริง ส่งเสริมการพัฒนาการคิด การทำงาน การจัดกการการเผชิญ

รายงานการประเมินตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ปีการศกึ ษา 2563 12

มาตรฐานการเรียนรู้
สถานการณ์ ฝึกการปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น โดยบูรณาการการทำงานกับการเรียนรู้และ คุณธรรม
จรยิ ธรรม สามารถประยุกตค์ วามรูม้ าใช้เพ่อื ปอ้ งกนั แกไ้ ขปัญหาและพฒั นา ดว้ ยความความซอ่ื สัตย์สุจริตมีวินัย
และรับผิดชอบต่อผู้เรยี นโดยยดึ ผเู้ รยี นสำคญั ท่ีสดุ

6.4 สร้างบรรยากาศและจัดสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน แหล่งวิทยาการ เทคโนโลยี วัฒนธรรมและภูมิ
ปัญญาทั้งในและนอกสถานศึกษาเพื่อการเรียนรู้ มีความสามารถในการประสานงานและสร้างความร่วมมือกับ
บิดามารดา ผู้ปกครองและบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่ออำนวยความสะดวกและร่วมมือกันพัฒนาผู้เรียนให้มี
ความรอบรู้ มีปัญญารคู้ ดิ และเกดิ การใฝ่รู้อยา่ งตอ่ เนอื่ งให้เต็มตามศักยภาพ

6.5 สามารถจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนมีทักษะศตวรรษที่๒๑ เช่นทักษะการเรียนรู้ ทักษะการรู้เรื่อง
ทกั ษะการคดิ ทักษะชวี ิต ทักษะการทำงานแบบร่วมมอื ทกั ษะการใช้ภาษาเพื่อการส่ือสาร ทักษะเทคโนโลยีและ
การดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนำทักษะเหล่านี้มาใช้ในการจัดการเรียนรู้
เพือ่ พัฒนาผเู้ รียนและตนเอง

ผลการเรยี นร้ทู ี่คาดหวังของหลักสูตร (ELOs)
หลักสูตรได้ทำการทบทวนผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (Elos) จากมาตรฐานการเรียนรู้ (TQF) ทั้ง 6

ด้าน และมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร (มคอ.1 ภาษาต่างประเทศ) สามารถสรุปผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
(Elos) ไดด้ งั นี้

รายงานการประเมนิ ตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาองั กฤษ ปีการศึกษา 2563 13

Corresponding PLOs Specific Generic Level TQF มคอ. 1
เมื่อจบการศกึ ษาจากหลกั สูตรนแ้ี ล้วผู้เรียนสามารถ LO LO การสอ่ื สาร (5) การสอ่ื สาร (5)
√ Remembering (R)
1. สือ่ สารภาษาอังกฤษ ได้อย่างถูกต้องคลอ่ งแคลว่ √ Applying (A) ความรู้ (2) ความรู้ (2)
Communicate English fluently Applying (A)
2. นำเสนองานเป็นภาษาอังกฤษในแบบทางการและไม่เปน็ ทางการได้ √ Creating (C) จัดการเรยี นรู้ (6) จัดการเรยี นรู้
Present in English both formal and informal (6)
3. ออกแบบแผนและจดั การเรียนการสอนเปน็ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษใน √ Understanding (U) ความรู้ (2)
ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานและประเมินผลในช้ันเรียนได้ Applying (A) ความรู้ (2)
Create, design and evaluate teaching and learning management √ Creating (C) ความรู้ (2)
both in Thai and English in basic educational level ความรู้ (2)
4. แปลภาษาองั กฤษเป็นภาษาไทยและภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ √ Understand (U) คณุ ธรรม
Translate both Thai to English and English to Thai √ Apply (A) จริยธรรม (1) คุณธรรม
5. สามารถจัดสมั มนา จดั อบรมและจัดค่ายภาษาองั กฤษได้และบรกิ าร ความรู้ (2) จริยธรรม (1)
วชิ าการแกช่ มุ ชนทอ้ งถนิ่ Creating (C) ความรู้ (2)
Organize educational seminar, training, English language camp Understanding (U)
and service in academic to local community
6. มีความรับผดิ ชอบ ซ่อื สตั ย์ ตรงตอ่ เวลาเสยี สละและอุทิศตนต่อวิชาชีพ Evaluating (E)
Have responsibility, integrity, punctuality and dedication to
profession Understanding (U)
7. เขียนบทความภาษาองั กฤษในรปู แบบทางการและไมเ่ ป็นทางการได้ Analyzing (A)
Evaluating (E)

Understanding (U)

รายงานการประเมนิ ตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ ปีการศกึ ษา 2563 14

Corresponding PLOs Specific Generic Level TQF มคอ. 1
เมือ่ จบการศึกษาจากหลักสตู รนแ้ี ล้วผ้เู รียนสามารถ LO LO
Analyzing (A) ปัญญา (3) ปญั ญา (3)
Write article in English both formal and informal Evaluating (E) เทคโนโลยี (4) เทคโนโลยี (4)
Applying (A)
8. ประยุกต์ใช้แนวคดิ หลกั การ ทฤษฎใี นการแกป้ ญั หาได้อยา่ งสร้างสรรค์ได้ √ Analyzing (A)
Apply concepts, principle and theories to solve problem √ Evaluating (E)
creatively Applying (A)
9. ปรบั ตัวเขา้ กับผู้อ่นื และสามารถทำงานเป็นทมี ได้ Evaluating (E)
Adapt oneself to work with others and team Applying (A)

รายงานการประเมนิ ตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาองั กฤษ ปกี ารศกึ ษา 2563 15

ส่วนท่ี 2 ผลการดำเนินงานตามองคป์ ระกอบและตวั บ่งชี้

1. ข้อมูลของหลักสูตร
1.1 รายชอ่ื อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลกั สตู ร

ตามมคอ.2 ชดุ ปัจจบุ ัน หมายเหตุ
1. นายบณั ฑติ ฉตั รวโิ รจน์
2. นายอนุสิษฐ์ พันธ์กลำ่ 1. นายบัณฑติ ฉัตรวิโรจน์ มตสิ ภามหาวิทยาลยั ราชภฏั กำแพงเพชร
3. นางสาวชลชลิตา กมทุ ธภไิ ชย
4. นายถริ วทิ ไพรมหานยิ ม 2. นายอนุสิษฐ์ พนั ธก์ ล่ำ ครัง้ ที่ 5/2562 เมื่อวนั ที่ 7 พฤษภาคม
5. นางสาวธารณา สวุ รรณเจรญิ
3. นางสาวชลชลติ า กมุทธภิไชย 2562

4. นายถริ วิท ไพรมหานิยม

5. นางสาวธารณา สวุ รรณเจรญิ

1.2 คณุ วุฒิอาจารย์ประจำหลักสูตร

ลำดับ ชื่อ-นามสกุล ตำแหนง่ ทาง คณุ วฒุ ิสาขาวิชา
วิชาการ
1. นายบณั ฑติ ฉตั รวโิ รจน์ รศ. ค.ด. (อดุ มศึกษา)
2. นายอนสุ ษิ ฐ์ พนั ธ์กลำ่ ผศ. ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษ)
3. นางสาวชลชลติ า กมทุ ธภิไชย ผศ. ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษ)
4. นายถริ วิท ไพรมหานยิ ม ผศ. ศศ.ด. (ภาษาองั กฤษ)
5. นางสาวธารณา สุวรรณเจรญิ อาจารย์ ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษ)
6. นางสาวสุกัญญา ธรรมธีรศิษฏ์ อาจารย์ ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษ)
7. นายวชิ านนท์ ผ่องจิตต์ อาจารย์ ศศ.ม. (ภาษาศาสตรป์ ระยุกต์ การสอนภาษาอังกฤษ)

1.3 รายชื่ออาจารย์ผู้สอน คณุ วุฒิ

อาจารยผ์ สู้ อน ค.ด. (อดุ มศึกษา)
1. นายบณั ฑติ ฉัตรวิโรจน์ ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษ)
2. นายอนสุ ิษฐ์ พันธ์กลำ่ ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษ)
3. นางสาวชลชลติ า กมทุ ธภไิ ชย ศศ.ด. (ภาษาองั กฤษ)
4. นายถิรวิท ไพรมหานิยม ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษ)
5. นางสาวธารณา สวุ รรณเจรญิ

รายงานการประเมนิ ตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ ปีการศึกษา 2563 16

อาจารยผ์ ูส้ อน คุณวุฒิ
6. นางสาวสุกัญญา ธรรมธรี ะศษิ ฏ์ ศศ.ม. (ภาษาอังกฤษ)
7. นายวิชานนท์ ผ่องจติ ต์ ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์ประยกุ ต์ การสอนภาษาองั กฤษ)

2. องคป์ ระกอบท่ี 1 การกำกบั ให้เป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐานหลักสูตร
ตัวบ่งชี้ท่ี 1.1 การบรหิ ารจดั การหลักสตู รตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสตู รที่กำหนด โดย สกอ. ตามเกณฑ์

มาตรฐานหลกั สูตร พ.ศ. 2558
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มีการบริหารจัดการหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์

มาตรฐานหลักสูตรระดบั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2558 โดยมรี ายละเอยี ดผลการดำเนนิ งานดังต่อไปนี้

ข้อ เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการดำเนินงาน

1 จำนวนอาจารย์ประจำ เปน็ ไปตามเกณฑ์

หลกั สตู ร จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภฏั กำแพงเพชร มีจำนวน 7 คน

ซ่ึงผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน ประกอบด้วย

1. รศ.ดร.บณั ฑิต ฉตั รวิโรจน์

2. ผศ.อนสุ ิษฐ์ พันธก์ ล่ำ

3. ผศ.ชลชลิตา กมุทธภิไชย

4. ผศ.ดร.ถริ วทิ ไพรมหานิยม

5. อาจารยธ์ ารณา สวุ รรณเจรญิ

6. อาจารย์สกุ ัญญา ธรรมธรี ะศิษฎ์

7. อาจารย์วิชานนท์ ผอ่ งจิตต์

2 คุณสมบัติของอาจารย์ เป็นไปตามเกณฑ์

ประจำหลกั สูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร มีจำนวน 7 คน มี

คณุ วุฒิที่ตรงกบั สาขาวิชาของหลกั สูตร ซ่ึงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน โดยอาจารย์

