รายงาน
เรื่อง นวตั กรรมทางการศึกษา ความร้เู บ้ืองต้นเกย่ี วกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ
และเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การเรยี นรู้
จดั ทำโดย
นางสาวจตุ พิ ร แสนกษัตริย์
หอ้ ง 6 เลขท่ี 5
รหัสนักศกึ ษา 646550020-5
เสนอ
อาจารย์ ดร.กฤษฎาพันธ์ พงษบ์ รบิ ูรณ์
หลักสูตรประกาศนยี บัตรบัณฑิตวชิ าชีพครู
คณะศกึ ษาศาสตรแ์ ละศลิ ปะศาสตร์
ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565
วิทยาลัยบัณฑิตเอเชยี
ก
คำนำ
หนังสือนวตั กรรมทางการศกึ ษาและความรเู้ บ้อื งต้นเก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเล่มน้ีเปน็ ส่วนหนึ่ง
ของรายวชิ านวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา รหสั วิชา 810105 จัดทำขึ้นเพอ่ื เผยแพร่เนื้อหา
ความรู้เกี่ยวกับความหมาย ประเภทและตัวอย่างของนวัตกรรมทางการศึกษา ซ่ึงเป็นเนื้อหาที่เกิดจากการ
รวบรวมข้อมูล ประเมินค่า วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล อันเป็นขั้นตอนการสร้างความ รู้จากแหล่ง
สารสนเทศให้มีประสิทธิผลตรงตามจดุ ประสงค์ ภายในนอกจากจะบรรจุเน้ือหาที่สังเคราะห์ได้แล้ว ยังมีส่วน
แสดงขั้นตอนให้เห็นเด่นชัดอีกด้วย และ ส่งเสริมให้นักศึกษามีทักษะการใช้เทคโนโลยอี ย่างถูกต้อง พรอ้ มท้ัง
นำมาประยุกต์ใช้ในการศกึ ษาและในชีวติ ประจำวัน เพอื่ จะไดม้ ีการเรยี นรู้ใหมๆ่ ซ่งึ จะเปน็ การสรา้ งพ้นื ฐานให้
นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจ ดังน้ันจึงได้จัดทำรายงานเพ่ือนักศึกษาได้เข้าใจถึงความสำคัญของการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆมาประยกุ ตใ์ ชใ้ ห้เกิดประโยชน์อย่างสูงสดุ และเพื่อใช้ประกอบการศึกษาและปฏบิ ัติ
อย่างถกู วิธี
คณะผจู้ ัดทำหวังเป็นอยา่ งยงิ่ ว่า รายงานเลม่ น้ีจะเป็นประโยชน์แก่ผ้ทู ี่ไดศ้ ึกษาไม่มากก็น้อยและหากมี
ขอ้ ผดิ พลาดประการใดต้องขออภัยมา ณ ท่นี ี้ดว้ ย
นางสาวจุตพิ ร แสนกษัตริย์
กมุ ภาพันธ์ 2565
อเี มลติดตอ่ [email protected]
สารบัญ ข
บทท่ี หนา้
1 นวตั กรรมทางการศึกษา 2
3
1.1 ความหมายของนวตั กรรมการศกึ ษา 4
6
1.2 ความหมายของเทคโนโลยี 9
13
1.3 เปา้ หมายของเทคโนโลยกี ารศกึ ษา 14
1.4 นวตั กรรมทางการศกึ ษาท่สี ำคัญของไทยในปัจจบุ นั 16
18
1.5 E-learning 21
22
1.6 ขอ้ ได้เปรยี บ และขอ้ จำกดั ของ e-Learning 23
1.7 ระดับของการนำ e-Learning ไปใช้ในการเรียนการ 26
สอน 31
1.8 m-Learning 32
1.9 ประโยชน์และข้อจำกัดของ M – Learning 34
35
1.10 การเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยกี ารศกึ ษา 36
37
1.11 การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีทม่ี ีผลต่อสถานศกึ ษา 37
38
1.12 ปัญหาและอปุ สรรคในการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี 40
ทางการศึกษา 41
2 ความรู้เบอ้ื งตน้ เกย่ี วกบั เทคโนโลยีสารสนเทศ 42
2.1 คอมพวิ เตอร์และอนิ -เทอร์เน็ต 43
2.2 ระบบการสบื คน้ ผา่ นเครอื ข่ายเพือ่ การเรยี นรู้ 44
2.3 การสืบคน้ และรับส่งข้อมูล แฟม้ ข้อมลู และ 45
สารสนเทศเพ่ือใช้ในการจัดการเรยี นรู้ 46
2.4 ววิ ฒั นาการของสารสนเทศ
2.5 สาเหตุทีท่ ำให้เกิดสารสนเทศ
2.6 ความหมายของคำวา่ ขอ้ มลู
2.7 ชนดิ ของขอ้ มลู
2.8 กรรมวธิ กี ารจัดการขอ้ มลู
2.9 ความหมายของสารสนเทศ
2.10 หลักเกณฑ์การประเมินผลลพั ธ์ หรือผลผลิต
2.11 คณุ ลกั ษณะของสารสนเทศท่ีดี
2.12 คุณภาพของสารสนเทศ
2.13 ความสำคญั ของสารสนเทศ
2.14 บทบาทของสารสนเทศ
2.15 องคป์ ระกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.16 เทคโนโลยีส่อื สารโทรคมนาคม
สารบญั (ต่อ) ค
บทท่ี หนา้
2.17 ความสำคญั ของเทคโนโลยีสารสนเทศ 55
2.18 ปจั จยั ท่ีทำใหเ้ กดิ ความล้มเหลวในการนำเทคโนโลยี 60
สารสนเทศมาใช้
2.19 ผลของเทคโนโลยสี ารสนเทศ 61
2.20 เทคโนโลยีสารสนเทศกับการใชช้ ีวติ ในสงั คมปัจจุบนั 62
2.21 ประโยชนข์ องระบบสารสนเทศ 64
3 เทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การเรยี นรู้ 66
3.1 คอมพวิ เตอรแ์ ละอินเทอร์เน็ตกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ 69
3.2 ความรเู้ บือ้ งต้นเก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและ
สงั คมสารสนเทศ 80
3.3 สอ่ื สำหรบั การเรยี นรู้ 81
3.4 การจำแนกประเภทของสอื่ การเรยี นรู้ 81
3.5 หลกั การและแนวคิดของสอ่ื การเรยี นรู้ตามหลักสูตร 82
3.6 สอ่ื กบั ผู้เรียน 83
3.7 สอื่ กับผู้สอน 84
3.8 หลักการออกแบบสื่อเพื่อการเรยี นรู้ 86
3.9 การออกแบบและพัฒนางานกราฟกิ 88
3.10 แหลง่ เรยี นร้แู ละเครอื ข่าย เพอ่ื การเรียนรู้ 90
3.11 บทความบทเรยี นบนเครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ 95
3.12 การสืบค้นขอ้ มลู บนอินเทอร์เน็ต 99
3.13 การจดั การเรยี นการสอนโดยใช้ส่อื สารสนเทศ 102
3.14 การวิเคราะห์ปญั หาท่เี กดิ จากการใชน้ วตั กรรม 105
ข้อสอบทา้ ยบท 107
เฉลยข้อสอบทา้ ยบท 109
บรรณานกุ รม
1
บทท่ี 1
เรื่อง นวตั กรรมทางการศกึ ษา
“นวัตกรรม” (Innovation) มีรากศัพท์มาจาก innovare ในภาษาลาติน แปลว่า ทำสิ่งใหม่ข้ึนมา
ความหมายของนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์คือ การนำแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากสิ่งท่ีมีอยู่
แล้วมาใช้ในรูปแบบใหม่ เพื่อทำให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ หรือก็คือ ”การทำในส่ิงท่ีแตกต่างจากคนอ่ืน
โดยอาศัยการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ (Change) ท่ีเกิดขึ้นรอบตัวเราให้กลายมาเป็นโอกาส (Opportunity) และ
ถ่ายทอดไปสู่แนวความคิดใหม่ท่ีทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม” แนวความคิดนี้ได้ถูกพัฒนาข้ึนมา
ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 โดยจะเห็นได้จากแนวคิดของนักเศรษฐอุตสาหกรรม เช่น ผลงานของ Joseph
Schumpeter ใน The Theory of Economic Development,1934 โดยจะเน้นไปท่ีการสร้างสรรค์ การ
วิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อันจะนำไปสู่การได้มาซ่ึง นวัตกรรมทางเทคโนโลยี
(Technological Innovation) เพ่ือประโยชน์ในเชิงพาณิชย์เป็นหลัก นวัตกรรมยังหมายถึงความสามารถใน
การเรยี นรแู้ ละนำไปปฎบิ ัตใิ หเ้ กิดผลไดจ้ ริงอกี ดว้ ย (พันธ์อุ าจ ชัยรตั น์ , Xaap.com)
คำว่า “นวัตกรรม” เป็นคำท่ีค่อนข้างจะใหม่ในวงการศึกษาของไทย คำนี้ เป็นศัพท์บัญญัติของ
คณะกรรมการพิจารณาศพั ท์วชิ าการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มาจาก
คำกริยาวา่ innovate แปลวา่ ทำใหม่ เปลี่ยนแปลงให้เกดิ สิ่งใหม่ ในภาษาไทยเดมิ ใช้คำว่า “นวกรรม” ตอ่ มา
พบวา่ คำนี้มีความหมายคลาดเคล่ือน จึงเปล่ียนมาใช้คำว่า นวัตกรรม (อา่ นว่า นะ วัด ตะ กำ) หมายถึงการนำ
สิ่งใหม่ๆ เข้ามาเปล่ียนแปลงเพิ่มเติมจากวิธีการท่ีทำอยู่เดิม เพื่อให้ใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น ดังนั้นไม่ว่าวงการหรือ
กิจการใด ๆ ก็ตาม เมือ่ มกี ารนำเอาความเปล่ยี นแปลงใหม่ๆ เข้ามาใช้เพื่อปรบั ปรงุ งานใหด้ ีขน้ึ กว่าเดิมกเ็ รียกได้
ว่าเป็นนวัตกรรม ของวงการนั้น ๆ เช่นในวงการศึกษานำเอามาใช้ ก็เรียกว่า “นวัตกรรมการศึกษา”
(Educational Innovation) สำหรับผู้ท่ีกระทำ หรือนำความเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ มาใช้นี้ เรียกว่าเป็น
“นวตั กร” (Innovator) (boonpan edt01.htm)
ทอมัส ฮิวช์ (Thomas Hughes) ได้ให้ความหมายของ “นวัตกรรม” วา่ เปน็ การนำวธิ ีการใหม่ ๆ มา
ปฏิบัตหิ ลงั จากไดผ้ า่ นการทดลองหรอื ไดร้ บั การพัฒนามาเปน็ ขั้น ๆ แลว้ เร่มิ ตั้งแต่การคดิ ค้น (Invention) การ
พัฒนา (Development) ซึง่ อาจจะเป็นไปในรูปของ โครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project) แล้วจงึ นำไป
ปฏิบัตจิ รงิ ซงึ่ มีความแตกตา่ งไปจากการปฏิบัตเิ ดมิ ที่เคยปฏิบตั มิ า (boonpan edt01.htm)
มอร์ตัน (Morton,J.A.) ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ว่าเป็นการทำให้ใหม่ขึ้นอีกคร้ัง(Renewal) ซึ่ง
หมายถึง การปรับปรุงสิ่งเก่าและพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหน่วยงาน หรือองค์การน้ัน ๆ
นวัตกรรม ไม่ใช่การขจัดหรือล้มล้างสิ่งเก่าให้หมดไป แต่เป็นการ ปรับปรุงเสริมแต่งและพัฒนา (boonpan
edt01.htm)
ไชยยศ เรอื งสวุ รรณ (2521 : 14) ได้ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ไว้วา่ หมายถงึ วธิ ีการปฎบิ ัตใิ หมๆ่ ท่ี
แปลกไปจากเดิมโดยอาจจะได้มาจากการคดิ คน้ พบวิธีการใหม่ๆ ข้นึ มาหรือมีการปรับปรุงของเก่าให้เหมาะสม
และส่ิงท้ังหลายเหล่านี้ได้รับการทดลอง พัฒนาจนเป็นที่เช่ือถอื ได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฎิบัติ ทำให้ระบบก้าว
ไปสจู่ ุดหมายปลายทางไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพขน้ึ
2
จรูญ วงศ์สายัณห์ (2520 : 37) ได้กล่าวถึงความหมายของ “นวัตกรรม” ไว้ว่า “แม้ในภาษาอังกฤษ
เอง ความหมายก็ต่างกันเป็น 2 ระดับ โดยท่ัวไป นวัตกรรม หมายถึง ความพยายามใด ๆ จะเป็นผลสำเร็จ
หรือไม่ มากน้อยเพียงใดก็ตามท่ีเป็นไปเพ่ือจะนำสิ่งใหม่ ๆ เข้ามาเปล่ียนแปลงวิธีการที่ทำอยู่เดิมแล้ว กับอีก
ระดับหนึ่งซ่ึงวงการวทิ ยาศาสตร์แห่งพฤติกรรม ไดพ้ ยายามศึกษาถึงทม่ี า ลักษณะ กรรมวธิ ี และผลกระทบท่ีมี
อยู่ต่อกลุ่มคนที่เก่ียวข้อง คำว่า นวัตกรรม มักจะหมายถึง สิ่งท่ีได้นำความเปล่ียนแปลงใหม่เข้ามาใช้ได้
ผลสำเรจ็ และแผก่ ว้างออกไป จนกลายเป็นการปฏบิ ัตอิ ยา่ งธรรมดาสามัญ (บุญเกือ้ ควรหาเวช , 2543)
นวตั กรรม แบง่ ออกเปน็ 3 ระยะ คอื
ระยะท่ี 1 มีการประดษิ ฐค์ ดิ คน้ (Innovation) หรอื เปน็ การปรงุ แตง่ ของเก่าใหเ้ หมาะสมกบั กาลสมัย
ระยะที่ 2 พัฒนาการ (Development) มีการทดลองในแหล่งทดลองจัดทำอยู่ในลักษณะของ
โครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project)
ระยะท่ี 3 การนำเอาไปปฏิบตั ิในสถานการณท์ ัว่ ไป ซ่งึ จดั ว่าเป็นนวัตกรรมขัน้ สมบูรณ์
ภาพที่ 1.1 3 วงหลักประกอบร่างกลายเป็นนวัตกรรม
ท่มี า : https://www.schoolofchangemakers.com/knowledge/28953/
1.1 ความหมายของนวตั กรรมการศกึ ษา
“นวัตกรรมการศกึ ษา (Educational Innovation )” หมายถึง นวตั กรรมทจ่ี ะชว่ ยให้การศึกษา และ
การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดีย่ิงข้ึน ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม
เกดิ แรงจูงใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมการศึกษา และประหยัดเวลาในการเรียนได้อกี ดว้ ย ในปัจจุบนั มีการใช้
นวัตกรรมการศึกษามากมายหลายอย่าง ซึ่งมีท้ังนวัตกรรมท่ีใช้กันอย่างแพร่หลายแล้ว และประเภทท่ีกำลัง
เผยแพร่ เช่น การเรยี นการสอนท่ใี ช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Aids Instruction) การใช้แผ่นวิดีทัศน์
เชิงโต้ตอบ (Interactive Video) สื่อหลายมิติ ( Hypermedia ) และอินเทอร์เน็ต [Internet] เหล่านี้ เป็นต้น
(วารสารออนไลน์ บรรณปญั ญา.htm)
“นวัตกรรมทางการศึกษา” (Educational Innovation) หมายถึง การนำเอาส่ิงใหม่ซ่ึงอาจจะอยู่ใน
รูปของความคิดหรือการกระทำ รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังท่ีจะ
3
เปลย่ี นแปลงส่ิงทม่ี ีอยเู่ ดิมให้ระบบการจดั การศึกษามปี ระสทิ ธิภาพย่งิ ขน้ึ ทำให้ผเู้ รยี นสามารถเกดิ การเรยี นร้ไู ด้
อย่างรวดเร็วเกิดแรงจงู ใจในการเรียน และช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรียน เช่น การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์
ชว่ ยสอน การใช้วีดทิ ัศน์เชิงโต้ตอบ(Interactive Video) สอื่ หลายมิติ (Hypermedia) และอนิ เตอร์เน็ต เหลา่ นี้
เปน็ ต้น
1.2 ความหมายของเทคโนโลยี
ความเจริญในด้านต่างๆ ที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน เป็นผลมาจากการศึกษาค้นคว้าทดลอง
ประดิษฐ์คิดค้นส่ิงต่างๆ โดยอาศยั ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เมื่อศึกษาคน้ พบและทดลองใช้ได้ผลแล้ว ก็นำออก
เผยแพร่ใช้ในกิจการด้านต่างๆ สง่ ผลให้เกิดการเปลยี่ นแปลงพัฒนาคุณภาพ และประสทิ ธิภาพในกิจการต่างๆ
เหล่านั้น และวิชาการท่ีว่าด้วยการนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ในกิจการด้านต่างๆ จึงเรียกกันว่า
“วิทยาศาสตรป์ ระยุกต์” หรือนิยมเรยี กกันทั่วไปว่า “เทคโนโลยี” (boonpan edt01.htm)
เทคโนโลยี หมายถึงการใชเ้ ครื่องมอื ใหเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ในการแก้ปัญหา ผู้ที่นำเอาเทคโนโลยี
มาใช้ เรยี กว่านกั เทคโนโลยี (Technologist) (boonpan edt01.htm)
เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational Technology) ตามรูปศัพท์ เทคโน (วิธีการ) + โลยี(วิทยา)
หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วยวิธีการทางการศึกษา ครอบคลุมระบบการนำวิธีการ มาปรับปรุงประสิทธิภาพของ
การศึกษาให้สูงขึ้นเทคโนโลยที างการศึกษาครอบคลุมองค์ประกอบ 3 ประการ คือ วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ
(boonpan edt01.htm)
สภาเทคโนโลยีทางการศึกษานานาชาติได้ให้คำจำกัดความของ เทคโนโลยีทางการศึกษา ว่าเป็นการ
พัฒนาและประยกุ ต์ระบบเทคนิคและอุปกรณ์ ให้สามารถนำมาใช้ในสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม เพ่ือสร้าง
เสริมกระบวนการเรยี นรู้ของคนใหด้ ียิง่ ขน้ึ (boonpan edt01.htm)
ดร.เปร่ือง กุมทุ ได้กล่าวถึงความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาวา่ เปน็ การขยายขอบข่ายของการใช้
สอ่ื การสอน ให้กว้างขวางขึ้นท้ังในด้านบุคคล วัสดุเครื่องมือ สถานที่ และกิจกรรมต่างๆในกระบวนการเรียน
การสอน (boonpan edt01.htm)
Edgar Dale กล่าวว่า เทคโนโลยีทางการศึกษา ไม่ใช่เคร่ืองมือ แต่เป็นแผนการหรือวิธีการทำงาน
อยา่ งเปน็ ระบบ ใหบ้ รรลุผลตามแผนการ (boonpan edt01.htm)
นอกจากนี้เทคโนโลยีทางการศึกษา เป็นการขยายแนวคิดเก่ียวกบั โสตทัศนศกึ ษา ให้กว้างขวางยิง่ ข้ึน
ท้ังนี้ เนอื่ งจากโสตทศั นศึกษาหมายถงึ การศึกษาเกี่ยวกับการใช้ตาดูหูฟัง ดังน้นั อปุ กรณ์ในสมัยกอ่ นมักเนน้ การ
ใช้ประสาทสัมผัส ด้านการฟังและการดูเป็นหลัก จึงใช้คำว่าโสตทัศนอุปกรณ์ เทคโนโลยีทางการศึกษา มี
ความหมายทก่ี วา้ งกว่า ซึ่งอาจจะพจิ ารณาจาก ความคดิ รวบยอดของเทคโนโลยไี ดเ้ ป็น 2 ประการ คอื
ความคดิ รวบยอดทางวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ตามความคิดรวบยอดน้ี เทคโนโลยที างการศกึ ษาหมายถึง
การประยุกต์วิทยาศาสตร์กายภาพ ในรูปของส่ิงประดิษฐ์ เช่น เครื่องฉายภาพยนตร์ โทรทัศน์ ฯลฯ มาใช้
สำหรับการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นส่วนใหญ่ การใช้เคร่ืองมือเหล่าน้ี มักคำนึงถึงเฉพาะการควบคุมให้เคร่ือง
ทำงาน มักไม่คำนึงถงึ จติ วิทยาการเรียนรู้ โดยเฉพาะเรื่องความแตกต่างระหวา่ งบุคคล และการเลือกสื่อให้ตรง
4
กับเน้ือหาวิชา ความหมายของเทคโนโลยีทางการศกึ ษา ตามความคิดรวบยอดนี้ ทำใหบ้ ทบาทของเทคโนโลยี
ทางการศกึ ษาแคบลงไป คือมีเพียงวัสดุ และอุปกรณ์เท่านั้น ไม่รวมวิธีการ หรือปฏิกิรยิ าสัมพันธ์อื่น ๆ เขา้ ไป
ด้วย ซ่ึงตามความหมายนี้กค็ ือ “โสตทัศนศึกษา” นัน่ เอง
ความคิดรวบยอดทางพฤติกรรมศาสตร์ เป็นการนำวธิ ีการทางจติ วทิ ยา มนุษยวิทยา กระบวนการกลุ่ม
ภาษา การส่ือความหมาย การบริหาร เคร่อื งยนต์กลไก การรับรูม้ าใช้ควบคกู่ ับผลิตกรรมทางวิทยาศาสตร์และ
วิศวกรรม เพ่ือให้ผู้เรียน เปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึนมิใช่เพียงการใช้เคร่ืองมือ
อุปกรณ์เท่านั้น แต่รวมถึงวิธีการทางวิทยาศาสตร์เข้าไปด้วย มิใช่วัสดุ หรืออุปกรณ์ แต่เพียงอย่างเดียว
(boonpan edt01.htm)
ภาพท่ี 1.2 เทคโนโลยีสารสนเทศ
ท่มี า : https://sites.google.com/site/tiktucksiriporn/khwam
1.3 เปา้ หมายของเทคโนโลยกี ารศกึ ษา
การขยายพิสยั ของทรัพยากรของการเรียนรู้ กลา่ วคือ แหล่งทรัพยากรการเรยี นรู้ มไิ ด้หมายถงึ แตเ่ พยี ง
ตำรา ครู และอุปกรณก์ ารสอน ทโ่ี รงเรยี นมอี ยเู่ ท่าน้นั แนวคดิ ทางเทคโนโลยีทางการศึกษา ตอ้ งการใหผ้ เู้ รียนมี
โอกาสเรยี นจากแหลง่ ความร้ทู ี่กวา้ งขวางออกไปอีก แหลง่ ทรพั ยากรการเรียนร้คู รอบคลมุ ถึงเรือ่ งตา่ งๆ เชน่
1.1 คน คนเป็นแหล่งทรพั ยากรการเรียนรู้ท่ีสำคัญซึ่งได้แก่ ครู และวิทยากรอื่น ซึ่งอยู่นอกโรงเรยี น
เช่น เกษตรกร ตำรวจ บรุ ุษไปรษณีย์ เป็นต้น
1.2 วัสดุและเคร่ืองมือ ได้แก่ โสตทัศนวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ภาพยนตร์ วิทยุ โทรทัศน์ เครื่อง
วดิ โี อเทป ของจริงของจำลองส่ิงพิมพ์ รวมไปถงึ การใช้ส่อื มวลชนตา่ งๆ
1.3 เทคนิค-วิธีการ แต่เดิมนั้นการเรียนการสอนส่วนมาก ใช้วิธีให้ครูเป็นคนบอกเน้ือหา แก่ผู้เรียน
ปัจจุบันน้ัน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองได้มากท่ีสุด ครูเป็นเพียง ผู้วางแผนแนะแนวทาง
เท่านัน้
1.4 สถานท่ี อันได้แก่ โรงเรียน ห้องปฏิบตั ิการทดลอง โรงฝกึ งาน ไรน่ า ฟาร์ม ท่ีทำการรัฐบาล ภูเขา
แม่น้ำ ทะเล หรอื สถานที่ใด ๆ ที่ชว่ ยเพม่ิ ประสบการณ์ที่ดีแกผ่ ู้เรยี นได้
การเน้นการเรียนรู้แบบเอกัตบุคคล ถึงแม้นักเรียนจะล้นช้ัน และกระจัดกระจาย ยากแก่การจัด
การศึกษาตามความแตกตา่ งระหว่างบุคคลได้ นักการศึกษาและนักจิตวทิ ยาได้พยายามคิด หาวธิ ีนำเอาระบบ
5
การเรียนแบบตัวต่อตัวมาใช้ แต่แทนท่ีจะใช้ครูสอนนักเรียนทีละคน เขาก็คิด ‘แบบเรียนโปรแกรม’ ซึ่งทำ
หน้าท่ีสอน ซึ่งเหมือนกบั ครูมาสอน นักเรยี นจะเรียนด้วยตนเอง จากแบบเรยี นด้วยตนเองในรูปแบบเรียนเป็น
เล่ม หรอื เคร่ืองสอนหรอื ส่อื ประสมหลายๆ อยา่ ง จะเรียนช้าหรอื เร็วกท็ ำไดต้ ามความสามารถของผ้เู รียนแต่ละ
