The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเขียนงานวิชาการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yala, 2022-05-16 04:13:03

การเขียนงานวิชาการ

การเขียนงานวิชาการ

การเขยี นผลงานทางวชิ าการ
สานกั งานปลดั กระทรวงยุตธิ รรม

สานกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ สานักงานปลัดกระทรวงยตุ ิธรรม
ตุลาคม 2556

(1)

คานา

การเขยี นผลงานทางวชิ าการ สานกั งานปลดั กระทรวงยุตธิ รรม สบื เน่ืองจากผจู้ ัดทา
ไดร้ บั แต่งต้ังคณะกรรมการประเมินผลงานเพอ่ื แตง่ ต้ังให้ดารงตาแหนง่ นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน
ระดับชานาญการและระดับชานาญการพิเศษ ตามคาส่งั สานักงานปลัดกระทรวงยุตธิ รรม ท่ี 39/2556
ลงวนั ที่ 18 มกราคม 2556

กลุ่มงานสรรหา บรรจแุ ละแต่งตั้ง กองการเจ้าหนา้ ที่ สานักงานปลัดกระทรวงยตุ ิธรรม
ได้จดั ทาแนวทางการเขียนผลงานทางวชิ าการเพอ่ื เล่ือนระดับสูงขึ้น (ระดับชานาญการ และระดบั
ชานาญการพเิ ศษ) หากแตผ่ ขู้ อรบั การประเมินไดเ้ ขยี นผลงานทางวิชาการในส่วนข้อผิดพลาดหรอื
คลาดเคล่อื นในจดุ เดียวกนั เป็นสว่ นใหญ่ ทาให้ต้องมีการแก้ไขกันบ่อยและหลายครง้ั

ผู้จัดทา จงึ ไดจ้ ดั ทาเอกสารเลม่ นีข้ ึ้นโดยเรียงลาดับหวั ข้อหรือเนื้อหาตามข้อกาหนดของ
การประเมนิ นั้น ประกอบดว้ ย ผลงานทเ่ี ปน็ ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา ข้อเสนอแนวความคิด/วธิ กี าร
เพื่อพัฒนางานหรือปรับปรงุ งานใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพมากข้ึนและแบบประเมินคุณลักษณะของบคุ คล
เพือ่ ให้ผขู้ อรับการประเมนิ นาไปเปน็ แนวทางการเขียนผลงานทางวิชาการใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพย่งิ ข้นึ

สานักนโยบายและยทุ ธศาสตร์

(2)

สารบญั

คานา ................................................................................................................................ หน้า
สารบญั ................................................................................................................................ (1)
สว่ นที่ 1 ผลงานทเ่ี ปน็ ผลการดาเนนิ งานทีผ่ ่านมา............................................................... (2)
1
โครงสร้างการจดั ทาผลงานทีเ่ ป็นผลการดาเนนิ งานทผ่ี ่านมา............................... 2
ปกนอก........................................................................................................... ...... 3
ปกใน.................................................................................................................... 4
คานา.................................................................................................................... 5
สารบญั ................................................................................................................. 6
ชอ่ื ผลงาน............................................................................................................. 9
ระยะเวลาการดาเนนิ การ..................................................................................... 16
ความรทู้ างวิชาการหรือแนวความคิดทใ่ี ช้ในการดาเนนิ การ................................. 18
19
ความเปน็ มาและความสาคญั ของผลงาน...................................................... 21
วตั ถปุ ระสงค์ของการดาเนนิ การ................................................................... 23
ตัวอยา่ งความรู้ทางวชิ าการหรือแนวความคิดท่ีใชใ้ นการดาเนินการ............ 24
สาระและขนั้ ตอนในการดาเนินการ...................................................................... 24
สาระ............................................................................................................. 25
ขน้ั ตอนในการดาเนนิ การ............................................................................. 29
ผู้ร่วมดาเนนิ การ................................................................................................... 30
สัดส่วนของงานทผ่ี เู้ สนอเป็นผู้ปฏิบตั .ิ ................................................................... 32
ผลสาเร็จของงาน.................................................................................................. 34
การนาไปใชป้ ระโยชน์........................................................................................... 36
ความยุ่งยากในการดาเนนิ การ/ปัญหา/อปุ สรรค.................................................. 38
ข้อเสนอแนะ......................................................................................................... 39
เอกสารอ้างอิง/บรรณานุกรม............................................................................... 40
การรับรองผลงาน................................................................................................. 41
ส่วนที่ 2 ขอ้ เสนอแนวความคิดเพื่อพฒั นางานใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ........................................ 42
โครงสร้างข้อเสนอแนวความคดิ เพ่ือพฒั นางานให้มปี ระสทิ ธภิ าพ........................ 43
ปกนอก................................................................................................................. 44
ปกใน.................................................................................................................... 45
คานา.................................................................................................................... 46
สารบญั ................................................................................................................. 47
ชื่อเร่อื ง................................................................................................................. 47
หลกั การและเหตผุ ล.............................................................................................. 50
บทวิเคราะห์/แนวความคิด............................................................................... ....

(3)

สารบญั (ต่อ)

ส่วนที่ 2 ข้อเสนอแนวความคิดเพื่อพัฒนางานให้มปี ระสิทธภิ าพ หน้า
บทวิเคราะห.์ ..................................................................................................
แนวความคิด.................................................................................................. 50
55
ข้อเสนอ................................................................................................................ 62
ผลที่คาดว่าจะได้รับ.............................................................................................. 63
ตวั ช้ีวดั ความสาเร็จ............................................................................................... 64
เอกสารอา้ งอิง/บรรณานุกรม (ถ้ามี)..................................................................... 67
ลงชื่อผเู้ สนอแนวคดิ .............................................................................................. 73
ส่วนที่ 3 แบบประเมินคุณลักษณะของบคุ คล..................................................................... 74
ตอนท่ี 1 ข้อมลู ส่วนบคุ คล.................................................................................... 75
ตอนที่ 2 รายการประเมนิ .................................................................................... 78
ตอนที่ 3 สรุปความเหน็ ในการประเมนิ ................................................................ 80
บรรณานกุ รม ….................................................................................................................... 81
ภาคผนวก …....................................................................................................................... 83

แนวทางการเขียนผลงานทางวิชาการเพอื่ เล่ือนระดับสงู ขึน้ (ระดับชานาญการ 84
และระดบั ชานาญการพิเศษ) กองการเจา้ หน้าท่ี สานักงานปลดั กระทรวง- 84
ยตุ ิธรรม............................................................................................................. 84
86
หลกั การ....................................................................................................... 88
คณุ สมบตั ิของบคุ คลทีจ่ ะเขา้ รับการประเมินผลงาน..................................... 88
ผลงานที่นาเสนอเพื่อขอประเมนิ เลือ่ นระดบั ใหส้ ูงขึน้ .................................. 89
จานวนผลงานทีต่ ้องนาเสนอ........................................................................ 93
ลกั ษณะของผลงาน......................................................................................
ข้นั ตอนการดาเนนิ การประเมนิ บุคคลและผลงาน........................................ 93
รายละเอียดการเขียนผลงานทางวิชาการ.................................................... 97
ภาคผนวก 101
การเขยี นผลงานทางวชิ าการท่เี ปน็ ผลการดาเนนิ งานท่ีผ่านมา................... 103
การเขยี นข้อเสนอแนวความคิดเพื่อพัฒนางานให้มปี ระสิทธภิ าพ................
มาตรฐานรปู แบบในการพิมพผ์ ลงาน...........................................................
ผูจ้ ัดทา (ผ้เู ขยี น) ...............................................................................................................

สว่ นที่ 1 การเขยี นผลงานทเ่ี ปน็ ผลการดาเนินงานที่ผา่ นมา

2

โครงสร้างการจดั ทาผลงานท่ีเปน็ ผลการดาเนนิ งานที่ผา่ นมา

1. ปกนอก
2. ปกใน
3. คำนำ
4. สำรบญั (สำรบัญ สำรบัญตำรำง สำรบัญภำพ)
5. ชอ่ื ผลงำน
6. ระยะเวลำทด่ี ำเนินกำร
7. ควำมร้ทู ำงวชิ ำกำรหรือแนวควำมคดิ ทใ่ี ช้ในกำรดำเนนิ กำร
8. สำระและข้นั ตอนในกำรดำเนนิ กำร
9. ผูร้ ว่ มดำเนินกำร
10. ส่วนของงำนทผ่ี ู้เสนอเปน็ ผปู้ ฏิบตั ิ
11. ผลสำเร็จของงำน (เชงิ ปริมำณ เชงิ คณุ ภำพ)
12. กำรนำไปใช้ประโยชน์
13. ควำมยงุ่ ยำกในกำรดำเนินกำร/ปัญหำ/อุปสรรค
14. ขอ้ เสนอแนะ
15. เอกสำรอ้ำงอิง/บรรณำนุกรม (ถ้ำมี)

3

1. ปกนอก

ผลงานที่เป็นผลการดาเนินงานท่ผี ่านมา

เรอ่ื งท่ี ๑
“การวางระบบการจัดซ้ืออาหาร เครอ่ื งบรโิ ภค และวสั ดุ

เพอ่ื การหุงหาอาหารให้นกั โทษ ผตู้ ้องขัง
ผถู้ ูกควบคมุ และผูเ้ ข้ารับการฝึกและอบรม”

โดย

นายกฤษณ์ สถาปตั ยส์ ริ ิ
ตาแหนง่ นกั วิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัตกิ าร
สานกั นโยบายและยุทธศาสตร์ สานกั งานปลัดกระทรวงยุติธรรม

เอกสารประกอบการขอประเมินของบคุ คล
เพอื่ แต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหน่งนกั วิเคราะห์นโยบายและแผน

ระดับชานาญการ ตาแหนง่ เลขท่ี ๑๕๑
กลุ่มนโยบายและยทุ ธศาสตร์ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์

สานกั งานปลดั กระทรวงยตุ ิธรรม
๒๕๕๖

4

2. ปกใน

ผลงานที่เป็นผลการดาเนินงานที่ผ่านมา

เรอื่ งท่ี ๑
“การวางระบบการจดั ซอื้ อาหาร เครอื่ งบริโภค และวัสดุ
เพอ่ื การหุงหาอาหารให้นักโทษ ผู้ต้องขัง ผถู้ กู ควบคมุ

และผเู้ ข้ารับการฝกึ และอบรม”

โดย

นายกฤษณ์ สถาปตั ยส์ ิริ
ตาแหนง่ นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ัตกิ าร
สานกั นโยบายและยุทธศาสตร์ สานกั งานปลัดกระทรวงยุติธรรม

เอกสารประกอบการขอประเมินของบคุ คล
เพ่อื แต่งต้งั ให้ดารงตาแหน่งนกั วิเคราะห์นโยบายและแผน

ระดบั ชานาญการ ตาแหนง่ เลขที่ ๑๕๑
กลมุ่ นโยบายและยทุ ธศาสตร์ สานกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์

สานกั งานปลดั กระทรวงยตุ ธิ รรม
๒๕๕๖

5

3. คานา

คานา

1. คำนำเป็นกำรกล่ำวถึงภำพรวมของกำรจดั ทำเร่ืองนนั้ ๆ ว่ำมสี ำระหรือประเด็นสำคญั
ใดบำ้ ง

2. คำนำเป็นสว่ นของกำรกลำ่ วขอบคุณผู้ท่มี สี ว่ นชว่ ยใหเ้ อกสำรเสรจ็ สมบรู ณ์
3. ควำมยำวไมเ่ กิน 1 หน้ำกระดำษ

คำนำ

ผลงานเร่ืองการวางระบบการจัดซื้ออาหาร เคร่ืองบริโภค และวัสดุเพื่อการหุงหา
อาหารให้นักโทษ ผู้ตอ้ งขัง ผู้ถกู ควบคุม และผู้เขา้ รบั การฝกึ และอบรมนี้ ได้จัดทาขึ้นเพ่ือเป็นเอกสาร
ประกอบการขอรับการประเมินของบุคคลเพื่อแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและ
แผน ระดับชานาญการ ตาแหน่งเลขท่ี ๑๕๑ กลุ่มนโยบายและยุทธศาสตร์ สานักนโยบายและ
ยทุ ธศาสตร์ สานักงานปลัดกระทรวงยุตธิ รรม

การจดั ทาผลงานเร่ือง การวางระบบการจดั ซอ้ื อาหาร เครอ่ื งบรโิ ภค และวัสดุเพ่ือการ
หุงหาอาหารให้นักโทษ ผู้ต้องขัง ผู้ถูกควบคุม และผู้เข้ารับการฝึกและอบรมเพ่ือขอรับการประเมิน
ของบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับชานาญการฯ น้ี
ขอขอบคณุ ผทู้ ่มี สี ว่ นเกยี่ วข้องทุกทา่ นเปน็ อยา่ งยิ่งท่ใี ห้การสนบั สนนุ การจดั ทาผลงานในครง้ั นี้

นายกฤษณ์ สถาปัตย์สริ ิ
มถิ นุ ายน 2556

6

4. สารบญั

สารบญั

1. สำรบัญเปน็ สว่ นท่ีแสดงถึงตำแหนง่ ของเน้ือหำของเอกสำรนนั้ ๆ หรือตำมท่ีหนว่ ยงำน
กำหนดโครงสร้ำงสำรบญั ไว้

2. สำรบัญตำรำง หำกในเอกสำรมีตำรำงก็ต้องมีสำรบัญตำรำง
3. สำรบญั ภำพ หำกในเอกสำรมแี ผนภมู /ิ รูปภำพ/ภำพเขียน/ภำพถ่ำยก็ตอ้ งมีสำรบัญภำพ

ตวั อย่างสารบญั หน้ำ
...
คำนำ........................................................................................................................................................ ...
สำรบญั ..................................................................................................................................................... ...
สำรบญั ตำรำง (ถ้ำมี)................................................................................................................................. ...
สำรบญั ภำพ (ถ้ำม)ี .................................................................................................................................. ...
ชือ่ ผลงำน................................................................................................................................................. ...
ควำมเป็นมำและควำมสำคญั ของผลงำน.................................................................................................. ...
วัตถปุ ระสงคข์ องกำรดำเนินกำร............................................................................................................... ....
ระยะเวลำกำรดำเนินกำร.......................................................................................................................... ...
ควำมรู้ทำงวิชำกำรหรือแนวควำมคิดที่ใชใ้ นกำรดำเนนิ กำร...................................................................... ...
...
ทฤษฎรี ะบบ (ตวั อย่ำง)......................................................................................................................
ระเบียบสำนกั นำยกรัฐมนตรวี ำ่ ดว้ ยกำรพสั ดุ พ.ศ. ... (ตัวอย่ำง) ...................................................... ...

กำรจัดซ้อื อำหำร เคร่ืองบริโภค และวัสดเุ พอ่ื กำรหงุ หำอำหำรให้นักโทษ ผ้ตู อ้ งขัง ...
ผถู้ ูกควบคุม (กรมรำชทณั ฑ์) (ตัวอยำ่ ง) ......................................................................................
กำรจัดซือ้ อำหำร เคร่อื งบริโภค และวสั ดุเพอ่ื กำรหุงหำอำหำรให้ผ้เู ขำ้ รบั กำรฝกึ และอบรม ...
...
(กรมพนิ ิจและคมุ้ ครองเด็กและเยำวชน) (ตวั อยำ่ ง) ......................................................................... ...
สำระและขั้นตอนในกำรดำเนนิ กำร.......................................................................................................... ...
...
สำระ.................................................................................................................................................. ...
ขั้นตอนในกำรดำเนินกำร................................................................................................................... ...
ผู้รว่ มดำเนนิ กำร....................................................................................................................................... ...
สว่ นของงำนท่ีผเู้ สนอเปน็ ผปู้ ฏิบตั .ิ ............................................................................................................
ผลสำเรจ็ ของงำน......................................................................................................................................
เชิงปริมำณ.........................................................................................................................................
เชิงคุณภำพ........................................................................................................................................

7

ตัวอย่างสารบญั (ต่อ) หนำ้
...
กำรนำไปใช้ประโยชน์............................................................................................................................... ...
ควำมยุง่ ยำกในกำรดำเนินกำร/ปญั หำ/อปุ สรรค....................................................................................... ...
...
ควำมยงุ่ ยำกในกำรดำเนินกำร (ปัญหำ)............................................................................................. ...
ควำมยงุ่ ยำกในกำรดำเนนิ กำร (อุปสรรค).......................................................................................... ...
ข้อเสนอแนะ............................................................................................................................................. ...
เอกสำรอำ้ งองิ /บรรณำนกุ รม....................................................................................................................
ภำคผนวก (ถำ้ มี).......................................................................................................................................

ตวั อยา่ งสารบญั ตาราง

ตำรำงท่ี สถติ ินกั โทษ ผตู้ อ้ งขงั ผ้ถู กู ควบคมุ (กรมรำชทณั ฑ์)...................................................... หนำ้
1 สถิติผเู้ ขำ้ รบั กำรฝกึ และอบรม (กรมพนิ จิ และคมุ้ ครองเด็กและเยำวชน)......................... ...
2 ค่ำใชจ้ ำ่ ยกำรจัดซื้ออำหำร ระหว่ำงปีงบประมำณ พ.ศ. 2540 – 2550........................... ...
3 จำนวนคูค่ ้ำในกำรจัดซื้ออำหำร ระหวำ่ งปีงบประมำณ พ.ศ. 2540 – 2550.................... ...
4 ...

ตัวอย่างสารบญั ภาพ

ภำพท่ี หน้ำ
1 โครงสรำ้ งกรมรำชทณั ฑ.์ .................................................................................................. ...
2 โครงสร้ำงกรมพินจิ และคมุ้ ครองเด็กและเยำวชน............................................................. ...
3 ปัจจัยท่ีสง่ ผลสำเร็จตอ่ กำรนำทฤษฎรี ะบบมำใช.้ .............................................................. ...
4 กรอบแนวคิดในกำรวิเครำะห.์ .......................................................................................... ...

8

ตัวอยา่ งสารบญั เร่ืองการวางระบบการจัดซ้อื อาหารฯ หน้ำ

1. ชอ่ื ผลงำน: กำรวำงระบบกำรจดั ซอื้ อำหำร เครือ่ งบรโิ ภค และวสั ดุเพ่ือกำรหุงหำอำหำร …
ให้นักโทษ ผตู้ ้องขัง ผู้ถูกควบคุม และผู้เข้ำรบั กำรฝกึ และอบรม………………………………………………….. ...
...
2. ระยะเวลำดำเนินกำร........................................................................................................................... ...
3. ควำมรู้ทำงวชิ ำกำรหรือแนวควำมคิดท่ใี ช้ในกำรดำเนนิ กำร................................................................. ...
...
3.1 หลักกำรและเหตุผล...................................................................................................................... ...
3.2 วัตถปุ ระสงค.์ ................................................................................................................................ ...
3.3 ขอบเขตผลงำน............................................................................................................................. ...
3.4 ระเบยี บสำนกั นำยกรฐั มนตรวี ำ่ ดว้ ยกำรพสั ดุ พ.ศ. 2535 และทแี่ กไ้ ขเพ่ิมเตมิ ............................. ...
3.5 พระรำชกฤษฎกี ำว่ำดว้ ยกำรเสนอเรือ่ งและกำรประชมุ คณะรฐั มนตรี พ.ศ. 2548...................... ...
3.6 ข้อกำหนดมำตรฐำนขั้นต่ำวำ่ ด้วยกำรปฏบิ ัตติ ่อผตู้ อ้ งขงั ของสหประชำชำติ................................. ...
3.7 ปฏญิ ญำสำกลว่ำด้วยเรือ่ งสทิ ธมิ นุษยชน...................................................................................... ...
3.8 ทฤษฎีระบบ................................................................................................................................. ...
4. สำระและขัน้ ตอนกำรดำเนนิ กำร......................................................................................................... ...
4.1 สำระ.............................................................................................................................................. ...
4.2 ขน้ั ตอนกำรดำเนินกำร................................................................................................................... ...
5. ผู้รว่ มดำเนินกำร................................................................................................................................... ...
6. สว่ นของงำนท่ผี ู้เสนอเป็นผูป้ ฏบิ ตั ิ........................................................................................................ ...
7. ผลสำเร็จของงำน................................................................................................................................. ...
7.1 เชงิ ปริมำณ.................................................................................................................................... ...
7.2 เชิงคณุ ภำพ.................................................................................................................................... ...
8. กำรนำไปใช้ประโยชน์.......................................................................................................................... ...
9. ควำมยงุ่ ยำกในกำรดำเนินกำร/ปญั หำ/อปุ สรรค.................................................................................. ...
9.1 ควำมยุ่งยำกในกำรดำเนนิ กำร...................................................................................................... ...
9.2 ปัญหำ/อุปสรรค........................................................................................................................... ...
10. ขอ้ เสนอแนะ......................................................................................................................................
บรรณำนุกรม............................................................................................................................................
ภำคผนวก.................................................................................................................................................

