The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 การสังเคราะห์ด้วยแสง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thanya Iew, 2022-10-08 07:23:28

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 การสังเคราะห์ด้วยแสง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 การสังเคราะห์ด้วยแสง

แผนการจดั การเรียนรู้

วิชาชวี วทิ ยา 3 ว32243
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 11 เรอ่ื ง การสังเคราะหด์ ว้ ยแสง
ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรยี นหนองวัวซอพิทยาคม

นางสาวธญั ญาเรศ ทบอาจ
รหัสประจาตัวนกั ศึกษา 61100147112

นักศกึ ษาฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพ สาขาวิทยาศาสตร์ (เน้นชีววิทยา)

การฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 1
รหัสวชิ า ED18501 (INTERSHIP IN SCHOOL 1)
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดรธานี
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565

แผนการจัดการเรียนรู้

วชิ าชวี วิทยา 3 ว32243
กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 11 เรอื่ ง การสังเคราะหด์ ว้ ยแสง
ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 โรงเรียนหนองววั ซอพทิ ยาคม

นางสาวธัญญาเรศ ทบอาจ
รหัสประจำตวั นกั ศึกษา 61100147112
นักศกึ ษาฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ สาขาวิทยาศาสตร์ (เนน้ ชีววิทยา)

การฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษา 1
รหสั วชิ า ED18501 (INTERSHIP IN SCHOOL 1)

คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี
ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565



คำนำ

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าชวี วิทยา 3 รหัสวชิ า ว32243 ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 เล่ม 3 นี้
จดั ทำข้ึนเพือ่ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการจัดการเรียนการสอนใหม้ ีประสิทธิภาพ และใหน้ กั เรียน บรรลุตาม
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) ผู้จัดทำจึงได้ศึกษาสาระการเรียนรู้ เทคนิค วิธีการสอน
การวัดและประเมนิ ผล มาจดั ทำแผนการจัดการเรียนร้ใู นคร้ังน้ี

แผนการจดั การเรยี นรใู้ นเลม่ 4 น้ี ประกอบไปดว้ ย แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่
10 เรื่อง การสังเคราะห์ดว้ ยแสง สื่อ นวัตกรรมและกิจกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรยี น
บรรลมุ าตรฐานการเรยี นร้ไู ดเ้ ต็มศกั ยภาพอย่างแท้จรงิ

จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ จะสามารถนำไปใช้ประกอบการจัดการ
เรียนการสอนรายวชิ าชีววิทยา 3 นำไปสกู่ ารพฒั นาทถ่ี ูกตอ้ งและเกดิ ผลแกผ่ ู้เรยี นเป็นอย่างดี

ธญั ญาเรศ ทบอาจ
8 ตลุ าคม 2565



สารบัญ
เรอื่ ง หนา้

คำนำ……………………………………………………………………………………………………………………………… ก
สารบัญ…………………………………………………………………………………………………………………………… ข
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 11 เรื่อง การสังเคราะหด์ ้วยแสง

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 17 เรอ่ื ง การศึกษาทีเ่ กี่ยวกบั การสังเคราะหด์ ้วยแสง…………….. 1
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 18 เร่ือง กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพชื
(พลงั งานแสงและสารสี)…………………………………………………………………………………………………… 17
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19 เรอ่ื ง กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื
(ปฏิกริ ิยาแสง)………………………….……………………………………………………………………………………… 37
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 20 เรื่อง กระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพืช
(การตรึงคารบ์ อน)…………………………………………………………………………………………………………… 54
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 21 เร่อื ง โฟโตเรสไพเรชัน……………………………………..………… 70
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 22 เรอ่ื ง การเพมิ่ ความเข้มขน้ ของ
แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์………………………………………………………………………………………………….. 85
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 23 เรอ่ื ง ปัจจัยบางประการทมี่ ผี ลตอ่
การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง…………………………………………………………………………………………………… 100
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 24 เรอ่ื ง ปัจจยั จำกดั และปจั จยั ของส่งิ แวดล้อมท่มี ีผลตอ่
กระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสง………………………………………………………………………………………. 115

1

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 17

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5
รายวชิ า ชวี วทิ ยา 3 รหสั ว 32243
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 11 การสังเคราะหด์ ้วยแสง เวลา 14 ชว่ั โมง
เร่ือง การศกึ ษาท่เี กย่ี วกบั การสังเคราะหด์ ้วยแสง เวลา 1 ชวั่ โมง
ภาคเรยี นที่ 1/2565
ครูผสู้ อน นางสาวธัญญาเรศ ทบอาจ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้ และผลการเรยี นรู้
สาระชีววิทยา 3 เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้ำของพืช การ

ลำเลียง ของพืช การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการ
ตอบสนองของพชื รวมท้ังนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ผลการเรียนรู้

12. สืบค้นข้อมูลและสรุปการศึกษาที่ได้จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตเก่ียวกบั
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

2. สาระสำคญั
นักวิทยาศาสตร์ในอดีตไดม้ ีการศกึ ษาเก่ียวกับการสังเคราะห์ดว้ ยแสงจนสรุปไดว้ ่า CO2 และ

น้ำเป็นวัตถดุ ิบทีส่ ำคัญในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพชื โดยพืชจะใช้แสงในกระบวนการสังเคราะห์
ด้วยแสงได้ผลติ ภัณฑ์คือ O2 และนำ้ ตาล บรเิ วณท่เี กดิ การสังเคราะหด์ ว้ ยแสงภายในเซลล์พืชอยู่ท่ีคลอ
โรพลาสตโ์ ดยในคลอโรพลาสต์มโี ครงสร้างสำคญั คอื ไทลาคอยด์ท่ีมีสารสเี ป็นตวั รบั พลงั งานแสง และ
สโตรมาซง่ึ มเี อนไซมต์ า่ ง ๆ ทจ่ี ำเป็นตอ่ ปฏิกริ ิยาตา่ ง ๆ ในกระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง

3. สาระการเรียนรู้
- การศึกษาของนกั วิทยาศาสตร์ในอดตี เกีย่ วกบั กระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสง

4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. ด้านความรู้ (K)
อธิบายการศกึ ษาท่ไี ด้จากการทดลองของนกั วิทยาศาสตร์ในอดตี เกีย่ วกบั กระบวนการ

สังเคราะหด์ ว้ ยแสงได้

2

2. ด้านทักษะกระบวนการ (P)
สืบคน้ ขอ้ มลู จากการทดลองของนกั วิทยาศาสตร์ในอดีตเกีย่ วกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วย

แสงได้
3. ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)
มีความกระตอื รอื รน้ และความอยากรูอ้ ยากเห็น

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
รปู แบบการสอนทใ่ี ช้ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ คอื การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E
1. ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement)
นักเรียนตอบคำถามเก่ียวกับกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสง โดยครใู ช้รปู นำบทใน

หนงั สือเรยี นชีววทิ ยา ม.5 เล่ม 3 และตั้งประเดน็ คำถามใหเ้ พื่อทบทวนความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี น ดงั น้ี

รปู นำบทจากหนังสอื เรยี นชีววทิ ยา ม.5 เล่ม 3
รปู สาหร่ายหางกระรอก

- ฟองแกส๊ ในภาพเกดิ จากอะไร เป็นแกส๊ อะไร
- อวยั วะใดของพชื ท่ที ำหน้าที่หลักในการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง
- การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพืชจำเป็นต้องมีปัจจยั ใดบ้าง
- ผลผลิตทีไ่ ดจ้ ากการสังเคราะห์ด้วยแสงคืออะไร
(แนวคำตอบ ใบพืชเป็นอวัยวะทีส่ ำคัญทท่ี ำหน้าท่ีในกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง
เนื่องจากใบพืชมีสารสีต่าง ๆ โดยเฉพาะคลอโรฟิลล์ซง่ึ จำเป็นต่อกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง โดย
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ้นในคลอโรพลาสต์ จำเป็นต้องใช้แสง น้ำ และ CO2 และได้
น้ำตาลและ O2 เป็นผลผลิต โดยเขียนเป็นสมการเคมี แสดงกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพชื
ดังนี้)

3

6CO2 + 6H2O แสง C6H12O6 + 6O2

คลอโรพลาสต์

2. ข้นั สำรวจและคน้ หา (Exploration)
2.1 นักเรยี นพิจารณาแผนภาพสมการเคมแี สดงกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพืช

และตอบคำถาม โดยครูใชค้ ำถาม ดงั น้ี

6CO2 + 6H2O แสง C6H12O6 + 6O2

คลอโรพลาสต์

- ความร้ทู นี่ ำไปสู่การสรปุ เป็นสมการเคมีแสดงกระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสงของ
พืชเกดิ ข้ึนได้อยา่ งไร

- นักเรยี นคดิ วา่ O2 ที่เกดิ ขึ้นมาจากอะตอมออกซิเจนของ CO2 หรอื มาจากอะตอม
ออกซเิ จนของ H2O เพราะเหตใุ ด