คน
การใช้วิธีวิเคราะห์ระบบในการศึกษา การใช้วิธีระบบ ในการปฏิบัติหรอื แก้ปัญหา เป็นวิธีการท่ีเป็น
วิทยาศาสตร์ ท่เี ชอื่ ถือไดว้ ่าจะสามารถแก้ปญั หา หรอื ช่วยให้งานบรรลเุ ป้าหมายได้ เน่อื งจากกระบวนการของ
วิธรี ะบบ เป็นการวเิ คราะหอ์ งค์ประกอบของงานหรอื ของระบบ อย่างมีเหตุผล หาทางใหส้ ว่ นต่าง ๆ ของระบบ
ทำงาน ประสานสัมพันธ์กันอยา่ งมีประสิทธิภาพ
พฒั นาเคร่ืองมอื -วัสดุอุปกรณท์ างการศึกษา วัสดุและเครอื่ งมอื ต่าง ๆ ที่ใชใ้ นการศกึ ษา หรือการเรยี น
การสอนปจั จบุ ันจะต้องมีการพฒั นา ใหม้ ีศักยภาพ หรอื ขดี ความสามารถในการทำงานให้สูงยิ่งข้ึนไปอีก
แนวคดิ พื้นฐานของนวตั กรรมทางการศกึ ษา
ปัจจัยสำคัญท่ีมีอิทธิพลอย่างมาก ต่อวิธีการศึกษา ได้แก่แนวความคิดพ้ืนฐานทางการศึกษาที่
เปลย่ี นแปลงไป อันมผี ลทำใหเ้ กิดนวัตกรรมการศึกษาที่สำคญั ๆ พอจะสรปุ ได้4 ประการ คือ
1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษาของไทยได้ให้ความสำคัญ
ในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลเอาไว้อย่างชัดเจนซึ่งจะเห็นได้จากแผนการศึกษาของชาติ ให้มุ่งจัด
การศึกษาตามความถนัดความสนใจ และความสามารถ ของแต่ละคนเป็นเกณฑ์ ตัวอยา่ งท่เี ห็นได้ชดั เจนได้แก่
การจัดระบบหอ้ งเรยี นโดยใช้อายุเป็นเกณฑ์บ้าง ใช้ความสามารถเปน็ เกณฑ์บ้าง นวัตกรรมทีเ่ กิดข้ึนเพ่ือสนอง
แนวความคิดพื้นฐานนี้ เช่น
• การเรียนแบบไม่แบ่งช้นั (Non-Graded School)
• แบบเรียนสำเร็จรปู (Programmed Text Book)
• เครอ่ื งสอน (Teaching Machine)
• การสอนเปน็ คณะ (TeamTeaching)
• การจดั โรงเรียนในโรงเรยี น (School within School)
• เครื่องคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน (Computer Assisted Instruction)
2. ความพร้อม (Readiness) เดิมทีเดียวเช่ือกันว่า เด็กจะเริ่มเรียนได้ก็ต้องมีความพร้อมซ่ึงเป็น
พฒั นาการตามธรรมชาติ แตใ่ นปัจจุบันการวจิ ยั ทางดา้ นจิตวิทยาการเรียนรู้ ช้ใี หเ้ หน็ ว่าความพร้อมในการเรยี น
เป็นส่ิงท่ีสร้างข้ึนได้ ถ้าหากสามารถจัดบทเรียน ให้พอเหมาะกับระดับความสามารถของเด็กแต่ละคน วิชาท่ี
เคยเช่ือกันว่ายาก และไม่เหมาะสมสำหรับเด็กเล็กก็สามารถนำมาให้ศึกษาได้ นวัตกรรมท่ีตอบสนอง
แนวความคดิ พ้ืนฐานนไ้ี ด้แก่ ศนู ยก์ ารเรียน การจัดโรงเรียนในโรงเรยี น นวัตกรรมท่ีสนองแนวความคิดพื้นฐาน
ด้านนี้ เชน่
• ศูนยก์ ารเรยี น (Learning Center)
6
• การจัดโรงเรยี นในโรงเรียน (School within School)
• การปรับปรุงการสอนสามชน้ั (Instructional Development in 3 Phases)
3. การใช้เวลาเพ่ือการศึกษา แต่เดิมมาการจัดเวลาเพ่ือการสอน หรือตารางสอนมักจะจัดโดยอาศัย
ความสะดวกเป็นเกณฑ์ เชน่ ถือหนว่ ยเวลาเป็นชัว่ โมง เท่ากันทุกวชิ า ทุกวันนอกจากนน้ั ก็ยงั จัดเวลาเรยี นเอาไว้
แน่นอนเป็นภาคเรียน เป็นปี ในปัจจุบันได้มีความคิดในการจัดเป็นหน่วยเวลาสอนให้สมั พันธ์กับลักษณะของ
แต่ละวิชาซง่ึ จะใชเ้ วลาไม่เท่ากัน บางวิชาอาจใช้ช่วงสัน้ ๆ แตส่ อนบ่อยครั้ง การเรยี นก็ไม่จำกัดอยู่แตเ่ ฉพาะใน
โรงเรียนเท่านน้ั นวตั กรรมท่ีสนองแนวความคดิ พ้ืนฐานดา้ นนี้ เชน่
• การจัดตารางสอนแบบยืดหยุ่น (Flexible Scheduling)
• มหาวทิ ยาลัยเปดิ (Open University)
• แบบเรยี นสำเร็จรูป (Programmed Text Book)
• การเรยี นทางไปรษณยี ์
4. ประสิทธิภาพในการเรียน การขยายตัวทางวิชาการ และการเปล่ียนแปลงของสังคม ทำให้มีสิ่ง
ต่างๆ ท่ีคนจะต้องเรียนรู้เพ่ิมขึ้นมาก แต่การจัดระบบการศึกษาในปัจจุบันยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอจึง
จำเป็นต้องแสวงหาวิธกี ารใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ทั้งในด้านปัจจยั เก่ียวกับตัวผู้เรียน และปัจจัยภายนอก
นวตั กรรมในดา้ นนี้ที่เกดิ ข้ึน เชน่
• มหาวิทยาลัยเปิด
• การเรยี นทางวิทยุ การเรียนทางโทรทัศน์
• การเรยี นทางไปรษณีย์ แบบเรยี นสำเร็จรปู
• ชุดการเรยี น
ภาพท่ี 1.3 เป้าหมายของเทคโนโลยีการศึกษา
ที่มา : https://sites.google.com/site/technologyofdevelopment/profile
1.4 นวัตกรรมทางการศกึ ษาทีส่ ำคญั ของไทยในปจั จบุ นั (2546)
นวัตกรรม เป็นความคิดหรือการกระทำใหม่ๆ ซ่ึงนักวชิ าการหรือผู้เช่ียวชาญในแต่ละวงการจะมีการ
คิดและทำสิ่งใหม่อยู่เสมอ ดงั นั้นนวัตกรรมจึงเป็นสิ่งท่ีเกิดขึ้นใหม่ได้เรื่อยๆ สงิ่ ใดที่คิดและทำมานานแลว้ ก็ถือ
ว่าหมดความเป็นนวัตกรรมไป โดยจะมสี ิ่งใหมม่ าแทน
7
ในวงการศึกษาปัจจุบัน มีสิ่งท่ีเรียกว่านวัตกรรมทางการศึกษา หรอื นวตั กรรมการเรียนการสอน อยู่
เป็นจำนวนมาก บางอย่างเกิดข้ึนใหม่ บางอย่างมีการใช้มาหลายสิบปีแล้ว แต่ก็ยังคงถือว่าเป็น นวัตกรรม
เน่ืองจากนวัตกรรมเหล่านั้นยังไม่แพร่หลายเป็นที่รู้จักทั่วไป ในวงการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษาต่างๆ ท่ี
กล่าวถงึ กันมากในปัจจบุ นั
1.5 E-learning
ความหมาย e-Learning เปน็ คำที่ใช้เรยี กเทคโนโลยีการศกึ ษาแบบใหม่ ทย่ี ังไม่มีชอ่ื ภาษาไทยท่แี นช่ ัด
และมีผู้นิยามความหมายไว้หลายประการ ผศ.ดร.ถนอมพร เลาหจรัสแสง ให้คำนิยาม E-Learning หรือ
Electronic Learning ว่า หมายถึง “การเรียนผ่านทางส่ืออิเลคทรอนิกส์ซึ่งใช้การ นำเสนอเนื้อหาทาง
คอมพิวเตอร์ในรูปของส่ือมัลติมีเดียไดแ้ ก่ ข้อความอเิ ลคทรอนกิ ส์ ภาพน่ิง ภาพกราฟิก วดิ ีโอ ภาพเคล่ือนไหว
ภาพสามมิติฯลฯ”เช่นเดียวกับ คุณธิดาทิตย์ จันคนา ที่ให้ความ หมายของ e-learning ่าหมายถึงการศึกษาที่
เรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเตอรเ์ นตโดยผู้เรียนรู้จะเรียนรู้ ด้วยตัวเอง ารเรียนรู้จะเป็นไปตามปัจจัยภายใต้ทฤษฎี
แห่งการเรียนรู้สองประการคือ เรียนตามความรู้ความสามารถของผู้เรียนเอง และ การตอบสนองใน ความ
แตกต่างระหว่างบุคคล(เวลาท่ีแตล่ ะบุคคลใช้ในการเรียนรู้)การเรียนจะกระทำผ่านส่ือบนเครอื ข่ายอินเตอร์เนต
โดยผู้สอนจะนำเสนอขอ้ มูลความรใู้ ห้ผู้เรียนได้ทำการศึกษาผา่ นบริการ World Wide Web หรอื เวปไซด์ โดย
อาจให้มีปฏิสมั พันธ์ (สนทนา โต้ตอบ ส่งขา่ วสาร) ระหว่างกัน จะท่มี ีการ เรียนรู้ ู้ในสามรูปแบบคือ ผู้สอนกับ
ผเู้ รียน ผู้เรียนกบั ผู้เรียนอีกคนหนึ่ง หรือผู้เรียนหนึ่งคนกับกลุม่ ของผู้เรียน ปฏิสัมพันธ์น้ีสามารถ กระทำ ผ่าน
เคร่ืองมอื สองลกั ษณะคือ
แบบ Real-time ได้แก่การสนทนาในลักษณะของการพิมพ์ข้อความแลกเปล่ียนข่าวสารกัน หรือ ส่ง
ในลักษณะของเสียง จากบริการของ Chat room
แบบ Non real-time ได้แก่การส่งข้อความถึงกันผ่านทางบริการ อิเลคทรอนิคเมลล์ WebBoard
News-group เปน็ ต้น
ภาพที่ 1.4 ทำความร้จู กั กับ E-learning ว่าคอื อะไร
ทมี่ า : https://www.tot.co.th/sme-tips/SME-tips/2020/06/24/e-learning
8
1.5.1 วัตกรรมทางการศกึ ษาที่สำคญั ของไทยในปจั จบุ ัน
นวัตกรรม เป็นความคดิ หรือการกระทำใหม่ๆ ซ่ึงนักวชิ าการหรือผู้เช่ียวชาญในแต่ละวงการจะมีการ
คิดและทำสง่ิ ใหมอ่ ยเู่ สมอ ดงั นั้น นวัตกรรมจึงเปน็ สิ่งที่เกิดข้ึนใหมไ่ ด้เรื่อยๆ สิ่งใดท่ีคดิ และทำมานานแล้วก็ถือ
ว่าหมดความเป็นนวัตกรรมไป โดยจะมีสิ่งใหม่มาแทน ในวงการศึกษาปัจจุบัน มีส่ิงที่เรียกว่า นวัตกรรมทาง
การศึกษา หรือ นวตั กรรมการเรียนการสอน อยู่เป็นจำนวนมาก บางอยา่ งเกิดข้นึ ใหม่ บางอย่างมีการใช้มา
หลายสบิ ปีแลว้ แต่ก็ยงั คงถือวา่ เป็นนวัตกรรม เนอ่ื งจากนวัตกรรมเหล่านนั้ ยังไมแ่ พร่หลายเปน็ ท่รี จู้ กั ทัว่ ไปในวง
การศึกษา
ภาพท่ี 1.5 นวตั กรรมการเรยี นการสอน
ทีม่ า : https://sites.google.com/site/chetsadasbt/khlang-bthkhwam-1
1.5.2 ประเภทของการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศไทย
ประเภทของนวัตกรรมการศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้มีบทบัญญัติที่
เก่ียวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรมการศึกษาไว้หลายมาตรา มาตราที่สำคัญ คือ มาตรา 67 รัฐ
ต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา รวมทั้งการติดตาม
ตรวจสอบและประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ท่ีคุ้มค่าและเหมาะสมกับ
กระบวนการเรียนรู้ของคนไทยและในมาตรา 22 "การจัดการศึกษาตอ้ งยึดหลักวา่ ผเู้ รียนทกุ คนมคี วามสามารถ
เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตนเองได้และถือว่า
ผเู้ รยี นมีความสำคญั ท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเต็ม
ตามศักยภาพ" การดำเนินการปฏิรูปการศึกษาให้สำเร็จได้ตามท่ีระบุไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2542 ดังกล่าว จำเป็นต้องทำการศึกษาวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาใหม่ๆ ท่ีจะเข้ามาช่วยแก้ไข
ปัญหาทางการศึกษาท้ังในรูปแบบของการศกึ ษาวิจยั การทดลองและการประเมินผลนวัตกรรมหรือเทคโนโลยี