9

5. ชอื่ ผลงาน

ชือ่ ผลงำนสำมำรถนำควำมรู้ทำงกำรวิจัยมำประยุกต์ใชไ้ ด้เปน็ อย่ำงดี ซงึ่ กำรเลือกชอ่ื ผลงำน
มดี งั นี้

การเลอื กปัญหาการวจิ ยั
กำรเลอื กหวั ข้อเร่ืองเป็นหัวใจท่ีสำคัญของกำรทำวิจยั สิ่งแรกท่ผี สู้ นใจจะทำวิจยั ต้องทำคอื

กำรคดั เลือกหวั ข้อเรอื่ ง หัวข้อเรื่องที่ดีควรเป็นหัวข้อท่ีไม่กวำ้ งหรอื แคบจนเกนิ ไปเป็นหัวข้อท่มี ี
ประโยชน์ และอย่ใู นควำมสำมำรถของผ้วู ิจัยทีจ่ ะดำเนนิ กำรได้ กำรเลอื กหวั ข้อกำรวจิ ัยต้องสอดคล้อง
กับปัญหำท่ีจะศึกษำปัญหำน้ันอำจจะเกดิ จำกควำมอยำกรู้ ควำมสนใจ ควำมสงสยั ควำมนกึ คดิ
ปรำกฏกำรณ์ กำรค้นควำ้ กำรฟงั กำรอำ่ น กำรสนทนำ หรือกำรสังเกตจำกสภำพแวดลอ้ มก็เป็นไปได้
กำรทำวิจยั แตล่ ะเรือ่ งจะต้องกำหนดประเด็นของปญั หำในกำรทำวจิ ยั ให้ชดั เจน

กำรกำหนดประเด็นกำรวิจัย คือ กำรจำแนกแยกแยะรำยละเอยี ดของหวั เรือ่ งที่ศึกษำออกมำ
ว่ำมเี รื่องอะไรบ้ำง ท้งั น้เี พรำะผวู้ จิ ยั ในหวั เรอ่ื งเดยี วกันอำจมีควำมแตกต่ำงกันในประเด็นปัญหำที่
ศึกษำ กำรกำหนดประเด็นปัญหำนอกจำกจะแสดงให้เหน็ ให้เห็นขอบเขตในด้ำนเน้ือหำสำระของกำร
วจิ ยั ยงั สะทอ้ นใหเ้ หน็ วตั ถุประสงค์ที่แทจ้ รงิ ของกำรวิจัยดังกล่ำวด้วย

ประเดน็ กำรวจิ ัย คอื คำถำมของสิ่งท่ผี ู้วจิ ัยอยำกรู้
ปญั หำในกำรวจิ ัย คือ ควำมอยำกรู้แตย่ งั ไมร่ ้ใู นสภำพกำรณห์ รือปรำกฏกำรณท์ ีส่ นใจศึกษำ
เพือ่ ใหร้ ูแ้ ละเขำ้ ใจในสภำพกำรณ์หรอื ปรำกฏกำรณ์ จำเป็นต้องมีกำรดำเนนิ กำรตำมข้นั ตอนอยำ่ งมี
ระบบและมีระเบียบแบบแผนท่ีเรยี กว่ำ กำรวจิ ยั

การกาหนดปัญหาการวจิ ัย
กำรกำหนดปญั หำกำรวิจัยเปน็ ขั้นตอนทกี่ ระทำหลังจำกผวู้ ิจัยเลอื กปญั หำกำรวิจยั ได้แลว้ ปัญหำ

ท่ีเลอื กได้โดยปกตจิ ะเป็นปัญหำกวำ้ ง ๆ ทผ่ี วู้ ิจัยสนใจและอยำกรู้คำตอบ กำรกำหนดปัญหำคือวธิ ีกำร
สรุปปญั หำกว้ำง ๆ ที่เลือกได้มำใหแ้ คบลงเพ่ือควำมสะดวกแก่กำรเข้ำใจ และกำรกำหนดปญั หำกำร
วิจยั ในเชิงปฏิบตั ิอำจกำหนดได้สองลักษณะคือ กำหนดในรูปของประโยคคำถำมหลักแล้วตำมดว้ ย
คำถำมย่อย

10

ที่มาของปัญหาการวจิ ัย

1. ตัวผู้ทำวจิ ยั หรือประสบกำรณ์ของผ้วู จิ ยั ผู้วจิ ยั อำจได้ปัญหำกำรวจิ ยั จำกปัญหำท่ปี ระสบ
อยู่ในกำรปฏบิ ัติงำนหรือจำกกำรสังเกตเหตุกำรณ์ควำมเคลอื่ นไหว ควำมเปลีย่ นแปลงต่ำง ๆ ในสงั คม
ทำให้เกดิ ควำมสงสัยและตอ้ งกำรคน้ หำควำมรู้ เพื่ออธิบำยปรำกฏกำรณต์ ่ำง ๆ หรอื ต้องกำรค้นหำ
แนวทำงวธิ กี ำรแก้ไขเหลำ่ นน้ั

2. แนวควำมคิด แบบจำลองและทฤษฎี ผู้วิจยั อำจไดป้ ญั หำจำกทฤษฎตี ำ่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับ
เร่ืองที่สนใจ อำจสงสยั วำ่ ในสถำนกำรณ์ และเวลำทแี่ ตกต่ำงไปเหตุกำรณ์ตำ่ ง ๆ จะเป็นไปตำมท่ี
ทฤษฎกี ลำ่ วไว้หรือไม่ ทง้ั นี้เนอื่ งจำกในสังคมศำสตรเ์ หตกุ ำรณต์ ่ำง ๆ มกี ำรเปลย่ี นแปลงไปได้ตำม
สถำนกำรณ์ และเวลำทเี่ ปล่ียนไปจึงจำเปน็ ต้องมีกำรพิสูจน์ยนื ยันอย่เู สมอ

3. ชวี ิตประจำวัน จำกกำรเขำ้ ร่วมสมั มนำ/ประชุมทำงวชิ ำกำร ในเร่ืองต่ำง ๆ อำจช่วยให้พบ
ปัญหำที่ควรทำกำรวจิ ัยได้ และปญั หำเชิงปฏบิ ตั ิ

4. งำนวิจยั ในอดีต รำยงำนกำรวจิ ัยของคนอน่ื ๆ ทีพ่ มิ พ์ออกมำแลว้ ไมว่ ่ำจะอยใู่ นวำรสำร
กำรวจิ ัยต่ำงๆ ทั้งภำษำไทยและภำษำตำ่ งประเทศ วทิ ยำนิพนธ์ซ่ึงเปน็ ผลงำนวิจยั ทเ่ี ป็นสว่ นหน่งึ ของ
กำรศกึ ษำของนสิ ติ นักศกึ ษำระดับบัณฑิตศึกษำของมหำวิทยำลัย หรอื สถำบนั อดุ มศึกษำ หรอื ใน รูป
รำยงำนกำรวิจยั ที่พิมพ์ออกมำเปน็ เลม่ ข่ำวสำรกำรวิจยั ของหนว่ ยงำนท่ีทำวิจัย เช่น รำยงำนกำรวิจัย
ของสำนักงำนกองทุนสนบั สนุนงำนวิจยั สำนกั งำนคณะกรรมกำรวิจยั แหง่ ชำติ แมก้ ระทั่งบทคดั ย่อท่ีมี
กำรรวบรวมไว้

5. แหลง่ ทุน กำรเสนอหวั ข้อที่ควรทำกำรวิจยั ของหนว่ ยงำนทใี่ หท้ ุนสง่ เสรมิ สนบั สนนุ กำรวจิ ยั
อำจช่วยใหเ้ ลอื กเร่ืองทจ่ี ะทำวิจยั ได้

6. จำกกำรศึกษำค้นคว้ำทำง Internet โดยกำรพิมพช์ อื่ Website ทม่ี ีกำรรวบรวมงำนวิจยั
ไว้ และจำกกำรให้คอมพิวเตอรพ์ มิ พ์รำยช่อื เร่อื งตำ่ ง ๆ ท่ีมีผู้วิจัยไว้แลว้ ตำมหมวดต่ำง ๆ ในสำขำทีต่ น
สนใจ เพอ่ื ที่จะไดแ้ นวควำมคิดในกำรวิจยั เม่อื ศึกษำในเร่ืองเหล่ำนั้นอำจพบปัญหำท่ีจะทำวิจยั

ท่มี ำของปัญหำกำรวจิ ัยจำกแนวควำมคิด แบบจำลองและทฤษฎี (แสวง รัตนมงคลมำศ,
2514, หน้ำ 80-95) ผวู้ จิ ยั ส่วนใหญม่ กั ต้องเผชิญกบั กำรหำปัญหำในเร่ืองหวั ข้อปญั หำท่ีตนจะทำวจิ ัย
โดยเริม่ ต้งั แตห่ ำหัวข้อปญั หำไม่ได้ หรอื มหี วั ข้อปัญหำหลำยหวั ข้อทำใหเ้ ลือกไม่ถูกว่ำจะเลือก
หัวปัญหำไหนดี ปญั หำเกี่ยวกับแนวคดิ ทำงทฤษฎีในกำรวจิ ัยและเป็นปัญหำทผี่ ทู้ ำวจิ ัยจะตอ้ งกำหนด
ใหไ้ ด้ตงั้ แตแ่ รก มิฉะน้ันผู้ทำวิจัยจะเลื่อนลอยหรือคลุมเครือในแนวคิดเกย่ี วกับกำรทำวจิ ยั ของตนอยู่
ซง่ึ มวี ิธกี ำรดงั นี้

11

1. กำรใช้แนวควำมคิดทำงทฤษฎีในกำรวิจัย ควำมหมำยของคำวำ่ “ทฤษฎี” หมำยถึง กำรมี

แนวควำมคิดอย่ำงเปน็ ระบบในกำรทีจ่ ะอธบิ ำยปรำกฏกำรณ์ตำ่ งๆได้ และกำรท่ีทฤษฎตี ้องพ่ึงกำรวิจัย

หมำยถงึ กำรวิจยั เปน็ กำรชว่ ยสรำ้ งใหท้ ฤษฎีหือแนวควำมคิดท่ใี ห้ไว้เปน็ ทฤษฎีนน้ั ไมป่ ลอกไปจำก

ขอ้ เทจ็ จริง ดังน้ัน ควำมสมั พันธข์ องทฤษฎกี ับกำรวจิ ยั ในแง่ของกระบวนกำรวิจยั จะเหน็ ไดว้ ำ่ ทฤษฎมี ี

ควำมสำคัญและจำเปน็ ต่อกำรทำวิจยั ทุกขนั้ ตอน ถ้ำปรำศจำกเสียซง่ึ แนวควำมคิดทำงทฤษฎี

ปรำกฏกำรณ์ทมี่ ีอยกู่ ็ไมม่ ีทำงกำเนิดเปน็ ปัญหำขน้ึ มำได้

2. เทคนคิ วธิ กี ำรใช้แนวควำมคดิ ทำงทฤษฎใี นกำรเลือกกำหนดปัญหำในกำรวจิ ยั ปัญหำในทำง

วิจยั ถือวำ่ ปัญหำน้ันจะต้องเป็นสิง่ ทีต่ อ้ งกำรคน้ หำคำตอบในขอ้ เท็จจริง กำรคน้ หำคำตอบในระดบั ของ

กำรใหเ้ หตุผลธรรมดำ (logic reasoning) ไมถ่ ือว่ำเปน็ ปัญหำกำรวจิ ยั ปัญหำคือ ชอ่ งวำ่ ง (gap)

ระหว่ำงกำรคำดกำรณ์ (speculation) ถงึ ข้อเท็จจริงกับข้อเทจ็ จริงที่เป็นอยจู่ รงิ (empirical

occurred) กำรคำดกำรณจ์ ะเกิดข้ึนไดก้ ต็ ่อเมื่อมีควำมรูอ้ ยำกรู้อยำกเห็น (curiosity) เป็น

องค์ประกอบทส่ี ำคญั ทส่ี ุดของกำรกำเนิดปัญหำ

เกณฑ์ของกำรตัง้ หรือกำหนดปัญหำ (problem identification) คอื ปรำกฏกำรณ์

(phenomena) ควำมอยำกรอู้ ยำกเหน็ (curiosity) และแนวควำมคิดทำงทฤษฎี (scientific

concept) หรือศำสตรใ์ นเร่ืองน้ันๆ

เกณฑใ์ นการเลือกปัญหาการวจิ ยั
1. เกณฑภ์ ำยนอก เชน่ ควำมแปลกใหม่ ควำมสำคัญต่อสำขำวชิ ำ ควำมอำนวยให้ข้อมูล
2. เกณฑ์สว่ นบุคคล เช่น ควำมสนใจ คณุ สมบัติของผูว้ จิ ัย กำรลงทุน เวลำ
3. เป็นเร่ืองท่ีผ้วู ิจยั มีควำมสนใจใคร่รู้อยำ่ งแทจ้ รงิ หรือศรัทธำอยำ่ งแรงกลำ้ ในกำร
แสวงหำคำตอบกำรวิจยั เปน็ กิจกรรมทีต่ ้องอำศยั ควำมเพยี ร ควำมอดทน ควำมต้ังใจทำอยำ่ ง
ระมัดระวงั จงึ จำเป็นอย่ำงยง่ิ ท่ีจะต้องเลือกปญั หำที่ตนสนใจ
4. เป็นเรอ่ื งที่สอดคล้องกับควำมรู้ควำมสำมำรถของผ้วู ิจยั ในกำรเลอื กปญั หำกำรวจิ ยั ผู้วิจัย
จะตอ้ งพิจำรณำถึงขีดจำกัดของควำมสำมำรถพ้ืนฐำนและประสบกำรณ์ของตนอย่ำงเท่ียงธรรม แล้ว
เลือกวิจยั ในปัญหำท่ตี นมีควำมรู้ในข้อเทจ็ จรงิ นัน้ จริง ๆ ในทฤษฎีของเร่ืองนนั้ ๆ และมวี ำมสำมำรถ
ควำมชำนำญในเรื่องนั้น
5. เปน็ เรื่องทมี่ ีทุนวจิ ยั เพยี งพอ คำ่ ใช้จำ่ ยในกำรวจิ ัยเป็นองค์ประกอบหน่ึงท่ีจะต้องพิจำรณำ
ใหร้ อบคอบ
6. เปน็ ปญั หำที่มีควำมสำคญั กลำ่ วคือ ผลของกำรวจิ ัยมีคุณคำ่ หรือเป็นประโยชนต์ ่อสังคม
ตอ่ หนว่ ยงำนแก้ไขปัญหำตำ่ ง ๆ หรือเสรมิ สร้ำงควำมเจรญิ ก้ำวหนำ้ ทำงวชิ ำกำร
7. เป็นปญั หำทม่ี ลี ักษณะรเิ ริ่ม ไมเ่ ลียนแบบคนอ่ืนไมว่ ำ่ จะเป็นด้ำนจุดประสงค์ในกำรวจิ ัย
หรอื วิธีกำรวิจัย
8. มแี หลง่ สำหรบั คน้ คว้ำเร่ืองท่เี ก่ยี วข้องกบั กำรวิจัยอยำ่ งเพียงพอ อำจจะเป็นห้องสมดุ หรือ
บริกำรสบื ค้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์

12

9. สำมำรถขอควำมร่วมมอื จำกผ้ทู ี่เกย่ี วข้องในกำรวิจยั เช่น จำกผู้สรำ้ งเครื่องมือรวบรวมข้อมูล
(กรณีไม่ได้สร้ำงเอง) ควำมรว่ มมือจำกกลุ่มตัวอยำ่ ง ควำมร่วมมือจำกหน่วยงำนวิเครำะห์ ข้อมูล

10. เลือกหัวข้อปัญหำตำมผูอ้ ื่น หรือผู้อ่นื มอบปญั หำกำรวจิ ยั ให้ โดยทผ่ี ู้วิจยั ไมม่ ีควำมรู้ ควำม
สนใจพอ เม่ือทำวจิ ยั มักเกิดปัญหำอุปสรรค ตำ่ ง ๆ

11. เลือกปัญหำทีก่ ว้ำงเกินไป เกินกำลังควำมสำมำรถของตนเอง
12. เลอื กปัญหำอยำ่ งรีบรอ้ น และลงมือวิจัยโดยไม่ไดว้ ำงแผนใหร้ อบคอบล่วงหน้ำ
13. ขำดกำรศกึ ษำเอกสำรท่ีเกยี่ วข้องกับกำรวจิ ัย หรือศึกษำไมเ่ พียงพอ ทำให้มีควำมคิดคบั
แคบทำกำรวจิ ยั ไม่รดั กมุ

หลักการเขียนประเดน็ ของปัญหา
1. เปน็ ประเด็นทน่ี ำ่ สนใจ
2. เปน็ ประเด็นที่เป็นปัญหำจรงิ ๆ อย่ใู นปัจจบุ นั
3. เขยี นให้ตรงประเด็น ขอ้ มลู เชงิ เหตุผลควรจะนำไปสูจ่ ุดท่เี ปน็ ปัญหำท่จี ะทำกำรวิจยั และ
ช้ีใหเ้ หน็ ควำมสำคัญของส่งิ ท่ีจะทำวจิ ยั
4. มีขอ้ มลู อ้ำงอิงทำใหน้ ำ่ เช่ือถือ เพื่อใหผ้ ้อู ่ำนไดเ้ ข้ำใจว่ำเปน็ ปญั หำท่มี ีพ้นื ฐำนมำจำกข้อมูล
เชิงประจักษ์ มิใช่เกิดจำกควำมรู้สกึ หรอื จินตนำกำรของผเู้ ขียน
5. ไมย่ ืดยำวจนนำ่ เบื่อ
6. ใชภ้ ำษำง่ำย ๆ จัดลำดบั ประเดน็ ทีเ่ สนอใหเ้ ป็นข้ันตอนต่อเนอ่ื งกนั
7. เปน็ ประเด็นที่น่ำจะเปน็ ประโยชนเ์ ม่ือทำกำรวจิ ัยเสรจ็ สนิ้ แล้ว ผลกำรวิจยั สำมำรถนำไปใช้
ประโยชน์ไดจ้ ริง ๆ
8. อยใู่ นวสิ ัยทผี่ วู้ ิจยั คดิ วำ่ น่ำจะทำได้ทัง้ ในแง่ของเวลำ ค่ำใช้จำ่ ยตำมควำมสำมำรถของผ้วู จิ ัย