2.2 นักเรียนทำกิจกรรมสืบค้นขอ้ มลู ของนกั วิทยาศาสตร์ในหนังสอื เรียนแลว้ เขยี นสรปุ ลง
ในสมุด ยกตัวอย่างเช่น การทดลองของ แวน นีล, แซม รูเบน, แวนเฮลมอง, โจเชฟ พริสต์ลีย์, แจน
อนิ เก็นฮูซ และนิโคลาส เดอ โซซูร์ จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นทำแบบฝึกหัดในหนงั สือเรียนชีววิทยา ม.5 เล่ม
3 หนา้ 135

3. ขัน้ อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation)
3.1 นักเรียนและครูร่วมกนั อธบิ ายและลงข้อสรปุ การศกึ ษาคน้ คว้าเกย่ี วกบั กระบวนการ

สงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของนักวทิ ยาศาสตร์
3.1.1.แวน นีล ได้ทดลองโดยใช้แบคทเี รียทสี่ ามารถสงั เคราะห์ดว้ ยแสงโดยไมใ่ ชน้ ้ำ

แต่ใช้ไฮโดรเจนซลั ไฟด์แทน ซึ่งจากผลการทดลองไม่เกิด O2 แต่เกิดซัลเฟอร์ขึ้นแทน ดังนั้นจะตอ้ งมี
การสลายแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์แล้วได้ซัลเฟอร์ ซึ่งหากนำการทดลองดังกล่าวเทียบเคียงกับการ
สังเคราะห์ดว้ ยแสงของพชื ซึ่งใช้นำแทนแกส๊ ไฮโดรเจนซลั ไฟด์ น่าจะเปน็ ไปได้ว่า มีการสลายตัวของน้ำ
แล้วได้ O2 เกิดข้ึน

จากการทดลองของรูเบนและคาเมน จะสรุปผลการทดลองไดว้ ่า O2 ทเี่ กดิ ขึน้
ในการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงไมไ่ ดม้ าจาก CO2 แต่ไดม้ าจากน้ำ

3.2 ครูเพิ่มเติมความรู้ใหก้ บั นักเรียนเกย่ี วกับการศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเพือ่ แสดง
ใหน้ กั เรยี นเห็นถงึ ภาพรวมของการศกึ ษาคน้ คว้าทีด่ ำเนินมาอย่างตอ่ เนือ่ งในช่วงศตวรรษท่ี 17-20

4

3.2.1 การศกึ ษาของฌอง แวน เฮลมองท์

รปู การศกึ ษาของฌอง แวน เฮลมองท์

ข้อสรปุ ของฌอง แวน เฮลมองท์
วตั ถดุ ิบที่ใช้ ตน้ หลิว และน้ำ
ผลท่ีได้ น้ำหนกั ของต้นหลวิ ทีเ่ พ่ิมขน้ึ
ขอ้ สรุป นำ้ หนกั ของตน้ หลวิ ทเี่ พิม่ ข้นึ นนั้ มาจากน้ำเพยี งอยา่ งเดยี ว
3.2.2 การศกึ ษาของโจเซฟ พรสิ ต์ลีย์ สรุปวา่ ตอนที่ 1 แกส๊ ท่ีทำให้เทียนไขดบั เป็น
แก๊สทีท่ ำใหห้ นูตาย และแก๊สที่ทำให้หนูตายเป็นแก๊สที่ทำให้เทียนไขดบั ตอนที่ 2 จากการสรุปผลการ
ทดลองพืชสามารถทำให้แก๊สที่ได้จากการลุกไหม้ (อากาศเสีย) เป็นแก๊สที่ทำให้เกิดการลุกไหม้
(อากาศด)ี ไดอ้ ีก

การทดลองที่ 1

รปู การศกึ ษาของโจเซฟ พรสิ ต์ลยี ์

5

การทดลองที่ 2

รปู การศกึ ษาของโจเซฟ พรสิ ต์ลีย์

3.3.3 การศกึ ษาของแจน อนิ เกน็ ฮูซ สรุปไดว้ ่าการทีพ่ ชื จะเปลยี่ นอากาศเสยี ให้เป็น
อากาศดีไดพ้ ชื ตอ้ งไดร้ ับแสง

รปู การศกึ ษาของแจน อินเก็นฮซู

3.3.4 การศึกษาของนิโคลาส เดอ โซซูร์ จงึ สันนิษฐานวา่ น้ำหนกั ของพืชทเ่ี พมิ่ ขึน้
บางส่วนเป็นนำ้ หนกั ทีพ่ ืชได้รับจากนำ้

รปู การศกึ ษาของนโิ คลาส เดอ โซซูร์

4. ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration)
ครูใหน้ ักเรียนสมมตติ นเองเปน็ นักวทิ ยาศาสตรใ์ นอดตี และเสนอคำถามทค่ี ิดว่า

นกั วิทยาศาสตร์ในสมัยนั้นสงสัยเก่ียวกับกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงในเร่ืองใดบ้าง ซึ่งคำถามของ
นกั เรียน เป็นดงั น้ี

- กระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงเกดิ ขึ้นท่ีส่วนใดของพืช
- พชื ตอ้ งการสงิ่ ใดในการสงั เคราะหด์ ้วยแสงบ้าง
- กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงมีขั้นตอนอย่างไร

6

- พืชนำพลงั งานแสงไปใช้ในกระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสงอย่างไร
- พืชนำ CO2 ไปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงอยา่ งไร
- คลอโรฟิลล์และน้ำมีบทบาทอยา่ งไรในกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสง

5. ขัน้ ประเมนิ (Evaluation)
5.1 สงั เกตพฤตกิ รรมขณะทำกจิ กรรมร่วมกับผู้อน่ื ในห้องเรียน
5.2 นักเรยี นรว่ มกนั ตอบคำถามท่ีครูถามเพอื่ ทดสอบความเขา้ ใจ โดยมีแนวคำถาม ดงั น้ี
- นกั วทิ ยาศาสตรไ์ ดศ้ ึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับกระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงอย่างไร
(แนวคำตอบ ทดลองปลูกต้นไม้ในสภาวะต่าง ๆ โดยศึกษาผลลพั ธท์ ี่เกิดข้ึนจากน้ำหนกั

ของต้นไม้ การดำรงอยู่ได้ของสิ่งมีชีวิต เช่น หนู รวมทั้งผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นจากสภาพแวดล้อมท่ี
แตกตา่ งกนั เช่น น้ำ แสง)

- จากการทดลองของนักวิทยาศาสตรห์ ลายท่านสามารถสรุปได้หรือไมว่ ่า แสงเป็นปัจจัย
สำคัญตอ่ กระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสง

(แนวคำตอบ ได้ เนอ่ื งจากการทดลองของแจน อนิ เกน็ ฮซู (Jan IngenHousz) แสดงให้
เห็นว่า แสงเป็นปัจจัยสำคัญของกระบวนสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช หากไม่มีแสง พืชไม่สามารถ
เปลยี่ นอากาศเสียให้เปน็ อากาศดีได้ หรือทำใหห้ นดู ำรงชีวิตอย่ไู ด้ ซงึ่ สนับสนุนการทดลองของโจเซฟ
พริสต์ลยี ์ (Joseph Priestley) และการทดลองของนกั วิทยาศาสตร์ท่านอื่นต่อมาจนกระท่งั ปัจจุบัน)

6. ส่ือ / แหล่งเรยี นรู้
1. หนังสอื เรียนรายวชิ าเพ่มิ เตมิ วิทยาศาสตรช์ ีววทิ ยา เลม่ 3 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 สสวท.
2. เพาเวอรพ์ อยต์ เร่ือง การศกึ ษาท่เี กย่ี วกบั การสงั เคราะห์ด้วยแสง

7. ชิน้ งาน/ภาระงาน
1. แบบฝึกหัดในหนงั สือเรยี นชีววทิ ยา ม.5 เลม่ 3 หนา้ 135
2. กิจกรรมสืบค้นข้อมูลและสรุปจากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตเกี่ยวกับ

กระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง

7

8. การวัดและประเมนิ ผล

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ วี ดั ผล เคร่ืองมือวัด เกณฑก์ ารผ่าน
จดุ ประสงค์

ด้านความรู้ (K)
อธบิ ายการศกึ ษาทไี่ ด้จากการทดลอง - สงั เกตจากการ
ของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตเกี่ยวกับ ตอบคำถามและ
แสดงความคิดเห็น แบบฝกึ หดั ใน ระดับคุณภาพพอใช้
กระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสงได้ - ตรวจแบบฝึกหดั หนังสือเรียน ข้นึ ไปถือว่าผา่ นเกณฑ์
ชวี วทิ ยา ม.5 เล่ม
ในหนังสือเรยี น 3 หน้า 135

ชวี วทิ ยา ม.5 เลม่

3 หน้า 135

ด้านทักษะกระบวนการ (P) - การปฏบิ ตั ิ กจิ กรรมสืบค้น ผา่ นเกณฑ์ระดับดขี นึ้
สืบค้นขอ้ มูลจากการทดลองของ ข้อมลู และสรุปจาก ไป
นกั วทิ ยาศาสตร์ในอดตี เกย่ี วกับ กจิ กรรม การทดลองของ
นักวทิ ยาศาสตร์ใน
กระบวนการสงั เคราะหด์ ้วย - สงั เกตจากการ อดตี เกย่ี วกบั
แสงได้ ตอบคำถามและ กระบวนการ
แสดงความคิดเห็น สังเคราะหด์ ว้ ยแสง