ที่นำมาใช้ว่ามีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด นวัตกรรมท่ีนำมาใช้ท้ังที่ผ่านมาแล้วและที่จะมีในอนาคตมี
หลายประเภทขน้ึ อยู่กับการประยกุ ต์ใช้นวัตกรรมในด้านต่างๆ ในทีน่ จ้ี ะขอกล่าวคือ นวตั กรรม 5 ประเภท คือ
1. นวัตกรรมทางด้านหลกั สูตร
2. นวตั กรรมการเรยี นการสอน
9
3. นวัตกรรมส่อื การสอน
4. นวตั กรรมการประเมนิ ผล
5. นวตั กรรมการบริหารจดั การ
1.5.2.1 นวตั กรรมทางด้านหลกั สูตร
นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ
สภาพแวดล้อมในท้องถ่ินและตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากขึ้น เน่ืองจากหลักสูตรจะต้องมีการ
เปล่ียนแปลงอยู่เสมอเพ่ือให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
และของโลก นอกจากน้กี ารพฒั นาหลกั สูตรยงั มคี วามจำเป็นทจี่ ะต้องอยู่บนฐานของแนวคิดทฤษฎีและปรชั ญา
ทางการจัดการสัมมนาอีกด้วย การพัฒนาหลักสูตรตามหลักการและวิธีการดังกล่าวต้องอาศัยแนวคิดและ
วิธีการใหม่ๆ ที่เป็นนวัตกรรมการศึกษาเข้ามาช่วยเหลือจัดการให้เป็นไปในทิศทางท่ีต้องการ นวัตกรรม
ทางด้านหลกั สตู รในประเทศไทย ได้แก่ การพฒั นาหลักสูตรดงั ต่อไปนี้
1.หลกั สูตรบูรณาการ เป็นการบูรณาการส่วนประกอบของหลักสูตรเข้าด้วยกันทางด้านวิทยาการใน
สาขาต่างๆ การศึกษาทางด้านจริยธรรมและสังคม โดยมุ่งให้ผู้เรียนเป็นคนดีสามารถใช้ประโยชน์จากองค์
ความร้ใู นสาขาต่างๆ ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพสงั คมอย่างมีจรยิ ธรรม
2.หลักสูตรรายบุคคล เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการศึกษาตามอัตภาพ เพื่อตอบสนอง
แนวความคิดในการจัดการศึกษารายบุคคล ซง่ึ จะต้องออกแบบระบบเพ่ือรองรับความก้าวหน้าของเทคโนโลยี
ดา้ นต่างๆ
3.หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ เป็นหลักสูตรท่ีมุ่งเน้น กระบวนการในการจัดกิจกรรมและ
ประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพ่ือนำไปสู่ความสำเร็จ เช่น กิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในบทเรียน
ประสบการณ์การเรยี นรจู้ ากการสบื คน้ ดว้ ยตนเอง เปน็ ตน้
4.หลกั สตู รท้องถิ่น เป็นการพัฒนาหลกั สูตรทตี่ ้องการกระจายการบริหารจัดการออกสทู่ ้องถิน่ เพื่อให้
สอดคล้องกบั ศิลปวัฒนธรรมสิ่งแวดลอ้ มและความเป็นอยขู่ องประชาชนทีม่ อี ยูใ่ นแต่ละท้องถ่ิน แทนท่ีหลักสตู ร
ในแบบเดิมทใ่ี ช้วิธีการรวมศูนย์การพฒั นาอยใู่ นส่วนกลาง
10
ภาพที่ 1.6 นวัตกรรมทางด้านหลกั สูตร
ท่มี า : https://www.learneducation.co.th
1.5.2.2 นวัตกรรมการเรยี นการสอน
เป็นการใช้วธิ ีระบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธสี อนแบบใหม่ๆ ที่สามารถตอบสนองการเรียน
รายบุคคล การสอนแบบผูเ้ รยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง การเรยี นแบบมีสว่ นร่วม การเรียนรแู้ บบแก้ปัญหา การพฒั นาวิธี
สอนจำเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและสนับสนุนการเรียนการสอน ตัวอย่าง
นวัตกรรมท่ีใช้ในการเรียนการสอน ได้แก่ การสอนแบบศูนย์การเรียน การใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ การ
สอนแบบเรยี นรรู้ ่วมกัน และการเรียนผ่านเครือข่ายคอมพวิ เตอร์และอนิ เทอร์เนต็ การวิจัยในชน้ั เรียน ฯลฯ
ภาพท่ี 1.7 นวตั กรรมการเรยี นการสอน
ทมี่ า : https://www.learneducation.co.th
1.5.2.3 นวัตกรรมสื่อการสอน
เน่ืองจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่ายและเทคโนโลยี
โทรคมนาคม ทำให้นักการศึกษาพยายามนำศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ในการผลิตสื่อการเรียนการ
สอนใหม่ๆ จำนวนมากมาย ทั้งการเรยี นดว้ ยตนเองการเรียนเปน็ กลุ่มและการเรยี นแบบมวลชน ตลอดจนสื่อท่ี
ใช้เพือ่ สนบั สนุนการฝึกอบรม ผา่ นเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรต์ ัวอยา่ ง นวตั กรรมสอ่ื การสอน ได้แก่
- คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน (CAI)
- มลั ติมเี ดีย (Multimedia)
- การประชุมทางไกล (Teleconference)
11
- ชดุ การสอน (Instructional Module)
- วดี ที ศั นแ์ บบมปี ฏิสัมพันธ์ (Interactive Video)
ภาพท่ี 1.8 นวัตกรรมสื่อการสอน
ท่มี า : https://www.learneducation.co.th
1.5.2.4 นวตั กรรมทางด้านการประเมนิ ผล
เป็นนวัตกรรมท่ีใชเ้ ป็นเคร่อื งมือเพื่อการวัดผลและประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและทำได้อย่าง
รวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มา
สนบั สนุนการวัดผล ประเมินผลของสถานศกึ ษา ครู อาจารย์ ตวั อย่าง นวัตกรรมทางด้านการประเมนิ ผล ได้แก่
- การพัฒนาคลังข้อสอบ
- การลงทะเบียนผา่ นทางเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ และอนิ เตอรเ์ น็ต
- การใชบ้ ัตรสมาร์ทการ์ด เพ่ือการใช้บรกิ ารของสถาบนั ศกึ ษา
- การใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นการตดั เกรด
- ฯลฯ
ภาพที่ 1.9 นวตั กรรมทางด้านการประเมนิ ผล
ท่มี า : https://www.learneducation.co.th
12
1.5.2.5 นวัตกรรมการบรหิ ารจดั การ
เป็นการใช้นวัตกรรมที่เก่ียวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการ เพ่ือการ ตัดสินใจ
ของผู้บริหารการศกึ ษาใหม้ ีความรวดเร็วทันเหตกุ ารณ์ ทันตอ่ การเปล่ยี นแปลงของโลก
นวัตกรรมการศึกษาที่นำมาใช้ทางด้านการบริหารจะเกี่ยวข้องกับระบบการจัดการฐานข้อมู ลใน
หน่วยงานสถานศึกษา เช่น ฐานข้อมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์และบุคลากร ใน
สถานศึกษา ด้านการเงิน บัญชี พัสดุ และครุภัณฑ์ ฐานข้อมูลเหล่านี้ต้องการออกระบบที่สมบูรณ์มีความ
ปลอดภัยของขอ้ มลู สูง
นอกจากนี้ยังมีความเกี่ยวข้องกับสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน เช่น ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย
พระราชบัญญตั ิ ที่เก่ียวกับการจัดการศึกษา ซ่ึงจะต้องมีการอบรม เก็บรักษาและออกแบบระบบการสืบค้นที่ดี
พอซง่ึ ผู้บริหารสามารถสบื คน้ ข้อมลู มาใช้งานได้ทนั ทีตลอดเวลาการใช้นวัตกรรมแต่ละด้านอาจมีการผสมผสาน
ทซี่ อ้ นทับกันในบางเร่ือง ซึง่ จำเป็นต้องมีการพัฒนาร่วมกนั ไปพรอ้ มๆ กนั หลายด้าน การพัฒนาฐานข้อมูลอาจ
ตอ้ งทำเป็นกลมุ่ เพ่อื ให้สามารถนำ มาใช้รว่ มกันได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
ภาพท่ี 1.10 นวัตกรรมการบรหิ ารจดั การ
ทมี่ า : https://www.learneducation.co.th
1.5.3 นวัตกรรมทางการศึกษาต่างๆ ทกี่ ล่าวถงึ กันมากในปัจจบุ ัน E-learning
1.5.3.1 ความหมายของ e-Learning
ความหมายของ e-Learning ที่มีปรากฏอยู่ในส่วนคำถามท่ีถูกถามบ่อย (Frequently Asked
Question : FAQ) ในเวป www.elearningshowcase.com ให้นิยามว่า e-Learning มีความหมาย เดียวกับ
Technology-based Learning นั้นคือการศึกษาที่อาศัยเทคโนโลยีมาเป็นส่วนประกอบที่ สำคัญ ความหมาย
ของ e-Learning ครอบคลุมกวา้ งรวมไปถงึ ระบบโปรแกรม และขบวนการท่ี ดำเนินการ ตลอดจนถึงการศึกษา
ท่ีใช้ ้คอมพิวเตอร์เป็นหลักการศึกษาท่ีอาศัยWebเป็นเครื่องมือหลักการศึกษาจากห้องเรียนเสมือนจริง และ
การศกึ ษาท่ีใช้ การทำงานรว่ มกนั ของอุปกรณ์อเิ ลค ทรอนิค ระบบดิจิตอล ความหมายเหล่านี้มาจากลักษณะ
ของการส่งเน้ือหาของบทเรียนผ่านทาง อุปกรณ ์อิเลคทรอนิค ซึ่งรวมท้ังจากในระบบอินเตอร์เนต ระบบ
เครอื ข่ายภายใน (Intranets) การ ถา่ ยทอดผา่ นสัญญาณทีวี และการใช้ซดี ีรอม อย่างไรก็ตาม e-Learning จะ
13
มีความหมายในขอบเขต ที่แคบกว่าการศึกษาแบบทางไกล (Long distance learning) ซึ่งจะรวมการเรียน
โดยอาศัยการส่ง ข้อความหรือเอกสารระหว่างกันและช้ันเรียนจะเกดิ ขึ้นในขณะที่มีการเขียนข้อความสง่ ถึงกัน
การนิยามความหมายแก่ e-learning Technology-based learning และ Web-based Learning ยังมี
ความแตกต่างกัน ตามแต่องค์กร บุคคลและกลุ่มบุคคลแต่ละแห่งจะให้ความหมาย และคาดกันว่าคำ ว่าe-
Learning ที่มีการใช้มาต้ังแต่ปี คศ. 1998 ในที่สุดก็จะเปล่ียนไปเ ป็น e-Learning เหมือนอย่าง กับที่มี
เปล่ยี นแปลงคำเรียกของ e-Business
เม่ือกล่าวถึงการเรียนแบบ Online Learning หรือ Web-based Learning ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึง ของ
Technology-based Learning n่มี ีการเรียนการสอนผ่านระบบอินเตอร์เนต อินทราเนต และ เอ็ซทราเนต
(Extranet) พบว่าจะมีระดับ การจัดการที่แตกต่างกันออกไป Online Learning ปกติจะ ประกอบด้วย
บทเรียนท่ีมีข้อความและรูปภาพ แบบฝึกหัดแบบทดสอบ และบันทึกการเรียน อาทิ คะแนนผลการทดสอบ
(test score) และบันทึกความก้าวหน้าของการเรียน(bookmarks) แต่ถ้าเป็น Online Learning ท่ีสูงขึ้นอีก
ระดับหน่ึง โปรแกรมของการเรียนจะประกอบด้วยภาพเคลอื่ นไหว แบบ จำลอง สื่อที่เป็นเสียง ภาพจากวิดีโอ
กลุ่มสนทนาท้ังในระดับเดียวกันหรือในระดับผู้รู้ ผู้มีประสบการณ์ ที่ปรึกษาแบบออนไลน์ (Online