13

การเลือกหวั ขอ้ การวิจัย
กำรกำหนดหวั ข้อสำหรับกำรวิจยั หรอื กำรตงั้ ชื่อเรื่องกำรวจิ ยั (สุชำติ ประสิทธิร์ ัฐสินธุ์,
2544, หน้ำ 106) หมำยถงึ กระบวนกำรต่ำงๆท่ีใชใ้ นกำรระบุใหช้ ดั เจนว่ำผ้ทู ี่วจิ ัย หรือผู้วิจยั มีควำม
ประสงค์จะศึกษำเร่ืองอะไร กำรกำหนดหัวขอ้ นีน้ ่ำจะทำไดโ้ ดยงำ่ ย
หลกั เกณฑก์ ำรเลือกหวั ขอ้ กำรวจิ ยั
1. ควำมสำคัญของปัญหำ ข้ึนอยู่กับจำนวนบคุ คลท่ีเกยี่ วข้องหรือถูกระทบกระเทือนจำกปัญหำ
หรอื เร่ืองที่จะทำวจิ ัย ควำมถ่ีและควำมกวำ้ งของกำรเกิดข้ึนของเหตุกำรณ์
2. ควำมเป็นไปได้ พจิ ำรณำในประเด็นผู้ท่ีจะทำกำรวิจยั ไมส่ ำมำรถหำระเบยี บวิธวี ิจัยเพื่อให้ได้
คำตอบทถ่ี ูกต้องได้ งำนวิจยั ท่ีตอ้ งกำรเก็บข้อมูลมำกเมื่อเก็บข้อมูลได้ก็ลำ้ สมัยไปแล้ว หวั ข้อเรอื่ งบำง
เรอื่ งไมอ่ ำจศกึ ษำได้และเส่ียง และกำรใช้ทุนในกำรศกึ ษำมำกทำให้ไมค่ ุ้มคำ่

การกาหนดประเด็นการวิจัย
กำรกำหนดประเดน็ คือ กำรแยกแยะจำกแจงรำยละเอยี ดของหัวเร่ืองท่จี ะศึกษำออกเป็น
หัวขอ้ ย่อยๆ
วธิ ีกำรกำหนดประเดน็ คือ กำรที่ผจู้ ะทำกำรวจิ ัยระบใุ หช้ ดั เจนว่ำในหวั ขอ้ ทจ่ี ะวิจัย ตนเอง
ตอ้ งกำรศึกษำเรอ่ื งใดบ้ำง

หลักเกณฑ์กำรกำหนดประเดน็ กำรวิจยั
1. ควำมชดั เจนของประเด็น ผูว้ ิจยั สำมรถระบุประเด็นต่ำงๆ ที่ต้องกำรศกึ ษำไดอ้ ย่ำงชดั เจน
2. ควำมไมซ่ ำ้ ซ้อนของประเดน็ ท่จี ะวจิ ยั ผวู้ ิจยั ต้องวเิ ครำะห์หรือพจิ ำรณำทบทวนในแงค่ วำม
ซ้ำซอ้ นของเร่ืองทจ่ี ะศึกษำ เช่น ตัวแปร ผลสรปุ กำรวจิ ยั
3. ควำมสัมพนั ธ์ระหว่ำงประเด็น ต้องจัดลำดับควำมสำคญั ของประเดน็ ที่จะศึกษำ โดยมเี พียง
2-3 ประเดน็ กน็ ับวำ่ เพียงพอ

14

การต้งั หวั เร่ืองการวจิ ัย

กำรตั้งชื่อเร่อื งวิจัย มีข้อควรคำนงึ ดังน้ี
1. หัวเร่อื งกำรวิจยั ควรต้ังใหส้ ั้นและกะทดั รัดทส่ี ดุ แตใ่ หค้ วำมหมำยมำกที่สุด
2. ควรระบุในหัวเร่อื งกำรวิจัยดว้ ยวำ่ ทำอะไร ทไ่ี หน และเวลำใด
3. กำรตง้ั หวั เรื่องกำรวจิ ยั ควรใช้ภำษำและสำนวนที่คนท่วั ไปสำมำรถเข้ำใจได้โดยง่ำย
4. พยำยำมอย่ำใหห้ ัวเรื่องกำรวจิ ัยท่ตี ั้งบดิ พล้วิ หรือเพยี้ นไปจำกเน้ือหำสำระของกำรวจิ ัย
5. กำรต้งั หวั เร่ืองควรใหเ้ กิดข้อโตแ้ ย้งน้อยทสี่ ดุ ในแง่ของกำรดำเนนิ กำรวจิ ัย
6. ผูว้ จิ ยั อำจระบวุ ิธกี ำรหรือแนวควำมคดิ ในกำรศึกษำในหวั เร่ืองกำรวจิ ยั ถ้ำสำมำรถทำได้

กำรตงั้ ช่ือเร่ืองกำรวิจยั ท่ผี ่ำนมำนยิ มระบปุ ระเภทกำรวิจัย ตัวแปรอสิ ระ ตัวแปรตำม ประชำกร
หรอื กล่มุ ตัวอย่ำง สถำนทว่ี จิ ัย และปีที่ทำกำรวจิ ัยไว้ในชื่อเรื่อง ในปจั จุบันกำรต้ังช่ือเร่ืองกำรวิจยั
นยิ มระบตุ วั แปรตำมโดยละตัวแปรอิสระไว้ในฐำนทเ่ี ข้ำใจ แลว้ ระบุประชำกรหรือกล่มุ ตัวอยำ่ ง และ
สถำนท่วี จิ ยั ส่วนปีทีท่ ำวิจยั อำจระบุหรอื ไมร่ ะบุก็ได้

สรุปช่ือผลงาน

1. ชอ่ื ผลงำนต้องมีควำมชดั เจนวำ่ จะดำเนนิ กำรอะไร
2. ชื่อผลงำนต้องมีขอบเขตชัดเจนวำ่ จะดำเนนิ กำรที่ไหนหรือในระดับใดหรอื ระยะเวลำใด

15

ตัวอยา่ งผลงานทเ่ี สนอในสายงานนักวิเคราะห์นโยบายและแผน

1. กำรจดั ทำฐำนข้อมูลสนบั สนนุ กำรตรวจรำชกำรกระทรวงยุติธรรม
2. กำรตรวจรำชกำรแบบบูรณำกำรประเภททำ้ ทำย 3 ทเ่ี ป็นกำรบรู ณำกำรโครงกำรสำคญั เฉพำะพืน้ ที่

(Specific Area) เพอื่ แก้ไขปัญหำเฉพำะร่วมกนั ระหวำ่ งหนว่ ยงำนทเ่ี กยี่ วข้อง (ดำ้ นกำรแก้ไขปญั หำยำเสพติด)
3. กำประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ ำรรวมพลงั สรำ้ งสรรค์ผลักดนั ยทุ ธศำสตร์กระทรวงยุตธิ รรมด้วยระบบกำรตรวจรำชกำร

และผู้ชว่ ยผู้ตรวจรำชกำรท่มี ีสมรรถนะสูง
4. กำรจดั ทำแผนกำรตรวจรำชกำรกระทรวงยตุ ิธรรม ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2556
5. กำรตรวจรำชกำรแบบบรู ณำกำรของผ้ตู รวจรำชกำร ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2556 รอบที่ 1
6. โครงกำรฝกึ อบรมหลกั สตู รยทุ ธศำสตร์กับกำรตรวจรำชกำรกระทรวงยุตธิ รรม
7. กำรจัดทำรำยงำนกำรตรวจรำชกำรแบบบรู ณำกำรเพอื่ มงุ่ ผลสมั ฤทธิต์ ำมนโยบำยรฐั บำล ประจำปงี บประมำณ

พ.ศ. 2555 รอบท่ี 2 (Annual Inspection Report: AIR)
8. กำรวำงระบบกำรจดั ซอื้ อำหำร เครอ่ื งบริโภค และวสั ดเุ พื่อกำรหุงหำอำหำรใหน้ ักโทษ ผ้ตู ้องขงั ผ้ถู ูกควบคมุ และผเู้ ข้ำรบั

กำรฝกึ และอบรม
9. โครงกำรสัมมนำเพ่ือกำรสอ่ื สำรองคก์ รสูภ่ มู ิภำค
10. กำรจดั ทำคำของบประมำณรำยจ่ำยประจำปงี บประมำณ พ.ศ. ๒๕๕๕ ของสำนักงำนปลดั กระทรวงยตุ ธิ รรม
11. กำรเรง่ รดั ตดิ ตำมกำรใช้จ่ำยเงนิ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.๒๕๕๕ สำนกั งำนปลดั กระทรวงยตุ ธิ รรม
12. กำรประเมนิ ผลแผนยุทธศำสตร์สำนักงำนปลัดกระทรวงยตุ ธิ รรมและกระทรวงยตุ ิธรรม ประจำปงี บประมำณ

พ.ศ. 2555
13. กำรกำกบั ติดตำมประเมินผลกำรดำเนินงำนตำมนโยบำยและยทุ ธศำสตร์ของกระทรวงยุติธรรม ประจำปี

งบประมำณ พ.ศ. 2554

ตวั อยา่ งผลงานทีเ่ สนอในสายงานนักวิเคราะหน์ โยบายและแผนทเ่ี หมาะสม

1. กำรวำงระบบกำรจดั ซอื้ อำหำร เครอ่ื งบรโิ ภค และวสั ดเุ พ่ือกำรหุงหำอำหำรให้นักโทษ ผตู้ ้องขัง ผู้ถูกควบคมุ และผเู้ ขำ้ รับ
กำรฝึกและอบรม

2. โครงกำรสัมมนำเพ่ือกำรส่ือสำรองค์กรสู่ภมู ภิ ำค
3. กำรจัดทำคำของบประมำณรำยจำ่ ยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. ๒๕๕๕ ของสำนกั งำนปลัดกระทรวงยตุ ิธรรม
4. กำรเรง่ รดั ติดตำมกำรใช้จ่ำยเงนิ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ.๒๕๕๕ สำนักงำนปลดั กระทรวงยุตธิ รรม
5. กำรประเมินผลแผนยทุ ธศำสตร์สำนกั งำนปลดั กระทรวงยตุ ธิ รรมและกระทรวงยตุ ิธรรม ประจำปีงบประมำณ

พ.ศ. 2555
6. กำรกำกับตดิ ตำมประเมนิ ผลกำรดำเนินงำนตำมนโยบำยและยุทธศำสตร์ของกระทรวงยตุ ธิ รรม ประจำปี

งบประมำณ พ.ศ. 2554

16

6. ระยะเวลาการดาเนินการ

1. ระยะเวลำกำรดำเนินกำรนับเวลำตง้ั แตเ่ ร่ิมดำเนินกำรผลงำนนั้น จนกระทั่งงำนนั้นสำเรจ็
2. ตำมรูปแบบกำรเขยี นผลงำนที่เป็นผลกำรดำเนินงำนทผี่ ำ่ นมำไม่มหี ัวขอ้ “ขอบเขต”
จึงนำหวั ข้อขอบเขตมำไว้ภำยใตห้ วั ข้อระยะเวลำกำรดำเนินกำร หำกไมม่ ีกำรกำหนดขอบเขตของงำน
จะทำให้ขำดกรอบในกำรวิเครำะห์ทชี่ ดั เจน

ขอบเขตการวจิ ัย
กำรเขียนขอบเขตกำรวิจัยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื แสดงใหเ้ ห็นถงึ กรอบแนวควำมคิดของผูว้ ิจยั

ว่ำมีแนวทำงในกำรคน้ ควำ้ อย่ำงไร อะไรบำ้ งที่มสี ่วนเกยี่ วข้องกบั งำนวจิ ยั ครั้งนี้ ดังเชน่ เนือ้ หำ
ประกอบดว้ ยประเด็นใดบ้ำง มคี วำมกว้ำงหรือแคบเพยี งใด ตอ้ งกำรศกึ ษำในพ้นื ท่ีใด ประชำกรกลมุ่ ใด
และตอ้ งกำรลกึ ซงึ้ เพียงใด กำรเขียนขอบเขตวจิ ัยจะครอบคลมุ ในเรือ่ งตอ่ ไปน้ี

1. ขอบเขตเนื้อหำ เปน็ กำรขยำยวัตถุประสงค์กำรวจิ ยั ออกไปใหช้ ดั เจนยิ่งขน้ึ
2. ขอบเขตพนื้ ทีว่ จิ ัย เปน็ กำรกำหนดวำ่ ในกำรวิจัยนัน้ ต้องกำรศกึ ษำในสถำนท่ใี ด มพี ืน้ ท่ี
กว้ำงขวำงเพยี งใด
3. ขอบเขตประชำกร เป็นกำรระบวุ ่ำประชำกรเป้ำหมำยทต่ี ้องกำรศึกษำ ประกอบดว้ ย
กลมุ่ ใดบ้ำง อันเป็นกำรระบกุ ล่มุ ท่ีมีลักษณะเฉพำะเจำะจงยง่ิ ขึ้น
4. ขอบเขตเวลำ เป็นกำรระบรุ ะยะเวลำท่ีทำกำรศึกษำวจิ ยั ขอบเขตเวลำตรงนเ้ี ป็นชว่ ง
ระยะเวลำท่ใี ชใ้ นกำรเก็บรวบรวมข้อมลู เท่ำนน้ั

สรปุ ระยะเวลาการดาเนนิ การ

1. ระยะเวลำกำรดำเนินกำร เป็นระยะเวลำเร่มิ ต้นและสิน้ สดุ ของกำรปฏบิ ัติงำนน้นั ๆ มใิ ช่
ระยะเวลำกำรเขยี นผลงำนเพื่อขอรับกำรประเมิน

2. เพ่อื ควำมชดั เจนของเอกสำร ในส่วนน้นี ่ำจะเป็นขอบเขตในกำรดำเนนิ กำรของงำน
ประกอบด้วย ขอบเขตเน้ือหำ ขอบเขตพน้ื ท่หี รือหนว่ ยงำน และขอบเขตเวลำ

3. หำกไม่กำหนดขอบเขตท้งั 3 ประกำรตำมข้อ 2 จะทำใหผ้ ู้เสนอผลงำนขำดกรอบกำร
ดำเนินงำนที่ชดั เจน อันสง่ ผลถงึ กำรไร้ทศิ ทำงในกำรเขยี นเอกสำรหรอื ประเดน็ ทเ่ี จำะจง

17

ตวั อย่างระยะเวลาการดาเนินการ

การวางระบบการจัดซ้อื อาหาร เคร่อื งบริโภค และวัสดุเพื่อการหงุ หาอาหารให้นกั โทษ ผู้ต้องขงั ผถู้ กู ควบคุม
และผูเ้ ข้ารบั การฝกึ และอบรม

1. ขอบเขตเน้อื หา สำนักงำนปลัดกระทรวงยุติธรรมกำหนดวำงระบบกำรจัดซื้ออำหำร เคร่ืองบริโภค และ
วสั ดุเพอื่ กำรหุงหำอำหำรให้นกั โทษ ผตู้ อ้ งขงั ผถู้ ูกควบคุม และผ้เู ขำ้ รับกำรฝกึ และอบรม ในส่วนของขำ้ วสำร รอ้ ยละ
5 ขำ้ วสำรเหนยี ว ร้อยละ 10 นมกล่อง และผลไม้ ของ
กรมรำชทัณฑ์ และกรมพินิจและคมุ้ ครองเด็กและเยำวชน

2. ขอบเขตพ้ืนท่ี/หน่วยงาน ดำเนินกำรวำงระบบกำรจัดซื้ออำหำร เครื่องบริโภค และวัสดุเพ่ือกำรหุงหำ
อำหำรใหน้ กั โทษ ผ้ตู อ้ งขงั ผู้ถกู ควบคมุ และผูเ้ ข้ำรับกำรฝึกและอบรม ในส่วนของกำรจัดซ้ืออำหำร เครื่องบริโภคฯ
ให้นักโทษ ผ้ตู ้องขัง ผ้ถู กู ควบคุม และผู้เขำ้ รบั กำรฝกึ และอบรมท่อี ยใู่ นกำรดูแลของกรมรำชทัณฑ์ และกรมพินิจและ
คุ้มครองเดก็ และเยำวชน ทว่ั ประเทศ

3. ขอบเขตเวลา ตัง้ แตเ่ ดือนตลุ ำคม 2552 ถงึ เดือนกนั ยำยน 2553

18

7. ความรทู้ างวิชาการหรือแนวความคิดทีใ่ ชใ้ นการดาเนนิ การ

กำรทบทวนวรรณกรรม หรอื กำรศกึ ษำแนวคิด ทฤษฎแี ละงำนวิจยั ที่เกยี่ วข้อง คือ กำรอ่ำน
แนวคดิ ทฤษฎแี ละงำนวิจยั ทีเ่ ก่ียวข้องกับเรื่องที่ศกึ ษำให้มีควำมรอบรู้อยำ่ งลึกซ้งึ เพื่อนำข้อมลู ท่ีได้
จำกกำรทบทวนวรรณกรรมมำใชใ้ นงำนวจิ ยั ท่ศี ึกษำได้อย่ำงมคี ุณภำพ โดยกำรทบทวนวรรณกรรม
จะชว่ ยนำไปส่กู ำรตงั้ ปัญหำหรือประเด็นสำหรับกำรวิจยั ตลอดจนกำรกำหนดสมมติฐำนกำรวจิ ัยให้
ถูกต้อง

ควำมเป็นนำมธรรมของแนวคดิ หรือมโนทัศนอ์ ำจจำแนกตำมระดับนำมธรรมจำกมำกไปหำ
นอ้ ยได้ดังนี้ ภำวะสนั นษิ ฐำน (constructs) ตัวแปร (variables) และดชั นี (indicators)

ทฤษฎี คือ แนวคดิ (concepts) ท่ีมกี ำรเช่อื มโยงกันอย่ำงมีเหตุผล กำรเชอื่ มโยงแนวคดิ
จะตอ้ งออกมำในรูปของขอ้ ควำมเชิงเป็นจริง (axioms) และมีกำรใหน้ ิยำมทสี่ ำมำรถวัดได้ หรอื
ขอ้ สรปุ ท่ีไดจ้ ำกสว่ นหนงึ่ จะต้องไมข่ ดั แย้งกบั ขอ้ สรุปที่ไดจ้ ำกสว่ นอนื่

องคป์ ระกอบของทฤษฎี ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบท่สี ำคัญ คือ คำศัพท์ (terms)
ตรรกวิทยำ (logic) หรือกฎเกณฑ์ของกำรเชอ่ื มโยงศัพท์ กำรนิยำม (definition) และกำรทดสอบได้
เชิงประจักษ์ (empirical testability)

