The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเขียนงานวิชาการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yala, 2022-05-16 04:13:03

การเขียนงานวิชาการ

การเขียนงานวิชาการ

97

การเขยี นขอ้ เสนอแนวความคิดเพอ่ื พฒั นางานให้มีประสิทธภิ าพ ประกอบด้วย
๑. ปก
๒. คำนำ
๓. สำรบญั
๔. เนอื้ หำ
๕. อ้ำงอิง/บรรณำนุกรม
๖. ภำคผนวก

๑. ปก ประกอบดว้ ย

๑.๑ ปกนอก เป็นปกหน้ำใหร้ ะบขุ ้อควำมดังนี้
๑.๑.๑ ชื่อหัวเร่อื ง

ใหร้ ะบุหัวข้อท่แี สดงแนวควำมคิด/วิธกี ำรเพือ่ พฒั นำงำน หรือปรับปรุงงำนของตำแหน่ง
ที่ขอประเมนิ ในกำรตง้ั ชอื่ เรอ่ื งตอ้ งใช้ภำษำท่ีอำ่ นเข้ำใจง่ำย ชัดเจน ไมใ่ ช่ภำษำพดู เชน่

ขอ้ เสนอแนวควำมคิด/วิธีกำรเพือ่ พฒั นำงำนหรือปรบั ปรุงงำนให้มปี ระสทิ ธภิ ำพ
เรื่อง

......................(ชื่อเร่อื ง)....................

๑.๑.๒ ชือ่ ผู้จดั ทำ เชน่
โดย

.............(ระบคุ ำนำหน้ำนำม) ช่อื – สกุล.................
ตำแหน่ง...........
สงั กดั .................

๑.๑.๓ ใหร้ ะบุวำ่ เอกสำรประกอบกำรขอประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง
อะไร เช่น เอกสำรประกอบกำรขอประเมินผลบุคคลเพ่ือแต่งต้ังให้ดำรงตำแหน่ง........
ตำแหนง่ เลขท.่ี ......

สังกดั ฝำ่ ย/กลุม่ ..................กอง/สำนัก.......
(เสนอผลงำนเขำ้ รับกำรประเมนิ ปี พ.ศ. ....)
๑.๒ แผน่ รองปก เป็นกระดำษเปลำ่ ทแ่ี ทรกระหว่ำงปกนอกกบั ปกใน
๑.๓ ปกใน ระบุข้อควำมและรปู แบบเหมือนปกนอก

๒. คานา
กลำ่ วถงึ ควำมเปน็ มำ โดยอ้ำงถึงสำเหตุท่ที ำผลงำน ประโยชน์ทค่ี ำดว่ำจะไดร้ บั

98

๓. สารบญั
๓.๑ สารบัญ เป็นที่บอกโครงสร้ำงของผลงำนท้ังหมดโดยระบุหัวข้อแยกเป็นบทๆ

เรยี งลำดับหวั ข้อตำมเนื้อหำอย่ำงละเอียดพร้อมทงั้ ระบหุ นำ้ กำกับไว้ด้วย
๓.๒ สารบัญตาราง (ถ้ำม)ี
๓.๓ สารบัญภาพ (ถ้ำมี)

๔. เนื้อหา ประกอบดว้ ยสว่ นตำ่ งๆ ดงั น้ี
๔.๑ หลกั การและเหตผุ ล
เป็นกำรอธิบำยถึงเหตุผลควำมจำเป็น สำเหตุที่นำเสนอแนวควำมคิดหรือวิธีกำรเพ่ือ

พฒั นำงำนมีเหตจุ งู ใจอย่ำงไร และจะก่อใหเ้ กิดประโยชน์อย่ำงไร
๔.๒ วัตถปุ ระสงคข์ องการนาเสนอ
เป็นข้อควำมที่บอกใหผ้ ูอ้ ำ่ นไดท้ รำบว่ำจะเกิดอะไรขึ้นหำกทำตำมแนวควำมคิดนี้ โดย

ในส่วนของวตั ถุประสงคจ์ ะตอ้ งระบใุ หช้ ัดเจน
๔.๓ แนวความคิด/บทวิเคราะห์
แนวความคิด เพ่ือให้ผลงำนเป็นที่น่ำเช่ือถือ เหมำะสมกับผลงำนทำงวิชำกำร ผู้นำ