มีคณุ วุฒิดังนี้

1. รศ.ดร.บัณฑติ ฉตั รวโิ รจน์

- ค.ด.(อุดมศกึ ษา) จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั 2550

- กศ.ม.(ภาษาองั กฤษ) มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2543

- ค.บ. (ภาษาองั กฤษ) สถาบันราชภฏั เพชรบูรณ์ 2542

- ค.บ. (การประถมศึกษา) (เกียรตินยิ มอันดบั 1) 2536

รายงานการประเมนิ ตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ปกี ารศึกษา 2563 17

2. ผศ.อนสุ ษิ ฐ์ พนั ธก์ ลำ่
- ศศ.ม. (ภาษาองั กฤษ) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2550
- ค.บ. (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลยั ราชภัฏกำแพงเพชร 2546

3. ผศ.ชลชลติ า กมุทธภไิ ชย
- ศศ.ม. (ภาษาองั กฤษ) มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2552
- ค.บ. (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ 2549

4. ผศ.ดร.ถริ วิท ไพรมหานิยม
- ศศ.ด. (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลยั พะเยา 2563
- M.A. (English) Pune University India 2551
- พธ.บ. (ภาษาองั กฤษ) มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณ์ราชวทิ ยาลยั 2549

5. อาจารย์ธารณา สุวรรณเจริญ
- ศศ.ม. (ภาษาองั กฤษ) มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ 2557
- ศศ.บ. (ภาษาองั กฤษ) มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ 2552

11 การปรับปรุงหลักสูตร เปน็ ไปตามเกณฑ์
ตามรอบระยะเวลาที่ 1) เรม่ิ เปดิ หลักสตู รครั้งแรกในปี พ.ศ. 2548
กำหนด 2) ตามรอบหลกั สตู รตอ้ งปรบั ปรงุ ให้แลว้ เสรจ็ และประกาศใช้ในปี พ.ศ. 2562
 ปัจจบุ นั หลกั สตู รยังอยใู่ นระยะเวลาทก่ี ำหนด
 ปัจจบุ นั หลกั สูตรเกนิ รอบระยะเวลาทีก่ ำหนด
ปรับปรุงหลักสูตรครุสาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (4ปี) (หลักสูตร
ปรับปรุง 2562) ตามนโยบายในการดาเนินการปรับปรุงในกลุ่มครุศาสตรศึกษา
พร้อมกันทั้งประเทศ และได้รับการอนุมัติจากสานักงานปลัดกระทรวงการ
อดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม เม่ือวันท่ี 6 พ.ย. 2562

12 การดำเนินงานใ ห้ มีการดำเนนิ งานครบถ้วนตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับอุดมศกึ ษา ขอ้ 1-5
เป็นไปตามตัวบ่งชี้ผล
ก า ร ด ำ เ น ิ น ง า น เ พื่ อ
การประกันคุณภาพ
หลักสูตร และการ
เรียนการสอนตาม
กรอบมาตรฐานคณุ วุฒิ
ระดับอุดมศึกษา
สรปุ ผล : หลกั สูตรมผี ลการดำเนนิ งานเปน็ ไปตามเกณฑ์การกำกบั มาตรฐาน 12 ข้อ

รายงานการประเมินตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาองั กฤษ ปกี ารศึกษา 2563 18

3. องคป์ ระกอบท่ี 2 ผลการดำเนนิ งานตามเกณฑ์ AUN-QA ของหลกั สูตร
การประเมนิ คุณภาพระดับหลกั สูตรในองคป์ ระกอบที่ 2 มเี กณฑค์ ุณภาพ 11 เกณฑ์ ซง่ึ เป็นเกณฑ์ในการ

ประเมินเพื่อให้หลักสูตรรับรู้ถึงระดับคุณภาพของหลักสูตรในแต่ละเกณฑ์ และสามารถปรับปรุงพัฒนา
หลกั สตู รตอ่ ไปได้ โดยแตล่ ะเกณฑม์ ีระดับการประเมิน 7 ระดับ (รายละเอยี ดเกณฑป์ รากฏตามภาคผนวกท่ี 1)
ตามรายละเอยี ดต่อไปนี้

เกณฑ์คุณภาพที่ 1 : (ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวงั ) Program Learning Outcomes (PLOs)
เกณฑ์คณุ ภาพยอ่ ยที่ 1

การกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังมีความชัดเจนและแสดงไว้ในหลักสูตร และมีความเชื่อมโยง
สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจของสถาบัน (The expected learning outcomes have been clearly
formulated and aligned with the vision and mission of the university)
ผลการดำเนินงาน

หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มีการปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานการ
เรียนรู้เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558 โดยการปรับปรุงหลักสูตรใน
ครั้งนั้นยังไม่ได้ดำเนินการกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (PLOs) ไว้ เพียงแต่มีการกำหนดจุดประสงค์ของ
หลักสูตรท่ีสอดคลอ้ งกบั วสิ ยั ทัศน์และพันธกิจของมหาวิทยาลัยและคณะท่ีกล่าวไว้ ดังน้ี

วสิ ัยทัศน์มหาวิทยาลยั ราชภัฏกำแพงเพชร
มหาวิทยาลยั ท่มี คี วามพร้อมในการเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพ่ือพัฒนาท้องถิ่น

พนั ธกจิ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
1. สรา้ งความเขม้ แขง็ ใหก้ ับชมุ ชนทอ้ งถิน่
2. ผลติ และพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษา
3. ผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ทักษะ และความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา การสร้างสรรค์และการ

สอ่ื สารดว้ ยหลักคณุ ธรรม คณุ ภาพและมาตรฐานระดับชาติและสากล
4. บริหารจดั การมหาวิทยาลัยดว้ ยเทคโนโลยีและนวตั กรรมที่ทันสมยั โปร่งใส ด้วยหลักธรรมาภิบาล มี

การพัฒนาอยา่ งก้าวหนา้ ตอ่ เนอ่ื งและย่งั ยืน

วสิ ัยทศั นค์ ณะครุศาสตร์
คณะครศุ าสตรเ์ ปน็ ผนู้ ำในการประยกุ ต์ศาสตร์พระราชามาใช้ในการผลิตและพัฒนาวชิ าชีพครู เพื่อ

การพัฒนาทอ้ งถน่ิ ที่มีคณุ ภาพระดับสากล

รายงานการประเมินตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ปกี ารศกึ ษา 2563 19

พันธกจิ คณะครศุ าสตร์
1. ผลิตบณั ฑติ ครูให้มีความรู้ ทักษะและความสามารถด้านวิชาการและวิชาชพี
2. พัฒนางานวจิ ยั และสรา้ งสรรค์นวัตกรรมทางการศึกษา
3. ให้บรกิ ารวชิ าการเพื่อสรา้ งความเข้มแข็งให้แก่ชมุ ชนและท้องถ่ิน
4. พัฒนาเครือข่ายความร่วมมอื ทางวิชาการและทำนบุ ำรงุ ศิลปวัฒนธรรม
5. บรหิ ารจดั การองค์กรด้วยเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมที่ทนั สมัยและมีธรรมาภบิ าล
และหลักสตู รได้มกี ารดำเนินการจัดการประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรในวนั ท่ี 15 มกราคม พ.ศ. 2564

(รายการหลักฐาน AUN-QA-1.1-1) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์จัดการเรียนการสอนรวมถึง
กระบวนการจัดการศึกษาของอาจารย์ประจำหลักสูตร และกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (PLOs) โดยการ
กำหนด PLOs นั้นพิจารณาจากวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
โดยเฉพาะโรงเรียน รวมถงึ การพิจารณาจากเกณฑ์กรอบมาตรฐานคุณวุฒิการอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ทั้ง 6
ด้าน และมาตรฐานคุณวุฒิระดับปรญิ ญาตรีสาขาภาษาต่างประเทศ (มคอ.1) และคำนึงถึงความสอดคล้องกับ
วิสัยทัศน์และพันธกิจของมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชรและของคณะครุศาสตร์ โดยหลักสูตรสรุปความ
สอดคล้อง PLOs กับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิการอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
สาขาภาษาต่างประเทศ (มคอ.1) และข้อมูลอื่น ๆ เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2564 ภาคเรียนที่ 2 ประจำปี
การศึกษา 2563 ดังตารางท่ี 1.1 ดงั น้ี

รายงานการประเมินตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ ปกี ารศึกษา 2563 20

ตารางที่ 1.1 ผลการเรยี นรูท้ ่ีคาดหวงั (Program Learning Outcomes : PLOs) ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

นกั ศึกษาท่จี บการศกึ ษาจากหลกั สูตรสามารถ

Corresponding PLOs Specific Generic Level TQF มคอ. 1
เมอ่ื จบการศึกษาจากหลักสูตรนแ้ี ล้วผ้เู รียนสามารถ LO LO

Corresponding PLOs √ Remembering (R) การ การสื่อสาร
เมอ่ื จบการศึกษาจากหลักสตู รนแ้ี ลว้ ผ้เู รียนสามารถ Applying (A) สอื่ สาร (5) (5)

1. สือ่ สารภาษาอังกฤษ ไดอ้ ย่างถูกต้องคลอ่ งแคลว่ √ Applying (A) ความรู้ (2) ความรู้ (2)
Communicate English fluently Creating (C)

2. นำเสนองานเป็นภาษาองั กฤษในแบบทางการและไม่เปน็ ทางการได้ √ Understanding (U) จดั การ จัดการ
Present in English both formal and informal Applying (A) เรยี นรู้ (6) เรียนรู้ (6)
Creating (C)

3. ออกแบบแผนและจดั การเรยี นการสอนเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษในระดบั

การศึกษาขัน้ พนื้ ฐานและประเมนิ ผลในชนั้ เรียนได้ √ Understand (U) ความรู้ (2) ความรู้ (2)
Create, design and evaluate teaching and learning management both Apply (A)

in Thai and English in basic educational level

4. แปลภาษาองั กฤษเป็นภาษาไทยและภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้

Translate both Thai to English and English to Thai Creating (C)

√ Understanding (U) ความรู้ (2) ความรู้ (2)

Evaluating (E)

รายงานการประเมนิ ตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ ปีการศึกษา 2563 21