ระดับของทฤษฎี แบง่ เป็น ทฤษฎรี ะดับสงู ทฤษฎีระดบั กลำง และทฤษฎีระดับตำ่
ข้อเสนอ (proposition) คือ ข้อควำมที่แสดงถึงควำมสัมพนั ธเ์ กีย่ วกบั ธรรมชำติ หรือ
ลักษณะของปรำกฏกำรณ์ หรือข้อควำมจรงิ ระหวำ่ งตวั แปรอย่ำงน้อยสองตัว
ผลงำนทเ่ี กย่ี วข้อง หมำยถงึ งำนวิจัยท่ผี ู้อน่ื ได้ทำมำแล้วในอดีตท่ีมีประเดน็ ตรงกบั ประเด็นท่ี
ตอ้ งกำรศกึ ษำ หรือมีเนือ้ หำสำระพำดพิงประเด็น หรือมตี วั แปรบำงตัวทต่ี ้องกำรศึกษำรวมอยู่

หลักในกำรเลือกกรอบแนวคดิ กำรวิจยั ได้แก่ ควำมตรงประเด็น ควำมง่ำยและ
ไม่สลับซบั ซ้อน ควำมสอดคล้องกับควำมสนใจ และ ควำมมีประโยชน์เชิงนโยบำย

กำรเสนอกรอบแนวควำมคิด แบ่งเป็น 3 วิธี คือ คำพรรณนำ แบบจำลอง และแผนภำพ
องคป์ ระกอบสำคัญของแบบจำลองกำรวจิ ัย ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบสำคัญ คอื
ปรำกฏกำรณ์ ทฤษฎี และเครอื่ งมือหรือวิธกี ำรวัด

19

สรปุ ความรู้ทางวชิ าการหรือแนวความคิดท่ใี ชใ้ นการดาเนนิ การ
1. ควำมรู้ทำงวิชำกำรทีใ่ ชใ้ หส้ รุปสำระหรือประเด็นสำคัญที่นำมำใชเ้ ท่ำน้ัน
2. ท่ีมำของควำมรู้ทำงวชิ ำกำรหรอื แนวควำมคดิ ท่ีใช้ในกำรดำเนนิ กำรไดม้ ำจำกชื่อเรอ่ื งน้ันๆ
3. รปู แบบกำรเขียนผลงำนขำดหัวข้อควำมเป็นมำของปญั หำ วัตถุประสงค์ และขอบเขตผลงำน
หำกไม่มี 3 ส่วนดังกลำ่ ว จะทำให้กำรเขยี นผลงำนขำดทิศทำง จงึ มคี วำมจำเป็นอยำ่ งย่ิงท่ีจะต้องเพม่ิ

7.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของผลงาน

ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา
เม่อื ได้ช่ือเรื่องวิจยั หรอื ไดป้ ัญหำกำรวจิ ยั แล้ว ขั้นตอนตอ่ ไปเป็นกำรเขียนควำมเป็นมำและ

ควำมสำคัญของปัญหำ อนั เปน็ บทนำหรอื ภมู หิ ลงั ของกำรวิจัยเร่ืองน้นั ๆ เป็นสิง่ ทผ่ี ูว้ ิจัยต้องกำรสอื่ ให้
ผู้อ่ำนเขำ้ ใจควำมเป็นมำของกำรวิจัยครั้งน้ี กำรเขยี นควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำต้อง
แสดงขอ้ มูลหรอื หลกั ฐำนอำ้ งถึงประเด็นทตี่ อ้ งกำรส่ือน้นั ๆ ให้ชัดเจน

หลกั เกณฑก์ ำรเขยี นควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำกำรวจิ ยั ดังน้ี
1. เขยี นใหต้ รงประเดน็ เน้นปัญหำถูกจดุ ไมย่ ืดเยื้อ
2. ครอบคลมุ ประเด็นสำคัญทจ่ี ะศึกษำ
3. ไมส่ นั้ ไม่ยำวเกนิ ไป (ไมค่ วรตำ่ กว่ำ 1 หน้ำกระดำษ)
4. ใชภ้ ำษำทส่ี ่อื สำรใหผ้ ูอ้ ำ่ นเข้ำใจ
5. นำเสนอประเด็นให้ควำมต่อเน่ืองกนั ประเดน็ ท้ำยแตล่ ะย่อหนำ้ ตอ้ งเช่อื มโยงกับประเด็น
ใหมท่ ่ีจะเร่ิมย่อหนำ้ ใหม่
6. กำรอำ้ งองิ ข้อมูลหรือแหลง่ ทมี่ ำของข้อมลู ต้องมีควำมถูกต้อง

กำรเขยี นควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปญั หำกำรวิจยั มแี นวกำรเขยี น ดังน้ี
1. เขียนจำกหลักทั่วไปแลว้ จึงนำสปู่ ระเดน็ เฉพำะ (deductive style) เป็นกำรเขียนถงึ
หลกั เกณฑ์ท่ัวไป หรือทฤษฎีก่อนแลว้ จึงเข้ำส่เู ร่ืองท่จี ะศกึ ษำวิจัย
2. เขียนจำกเร่ืองเฉพำะหรือประเด็นท่ีจะศึกษำแลว้ นำไปสูเ่ รอื่ งทัว่ ไป (inductive style)
แลว้ สรุปเข้ำประเด็นปัญหำวิจัยน้ันๆ
ปญั หำท่พี บของกำรเขยี นควำมเป็นมำและควำมสำคญั ของกำรวจิ ยั ผูว้ ิจัยมักเข้ำใจผดิ วำ่ เปน็
กำรเขยี นควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำกำรวิจัยท่ีเป็นสถำนท่ีที่วิจยั แทนท่จี ะเป็นควำม
เปน็ มำของเรอ่ื งทว่ี จิ ัย เชน่ ชอื่ เรอื่ งวจิ ัย “พฤติกรรมกำรบรโิ ภคนำ้ นมถั่วเหลอื งของประชำชน ตำบล
สำโรง อำเภอเมือง จงั หวดั สมุทรปรำกำร” กำรเขียนเริ่มจำกกำรพจิ ำรณำชอ่ื เร่ือง นัน่ คือ
ยอ่ หนำ้ ทีห่ นึ่ง กลำ่ วถงึ พฤติกรรมกำรบรโิ ภคนมของประชำชนในตำบลสำโรง
เปน็ อยำ่ งไร
ย่อหน้ำที่สอง พฤติกรรมกำรบรโิ ภคนมถ่ัวเหลืองของประชำชนในตำบลสำโรงมี
พฤติกรรมกำรบริโภคอย่ำงไร
ย่อหนำ้ ทีส่ ำมกล่ำวถึง ปญั หำพฤติกรรมกำรบรโิ ภคนมของประชำชนในตำบลสำโรง
เปน็ อยำ่ งไร

20

ยอ่ หน้ำสดุ ท้ำย กล่ำวถึง ผูว้ จิ ยั สนใจศึกษำเรื่องพฤติกรรมกำรบรโิ ภคน้ำนมถั่วเหลอื งของ
ประชำชน ตำบลสำโรง อำเภอเมือง จงั หวัดสมทุ รปรำกำร เน่อื งจำกอะไร และเพ่ืออะไร

ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั ของปัญหำกำรวจิ ัยจะมกี ี่ย่อหนำ้ น้ันขึ้นอยู่กบั วิจำรณญำณของ
นักวิจยั แต่ละคนทจ่ี ะแสดงข้อมูลใหค้ รอบคลมุ เรื่องทจี่ ะวจิ ัย แต่ยอ่ หนำ้ สุดท้ำยต้องแสดงวำ่ สนใจ
ศกึ ษำเรื่องอะไร เน่อื งจำกอะไรจงึ ตอ้ งมีกำรศึกษำวจิ ัยเร่ืองนน้ั และเพ่ือประโยชนอ์ ะไร นั่นคอื กำร
เขียนควำมเปน็ มำและควำมสำคัญของปญั หำกำรวจิ ัยตอ้ งพิจำรณำปัญหำวจิ ัยหรือช่อื เร่ืองวิจยั เปน็
สำคญั

ตัวอย่างความเปน็ มาและความสาคัญของผลงาน

การวางระบบการจดั ซือ้ อาหาร เครือ่ งบรโิ ภค และวสั ดุเพ่ือการหุงหาอาหารใหน้ ักโทษ ผตู้ ้องขัง ผู้ถูกควบคุม
และผเู้ ขา้ รบั การฝึกและอบรม

ความเปน็ มาและความสาคัญของผลงาน
กระทรวงยตุ ธิ รรมมหี นว่ ยงำนในควำมรับผิดชอบทั้งสน้ิ 12 หน่วยงำน ได้รบั กำรจัดสรรงบประมำณ 15,000 ลำ้ น

บำท ซึ่งเป็นสว่ นของกรมรำชทัณฑ์ประมำณ 8,000 ลำ้ นบำท ซงึ่ เกินกว่ำคร่ึงหน่ึงของงบประมำณกระทรวงยตุ ธิ รรม
ทัง้ หมด ทำให้เกดิ ปญั หำในกำรบรหิ ำรจดั กำรงบประมำณเปน็ อยำ่ งมำก ในขณะท่ีควำมตอ้ งกำรขอใช้งบประมำณใน
สว่ นของกรมอน่ื ๆ ของกระทรวงยุตธิ รรมนั้น มแี นวโนม้ ท่ีจะเพิม่ มำกขึ้นเป็นลำดบั ทกุ ปี ในส่วนของกรมรำชทณั ฑ์
งบประมำณ 8,000 ลำ้ นบำท เป็นส่วนทจี่ ะตอ้ งใชใ้ นสว่ นของกำรจดั เลยี้ งประมำณ 2,900 ลำ้ นบำท และในสว่ นของกรม
พินจิ และคุม้ ครองเด็กและเยำวชนจะใช้งบประมำณในสว่ นของกำรจัดเล้ียงประมำณ 200 ล้ำนบำท เพรำะฉะน้นั ใน 2
กรมทเี่ กย่ี วข้องในกำรจดั ซื้ออำหำร เคร่อื งบรโิ ภค และวัสดเุ พ่ือหงุ หำอำหำร จะตอ้ งใช้เงินทั้งสิ้นกว่ำ 3,000 ลำ้ นบำท
เพอ่ื ใชด้ ูแลนักโทษ ผู้ตอ้ งขัง เดก็ และเยำวชนและผูท้ ีเ่ ข้ำรบั กำรฝกึ อบรมทัว่ ประเทศที่อยู่ในกำรดูแลของกรมรำชทณั ฑ์และ
กรมพนิ ิจและคุม้ ครองเด็กและเยำวชนที่มอี ยู่ประมำณ 210,000 คน และในระหว่ำงปีต้องของบกลำงเพมิ่ จำกรัฐบำลทุกปี
ปลี ะประมำณ 300 - 500 ลำ้ นบำท เปน็ ประจำทกุ ปี เพรำะมีอตั รำคำ่ ใชจ้ ำ่ ยและจำนวนผทู้ ี่เขำ้ สคู่ วำมรับผิดชอบ
สงู ขน้ึ ทกุ ปี ในขณะทก่ี ระทรวงยตุ ิธรรมไดร้ ับเงินงบประมำณในแตล่ ะปีคอ่ นขำ้ งคงท่ี เฉลยี่ ปลี ะประมำณ 15,000 ล้ำนบำท
สัดส่วนงบประมำณเพือ่ กำรจัดเล้ียงดงั กลำ่ วจึงสูงถึง 1 ใน 5 ของเงินงบประมำณทัง้ หมดที่กระทรวงยตุ ธิ รรมไดร้ ับ ถำ้ หำก
นับเงินงบประมำณในสว่ นของกรมรำชทัณฑ์แล้ว จะสูงกว่ำรอ้ ยละ 50 ของเงนิ งบประมำณท่กี รมรำชทัณฑ์ได้รบั ใน
แต่ละปี

ดงั นน้ั จงึ ตอ้ งมีกำรวำงระบบกำรจัดซื้ออำหำร เคร่อื งบรโิ ภค และวสั ดุเพือ่ กำรหงุ หำอำหำร ใหน้ กั โทษ ผตู้ อ้ งขงั
ผู้ถูกควบคมุ และผเู้ ข้ำรับกำรฝกึ และอบรม ท้ังนห้ี ำกปรบั ระบบกำรจดั ซื้ออำหำรฯ
โดยกำรประสำนควำมร่วมมือกับหน่วยงำนของรฐั ในกำรซ้ือข้ำวสำร ผลไม้ นมกลอ่ ง และเนื้อสัตวต์ ำ่ งๆ โดยตรงแล้ว จะ
สำมำรถควบคุมและลดค่ำใชจ้ ่ำยดงั กลำ่ วให้อยู่ในวงเงินงบประมำณเท่ำเดมิ หรือใกลเ้ คยี งกบั งบประมำณทไี่ ด้รบั อย่เู ดมิ
ได้ นอกจำกน้ัน งบประมำณในส่วนนี้ยงั จะช่วยแบง่ เบำภำระของรฐั บำลในกำรรบั ซื้อหรอื รับจำนำข้ำว กำรแกป้ ญั หำ
ผลผลิตทำงกำรเกษตรตกตำ่ ล้นตลำด ระบำยปริมำณสนิ คำ้ ที่คำ้ งอยใู่ นสต็อกจำนวนมำก สำมำรถใชเ้ ป็นแนวทำงในกำร
ช่วยเหลือพีน่ ้องเกษตรกรไดเ้ ป็น อย่ำงดี และส่งิ ทีส่ ำคญั ทสี่ ุดประชำชนได้รบั ประโยชน์สูงสุด

21

7.2 วตั ถุประสงคข์ องการดาเนินการ

วตั ถุประสงค์กำรวิจยั เป็นส่วนท่ีบอกให้ทรำบวำ่ ผวู้ จิ ัยจะทำอะไรบำ้ งในกำรวจิ ยั น้ันๆ เป็น
กรอบและทิศทำงท่ชี ว่ ยให้ผวู้ จิ ยั กำหนดรำยละเอยี ดอืน่ ๆ ในกำรวจิ ัยไม่วำ่ จะเปน็ กำรกำหนดประเภท
ของกำรวจิ ยั ท่ีจะทำ กำรออกแบบกำรวิจยั กำรกำหนดกล่มุ ตัวอยำ่ ง วธิ ีกำรทจี่ ะไดม้ ำซ่งึ ข้อมูล
ตลอดจนกำรวเิ ครำะห์ข้อมลู กำรขยำยรำยละเอียดปัญหำของกำรวิจยั ว่ำตอ้ งกำรศึกษำอะไร เคร่ือง
ชีน้ ำทำงใหผ้ ู้วิจัยไมห่ ลงทำง สำมำรถกำหนดวิธีกำรได้ถูกตอ้ ง ทำใหผ้ ู้วจิ ยั มีแนวทำงกำรหำคำตอบ
และชว่ ยกำหนดทิศทำงกำรวจิ ัย กำรกำหนดสมมตฐิ ำนกำรวิจัย และเปน็ แนวทำงในกำรวเิ ครำะห์
ข้อมลู ไดด้ ขี น้ึ

หลักเกณฑ์กำรเขยี นวตั ถปุ ระสงค์กำรวิจัย
1. เขียนวัตถุประสงคก์ ำรวิจัยเป็นข้อๆ โดยขอ้ เดยี วมีประเดน็ เดยี ว
2. เขยี นประเด็นใหช้ ัดเจน กระชบั ใชภ้ ำษำที่เข้ำใจงำ่ ย
3. เขยี นเป็นประโยคบอกเลำ่ หรือเปรยี บเทียบหรือประโยคควำมสมั พันธ์ตำมสิง่ ทต่ี ้องกำร
ศกึ ษำ
4. วัตถุประสงคท์ ี่เขยี นตอ้ งมีควำมเป็นไปได้ในทำงปฏบิ ตั ิ
5. ห้ำมนำประโยชนท์ ค่ี ำดวำ่ จะไดร้ ับจำกผลกำรวิจยั มำเขียนเป็นวตั ถุประสงค์กำรวิจัย

กำรเขียนวัตถุประสงคก์ ำรวิจัยมที ่ีมำจำกช่ือเร่อื งกำรวจิ ยั เชน่ กนั ในบำงตำรำหรือบำงรำยที่
เขยี นในเร่อื งน้ีกลับกลำ่ ววำ่ ไม่ควรเขียนวตั ถปุ ระสงคก์ ำรวจิ ัยท่เี ป็นช่อื เรอ่ื ง (โปรแกรมวิชำ
บริหำรธรุ กจิ คณะวิทยำกำรจัดกำร สถำบนั รำชภัฏสวนดสุ ติ , 2545, หนำ้ 34) หำกแตม่ มุ มองของ
ผเู้ ขียนในทนี่ ก้ี ล่ำวคือชอ่ื เรื่องกำรวิจยั ท่ปี รำกฏเป็นตัวแปรตำมหนึง่ ของกำรวิจยั กำรเขยี น
วตั ถุประสงค์กำรวิจยั จงึ ตอ้ งเขียนจำกชอ่ื เรื่องวิจัย แลว้ จึงต่อด้วยวัตถปุ ระสงคก์ ำรวจิ ัยท่ีตอ้ งกำรศึกษำ
ข้ออ่ืนๆ ต่อไป เชน่

22

พฤติกรรมการบรโิ ภคนา้ นมถ่ัวเหลอื งของประชาชน ตาบลสาโรง อาเภอเมอื ง
จังหวดั สมุทรปราการ

วตั ถุประสงค์
1. เพื่อศึกษำพฤตกิ รรมกำรบรโิ ภคนำ้ นมถ่ัวเหลืองของประชำชน ตำบลสำโรง อำเภอเมอื ง

จังหวดั สมทุ รปรำกำร
2. เพอ่ื ศึกษำปัจจัยทม่ี ีอิทธิพลต่อพฤติกรรมกำรบรโิ ภคน้ำนมถวั่ เหลอื งของประชำชน ตำบล

สำโรง อำเภอเมือง จงั หวัดสมุทรปรำกำร

สว่ นตำรำทก่ี ลำ่ วว่ำ “วตั ถุประสงคก์ ำรวจิ ยั ที่ไมค่ วรเขียน” เชน่
กำรวจิ ัยเรื่องกำรศกึ ษำควำมพึงพอใจในกำรทำงำนของพนกั งำนบริษทั ABC
วัตถปุ ระสงคก์ ำรวิจัยทไ่ี ม่ควรเขียน
เพ่ือศึกษำควำมพงึ พอใจในกำรทำงำนของพนักงำนบริษัท ABC
วัตถุประสงคก์ ำรวจิ ัย
1. เพื่อศกึ ษำถงึ ระดับควำมพึงพอใจในกำรทำงำนของพนักงำนบริษัท ABC
2. เพอ่ื ค้นหำปจั จัยท่ีกำหนดควำมพอใจและควำมไม่พอใจในกำรทำงำน
3. เพอ่ื นำผลท่ีไดร้ บั จำกกำรทำวิจยั ไปกำหนดเป็นกลยทุ ธท์ ่ีทำใหพ้ นักงำนมคี วำมพึงพอใจใน
กำรทำงำนมำกขึ้น

ตัวอยา่ งวัตถุประสงค์ของการดาเนนิ การ

เพ่ือวำงระบบกำรจดั ซื้ออำหำร เครื่องบรโิ ภค และวัสดเุ พ่ือกำรหงุ หำอำหำรใหน้ ักโทษ ผตู้ ้องขัง ผู้ถกู ควบคุม
(กรมรำชทัณฑ์) และผู้เข้ำรบั กำรฝึกและอบรม (กรมพินิจและคุ้มครองเดก็ และเยำวชน)

23

ตัวอย่างความรู้ทางวิชาการหรือแนวความคดิ ที่ใช้ในการดาเนินการ

การวางระบบการจัดซื้ออาหาร เครอื่ งบริโภค และวสั ดุเพื่อการหงุ หาอาหารใหน้ ักโทษ ผู้ตอ้ งขงั ผูถ้ กู ควบคมุ
และผู้เขา้ รบั การฝึกและอบรม

กำรวำงระบบกำรจัดซ้อื อำหำร เครอ่ื งบรโิ ภค และวัสดุเพือ่ กำรหงุ หำอำหำรให้นกั โทษ ผู้ตอ้ งขงั
ผถู้ ูกควบคุม และผเู้ ข้ำรบั กำรฝึกและอบรม ได้ศึกษำค้นคว้ำเอกสำรท่เี ก่ยี วข้อง ดังน้ี

ทฤษฎรี ะบบ ...
ระเบยี บสำนกั นำยกรฐั มนตรีวำ่ ด้วยกำรพสั ดุ พ.ศ. ... ...