เสนอผลงำนต้องตรวจสอบว่ำเรื่องท่ีนำเสนอจะต้องอำศัยทฤษฏี แนวควำมคิดทำงวิชำกำรหรือข้อ
กฎหมำย และระเบียบต่ำงๆ ท่ีเกี่ยวข้องมำใช้ประกอบในกำรเขียนผลงำนมำกน้อยเพียงใด โดย
พิจำรณำเฉพำะเทำ่ ทเ่ี ก่ียวข้อง สว่ นท่ไี มเ่ กีย่ วขอ้ งไม่ตอ้ งยกขึ้นมำกลำ่ วอำ้ ง

บทวิเคราะห์ เม่ือผู้นำเสนอผลงำนได้นำเสนอถึงควำมสำคัญของปัญหำและได้
พจิ ำรณำตรวจสอบแล้วว่ำจะต้องใชแ้ นวควำมคิดทำงวชิ ำกำรเกย่ี วขอ้ งอย่ำงไรบ้ำงแล้ว จึงวิเครำะห์ถึง
สภำพปัญหำว่ำเป็นอย่ำงไร สำเหตุของปัญหำและวิธีกำรแก้ไขปัญหำท่ีผ่ำนมำรวมทั้งสำมำรถนำ
แนวควำมคิดทำงวิชำกำรที่ยกข้ึนมำกล่ำวอ้ำงใช้แก้ไขปัญหำได้อย่ำงไร และเกิดผลดีกับผลงำนที่ทำน้ัน
อย่ำงไร ในส่วนของกำรวิเครำะห์น้ี ผู้เสนอผลงำนจะต้องแสดงถึงควำมสัมพันธ์ของปัญหำและ
แนวควำมคดิ ทำงวชิ ำกำรที่ยกขึ้นมำประกอบอยำ่ งชดั เจน

ข้อเสนอ ระบุข้อเสนอท่ีควรจะเป็นในกำรปรับปรุงพัฒนำงำน โดยแสดงให้เห็นว่ำข้อเสนอ
น้ัน สำมำรถนำไปปฏิบัติได้จริงและเห็นผลสำเร็จของงำนได้ชัดเจน สอดคล้องกับบทวิเครำะห์ และเป็น
ข้อเสนอที่ผู้ขอประเมินสำมำรถดำเนินกำรได้ด้วยตัวเองหรือปฏิบัติร่วมกับหน่วยงำนที่สังกัดอยู่ โดยจะได้
มกี ำรตดิ ตำมผลภำยหลงั

๔.๔ ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ
ให้ระบุผลที่คำดหมำย หรือมุ่งหวังที่จะให้เกิดขึ้นจำกกำรเสนอแนวควำมคิด วิธีกำรหรือ

ข้อเสนอพัฒนำงำนหรือปรับปรุงงำนให้มีประสิทธิภำพย่ิงข้ึน ซึ่งผลดังกล่ำวอำจแสดงได้ท้ังในเชิงปริมำณ
และเชงิ คุณภำพ ตลอดจนช่วงเวลำท่ีคำดว่ำผลงำนดังกล่ำวจะได้รับประโยชน์ต่อบุคคลเป้ำหมำย หรือ
เกดิ ผลงำนที่สำมำรถวดั ได้อย่ำงเปน็ รูปธรรม

99

๔.๕ ตวั ชวี้ ัดความสาเร็จ
ให้กำหนดตัวช้ีวัดควำมสำเร็จของงำนที่นำเสนอให้ชัดเจนเป็นรูปธรรมสำมำรถวัดได้

ไม่ควรกำหนดตัวช้ีวัดหลำยตัวเพรำะจะต้องมีกำรติดตำมผลภำยหลังกำรแต่งต้ังแ ล้วว่ำผลสำเร็จของ
งำนทน่ี ำเสนอเปน็ ไป ตำมค่ำตวั ชว้ี ดั ท่กี ำหนดไวห้ รือไม่อยำ่ งไร

ลงช่ือ.................................................
(................................................)

ผู้เสนอแนวควำมคดิ
............./............../................