Corresponding PLOs Specific Generic Level TQF มคอ. 1
เม่อื จบการศกึ ษาจากหลกั สูตรนแี้ ล้วผู้เรียนสามารถ LO LO
√ Understanding (U) คณุ ธรรม คณุ ธรรม
5. สามารถจัดสัมมนา จัดอบรมและจัดค่ายภาษาองั กฤษได้และบรกิ ารวชิ าการแก่ √
ชุมชนท้องถ่ิน √ Analyzing (A) จรยิ ธรรม จรยิ ธรรม
Organize educational seminar, training, English language camp and √
service in academic to local community √ Evaluating (E) (1) (1)
6. มคี วามรับผดิ ชอบ ซ่อื สัตย์ ตรงต่อเวลาเสียสละและอุทิศตนต่อวชิ าชพี
Have responsibility, integrity, punctuality and dedication to profession Understanding (U)

7. เขียนบทความภาษาองั กฤษในรูปแบบทางการและไม่เป็นทางการได้ Analyzing (A) ความรู้ (2) ความรู้ (2)
Write article in English both formal and informal Evaluating (E)

8. ประยุกต์ใช้แนวคิด หลกั การ ทฤษฎใี นการแกป้ ญั หาได้อย่างสรา้ งสรรคไ์ ด้ Applying (A)
Apply concepts, principle and theories to solve problem creatively
9. ปรับตัวเข้ากบั ผู้อ่นื และสามารถทำงานเปน็ ทีมได้ Analyzing (A) ปญั ญา (3) ปญั ญา (3)
Adapt oneself to work with others and team Evaluating (E)

Applying (A)

Evaluating (E) เทคโนโลยี เทคโนโลยี

Applying (A) (4) (4)

Evaluating (E) เทคโนโลยี เทคโนโลยี

Applying (A) (4) (4)

หมายเหตุ ปรบั ปรงุ ลา่ สุดเมอื่ วันที่ 15 มกราคม 2564

รายงานการประเมินตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ ปกี ารศึกษา 2563 22

เกณฑ์คุณภาพยอ่ ยท่ี 1.2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังครอบคลุมทั้งความรู้และทักษะทั่วไป รวมทั้งความรู้และทักษะเฉพาะทาง ซ่ึง

หมายรวมถึงทัศนคติทางวิชาการ ภาวะผู้นำ และทักษะในการนาความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานจริง (The
expected learning outcomes cover both subject specific and generic (i.e. transferable) learning
outcomes)
ผลการดำเนินงาน

เนื่องจากหลักสูตรยังไม่เคยกำหนด PLOs เมื่อรับเกณฑ์การประเมิน AUN-QA จึงทำให้อาจารย์ประจำ
หลักสูตรมีการทบทวนและกำหนด PLOs เพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุงหลักสูตรในครั้งต่อไป ก่อนการกำหนด
PLOs ให้ชัดเจนดังเกณฑ์คุณภาพย่อยที่ 1.1 นั้น ทางหลักสูตรได้จัดประชุมเพื่อทบทวนจุดประสงค์ในการ
กำหนด PLOs โดยให้มีการจำแนกผลการเรียนรู้ที่คาดหวังให้ครอบคลุมทั้งความรู้ทักษะทั่วไป และทักษะ
เฉพาะด้าน ซึ่งสามารถพิจารณาการจำแนกได้จากตารางที่ 1.1 ที่ทางอาจารย์ประจำหลักสตู รได้มีการประชุม
และตกลงกัน

เกณฑ์คุณภาพยอ่ ยที่ 1.3
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังสะท้อนความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อย่างชัดเจน (The expected

learning outcomes clearly reflect the requirements of the stakeholders)
ผลการดำเนนิ งาน

หลกั สตู รดำเนนิ การประชมุ เพื่อกำหนด PLOs ผลการคาดหวงั ของหลักสตู รเมื่อวนั ที่ 15 มกราคม 2564
โดยพิจารณาจาก มคอ. 1 และ มคอ. 2 เพื่อจัดทำ PLOs และมีผลการดำเนินการดังนี้ (รายการหลักฐาน
AUN-QA-1.3-1)

รายงานการประเมินตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาองั กฤษ ปีการศกึ ษา 2563 23

ตารางที่ 1.2 ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวัง (Program Learning Outcomes : PLOs) ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

นกั ศกึ ษาท่จี บการศกึ ษาจากหลกั สตู รสามารถ Specific Generic Level TQF มคอ. 1
LO LO
Corresponding PLOs √ Remembering (R) การสือ่ สาร การสอื่ สาร
เมื่อจบการศกึ ษาจากหลักสตู รนแี้ ลว้ ผเู้ รียนสามารถ √ Applying (A) (5) (5)
Applying (A)
1. ส่ือสารภาษาอังกฤษ ไดอ้ ย่างถูกต้องคลอ่ งแคล่ว √ Creating (C) ความรู้ (2) ความรู้ (2)
Communicate English fluently
2. นำเสนองานเป็นภาษาอังกฤษในแบบทางการและไม่เปน็ ทางการได้ √ Understanding (U) จัดการเรยี นรู้ จดั การเรยี นรู้
Present in English both formal and informal Applying (A) (6) (6)
3. ออกแบบแผนและจดั การเรยี นการสอนเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษใน √ Creating (C)
ระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐานและประเมนิ ผลในชน้ั เรยี นได้ ความรู้ (2) ความรู้ (2)
Create, design and evaluate teaching and learning management Understand (U)
both in Thai and English in basic educational level Apply (A) ความรู้ (2) ความรู้ (2)
4. แปลภาษาองั กฤษเป็นภาษาไทยและภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้
Translate both Thai to English and English to Thai Creating (C)
5. สามารถจดั สัมมนา จัดอบรมและจัดค่ายภาษาองั กฤษได้และบรกิ าร Understanding (U)
วชิ าการแกช่ ุมชนทอ้ งถน่ิ
Organize educational seminar, training, English language camp Evaluating (E)
and service in academic to local community

รายงานการประเมนิ ตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ปกี ารศกึ ษา 2563 24

Corresponding PLOs Specific Generic Level TQF มคอ. 1
เมอ่ื จบการศึกษาจากหลักสตู รนแ้ี ลว้ ผู้เรียนสามารถ LO LO
√ Understanding (U) คณุ ธรรม คุณธรรม
6. มีความรบั ผดิ ชอบ ซอ่ื สัตย์ ตรงต่อเวลาเสียสละและอุทิศตนต่อวชิ าชพี Analyzing (A) จริยธรรม (1) จริยธรรม (1)
Have responsibility, integrity, punctuality and dedication to √ Evaluating (E)
profession ความรู้ (2) ความรู้ (2)
7. เขียนบทความภาษาองั กฤษในรปู แบบทางการและไม่เป็นทางการได้ Understanding (U)
Write article in English both formal and informal Analyzing (A) ปญั ญา (3) ปญั ญา (3)
Evaluating (E)
8. ประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคิด หลกั การ ทฤษฎใี นการแก้ปญั หาได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ได้ √ Applying (A) เทคโนโลยี (4) เทคโนโลยี (4)
Apply concepts, principle and theories to solve problem √ Analyzing (A)
creatively Evaluating (E)
9. ปรับตัวเข้ากับผู้อ่ืนและสามารถทำงานเปน็ ทมี ได้ Applying (A)
Adapt oneself to work with others and team Evaluating (E)
Applying (A)

หมายเหตุ ปรับปรุงล่าสุดเม่อื วนั ที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2564

รายงานการประเมินตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ ปีการศกึ ษา 2563 25

รายการหลักฐาน
AUN-QA-1.1-1 รายงานการประชุมเพื่อดำเนินการกำหนดผลการเรียนรูท้ ค่ี าดหวงั PLOs ของหลกั สูตร
AUN-QA-1.3-1 รายงานผลการดำเนนิ งานการกำหนดผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวงั PLOs ของหลกั สตู ร

ผลการประเมนิ ตนเอง

1 ผลการเรียนรูท้ ค่ี าดหวัง 1 2 3 4 5 6 7

1.1 การกำหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังมีความชัดเจน

และสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจของ ✓

มหาวิทยาลัย [1, 2]

1.2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังครอบคลุมทั้งความรู้และ ✓
ทกั ษะทว่ั ไป รวมถึงความรูแ้ ละทกั ษะเฉพาะทาง [3]

1.3 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั สะท้อนถึงความตอ้ งการของ ✓
ผ้มู ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี อยา่ งชดั เจน [4]

ระดับคะแนนในภาพรวม (Overall opinion) ✓

รายงานการประเมนิ ตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาองั กฤษ ปกี ารศึกษา 2563 26

เกณฑค์ ุณภาพที่ 2 : ขอ้ กำหนดของหลกั สูตร (Program Specification)
เกณฑค์ ณุ ภาพย่อยท่ี 2.1

ข้อกาหนดของหลกั สูตรครอบคลุมเน้ือหาและแสดงผลการเรียนรู้ที่คาดหวงั ของหลกั สตู รและทนั สมยั
(The information in the programmed specification is comprehensive and up-to-date)
ผลการดำเนนิ งาน

หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มีการปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับปริญญาตรี ซึ่งจะมีการปรับปรุงทุก ๆ 4 ปี โดยมีการแสดงรายละเอียด ข้อกำหนดต่าง ๆ ไว้ใน มคอ. 2
(รายการหลักฐาน AUN-QA-2.1-1) ซึ่งมีรายละเอียดเป็นไปตามเกณฑ์การประเมินของ AUN-QA อย่าง
ครบถว้ น ทางหลักสตู รไดน้ ำข้อมลู บางสว่ นที่สำคัญไปเผยแพร่ในรูปแบบตา่ ง ๆ ดังต่อไปนี้ คู่มือนักศึกษาระดับ
ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร (รายการหลักฐาน AUN-QA-2.1-2) เว็บไซต์ของหน่วยงาน
ส่งเสริมวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร (รายการหลักฐาน AUN-QA-2.1-3) และเว็บไซต์ของคณะ
ครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร (รายการหลักฐาน AUN-QA-2.1-4) ซงึ่ ข้อมลู ดงั กลา่ วมีการอัพเดท
ข้อมูลทุกปี เพือ่ ให้ขอ้ มลู มคี วามเปน็ ปัจจบุ นั มากท่ีสดุ