ดา้ นคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ (A) ประเมนิ แบบประเมิน ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 70
มคี วามกระตือรอื รน้ และความอยากรู้ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ คณุ ลักษณะอนั พึง ขึ้นไป
อยากเห็น
ประสงค์ ประสงค์

8

9

เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการทำแบบฝึกหัด

ประเดน็ การประเมิน คําอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน

4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

ทำแบบฝกึ หดั ถกู ต้อง ทำแบบฝกึ หัดถกู ต้อง ทำแบบฝกึ หัดถกู ต้อง ทำแบบฝกึ หดั ถูกตอ้ ง

ความถูกตอ้ ง ร้อยละ 80 ขึ้นไป ร้อยละ 65 – 79 รอ้ ยละ 50 - 64 น้อยกว่ารอ้ ยละ 50

ทำแบบฝกึ หดั มีความ ทำแบบฝกึ หดั มีความ ทำแบบฝกึ หดั เป็น ทำแบบฝกึ หดั เป็น
ระเบียบ สะอาด
ความเป็นระเบยี บ เป็นระเบียบ สะอาด เป็นระเบียบ สะอาด ระเบียบ สะอาด เรียบร้อยพอใช้
ความตรงตอ่ เวลา
เรยี บรอ้ ยดมี าก เรยี บรอ้ ยดี เรยี บรอ้ ยปานกลาง สง่ แบบฝึกหดั ล่าชา้
กว่าเวลาท่ีกำหนด
สง่ แบบฝกึ หัดทันตาม สง่ แบบฝึกหดั ลา่ ช้ากวา่ สง่ แบบฝึกหดั ล่าช้า มากกว่า 3 วนั

เวลาที่กำหนด เวลาท่ีกำหนดไป 1 วนั กว่าเวลาที่กำหนดไป

3 วัน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ
0 - 4 ควรปรบั ปรุงอยา่ งยิง่
5 - 6 ควรปรบั ปรงุ
7 - 8 พอใช้
9 – 10 ดี
11 - 12 ดีมาก

เกณฑก์ ารผ่าน ระดับคณุ ภาพพอใช้ขึ้นไปถอื ว่าผ่านเกณฑ์

10

11

เกณฑ์การประเมนิ การปฏิบตั ิกิจกรรม

ประเด็นทป่ี ระเมิน ระดบั คะแนน
1. การปฏิบตั ิ
กจิ กรรม 4 32 1
ทำกิจกรรมตาม ต้องใหค้ วาม
1. ความ ขนั้ ตอน และใช้ ทำกิจกรรมตาม ต้องให้ความ ชว่ ยเหลอื อยา่ งมาก
คล่องแคล่ว อปุ กรณไ์ ดอ้ ยา่ ง ในการทำกิจกรรม
ในขณะ ถูกต้อง ขน้ั ตอน และใช้ ช่วยเหลือบ้างใน และการใชอ้ ปุ กรณ์
ปฏิบัติ
กิจกรรม มีความคล่องแคลว่ อุปกรณ์ได้อย่าง การทำกจิ กรรม ทำกจิ กรรมเสรจ็ ไม่
ในขณะทำกิจกรรม ทันเวลา และทำ
โดยไมต่ อ้ งได้รบั คำ ถูกต้อง แตอ่ าจตอ้ ง และการใชอ้ ุปกรณ์ อปุ กรณ์เสยี หาย
ชี้แนะ และทำ
กิจกรรมเสร็จ ได้รบั คำแนะนำ
ทันเวลา
บ้าง

มคี วามคลอ่ งแคล่ว ขาดความ

ในขณะทำกิจกรรม คล่องแคลว่ ในขณะ

แต่ตอ้ งไดร้ บั ทำกิจกรรมจงึ ทำ

คำแนะนำบ้าง และ กจิ กรรมเสร็จไม่

ทำกจิ กรรมเสร็จ ทันเวลา

ทันเวลา

2. การบนั ทึก บันทกึ และสรปุ ผล บันทกึ และสรุปผล ต้องใหค้ ำแนะนำใน ต้องใหค้ วาม
สรปุ และ การทำกิจกรรมได้ การทำกจิ กรรมได้ การบันทึก สรปุ ช่วยเหลืออยา่ งมาก

นำเสนอผล ถกู ต้อง รดั กุม ถูกตอ้ ง แต่การ และนำเสนอผล ในการบันทกึ สรุป
การปฏบิ ตั ิ นำเสนอผลการทำ นำเสนอผลการทำ การทำกจิ กรรม และนำเสนอผล
กจิ กรรม กจิ กรรมเป็น กจิ กรรมยังไม่เป็น
ขั้นตอน การทำกจิ กรรม
ขนั้ ตอนชดั เจน

เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ระดับคณุ ภาพ
ชว่ งคะแนน ดีมาก
10-12 ดี
7-9 พอใช้
4-6 ปรับปรุง
0-3

สรุป คะแนนรวม 0 - 7 คะแนน ไมผ่ ่าน

12

13

ตารางเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

ประเด็นการ คณุ ลกั ษณะของนกั เรียน
ประเมิน
3 2 1
1. มวี นิ ัย
- มีความตรงตอ่ เวลา มีความซือ่ สตั ย์ - มคี วามซือ่ สตั ยส์ ุจรติ - มีความตั้งใจทจ่ี ะ
2. มีความ สจุ ริต - มีความตั้งใจท่ีจะทำงาน ทำงาน
ใฝเ่ รยี นรู้ - มีความรบั ผดิ ชอบ มีความตัง้ ใจท่จี ะ - มีความรับผิดชอบ - รจู้ กั เสียสละ
ทำงาน - มีความอดทน - มีความซ่ือสตั ย์
- มเี คารพในสทิ ธขิ องผู้อน่ื ขยนั หมน่ั เพยี ร สุจริต
- มรี ะเบียบและปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ - รจู้ ักเสียสละ
- เห็นอก เหน็ ใจผ้อู ืน่ - เห็นอก เห็นใจผ้อู นื่ - เข้าร่วมกิจกรรม
- มคี วามอดทนขยันหมั่นเพยี ร การเรยี นรู้ตา่ ง ๆ
- รจู้ กั เสยี สละ รจู้ กั กาลเทศะ - เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
- เอาใจใส่และมคี วามพยายามในการ ตา่ ง ๆ
เรยี นรู้ - เอาใจใสแ่ ละมีความ
- ต้งั ใจในการเรียนรู้ พยายามในการเรยี นรู้
- เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรตู้ า่ ง ๆ -มกี ารบนั ทกึ ความรใู้ นระหว่าง
- มีการบันทึกความรูใ้ นระหว่างเรียน เรียน
- จดสรุปจากทค่ี รเู ขยี น

3. มีความ - เอาใจใสต่ อ่ การปฏบิ ัติหน้าทท่ี ไ่ี ด้รับ - ทุ่มเท อดทน ไม่ยอ่ ทอ้ ต่อ - ทุ่มเท อดทน ไม่
ม่งุ มน่ั ในการ มอบหมาย ปัญหาในการทำงาน ย่อท้อต่อปัญหาใน
ทำงาน - มีความตงั้ ใจและรับผิดชอบในการ - มกี ารปรับปรงุ และ การทำงาน
ทำงานใหส้ ำเรจ็ พฒั นาการทำงานด้วยตนเอง

- ทมุ่ เท อดทน ไม่ยอ่ ท้อต่อปัญหาใน - เอาใจใสต่ อ่ การปฏิบตั ิ
การทำงาน หน้าทที่ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย
- มีการปรับปรงุ และพฒั นาการทำงาน
ด้วยตนเอง

เกณฑ์การประเมิน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 มคี ะแนนมากกวา่ หรือเทา่ กบั 7
คะแนน 9-8 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5 คะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 70 มคี ะแนนน้อยกว่า 7
คะแนน 7 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4 คะแนน
คะแนน 6-5 คิดเป็นรอ้ ยละ 3 คะแนน

คะแนน 4 คดิ เปน็ ร้อยละ 2 คะแนน
คะแนน 3 คดิ เปน็ ร้อยละ 1 คะแนน
เกณฑค์ ณุ ภาพ
3 คะแนน ดี
2 คะแนน พอใช้
1 คะแนน ปรบั ปรงุ

14

15

16

17

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 18

กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5

รายวชิ า ชวี วทิ ยา 3 รหสั ว 32243

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 11 การสังเคราะหด์ ้วยแสง เวลา 14 ชว่ั โมง

เร่ือง กระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพชื (พลังงานแสงและสารส)ี เวลา 2 ชั่วโมง

ภาคเรียนที่ 1/2565 ครูผู้สอน นางสาวธญั ญาเรศ ทบอาจ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้ และผลการเรียนรู้
สาระชีววิทยา 3 เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้ำของพืช การ

ลำเลียงของพืช การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการ
ตอบสนองของพืชรวมท้งั นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์