๕. เอกสารอ้างองิ /บรรณานุกรม
กำรอำ้ งองิ เป็นกำรบอกแหล่งที่มำของข้อมูล เพื่อให้ผู้อ่ำนสำมำรถศึกษำค้นคว้ำเพิ่มเติม

ได้ และเปน็ กำรให้เกยี รติเจ้ำของข้อมูล
๕.๑ กำรอ้ำงองิ เชงิ อรรถ (Footnotes)
เป็นกำรอ้ำงอิงเอกสำรและแหล่งที่ใช้อ้ำงอิงในกำรเรียบเรียงงำนเอกสำรวิชำกำร ซ่ึงจะ

วำงไวใ้ นชว่ งบรรทดั ท้ำยหน้ำเอกสำรบริเวณส่วนล่ำงของหน้ำเอกสำรในแต่ละบทท่ีมีเชิงอรรถจะเรียง
เลขเชิงอรรถต่อกันไป ตำมลำดับ คือ ๑, ๒, ๓, … เมื่อขึ้นบทใหม่ จึงจะเร่ิมเรียงลำดับหมำยเลข
เชิงอรรถใหม่

วิธีกำรเขียนเชิงอรรถ กำรอ้ำงทุกประเภทให้ระบุข้อมูลอ้ำงอิง ๔ ส่วน ได้แก่ ผู้แต่ง, ปีท่ี
พิมพ,์ ชอ่ื เร่อื ง, หรอื ชอื่ หนังสอื และเลขหน้ำท่อี ำ้ งองิ

 หนังสือ
๑ ช่ือ – สกลุ ผแู้ ตง่ . (ปีทีพ่ ิมพ)์ . ชอื่ เร่ืองหรอื ชอ่ื หนงั สือ.เลขหน้ำท่อี ำ้ งอิง

 บทควำมในวำรสำร
๑ ชื่อ – สกุลผู้แต่ง. “ชื่อบทควำม” ในช่ือวารสาร ปีที่หรือเล่มที่ (เดือน

และปที ีพ่ ิมพ์ : เลขหน้ำ
 บทควำมในหนังสอื พมิ พ์
๑ ชื่อ – สกลุ ผ้แู ต่ง.“ช่ือบทควำม”ใน ช่ือหนังสือพิมพ์ (วันท่ี เดือน ปีของ

หนังสือพมิ พ์) : เลขหนำ้ .
 วิทยำนพิ นธ์
๑ ชื่อ – สกุลผู้เขียน “ช่ือวิทยานิพนธ์” (ระดับปริญญำ ภำควิชำหรือ

สำขำวชิ ำ คณะ มหำวทิ ยำลยั . ปีทพ่ี มิ พ์). เลขหน้ำ
 กำรอำ้ งเอกสำรซำ้

กำรอ้ำงเอกสำรเรื่องนั้นซ้ำโดยไม่มีเอกสำรอ่ืนมำค่ันให้ใช้คำว่ำ “เร่ืองเดียวกัน” ถ้ำเป็น
เอกสำรภำษำต่ำงประเทศให้ใช้คำว่ำ “Ibid” หำกเอกสำรเร่ืองเดียวกันน้ันมำจำกหน้ำท่ีอ้ำงถึงต่ำง
หน้ำกันให้ระบุเลขหน้ำไปด้วย กรณีที่มีกำรอ้ำงเอกสำรน้ันซ้ำในบทเดียวกันโดยมีเอกสำรอ่ืนมำค่ัน
ใหล้ งเชงิ อรรถย่อ โดยตดั ข้อควำมสว่ นทีเ่ ปน็ สถำนท่ีพิมพ์ สำนักพมิ พ์ ปีท่พี มิ พ์ ออก