เกณฑ์คณุ ภาพยอ่ ยที่ 2.2
ข้อกาหนดของรายวิชาครอบคลุมเนอ้ื หาและแสดงผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวงั ของหลักสตู รและทนั สมัย

(The information in the course specification is comprehensive and up-to-date)
ผลการดำเนนิ งาน

การกำหนดรายวชิ าตา่ ง ๆ ของหลกั สตู รครุศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ทางหลักสูตรได้มีการ
ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรเพื่อหาข้อกำหนดสำหรับรายวิชาที่ใช้ในการเรียนการสอน โดยหลักสูตรได้นำ
ผลการวิเคราะห์จากการสอบถามของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับหลักสูตร และความเชี่ยวชาญของอาจารย์ประจำ
หลักสูตร มาพิจารณาในการกำหนดรายวชิ า และได้ทำการเผยแพร่รายวิชาที่กำหนดไว้ในคู่มือนักศึกษาระดับ
ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร (รายการหลักฐาน AUN-QA-2.2-1) เว็บไซต์ของหน่วยงาน
ส่งเสริมวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร (รายการหลักฐาน AUN-QA-2.2-2) และเว็บไซต์ของคณะ
ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร (รายการหลักฐาน AUN-QA-2.2-3) ซึ่งอาจารย์ผู้สอนสามารถ
ปรับปรุงเนื้อหาสาระของรายวิชาให้มีความทันสมัยได้ตลอด และทำการแสดงข้อกำหนดการปรับปรุงไว้ใน
มคอ. 3 ซึ่งจะมีการเผยแพร่ในเว็บไซต์ของฝ่ายทะเบียนและประมวลผล มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
(รายการหลักฐาน AUN-QA-2.2-4) ดังนั้นทางหลักสูตรต้องหาทางแก้ไขในการปรับปรุงข้อมูลดังกล่าวเพื่อให้
ข้อมลู ทเ่ี ผยแพรต่ รงกันในทุกช่องทาง

รายงานการประเมนิ ตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ปีการศกึ ษา 2563 27

เกณฑค์ ุณภาพยอ่ ยที่ 2.3
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถเข้าถึงและรับรู้ข้อกาหนดของหลักสูตรได้ (The program and course

specifications are communicated and made available to stakeholders)
ผลการดำเนินงาน

จากข้อกำหนดของหลักสูตรครุศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ และรายวิชาท่ีหลักสูตรได้กำหนด
ไว้จะถูกเผยแพร่ข้อมูลตาม เกณฑ์คุณภาพย่อยที่ 2.1 และ 2.2 นั้น จึงทำให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถเข้าถึง
ข้อมูลบางส่วนของหลักสูตร และรายวิชาต่าง ๆ ของหลักสูตร สำหรับนักศึกษาสามารถเข้าถึงข้อมูลแผนการ
ศึกษาของหลักสูตรได้จากคู่มือของนักศึกษาในแต่ละปีการศึกษา และนักศึกษายังสามารถเข้าไปดูแผนการ
ศึกษาได้จากทางเว็บไซต์ของหน่วยงานส่งเสริมวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร (รายการหลักฐาน
AUN-QA-2.3-1) เพอ่ื ให้เกดิ ประโยชน์แกต่ ัวนกั ศกึ ษาในการวางแผนการศกึ ษาตอ่ ไป

รายการหลักฐาน
AUN-QA-2.1-1 หลกั สตู รครุศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาองั กฤษ (มคอ.2)
AUN-QA-2.1-2 คมู่ อื นักศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี มรภ. กำแพงเพชร
AUN-QA-2.1-3 เว็บไซต์สำนักส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบียน มรภ.กำแพงเพชร
AUN-QA-2.1-4 เว็บไซตค์ ณะครุศาสตร์ มรภ. กำแพงเพชร
AUN-QA-2.2-1 คูม่ อื นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาตรี มรภ. กำแพงเพชร
AUN-QA-2.2-2 เวบ็ ไซต์สำนักสง่ เสรมิ วิชาการและงานทะเบียน มรภ.กำแพงเพชร
AUN-QA-2.2-3 เวบ็ ไซตข์ องคณะครศุ าสตร์ มรภ. กำแพงเพชร
AUN-QA-2.2-4 เวบ็ ไซด์ฝ่ายทะเบยี นและประมวลผล มรภ. กำแพงเพชร
AUN-QA-2.3-1 เวบ็ ไซตส์ ำนักส่งเสรมิ วิชาการและงานทะเบียน มรภ.กำแพงเพชร

ผลการประเมินตนเอง

2 ผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวัง 1 2 3 4 5 6 7

2.1 ข้อกำหนดของหลักสูตรมีความครอบคลุมและ ✓
ทันสมยั [1,2]

2.2 รายละเอียดของวิชามีความครอบคลุมและทันสมัย ✓
[1,2]

2.3 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถเข้าถึงและรับรู้ข้อกำหนด ✓
ของหลกั สูตรและรายละเอยี ดของวิชา [1, 2]

ระดบั คะแนนในภาพรวม (Overall opinion) ✓

รายงานการประเมินตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ ปกี ารศกึ ษา 2563 28

เกณฑ์คณุ ภาพท่ี 3 : โครงสรา้ งและเนอื้ หาของหลกั สตู ร (Program Structure and Content)
เกณฑค์ ุณภาพยอ่ ยที่ 3.1

หลักสูตรได้รับการออกแบบบนพื้นฐานของความเชื่อมโยงเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อน ำไปสู่ผลการ
เรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (The curriculum is designed based on constructive alignment with
the expected learning outcome)
ผลการดำเนินงาน

การออกแบบของหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ เป็นไปตามความต้องการของผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสีย คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนองค์กรวิชาชีพ ผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้ใช้บัณฑิต ศิษย์เก่าและศิษย์
ปัจจุบัน จำนวน 7 ท่าน และอาจารย์ประจำหลักสูตรภาษาอังกฤษ จำนวน 7 ท่าน เพื่อตอบสนองความ
ต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ทางหลักสูตรได้ออกแบบการจัดการเรียนการสอน โดยทำการประชุมของอาจารย์
ประจำหลักสูตรท่ีมุ่งเน้นการกำหนดรายวิชาจากการสอบถามและสัมภาษณ์ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วน
เสีย ซึ่งจะมีความสอดคล้องกับความเชี่ยวชาญของอาจารย์ประจำหลักสูตร และเพื่อการออกแบบกิจกรรม
เสริมให้นักศึกษา ซง่ึ จะช่วยเพมิ่ ความรู้ ความสามารถใหก้ ับนกั ศึกษาเม่ือสำเรจ็ การศึกษา ซงึ่ มีโครงสร้างการจัด
เนื้อหาดงั ตารางตอ่ ไปน้ี (รายการหลักฐาน AUN-QA-3.1-1)
ตารางท่ี 3.1 โครงสรา้ งหลกั สูตรตามกรอบคุณวุฒริ ะดบั ปรญิ ญาตรี สาขาวิชาภาษาอังกฤษ หลกั สตู ร 4 ปี

พ.ศ. 2562

หมวดวิชา กรอบมาตรฐาน หน่วยกติ
คุณวุฒิ (5 ปี) หลกั สูตรครุศาสตรบณั ฑิต
ศกึ ษาท่ัวไป สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ (4 ปี)
วชิ าเฉพาะ 30
124 30
- วชิ าชีพครู (46) 102
- วชิ าเอก (78) (39)
วชิ าเลอื กเสรี 6 (63)
160 6
รวม 138

เกณฑค์ ุณภาพยอ่ ยท่ี 3.2
รายวิชาตา่ ง ๆ สามารถรว่ มกันสนับสนุนใหผ้ ู้เรยี นบรรลุผลการเรยี นรู้ท่คี าดหวงั ได้ (The contribution

made by each course to achieve the expected learning outcome is clear)

รายงานการประเมินตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ 29

ผลการดำเนนิ งาน
เน่อื งจากการออกแบบหลักสตู รหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2562 นั้น

ทางหลักสูตรยังไม่ได้มีการวางโครงสร้างของหลักสูตร และการกำหนดรายวิชาของหลักสูตรให้เป็นไปตาม
PLOs แต่ทางหลักสูตรได้กำหนดรายวิชาให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษาทั้ง 6 ด้าน
(TQF) ดังตารางที่ 3.1 ดังนั้นทางหลักสูตรจึงได้มีการประชุมวางแผน เพื่อกำหนดรายวิชาจากผลการเรียนรู้ท่ี
คาดหวัง PLOs ที่หลักสูตรได้กำหนดไว้ทั้งหมด 9 ข้อซึ่งจะทำให้หลักสูตรมีการปรับปรุงและพัฒนาบัณฑิตให้
เป็นไปตามความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อไป (รายการหลักฐาน AUN-QA-3.2-1) รายละเอียดดัง
ตารางท่ี 3.1 และ 3.2

รายงานการประเมนิ ตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาองั กฤษ 30

ตารางท่ี 3.1 ความสอดคลอ้ งของมาตรฐานผลการเรียนรู้ (TQF) กับผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวงั (PLOs) ปีการศึกษา 2/2563

Corresponding PLOs Specific Generic Level TQF มคอ. 1
เม่อื จบการศึกษาจากหลกั สูตรนแ้ี ล้วผู้เรยี นสามารถ LO LO การสือ่ สาร (5) การส่อื สาร (5)
√ Remembering (R)
1. สอ่ื สารภาษาอังกฤษ ไดอ้ ย่างถูกต้องคล่องแคลว่ √ Applying (A) ความรู้ (2) ความรู้ (2)
Communicate English fluently Applying (A)
2. นำเสนองานเป็นภาษาอังกฤษในแบบทางการและไม่เป็นทางการได้ √ Creating (C) จัดการเรยี นรู้ (6) จัดการเรียนรู้
Present in English both formal and informal (6)
3. ออกแบบแผนและจัดการเรยี นการสอนเปน็ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษใน √ Understanding (U) ความรู้ (2)
ระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานและประเมนิ ผลในชั้นเรยี นได้ Applying (A) ความรู้ (2)
Create, design and evaluate teaching and learning management √ Creating (C) ความรู้ (2)
both in Thai and English in basic educational level ความรู้ (2)
4. แปลภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาไทยและภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ Understand (U)
Translate both Thai to English and English to Thai Apply (A)
5. สามารถจดั สัมมนา จดั อบรมและจดั ค่ายภาษาองั กฤษได้และบริการ
วชิ าการแกช่ ุมชนทอ้ งถิ่น Creating (C)
Organize educational seminar, training, English language camp Understanding (U)
and service in academic to local community
Evaluating (E)