ผลการเรียนรู้
13. อธิบายขัน้ ตอนทีเ่ กิดข้ึนในกระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสงของพชื C3

2. สาระสำคัญ
บริเวณที่เกิดการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงภายในเซลลพ์ ชื อยู่ที่คลอโรพลาสต์โดยในคลอโรพลาสต์มี

โครงสร้างสำคัญคือ ไทลาคอยด์ที่มีสารสีเป็นตัวรับพลังงานแสง และสโตรมาซึ่งมีเอนไซม์ต่าง ๆ ท่ี
จำเปน็ ต่อปฏิกริ ิยาตา่ ง ๆ ในกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสง

3. สาระการเรยี นรู้
- พลงั งานแสงและสารสี

4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
1. ด้านความรู้ (K)
อธิบายความสำคัญของแสง สารสี และความสามารถในการดูดกลืนแสงของสารสีใน

กระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงได้
2. ด้านทักษะกระบวนการ (P)
ปฏิบตั กิ ารทดลองสารสีและการดดู กลนื แสงของสารสีได้
3. ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
มีความกระตือรอื รน้ ในการทำงานและมีจิตสาธารณะ

18

5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
รูปแบบการสอนที่ใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ คอื การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E
1. ขน้ั สร้างความสนใจ (Engagement)
1.1 นกั เรียนดวู ิดีทศั น์การเกดิ ไซโคลซสิ (cyclosis) ในเชลล์สาหรา่ ยหางกระรอก ซึง่

เป็นการไหลของไซโตพลาซึม ท่ีครูเปิดเพื่อนำเข้าสู่บทเรียน โดยครูตั้งประเด็นในการอภิปรายถึง
ความสำคัญของคลอโรพลาสต์ และใช้คำถาม ดังนี้

- คลอโรพลาสต์มบี ทบาทสำคญั อย่างไรในการดำรงชวี ติ ของพืชและระบบนเิ วศบน
โลก (แนวคำตอบ คลอโรพลาสต์เป็นแหลง่ สร้างอาหารของพืชซงึ่ มีบทบาทสำคัญในการดำรงชีวิตของ
พืช โดยลำเลี้ยงอาหารไปสู่ส่วนต่างๆเพื่อใช้ในการเจริญเติบโต การสร้างอาหารของพืชยังเกิดแก๊ส
ออกซเิ จน ซง่ึ พืชนำไปใชใ้ นการหายใจของพืชเองและของสงิ่ มีชีวิตชนดิ อื่นดว้ ย สำหรบั บทบาทท่ีมีต่อ
ระบบนิเวศโลก คือ เป็นการเพิ่มปริมาณแก๊สออกซิเจน และลดปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ใน
บรรยากาศ เนื่องจากแก๊สคาร์บอนไดออกไชด์เป็นวัตถุดิบสำคัญที่พืชนำไปใช้ในการสังเคราะห์ด้วย
แสง สามารถลดภาวะเรอื นกระจกของโลก นอกจากนพ้ี ชื ยังทำหนา้ ที่เปน็ ผู้ผลิต (producer) ท่ีสำคัญ
ของระบบนิเวศอกี ด้วย )

2. ข้นั สำรวจและคน้ หา (Exploration)
2.1 นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ ออกเป็น 4 กลุม่ กลมุ่ ละ 4 คน ซึ่งครูแบ่งให้โดยคละความสามารถ

(อ่อน ปานกลาง เก่ง) ทำกจิ กรรมเสนอแนะ เรือ่ งสารสีและการดูดกลนื แสงของสารสี ในหนังสือเรียน
ชีววิทยา ม.5 เล่ม 3 จุดประสงค์ชองกิจกรรมเพื่อ 1) สกัดสารสีจากใบพืช และระบุสารสีที่สกัดได้
2) ทดสอบความสามารถในการดูดกลนื แสงของสี กอ่ นเร่ิมทำกิจกรรมครูตั้งคำถามถามนักเรยี นเพื่อให้
นักเรยี นทราบก่อนว่าจะต้องสงั เกตสงิ่ ใดบา้ งในการทำกิจกรรม โดยใช้คำถามดงั นี้

- สารสกดั จากใบพชื นา่ จะมีสีอะไร เพราะเหตุใดจึงมีสีนัน้
- หากนำสารสกัดจากใบพชื ไปแยกโดยโครมาโทกราฟี จะพบเฉพาะสีเขยี วเทา่ น้นั
หรือไม่
จากนนั้ นักเรยี นทำกิจกรรมและบนั ทกึ ผลการทดลองลงในสมดุ บนั ทึกโดยครชู ้แี นะ
ขอ้ สงสยั ระหวา่ งทำกิจกรรม
2.4 นกั เรยี นทำแบบฝกึ หัดทา้ ยกิจกรรมเสนอแนะ เรอ่ื งสารสีและการดดู กลืนแสงของ
สารสี ในหนงั สือเรยี นชีววทิ ยา ม.5 เล่ม 3 หน้า 141

3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรปุ (Explanation)
3.1 นักเรียนและครูร่วมกันลงข้อสรุปผลที่ได้จากการทำกิจกรรม เรื่องสารสีและการ

ดูดกลนื แสงของสารสี ดังนี้

19
- การดูดกลืนแสงของสารสกัดจากใบพืชโดยใชอ้ ุปกรณ์การดดู กลืนแสงอยา่ งงา่ ย

แสงสบี นแผ่นซีดี แสงสีบนแผ่นซีดี
กอ่ นวางสารสกัดจากใบพชื หลงั วางสารสกัดจากใบพืช

- การแยกสารสกดั จากใบพชื โดยโครมาโทกราฟี
การแยกสารสกดั จากใบพืชโดยโครมาโทกราฟเี ม่อื ใชป้ โิ ตรเลียมอเี ทอร์ : อะซีโตน
(9 : 1) เป็นตวั ทำละลาย

3.2 ครูอธิบายเพ่มิ เติมเก่ยี วกับพลังงานแสงและสารสีว่า พืชสามารถดดู กลืนแสงเพือ่ ใช้ใน
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยแสงเป็นพลังงานและเป็นรังสีในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
รวมทั้งมีสมบัติเป็นอนุภาค โดยครูใช้รูป 11.5 สเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าช่วงที่ตามนุษย์
มองเห็นได้ ในหนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เล่ม 3 เพื่ออธิบายเพิ่มเติมว่าแสงมีสมบัติเป็นอนุภาค
เรียกว่าโฟตอน ซงึ่ แสงท่ีตามนษุ ยม์ องเหน็ ไดป้ ระกอบด้วยโฟตอนทมี่ ีความยาวคล่ืนตา่ ง ๆ และมรี ะดับ
พลงั งานที่ต่างกัน โดยระดับพลังงานของโฟตอนจะแปรผกผนั กบั ความยาวคลน่ื ของแสง

สารสใี นพืชมีหลายชนดิ เชน่ คลอโรฟลิ ล์ และแคโรทีนอยด์ โดยสารสีจะดดู กลืนพลังงานแสง
เพื่อนำมาใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง สารสีแต่ละชนิดจะสามารถดูดกลืนแสงในช่วงความ
ยาวคลื่นที่แตกต่างกัน จากนั้นครูใช้รูป 11.7 กราฟเปรียบเทียบการดูดกลืนแสงของคลอโรฟิลล์เอ
คลอโรฟิลล์บี แคโรทีน และรูป 11.8 กราฟแสดงอัตราการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเมื่อให้แสงท่ี
ความยาวคลื่นต่างๆ ในหนังสือเรียนชีววิทยาม. 5 เล่ม 3 เพื่อให้นักเรียนอภิปรายความสัมพันธ์ของ

20

กราฟทัง้ สอง โดยสรปุ ได้ว่าอตั ราการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพชื เกดิ ข้ึนได้มากเมื่อพชื ไดร้ ับแสงสีน้ำเงิน
หรอื แสงสแี ดงซึ่งจะเห็นว่าสอดคลอ้ งกับการดูดกลนื แสงของคลอโรฟิลล์ท่จี ะดูดกลนื แสงในช่วงแสงสี
นำ้ เงินและแสงสีแดงไดม้ ากเช่นกนั

4. ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration)
ครูขยายความรู้เมอื่ สารสดี ูดกลืนแสง โมเลกุลของสารสีจะมกี ารเปล่ียนแปลงอยา่ งไร โดย

ครูใช้รูป 11.9 การเปลี่ยนแปลงระดับพลงั งานของอเิ ล็กตรอนเมื่อได้รับพลังงานแสง ในหนังสือเรยี น
ชีววิทยาม. 5 เล่ม 3 ประกอบการอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า โดยปกติสารสีมีอิเล็กตรอนที่อยู่ใน
ระดับสถานะพ้นื โดยจะเคลอ่ื นทอี่ ย่รู อบนวิ เคลยี ส หากได้รบั พลังงานเพ่มิ ข้ึนจะถกู กระตุ้นให้ขึ้นไปอยู่
ที่ระดับพลังงานสูงขึน้ ซึ่งเปน็ สถานะกระตุ้นและเปน็ สถานะที่ไมเ่ สถียร จากนั้นครูอธบิ ายเพิ่มเติมวา่
อิเล็กตรอนในโมเลกุลของสารสีที่อยู่ในสถานะกระตุ้นนี้ เมื่อมีตัวรับอิเล็กตรอนที่เหมาะสมจะทำให้
เกดิ การถา่ ยทอดอเิ ล็กตรอนซ่ึงนำไปสู่การเกดิ ปฏิกิรยิ าแสง