100

กรณีหนังสือภำษำไทย
๑ ขจร สุขพำนชิ . (๒๕๑๙). ฐำนันดรไพร่. หนำ้ ๒.
๒ เจริญ อินทรเกษตร, “ฐำนันดร,” สำรำนุกรมไทยฉบับ
รำชบณั ฑิตยสถำนเล่มท่ี ๑๑ (๒๕๑๕ – ๒๕๑๖) : หน้ำ ๖๙๑๔.
๓ขจร สุขพำนชิ , ฐำนนั ดรไพร่, หนำ้ ๑๓
๔ เรอ่ื งเดยี วกัน, หนำ้ ๓๕.
๕ เจริญ อินทรเกษตร, “ฐำนันดร,” สำรำนุกรมไทยฉบับ
รำชบณั ฑิตยสถำน, ๑๑ : ๖๙๑๔.
กรณหี นังสือภำษำองั กฤษ
1 William A. Katz, introduction to reference work, 2ed ed.(New
York : McGraw – Hill, 1974), 1 : 13.
2 Ibid., p.21.
๔.๑.๒ กำรพิมพ์เชิงอรรถ (Footnotes) ให้พิมพ์ไว้ส่วนล่ำงของแต่ละ
หน้ำที่อ้ำงถงึ และใหแ้ ยกจำกเน้อื เรื่อง โดยขีดเส้นคั่นขวำงจำกแนวพิมพ์ด้ำนซ้ำยของกระดำษยำว ๕
ซม. และพมิ พ์เชงิ อรรถใต้เส้นน้ีประมำณ ๐.๕ ซม. นอกจำกน้ี กำรพิมพ์เชิงอรรถบรรทัดแรกย่อหน้ำ
ตำมควำมเหมำะสม ถ้ำเชิงอรรถมีเกินกว่ำ ๑ บรรทัดต่อมำให้พิมพ์ตรงแนวพิมพ์ด้ำนซ้ำยทุกบรรทัด
จนจบรำยกำรโดยให้บรรทัดสุดท้ำยของข้อควำมในเชิงอรรถอยูห่ ่ำงจำกขอบกระดำษด้ำนล่ำงประมำณ
๒ ซม. ขนำดตวั อักษร ๑๔ ธรรมดำ ดังตัวอย่ำง

๑ สุรพนั ธ์ ยนั ต์ทอง, (๒๕๓๓). การบริหารโรงเรียน: นวัตกรรม เทคนิค ประสบการณ์.
หนำ้ ๑๓๓.

๕.๒ เอกสารอ้างองิ
ให้ระบุช่ือเอกสำรที่ใช้ประกอบในกำรเขียนผลงำน เพื่อให้ผู้อ่ำนทรำบแหล่งท่ีมำ

ต้องสอดคล้องกับเน้ือหำในเอกสำร รำยชื่อเอกสำรที่ไม่ได้ปรำกฏในเนื้อควำมไม่ต้องระบุในรำยชื่อ
เอกสำรอ้ำงอิง

๕.๓ บรรณานุกรม (Reference)
บรรณำนุกรมเป็นกำรเขียนรำยกำรอ้ำงอิงท้ำยบท ได้แก่ รำยช่ือหนังสือ บทควำม

วำรสำร ส่ิงตีพิมพ์และไม่ตีพิมพ์ชนิดต่ำงๆ ที่ใช้อ้ำงถึงหรือประกอบกำรจัดทำผลงำน ส่วนอ้ำงอิงน้ี
จะอยู่ต่อจำกสว่ นเนื้อหำผลงำนและอยูก่ ่อนภำคผนวก

 หนงั สือ
ชือ่ – นำมสกุลผ้เู ขียน. (ปที พี่ ิมพ)์ . ชอื่ หนังสอื . เมอื งทพี่ มิ พ์ : สำนักพมิ พ.์
 วำรสำร
ชื่อ – นำมสกุลผู้เขียน. (ปีที่พิมพ์). ช่ือบทความ. ช่ือวำรสำร, ปีท่ีพิมพ์
(ฉบบั ท่ีพมิ พ)์ , เลขหนำ้ แรก – หนำ้ สุดท้ำย
 หนงั สือพมิ พ์

101

ช่ือ – นำมสกุลผเู้ ขยี น. (ปี เดือน วันที่พิมพ์). ช่อื บทความ. ชอ่ื หนงั สือพิมพ์,
เลขหนำ้ แรก – หนำ้ สุดทำ้ ย