รายงานการประเมนิ ตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ 31

Corresponding PLOs Specific Generic Level TQF มคอ. 1
เม่อื จบการศึกษาจากหลักสูตรนแ้ี ล้วผเู้ รยี นสามารถ LO LO คณุ ธรรม คุณธรรม
√ Understanding (U) จรยิ ธรรม (1) จรยิ ธรรม (1)
6. มคี วามรับผิดชอบ ซือ่ สัตย์ ตรงต่อเวลาเสยี สละและอุทิศตนต่อวิชาชีพ Analyzing (A)
Have responsibility, integrity, punctuality and dedication to √ Evaluating (E) ความรู้ (2) ความรู้ (2)
profession
7. เขียนบทความภาษาอังกฤษในรปู แบบทางการและไมเ่ ป็นทางการได้ √ Understanding (U) ปญั ญา (3) ปญั ญา (3)
Write article in English both formal and informal √ Analyzing (A)
Evaluating (E) เทคโนโลยี (4) เทคโนโลยี (4)
8. ประยุกต์ใช้แนวคดิ หลักการ ทฤษฎีในการแก้ปญั หาได้อยา่ งสร้างสรรคไ์ ด้ Applying (A)
Apply concepts, principle and theories to solve problem Analyzing (A)
creatively Evaluating (E)
9. ปรบั ตวั เข้ากับผู้อนื่ และสามารถทำงานเปน็ ทมี ได้ Applying (A)
Adapt oneself to work with others and team Evaluating (E)
Applying (A)

รายงานการประเมินตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาองั กฤษ 32

ตารางท่ี 3.2 ความสอดคล้องรายวิชากับผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั ปีการศึกษา 2/2563

ท่ี Courses PLO1 PLO2 PLO3 PLO4 PLO5 PLO6 PLO7 PLO8 PLO9 Specific Generic

1 การทดสอบและวดั ผลสำหรับครภู าษาอังกฤษ A/C U R / E AN ✓

2 การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ A U E AN ✓
ภาษาอังกฤษ

3 การสัมมนาการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ A/C U E ✓

4 การจัดการเรียนร้ภู าษาอังกฤษสำหรับผเู้ รียนใน A C E✓
ศตวรรษที่ 21

5 การเรยี นภาษาอังกฤษด้วยการแสดง A C AN ✓

6 คา่ ยภาษาอังกฤษ AC AN ✓

7 การสอนภาษาองั กฤษระดับประถมศกึ ษา A U E✓

8 ภาษาศาสตร์เพ่ือการสอนภาษาอังกฤษ RA U AN ✓

9 กลวธิ กี ารอา่ นอนเุ ฉท RU AE✓

10 การเขยี นตามรูปแบบ R/A U E✓

11 การเขียนพื้นฐานสำหรับครูภาษาอังกฤษ R / A AN ✓

12 การแปลสำหรับครูภาษาอังกฤษ R / A U E AN ✓

13 เรือ่ งสน้ั ภาษาองั กฤษ R/A U AN ✓

14 การเขียนเชงิ วชิ าการ R/A U E✓

15 การอ่านเพื่อการตีความ R/A U AN ✓

รายงานการประเมนิ ตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ 33

ท่ี Courses PLO1 PLO2 PLO3 PLO4 PLO5 PLO6 PLO7 PLO8 PLO9 Specific Generic

16 การอ่านเพื่อการคิดวเิ คราะห์สำหรบั ครูภาษา R / A U AN ✓

17 ภาษาอังกฤษสำหรบั ครู R U EA ✓

18 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสารสำหรับครู 1 R / A U AN ✓

19 ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสารสำหรับครู 2 R / A U AN ✓

20 ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารสำหรับครู 3 R / A U AN ✓

21 การนำเสนอภาษาอังกฤษ R/A U AN ✓

23 ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสารสำหรับครู R/A U AN ✓

24 วัฒนธรรมโลกสำหรบั ครูภาษาองั กฤษ R AU AN ✓

รายงานการประเมินตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ 34

เกณฑค์ ุณภาพยอ่ ยท่ี 3.3
หลักสูตรถูกออกแบบและวางโครงสร้าง จัดเรียบลำดับรายวิชา และบูรณาการรายวิชาอย่างมีระบบ

ระเบียบ และทันสมัย (The curriculum is logically structured, sequenced, integrated and up-to-
date)
ผลการดำเนินงาน

การวางโครงสร้างรายวิชาของหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษได้คำนึงถึงลำดับและ
ความสัมพันธ์ของรายวิชาพื้นฐาน รายวิชาขั้นกลาง และรายวิชาขั้นสูงตามลำดับอย่างเหมาะสม โดยแผนการ
เรียน (รายการหลกั ฐาน AUN-QA-3.3-1) ได้กำหนดแผนการเรียนดงั น้ี

ปที ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1

กลมุ่ วิชา รหัสวชิ า ช่ือวิชา น (ท-ป-อ)
ศกึ ษาทัว่ ไป 3(x-x-x)
ศึกษาท่วั ไป xxxxxxxx ศึกษาทว่ั ไป 3(x-x-x)
จิตวิทยาเพอื่ การเรยี นรู้ 3(3-0-6)
xxxxxxxx ภาษาไทยเพ่ือการส่อื สารสำหรับครู 2(1-2-3)
การฟงั และการพดู สำหรับครูภาษาองั กฤษ 3(2-2-5)
วชิ าชีพครู 1051101 หลักภาษาสำหรับครูภาษาอังกฤษ 3(3-0-6)
หลักสตู รและการจัดการเรยี นรภู้ าษาองั กฤษ 3(2-2-5)
1251101 รวมหน่วยกติ
20
วชิ าเอก 1211110

1211102

1211401

ปที ี่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 น (ท-ป-อ)
กลมุ่ วิชา รหัสวชิ า ชื่อวิชา 3(x-x-x)
ศกึ ษา xxxxxxxx ศึกษาท่ัวไป 3(x-x-x)
ท่ัวไป xxxxxxxx ศกึ ษาทั่วไป 3(2-2-5)
วชิ าชีพครู 1022101 หลกั สตู รและวิทยาการการจัดการเรียนรู้ 1(0-2-1)
3(2-2-5)
1211101 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสารสำหรับครู 1 3(2-2-5)
วิชาเอก 1211201 ภาษาศาสตรเ์ พ่ือการสอนภาษาองั กฤษ 3(3-0-6)
3(x-x-x)
1211411 การจดั การเรียนร้ภู าษาองั กฤษสำหรบั ผ้เู รียนในศตวรรษท่ี 21
1211107 การเขยี นพืน้ ฐานสำหรบั ครูภาษาองั กฤษ 22
xxxxxxxx วิชาเอกเลือก

รวมหน่วยกิต

รายงานการประเมนิ ตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ 35

ปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1

กลมุ่ วิชา รหัสวชิ า ชือ่ วิชา น (ท-ป-อ)
ศกึ ษาทว่ั ไป 3(x-x-x)
ศกึ ษาทวั่ ไป xxxxxxxx ศกึ ษาทว่ั ไป 3(x-x-x)
การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 3(2-2-5)
xxxxxxxx นวตั กรรมและเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพ่อื การเรียนรู้ 3(2-2-5)
สทั ศาสตรแ์ ละสทั วิทยาสำหรับครูภาษาอังกฤษ 3(2-2-5)
วิชาชพี ครู 1042102 การจัดการช้นั เรยี นภาษาองั กฤษ 3(2-2-5)
วรรณกรรมเพื่อการสอนภาษาองั กฤษ 3(3-0-6)
1032101 การฝกึ ปฏบิ ัตวิ ิชาชพี ระหวา่ งเรียน 1 1(90)

วชิ าเอก 1212202 รวมหน่วยกติ 22

1212402

1213301

ปฏบิ ัติการสอน 1002101

ในสถานศกึ ษา

ปที ี่ 2 ภาคเรยี นท่ี 2

กลมุ่ วิชา รหสั วชิ า ชอื่ วิชา น (ท-ป-อ)
ศึกษาทว่ั ไป 3(x-x-x)
ศกึ ษาทวั่ ไป xxxxxxxx ศกึ ษาทวั่ ไป 3(x-x-x)
ภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสารสำหรบั ครู 2 1(0-2-1)
xxxxxxxx คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและความเป็นครูมืออาชพี 3(2-2-5)
การประกันคุณภาพการศกึ ษาและการพฒั นาชมุ ชน 2(1-2-3)
วิชาชีพครู 1212102 การอ่านเพื่อการคิดวิเคราะห์สำหรบั ครูภาษาอังกฤษ 3(3-0-6)
ไวยากรณ์ขั้นสูงสำหรบั ครูภาษาอังกฤษ 3(3-0-6)
1102101 การแปลสำหรับครูภาษาองั กฤษ 3(3-0-6)
รวมหน่วยกิต
1102102 21

วิชาเอก 1212106

1212104

1212105

ปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1

กล่มุ วิชา รหสั วชิ า ชื่อวิชา น (ท-ป-อ)
ศกึ ษาท่วั ไป 3(x-x-x)
ศึกษาทั่วไป xxxxxxxx ศกึ ษาทวั่ ไป 3(x-x-x)
การวิจัยและพฒั นานวตั กรรมเพอ่ื การเรียนรู้ 3(2-2-5)
xxxxxxxx ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสารสำหรับครู 3 1(0-2-1)

วิชาชพี ครู 1043102

1212103

รายงานการประเมนิ ตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ 36

กลุม่ วิชา รหสั วชิ า ชอ่ื วิชา น (ท-ป-อ)
วชิ าเอก 1213403 การพฒั นาส่ือและนวตั กรรมการเรียนร้ภู าษาองั กฤษ 3(2-2-5)
1213404 การวดั และประเมินผลการเรียนร้ภู าษาองั กฤษ 3(2-2-5)
ปฏบิ ตั กิ ารสอน xxxxxxx วิชาเอกเลอื ก 3(x-x-x)
ในสถานศึกษา 1003102 การฝึกปฏบิ ัตวิ ิชาชพี ระหว่างเรียน 2 1(90)