กำรจดั ซ้ืออำหำร เครือ่ งบริโภค และวัสดเุ พอื่ กำรหุงหำอำหำรใหน้ ักโทษ ผู้ตอ้ งขัง
ผถู้ ูกควบคุม (กรมรำชทัณฑ์) ...
กำรจัดซ้ืออำหำร เคร่ืองบริโภค และวัสดุเพ่อื กำรหงุ หำอำหำรให้ผเู้ ข้ำรบั กำรฝึกและอบรม

(กรมพินิจและคมุ้ ครองเด็กและเยำวชน) ...
สรปุ แนวคดิ ท่ีใชใ้ นกำรดำเนนิ กำร (ในคร้ังน้)ี ...

รปู แบบการใชว้ ธิ รี ะบบ หรือแนวคดิ ทใ่ี ชใ้ นการดาเนนิ การ (ในคร้งั นี)้

1. วิเครำะหป์ ัญหำทีจ่ ะต้องแกไ้ ขใหแ้ จง้ ชัด วำ่ เปน็ ปัญหำ
ของระบบน้นั ทแ่ี ท้จริง (Need Identification and
Objective setting)

2. คดิ หำวิธีกำรหรือแนวทำงเลือก (Alternative) ในกำรแกไ้ ขอันเปน็ 5. รับขอ้ มูลปอ้ นกลับและปรบั ระบบตอ่ ไป
ผลมำจำกกำรวเิ ครำะหร์ ะบบและทำควำมเขำ้ ใจถึงพฤติกรรมของ (Feedback and Modification)
ระบบ ตลอดจนขอ้ จำกัดต่ำงๆทม่ี ตี ่อกำรทำงำนของระบบ

3. เลอื กวิธกี ำรใดวธิ ีหนงึ่ ท่พี จิ ำรณำวำ่ เหมำะสมทสี่ ดุ ดที สี่ ุด
และนำออกปฏิบตั ิ (Designing and implementing)

4. ประเมินผลกำรปฏิบัติ (Evaluation) เพือ่ ทรำบผล
และเพ่ือใหข้ อ้ มูลป้อนกลบั

24

8. สาระและขนั้ ตอนในการดาเนนิ การ

ในหัวข้อสำระและขั้นตอนในกำรดำเนินกำร ประกอบด้วย 2 หวั ขอ้ คอื สำระ และขั้นตอนกำร
ดำเนนิ กำร

1. สำระ เป็นสำระหรือข้อสรุปหรอื ผลกำรดำเนนิ กำรน้นั ๆ ซ่ึงจะต้องตอบวตั ถปุ ระสงค์ของกำร
ดำเนินกำรในทุกประเดน็

2. ขั้นตอนในกำรดำเนนิ กำร
2.1 ข้ันตอนในกำรดำเนนิ กำรเป็นขั้นตอนตงั้ แต่เรม่ิ จนถึงผลกำรดำเนนิ กำรนน้ั ๆ สำเร็จ

หรอื
2.2 ขั้นตอนในกำรดำเนินกำรตอ้ งเปน็ ข้ันตอนในกำรดำเนนิ ตำมกรอบกำรวเิ ครำะห์ หรอื

แนวคิดทีใ่ ชใ้ นกำรดำเนินกำร (ในครงั้ น)ี้

ตวั อยา่ งสาระและขน้ั ตอนในการดาเนินการ
สาระ

ระบบการจดั ซ้ือของกรมราชทณั ฑ์
การจัดซื้อข้าวสาร โดยกรมรำชทัณฑ์ได้จัดซ้ือข้ำวสำร ร้อยละ 5 รำคำตันละ 10,000 บำท ในปริมำณไม่เกิน
45,600 ตันต่อปี และข้ำวสำรเหนียว ร้อยละ 10 รำคำตันละ 7,000 บำท ในปริมำณ ไม่เกิน 4,900 ตันต่อปี จำก
คณะกรรมกำรนโยบำยข้ำวแห่งชำติ (กขช.) โดยมีองค์กำรคลังสินค้ำ (อคส.) รับผิดชอบในกำรบรรจุหีบห่อ ติด
สัญลักษณ์กระทรวงยุติธรรมพร้อมจัดส่งไปยังเรือนจำ ทัณฑสถำนทั่วประเทศตำมที่ได้กำหนดไว้ โดยคิดค่ำบริกำรในรำคำ
ตันละ 1,900 บำท
การจัดซื้อผลไม้ โดยกรมรำชทัณฑ์ได้จัดซื้อผลไม้กับเกษตรกรโดยตรงในพ้ืนท่ีจังหวัดท่ัวประเทศ โดยเกษตรกร
ต้องขึ้นทะเบียนกับเกษตรจังหวัดเพื่อจัดลำดับกำรส่งผลไม้ และแยกประเภทของผลไม้ให้กับเรือนจำ/ทัณฑสถำน
ทงั้ นก้ี ำหนดให้เกษตรกรสำมำรถจดั ส่งผลไมข้ ำ้ มพ้นื ท่แี ละข้ำมจังหวัดได้ และขยำยประเภทผลไม้ให้ครอบคลุมถึงพืชอื่นที่
รับประทำนแทนผลไมไ้ ด้ เชน่ แหว้ มันแกว ข้ำวโพด อ้อย มนั เทศ เผอื ก และถวั่ ลิสง เปน็ ต้น

ระบบการจดั ซ้อื ของกรมพนิ ิจและคมุ้ ครองเด็กและเยาวชน
การจัดซ้ือข้าวสาร โดยกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยำวชน (ยกเว้นสถำนพินิจและคุ้มครองเด็กและเยำวชน
จำนวน 46 แห่ง เนื่องจำกมีจำนวนเด็กไม่เพียงพอต่อกำรจัดประกอบอำหำร) ได้จัดซื้อข้ำวสำร ร้อยละ 5 รำคำตันละ
10,000 บำท ในปริมำณไม่เกนิ 45,600 ตันตอ่ ปี และขำ้ วสำรเหนียว ร้อยละ 10 รำคำตันละ 7,000 บำท ในปริมำณไม่
เกิน 4,900 ตันตอ่ ปี จำกคณะกรรมกำรนโยบำยข้ำวแห่งชำติ (กขช.) โดยมีองค์กำรคลังสินค้ำ (อคส.) รับผิดชอบใน
กำรบรรจุหีบห่อตดิ สัญลกั ษณก์ ระทรวงยุติธรรม พร้อมจัดส่งไปยังเรือนจำ ทัณฑสถำน สถำนกักขัง และสถำนพินิจ
และคมุ้ ครองเดก็ และเยำวชนทว่ั ประเทศตำมทไี่ ดก้ ำหนดไว้ โดยคิดค่ำบริกำรในรำคำตนั ละ 1,900 บำท

25

การจัดซอื้ นมกลอ่ ง โดยกรมพนิ ิจและคุ้มครองเด็กและเยำวชน (ยกเวน้ ใหส้ ถำนพินจิ และคมุ้ ครองเด็กและ
เยำวชน จำนวน 46 แห่ง เนื่องจำกเดก็ มจี ำนวนไมเ่ พยี งพอต่อกำรจดั กำรประกอบอำหำร) ได้จัดซอ้ื นมกลอ่ งจำก
องค์กำรส่งเสรมิ กิจกำรโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) ขนำดปรมิ ำณ 200 มิลลลิ ิตร ในรำคำกล่องละ 6.50 บำท และ
ขนำดปริมำณ 250 มลิ ลลิ ิตร ในรำคำกล่องละ 9.50 บำท รวมคำ่ บรกิ ำรประทบั ตรำกระทรวงยุติธรรมและคำ่ ขนส่ง
ให้แก่สถำนพนิ ิจและคุ้มครองเดก็ และเยำวชนท่วั ประเทศตำมท่ไี ดก้ ำหนดไว้

ขนั้ ตอนในการดาเนนิ การ
1. ก่อนการวางระบบหรือระบบเดมิ
กรมราชทัณฑ์และกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ได้รับกำรจัดสรรงบประมำณในส่วนของกำร

จดั ซ้ืออำหำรเครื่องบริโภค และวัสดุเพ่ือกำรหุงหำอำหำรให้ผู้ถูกควบคุม นักโทษ ผู้ต้องขัง และผู้เข้ำรับกำรฝึกและ
อบรมทอ่ี ยใู่ นกำรดูแล ในระบบเดิมได้รับในอัตรำที่ไม่เพียงพอ เนื่องจำกระบบกำรจัดซื้อข้ำว อำหำร เครื่องบริโภค
และวัสดุเพื่อกำรหุงหำอำหำร เป็นกำรจัดซ้ืออำหำรเครื่องบริโภค และวัสดุเพ่ือกำรหุงหำอำหำรฯ ตำมรำคำท่ัวไป
ดงั น้ันจงึ มีแนวคดิ ท่จี ะจดั ซอ้ื อำหำรเครื่องบริโภค และวัสดุเพื่อกำรหุงหำอำหำรฯ โดยกำรประสำนควำมร่วมมือกับ
หน่วยงำนของรฐั ในกำรจัดซอ้ื ขำ้ วสำร ผลไม้ นมกล่อง และเนื้อสตั วต์ ำ่ งๆ โดยตรงจำกผู้ผลติ หรอื ใหผ้ ่ำนคนกลำงนอ้ ย
ที่สุด เพอ่ื เป็นกำรลดต้นทนุ ของรำคำสนิ คำ้ สำมำรถควบคุมและลดค่ำใช้จ่ำยดังกล่ำวให้อยู่ในวงเงินงบประมำณเท่ำ
เดิม หรอื ใกล้เคียงกบั งบประมำณท่ีไดร้ บั อยู่เดมิ เพื่อท่ีจะสำมำรถใช้งบประมำณภำยใต้วงเงินตำมที่ได้รับจัดสรรให้มี
ประสิทธภิ ำพและก่อให้เกดิ ประโยชน์สงู สุด

2. ขัน้ ตอนการวางระบบจัดซอ้ื อาหาร เครอ่ื งบรโิ ภค และวสั ดุเพ่อื การหุงหาอาหารใหน้ ักโทษ ผู้ต้องขงั
ผู้ถกู ควบคมุ และผู้เข้ารับการฝกึ และอบรม

1) ดำเนินกำรตำมมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี 1 กันยำยน 2542 อนุมัติให้กระทรวงยุติธรรมเป็นหน่วยงำนหลักใน
กำรดำเนนิ กำรและกำรจัดวำงระบบ กำรจัดซอื้ และกำรชำระรำคำค่ำอำหำร เครื่องบริโภค และวัสดุเพื่อกำรหุงหำอำหำร
ใหแ้ ก่นักโทษผตู้ ้องขัง รวมท้งั เด็กและเยำวชนท่ีอยู่ในกำรดูแลของกรมรำชทัณฑ์และกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและ
เยำวชนแล้วจัดส่งหรือส่งมอบให้ทั้งสองกรมต่อไป โดยดำเนินกำรร่วมกับกระทรวงพำณิชย์ กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ ธนำคำรเพ่อื กำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร สหกรณโ์ คนม และหนว่ ยงำนอ่ืนที่เกย่ี วข้อง

2) จัดทำคำส่ังกระทรวงยุติธรรมท่ี 187/2552 แต่งตั้งคณะกรรมกำรเตรียมกำรจัดซื้ออำหำร เครื่องบริโภค
และวัสดุเพอื่ กำรหุงหำอำหำร ให้นกั โทษ ผู้ตอ้ งขัง ผู้ถกู ควบคมุ และผ้เู ข้ำรับกำรฝกึ และอบรม เพ่ือใหก้ ำรดำเนินกำร
ต่ำง ๆ เป็นไปตำมมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 1 กันยำยน พ.ศ. 2552 โดยรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงยุติธรรมเป็น
ประธำน และมีผ้อู ำนวยกำรสำนักนโยบำยและยุทธศำสตรเ์ ปน็ ฝำ่ ยเลขำนุกำร

3) จดั ทำคำสั่งคณะกรรมกำรฯ ท่ี 1/2552 ลงวนั ที่ 14 กันยำยน 2552 แต่งต้งั คณะทำงำนเพ่ือศึกษำ ปรับปรุง แก้ไข
และกำหนดระเบียบ หลักเกณฑ์กำรจัดซื้ออำหำร ฯ เพ่ือศึกษำ ปรับปรุง แก้ไข และกำหนดระเบียบ หลักเกณฑ์กำร
จดั ซ้อื กำรส่งมอบ กำรรบั มอบ กำรชำระรำคำ และกำรดำเนินกำรอ่นื ท่ีเกยี่ วข้องกบั กำรจดั ซือ้ อำหำรเครอ่ื งบริโภคและ
วัสดุเพ่ือกำรหุงหำอำหำร ให้นักโทษ ผู้ต้องขัง ผู้ถูกควบคุมและผู้เข้ำรับกำรฝึกและอบรม โดยมีรองปลัดประทรวง
ยุติธรรม (นำยพิษณุโรจน์ พลับรู้กำร) เป็นประธำนคณะทำงำน และมีผู้อำนวยกำรสำนักนโยบำยและยุทธศำสตร์
เปน็ คณะทำงำนและเลขำนกุ ำร

4) คณะทำงำนฯ ดำเนินกำรประชุมร่วมกับกระทรวงพำณิชย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และหน่วยงำนที่
เกย่ี วขอ้ ง เพ่ือวำงระบบกำรจัดซอ้ื และกำรชำระคำ่ อำหำร นมกล่อง ผลไม้ และข้ำวสำร

5) จัดทำคำสั่งคณะกรรมกำรฯ ที่ 2/2552 ลงวันท่ี 16 ตุลำคม 2552 แต่งตั้งคณะทำงำนติดตำมและประเมินผล
กำรทดลองจัดซ้ือผลไม้ระหว่ำงกรมรำชทัณฑ์กับกรมส่งเสริมกำรเกษตร คำสั่งท่ี 3/2552 ลงวันที่ 16 ตุลำคม 2552
แต่งต้ังคณะทำงำนติดตำมและประเมินผลกำรจัดซ้ือนมกล่องระหว่ำงกรมพินิจ และคุ้มครองเด็กและเยำวชนกับ
องค์กำรส่งเสริมกิจกำรโคมนมแห่งประเทศไทย และคำสั่งท่ี 4/2552 ลงวันท่ี 16 ตุลำคม 2552 แต่งต้ังคณะทำงำน
ติดตำมและประเมินผลกำรจัดซ้ือข้ำวสำร ๕% ระหว่ำงกรมรำชทัณฑ์ กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยำวชน กับ
องคก์ ำรคลงั สนิ ค้ำ โดยนำยพิษณุโรจน์ พลบั ร้กู ำร รองปลัดกระทรวงยุติธรรม เป็นประธำน และมผี อู้ ำนวยกำรสำนัก

26

นโยบำยและยุทธศำสตร์ เป็นคณะทำงำนและเลขำนุกำร เพื่อดำเนินกำรติดตำมและประเมินผลกำรทดลองจัดซ้ือ
ผลไม้ กำรจัดซ้ือนมกล่อง และกำรจัดซื้อข้ำวสำรให้เป็นไปตำมมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 1 กันยำยน พ.ศ. 2552
อย่ำงมีประสิทธิภำพ

6) ดำเนนิ กำรจัดพธิ ีลงนำมบนั ทกึ ควำมรว่ มมอื ระหวำ่ ง กระทรวงยุตธิ รรมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
และกระทรวงยุติธรรมกับกระทรวงพำณิชย์ ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบำล เพ่ือให้กำรดำเนินกำรวำงระบบกำร
จัดซ้ืออำหำร เคร่ืองบริโภค และวสั ดเุ พ่อื กำรหุงหำอำหำรให้นักโทษ ผู้ต้องขัง ผู้ถูกควบคุม และผู้เข้ำรับกำรฝึกและ
อบรมทอี่ ยใู่ นกำรดแู ลของกรมรำชทัณฑแ์ ละกรมพินจิ และคุม้ ครองเดก็ และเยำวชน เป็นไปด้วยควำมเรียบร้อยและมี
ประสิทธิภำพอยำ่ งตอ่ เน่ืองและยั่งยืน

3. ภายหลงั การวางระบบการจัดซ้ืออาหาร เครื่องบริโภค และวัสดุเพื่อการหุงหาอาหารให้นักโทษ ผู้ต้องขัง
ผู้ถูกควบคมุ และผู้เขา้ รบั การฝกึ และอบรม

1) ดำเนนิ กำรสรปุ ขอ้ มลู ทัง้ หมดเสนอคณะรัฐมนตรเี พ่ือขออนมุ ัติ ดังน้ี
การจัดซ้ือข้าวสาร ให้กรมราชทัณฑ์และกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน(ยกเว้น ให้สถำน

พนิ จิ และคมุ้ ครองเด็กและเยำวชน จำนวน 46 แหง่ เนอ่ื งจำกเด็กมีจำนวนไม่เพยี งพอต่อกำรจดั กำรประกอบอำหำร)
จัดซือ้ ข้ำวสำรและขำ้ วสำรเหนียวกับองค์กำรคลังสินค้ำเป็นกำรถำวรและต่อเนอ่ื ง

การจัดซ้ือนมกล่อง ให้กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน (ยกเว้นให้สถำนพินิจและคุ้มครองเด็กและ
เยำวชน จำนวน 46 แห่ง เน่ืองจำกเด็กมีจำนวนไม่เพียงพอต่อกำรจัดกำรประกอบอำหำร) จัดซื้อนมกล่องกับองค์กำร
สง่ เสรมิ กจิ กำรโคนมแห่งประเทศไทย

การจัดซอ้ื ผลไม้ ให้กรมราชทณั ฑ์ จดั ซื้อผลไมแ้ ละพชื อืน่ ท่รี บั ประทำนแทนผลไมก้ ับเกษตรกรโดยตรง