 วิทยำนพิ นธ์
ชื่อ – นำมสกุลผู้เขียน. (ปที พี่ มิ พ์). ชอ่ื วทิ ยานิพนธ์. เมืองท่ีพิมพ์ :
สถำนศึกษำ
 รำยงำนกำรประชุม
ชื่อ – นำมสกุลผู้เขียน. (ปีที่พิมพ์). ช่ือเอกสารรวมเร่ืองที่ได้จาก
รายงานการประชมุ . วันเดือนปที ีจ่ ัด.สถำนที่จดั .สำนกั พิมพ์.เลขหนำ้ .
 ส่อื อนิ เตอรเ์ น็ต
ช่อื – นำมสกุลผเู้ ผยแพร่. (ปี เดือน วันที่อ้ำงอิง). ช่ือเร่ือง. จำนวนหน้ำ.
แหล่งทมี่ ำ URL : http://www. …….......

๖. ภาคผนวก (ถา้ มี)
ให้ระบุเอกสำรท่ีใช้ในกำรนำเสนอผลงำน เช่นกฎหมำย กฎ ระเบียบ ประกำศที่

เก่ียวข้อง หรือหนังสือเวียนที่เป็นผลจำกกำรนำเสนอ บันทึกเสนอผู้บริหำร รูปภำพ แผ่นพับ
ประชำสัมพนั ธ์ ฯลฯ

มาตรฐานรูปแบบในการพิมพ์ผลงาน

๑. กระดาษทใี่ ช้ โดยท่วั ไปนยิ มใชก้ ระดำษ A๔
๒. หลักในการพมิ พ์

๒.๑ ระยะขอบกระดำษ
-ขอบบน ๑.๕ นิ้ว
-ขอบลำ่ ง ๑ นิ้ว
-ขอบซำ้ ย ๑.๕ นิ้ว
-ขอบขวำ ๐.๕ นว้ิ

๒.๒ หมำยเลขหน้ำให้พิมพ์ไว้ตรงกลำงตอนบนของหน้ำกระดำษ โดยพิมพ์ห่ำงจำก
ขอบบน ๑ นิ้ว โดยประมำณ ทุกๆ หนำ้ หลังสำรบญั

๒.๓ ไมค่ วรมหี น้ำแทรก เช่น หนำ้ ๒ ก หนำ้ ๒ ข เปน็ ต้น
๒.๔ ขนำดตัวอักษรภำยในเล่ม ใช้ขนำด ๑๖ โดยตัวอักษรให้ใช้ Font TH
sarabunPSK ตัวเลขให้ใช้เลขไทย ยกเว้น ในส่วนที่เป็นคำเฉพำะ เช่น ชื่อรุ่น ช่ือมำตรฐำน
อุตสำหกรรมท่ีเปน็ ชอื่ เฉพำะและมตี วั เลขกำกบั
๓. การพมิ พแ์ ละการเรยี งลาดับหัวข้อ
๓.๑ หัวข้อเรื่อง พิมพ์ติดริมซ้ำยสุดของกระดำษที่ได้เว้นขอบกระดำษไว้ตำมข้อ ๒.๑
และใชต้ วั อกั ษรขนำด ๑๖ ตัวเขม้

102

๓.๒ หัวข้อย่อย ให้พมิ พใ์ นระดับย่อหน้ำ พมิ พ์ตัวเข้ม กำรให้หมำยเลขหัวข้อ ควรให้มี
หัวข้อเท่ำท่ีจำเป็น ในกรณีท่ีต้องกำรให้มำยเลขแสดงลำดับของหัวข้อควรเริ่มให้หมำยเลขกำกับใน
ระดับหัวขอ้ ขำ้ ง เพ่อื แสดงระดบั ของหัวขอ้ แต่ละระดับตำมที่ตอ้ งกำร

ตวั อย่ำงกำรใหห้ มำยเลขหัวขอ้
๑. ....................................................................................................................................

๑.๑ ............................................................................................................................
๑.๒ ......................................................................................................................... .

๑.๒.๑ ..............................................................................................................
๑.๒.๒ ........................................................................................................... ...