รวมหน่วยกิต 20

ปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 2

กลุ่มวิชา รหสั วิชา ชื่อวิชา น (ท-ป-อ)
วชิ าเอกเลอื ก 3(x-x-x)
วชิ าเอก xxxxxxx วิชาเอกเลือก 3(x-x-x)
วชิ าเอกเลอื ก 3(x-x-x)
xxxxxxx การวจิ ัยทางการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 3(2-2-5)
การเขยี นเชงิ วิชาการสำหรับครภู าษาองั กฤษ 3(2-2-5)
xxxxxxx เลือกเสรี 3(x-x-x)
เลอื กเสรี 3(x-x-x)
1213405 รวมหน่วยกิต 21

1213106

เลือกเสรี xxxxxxx

เลือกเสรี xxxxxxx

ปที ่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1

กลมุ่ วิชา รหัสวิชา ชอ่ื วิชา น (ท-ป-อ)
การปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 1 6(540)
ปฏบิ ัตกิ ารสอน 1004103
รวมหน่วยกติ 6
ในสถานศึกษา

ปที ี่ 4 ภาคเรยี นที่ 2

กลมุ่ วิชา รหสั วิชา ช่ือวิชา น (ท-ป-อ)
การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษา 2 6(540)
ปฏิบัตกิ ารสอน 1004104
รวมหน่วยกติ 6
ในสถานศกึ ษา

รายงานการประเมนิ ตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ 37

รายการหลกั ฐาน
AUN-QA-3.1-1 มาตรฐานคณุ วฒุ ิระดบั ปรญิ ญาตรี หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ

(มคอ.1)
AUN-QA-3.2-1 หลกั สูตรครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ (4 ป)ี (หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. 2562)

(มคอ.2)
AUN-QA-3.3-1 หลักสูตรครุศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (4 ป)ี (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562)

(มคอ.2)

ผลการประเมนิ ตนเอง

3 ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวัง 1 2 3 4 5 6 7

3.1 การออกแบบหลักสูตรมีความสอดคล้องกับผลการ ✓
เรยี นรทู้ ่คี าดหวงั [1]

3.2 มีการกำหนดสดั สว่ นทเ่ี หมาะสม ระหวา่ งรายวิชาตา่ ง ๆ

ในหลักสูตรเพอื่ ใหบ้ รรลุผลการเรียนรูท้ ี่คาดหวงั [2] ✓

3.3 หลกั สูตรมีการจัดเรียงรายวชิ าอยา่ งเปน็ ระบบ มกี ารบูร ✓
ณาการและทันตอ่ ยุคสมัย [3,4,5,6]

ระดับคะแนนในภาพรวม (Overall opinion) ✓

รายงานการประเมินตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาองั กฤษ 38

เกณฑค์ ุณภาพท่ี 4 : วิธีการเรยี นการสอน (Teaching and Learning Approach)
เกณฑ์คุณภาพย่อยที่ 4.1

ระบุปรัชญาการเรียนการสอนที่ชัดเจนและประสานให้ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับทราบ ( The
educational philosophy is well articulated and communicated to all stakeholders)
ผลการดำเนินงาน

ทางมหาวิทยาลยั ราชภัฏกำแพงเพชรไดแ้ สดงปรชั ญาการเรยี นการสอนของมหาวิทยาลยั ไว้อย่างชดั เจน
โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถหาข้อมูลได้จากหลายแห่ง เช่น เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย (รายการหลักฐาน
AUN-QA-4.1-1) โดยมีข้อมูลดังต่อไปนี้ “มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร มุ่งเน้นให้โอกาสทางการศึกษาแก่
ประชาชนสร้างศักยภาพให้เป็นขมุ พลังแหง่ ปัญญา พัฒนาทอ้ งถ่ิน ผลิตกำลังคนท่ีมีความรู้ ความสามารถ และ
มคี ุณธรรม โดยเนน้ ที่จติ สำนกึ ในการรับใช้ท้องถน่ิ และประเทศชาติ”

สว่ นปรชั ญาของหลักสูตรคือ “หลกั สตู รครุศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ เป็นหลักสูตรท่ีจัดการ
เรียนรู้ เพื่อพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาระบบการทำงาน โดยยึดหลักความเสมอภาค ความถูกต้อง
ความชอบธรรม มงุ่ ผลิตครูท่มี ีความรู้ ความสามารถมีคุณภาพ คุณธรรมและจริยธรรมแห่งวิชาชีพตามแนวทาง
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ
หลักเกณฑ์เง่ือนไขที่คณะกรรมการสภาวชิ าชีพครูกำหนดและข้อบังคับครุ ุสภาว่าดว้ ยมาตรฐานวชิ าชีพ (ฉบับที่
4) พ.ศ. 2562 ตามเกณฑ์มาตรฐานหลกั สูตรปริญญาตรี 2558 มีปรัชญาการศึกษาเพื่อมุ่งให้การผลิตบัณฑิตมี
ความสัมพันธ์สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาของชาติปรัชญาของการอุดมศึกษาปรัชญา
ของสถาบันอุดมศึกษาและมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพที่เป็นสากล” ซึ่งปรัชญาของหลักสูตรสอดคล้องกับ
ปรัชญาของมหาวิทยาลยั โดยผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสยี สามารถหาข้อมูลหลักสูตร (รายการหลักฐาน AUN-QA-4.1-2)
ได้จากหลายแห่ง เช่น เว็บไซต์ของคณะครุศาสตร์ (รายการหลักฐาน AUN-QA-4.1-3) เพจเฟสบุ๊คของ
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (รายการหลักฐาน AUN-QA-4.1-4)

เกณฑ์คุณภาพยอ่ ยท่ี 4.2
กิจกรรมการเรียนการสอนเชื่อมไปสู่ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (Teaching and learning activities are

constructively aligned to the achievement of the expected learning outcomes)
ผลการดำเนินงาน

หลักสูตรได้กำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนไว้อย่างชัดเจนไว้ใน มคอ.2 แต่เป็นการแสดงถึงการเน้น
เพื่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตรในแต่ละด้าน ดังนี้ 1) ด้านคุณธรรมและจริยธรรม 2) ด้านความรู้ 3)
ด้านทักษะทางปัญญา 4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ด้านทักษะในการ
วเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข การสอ่ื สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6) ดา้ นการจดั การเรยี นรู้

โดยทางหลักสูตรได้กำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนไว้แยกกันสำหรับ 5 หมวดวิชา ได้แก่ หมวดวิชา
ศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ หมวดวิชาชีพครู หมวดวิชาเอกและหมวดวิชาเลือกเสรี ทั้งยังมีการกำหนด

รายงานการประเมนิ ตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ ปกี ารศึกษา 2563 39

องค์ประกอบเกย่ี วกบั การฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ และขอ้ กำหนดเกยี่ วกับการทำโครงงานหรืองานวิจยั ซึง่ ล้วน
แต่เพื่อต้องการให้ผู้เรียนบรรลุผลการเรียนรู้ที่คาดหวังซึ่งผู้สอนในแต่ละรายวิชา ได้นำกิจกรรมการเรียนการ
สอนที่กำหนดไวน้ ั้นมาใช้ประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาต่าง ๆ โดยให้สอดคล้องกับความเชีย่ วชาญของ
แต่ละตัวบุคคลของผู้สอน พร้อมทั้งมีการประยุกต์ใช้กิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายมาประยุกต์ใช้
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ด้านวิชาการและวิชาชีพเพื่อให้สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังในแต่ละรายวิชา
(รายการหลักฐาน AUN-QA-4.2-1) เช่น การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนการสอน
เชิงบูรณาการกับการบริการวิชาการ และ การเขียนพน้ื ฐาน เปน็ ต้น อย่างไรกต็ าม หลักสตู รมกี ารวางแผนและ
ประชุมในประเด็นวิธีที่ใช้ในการเรียนการสอนในรายวิชาต่าง ๆ กันอีกครั้งในการปรับปรุงหลักสูตรภายในปี
พ.ศ. 2563 เพื่อกำหนดให้เป็นแนวทางที่ชัดเจนสำหรับวิธีที่ใช้ในการเรียนการสอนให้บรรลุ PLOs ที่จะถูก
กำหนดไวใ้ ห้ชัดเจนและสัมฤทธผ์ิ ลมากยิง่ ขึ้น

เกณฑ์คุณภาพยอ่ ยท่ี 4.3

กิจกรรมการเรียนการสอนส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Teaching and learning activities

enhance life-long learning)

ผลการดำเนินงาน

การสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและมีการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตครอบคลุมทักษะทั้ง 5 ด้าน ได้แก่

1) ทักษะการคิด (Thinking Skill) 2) ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) 3) ทกั ษะความเป็นมืออาชีพ (Professional

Skill) 4) ทกั ษะดา้ นการสื่อสาร (Communication Skill) และ 5) ทกั ษะด้านการจัดการ (Management Skill) โดย

ใช้การเรียนรู้ การฝึกปฏิบัติ กรณีศึกษา การอภิปรายกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลผ่านการเรียนรู้ด้วยตนเองจากหนังสือ

งานวิจัยในสาขาวิชาหรือทางอินเตอร์เน็ต และมีการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สัมมนาการจัดการเรียนการสอน

ภาษาอังกฤษ ศกึ ษาดูงานการจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ เพื่อใหน้ ักศึกษาเกิดทักษะและกระบวนการทำงาน

วิเคราะห์สภาพปัญหาของสถานศึกษา และจัดทำโครงงานเพื่อแก้ไขปัญหาโดยประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่ได้จากการ

เรียนร่วมกับการบูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ พร้อมทั้งจัดกิจกรรมบริการวิชาการให้กับสถานศึกษา และจัดสัมมนา

เพอื่ ให้ผู้เรยี นเกิดทักษะการพัฒนางานหรืออาชีพของตนเองอย่างย่ังยนื โดยมรี ายวิชาตัวอย่างดงั ต่อไปนี้

ทกั ษะการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต
ท่ี รายวชิ า Thinking Learning Professional Communication Management วิธีการสอน
Skill
Skill Skill Skill Skill

1 ค่ายภาษาอังกฤษ ✓✓ ✓ ✓ ✓ Online/Onsite

2 การสอนภาษาอังกฤษใน ✓✓ ✓ ✓ ✓ Online/Onsite

ระดับประถมศึกษา

3 สัมมนาการจัดการเรียนการ ✓✓ ✓ ✓ ✓ Online/Onsite

สอนภาษาอังกฤษ

4 การเรียนภาษาผ่านการแสดง ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ Online/Onsite

รายงานการประเมินตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ ปีการศกึ ษา 2563 40

รายการหลกั ฐาน
AUN-QA-4.1-1 ปรชั ญามหาวิทยาลัย
AUN-QA-4.1-2 หลกั สูตรครศุ าสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (4 ป)ี (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2562)

(มคอ.2)
AUN-QA-4.1-3 เว็บไซตข์ องคณะครศุ าสตร์
AUN-QA-4.1-4 เพจเฟสบคุ๊ ของสาขาวชิ าภาษาอังกฤษ
AUN-QA-4.2-1 มคอ.3 1) การสอนภาษาอังกฤษในระดบั มัธยมศึกษา 2) การจัดการเรยี นรูภ้ าษาอังกฤษ

สำหรับผ้เู รียนในศตวรรษที่ 21 และ 3) การเขียนพ้ืนฐาน

ผลการประเมนิ ตนเอง

4 ผลการเรยี นร้ทู คี่ าดหวัง 1 2 3 4 5 6 7

4.1 ปรัชญาการศึกษามีความชัดเจน และสื่อสารสู่ผู้มี ✓
สว่ นไดส้ ่วนเสยี [1]

4.2 กิจกรรมการเรียนการสอนมีความสอดคล้องกับการ ✓
บรรลผุ ล การเรยี นรูท้ ี่คาดหวงั [2, 3, 4, 5]

4.3 กิจกรรมการเรียนการสอนส่งเสริมการเรียนรู้ตลอด ✓
ชวี ติ [6]

ระดับคะแนนในภาพรวม (Overall opinion) ✓

รายงานการประเมินตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาองั กฤษ ปกี ารศกึ ษา 2563 41

เกณฑค์ ุณภาพที่ 5 : การประเมินผลนักศกึ ษา (Student Assessment)

เกณฑ์คุณภาพยอ่ ยที่ 5.1

วิธีการประเมินผู้เรียนมีความเชื่อมโยงเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อนำไปสู่ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (The

student assessment is constructively aligned to the achievement of the expected learning

outcomes)

ผลการดำเนนิ งาน

การวัดผลประเมินนักศึกษาในหลักสูตรฯ ได้มีการดำเนินงานจำแนกตามช่วงเวลาของนักศึกษาที่เข้า

ศึกษาในหลกั สตู ร ไดด้ ังน้ี

ตารางที่ 5.1 : การวดั ผลการประเมินการศึกษา

การดำเนนิ งาน วิธกี ารประเมนิ ผลผู้เรียน

กระบวนการรับเข้า

การรบั นักศกึ ษาใหม่ การคดั เลือกผู้เข้าศึกษา

มผี ลการดำเนนิ งานการรบั นักศกึ ษา ดังนี้ ทางมหาวิทยาลัยได้ประกาศประเภทการรับสมัครของ

1. คณะฯ จัดประชมุ อาจารย์ประจำ นักศึกษา คือ ประเภทโควตา และประเภททั่วไป สำหรับประเภท
หลักสูตรและอาจารย์ประจำสาขาวชิ า เพอื่ โควตา มี 3 ประเภท คือ 1) ประเภทเรียนดี 2) ประเภท
ร่วมกันกำหนดแผนการรับนักศกึ ษา ความสามารถพเิ ศษ และ 3) ประเภทความสามารถพิเศษทางกีฬา
คณุ สมบตั ิของนักศึกษา และหลกั เกณฑก์ าร
พจิ ารณาต่าง ๆ โดยเนน้ ทีว่ ัตถุประสงค์ของ ซึ่งทางหลักสูตรได้วางแผน และการกำหนดคุณสมบัติและ
หลกั สูตรที่ระบุใน มคอ.1 และ มคอ.2 เกณฑ์ในการคัดเลอื กนักศกึ ษา ไดแ้ ก่
2. นำเสนอแผนการรบั นักศึกษา คุณสมบตั ิ 1) คุณสมบัตขิ องการสมคั รเรียน ประกอบด้วย
และหลักเกณฑ์การรับต่อสำนักส่งเสรมิ
วชิ าการและงานทะเบียน มหาวทิ ยาลยั ราช 1.1) สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ภฏั กำแพงเพชรและพจิ ารณาคุณสมบัติของผู้ หรือเทียบเท่า

1.2) มรี ะดบั คะแนน GPA ไม่ตำ่ กว่า 2.75
1.3) มีระดบั คะแนนความรู้ทางดา้ นภาษาองั กฤษไมต่ ำ่ กวา่ 3.00
1.4) มรี ะดับคะแนนความรู้ทางดา้ นคณติ ศาสตร์ไมต่ ำ่ กวา่ 2.00

เขา้ ศึกษาต่อ พิจารณาจากคะแนน GPA 2) เกณฑ์ในการคดั เลือกนกั ศึกษาจากการสัมภาษณ์ คะแนน
คะแนน O-net วชิ าภาษาองั กฤษ วิชาวัดแวว จำนวน 20 คะแนน ประกอบด้วย 4 คะแนน
ความเป็นครู (Pat 5) และคุณสมบัติของ 4 คะแนน
ผสู้ มัครเรียน ได้กำหนดแผนการรบั นักศึกษา เกณฑ์การให้คะแนน 4 คะแนน
จำนวน 2 หมเู่ รียน จำนวนนกั ศกึ ษา 60 คน 2.1) ความร้วู ิชาหลกั /ความรู้เฉพาะสาขาวชิ า 4 คะแนน
3. อาจารย์ประจำหลักสตู รประเมนิ ความ 2.2) ทักษะทางสารสนเทศสอ่ื เทคโนโลยี 4 คะแนน
พรอ้ มของผู้เขา้ ศึกษาต่อตามเกณฑ์การ 2.3) บุคลกิ ภาพ/การแตง่ กาย/ความเช่อื มน่ั ในตนเอง
พิจารณาที่หลักสตู รกำหนด หรอื พจิ ารณา 2.4) ทัศนคติ/เจตคตติ อ่ วิชาชพี /สาขาวชิ า
2.5) การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า/การเข้าร่วมกิจกรรม
ทางวชิ าการและสังคม

รวม 20 คะแนน

รายงานการประเมนิ ตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ ปกี ารศึกษา 2563 42

การดำเนินงาน วิธีการประเมนิ ผลผ้เู รียน

จากแฟ้มสะสมผลงาน และการสมั ภาษณ์ผู้ โดยหากนักศึกษาคะแนนน้อยกว่า 10 คะแนน ถือว่าไม่

เข้าศึกษาต่อและเสนอผลการพจิ ารณา ผ่านการคัดเลือกจะดำเนินการเลื่อนสาขาลำดับที่ 2 ที่นักศึกษา

4. สำนกั ส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น เลือกไว้ และเป็นไปตามหลักเกณฑ์และมีคุณสมบัติอื่น ๆ ตาม
ประกาศผลการคัดเลือกและรายชอ่ื ผู้มสี ิทธิ์ ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร เรื่องการรับนักศึกษา
รายงานตวั โดยมีนกั ศึกษาทผี่ ่านการคดั เลือก (รายการหลักฐาน AUN-QA-5.1-2)

จำนวน 56 คน มีนกั ศึกษาทผ่ี า่ นการคดั เลือก

และมารายงานตวั จำนวน 56 คน โดยมี

นักศึกษาชนั้ ปีท่ี 1 จำนวน 2 หมเู่ รียน ไดแ้ ก่

หม่เู รียน 6211205 จำนวน 30 คน และ หมู่

เรยี น 6211206 จำนวน 26 คน (รายการ

หลกั ฐาน AUN-QA-5.1-1)

หลังจากรบั นักศึกษาเข้าหลักสตู ร กอ่ นเร่ิม หลักสูตรได้ดำเนินการประชุมในวันที่ 28 มิถุนายน 2563 เพ่ือ

ศกึ ษาในแตล่ ะรายวชิ าในหลกั สูตร สรุปผลการสัมภาษณ์และจำนวนผู้ที่ผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษา

มีการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา ต่อในโปรแกรมวิชาและสอบถามความคิดเห็นของอาจารย์ที่ทำ

ดงั นี้ การสัมภาษณ์ในประเด็นความรู้พื้นฐานภาษาอังกฤษของ

1. หลักสูตรประชุมวางแผนเพื่อกำหนด นักศึกษาชั้นปีที่ 1 หรือนักศึกษาที่ผ่านการคัดเลือกเพื่อจัด

คณุ สมบตั ิ หลกั เกณฑก์ ารพิจารณา และประเด็น กจิ กรรมเตรียมความพร้อมและไดป้ ระเดน็ ข้อคิดเหน็ จากอาจารย์

เรื่องความพร้อมของผูเ้ ขา้ ศึกษาตอ่ ในหลักสูตร ผู้สัมภาษณ์ดงั น้ี

2. หลักสูตรพิจารณานักศึกษาแรกเข้าที่ผ่าน 1. นกั ศึกษามคี วามรู้พืน้ ฐานภาษาองั กฤษท่แี ตกต่างกนั

กระบวนการรับนักศึกษา โดยพิจารณาข้อมูล 2. นกั ศึกษายังขาดความมน่ั ใจในการพดู สอ่ื สารภาษาองั กฤษ

จากการสอบสัมภาษณ์ 3. นักศึกษามีความรู้เรื่องโครงสร้างทางไวยากรณ์ คำศัพท์

3. หลักสูตรประชุมวางแผนเพื่อเตรียม และ tense ท่ีแตกตา่ งกนั (รายการหลกั ฐาน AUN-QA-5.1-4)

กิจกรรมการเตรียมความพร้อม ให้กับนักศึกษา ดังนั้นหลักสูตรจึงได้กำหนดจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อม

ชั้นปีที่ 1 ด้านวิชาการและการใช้ชีวิตใน ก่อนเข้าเรียน (First Start) ให้กับนักศึกษาระหว่าง 24-25

มหาวทิ ยาลัย และจดั กิจกรรมเตรียมความพร้อม กรกฎาคม 2563 ณ หอประชมุ ทีปังกรรศั มโี ชติ มหาวิทยาลัยราภ