5. ขัน้ ประเมนิ (Evaluation)
5.1 นกั เรยี นตอบคำถามที่ครูถามเพอื่ ทดสอบความเข้าใจ โดยมแี นวคำถามดังนี้
- ถา้ พืชไม่มคี ลอโรฟลิ ล์เอทีเ่ ป็นศนู ย์กลางของปฏิกริ ิยา พืชจะสามารถสงั เคราะห์

ด้วยแสงได้หรือไม่
(แนวคำตอบ ไม่ได้ เพราะคลอโรฟลิ ลเ์ อทำหนา้ ท่ีรับพลังงานแสงจากสารสอี ่ืนๆ

และเป็นแหลง่ ให้อิเล็กตรอนกับเปน็ ตัวรับอิเล็กตรอน)
- การท่ีสารสีของพืชดูดแสงในชว่ งความยาวคลนื่ ที่แตกต่างกันเปน็ ประโยชน์ตอ่ พืช

อยา่ งไร
(แนวคำตอบ ทำใหพ้ ืชสามารถรบั แสงได้ในชว่ งคลน่ื ที่กวา้ งและมาก มผี ลต่อการเพิ่ม

ประสิทธิภาพในการ สงั เคราะห์ด้วยแสง)
5.2 นกั เรยี นทำใบงานเรอื่ ง กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช

6. ส่ือ / แหลง่ เรยี นรู้
1. หนงั สือเรยี นรายวชิ าเพิม่ เติมวิทยาศาสตร์ชวี วทิ ยา เลม่ 3 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 สสวท.
2. เพาเวอร์พอยต์ เรอื่ ง พลงั งานแสงและสารสี
3. วดิ ีทศั น์การเกดิ ไซโคลซิส (cyclosis) ในเชลลส์ าหร่ายหางกระรอก

21

7. ชนิ้ งาน/ภาระงาน
1. แบบฝึกหดั ท้ายกิจกรรมเสนอแนะ เร่ืองสารสแี ละการดดู กลืนแสงของสารสี

ในหนังสอื เรียนชีววิทยา ม.5 เลม่ 3 หนา้ 141
2. กจิ กรรมเสนอแนะ เรอ่ื งสารสีและการดดู กลนื แสงของสารสี
3. ใบงานเร่ือง กระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพืช

8. การวัดและประเมนิ ผล

จุดประสงค์การเรียนรู้ วธิ วี ดั ผล เครือ่ งมอื วัด เกณฑ์การผ่าน
จุดประสงค์
ดา้ นความรู้ (K) - สงั เกตจากการ - แบบฝึกหดั ท้าย
กิจกรรม ระดบั คุณภาพพอใช้
อธิบายความสำคัญของแสง สารสี ตอบคำถามและ - ใบงานเร่อื ง ขนึ้ ไปถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
กระบวนการ
และความสามารถในการดูดกลืนแสง แสดงความคิดเห็น สังเคราะหด์ ้วยแสง ผ่านเกณฑ์ระดบั ดขี ึน้
ของสารสีในกระบวนการสังเคราะห์ - ตรวจแบบฝึกหดั ของพชื ไป
ทา้ ยกจิ กรรม
ดว้ ยแสงได้ กิจกรรมเสนอแนะ
- ตรวจใบงานเรื่อง เร่อื งสารสีและการ
ดดู กลนื แสงของ
กระบวนการ
สารสี
สงั เคราะหด์ ้วยแสง

ของพชื

ด้านทกั ษะกระบวนการ (P)

ปฏบิ ตั ิการทดลองสารสแี ละการ - การปฏบิ ัติ
ดดู กลืนแสงของสารสีได้
กจิ กรรม

- สังเกตจากการ

ตอบคำถามและ

แสดงความคิดเหน็

ด้านคุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ (A) ประเมนิ แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 70
มีความกระตือรือร้นในการทำงาน คุณลักษณะอันพึง คุณลักษณะอันพงึ ขึน้ ไป

และมีจิตสาธารณะ ประสงค์ ประสงค์

22

23

เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการทำแบบฝึกหดั

ประเดน็ การประเมนิ คาํ อธบิ ายระดบั คณุ ภาพ/ระดับคะแนน

4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

ความถูกตอ้ ง ทำแบบฝกึ หัดถูกต้อง ทำแบบฝึกหดั ถกู ต้อง ทำแบบฝกึ หัดถกู ต้อง ทำแบบฝึกหดั ถูกตอ้ ง
ร้อยละ 80 ข้ึนไป ร้อยละ 65 – 79 รอ้ ยละ 50 - 64 นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50

ทำแบบฝึกหัดมีความ ทำแบบฝกึ หัดมีความ ทำแบบฝึกหัดเปน็ ทำแบบฝึกหดั เปน็
เปน็ ระเบียบ สะอาด ระเบยี บ สะอาด
ความเป็นระเบยี บ เรียบรอ้ ยดีมาก เปน็ ระเบยี บ สะอาด ระเบียบ สะอาด เรยี บรอ้ ยพอใช้
ความตรงต่อเวลา
ส่งแบบฝึกหดั ทันตาม เรียบรอ้ ยดี เรียบรอ้ ยปานกลาง สง่ แบบฝึกหดั ล่าช้า
เวลาท่ีกำหนด กว่าเวลาท่ีกำหนด
ส่งแบบฝึกหดั ล่าชา้ กว่า สง่ แบบฝึกหัดลา่ ชา้ มากกว่า 3 วัน

เวลาท่ีกำหนดไป 1 วนั กว่าเวลาท่ีกำหนดไป

3 วัน

เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ

0 - 4 ควรปรบั ปรงุ อยา่ งยงิ่

5 - 6 ควรปรบั ปรงุ

7 - 8 พอใช้

9 – 10 ดี

11 - 12 ดีมาก

เกณฑก์ ารผ่าน ระดับคณุ ภาพพอใช้ขนึ้ ไปถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

24

25

เกณฑ์การประเมนิ ผลการทำใบงาน

ประเดน็ การประเมนิ คาํ อธิบายระดบั คุณภาพ/ระดับคะแนน

4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
ทำใบงานถูกตอ้ ง
ความถูกตอ้ ง ทำใบงานถูกตอ้ ง ทำใบงานถกู ตอ้ ง ทำใบงานถูกตอ้ ง นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 50
ร้อยละ 80 ข้ึนไป ร้อยละ 65 – 79 รอ้ ยละ 50 - 64
ทำใบงานเปน็
ทำใบงานมคี วามเป็น ทำใบงานมีความเปน็ ทำใบงานเปน็ ระเบียบ สะอาด
เรยี บร้อยพอใช้
ความเปน็ ระเบียบ ระเบยี บ สะอาด ระเบียบ สะอาด ระเบยี บ สะอาด ส่งใบงานล่าชา้ กว่า
ความตรงตอ่ เวลา เวลาท่ีกำหนด
เรยี บร้อยดมี าก เรียบรอ้ ยดี เรียบรอ้ ยปานกลาง มากกว่า 3 วัน

ส่งใบงานทันตาม ส่งใบงานลา่ ชา้ กว่า ส่งใบงานล่าชา้ กว่า

เวลาที่กำหนด เวลาท่ีกำหนดไป 1 วัน เวลาที่กำหนดไป 3

วนั

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ระดับคุณภาพ
ช่วงคะแนน ควรปรับปรุงอยา่ งยง่ิ
0-4
5-6 ควรปรับปรงุ
7-8 พอใช้
9 – 10 ดี
11 - 12
ดีมาก

เกณฑ์การผ่าน ระดบั คุณภาพพอใช้ข้นึ ไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

26

27

เกณฑก์ ารประเมินการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม

ประเด็นที่ ระดบั คะแนน
ประเมิน
1. การปฏบิ ัติ 4 32 1
กิจกรรม ทำกจิ กรรมตาม ตอ้ งใหค้ วาม
ขนั้ ตอน และใช้ ทำกิจกรรมตาม ต้องให้ความ ช่วยเหลืออยา่ งมาก
2. ความ อุปกรณไ์ ด้อยา่ ง ในการทำกจิ กรรม
คล่องแคลว่ ถูกต้อง ขัน้ ตอน และใช้ ชว่ ยเหลือบา้ งในการ และการใชอ้ ปุ กรณ์
ในขณะปฏบิ ตั ิ
กิจกรรม มคี วามคล่องแคล่ว อปุ กรณ์ได้อยา่ ง ทำกจิ กรรม และการ ทำกจิ กรรมเสรจ็ ไม่
ในขณะทำกิจกรรม ทนั เวลา และทำ
โดยไม่ต้องไดร้ ับคำ ถูกต้อง แตอ่ าจตอ้ ง ใชอ้ ปุ กรณ์ อปุ กรณ์เสียหาย
ชแ้ี นะ และทำ
กิจกรรมเสรจ็ ไดร้ บั คำแนะนำบ้าง
ทันเวลา
มีความคล่องแคลว่ ขาดความ