27

แผนผงั การดาเนนิ การ

1. วิเคราะห์ปัญหาท่จี ะตอ้ งแก้ไขให้แจ้งชัด ว่าเปน็ ปญั หาของระบบนนั้ ท่ีแท้จริง (Need Identification and
Objective setting)
กรมราชทัณฑ์และกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ได้รับกำรจัดสรรงบประมำณในส่วนของกำรจัดซ้ือ
อำหำรเครื่องบริโภค และวัสดุเพื่อกำรหุงหำอำหำรให้ผู้ถูกควบคุม นักโทษ ผู้ต้องขัง และผู้เข้ำรับกำรฝึกและ
อบรมท่ีอยู่ในกำรดูแล ในระบบเดิมได้รับในอัตรำท่ีไม่เพียงพอ เน่ืองจำกระบบกำรจัดซื้อข้ำว อำหำร เครื่อง
บริโภค และวัสดุเพ่ือกำรหุงหำอำหำร เป็นกำรจัดซื้ออำหำรเคร่ืองบริโภค และวัสดุเพื่อกำรหุงหำอำหำรฯ ตำม
รำคำทวั่ ไป ดงั นั้นจงึ มแี นวคิดทจ่ี ะจัดซอ้ื อำหำรเครอ่ื งบรโิ ภค และวสั ดุเพอ่ื กำรหงุ หำอำหำรฯ โดยกำรประสำน
ควำมร่วมมอื กับหน่วยงำนของรัฐในกำรจดั ซอ้ื ข้ำวสำร ผลไม้ นมกล่อง และเนอ้ื สตั วต์ ำ่ งๆ โดยตรงจำกผู้ผลิตหรือ
ใหผ้ ำ่ นคนกลำงน้อยทีส่ ุด เพอื่ เป็นกำรลดตน้ ทนุ ของรำคำสนิ ค้ำ สำมำรถควบคมุ และลดค่ำใชจ้ ่ำยดังกลำ่ วใหอ้ ยู่ใน
วงเงินงบประมำณเท่ำเดิม หรือใกล้เคียงกับงบประมำณท่ีได้รับอยู่เดิม เพื่อท่ีจะสำมำรถใช้งบประมำณภำยใต้
วงเงนิ ตำมทีไ่ ดร้ ับจัดสรรให้มีประสิทธภิ ำพและกอ่ ให้เกดิ ประโยชน์สงู สุด

2. คดิ หาวธิ ีการหรอื แนวทางเลือก (Alternative) ในกำรแกไ้ ขอันเป็นผลมำจำกกำรวิเครำะหร์ ะบบและทำ
ควำมเขำ้ ใจถึงพฤตกิ รรมของระบบ ตลอดจนข้อจำกดั ตำ่ งๆท่ีมตี อ่ กำรทำงำนของระบบ

1) ดำเนินกำรตำมมตคิ ณะรฐั มนตรีเมื่อวันท่ี 1 กันยำยน 2552 อนุมตั ใิ ห้กระทรวงยตุ ธิ รรมเป็นหนว่ ยงำนหลกั ใน
กำรดำเนินกำรและกำรจดั วำงระบบ กำรจดั ซื้อและกำรชำระรำคำค่ำอำหำร เคร่อื งบริโภค และวัสดุเพอ่ื กำรหุงหำ
อำหำรให้แก่นักโทษผตู้ ้องขัง รวมท้งั เดก็ และเยำวชนทอี่ ยใู่ นกำรดแู ลของกรมรำชทณั ฑ์และกรมพนิ ิจและค้มุ ครอง
เดก็ และเยำวชนแลว้ จดั สง่ หรือส่งมอบใหท้ ัง้ สองกรมต่อไป โดยดำเนนิ กำรร่วมกบั กระทรวงพำณชิ ย์ กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ ธนำคำรเพอ่ื กำรเกษตรและสหกรณก์ ำรเกษตร สหกรณโ์ คนม และหนว่ ยงำนอนื่ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง

2) จัดทำคำส่ังกระทรวงยุติธรรมท่ี 187/2552 แต่งต้ังคณะกรรมกำรเตรียมกำรจดั ซ้ืออำหำร เครอื่ งบรโิ ภค
และวสั ดเุ พอ่ื กำรหุงหำอำหำร ใหน้ กั โทษ ผู้ต้องขงั ผถู้ กู ควบคมุ และผู้เข้ำรับกำรฝึกและอบรม เพ่ือให้กำร
ดำเนนิ กำรต่ำง ๆ เปน็ ไปตำมมติคณะรฐั มนตรเี ม่อื วนั ที่ 1 กันยำยน พ.ศ. 2552 โดยมีรฐั มนตรวี ำ่ กำรกระทรวง
ยุติธรรมเปน็ ประธำน และมผี อู้ ำนวยกำรสำนกั นโยบำยและยุทธศำสตรเ์ ป็นฝำ่ ยเลขำนุกำร

3) จดั ทำคำสง่ั คณะกรรมกำรฯ ที่ 1/2552 ลงวันที่ 14 กนั ยำยน 2552 แตง่ ต้ังคณะทำงำนเพอ่ื ศกึ ษำ ปรับปรุง แก้ไข
และกำหนดระเบียบ หลักเกณฑก์ ำรจัดซ้อื อำหำร ฯ เพ่ือศกึ ษำ ปรับปรงุ แกไ้ ข และกำหนดระเบียบ หลกั เกณฑ์กำร
จดั ซ้ือ กำรส่งมอบ กำรรับมอบ กำรชำระรำคำ และกำรดำเนนิ กำรอ่ืนที่เกย่ี วข้องกบั กำรจัดซื้ออำหำรเคร่ืองบริโภค
และวัสดเุ พ่อื กำรหุงหำอำหำร ให้นักโทษ ผู้ต้องขัง ผูถ้ กู ควบคมุ และผเู้ ขำ้ รบั กำรฝกึ และอบรม โดยรองปลดั กระทรวง
ยตุ ิธรรม (นำยพิษณุโรจน์ พลับร้กู ำร) เป็นประธำนคณะทำงำน และมีผูอ้ ำนวยกำรสำนักนโยบำยและยทุ ธศำสตร์
เป็นคณะทำงำนและเลขำนุกำร

4) คณะทำงำนฯ ดำเนนิ กำรประชมุ รว่ มกับกระทรวงพำณชิ ย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และหน่วยงำนที่
เกีย่ วข้อง เพื่อวำงระบบกำรจดั ซ้อื และกำรชำระคำ่ อำหำร นมกล่อง ผลไม้ และขำ้ วสำร

5) จดั ทำคำส่ังคณะกรรมกำรฯ ที่ 2/2552 ลงวันที่ 16 ตลุ ำคม 2552 แต่งต้ังคณะทำงำนตดิ ตำมและประเมนิ ผล
กำรทดลองจัดซอ้ื ผลไมร้ ะหวำ่ งกรมรำชทัณฑก์ บั กรมส่งเสรมิ กำรเกษตร คำสั่งที่ 3/2552 ลงวันท่ี 16 ตุลำคม 2552
แตง่ ต้งั คณะทำงำนตดิ ตำมและประเมนิ ผลกำรจัดซ้อื นมกลอ่ งระหวำ่ งกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยำวชนกบั
องค์กำรส่งเสรมิ กจิ กำรโคมนมแหง่ ประเทศไทย และคำสั่งที่ 4/2552 ลงวันท่ี 16 ตลุ ำคม 2552 แต่งตงั้ คณะทำงำน
ติดตำมและประเมนิ ผลกำรจัดซ้อื ขำ้ วสำร ๕% ระหว่ำงกรมรำชทัณฑ์ กรมพินิจและคมุ้ ครองเด็กและเยำวชน กับ
องคก์ ำรคลงั สนิ คำ้ โดยมีนำยพิษณุโรจน์ พลับรู้กำร รองปลดั กระทรวงยุติธรรม เป็นประธำน และมีผอู้ ำนวยกำร
สำนักนโยบำยและยทุ ธศำสตร์ เปน็ คณะทำงำนและเลขำนกุ ำร เพ่อื ดำเนนิ กำรติดตำมและประเมินผลกำรทดลอง
จัดซอ้ื ผลไม้ กำรจัดซ้อื นมกล่อง และกำรจดั ซ้อื ขำ้ วสำรให้เป็นไปตำมมติคณะรัฐมนตรเี ม่ือวันที่ 1 กันยำยน พ.ศ.
2552 อยำ่ งมีประสทิ ธภิ ำพ

28

6) ดำเนินกำรจดั พิธีลงนำมบันทกึ ควำมรว่ มมอื ระหวำ่ ง กระทรวงยตุ ธิ รรมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
และกระทรวงยตุ ิธรรมกบั กระทรวงพำณชิ ย์ ณ ตึกสนั ติไมตรี ทำเนยี บรฐั บำล เพอ่ื ให้กำรดำเนนิ กำรวำงระบบกำร
จัดซื้ออำหำร เครื่องบริโภค และวัสดุเพื่อกำรหุงหำอำหำรให้นักโทษ ผู้ต้องขัง ผู้ถูกควบคุม และผู้เข้ำรับกำรฝึก
และอบรมท่ีอยู่ในกำรดูแลของกรมรำชทัณฑ์และกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยำวชน เป็นไปด้วยควำม
เรยี บรอ้ ยและมปี ระสทิ ธภิ ำพอย่ำงตอ่ เน่อื งและย่งั ยืน

3. เลือกวิธีการใดวธิ ีหนงึ่ ท่พี ิจารณาวา่ เหมาะสมทส่ี ุด ดีทีส่ ุดและนาออกปฏิบตั ิ
(Designing and implementing)
ดำเนินกำรสรปุ ขอ้ มลู ทงั้ หมดเสนอคณะรัฐมนตรเี พื่อขออนมุ ัติ ดังนี้

1. การจดั ซอ้ื ข้าวสาร ให้กรมราชทณั ฑแ์ ละกรมพนิ จิ และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชน (ยกเวน้ ให้สถำน
พนิ ิจและค้มุ ครองเดก็ และเยำวชน จำนวน 46 แห่ง เนอื่ งจำกเดก็ มจี ำนวนไม่เพียงพอตอ่ กำรจดั กำรประกอบ
อำหำร) จดั ซื้อข้ำวสำรและข้ำวสำรเหนยี วกบั องค์กำรคลังสนิ คำ้ เป็นกำรถำวรและต่อเน่อื ง

2. การจัดซ้ือนมกลอ่ ง ใหก้ รมพนิ ิจและค้มุ ครองเดก็ และเยาวชน (ยกเว้นให้สถำนพินจิ และค้มุ ครองเดก็ และ
เยำวชน จำนวน 46 แหง่ เนื่องจำกเดก็ มีจำนวนไมเ่ พยี งพอตอ่ กำรจดั กำรประกอบอำหำร) จัดซอื้ นมกลอ่ งกับองค์กำร
ส่งเสรมิ กจิ กำรโคนมแหง่ ประเทศไทย

3. การจัดซ้ือผลไม้ ให้กรมราชทัณฑ์ จัดซื้อผลไม้และพืชอ่ืนท่ีรับประทำนแทนผลไม้กับเกษตรกร
โดยตรง

4. ประเมินผลการปฏบิ ัติ (Evaluation) เพือ่ ทราบผล และเพื่อให้ข้อมูลปอ้ นกลบั

5. รับข้อมูลปอ้ นกลับและปรบั ระบบต่อไป (Feedback and Modification)

29

9. ผู้รว่ มดาเนนิ การ

1. ผู้ร่วมดำเนินกำร หมำยถึง ผทู้ ร่ี ่วมดำเนนิ กำรในผลงำนที่นำเสนอขอรบั กำรประเมนิ น้นั ๆ
2. ใหร้ ะบชุ ื่อ สกุล ตำแหน่ง สงั กัดของตนเองและผ้รู ว่ มดำเนนิ กำร และสดั สว่ นในกำรรว่ ม
ดำเนินกำรนั้นๆ

ช่ือ-สกุล ตวั อยา่ งผรู้ ่วมดาเนินการ สดั สว่ นร้อยละ
1. นำยกฤษณ์ สถำปตั ยส์ ิริ 80
ตำแหน่ง
2. พ.ต.ท.พงษธ์ ร ธญั ญสิริ นกั วิเครำะหน์ โยบำยและแผนปฏบิ ัติกำร 10
3. นำยอภิรัชศกั ด์ิ รชั นวี งศ์ สำนกั นโยบำยและยุทธศำสตร์ 10
ผอู้ ำนวยกำรสำนกั นโยบำยและยทุ ธศำสตร์
นักวิเครำะหน์ โยบำยและแผนชำนำญพเิ ศษ
สำนักนโยบำยและยุทธศำสตร์

30

10. ส่วนของงานทผ่ี เู้ สนอเปน็ ผู้ปฏิบัติ

1. กรณผี ูป้ ฏบิ ตั ไิ ม่เต็ม รอ้ ยละ 100
1.1 ผูป้ ฏิบัตติ ้องเขยี นงำนที่ปฏิบัตทิ ้ังหมด หรือเขียนงำนงำนในภำพรวมทัง้ หมด
1.2 ผู้ปฏบิ ตั ิต้องแสดงผลงำนเฉพำะในสว่ นท่ปี ฏิบัติเทำ่ น้นั

2. กรณที ีผ่ ูป้ ฏิบัติเตม็ ร้อยละ 100
2.1 ผปู้ ฏิบัติงำนต้องเขยี นงำนทปี่ ฏบิ ตั ทิ ้ังหมด

ตวั อยา่ งสว่ นของงานที่ผ้เู สนอเปน็ ผปู้ ฏิบตั ิ สัดสว่ น
กิจกรรม (รอ้ ยละ)

1) ดำเนินกำรตำมมตคิ ณะรัฐมนตรเี ม่ือวันที่ 1 กนั ยำยน 2552 อนมุ ตั ใิ หก้ ระทรวงยตุ ิธรรมเปน็ 10
หน่วยงำนหลกั ในกำรดำเนนิ กำรและกำรจัดวำงระบบ กำรจัดซอื้ และกำรชำระรำคำคำ่ อำหำร เคร่ือง
บริโภค และวัสดเุ พ่อื กำรหุงหำอำหำรใหแ้ ก่นกั โทษผตู้ อ้ งขัง รวมท้ังเด็กและเยำวชนทอ่ี ยูใ่ นกำร 15
ดแู ลของกรมรำชทัณฑแ์ ละกรมพนิ จิ และคมุ้ ครองเด็กและเยำวชนแล้วจัดส่งหรือส่งมอบใหท้ ั้ง 5
สองกรมตอ่ ไป โดยดำเนินกำรร่วมกบั กระทรวงพำณชิ ย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ธนำคำร
เพอ่ื กำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร สหกรณโ์ คนม และหน่วยงำนอ่นื ที่เกย่ี วขอ้ ง 20

2) จดั ทำคำสง่ั กระทรวงยุติธรรมท่ี 187/2552 แตง่ ตั้งคณะกรรมกำรเตรยี มกำรจดั ซื้ออำหำร เครื่อง
บริโภค และวสั ดเุ พื่อกำรหงุ หำอำหำร ใหน้ กั โทษ ผตู้ ้องขัง ผู้ถกู ควบคมุ และผเู้ ข้ำรบั กำรฝึกและอบรม
เพอื่ ให้กำรดำเนินกำรต่ำงๆเปน็ ไปตำมมตคิ ณะรัฐมนตรเี มอ่ื วันท่ี 1กันยำยน พ.ศ. 2552โดยมีรฐั มนตรีว่ำกำร
กระทรวงยตุ ิธรรมเปน็ ประธำน และมผี ู้อำนวยกำรสำนกั นโยบำยและยทุ ธศำสตรเ์ ปน็ ฝ่ำยเลขำนุกำร

3) จดั ทำคำส่ังคณะกรรมกำรฯ ท่ี 1/2552 ลงวนั ท่ี 14 กนั ยำยน 2552 แตง่ ต้ังคณะทำงำนเพอื่
ศึกษำ ปรบั ปรุง แกไ้ ข และกำหนดระเบยี บ หลกั เกณฑ์กำรจดั ซอ้ื อำหำร ฯ เพ่ือศึกษำ ปรบั ปรุง
แกไ้ ข และกำหนดระเบียบ หลักเกณฑ์กำรจดั ซือ้ กำรส่งมอบ กำรรบั มอบ กำรชำระรำคำ และ
กำรดำเนินกำรอ่นื ทเ่ี กยี่ วข้องกับกำรจดั ซ้ืออำหำรเครอื่ งบรโิ ภคและวสั ดเุ พอื่ กำรหงุ หำอำหำร ให้
นักโทษ ผู้ต้องขงั ผู้ถกู ควบคมุ และผเู้ ขำ้ รับกำรฝกึ และอบรม โดยมรี องปลัดประทรวงยตุ ธิ รรม
(นำยพษิ ณโุ รจน์ พลับรกู้ ำร) เป็นประธำนคณะทำงำน และมีผู้อำนวยกำรสำนักนโยบำยและ
ยุทธศำสตร์ เป็นคณะทำงำนและเลขำนุกำร

4) รว่ มคณะทำงำนฯ ดำเนินกำรประชมุ ร่วมกบั กระทรวงพำณิชย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
และหนว่ ยงำนทีเ่ ก่ยี วข้อง เพ่ือวำงระบบกำรจดั ซื้อและกำรชำระคำ่ อำหำร นมกลอ่ ง ผลไม้ และ
ขำ้ วสำร

31

ตวั อย่างสว่ นของงานที่ผูเ้ สนอเปน็ ผู้ปฏิบัติ สัดสว่ น
(รอ้ ยละ)
กจิ กรรม
10
5) ดำเนนิ กำรจดั พธิ ลี งนำมบันทกึ ควำมร่วมมือระหวำ่ ง กระทรวงยุติธรรมกบั กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ และกระทรวงยุตธิ รรมกบั กระทรวงพำณิชย์ ณ ตกึ สันติไมตรี ทำเนยี บรัฐบำล เพ่ือให้กำร 20
ดำเนินกำรวำงระบบกำรจัดซอ้ื อำหำร เครื่องบรโิ ภค และวสั ดเุ พ่อื กำรหงุ หำอำหำรให้นักโทษ
ผู้ตอ้ งขัง ผถู้ กู ควบคุม และผ้เู ขำ้ รบั กำรฝกึ และอบรมทอ่ี ย่ใู นกำรดูแลของกรมรำชทัณฑแ์ ละ 80
กรมพินจิ และคุ้มครองเด็กและเยำวชน เปน็ ไปด้วยควำมเรยี บรอ้ ยและมีประสทิ ธิภำพอยำ่ ง
ต่อเน่อื งและยง่ั ยืน
6) ดำเนินกำรสรุปข้อมลู ทั้งหมดเสนอคณะรัฐมนตรเี พือ่ ขออนุมัติ ให้กรมพนิ จิ และค้มุ ครองเดก็ และ
เยำวชน (ยกเว้นใหส้ ถำนพนิ จิ และคุ้มครองเดก็ และเยำวชน จำนวน 46 แห่ง เนอ่ื งจำกเด็กมี
จำนวนไมเ่ พียงพอตอ่ กำรจัดกำรประกอบอำหำร) จดั ซอ้ื นมกลอ่ งกบั องค์กำรสง่ เสรมิ กิจกำรโค
นมแหง่ ประเทศไทย ใหก้ รมรำชทณั ฑ์ จัดซอื้ ผลไมแ้ ละพืชอ่นื ทรี่ ับประทำนแทนผลไม้กับ
เกษตรกรโดยตรง และให้กรมรำชทัณฑ์และกรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยำวชน (ยกเวน้ ให้
สถำนพนิ จิ และค้มุ ครองเดก็ และเยำวชน จำนวน 46 แห่ง เน่อื งจำกเดก็ มจี ำนวนไมเ่ พยี งพอต่อ
กำรจัดกำรประกอบอำหำร) จดั ซอื้ ขำ้ วสำรและขำ้ วสำรเหนยี วกับองคก์ ำรคลังสินคำ้ เป็นกำร
ถำวรและต่อเน่อื ง

รวม

32

11. ผลสาเร็จของงาน (เชงิ ปรมิ าณ/คณุ ภาพ)