ก่อนเขา้ ศกึ ษาต่อ ชฏั กำแพงเพชร โดยมีวัตถุประสงคด์ งั น้ี

(รายการหลักฐาน AUN-QA -5.1-3) 1. เพื่อส่งเสริมทักษะภาษาอังกฤษด้านการฟัง พูด อ่าน และ

เขยี น

2. เพื่อกระชับความสัมพันธ์ระหว่างรุ่นพี่กับรุ่นน้องและ

คณาจารย์ภายในโปรแกรมวชิ าภาษาอังกฤษ

รายงานการประเมินตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ ปกี ารศึกษา 2563 43

การดำเนนิ งาน วธิ ีการประเมินผลผู้เรียน

การประเมินผเู้ รียนอย่างต่อเน่อื งระหว่าง 3. เพื่อเสริมสร้างความสามัคคี ความรักใคร่กลมเกลียว
การศึกษา (รายละเอยี ดเพิม่ เตมิ 5.1.1) คุณธรรมจริยธรรม และการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยอย่างมี
ความสุข

4. เพื่อประเมินความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม
กิจกรรมเตรียมความพร้อมด้านการใช้ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย
ในกิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษาโปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษ ใน
วันที่ 24-25 กรกฎาคม 2563 มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการ
ปฐมนิเทศนักศึกษาชั้นปีที่ 1 แนะนำอาจารย์ภายในหลักสูตร
แนวทางการใชช้ วี ติ ระดับอุดมศกึ ษา ทงั้ ดา้ นวิชาการและวิชาชพี
3. หลังสิ้นสุดโครงการเตรียมความพร้อม มีการประเมินผล
ความรู้ และความพึงพอใจ โดยการสมั ภาษณ์ได้ข้อมูลดงั นี้
นักศึกษามีความพึงพอใจต่อโครงการในภาพรวมอยู่ในระดับ
มาก ค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 4.04 ผลการเปรียบเทียบทางการเรียนก่อน
และหลังเรียน พบว่า การทดสอบก่อนเรียนของนักศึกษามี
คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 7.04 และหลังเรียนเท่ากับ 12.33 คะแนน
เมื่อเปรียบเทียบก่อนและหลังเรียนพบว่า คะแนนสอบหลังเรียน
ของนักศึกษาสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญ สำหรับความ
คิดเห็นอื่น ๆ พบว่า นักศึกษามีความต้องการให้เพิ่มพูนคำศัพท์
ภาษาอังกฤษใหม้ ากข้ึน
4. การติดตามผลของการจัดโครงการเตรียมความพร้อม เม่ือ
นักศกึ ษาใหมท่ ีเ่ ข้ารว่ มโครงการฯ หลักสตู รมีการดำเนินการดงั นี้
4.1 กิจกรรมสานสัมพันธ์นอ้ งพ่ี
4.2 กจิ กรรมพ่รี หสั กับนอ้ งรหัส
4.3 กิจกรรมท่องคำศัพทภ์ าษาองั กฤษ จำนวน 1,500 คำ โดย
กำหนดให้นักศึกษาชั้นปีที่ 2 ที่เป็นพี่รหัสรับผิดชอบตรวจสอบ
ประเมินและรายงานต่ออาจารย์ในหลกั สตู ร
4.4 ตดิ ตามผลสอบในรายวิชาหลักภาษาสำหรับครูและผลสอบ
วัดความรู้ในรายวิชาเสริมทักษะภาษาอังกฤษ 1 โดยนักศึกษา
ต้องมีผลการเรียนผ่านเกณฑ์การให้เกรดของอาจารย์ผู้สอน โดย
ไม่ตดิ E (รายการหลกั ฐาน AUN-QA-5.1-5)
มีการวัดผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนักศึกษาตามเกณฑ์การ
ประเมินผล และดำเนินการประเมินผลตามเกณฑ์ ตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิทั้ง 6 ด้าน คือ 1) ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2)

รายงานการประเมินตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ปีการศกึ ษา 2563 44

การดำเนินงาน วธิ ีการประเมินผลผู้เรยี น

ด้านความรู้ 3) ดา้ นทักษะทางปัญญา 4) ดา้ นทักษะความสัมพนั ธ์

ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ด้านทักษะการวิเคราะห์

เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และ 6)

ด้านการจัดการเรียนรู้ รวมทั้งยังมีระบบและกลไกในการ

ส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาติดตามผล

การศึกษาเพื่อให้คำแนะนำ ประเมินผลการเรียนรู้ของแต่ละ

รายวิชาที่มีรูปแบบที่หลากหลาย (รายการหลักฐาน AUN-QA-

5.1-6)

ก่อนสำเรจ็ การศกึ ษา สอบประมวลผลการเรียนชัน้ ปีที่ 5 หลังจากฝึกประสบการณ์

เงื่อนไขการให้จบการศึกษาหลักสูตรฯ มีการ วิชาชีพครู โดยทางหลักสูตรฯ ได้ดำเนินตามกระบวนการทวน

ทดสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ขณะนักศึกษายงั สอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยรายวิชาประมวลสาระ

ไม่สำเร็จการศึกษาเป็นการทวนสอบองค์ความรู้ ความรู้วิชาชีพครูและวิชาประมวลสาระความรู้วิชาเฉพาะ โดย

ของนกั ศกึ ษาชั้นปีท่ี 5 กอ่ นสำเรจ็ การศึกษา โดย คณะครุศาสตร์ได้แต่งตั้งคณะกรรมการเป็นผู้ดำเนินการออก

รายวิชาประมวลสาระความรู้วิชาชีพครู และ ขอ้ สอบ มเี นื้อหาสาระสำคญั ประกอบดว้ ย

วิชาประมวลสาระความรู้วิชาเฉพาะ ซึ่งเป็น 1.วิชาประมวลสาระความร้วู ชิ าชพี ครู

ข้อสอบท่ที างคณะครุศาสตรไ์ ดจ้ ัดทำข้ึน ข้อสอบ จำนวน 100 ขอ้ 100 คะแนน

แต่ละข้อจะมีความสอดคล้องกับมาตรฐานผล 2. วชิ าประมวลสาระความร้วู ิชาเฉพาะ (ภาษาองั กฤษ)

การเรียนรู้ของหลักสูตรทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ จำนวน 100 ข้อ 100 คะแนน

คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา โดยนักศึกษาจะต้องสอบผ่านรอ้ ยละ 60 ข้นึ ไปในแตล่ ะวชิ า (รายการ

ทักษะความสัมพันธ์ ทักษะในการวิเคราะห์เชิง หลักฐาน AUN-QA-5.1-7)

ต ั ว เ ล ข ก า ร ส ื ่ อ ส า ร แ ล ะ ก า ร ใ ช ้ เ ท ค โ น โ ล ยี

สารสนเทศ และการจัดการเรียนรู้ โดยมี

กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของ

นกั ศกึ ษา ดงั น้ี

1. แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาความ

เหมาะสมของข้อสอบตลอดจนการประเมินผล

รายวชิ า

2. มีการประเมินมาตรฐานผลการเรียนรู้จาก

ฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพโดยผ้บู รหิ ารสถานศึกษา

ครูพี่เลี้ยง อาจารย์ท่ีปรึกษา สอบวัดประมวล

ความรจู้ ากคณะครุศาสตร์

รายงานการประเมนิ ตนเองหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาองั กฤษ ปีการศกึ ษา 2563 45

การดำเนินงาน วธิ ีการประเมนิ ผลผ้เู รียน

ทั้งนี้ การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรครุศา
สตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ มีเกณฑ์การ
สำเร็จการศึกษา ดงั นี้

1) มีความประพฤตดิ ี มคี ณุ ธรรม
2) สอบได้รายวิชาต่าง ๆ ครบตามหลักสูตร รวมท้ัง
หลกั สตู รหรือสภามหาวทิ ยาลัยกำหนดให้เรยี นเพิม่
3) ได้ค่าคะแนนเฉล่ยี สะสมไม่ตำ่ กวา่ 2.00
4) มีสภาพเป็นนักศึกษาไม่ตำ่ กว่า 6 ภาคเรียน
ปกติ และไมเ่ กนิ 16 ภาคเรียนปกติตดิ ต่อกัน
5) เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏ
กำแพงเพชร ว่าด้วยการประเมินผลการศึกษา
ระดับอนุปรญิ ญาและปริญญาตรี พ.ศ. 2548

รายละเอยี ดเพ่ิมเติม 5.1.1 การประเมนิ ผเู้ รยี นอย่างต่อเน่ืองระหว่างการศึกษา ในระหว่างศึกษาหลักสูตรฯ
มอบหมายให้อาจารย์มีการประเมินความรู้ความสามารถของนักศึกษาตามกลยุทธ์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมตาม
รายวิชา โดยวิธีการประเมินผลเปน็ ไปตามกรอบมาตรฐานการเรยี นรู้ระดับอุดมศึกษาทั้ง 6 ด้าน (TQF) ได้แก่
คณุ ธรรมจรยิ ธรรม ความรู้ ทกั ษะทางปญั ญา ทักษะความสัมพนั ธ์ ทกั ษะในการวเิ คราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสาร
และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านการจัดการเรียนรู้ (รายการหลักฐาน AUN-QA-5.1-8) โดยมี
สาระสำคัญตามประเภทของรายวิชาไดด้ ังต่อไปนี้

ตารางที่ 5.2 : ประเภทการประเมนิ ผลของนักศึกษา

ประเภทของรายวิชา วธิ กี ารประเมินผลนักศึกษา
รายวิชากลมุ่ ทฤษฎแี ละบรรยาย มกี ารประเมินผู้เรียนโดยการสอบกลางภาคและสอบ
ปลายภาคเป็นสัดส่วนหลัก นอกจากนี้อาจมีการให้
รายวชิ ากลุ่มปฏบิ ัติ คะแนนใบงาน การบ้าน รายงาน และการนำเสนอ
ผลรายงาน รว่ มด้วย
มีการประเมินผลการเรียนของผู้เรียนโดยการ
ปฏิบัติงาน การนำเสนอผลการปฏิบัติ การจัดทำ
รายงาน และสอบปลายภาค บางรายวิชามีการ
ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียน และการสอบปฏิบัติ

รายงานการประเมินตนเองหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑิต สาขาวิชาภาษาองั กฤษ ปีการศกึ ษา 2563 46


Click to View FlipBook Version