๔. การพิมพต์ าราง
๔.๑ เลขทแ่ี ละชอ่ื ตำรำง
๔.๑.๑ เลขประจำตำรำงเป็นส่วนที่แสดงลำดับของตำรำงให้พิมพ์ “ตำรำงที่”

ตำมด้วยหมำยเลขประจำตำรำงไวร้ มิ ซ้ำยมือสุดของกระดำษ ใหข้ ดี เสน้ ใต้ หรือพมิ พ์ตัวเขม้
๔.๑.๒ ช่ือตำรำงให้พิมพ์ต่อจำกเลขประจำตำรำงโดยเว้น ๒ ตัวอักษร กรณีชื่อ

ตำรำงยำวกวำ่ ๑ บรรทดั ใหพ้ มิ พ์ตัวอกั ษรตวั แรกของบรรทัดท่ี ๒ ตรงกับตวั แรกของชื่อตำรำง
๔.๒ ตำรำงทมี่ คี วำมยำวจนไมส่ ำมำรถลงในหน้ำกระดำษเดียวได้ให้พิมพ์ในหน้ำถัดไป

โดยมเี ลขท่ีตำรำงและคำว่ำ “ตอ่ ” ในวงเล็บ ไม่ตอ้ งใส่ช่ือตำรำง เช่น ตำรำงที่ ๑ (ตอ่ ) เป็นตน้
๔.๓ ตำรำงทีม่ คี วำมกว้ำงจนไมส่ ำมำรถบรรจใุ นหนเกระดำษเดียวได้ให้ใช้วิธีพิมพ์ตำม

ดำ้ นขวำงของหนำ้ กระดำษหรอื วธิ ีอ่ืนทเ่ี หมำะสม

---------------------------------
เอกสำรอ้ำงองิ
กองกำรเจ้ำหน้ำท่ี สำนักงำนปลดั กระทรวงยุติธรรม. 2556. แนวทางการเขยี นผลงานทางวชิ าการ

เพ่ือเลื่อนระดับสูงขึน้ (ระดบั ชานาญการและระดับชานาญการพิเศษ). กรุงเทพฯ:
กลมุ่ งำนสรรหำ บรรจแุ ละแต่งตั้ง กองกำรเจำ้ หนำ้ ที.่

103

ผจู้ ัดทา (ผู้เขยี น)

ช่ือ-สกุล ดร.อภริ ชั ศกั ดิ์ รชั นีวงศ์
ตำแหนง่ นกั วเิ ครำะห์นโยบำยและแผนชำนำญกำรพิเศษ (หวั หนำ้ กลมุ่ ตดิ ตำมและประเมินผล)
สังกดั สำนักนโยบำยและยุทธศำสตร์ สำนกั งำนปลัดกระทรวงยุตธิ รรม
กำรศึกษำ รัฐศำสตรบณั ฑติ มหำวทิ ยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช

ศกึ ษำศำสตรบัณฑิต (กำรศึกษำนอกระบบ) มหำวทิ ยำลัยสุโขทยั ธรรมำธิรำช
ศกึ ษำศำสตรบัณฑิต (กำรวดั และประเมินผลกำรศกึ ษำ) มหำวทิ ยำลัยสุโขทยั ธรรมำธริ ำช
สง่ เสริมกำรเกษตรและสหกรณ์บัณฑติ มหำวิทยำลัยสโุ ขทยั ธรรมำธิรำช
เกษตรศำสตรบัณฑติ (ส่งเสริมกำรเกษตร) มหำวิทยำลยั สุโขทยั ธรรมำธริ ำช
ประกำศนียบัตรชั้นสูงทำงกำรวำงแผนและประเมนิ ผลโครงกำร สถำบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ำรศำสตร์
ประกำศนยี บตั รชั้นสูงทำงพฒั นำกำรเศรษฐกจิ สถำบนั บัณฑิตพัฒนบรหิ ำรศำสตร์
ประกำศนียบัตรบัณฑิตกำรวิจัยสงั คม มหำวทิ ยำลัยธรรมศำสตร์
ศิลปศำสตรมหำบัณฑิต (สงั คมวิทยำประยกุ ต์) มหำวิทยำลยั เกษตรศำสตร์
บรหิ ำรธุรกจิ มหำบณั ฑติ (กำรจดั กำรสำธำรณะ) มหำวิทยำลัยบรู พำ
Ph.D. (Social Science) Magadh University, India


Click to View FlipBook Version