Mentoring) จดุ เชอื่ มโยงไปยงั เอกสารอ้างองิ ท่มี อี ยู่ ในบริการของเวป และการส่ือสารกับระบบที่บันทึกผลการ
เรียน เป็นต้น
การเรียนรู้แบบออนไลน์หรือ e-learning การศึกษาเรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต
(Internet) หรืออินทราเน็ต(Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตาม ความสามารถและ
ความสนใจของตน โดยเน้ือหาของบทเรียนซ่ึงประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพเสียง วิดีโอและมัลติมีเดียอื่นๆ
จะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่าน Web Browser โดยผู้เรียน ผู้สอน และ เพื่อนร่วมช้ันเรียนทุกคน สามารถติดต่อ
ปรึกษา แลกเปล่ียนความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับ การเรียนในชั้นเรียนปกติ โดยอาศัยเครอ่ื งมอื การ
ติดต่อ ส่ือสารท่ีทันสมัย(e-mail, web-board, chat) จึงเปน็ การเรยี นสำหรับทุกคน, เรียนได้ทุกเวลา และทุก
สถานที่ (Learn for all : anyone, anywhere and anytime)
1.5.3.2 ลกั ษณะสำคญั ของ e-Learning (Feature of e-Learning)
ลกั ษณะสำคัญของ e-Learning ท่ีดี ควรจะประกอบไปด้วยลักษณะสำคญั 4 ประการ ดงั น้ี
1. ทุกเวลาทุกสถานท่ี (Anywhere, Anytime) หมายถึง e-Learning ควรต้องช่วยขยายโอกาสใน
การเขา้ ถงึ เนือ้ หาการเรียนรขู้ องผู้เรียนได้จริง ในท่ีนห้ี มายรวมถึง การทีผ่ ู้เรียนสามารถเรียกดูเน้ือหาตามความ
สะดวกของผู้เรียน เช่น ผูเ้ รียนมกี ารเขา้ ถึงเคร่ืองคอมพิวเตอรท์ ี่เชอื่ มต่อกบั เครอื ข่ายได้อย่างยดื หยุ่น
2. มัลติมเี ดีย (Multimedia) หมายถงึ e-Learning ควรต้องมกี ารนำเสนอเน้ือหาโดยใชป้ ระโยชน์จาก
สือ่ ประสมเพื่อช่วยในการประมวลผลสารสนเทศของผู้เรยี นเพื่อให้เกิดความคงทนในการจดจำและ/หรือการ
เรยี นรู้ได้ดีขึ้น
3. การเชื่อมโยง (Non-linear) หมายถึง e-Learning ควรต้องมีการนำเสนอเน้ือหาในลักษณะที่ไม่
เป็นเชิงเส้นตรง กล่าวคือ ผู้เรียนสามารถเข้าถึงเน้ือหาตามความต้องการ โดย e-Learning จะต้องจัดหาการ
14
เช่ือมโยงที่ยืดหยุ่นแก่ผู้เรียน นอกจากน้ียังหมายถึงการออกแบบให้ผู้เรยี นสามารถเรียนไดต้ ามจังหวะ(pace)
การเรยี นของตนเองด้วย เช่น ผู้เรียนท่ีเรียนช้าสามารถเลือกเน้ือหาท่ีต้องการเรยี นซ้ำไดบ้ ่อยครั้งผเู้ รียนที่เรียน
ดีสามารถเลอื กทีจ่ ะขา้ มไปเรยี นในเนอ้ื หาทต่ี อ้ งการได้โดยสะดวก
4. การโต้ตอบ (Interaction) หมายถึง e-Learning ควรต้องมีการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนโต้ตอบ(มี
ปฏสิ ัมพนั ธ์) กับเนอื้ หา หรอื กบั ผู้อ่นื ได้ กล่าวคือ
1) e-Learning ควรต้องมีการออกแบบกิจกรรมซ่ึงผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับเนื้อหา
(InteractiveActivities) รวมท้ังมีการจัดเตรียมแบบฝึกหัดและแบบทดสอบใหผ้ ู้เรยี นสามารถตรวจสอบความ
เข้าใจดว้ ยตนเองได้
2) e-Learning ควรต้องมกี ารจัดหาเครอื่ งมือในการให้ช่องทางแก่ผ้เู รียนในการติดตอ่ ส่ือสาร
(Collaboration Tools) เพ่ือการปรึกษา อภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็นกับผู้สอน วทิ ยากรผู้เชี่ยวชาญ
หรือเพื่อน ๆ ร่วมชั้นเรียนโดยในส่วนของการโต้ตอบนี้ จะต้องคำนึงถึงการให้ผลป้อนกลับที่ทันต่อเหตุการณ์
(ImmediateResponse) ซึ่งอาจหมายถึง การท่ีผู้สอนตอ้ งเข้ามาตอบคำถามหรือให้คำปรึกษาแก่ผู้เรียนอย่าง
สม่ำเสมอและทันเหตุการณ์ รวมถึง การท่ี e-Learning ควรต้องมีการออกแบบให้มีการทดสอบ การวัดผล
และการประเมินผล ซึง่ สามารถให้ผลป้อนกลับโดยทันทแี กผ่ ู้เรยี น ไมว่ ่าจะอยู่ในลกั ษณะของแบบทดสอบกอ่ น
เรยี น (pre-test) หรอื แบบทดสอบหลังเรยี น (posttest) กต็ าม
1. เน้ือหา (Content) เน้ือหาเป็นองค์ประกอบสำคัญทีส่ ุดสำหรับ e-Learning คุณภาพของการเรียน
การสอนของ e-Learningและการที่ผู้เรยี นจะบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์การเรยี นในลักษณะน้ีหรอื ไม่อย่างไร สิง่ สำคัญ
ทีส่ ดุ กค็ ือ เนื้อหาการเรียนซ่งึ ผสู้ อนได้จัดหาใหแ้ ก่ผู้เรียน ซึง่ ผู้เรียนมีหนา้ ที่ในการใชเ้ วลาส่วนใหญ่ศึกษาเน้ือหา
ด้วยตนเอง เพ่ือทำการปรับเปล่ียน (convert) เน้ือหาสารสนเทศท่ีผู้สอนเตรยี มไว้ให้เกดิ เป็นความรู้ โดยผ่าน
การคิดค้น วิเคราะห์อย่างมีหลักการและเหตุผลด้วยตัวของผู้เรียนเอง คำว่า “เน้ือหา” ในองค์ประกอบแรก
ของ e-Learning น้ี ไม่ได้จำกัดเฉพาะสื่อการสอน และ/หรือ คอร์สแวร์ เท่าน้ัน แต่ยังหมายถึงส่วนประกอบ
สำคัญอ่ืน ๆ ท่ี e-Learning จำเป็นจะต้องมีเพ่ือให้เนื้อหามีความสมบูรณ์ เช่น คำแนะนำการเรียน ประกาศ
สำคัญตา่ ง ๆ ผลป้อนกลบั ของผ้สู อน เป็นต้น
2. ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ (Learning Management System) องค์ประกอบที่สำคัญมาก
เช่นกันสำหรับ e-Learning ได้แก่ ระบบบรหิ ารจัดการการเรียนรู้ ซึ่งเป็นเสมือนระบบทรี่ วบรวมเคร่ืองมือซึ่ง
ออกแบบไว้เพ่ือให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้ในการจัดการกบั การเรยี นการสอนออนไลน์นั่นเอง ซ่งึ ผู้ใชใ้ นที่นี้ แบ่งได้
เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ ผู้สอน (instructors) ผู้เรียน (students) ผู้ช่วยสอน(course manager) และผู้ที่จะเข้ามา
ชว่ ยผู้สอนในการบริหารจัดการด้านเทคนิคต่าง ๆ (network administrator)ซ่ึงเครื่องมือและระดับของสิทธิ
ในการเข้าใชท้ ี่จดั หาไว้ให้ก็จะมีความแตกต่างกนั ไปตามแต่การใช้งานของแต่ละกลุม่ ตามปรกติแล้ว เคร่ืองมือ
ทร่ี ะบบบริหารจดั การการเรียนรู้ต้องจัดหาไว้ใหก้ ับผ้ใู ช้ ไดแ้ ก่ พื้นท่ีและเครอื่ งมอื สำหรบั การชว่ ยผูเ้ รียนในการ
เตรียมเนื้อหาบทเรียน พื้นที่และเครื่องมือสำหรับการทำแบบทดสอบ แบบสอบถาม การจัดการกับแฟ้มข้อมูล
ตา่ ง ๆ นอกจากนีร้ ะบบบริหารจัดการการเรียนร้ทู ี่สมบรู ณ์จะจัดหาเครอ่ื งมอื ในการติดต่อส่อื สารไว้สำหรับผู้ใช้
ระบบไม่ว่าจะเป็นในลักษณะของ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) เว็บบอร์ด(Web Board) หรือ แช็ท
15
(Chat) บางระบบก็ยังจดั หาองค์ประกอบพิเศษอื่น ๆ เพ่ืออำนวยความสะดวกให้กับผใู้ ช้อีกมากมาย เช่น การ
จัดให้ผู้ใช้สามารถเข้าดูคะแนนการทดสอบ ดูสถิติการเข้าใช้งานในระบบ การอนุญาตให้ผู้ใช้สร้างตารางการ
เรียน ปฏิทินการเรียน เปน็ ตน้
3. โหมดการติดต่อส่ือสาร (Modes of Communication) องค์ประกอบสำคัญของ e-Learning ท่ี
ขาดไม่ได้อีกประการหนึ่ง ก็คือ การจัดให้ผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้สอน วิทยากร ผู้เชี่ยวชาญอ่ืน ๆ
รวมท้ังผู้เรียนด้วยกัน ในลักษณะที่หลากหลาย และสะดวกต่อผู้ใช้ กล่าวคือ มีเคร่ืองมือท่ีจัดหาไว้ให้ผู้เรียน
ใช้ได้มากกว่า 1 รูปแบบ รวมท้ังเคร่ืองมือนั้นจะต้องมีความสะดวกในการใช้งาน (user-friendly) ด้วย ซ่ึง
เครอ่ื งมือท่ี e-Learning ควรจดั หาใหผ้ ูเ้ รยี น ไดแ้ ก่
3.1 การประชมุ ทางคอมพิวเตอร์
ในท่ีน้ีหมายถึง การประชุมทางคอมพิวเตอร์ท้ังในลักษณะของการติดต่อส่ือสารแบบต่างเวลา
(Asynchronous) เช่น การแลกเปล่ียนข้อความผ่านทางกระดานข่าวอิเลก็ ทรอนิกส์ หรือ ที่รูจ้ ักกันในช่ือของ
เว็บบอรด์ (Web Board) เป็นต้น หรอื ในลักษณะของการติดตอ่ สือ่ สารแบบเวลาเดียวกัน(Synchronous) เช่น
การสนทนาออนไลน์ หรือท่ีคุ้นเคยกันดีในชื่อของ แช็ท (Chat) และ ICQ หรือ ในบางระบบ อาจจัดให้มีการ
ถ่ายทอดสัญญาณภาพและเสียงสด (Live Broadcast / Videoconference) ผ่านทางเว็บ เป็นต้น ในการ
นำไปใช้ดำเนินกจิ กรรมการเรยี นการสอน ผู้สอนสามารถเปดิ สัมมนาในหวั ข้อท่ีเกย่ี วข้องกบั เน้ือหาในคอร์ส ซ่ึง
อาจอย่ใู นรปู ของการบรรยาย การสัมภาษณผ์ เู้ ชย่ี วชาญ การเปดิ อภปิ รายออนไลน์ เป็นต้น
3.2 ไปรษณยี อ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ (e-mail)
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นองค์ประกอบสำคัญเพื่อให้ผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้สอนหรือ
ผู้เรยี นอ่ืน ๆ ในลกั ษณะรายบคุ คล การส่งงานและผลป้อนกลับให้ผ้เู รียน ผู้สอนสามารถใหค้ ำแนะนำปรึกษาแก่
ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ทั้งน้ีเพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนอย่าง
ต่อเน่ือง ท้ังน้ีผู้สอนสามารถใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ในการให้ความคิดเห็นและผลป้อนกลับท่ีทันต่อ
เหตกุ ารณ์
4. แบบฝึกหดั /แบบทดสอบ
องค์ประกอบสุดท้ายของ e-Learning แต่ไม่ได้มีความสำคัญน้อยท่ีสุดแต่อย่างใด ได้แก่ การจัดให้
ผ้เู รยี นไดม้ ีโอกาสในการโต้ตอบกบั เนอ้ื หาในรูปแบบของการทำแบบฝึกหัด และแบบทดสอบความรู้
4.1 การจัดให้มแี บบฝกึ หัดสำหรบั ผเู้ รียน
เน้ือหาท่ีนำเสนอจำเป็นต้องมีการจัดหาแบบฝึกหัดสำหรับผู้เรียนเพ่ือตรวจ สอบความเข้าใจไว้ด้วย