1. ผลสำเรจ็ ของงำนต้องตอบวัตถปุ ระสงคข์ องกำรดำเนนิ กำร
2. ผลสำเร็จของงำนเชงิ ปริมำณ แสดงเปน็ จำนวนหรอื ตวั เลขท่สี ำมำรถแจงนับได้
3. ผลสำเรจ็ ของงำนเชงิ คุณภำพ แสดงถึงคุณคำ่ หรือผลทไ่ี ม่สำมำรถนับได้ แตส่ ำมำรถเห็นได้
ในภำพรวม เช่น คุณภำพชวี ิตทดี่ ขี องประชำชน ภำวะสขุ ภำพจติ ดีขึ้นจำกกำรป้องกนั อำชญำกรรม

ตวั อย่างผลสาเร็จของงาน (เชิงปริมาณ/คณุ ภาพ)

ผลสาเร็จเชงิ ปริมาณ
1. กระทรวงยุติธรรมมีระบบกำรจัดซ้ืออำหำร เครื่องบริโภค และวัสดุเพ่ือกำรหุงหำอำหำร ให้นักโทษ

ผู้ตอ้ งขงั ผถู้ กู ควบคมุ และผเู้ ขำ้ รบั กำรฝกึ และอบรมทอี่ ยูใ่ นกำรดูแลของกรมรำชทณั ฑ์และกรมพินิจและคุม้ ครองเด็ก
และเยำวชน โดยเสนอใหอ้ อกเป็นมตคิ ณะรัฐมนตรี ดงั นี้

1.1 ระบบกำรจัดซ้ือข้ำวสำร: กรมรำชทัณฑ์และกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยำวชน (ยกเว้นให้สถำน
พนิ ิจและคุ้มครองเด็กและเยำวชน จำนวน 46 แห่ง เน่ืองจำกเด็กมีจำนวนไม่เพียงพอต่อกำรจัดกำรประกอบอำหำร)
ใหจ้ ดั ซ้ือขำ้ วสำร 5% รำคำตนั ละ 10,000 บำท ในปริมำณไม่เกิน 45,600 ตันต่อปี และข้ำวสำรเหนียว 10% รำคำตันละ
7,000 บำท ในปริมำณไม่เกิน 4,900 ตันต่อปี จำกคณะกรรมกำรนโยบำยข้ำวแห่งชำติ (กขช.) โดยมีองค์กำร
คลังสินค้ ำ (อคส .) รับผิ ดชอบในกำรบรร จุหีบห่อติดสัญลักษณ์กระทรวงยุติธรรม พร้ อมจัดส่ ง
ไปยังเรือนจำ ทัณฑสถำน สถำนกักขัง และสถำนพินิจและคุ้มครองเด็กและเยำวชนท่ัวประเทศตำมท่ีได้กำหนดไว้
โดยคดิ ค่ำบรกิ ำรในรำคำตันละ 1,900 บำท

1.2 ระบบกำรจดั ซ้ือนมกล่อง: กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยำวชน (ยกเว้น ให้สถำนพินิจและคุ้มครอง
เด็กและเยำวชน จำนวน 46 แห่ง เนอื่ งจำกเด็กมจี ำนวนไม่เพยี งพอต่อกำรจัดกำรประกอบอำหำร) ไดจ้ ดั ซ้ือนมกล่อง
จำกองค์กำรส่งเสริมกจิ กำรโคนมแหง่ ประเทศไทย (อ.ส.ค.) ขนำดปริมำณ 200 มิลลิลิตร ในรำคำกล่องละ 6.50 บำท และ
ขนำดปริมำณ 250 มลิ ลิลิตร ในรำคำกลอ่ งละ 9.50 บำท รวมค่ำบริกำรประทับตรำกระทรวงยุติธรรมและค่ำขนส่ง
ใหแ้ ก่สถำนพินิจและคุ้มครองเดก็ และเยำวชนทว่ั ประเทศตำมที่ไดก้ ำหนดไว้

1.3 ระบบกำรจัดซื้อผลไม้: กรมรำชทัณฑ์ได้จัดซ้ือผลไม้กับเกษตรกรโดยตรงในพ้ืนท่ีจังหวัดทั่วประเทศ
โดยเกษตรกรตอ้ งขึน้ ทะเบียนกบั เกษตรจังหวัดเพื่อจัดลำดับกำรส่งผลไม้ และแยกประเภทของผลไม้ให้กับเรือนจำ/
ทัณฑสถำน ท้ังน้ีกำหนดให้เกษตรกรสำมำรถจัดส่งผลไม้ข้ำมพื้นที่และข้ำมจังหวัดได้ และขยำยประเภทผลไม้ให้
ครอบคลุมถงึ พชื อนื่ ท่ีรบั ประทำนแทนผลไมไ้ ด้ เชน่ แห้ว มันแกว ข้ำวโพด ออ้ ย มันเทศ เผือก และถวั่ ลิสง เปน็ ต้น

33

2. กระทรวงยุติธรรมมีระบบกำรจัดซื้ออำหำร เคร่ืองบริโภค และวัสดุเพื่อกำรหุงหำอำหำร ฯ ท่ีสำมำรถลด
คำ่ ใชจ้ ่ำยในกำรจดั ซอ้ื อำหำร ได้ดังนี้

2.1 กำรจัดซ้ือข้ำวสำร กระทรวงยุติธรรมโดยกรมรำชทัณฑ์และกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยำวชน ได้
จัดซื้อข้ำวสำร 5% ปีละประมำณ ๓๙,๐๐๐ ตัน รำคำตันละ 13,500 บำท และจัดซื้อข้ำวสำรเหนียว 10% ประมำณ
4,900 ตัน รำคำตันละ 28,500 บำท เม่ือมีกำรวำงระบบจัดซ้ืออำหำรฯ แล้วปรำกฏว่ำ สำมำรถลดรำคำกำรจัดซ้ือ
ข้ำวสำร 5% ประมำณตันละ 1,600 บำท และลดรำคำกำรจัดซ้ือข้ำวสำรเหนียว 10% ประมำณตันละ 19,600 บำท
ทำใหป้ ระหยดั งบประมำณจำกวิธกี ำรเดมิ ได้ถงึ 158,440,000 บำท (หน่ึงรอ้ ยหำ้ สบิ แปดล้ำนสีแ่ สนสีห่ ม่ืนบำทถว้ น)

2.2 กำรจดั ซอื้ นมกลอ่ ง กระทรวงยุติธรรม โดยกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยำวชน ได้จัดซื้อนมกล่อง
ขนำด 250 มิลลิลิตร ปีละประมำณ 3,039,837 กล่อง รำคำกล่องละ 11 บำท เม่ือมีกำรวำงระบบจัดซื้ออำหำรฯ
แล้วปรำกฏว่ำ สำมำรถลดรำคำกำรจดั ซอ้ื นมกลอ่ ง ประมำณกล่องละ 1.50 บำท ทำให้สำมำรถประหยดั งบประมำณ
จำกวิธกี ำรเดมิ ไดถ้ ึง 4,559,755.50 บำท (สีล่ ำ้ นหำ้ แสนห้ำหม่นื เกำ้ พันเจด็ ร้อยหำ้ สิบห้ำบำทห้ำสบิ สตำงค์)

ผลสาเรจ็ เชิงคุณภาพ
1. นกั โทษ ผูต้ อ้ งขงั ผถู้ ูกควบคุม (กรมรำชทณั ฑ์) และผ้เู ข้ำรับกำรฝึกและอบรม (กรมพินจิ และคมุ้ ครอง

เดก็ และเยำวชน) มคี ณุ ภำพชวี ติ ทด่ี ขี ึน้ เพรำะได้รับเคร่อื งอปุ โภค บริโภคทมี่ คี ณุ ภำพมำกขึ้น เช่น กลมุ่ เปำ้ หมำย
ได้รับประทำนผลไมท้ ่ีมคี วำมสดมำกข้นึ เนือ่ งจำกจดั ซ้อื จำกเกษตรกรในพน้ื ทใี่ กล้เคยี งโดยตรง เป็นตน้

34

12. การนาไปใช้ประโยชน์

1. กำรนำไปใชป้ ระโยชน์ตอ้ งเปน็ ผลมำจำกวตั ถุประสงค์ของกำรดำเนินกำร (Output)
เมื่อได้ผลจำกวัตถปุ ระสงค์แล้วจะนำไปใชป้ ระโยชน์อย่ำงไร

2. กำรนำไปใช้ประโยชนอ์ ำจรวมถงึ ผลลัพธ์ (Outcome) ของกำรดำเนนิ กำรนนั้ ๆ

ตัวอย่างการนาไปใชป้ ระโยชน์

1. ระบบกำรจัดซ้ือ กระทรวงยุติธรรมได้วำงระบบกำรจัดซื้ออำหำร เคร่ืองบริโภค และวัสดุเพื่อกำรหุงหำ
อำหำร ให้นักโทษ ผู้ต้องขัง ผู้ถูกควบคุม และผู้เข้ำรับกำรฝึกและอบรม ร่วมกับองค์กำรส่งเสริมกิจกำรโคนมแห่ง
ประเทศไทย (อ.ส.ค.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และองคก์ ำรคลงั สินค้ำ (อคส.)กระทรวงพำณิชย์ ซึ่งเป็นกำรจัดซ้ือ
โดยตรงระหว่ำงรฐั จึงทำให้เกิดประโยชน์ดังนี้

1.1 กระทรวงยุตธิ รรมไดจ้ ัดซอ้ื ข้ำวสำร 5% และจัดซื้อข้ำวสำรเหนียว 10% จำกคณะกรรมกำรนโยบำยข้ำว
แหง่ ชำติ (กขช.) โดยมีองค์กำรคลงั สนิ คำ้ (อคส.) รบั ผิดชอบในกำรบรรจหุ บี หอ่ ติดสัญลักษณ์กระทรวงยุติธรรม พร้อม
จดั ส่งไปยังเรือนจำ ทัณฑสถำน สถำนกกั ขัง และสถำนพินิจและคุ้มครองเด็กและเยำวชนทั่วประเทศตำมท่ีได้กำหนดไว้
ทำใหส้ ำมำรถชว่ ยระบำยขำ้ วสำรในสตอ็ กของรัฐบำลไดป้ ระมำณ 44,000 ตนั ตอ่ ปี

1.2 กระทรวงยุติธรรมได้จัดซื้อนมกล่อง ขนำด 250 มิลลิลิตร จำกองค์กำรส่งเสริมกิจกำรโคนมแห่ง
ประเทศไทย (อ.ส.ค.) ทำให้ช่วยเพมิ่ ยอดขำยให้เกษตรกรผ้เู ลยี้ งโคนมปีละประมำณ 3,000,000 กล่อง

2. งบประมำณ กำรวำงระบบจัดซื้ออำหำร เครื่องบริโภค และวัสดุเพ่ือกำรหุงหำอำหำรฯ ดังกล่ำว สำมำรถ
ประหยัดงบประมำณ และช่วยเหลอื เกษตรกร ที่ปลกู ผลไม้ ไดด้ ังน้ี

2.1 กำรจัดซื้อข้ำวสำร กระทรวงยุติธรรมได้จัดซ้ือข้ำวสำร 5% ประมำณ 39,000 ตัน รำคำตันละ 11,900
บำท (รวมคำ่ ขนส่ง) เปน็ เงิน 464,100,000 บำท และจดั ซอ้ื ขำ้ วสำรเหนียว 10% ประมำณ 4,900 ตัน รำคำตันละ 8,900
บำท (รวมค่ำขนส่ง) เป็นเงิน 43,610,000 บำท รวมเป็นเงินจัดซ้ือท้ังสิ้น 507,710,000 บำท หำกเปรียบเทียบรำคำของ
กระทรวงพำณิชย์เดือนกันยำยน 2553 ข้ำวสำร 5% รำคำตันละ 13,500 บำท และข้ำวสำรเหนียว 10% รำคำตันละ
28,500 บำท ดังนั้นกระทรวงยุติธรรมสำมำรถประหยัดงบประมำณจำกวิธีกำรเดิมได้ถึง 158,440,000 บำท
(หนึ่งรอ้ ยหำ้ สบิ แปดลำ้ นสแี่ สนสี่หมนื่ บำทถ้วน)

2.2 กำรจดั ซ้ือนมกลอ่ ง กระทรวงยุติธรรม โดยกรมพินจิ และคมุ้ ครองเด็กและเยำวชน ดำเนนิ กำรจดั ซือ้
นมกลอ่ งตั้งแตเ่ ดอื นตุลำคม 2552 ถงึ เดือนกันยำยน 2553 ได้จดั ซื้อนมกล่องขนำด 250 มลิ ลลิ ิตร จำนวน
3,039,837 กล่อง รำคำกล่องละ 9.50 บำท รวมเป็นเงินจดั ซ้อื 28,878,551.50 บำท หำกเปรยี บเทยี บรำคำจัดซอ้ื
นมกล่องทผี่ ำ่ นมำกรมพินิจและคมุ้ ครองเดก็ และเยำวชนจัดซือ้ นมกล่องขนำด 250 มิลลิลติ ร รำคำกลอ่ งละ 11 บำท
ดงั น้นั กระทรวงยตุ ธิ รรมสำมำรถประหยดั งบประมำณจำกวธิ ีกำรเดิมไดถ้ งึ 4,559,755.50 บำท (ส่ีลำ้ นห้ำแสน
หำ้ หมนื่ เก้ำพันเจ็ดรอ้ ยห้ำสิบห้ำบำทห้ำสิบสตำงค์)

35

2.3 กำรจัดซ้ือผลไม้ กระทรวงยุตธิ รรม โดยกรมรำชทณั ฑด์ ำเนนิ กำรให้ เรอื นจำ/ทณั ฑสถำน จำนวน 32
แหง่ ทดลองนำรอ่ งจดั ซ้ือผลไม้ระหว่ำงเดอื นตลุ ำคม–ธันวำคม 2552 ผลกำรจดั ซอ้ื ผลไมเ้ ป็นเงินทง้ั สนิ้
1,606,945.66 บำท (หนึง่ ล้ำนหกแสนหกพันเกำ้ ร้อยสสี่ บิ ห้ำบำทหกสบิ หกสตำงค์) เรอื นจำ/ทณั ฑสถำน ทว่ั ประเทศ
จำนวน 142 แหง่ ทดลองจดั ซ้ือผลไม้ในช่วงปกตติ ้งั แตเ่ ดอื นมกรำคม –31 กรกฎำคม 2553 ผลกำรจดั ซือ้ ผลไมเ้ ป็น
เงินทั้งสิน้ 25,005,747.57 บำท (ยี่สิบหำ้ ล้ำนห้ำพันเจด็ ร้อยสส่ี บิ เจ็ดบำทห้ำสบิ เจ็ดสตำงค)์ เรือนจำและทัณฑสถำน
จำนวน 36 แห่ง ช่วยเหลอื เกษตรกรในจังหวดั จนั ทบุรแี ละจังหวัดระยอง ซอื้ เงำะในช่วงภำวะผลไมล้ ้นตลำดเดอื น
พฤษภำคม – มิถุนำยน 2553 ผลกำรจัดซื้อปริมำณ 394,660.5 กโิ ลกรมั (394.6 ตัน) เป็นเงิน 4,735,926 บำท
(สล่ี ้ำนเจด็ แสนสำมหม่นื ห้ำพันเกำ้ รอ้ ยยี่สิบหกบำทถว้ น) เรือนจำและทัณฑสถำน จำนวน ๒๙ แหง่ ช่วยเหลอื
เกษตรกรในจงั หวดั ชมุ พร ซ้ือมงั คดุ ในชว่ งภำวะผลไมล้ น้ ตลำดและมีรำคำตกต่ำเดือนกรกฎำคม – สงิ หำคม 2553
ผลกำรจัดซือ้ ในปริมำณ 771,584 กิโลกรมั (771.5 ตัน) เปน็ เงิน 14,596,439 บำท (สบิ สล่ี ำ้ นห้ำแสนเก้ำหมื่น
หกพนั สีร่ ้อยสำมสิบเกำ้ บำทถว้ น) ดงั นนั้ กระทรวงยุติธรรมดำเนินโครงกำรจดั ซอื้ ผลไม้เพ่ือช่วยเหลือเกษตรกร เปน็
จำนวนเงินท้ังสิ้น 45,945,058.23บำท (ส่สี ิบหำ้ ล้ำนเก้ำแสนส่ีหมนื่ หำ้ พันหำ้ สบิ แปดบำทย่สี บิ สำมสตำงค์)

36

13. ความย่งุ ยากในการดาเนินการ/ปญั หา/อปุ สรรค

1. ควำมยุง่ ยำกในกำรดำเนินกำร (ปญั หำ) แสดงใหเ้ ห็นงำนที่นำเสนอมคี วำมย่งุ ยำกหรือปญั หำ
ในกำรดำเนนิ กำรอยำ่ งไร

2. ควำมยุ่งยำกในกำรดำเนนิ กำร (อุปสรรค) แสดงให้เหน็ งำนทน่ี ำเสนอมีควำมยงุ่ ยำกหรอื
ปญั หำในกำรดำเนินกำรอย่ำงไร

ตวั อย่างความย่งุ ยากในการดาเนนิ การ/ปญั หา/อุปสรรค

ความยงุ่ ยากในการดาเนนิ การ
1. ในช่วงระยะเริ่มต้น เนื่องจำกเป็นช่วงต้นปีงบประมำณ ต้องรีบดำเนินกำรให้ทันภำยในวันท่ี 1 ตุลำคม

2552 โดยภำยใตร้ ะยะเวลำทจ่ี ำกดั กำรดำเนินกำรจัดซ้ือจัดจ้ำงตำมมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 29 กันยำยน 2552
ซึ่งต้องอำศยั กระบวนกำรและระยะเวลำในกำรจัดทำคำขออนุมัติจัดซ้ือจัดจ้ำง เพื่อให้หัวหน้ำส่วนรำชกำรพิจำรณำ
อนุมัติวงเงินในกำรจัดซื้อจัดจ้ำง และอนุมัติกำรจัดซ้ือจัดจ้ำง ซึ่งอำจไม่ทันในวันที่ 1 ตุลำคม 2552 ดังนั้น จึงต้อง
รวบรวมข้อมูลปริมำณควำมต้องกำรข้ำวสำร และนมกล่องของเรือนจำ ทัณฑสถำน สถำนพินิจฯ ศูนย์ฝึกฯ อย่ำง
เร่งดว่ น เพือ่ ให้องค์กำรคลังสินค้ำ (อคส.) และองค์กำรส่งเสริมกิจกำรโคนมแห่งประเทศไทย (อ.ส.ค.) ดำเนินกำร
จัดส่งขำ้ วสำรและนมกล่องใหก้ บั กรมรำชทัณฑ์ และกรมพนิ จิ ฯ เพื่อใหน้ กั โทษ ผู้ต้องขัง เด็กและเยำวชนได้มีขำ้ วสำร
และนมกลอ่ งสำหรับบรโิ ภคอย่ำงต่อเน่ือง