ในขณะทำกจิ กรรม คล่องแคลว่ ในขณะ

แตต่ ้องได้รับ ทำกจิ กรรมจงึ ทำ

คำแนะนำบา้ ง และ กจิ กรรมเสรจ็ ไม่

ทำกจิ กรรมเสร็จ ทนั เวลา

ทันเวลา

3. การบันทึก บันทกึ และสรุปผล บนั ทึกและสรุปผล ต้องให้คำแนะนำใน ตอ้ งใหค้ วาม
สรุปและ การทำกจิ กรรมได้ การทำกจิ กรรมได้
นำเสนอผลการ ถูกต้อง รดั กมุ ถูกต้อง แต่การ การบันทึก สรุป และ ชว่ ยเหลืออย่างมาก
ปฏิบัตกิ ิจกรรม นำเสนอผลการทำ นำเสนอผลการทำ
กิจกรรมเป็นขั้นตอน กจิ กรรมยงั ไมเ่ ป็น นำเสนอผลการทำ ในการบันทึก สรปุ
ชดั เจน ข้นั ตอน
กจิ กรรม และนำเสนอผลการ

ทำกิจกรรม

เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ระดับคุณภาพ
ช่วงคะแนน ดีมาก
10-12 ดี
7-9 พอใช้
4-6 ปรบั ปรุง
0-3

สรุป คะแนนรวม 0 - 7 คะแนน ไม่ผา่ น

28

29

ตารางเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

ประเด็นการ คุณลกั ษณะของนกั เรียน
ประเมิน
3 2 1
1. มวี นิ ัย
- มีความตรงตอ่ เวลา มีความซอ่ื สัตย์ - มคี วามซือ่ สตั ยส์ ุจรติ - มีความตั้งใจทจ่ี ะ
2. มีความ สจุ ริต - มีความตั้งใจท่ีจะทำงาน ทำงาน
ใฝเ่ รยี นรู้ - มีความรบั ผดิ ชอบ มีความต้ังใจท่จี ะ - มีความรับผิดชอบ - รจู้ กั เสียสละ
ทำงาน - มีความอดทน - มีความซ่ือสตั ย์
- มเี คารพในสทิ ธขิ องผู้อืน่ ขยนั หมน่ั เพยี ร สุจริต
- มรี ะเบียบและปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ - รจู้ ักเสียสละ
- เห็นอก เหน็ ใจผ้อู ืน่ - เห็นอก เห็นใจผ้อู นื่ - เข้าร่วมกิจกรรม
- มคี วามอดทนขยันหมั่นเพียร การเรยี นรู้ตา่ ง ๆ
- รจู้ กั เสยี สละ รจู้ กั กาลเทศะ - เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
- เอาใจใส่และมคี วามพยายามในการ ตา่ ง ๆ
เรยี นรู้ - เอาใจใสแ่ ละมีความ
- ต้งั ใจในการเรยี นรู้ พยายามในการเรยี นรู้
- เข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ต่าง ๆ -มกี ารบนั ทกึ ความรใู้ นระหว่าง
- มีการบันทึกความรูใ้ นระหว่างเรยี น เรียน
- จดสรุปจากท่ีครเู ขยี น

3. มีความ - เอาใจใสต่ อ่ การปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ที ไ่ี ด้รับ - ทุ่มเท อดทน ไม่ยอ่ ทอ้ ต่อ - ทุ่มเท อดทน ไม่
ม่งุ มน่ั ในการ มอบหมาย ปัญหาในการทำงาน ย่อท้อต่อปัญหาใน
ทำงาน - มีความตงั้ ใจและรับผิดชอบในการ - มกี ารปรับปรงุ และ การทำงาน
ทำงานใหส้ ำเรจ็ พฒั นาการทำงานด้วยตนเอง

- ทมุ่ เท อดทน ไม่ยอ่ ท้อตอ่ ปัญหาใน - เอาใจใสต่ อ่ การปฏิบตั ิ
การทำงาน หน้าทที่ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย
- มีการปรับปรงุ และพฒั นาการทำงาน
ด้วยตนเอง

เกณฑ์การประเมิน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 มคี ะแนนมากกวา่ หรือเทา่ กบั 7
คะแนน 9-8 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5 คะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 70 มคี ะแนนน้อยกว่า 7
คะแนน 7 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4 คะแนน
คะแนน 6-5 คิดเป็นรอ้ ยละ 3 คะแนน
คะแนน 4 คดิ เปน็ ร้อยละ 2 คะแนน
คะแนน 3 คดิ เปน็ ร้อยละ 1 คะแนน

เกณฑค์ ณุ ภาพ
3 คะแนน ดี
2 คะแนน พอใช้
1 คะแนน ปรบั ปรงุ

30

31

32

33
ใบงาน เร่อื ง กระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพชื

ใบงาน เรือ่ ง กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสงของพชื

34

35
เฉลยใบงาน เรอ่ื ง กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสงของพืช

36
เฉลยใบงาน เรอ่ื ง กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสงของพืช

37

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 19

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5

รายวชิ า ชวี วิทยา 3 รหสั ว 32243

หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 11 การสังเคราะห์ด้วยแสง เวลา 14 ช่วั โมง

เรอื่ ง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (ปฏิกิริยาแสง) เวลา 2 ชัว่ โมง

ภาคเรยี นที่ 1/2565 ครูผสู้ อน นางสาวธญั ญาเรศ ทบอาจ

1. มาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้
สาระชีววิทยา 3 เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้ำของพืช การ

ลำเลียง ของพืช การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการ
ตอบสนองของพืชรวมทงั้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ผลการเรยี นรู้
13. อธบิ ายขัน้ ตอนท่เี กดิ ข้ึนในกระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสงของพชื C3

2. สาระสำคญั
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ ปฏิกิริยาแสงและการตรึง

คาร์บอนโดยปฏิกิริยาแสงจะเปลี่ยนพลังงานแสงให้เป็นพลังงานเคมีในรูปของโมเลกุล ATP และ
NADPH เพอื่ นำไปใชใ้ นการตรึงคารบ์ อน ไดผ้ ลติ ภัณฑ์เปน็ นำ้ ตาลที่มีคาร์บอน 3 อะตอม คอื G3P

3. สาระการเรยี นรู้
- ปฏิกิริยาแสง

4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. ด้านความรู้ (K)
อธบิ ายกระบวนการการเกดิ ปฏิกริ ิยาแสงได้
2. ด้านทักษะกระบวนการ (P)
เขยี นแผนผงั สรปุ กระบวนการการเกดิ ปฏิกิริยาแสงได้
3. ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A)
มีความซ่ือสตั ย์และกระตือรอื รน้ ในการทำงาน

38

5. กจิ กรรมการเรียนรู้
รูปแบบการสอนทใ่ี ชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ คือ การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5E
1. ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement)
1.1 นกั เรยี นดูคลปิ วดิ โี อ เร่อื ง ปฏิกิรยิ าแสง (Light Reaction) แล้วตอบคำถามทค่ี รูถาม

โดยใชค้ ำถามดังนี้ “สารสีทุกชนิด สามารถให้อเิ ล็กตรอนแกต่ ัวรับอิเล็กตรอนได้หรือไม่”
(แนวคำตอบ สารสีทกุ ชนิดไม่สามารถให้อเิ ล็กตรอนแกต่ ัวรับอิเล็กตรอนไดจ้ ะต้องเป็นสารสี

ท่เี ป็นคลอโรฟิลล์เอโมเลกุลพิเศษเท่าน้นั )
1.2 นักเรียนศกึ ษาเกี่ยวกบั ระบบแสงของพชื โดยใช้รูป 11.11 ระบบแสงซงึ่ แสดงเพียง

หนึ่งแอนเทนนาและหน่ึงศูนย์กลางปฏกิ ริ ยิ า ในหนังสือเรียนชวี วิทยา ม.5 เล่ม 3 เพื่อทำความเข้าใจ
ว่า สารสีจะอยู่รวมกันเป็นกลุ่มในโครงสร้างของโปรตีนเชิงซ้อนซึ่งเรียกว่าระบบแสงเพื่อช่วยกัน
ดูดกลนื พลงั งานแสง โดยระบบแสงจะมีโครงสร้างท่ีประกอบดว้ ยกลุ่มของสารสีที่เรียกว่าแอนเทนนา
ซง่ึ จะทำหน้าทรี่ ับส่งพลังงานไปยังศูนยก์ ลางปฏกิ ริ ิยาซ่งึ เป็นคลอโรฟิลลเ์ อโมเลกุลพเิ ศษและทำให้เกิด
การถา่ ยทอดอิเลก็ ตรอนไปยังตัวรบั อเิ ล็กตรอนได้

2. ขนั้ สำรวจและค้นหา (Exploration)
2.1 ครอู ธิบายเพ่ิมเติมวา่ ในพชื จะมีระบบแสง 2 ระบบ ไดแ้ ก่ ระบบแสง I และระบบแสง