เสมอ ทั้งน้ีเพราะ e-Learning เป็นระบบการเรียนการสอนซ่ึงเน้นการเรียนรู้ดว้ ยตนเองของผูเ้ รยี นเป็นสำคัญ
ดังนั้นผู้เรียนจึงจำเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องมีแบบฝึกหัดเพ่ือการตรวจสอบว่าตนเข้าใจและรอบรู้ในเร่ืองท่ีศึกษา
ด้วยตนเองมาแล้วเป็นอย่างดีหรือไม่ อยา่ งไร การทำแบบฝึกหัดจะทำให้ผู้เรียนทราบไดว้ ่าตนน้ันพรอ้ มสำหรับ
การทดสอบ การประเมนิ ผลแลว้ หรือไม่
16
4.2 การจัดให้มแี บบทดสอบผู้เรยี น
แบบทดสอบสามารถอยู่ในรูปของแบบทดสอบก่อนเรยี น ระหว่างเรียน หรือหลังเรียนกไ็ ด้สำหรบั e-
Learning แล้ว ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ทำให้ผู้สอนสามารถสนับสนุนการออกข้อสอบของผู้สอนได้
หลากหลายลกั ษณะ กลา่ วคือ ผู้สอนสามารถออกแบบการประเมินผลในลักษณะของ อตั นัย ปรนยั ถูกผิด การ
จบั คู่ ฯลฯ นอกจากนี้ยังทำให้ผู้สอนมีความสะดวกสบายในการสอบเพราะผู้สอนสามารถท่ีจะจัดทำข้อสอบใน
ลักษณะคลังข้อสอบไว้เพ่ือเลือกในการนำกลับมาใช้ หรือปรับปรุงแก้ไขใหมไ่ ดอ้ ย่างง่ายดาย นอกจากน้ีในการ
คำนวณและตัดเกรด ระบบ e-Learning ยังสามารถช่วยให้การประเมินผลผู้เรียนเป็นไปได้อย่างสะดวก
เนือ่ งจากระบบบริหารจดั การการเรยี นรู้ จะช่วยทำให้การคิดคะแนนผู้เรียน การตดั เกรดผเู้ รียนเปน็ เรื่องง่ายขึ้น
เพราะระบบจะอนญุ าตใหผ้ ู้สอนเลือกได้วา่ ต้องการทจ่ี ะประเมินผลผเู้ รียนในลักษณะใด เช่น อิงกล่มุ อิงเกณฑ์
หรอื ใช้สถิติในการคิดคำนวณในลักษณะใด เช่น การใช้ค่าเฉล่ีย ค่า T-Score เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถท่ี
จะแสดงผลในรูปของกราฟไดอ้ กี ด้วย
ภาพที่ 1.11 E – learning
ทมี่ า : https://sites.google.com/site/kamonchanok561031350/prayochn-khxng-e-
learning
1.6 ข้อไดเ้ ปรียบ และขอ้ จำกดั ของ e-Learning (advantage of e-Learning)
1.6.1 ประโยชน์ที่ได้รบั จากการนำ e-Learning ไปใชใ้ นการเรยี นการสอนมี ดังนี้
1. e-Learning ช่วยให้การจดั การเรียนการสอนมปี ระสทิ ธิภาพมากย่ิงขึ้น เพราะการถ่ายทอดเนื้อหา
ผ่านทางมัลติมีเดียสามารถทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีกว่าการเรียนจากสื่อข้อความเพียงอย่างเดียว หรือ
จากการสอนภายในห้องเรียนของผู้สอนซ่ึงเน้นการบรรยายในลักษณะ Chalk and Talk แต่เพียงอย่างเดียว
โดยไม่ใช้ส่ือใด ๆ ซ่ึงเมื่อเปรียบเทียบกับ e-Learning ท่ีได้รับการออกแบบและผลิตมาอย่างมีระบบ e-
Learning สามารถช่วยทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า ในเวลาท่ีเร็วกว่า
นอกจากนี้ยังเป็นการสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ที่ผเู้ รียนเป็นศูนย์กลางได้เป็นอย่างดี เพราะผ้สู อนจะสามารถ
ใช้ e-Learning ในการจัดการเรียนการสอนที่ลดการบรรยาย (lecture)ได้ และสามารถใช้ e-Learning ในการ
17
จัดการเรียนการสอนท่ีเน้นให้ผู้เรียนได้เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดการเรียนรู้ด้วยตนเอง (autonomous
learning) ได้ดียงิ่ ข้ึน
2. e-Learning ช่วยทำให้ผู้สอนสามารถตรวจสอบความก้าวหน้าพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนได้
อย่างละเอียดและตลอดเวลา เน่ืองจาก e-Learning มีการจัดหาเคร่ืองมือท่ีสามารถทำให้ผู้สอนติดตามการ
เรยี นของผูเ้ รยี นได้
3. e-Learning ช่วยทำให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนของตนเองได้ เน่ืองจากการนำเอา
เทคโนโลยี Hypermedia มาประยุกต์ใช้ ซึ่งมีลักษณะการเชื่อมโยงข้อมูลไม่ว่าจะเป็นในรูปของข้อความ
ภาพน่ิง เสียงกราฟิก วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ท่ีเก่ียวเนื่องกันเข้าไว้ด้วยกันในลักษณะที่ไม่เป็นเชิงเส้น (Non-
Linear) ทำให้ Hypermedia สามารถนำเสนอเนื้อหาในรูปแบบใยแมงมุมได้ ดังนั้นผู้เรียนจึงสามารถเข้าถึง
ข้อมลู ใดก่อนหรือหลงั ก็ได้ โดยไมต่ ้องเรียงตามลำดับ และเกดิ ความสะดวกในการเขา้ ถึงของผูเ้ รียนอีกด้วย
4. e-Learning ช่วยทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามจังหวะของตน (Self-paced Learning)
เนอื่ งจากการนำเสนอเนอ้ื หาในรูปแบบของ Hypermedia เปดิ โอกาสให้ผู้เรียนสามารถควบคมุ การเรียนรู้ของ
ตนในด้านของลำดับการเรียนได้ (Sequence) ตามพ้ืนฐานความรู้ ความถนัด และความสนใจของตน
นอกจากนี้ผู้เรียนยังสามารถ ทดสอบทักษะตนเองก่อนเรียนได้ทำให้สามารถช้ีชัดจุดอ่อนของตน และเลือก
เนอ้ื หาให้เข้ากับรปู แบบการเรยี นของตัวเอง เช่นการเลือกเรยี นเนื้อหาเฉพาะบางส่วนท่ตี ้องการทบทวนได้ โดย
ไมต่ ้องเรียนในส่วนที่เข้าใจแล้ว ซึง่ ถือว่าผ้เู รียนได้รบั อสิ ระในการควบคุมการเรยี นของตนเอง จึงทำใหผ้ ู้เรียนได้
เรยี นรูต้ ามจงั หวะของตนเอง
5. e-Learning ช่วยทำให้เกิดปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างผ้เู รียนกบั ครูผูส้ อน และกบั เพ่ือน ๆ ได้ เน่อื งจาก e-
Learning มีเคร่ืองมือต่าง ๆ มากมาย เช่น Chat Room, Web Board, E-mail เป็นต้น ที่เอื้อต่อการโต้ตอบ
(Interaction) ท่ีหลากหลาย และไม่จำกัดว่าจะต้องอยู่ในสถาบันการศึกษาเดียวกัน (Global Choice)
นอกจากนน้ั e-Learning ที่ออกแบบมาเป็นอย่างดีจะเอ้ือให้เกิดปฏิสัมพันธร์ ะหว่างผู้เรียนกับเนื้อหาได้อยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ เช่น การออกแบบเนอ้ื หาในลักษณะเกม หรอื การจำลอง เปน็ ต้น
1.6.2ขอ้ จำกัด
1. ผู้สอนที่นำ e-Learning ไปใช้ในลักษณะของสื่อเสริม โดยไม่มีการปรับเปล่ียนวิธีการสอนเลย
กล่าวคือ ผู้สอนยังคงใช้แต่วิธีการบรรยายในทุกเนื้อหา และสั่งให้ผู้เรียนไปทบทวนจาก e-Learning หาก e-
Learning ไม่ได้ออกแบบให้จงู ใจผเู้ รยี นแลว้ ผู้เรยี นคงใช้อยูพ่ ักเดียวก็เลกิ ไปเพราะไมม่ ีแรงจูงใจใด ๆ ในการใช้
e-Learning กจ็ ะกลายเป็นการลงทุนท่ีไมค่ ุ้มค่าแต่อยา่ งใด
2. ผู้สอนจะต้องเปล่ียนบทบาทจากการเป็นผู้ให้ (impart) เน้ือหาแก่ผู้เรียน มาเป็น (facilitator)
ผ้ชู ่วยเหลือและให้คำแนะนำต่าง ๆ แก่ผู้เรียน พร้อมไปกับการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
จาก e-Learning ท้ังนี้ หมายรวมถึง การท่ีผู้สอนควรมีความพรอ้ มทางด้านทักษะคอมพวิ เตอร์และรับผิดชอบ
ต่อการสอนมคี วามใส่ใจกับผู้เรยี นโดยไม่ทง้ิ ผู้เรยี น
18
3. การลงทุนในด้านของ e-Learning ตอ้ งครอบคลมุ ถงึ การจัดการใหผ้ ู้สอนและผ้เู รียนสามารถเข้าถึง
เน้ือหาและการติดต่อสื่อสารออนไลน์ได้สะดวก สำหรับ e-Learning แล้ว ผู้สอนหรือผู้เรียนท่ีใช้รูปแบบการ
เรียนในลักษณะนี้จะต้องมีส่ิงอำนวยความสะดวก (facilities) ต่าง ๆ ในการเรียนท่ีพร้อมเพรียงและมี
ประสิทธิภาพ เช่น ผู้สอนและผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นได้ และสามารถเรียกดูเนื้อหาโดยเฉพาะ
อย่างยิ่งในลักษณะมัลตมิ ีเดีย ได้อย่างครบถ้วน ด้วยความเร็วพอสมควร เพราะหากปราศจากข้อได้เปรียบใน
การติดต่อสื่อสารและการเข้าถึงเน้ือหาได้สะดวก รวมทั้งข้อได้เปรียบส่ืออื่น ๆ ในลักษณะในการนำเสนอ
เนื้อหา เชน่ มลั ตมิ ีเดีย แลว้ น้นั ผูเ้ รยี นและผู้สอนก็อาจไม่เห็นความจำเปน็ ใด ๆ ทตี่ ้องใช้ e-Learning
1.7 ระดบั ของสื่อสำหรบั e-Learning (Level of media for e-Learning)
สำหรบั e-Learning แลว้ การถ่ายทอดเนือ้ หาสามารถแบ่งไดเ้ ป็น 3 ลักษณะดว้ ยกัน กล่าวคือ
1. ระดับเน้นขอ้ ความออนไลน์ (Text Online) หมายถึง เน้ือหาของ e-Learning ในระดับน้ีจะอยูใ่ น
รูปของข้อความเป็นหลัก e-Learning ในลักษณะนี้จะเหมือนกับการสอนบนเว็บ (WBI) ซึ่งเน้นเน้ือหาที่เป็น
ข้อความ ตัวอักษรเป็นหลัก ซึ่งมีข้อดี ก็คือการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการผลิตเน้ือหาและการบรหิ าร
จดั การการเรียนรู้
2. ระดับรายวิชาออนไลน์เชิงโต้ตอบและประหยัด (Low Cost Interactive Online Course)
หมายถึง เน้ือหาของ e-Learning ในระดับน้ีจะอยู่ในรูปของตัวอักษร ภาพ เสียง และวิดีทัศน์ ท่ีผลิตข้ึนมา
อยา่ งง่าย ๆ ประกอบการเรียนการสอน e-Learning ในระดบั หน่งึ และสองน้ี ควรจะตอ้ งมีการพฒั นา LMS ทดี่ ี
เพอ่ื ชว่ ยผใู้ ช้ในการสร้างและปรับเน้อื หาใหท้ นั สมยั ไดอ้ ย่างสะดวกดว้ ยตนเอง
3. ระดับรายวิชาออนไลน์คุณภาพสูง (High Quality Online Course) หมายถึง เนื้อหาของ e-
Learning ในระดับนี้จะอยู่ในรูปของมัลติมีเดียท่ีมีลักษณะมืออาชีพ กล่าวคือ การผลิตต้องใช้ทีมงานในการ
ผลิตที่ประกอบดว้ ย ผู้เช่ยี วชาญเนื้อหา (content experts) ผู้เชยี่ วชาญการออกแบบการสอน (instructional
designers) และ ผูเ้ ช่ยี วชาญการผลิตมัลตมิ ีเดีย (multimedia experts)
1.7.1 ระดบั ของการนำ e-Learning ไปใชใ้ นการเรยี นการสอน
การนำ e-Learning ไปใชใ้ นการเรยี นการสอน สามารถทำได้ 3 ระดับ ดงั นี้
1. ใช้ e-Learning เปน็ ส่ือเสริม (Supplementary) หมายถึงการนำ e-Learning ไปใช้ในลักษณะสื่อ