2. กำรจัดซื้อข้ำวสำร 5% ข้ำวสำรเหนียว 10% เป็นกำรดำเนินกำรร่วมกับองค์กำรคลังสินค้ำ (อคส.)
กระทรวงพำณชิ ย์ โดยเปน็ กำรดำเนนิ กำรจดั ซ้ือในภำพรวมทั้งประเทศ ดังนั้น จึงต้องรวบรวมปริมำณควำมต้องกำร
ท่ีแท้จริงของเรือนจำ ทัณฑสถำน สถำนพินิจ และศูนย์ฝึกฯ ที่อยู่ในควำมดูแลของกรมรำชทัณฑ์และกรมพินิจและ
คุ้มครองเด็กและเยำวชนจำกทั่วประเทศ ซ่ึงต้องใช้กำรคำนวณปริมำณกำรใช้ข้ำวสำร 5% ข้ำวสำรเหนียว 10%
ตำมหลกั โภชนำกำร สัดส่วนของนักโทษ ผู้ต้องขัง ผู้ถูกควบคุม ในแต่ละแห่งซ่ึงมีควำมแตกต่ำงกันตำมสภำพพ้ืนท่ีและ
ตำมปรมิ ำณกำรบริโภคที่ต่ำงกัน ซึ่งต้องมีกำรคำนวณอย่ำงละเอียดภำยใต้ระยะเวลำท่ีจำกัด และพบว่ำสถำนพินิจ
และคุ้มครองเด็กและเยำวชนซึ่งอยู่ในควำมดูแลของกรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยำวชน จำนวน 46 แห่ง มี
จำนวนเดก็ นอ้ ย ไม่เพียงพอต่อกำรจัดกำรประกอบอำหำร จึงต้องใช้กำรจัดซอื้ อำหำรปรุงสำเรจ็ แทน

3. กำรจดั ซอ้ื นมกล่องขนำด 250 มลิ ลิลติ ร เป็นกำรดำเนนิ กำรร่วมกับองค์กำรส่งเสรมิ กจิ กำรโคนมแห่งประเทศ
ไทย (อ.ส.ค.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยเป็นกำรจัดซ้อื ในภำพรวมทั้งประเทศ ดังนนั้ จึงต้องรวบรวมปรมิ ำณ
ควำมตอ้ งกำรที่แทจ้ ริงของสถำนพินิจ และศนู ยฝ์ ึกฯ ท่ีอยูใ่ นควำมดูแลของกรมกรมพนิ จิ และค้มุ ครองเด็กและเยำวชน
จำกทั่วประเทศ ซ่งึ ตอ้ งใช้กำรคำนวณปริมำณกำรบริโภคนมกลอ่ งตำมหลกั โภชนำกำรจำกจำนวนผ้เู ขำ้ รบั กำรฝึกและ
อบรมในแต่ละแห่งซงึ่ มีควำมแตกตำ่ งกันตำมสภำพพืน้ ทแี่ ละตำมปรมิ ำณกำรบรโิ ภคที่ตำ่ งกัน ซงึ่ ตอ้ งมกี ำรคำนวณ
อยำ่ งละเอียดภำยใตร้ ะยะเวลำท่จี ำกัด และพบว่ำสถำนพินิจและคุม้ ครองเดก็ และเยำวชนซึ่งอยใู่ นควำมดูแลของ
กรมพินิจและค้มุ ครองเดก็ และเยำวชนจำนวน 46 แหง่ มจี ำนวนเด็กนอ้ ยทำใหม้ กี ำรบรโิ ภคนมกลอ่ งปริมำณนอ้ ย
ดว้ ย ซ่งึ ไมค่ ุ้มค่ำกับกำรขนสง่ ในแตล่ ะคร้งั จงึ ต้องใหส้ ถำนพินิจฯ ทงั้ 46 แหง่ จดั ซ้อื นมกลอ่ งของแตล่ ะแหง่ เอง

37

ตวั อยา่ งความยุ่งยากในการดาเนินการ/ปัญหา/อุปสรรค

ปญั หา อุปสรรค
1. กำรจดั ซ้ือข้ำวสำร พบปัญหำในกำรขนกระสอบข้ำวสำรลงจำกรถไปยังสถำนที่จัดเก็บ ซึ่งทำงตัวแทนผู้

ขนขององค์กำรคลังสินค้ำ (อคส.) สง่ ไมไ่ ดเ้ ตรยี มคนขนมำดว้ ย ทำให้ทำงเรอื นจำ ทัณฑสถำน สถำนพินิจฯ ศูนย์ฝึกฯ
และศูนย์แรกรับฯ ต้องนำผู้ต้องขัง ผู้ถูกควบคุมฯ ช่วยขนลง และยังพบปัญหำในบำงเรือนจำ ทัณฑสถำน สถำนพินิจฯ
ศูนย์ฝึกฯ และศูนย์แรกรับฯ บำงแห่งมีคุณภำพข้ำวสำรเหมือนเป็นข้ำวเก่ำที่เก็บไว้นำน พบมอด กรวด และมีกล่ินอับชื้น
ซึ่งทำงกรมรำชทัณฑ์ และกรมพินิจฯ ได้แจ้ง อคส. เพ่ือดำเนินกำรจัดเตรียมคนขนข้ำวสำรลง เปลี่ยนข้ำวสำรใหม่ และ
กำชบั เจำ้ หนำ้ ท่ีตรวจรบั ให้มีกำรตรวจรับสนิ ค้ำอยำ่ งละเอียดมำกขึน้

2. กำรจดั ซื้อนมกลอ่ ง พบปญั หำในกำรขนส่งนมกล่อง พบว่ำสถำนพินิจฯ ศูนย์ฝึกฯ และศูนย์แรกรับฯ บำงแห่งท่ี
พบนมบูด โดยมีสำเหตุจำกกำรขนส่งของลังที่ทับซ้อนกัน และกำรโยนกระแทกทำให้กล่องบุบ แตก อำจทำให้นม
กล่องบูดได้ ซึ่งทำงสถำนพินิจฯ ศูนย์ฝึกฯ และศูนย์แรกรับฯ ได้กำชับให้ขนส่งอย่ำงระมัดระวัง และแจ้งทำง อ.ส.ค.
ดำเนินกำรเปลยี่ นสินคำ้ ตอ่ ไป

3. กำรจัดซ้อื ผลไม้ พบวำ่ บำงจงั หวดั มีจำนวนเกษตรกรท่เี ข้ำร่วมโครงกำรนอ้ ย เพรำะเกษตรกรบำงรำยมี
ปริมำณผลผลิตนอ้ ยไม่เพยี งพอกับควำมตอ้ งกำรของเรือนจำ/ทัณฑสถำน ทำใหต้ อ้ งรวมกนั เปน็ กลมุ่ เกษตรกร เพือ่
จำหน่ำยใหเ้ พยี งพอกับควำมต้องกำรของเรือนจำ/ทณั ฑสถำนตอ่ ไป

38

14. ขอ้ เสนอแนะ

1. ข้อเสนอแนะต้องเปน็ ข้อเสนอแนะทไ่ี ดจ้ ำกผลกำรวเิ ครำะหห์ รือผลกำรดำเนนิ กำรที่ตอบ
วตั ถุประสงค์กำรดำเนนิ กำร อยำ่ งน้อยข้อเสนอแนะจะต้องมีจำนวนข้อเสนอตำมวัตถปุ ระสงค์กำร
ดำเนนิ กำรหรอื ประเด็นจำกผลกำรดำเนินกำรนัน้ ๆ

2. ขอ้ เสนอแนะจะเสนอในขอบเขตท่ีไดจ้ ำกผลกำรวิเครำะห์หรือผลกำรดำเนินกำรเท่ำน้ัน
ไมเ่ สนอแนะออกนอกกรอบผลกำรวิเครำะหห์ รือผลกำรดำเนนิ กำร

ตวั อย่างข้อเสนอแนะ

ขอ้ เสนอแนะ
เชงิ นโยบาย
1. สำนกั งำนปลัดกระทรวงยุตธิ รรมดำเนนิ กำรวำงระบบจดั ซือ้ อำหำรฯ แล้ว ควรมอบใหก้ รมรำชทณั ฑ์และกรม

พินิจและค้มุ ครองเด็กและเยำวชนดำเนินกำรจัดซื้อข้ำวสำร นม และผลไม้ ตำมมติคณะรัฐมนตรี เพื่อควำมสะดวก
รวดเร็วและเกดิ ควำมเปน็ เอกภำพตอ่ ไป

2. สำนักงำนปลัดกระทรวงยุติธรรม ควรประชุมชี้แจงแนวทำงปฏิบัติ เพื่อให้เกิดกำรแปลงนโยบำยไปสู่กำร
ปฏิบัติอย่ำงเปน็ รูปธรรมย่งิ ขน้ึ

เชงิ ปฏบิ ัตกิ าร
1. สำนกั งำนปลัดกระทรวงยุติธรรม ควรติดตำมและประเมนิ ผลกำรดำเนินกำรจดั ซ้ือข้ำวสำร นม และผลไม้
ของกรมรำชทัณฑ์และกรมพินิจและคุ้มครองเดก็ และเยำวชน เพ่อื พฒั นำระบบกำรจดั ซื้อให้มปี ระสิทธภิ ำพต่อไป
2. สำนกั งำนปลดั กระทรวงยุตธิ รรม ควรประเมินผลดำเนินกำรจัดซือ้ ขำ้ วสำร นม และผลไม้ จำกคู่ค้ำ รวมถึง
นกั โทษ ผตู้ อ้ งขัง ผู้ถูกควบคุม และผูเ้ ข้ำรบั กำรฝึกและอบรมในกำรนำขอ้ มูลมำปรับปรุงระบบกำรจัดซอื้ ให้มี
ประสิทธภิ ำพย่งิ ขึน้ ต่อไป

39

15. เอกสารอา้ งองิ /บรรณานกุ รม

ตัวอย่างบรรณานกุ รม

กระทรวงกำรตำ่ งประเทศ กรมองค์กำรระหว่ำงประเทศ. ปฏญิ ญาสากลวา่ ดว้ ยสิทธมิ นษุ ยชน. เข้ำถึงขอ้ มูล
ได้จำก www.mfa.go.th/humanrights/images/stories/book.pdf. วนั ที่สบื คน้ 11 มิถุนำยน
2556.

กรมรำชทณั ฑ์ กลุม่ งำนพัฒนำระบบดำ้ นทัณฑวิทยำ. การวจิ ยั เร่ืองการปฏบิ ัติต่อผ้ตู อ้ งขังตามกฎ มาตรฐาน
ขน้ั ต่าขององค์การสหประชาชาต.ิ เขำ้ ถงึ ข้อมลู ไดจ้ ำก www.correct.go.th/chairat.
วันที่สืบค้น 11 มถิ นุ ำยน 2556.

สำนักนำยกรัฐมนตร.ี ระเบียบสานักนายกรฐั มนตรวี า่ ด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และท่ีแก้ไขเพม่ิ เตมิ .
เข้ำถึงข้อมลู ได้จำก www.parliament.go.th. วันท่ีสบื ค้น 11 กุมภำพันธ์ 2556.

สำนกั เลขำธิกำรคณะรฐั มนตรี. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการเสนอเรอ่ื งและการประชุมคณะรฐั มนตรี พ.ศ. 2548.
เข้ำถึงข้อมูลไดจ้ ำก www.cabinet.thaigov.go.th. วนั ท่ีสืบค้น 11 กุมภำพันธ์ 2556.

สำนักเลขำธิกำรคณะรัฐมนตร.ี ระเบยี บว่าดว้ ยหลกั เกณฑ์และวิธกี ารเสนอเรอ่ื งต่อคณะรัฐมนตรี พ.ศ. 2548.
เข้ำถึงขอ้ มลู ไดจ้ ำก www.cabinet.thaigov.go.th. วนั ท่ีสบื คน้ 11 กุมภำพนั ธ์ 2556.

ทฤษฎรี ะบบ. เขำ้ ถึงขอ้ มลู ได้จำก www.sobkroo.com/img_news/file/A52006972.pdf. วันท่ีสบื คน้
11 มิถนุ ำยน 2556.

40

16. การรับรองผลงาน

ขอรับรองว่ำผลงำนดังกล่ำวขำ้ งต้นเปน็ ควำมจรงิ ทุกประกำร

ลงชอ่ื .........................................................

(.......................................................)

ผ้เู สนอผลงำน

...................../.................../...............

ขอรับรองว่ำสัดสว่ นหรือลกั ษณะงำนในกำรดำเนินกำรของผู้เสนอข้ำงตน้ ถูกตอ้ งตรงกบั ควำมจรงิ

ทุกประกำร

ลงชอื่ ....................................................... ลงชอื่ ........................................................

(......................................................) (......................................................)

ผู้ร่วมดำเนนิ กำร ผู้ร่วมดำเนินกำร

..................../................../.............. .................../.................../..............

ลงชอ่ื ....................................................... .... ลงช่อื ........................................................
(......................................................) (......................................................)
ผรู้ ว่ มดำเนินกำร ผรู้ ่วมดำเนินกำร
..................../................../.............. .................../.................../..............

ได้ตรวจสอบแล้วขอรบั รองวำ่ ผลงำนดังกลำ่ วถูกต้องตรงกบั ควำมเป็นจรงิ ทุกประกำร

ลงชือ่ .............................................................. ลงชื่อ........................................................
(......................................................) (......................................................)
ผู้อำนวยกำร....................................
ตำแหน่ง................................................... .................../.................../..............
..................../................../..............

(ผ้บู ังคับบัญชำท่ีควบคมุ ดูแลกำรดำเนินกำร)

41

สว่ นที่ 2 ขอ้ เสนอแนวความคิดเพอื่ พฒั นางานให้มีประสทิ ธิภาพ

42

ข้อเสนอแนวความคดิ เพ่ือพัฒนางานให้มีประสทิ ธิภาพ

หลักกำรหรือแนวทำงกำรเขียนข้อเสนอแนวควำมคิดเพื่อพฒั นำงำนใหม้ ีประสิทธภิ ำพ
เฉกเชน่ เดยี วกบั กำรเขียนผลงำนท่เี ปน็ ผลกำรดำเนินงำนทีผ่ ่ำนมำ

โครงสร้างข้อเสนอแนวความคดิ เพ่อื พฒั นางานให้มีประสทิ ธภิ าพ

1. ปกนอก
2. ปกใน
3. คำนำ
4. สำรบญั
5. ชอ่ื เรอื่ ง
6. หลกั กำรและเหตุผล
7. บทวเิ ครำะห/์ แนวควำมคิด
8. ขอ้ เสนอ
9. ผลท่ีคำดวำ่ จะได้รบั
10. ตัวชีว้ ดั ควำมสำเร็จ
11. เอกสำรอ้ำงอิง/บรรณำนุกรม

43

1. ปกนอก

ข้อเสนอแนวความคิด/วธิ ีการเพื่อพฒั นางานหรอื ปรับปรงุ งานใหม้ ี
ประสิทธิภาพมากขน้ึ

เรอ่ื ง
“การเพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการจดั ทาแผนปฏบิ ตั ริ าชการส่ีปี
และแผนปฏิบัตริ าชการประจาปี กระทรวงยตุ ิธรรม”

โดย

นายกฤษณ์ สถาปตั ยส์ ริ ิ
ตาแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ตั กิ าร
สานกั นโยบายและยุทธศาสตร์ สานักงานปลัดกระทรวงยตุ ิธรรม

เอกสารประกอบการขอประเมินของบคุ คล
เพอื่ แต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน

ระดบั ชานาญการ ตาแหน่งเลขท่ี ๑๕๑
กลุ่มนโยบายและยทุ ธศาสตร์ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์

สานักงานปลัดกระทรวงยุตธิ รรม
๒๕๕๖

44

2. ปกใน

ข้อเสนอแนวความคิด/วธิ ีการเพือ่ พฒั นางานหรอื ปรับปรงุ งานใหม้ ี
ประสิทธภิ าพมากขน้ึ

เร่อื ง
“การเพม่ิ ประสิทธิภาพในการจดั ทาแผนปฏบิ ตั ริ าชการส่ีปี
และแผนปฏิบัตริ าชการประจาปี กระทรวงยุติธรรม”

โดย

นายกฤษณ์ สถาปตั ยส์ ริ ิ
ตาแหน่งนักวเิ คราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ัตกิ าร
สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สานักงานปลัดกระทรวงยตุ ิธรรม

เอกสารประกอบการขอประเมินของบคุ คล
เพ่อื แต่งต้งั ให้ดารงตาแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน

ระดับชานาญการ ตาแหนง่ เลขท่ี ๑๕๑
กลมุ่ นโยบายและยุทธศาสตร์ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์

สานกั งานปลัดกระทรวงยุตธิ รรม
๒๕๕๖

45

3. คานา

ตัวอยา่ งคานา

คานา
ข้อเสนอแนวควำมคิดเรื่องกำรเพิ่มประสิทธิภำพในกำรจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรส่ีปี และแผนปฏิบัติ
รำชกำรประจำปี กระทรวงยตุ ิธรรมนี้ ได้จัดทำขน้ึ เพ่ือเป็นเอกสำรประกอบกำรขอรบั กำรประเมินของบุคคลเพื่อแต่งต้ังให้
ดำรงตำแหน่งนักวิเครำะห์นโยบำยและแผน ระดับชำนำญกำร ตำแหน่งเลขที่ ๑๕๑ กลุ่มนโยบำยและยุทธศำสตร์
สำนักนโยบำยและยทุ ธศำสตร์ สำนกั งำนปลัดกระทรวงยุติธรรม
ข้อเสนอแนวควำมคิด เรื่อง กำรเพิ่มประสิทธิภำพในกำรจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรสี่ปี และ
แผนปฏิบัติรำชกำรประจำปี กระทรวงยุติธรรมเพื่อขอรับกำรประเมินของบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง
นักวเิ ครำะหน์ โยบำยและแผน ระดบั ชำนำญกำรฯ น้ี ขอขอบคุณผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องทุกท่ำนเป็นอย่ำงยิ่งท่ีให้กำร
สนับสนนุ กำรจัดทำผลงำนในครัง้ น้ี

กฤษณ์ สถำปัตย์สริ ิ
มถิ นุ ำยน 2556

46

4. สารบญั

ตวั อย่างสารบญั หนำ้

1. ขอ้ เสนอแนวควำมคิด/วิธีกำรเพอ่ื พัฒนำงำนเรอื่ งกำรเพ่ิมประสทิ ธิภำพในกำรจัดทำ ...
แผนปฏิบตั ริ ำชกำรสีป่ แี ละแผนปฏบิ ตั ริ ำชกำรประจำปีประทรวงยตุ ธิ รรม......................................... ...
...
2. ช่อื ขอ้ เสนอแนวคิด/วิธีกำร................................................................................................................... ...
3. หลกั กำรและเหตผุ ล............................................................................................................................. ...
4. บทวเิ ครำะห/์ แนวควำมคดิ .................................................................................................................. ...
...
4.1 บทวิเครำะห.์ ................................................................................................................................ ...
4.2 แนวควำมคดิ ................................................................................................................................ ...
...
4.2.1........................................................................................................................................... ...
4.2.2........................................................................................................................................... ...
5. ขอ้ เสนอ...............................................................................................................................................
6. ผลที่คำดวำ่ จะไดร้ ับ..............................................................................................................................
7. ตวั ชวี้ ดั ควำมสำเร็จ..............................................................................................................................
8. เอกสำรอ้ำงอิง/บรรณำนกุ รม...............................................................................................................

สารบัญภาพ หน้ำ
ภำพท่ี ...
...
1 วงจรกระบวนกำรพฒั นำโครงกำรแบบมสี ว่ นรว่ ม..................................................................... ...
2 ควำมสัมพันธข์ องกำรตดิ ตำมงำน กำรสรปุ บทเรียนและกำรแระเมินผลแบบมีสว่ นรว่ ม........... ...
3 กำรประเมินผล.........................................................................................................................
4 กระบวนกำรตดิ ตำมประเมินผลแบบมสี ่วนรว่ ม........................................................................


Click to View FlipBook Version