II โดยใช้รูป 11.12 การจัดเรียงตัวของโครงสร้างที่อยู่ทีเ่ ยื่อไทลาคอยด์ ในหนังสือเรียนชีววิทยา ม.5
เล่ม 3 เพื่อแสดงให้เห็นว่าสารสีในแต่ละระบบแสงจะฝังตัวอยู่ในโปรตีนต่างชนิดกันจึงทำให้แต่ละ
ระบบแสงสามารถดูดกลืนพลังงานแสงได้แตกต่างกนั ซ่งึ นำไปสกู่ ารเรยี กศนู ย์กลางปฏกิ ริ ิยาของระบบ
แสง I ว่า P700 และศนู ย์กลางปฏกิ ิริยาของระบบแสง II ว่า P680

2.2 ครูใช้รูป 11.10 การถ่ายทอดอิเล็กตรอนในปฏิกิริยาแสง ในหนังสือเรียนชีววิทยา
ม.5 เล่ม 3 เพื่ออธบิ ายเกยี่ วกับภาพรวมของปฏิกิรยิ าแสง

รูป 11.10 การถา่ ยทอดอเิ ลก็ ตรอนในปฏกิ ริ ยิ าแสง

39

2.3 นักเรยี นศึกษาเก่ียวกบั การถา่ ยทอดอเิ ล็กตรอนแบบไม่เปน็ วฏั จกั รและการถา่ ยทอด
อเิ ลก็ ตรอนแบบเปน็ วัฏจักรจากแหล่งเรยี นรู้ตา่ งๆ เช่น หนงั สือเรยี น อินเทอรเ์ น็ต หรือเพาเวอร์พอยต์
เรื่อง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (ปฏิกิริยาแสง) เพื่อให้นักเรียนเข้าใจปฏิกิริยาแสง
จากน้นั นกั เรียนทำใบงาน เรอื่ ง ปฏิกิรยิ าแสง

3. ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation)
3.1 นักเรยี นและครูรว่ มกนั อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ จากภาพท่ี 11.10 การถ่ายทอด

อเิ ล็กตรอนในปฏิกิริยาแสง ในหนังสอื เรียน ได้ขอ้ สรุปวา่ เมอ่ื ศนู ย์กลางปฏกิ ิริยาของระบบแสงได้รับ
พลังงานจะทำให้อิเล็กตรอนของคลอโรฟิลล์เอโมเลกุลพิเศษมีพลังงานสูงขึ้น และเมื่อมีตัวรับ
อเิ ล็กตรอนจะเกิดการถา่ ยทอดอเิ ลก็ ตรอนในปฏกิ ริ ยิ าแสง ซ่ึงจะเปน็ การถา่ ยทอดพลังงานเช่นกนั โดย
การถา่ ยทอดอิเล็กตรอนนจ้ี ะมีการรับและสง่ อิเล็กตรอนเป็นทอด ๆ ต่อเน่ืองกันผา่ นตวั รับอิเล็กตรอน
ต่าง ๆ ครูใช้คำถามเพื่อให้นักเรียนร่วมกันตอบคำถาม เกี่ยวกับการสร้าง NADPH และ ATP โดยใช้
ข้อมลู จากแผนภาพในรปู 11.10 การถา่ ยทอดอิเลก็ ตรอนในปฏิกิริยาแสง โดยมีคำถามดังนี้

- จากรูป 11.10 ตัวรับอิเลก็ ตรอนตัวสดุ ทา้ ยคือสารใด
(แนวคำตอบ จากแผนภาพตวั รับอเิ ล็กตรอนตวั สดุ ทา้ ย คอื NADP+ ได้เป็น NADPH)
- การสรา้ ง ATP น่าจะเกดิ ขนึ้ ไดเ้ น่ืองมาจากสาเหตุใด
(แนวคำตอบ การสรา้ ง ATP เกดิ ข้นึ ได้เนอื่ งจากในระหวา่ งทีม่ กี ารถา่ ยทอดอิเลก็ ตรอนจะทำ
ให้เกดิ การสร้าง ATP ขน้ึ )
3.2 ครูเพิม่ เติมความรู้การถ่ายทอดอเิ ลก็ ตรอนในปฏกิ ิริยาแสงได้นี้

1. ปฏิกิริยาแสงเกดิ บนเย่ือไทลาคอยด์ ซึง่ มรี ะบบแสง I ระบบแสง II ตวั รับอเิ ล็กตรอน
ตา่ ง ๆ และเอนไซม์ ATP synthase

2. เมื่อมีตวั รับอเิ ล็กตรอนจากคลอโรฟิลล์เอโมเลกลุ พเิ ศษที่เปน็ ศนู ย์กลางของ
ปฏิกริ ยิ าแสงจะมีการถา่ ยทอดอเิ ล็กตรอนตอ่ เนือ่ งกันผา่ นตวั รบั อเิ ลก็ ตรอนตา่ ง ๆ

3. การถ่ายทอดอเิ ลก็ ตรอนในปฏกิ ริ ิยาแสงเกิดขึ้นไดใ้ น 2 ลกั ษณะ ได้แก่
- การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไมเ่ ป็นวัฏจกั ร จะเป็นการถา่ ยทอดอเิ ลก็ ตรอนที่

เกี่ยวข้องกับทั้งระบบแสง I และระบบแสง II โดยมี NADP+ เป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้ายได้เป็น
NADPH

- การถา่ ยทอดอิเลก็ ตรอนแบบเป็นวัฏจกั ร จะเป็นการถา่ ยทอดอเิ ล็กตรอนที่
เกี่ยวข้องกับระบบแสง I โดยจะมีการถ่ายทอดอิเล็กตรอนผ่านตวั รับอิเลก็ ตรอนตา่ ง ๆ จนกลับมายัง
ศูนย์กลางปฏิกิริยาของระบบแสง I เช่นเดิม โดยไม่มี NADP+ เป็นตัวรับอิเล็กตรอนตัวสุดท้ายจึงไม่มี
การสรา้ ง NADPH

40

4. การสร้าง ATP เกิดขึน้ ไดด้ งั น้ี
4.1 เมอ่ื เกดิ การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เปน็ วฏั จักร ศนู ย์กลางปฏิกริ ยิ าแสงของ

ระบบแสง II ซ่งึ สญู เสยี อิเล็กตรอนไปจะสามารถดึงอิเลก็ ตรอนจากโมเลกุลของน้ำไดแ้ ละทำให้เกิดการ
แตกตวั ของน้ำสลายเป็นออกซเิ จน โปรตอน และอเิ ล็กตรอน ทำใหโ้ ปรตอนอยูใ่ นลูเมน

4.2 เมอ่ื เกดิ การถา่ ยทอดอิเลก็ ตรอนทง้ั แบบไมเ่ ปน็ วัฏจักรและแบบเปน็ วฏั จักร การ
ถ่ายทอดอิเล็กตรอนจะเกิดขึ้นในลักษณะที่ส่งต่อไปยังตัวรับอิเล็กตรอนที่มีพลังงานต่ำกว่าและใน
ขณะที่มีการถ่ายทอดอิเล็กตรอนจากพลาสโทควิโนนผ่านไซโทโครมคอมเพล็กซ์จะทำให้เกิดการ
เคลื่อนยา้ ยโปรตอนจากสโตรมาเขา้ สูล่ เู มน

4.3 เมื่อมีโปรตอนสะสมในลูเมนมากขึ้นจนเกิดความแตกต่างของความเข้มข้นของ
โปรตอนในลูเมนและสโตรมา จึงเกิดการเคลื่อนย้ายของโปรตอนจากลูเมนสู่สโตรมาผ่าน ATP
synthase และพลังงานจากความแตกต่างของความเข้มข้นของโปรตอนในลูเมนและสโตรมาจะถูก
นำมาใชใ้ นการสรา้ ง ATP

5. การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักรจะได้ทั้ง NADPH และ ATP รวมทั้งเกิด
O2 ส่วนการถ่ายทอดอเิ ลก็ ตรอนแบบเป็นวฏั จกั รจะเกดิ เฉพาะ ATP

6. ปฏิกริ ิยาแสงเป็นการเปลยี่ นพลงั งานแสงใหเ้ ปน็ พลงั งานเคมีในรปู ของสารพลังงานสูง
คือNADPH และ ATP ซงึ่ จะนำไปใช้ในการตรึงคาร์บอนตอ่ ไป

4. ข้ันขยายความรู้ (Elaboration)
4.1 ครอู ธบิ ายเพมิ่ เติมวา่ ในปัจจุบนั ยังไมท่ ราบแนช่ ดั เก่ียวกบั ความสำคัญของการ

ถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเปน็ วัฏจักรที่สร้างเฉพาะ ATP ซึ่งยังต้องศึกษาวิจัยตอ่ ไป แต่โดยทั่วไปแลว้
พชื จะเกิดการถ่ายทอดอิเลก็ ตรอนข้นึ ในทง้ั 2 ลกั ษณะ