เสริม กลา่ วคอื นอกจากเนื้อหาท่ีปรากฏในลักษณะ e-Learning แล้ว ผเู้ รียนยังสามารถศึกษาเน้ือหาเดียวกันนี้
ในลักษณะอนื่ ๆ เช่น จากเอกสาร(ชที ) ประกอบการสอน จากวดิ ีทัศน์ (Videotape) ฯลฯ การใช้ e-Learning
ในลักษณะนี้เท่ากับว่าผู้สอนเพียงต้องการใช้ e-Learning เป็นอีกหนึ่งทางเลือกสำหรับผู้เรียนในการเข้าถึง
เนอื้ หาเพอ่ื ใหป้ ระสบการณ์พิเศษเพ่มิ เติมแกผ่ เู้ รยี นเทา่ นั้น
2. ใช้ e-Learning เป็นส่ือเติม (Complementary) หมายถึงการนำ e-Learning ไปใช้ในลักษณะ
เพ่ิมเติมจากวิธกี ารสอนในลักษณะอน่ื ๆ เช่น นอกจากการบรรยายในห้องเรียนแล้ว ผู้สอนยังออกแบบเนื้อหา
ให้ผู้เรียนเข้าไปศึกษาเน้ือหาเพิ่มเติมจาก e-Learning โดยเนื้อหาที่ผู้เรียนเรียนจาก e-Learning ผู้สอนไม่
จำเป็นต้องสอนซ้ำอีก แต่สามารถใช้เวลาในชั้นเรียนในการอธิบายในเนื้อหาที่เข้าใจได้ยาก ค่อนข้างซับซ้อน
19
หรือเปน็ คำถามท่ีมีความเข้าใจผิดบ่อย ๆ นอกจากนี้ ยังสามารถใชเ้ วลาในการทำกจิ กรรมท่ีเน้นให้ผเู้ รยี นได้เกิด
การคิดวิเคราะห์แทนได้ ในความคิดของผู้เขียนแล้วในมหาวิทยาลัยเชยี งใหมข่ องเรา เมือ่ ได้มีการลงทุนในการ
นำ e-Learning ไปใช้กับการเรียนการสอนแล้วอย่างน้อยควรต้ังวัตถุประสงค์ใน ลักษณะของสื่อเติม
(Complementary) มากกว่าแค่เพียงเป็นส่ือเสริม(Supplementary) เพื่อให้เกิดความคุ้มทุน นอกจากนี้อาจ
ยังไม่เหมาะสมท่ีจะใช้ในลักษณะแทนที่ผู้สอน (Replacement) ตัวอย่างการใช้ในลักษณะส่ือเติม เช่น ผู้สอน
มอบหมายให้ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาด้วยตนเองจาก e-Learning ในวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หนึ่งก่อนหรือ
หลังการเข้าช้ันเรียน รวมทงั้ ให้กำหนดกิจกรรมที่ทดสอบความเข้าใจของผู้เรียนในเน้อื หาดังกล่าวใน session
การเรียนตามปรกติ เป็นต้น ท้ังน้ีเพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียนของเรา ซ่ึงยังต้องการคำแนะนำจาก
ครผู ู้สอน รวมทัง้ การท่ีผ้เู รียนส่วนใหญย่ ังขาดการปลกู ฝงั ใหม้ ีความใฝ่ร้โู ดยธรรมชาติ
3. ใช้ e-Learning เป็นสือ่ หลัก (Comprehensive Replacement) หมายถงึ การนำ e-Learning ไป
ใชใ้ นลกั ษณะแทนทีก่ ารบรรยายในห้องเรียน ผู้เรยี นจะต้องศึกษาเนื้อหาท้ังหมดออนไลน์ และโต้ตอบกบั เพ่ือน
และผู้เรียนอ่ืน ๆ ในช้ันเรียนผ่านทางเครื่องมือติดต่อสื่อสารต่าง ๆ ท่ี e- Learning จัดเตรียมไว้ ในปัจจุบัน
แนวคิดเก่ียวกับการนำ e-Learning ไปใช้ในต่างประเทศจะอย่ใู นลักษณะlearning through technology ซึ่ง
หมายถึง การเรียนรโู้ ดยมุ่งเน้นการเรียนในลักษณะมีสว่ นร่วมของผู้เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็น ผู้สอน ผู้เรียน และ
ผู้เช่ียวชาญอื่น ๆ (Collaborative Learning) โดยอาศัยเทคโนโลยีในการนำเสนอเน้ือหา และกิจกรรมต่าง ๆ
ซ่ึงต้องการการโต้ตอบผ่านเคร่ืองมือสื่อสารตลอด โดยไม่เน้นทางด้านของการเรียนรู้รายบุคคลผ่านสื่อ
(courseware) มากนัก ในขณะท่ีในประเทศไทยการใช้ e-Learning ในลักษณะส่ือหลักเช่นเดียวกับ
ต่างประเทศน้ัน จะอยู่ในวงจำกัด แต่การใช้สว่ นใหญ่จะยังคงเป็นในลกั ษณะของ learning with technology
ซ่ึงหมายถงึ การใช้ e-Learning เปน็ เสมือนเครอ่ื งมอื ทางเลือกเพอื่ ใหผ้ ้เู รยี นเกดิ ความกระตอื รือร้น สนุกสนาน
พรอ้ มไปกับการเรยี นรู้ในชนั้ เรยี น
1.8 m-Learning
m-Learningหรือ Mobile-Learning หลักการก็คือทำให้ผู้เรียนสามารถท่ีจะนำเอาบทเรียนมาวางไว้
บนมือถือและเรียกดูได้ตลอดเวลาทุกที่ พร้อมท้ัง สามารถที่จะรับส่งข้อมูลได้เมื่อจำเป็นและมีสัญญาณจาก
เครือข่ายโทรคมนาคม นอกจากนั้น จะต้องสามารถทำงานได้ทั้งสองทาง เปลี่ยนแปลงบทเรียนส่งการบ้าน
หรือวิเคราะห์คะแนนจาก แบบฝึกหัดได้เชน่ กัน การเรียนแบบผสมผสาน (Blended learning) การเรียนการ
สอนท่ีอาศัยส่ือหลายๆชนิดผสมผสานกัน ต้ังแต่ด้านเทคโนโลยี กิจกรรมการเรียนการ สอน และเหตุการณ์ที่
เหมาะสมเพ่ือสรา้ งรูปแบบการเรียนการสอนที่เหมาะสมสำหรบั กลุม่ เป้าหมาย Global learning บทเรียนใน
รปู แบบของการผสมผสานระหว่างวิดีโอ เสียง ภาพเคลื่อนไหว ทำให้ น่าสนใจและง่ายต่อการทำความเข้าใจ
เป็นสื่อการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับความต้องการและวิถีชีวิต ระบบ Online Learning เป็นการเรียนรู้ด้วย
ตนเองผ่านเทคโนโลยี Internet ซึ่งจะนำเสนอ บทเรียน ในรูปแบบของการผสมผสานระหว่างวิดีโอ เสียง
ภาพเคล่ือนไหว และตัวอักษร ทำให้ บทเรียน มีความนา่ สนใจ และงา่ ย ต่อการทำความเข้าใจ เน่ืองจากผูเ้ รียน
Online Learning สามารถเรียนรู้ทุกเร่ืองราวได้ทุกท่ีทุกเวลา จึงทำให้ Online Learning เป็นส่ือการเรียนรู้
ออนไลน์ สมบูรณ์แบบที่สอดคล้องกับ ความต้องการและวิถีชีวิต Mentored learning บทบาทของผู้สอนใน
E-Learning จะเปล่ียนไปเป็นผู้ให้คำแนะนำ (Guide) เป็นผู้ฝึก (Coach) เป็นผู้อำนวยความสะดวก
20
(Facilitator) และเป็นพ่ีเลี้ยง (Mentor) ต่อกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ในขณะที่บทบาทของผู้เรียนจะ
เปลีย่ นแปลง
ภาพท่ี 1.11 Mobile Learning
ทมี่ า : http://mlearning4use.blogspot.com/2017/10/m-learning_24.html
1.8.1 ความหมายของ M – Learning
การให้คำจำกัดความของ Mobile Learning สามารถแยกพิจารณาได้เป็น 2 ส่วน จากราก ศัพท์ท่ี
นำมาประกอบกนั คือ
1. Mobile (Devices) หมายถือ อปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ หรอื โทรศัพท์มือถอื และเครอ่ื งเลน่ หรือแสดง
ภาพท่พี กพาติดตัวไปได้
2. Learning หมายถึงการเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเนื่องมาจากบุคคลปะทะ กับ
ส่งิ แวดล้อมจงึ เกิดประสบการณ์ การเรยี นรูเ้ กิดขึน้ ไดเ้ มือ่ มีการแสวงหาความรู้ การพฒั นาความรู้ ความสามารถ
ของบุคคลให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น รวมไปถึงกระบวนการสร้างความเข้าใจ และ ถ่ายทอดประสบการณ์ที่เป็น
ประโยชน์ตอ่ บคุ คล
เม่ือพิจารณาจากความหมายของคำท้ังสองแล้วจะพบว่า Learning น่ันคือแก่นของM - learning
เพราะเป็นการใช้เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สายเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ซ่ึงก็คล้ายกับ E – Learning ที่เป็นการใช้
เครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้
นอกจากนมี้ ีผ้ใู ชค้ ำนิยามของ M - Learning ดงั ต่อไปน้ี
ริ ว (Ryu, 2007) หั ว ห น้ า ศู น ย์ โม บ า ย ค อ ม พิ ว ติ้ ง (Centre for Mobile Computing) ที่
มหาวิทยาลัยแมสซ่ี เมืองโอค๊ แลนด์ ประเทศนิวซีแลนด์ ระบุว่า M- learning คือกจิ กรรมการเรียนรู้ ท่ีเกิดขึ้น
เม่อื ผเู้ รยี นอยรู่ ะหวา่ งการเดินทาง ณ ทใี่ ดกต็ าม และเมอื่ ใดกต็ าม
เก็ดส์ (Geddes, 2006) ก็ให้ความหมายว่า M- learning คือการได้มาซ่ึงความรู้และทักษะผ่านทาง
เทคโนโลยีของเครื่องประเภทพกพา ณ ทใ่ี ดก็ตาม และเม่ือใดกต็ าม ซง่ึ สง่ ผลเกิดการ เปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรม
วัตสัน และไวท์(Watson & White, 2006) ผู้เขียนรายงานเรื่อง M- learning ในการศึกษา
(mLearning in Education) เน้นว่า M- learning หมายถงึ การรวมกันของ 2 P คือ เปน็ การเรียนจาก เคร่ือง
21
ส่วนตัว (Personal) และเป็นการเรียนจากเครื่องที่พกพาได้ (Portable) การท่ีเรียนแบบส่วนตัว น้ันผู้เรียน
สามารถเลอื กเรียนในหวั ข้อที่ตอ้ งการ และการท่เี รียนจากเคร่ืองท่พี กพาได้นนั้ ก่อใหเ้ กิด โอกาสของการเรียนรู้
ได้ ซึ่งเครื่องแบบ Personal Digital Assistant (PDA) และโทรศัพท์มือถือน้ัน เป็นเคร่ืองที่ใช้สำหรับ M-
learning มากท่สี ดุ
ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนซึ่งสามารถจดั เป็นประเภทของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบพกพาได้
3 กลุม่ ใหญ่ หรอื จะเรียกว่า 3Ps
1. PDAs (Personal Digital Assistant) คือคอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็กหรอื ขนาด ประมาณฝ่า
มือ ที่รู้จักกันทั่วไปได้แก่ Pocket PC กับ Palm เครื่องมือสื่อสารในกลุ่มน้ียังรวมถึง PDA Phone ซ่ึงเป็น
เครอ่ื ง PDA ที่มีโทรศัพท์ในตัว สามารถใช้งานการควบคุมด้วย Stylus เหมอื นกบั PDA ทุกประการ นอกจากนี้
ยงั หมายรวมถึงเคร่ืองคอมพวิ เตอรข์ นาดเลก็ อน่ื ๆ เชน่ lap top, Note book และ Tablet PC อกี ดว้ ย
2. Smart Phones คอื โทรศพั ทม์ อื ถอื ทบี่ รรจเุ อาหน้าที่ของ PDA เข้าไปด้วยเพียงแต่ไม่มี Stylus แต่
สามารถลงโปรแกรมเพ่ิมเติมเหมือนกับ PDA และ PDA phone ได้ ข้อดีของอุปกรณ์กลุ่ม นี้คือมีขนาดเล็ก
พกพาสะดวกประหยัดไฟ และราคาไม่แพงมากนัก คำว่าโทรศัพท์มือถือ ตรงกับ ภาษาอังกฤษ ว่า hand
phone ซึ่งใช้คำน้ีแพร่หลายใน Asia Pacific ส่วนในอเมริกา นิยมเรียกว่า Cell Phone ซ่ึงย่อมาจาก
Cellular telephone ส่วนประเทศอ่นื ๆ นยิ มเรยี กวา่ Mobile Phone