5. ขั้นประเมิน (Evaluation)
5.1 นักเรียนเขียนแผนผงั สรปุ กระบวนการการเกิดปฏกิ ิริยาแสง
5.2 นกั เรียนร่วมกนั ตอบคำถามท่ีครถู ามเพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจ โดยใช้คำถามดังน้ี
- แสง คลอโรฟลิ ล์ และนำ้ มบี ทบาทอยา่ งไรในกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสง
(แนวคำตอบ แสง ทำใหอ้ เิ ลก็ ตรอนในคลอโรฟิลล์เอโมเลกลุ พเิ ศษท่เี ปน็ ศนู ย์กลาง

ปฏกิ ิรยิ าของระบบแสงมพี ลงั งานสงู ขึน้ แล้วหลดุ ออกไปเกิดการถา่ ยทอดอิเลก็ ตรอน
คลอโรฟิลล์ เป็นสารสีที่สำคัญในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เนื่องจากเป็นตัวรับพลังงาน

แสง และคลอโรฟิลล์เอโมเลกุลพิเศษที่เป็นศูนย์กลางปฏิกิริยาเมื่อรับพลังงานจากสารสีทีอ่ ยู่ในแอน
เทนนาแลว้ จะถ่ายทอดอิเล็กตรอนต่อไปให้ตัวรับอิเล็กตรอนต่าง ๆ ได้

41

นำ้ เมื่อไดร้ บั แสงและมีตัวรบั อิเลก็ ตรอน จะสามารถแตกตัวให้ O2 โปรตอน และอเิ ลก็ ตรอน ซ่ึง
อิเล็กตรอนนี้จะถูกถ่ายทอดให้แกศ่ ูนย์กลางปฏิกิรยิ าของระบบแสง IIและโปรตอนทีเ่ กิดจากการแตก
ตวั ของน้ำจะสะสมอยใู่ นลูเมน สว่ น O2 จะถูกนำไปใช้ประโยชนอ์ ื่น ๆ ต่อไป)

- การสังเคราะห์ดว้ ยแสงมีการเปล่ยี นแปลงพลังงานแสงเป็นพลงั งานเคมใี นข้นั ตอนใด
ของปฏิกริ ิยาแสง

(แนวคำตอบ การเปลี่ยนพลงั งานแสงเปน็ พลงั งานเคมีเกดิ ข้นึ ในขนั้ ตอนท่ี
อเิ ล็กตรอนหลุดออกจากโมเลกุลของสารสไี ปยังตัวรบั อิเลก็ ตรอนเม่ือได้รบั พลังงานแสง)

- การถ่ายทอดอเิ ล็กตรอนแบบไมเ่ ปน็ วฏั จกั รและแบบเป็นวัฏจกั รแตกต่างกันอย่างไร
(แนวคำตอบ การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไมเ่ ปน็ วฏั จักรเก่ียวข้องกบั การทำงาน
ของระบบแสง I และระบบแสง II ในขณะทีก่ ารถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจกั รเก่ียวข้องกับการ
ทำงานของระบบแสง I เท่านั้น การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักรจะได้ทั้ง NADPH และ
ATP รวมทั้งเกิด O2 ส่วนการถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบเป็นวัฏจักรจะเกิดเฉพาะ ATP การถ่ายทอด
อิเล็กตรอนแบบไม่เป็นวัฏจักรมีการแตกตัวของโมเลกุลน้ำเกิดขึ้น แต่การถ่ายทอดอิเล็กตรอนแบบ
เปน็ วฏั จกั รไม่มกี ารแตกตวั ของโมเลกลุ น้ำ)

6. สือ่ / แหลง่ เรียนรู้
1. หนงั สอื เรยี นรายวิชาเพิม่ เติมวิทยาศาสตรช์ วี วทิ ยา เล่ม 3 ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 สสวท.
2. เพาเวอรพ์ อยต์ เร่ือง กระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช (ปฏกิ ริ ิยาแสง)
3. คลิปวิดีโอ เรอ่ื ง ปฏกิ ิริยาแสง (Light Reaction)

7. ชิน้ งาน/ภาระงาน
1. ใบงาน เรือ่ ง ปฏกิ ริ ยิ าแสง
2. เขียนแผนผงั สรุปกระบวนการการเกิดปฏกิ ริ ิยาแสง

42

8. การวดั และประเมนิ ผล

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วธิ วี ัดผล เครอื่ งมอื วัด เกณฑก์ ารผา่ นจุดประสงค์
ดา้ นความรู้ (K)
อธบิ ายกระบวนการการเกิด - สังเกตจากการตอบ ระดบั คุณภาพพอใช้ขึ้นไป
ปฏิกิริยาแสงได้ ถือว่าผา่ นเกณฑ์
คำถามและแสดง ใบงาน เรื่อง
ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) ระดบั คุณภาพพอใช้
เขียนแผนผังสรปุ กระบวนการการ ความคดิ เหน็ ปฏกิ ิรยิ าแสง ข้นึ ไปถือว่าผ่านเกณฑ์
เกิดปฏิกิรยิ าแสงได้
- ตรวจใบงาน เรือ่ ง

ปฏิกิรยิ าแสง

- ตรวจแผนผงั สรปุ แผนผงั สรปุ
กระบวน กระบวน

การการเกิด การการเกดิ
ปฏิกิริยาแสง ปฏกิ ริ ยิ าแสง

ดา้ นคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ (A)

มีความซื่อสัตย์และกระตือรือร้นใน ประเมนิ คณุ ลกั ษณะ แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70
คุณลักษณะ ขน้ึ ไป
การทำงาน อนั พึงประสงค์ อนั พงึ ประสงค์

43

44

เกณฑ์การประเมนิ ผลการทำใบงาน

ประเดน็ การประเมนิ คาํ อธิบายระดบั คุณภาพ/ระดับคะแนน

4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
ทำใบงานถูกตอ้ ง
ความถูกตอ้ ง ทำใบงานถูกตอ้ ง ทำใบงานถกู ตอ้ ง ทำใบงานถูกตอ้ ง นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 50
ร้อยละ 80 ข้ึนไป ร้อยละ 65 – 79 รอ้ ยละ 50 - 64
ทำใบงานเปน็
ทำใบงานมคี วามเป็น ทำใบงานมีความเปน็ ทำใบงานเปน็ ระเบียบ สะอาด
เรยี บร้อยพอใช้
ความเปน็ ระเบียบ ระเบยี บ สะอาด ระเบียบ สะอาด ระเบยี บ สะอาด ส่งใบงานล่าชา้ กว่า
ความตรงตอ่ เวลา เวลาท่ีกำหนด
เรยี บร้อยดมี าก เรียบรอ้ ยดี เรียบรอ้ ยปานกลาง มากกว่า 3 วัน

ส่งใบงานทันตาม ส่งใบงานลา่ ชา้ กว่า ส่งใบงานล่าชา้ กว่า

เวลาที่กำหนด เวลาท่ีกำหนดไป 1 วัน เวลาที่กำหนดไป 3

วนั

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ระดับคุณภาพ
ช่วงคะแนน ควรปรับปรุงอยา่ งยง่ิ
0-4
5-6 ควรปรับปรงุ
7-8 พอใช้
9 – 10 ดี
11 - 12
ดีมาก

เกณฑ์การผ่าน ระดบั คุณภาพพอใช้ข้นึ ไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

45

46

เกณฑ์การประเมนิ ผลการทำแผนผัง

ประเดน็ การประเมิน คําอธบิ ายระดับคณุ ภาพ/ระดับคะแนน

4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
ทำแผนผงั ถูกตอ้ ง
ความถูกต้อง ทำแผนผังถูกตอ้ ง ทำแผนผังถกู ตอ้ ง ทำแผนผงั ถูกตอ้ ง นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50
ร้อยละ 80 ขึ้นไป ร้อยละ 65 – 79 รอ้ ยละ 50 - 64
ทำแผนผงั เปน็
ทำแผนผงั มคี วามเปน็ ทำแผนผงั มคี วามเป็น ทำแผนผงั เป็น ระเบยี บ สะอาด
เรียบรอ้ ยพอใช้
ความเป็นระเบยี บ ระเบียบ สะอาด ระเบียบ สะอาด ระเบียบ สะอาด สง่ แผนผังล่าช้ากว่า
ความตรงต่อเวลา เวลาท่ีกำหนด
เรียบรอ้ ยดมี าก เรยี บร้อยดี เรียบรอ้ ยปานกลาง มากกวา่ 3 วัน

ส่งแผนผังทันตาม ส่งแผนผังล่าช้ากวา่ สง่ แผนผังล่าช้ากวา่

เวลาท่ีกำหนด เวลาท่ีกำหนดไป 1 วัน เวลาท่ีกำหนดไป 3

วัน

เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ระดบั คณุ ภาพ
ช่วงคะแนน ควรปรับปรุงอยา่ งยง่ิ
0-4
5-6 ควรปรบั ปรงุ
7-8 พอใช้
9 – 10 ดี
11 - 12
ดมี าก

เกณฑ์การผ่าน ระดับคุณภาพพอใช้ข้นึ ไปถอื ว่าผา่ นเกณฑ์


Click to View FlipBook Version