3. IPod, เครื่องเล่น MP3 จากค่ายอ่ืนๆ และเครอื่ งท่ีมีลกั ษณะการทำงานท่ีคล้ายกัน คือ เครื่องเสียง
แบบพกพก iPod คือช่ือรุน่ ของสินคา้ หมวดหนึ่งของบริษทั Apple Computer, Inc ผู้ผลติ เครือ่ งคอมพิวเตอร์
แมคอินทอช iPod และเครื่องเล่น MP3 นับเป็นเครื่องเสียงแบบพกพาท่ีสามารถ รับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์
ด้วยการต่อสาย USB หรือ รับด้วยสัญญาณ Blue tooth สำหรับรุ่นใหม่ๆ มีฮาร์ดดิสก์จุได้ถึง 60 GB. และมี
ชอ่ ง Video out และมีเกมสใ์ ห้เลือกเล่นได้อีกด้วย
1.8.2 เคร่อื งเลน่ MP3
สำหรับพฒั นาการของ m-Learning เป็นพัฒนาการนวัตกรรมการเรียนการสอนมาจากนวัตกรรมการ
เรียนการสอนทางไกล หรือ d-Learning (Distance Learning) และการจดั การเรยี นการ
สอนแบบ e-Learning (Electronic Learning) ดังภาพประกอบตอ่ ไปนี้
M - Learning นนั้ เกิดขน้ึ ได้โดยไร้ข้อจำกัด ด้านเวลา และสถานท่ี เพยี งแค่ผู้เรียนมีความ พร้อมและ
เคร่ืองมอื อกี ท้งั เครือข่ายมีเน้อื หาทต่ี ้องการ จงึ จะเกิดการเรยี นรู้ข้ึน และจะได้ผลการ เรียนรู้ท่ปี รารถนา หาก
ขาดเน้ือหาในการเรยี นรู้ วิธกี ารนน้ั จะกลายเปน็ เพียงการสื่อสาร กับเครือขา่ ย ไร้สายน่นั เอง
22
ภาพที่ 1.12 เคร่อื งเล่น MP3 โดยใชเ้ ทปเสียงเกา่
ทม่ี า : https://imadeself.com/th/6438-mp3-pleer-iz-audiokassety.html
1.8.3 กระบวนการเรยี นรู้แบบ M – Learning
กระบวนการเรยี นรู้แบบ M – Learning มดี ้วยกันทั้งหมด 5 ข้ันตอน ดังน้ี
ข้ันท่ี 1 ผู้เรยี นมคี วามพร้อม และเครอื่ งมอื
ขั้นที่ 2 เช่อื มต่อเขา้ สเู่ ครอื ขา่ ย และพบเน้ือหาการเรยี นทตี่ ้องการ
ขน้ั ที่ 3 หากพบเน้ือหาจะไปยงั ขน้ั ท่ี 4 แต่ถ้าไม่พบจะกลับเข้าสขู่ ัน้ ที่ 2
ข้ันที่ 4 ดำเนินการเรยี นรู้ ซง่ึ ไม่จำเปน็ ท่ีจะต้องอยู่ในเครือขา่ ย
ขนั้ ท่ี 5 ไดผ้ ลการเรียนรูต้ ามวัตถุประสงค์
1.9 ประโยชนแ์ ละขอ้ จำกดั ของ M – Learning
เกด็ ส์ (Geddes, 2006) ได้ทำการศึกษาประโยชน์ของ M - Learning และสรปุ ว่าประโยชน์ที่ ชัดเจน
อย่างย่ิงน้นั สามารถจดั ได้เปน็ 4 หมวด คอื
1. การเขา้ ถึงขอ้ มลู (Access) ได้ทกุ ที่ ทกุ เวลา
2. สร้างสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ (Context) เพราะ M - Learning ช่วยให้การเรียนรู้จาก
สถานทใ่ี ดกต็ ามท่ีมคี วามต้องการเรียนรู้ ยกตวั อยา่ งเชน่ การส่ือสารกับแหล่งขอ้ มลู และผ้สู อนใน การเรยี นจาก
สิ่งตา่ งๆ เช่น ในพพิ ิธภณั ฑท์ ี่ผูเ้ รยี นแต่ละคนมีเครือ่ งมอื สอ่ื สารติดตอ่ กับวิทยากรหรอื ผสู้ อนไดต้ ลอดเวลา
3. การร่วมมือ (Collaboration) ระหว่างผู้เรียนกบั ผ้สู อน และเพอ่ื นรว่ มช้นั เรียนได้ทุกที่ ทกุ เวลา
4. ทำใหผ้ ู้เรยี นสนใจมากขึ้น (Appeal) โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุน่ เช่น นักศึกษาท่ีไมค่ ่อย สนใจเรียนใน
ห้องเรยี น แต่อยากจะเรยี นดว้ ยตนเองมากข้ึนด้วย M - Learning
1.9.1 ขอ้ ดีของ M - Learning
1. มคี วามเป็นส่วนตัว และอิสระท่จี ะเลือกเรยี นรู้ และรับรู้
2. ไมม่ ขี ้อจำกัดดา้ นเวลา สถานที่ เพิ่มความเปน็ ไปไดใ้ นการเรียนรู้
23
3. มีแรงจูงใจตอ่ การเรียนรมู้ ากขึ้น
4. สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การเรยี นร้ไู ดจ้ รงิ
5. ด้วยเทคโนโลยขี อง M - Learning ทำให้เปลีย่ นสภาพการเรยี นจากท่ียึดผสู้ อนเปน็ ศูนย์กลาง ไปสู่
การมีปฏิสัมพันธ์โดยตรงกบั ผ้เู รยี น จงึ เปน็ การสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารสื่อสารกับเพื่อนและ ผูส้ อนมากขน้ึ
6. สามารถรบั ขอ้ มลู ทไ่ี ม่มีการระบุชือ่ ได้ ซึง่ ทำใหผ้ ู้เรียนท่ีไมม่ น่ั ใจกลา้ แสดงออกมากข้นึ
10. เคร่ืองประเภทพกพาต่างๆ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นทางการเรียนและมี ความ
รับผิดชอบตอ่ การเรยี นดว้ ยตนเอง
1.9.2 ขอ้ ด้อยของ M - Learning
1. ขนาดของความจุ Memory และขนาดหน้าจอที่จำกัดอาจจะเป็นอุปสรรคสำหรับการอ่าน ข้อมูล
แป้นกดตัวอักษรไม่สะดวกรวดเร็วเท่ากับคีย์บอร์ดคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ อีกท้ังเครื่องยัง ขาดมาตรฐาน ท่ี
ตอ้ งคำนงึ ถงึ เม่อื ออกแบบสอ่ื เช่น ขนาดหนา้ จอ แบบของหนา้ จอ ทบ่ี างรนุ่ เปน็ แนวตงั้ บางรนุ่ เปน็ แนวนอน
2. การเชอื่ มตอ่ กบั เครือขา่ ย ยังมีราคาท่คี อ่ นข้างแพง และคณุ ภาพอาจจะยังไมน่ า่ พอใจนกั
3. ซอฟต์แวรท์ ี่มีอยใู่ นท้องตลาดทว่ั ไป ไม่สามารถใชไ้ ด้กับเครื่องโทรศัพท์แบบพกพาได้
4. ราคาเครือ่ งใหมร่ นุ่ ท่ีดี ยังแพงอยู่ อกี ท้ังอาจจะถูกขโมยได้ง่าย
5. ความแข็งแรงของเคร่อื งยังเทียบไม่ไดก้ ับคอมพวิ เตอรต์ ้งั โตะ๊
6. อัพเกรดยาก และเครอ่ื งบางร่นุ ก็มศี ักยภาพจำกัด
7. การพฒั นาดา้ นเทคโนโลยีอย่างตอ่ เน่อื ง สง่ ผลให้ขาดมาตรฐานของการผลิตสอ่ื เพ่อื M - Learning
1.9.3 บทบาทของ M-Learning
M-Learning น้ันมีแนวโน้มท่จี ะเป็นช่องทางใหม่ที่จะกระจายความรู้ สู่ชุมชนได้อยา่ งมี ประสิทธภิ าพ
และจะเป็นทางเลือกใหม่ ท่ีส่งเสริมให้การเรียนรู้ตลอดชีวิตบรรลุวัตถุประสงค์ได้ดี อีกด้วย เหตุผลหน่ึงที่
สนับสนุนประเด็นนี้ก็คือ มีผู้ใช้โทรศัพท์มือถือทั่วโลกกว่า 3.3 พันล้านคน ใน ปี ค.ศ. 2007 เพ่ิมข้ึนอย่าง
รวดเร็วเมื่อเทียบกับจำนวนผู้ใช้ในปี 2006 ซ่ึงมีอยู่ประมาณ 2 พันล้านคน จำนวนผู้ลงทะเบียนใช้
โทรศัพท์มือถือมากกว่าผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกเกือบ 3 เท่า เพราะในปี ค.ศ. 2008 น้ัน จำนวนของผู้ใช้
อินเทอร์เน็ตอยู่ท่ี 1.3 พันล้านคน ซ่ึงเพ่ิมข้ึนเพียงเล็กน้อยจากปี ค.ศ. 2007 ที่มีอยู่ประมาณ 1.1 พันล้านคน
เท่าน้ัน จากการเป็นเจ้าของเคร่ืองโทรศัพท์มือถือท่ีมากกว่าผู้ใช้ อินเทอร์เน็ตเป็นหลายเท่าน้ีเองท่ีทำให้ M-
Learning เป็นสิ่งท่ีน่าสนใจของนักการศึกษา เพราะอย่าง น้อย M-Learning ก็เป็นไปได้เพราะคนเราน้ันมี
เคร่ืองมือ หรือเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่แล้ว เทคโนโลยีของการรับส่งข้อมูลผ่านระบบไร้สายก็มีการพัฒนามาก
ขน้ึ อย่แู ล้ว ดังนนั้ การเรียนรแู้ บบ M-Learning จงึ มีโอกาสเปน็ ไปได้สงู และเป็นการขยายโอกาสทางการศึกษา
อกี แขนงหนง่ึ
24
M-Learning กำลังก้าวเข้ามาเป็นการเรียนรู้คู่กับสังคมอย่างแท้จริง เนื่องจากความเป็นอิสระ ของ
เครือข่ายไร้สาย ท่ีสามารถเข้าถึงได้ทุกที่ ทุกเวลา อีกท้ังจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาที่ ใช้เป็น
เครอื่ งมือน้นั มีจำนวนเพิม่ ข้นึ เรอื่ ยๆ จึงเปน็ การเรียนรู้อีกทางเลือกหนงึ่ ของการนำเทคโนโลยี มาใช้เป็นช่องทาง
ในการให้ผู้คนไดเ้ ขา้ ถงึ ความรู้ ทกุ ทท่ี กุ เวลาอย่างแท้จรงิ เพราะหากเทยี บกบั การ ใช้เครอ่ื งพซี ี กย็ ังไม่ถือวา่ เป็น
ทุกที่ทกุ เวลาอยา่ งแท้จริง เพราะยงั ต้องใช้เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ทีบ่ า้ น หรอื ท่ีทำงานเชอ่ื มต่ออนิ เทอร์เน็ต เพอื่ เข้า
ส่รู ะบบเครือข่าย แตใ่ นปจั จุบัน เทคโนโลยกี ็ไดย้ ่อโลก ของเครือข่ายใหอ้ ยู่ในมือของผบู้ ริโภคแล้ว และสามารถ
เข้าสู่แหล่งการเรียนรู้ได้เม่ือต้องการอย่าง แท้จริงทุกเวลาและสถานที่ และหากเทียบราคาเครื่อง
คอมพิวเตอร์PC และ อุปกรณ์สำหรบั เชื่อมต่อ ไรส้ ายท่ีกล่าวไปข้างต้น ราคาก็ไม่ได้แตกต่างกันมากนัก นับว่า
เป็นเทคโนโลยีท่ีพัฒนาขึ้นมาได้ดี ทีเดียว และในอนาคตข้างหน้า คาดว่าการเรียนรู้แบบ M-Learning จะ
แพร่หลายมากขน้ึ ยงิ่ กวา่ ใน ปจั จบุ นั
ภาพที่ 1.13 การเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยไี รส้ าย
ที่มา : http://innovationforeducation.weebly.com/m-learning.html
1.9.4 ผลกระทบต่อการศกึ ษา และการเรียนการสอน
ปจั จบุ นั ได้มีการพฒั นาประสทิ ธิภาพของโทรศพั ทเ์ คลือ่ นที่ เพอ่ื รองรับการบรกิ ารทางดา้ น ตา่ ง ๆ เพิ่ม
มากขึ้น รวมถงึ ทางดา้ นการศึกษาของไทย เน่อื งจากโทรศัพท์มือถอื ในปัจจบุ นั มีขนาด เล็ก นำ้ หนักเบา สะดวก
ต่อการพกพาติดตัวไปไหนมาไหนตลอดเวลา จนกระท่ังเกิดการพัฒนา โปรแกรมการเรียนการสอนผ่าน
โทรศัพท์มือถือ M-Learning (Mobile Learning) ซ่ึงเป็นการเรียน การสอนหรือบทเรียนสำเร็จรูป
(Instructional package) ท่ีนำเสนอผ่านโทรศัพท์มือถือหรือ คอมพิวเตอร์แบบพกพา โดยอาศัยเทคโนโลยี
เครือขา่ ยไร้สาย (Wireless Communication Network) ที่สามารถต่อเชอื่ มจากเครือข่ายแม่ข่าย (Network
Server) ผ่ายจุดต่อแบบไร้สาย (Wireless access point) แบบเวลาจริง (real time) อีกทั้งยังสามารถ
ปฏสิ ัมพนั ธก์ ับโทรศพั ทม์ ือถือหรอื คอมพิวเตอร์ แบบพกพาเครื่องอืน่ โดยใช้เทคโนโลยดี ิจิตอล เชน่ Bluetooth
เพอ่ื สนับสนนุ การทำงานรว่ มกัน
ดังนั้น เม่ือมีอุปกรณ์ท่ีสะดวกต่อการเรียนการสอนเช่นนี้แล้ว จะช่วยส่งผลให้การศึกษา เป็นไปได้
โดยง่าย เพราะผู้เรียนสามารถที่จะเข้าถึงความรู้อย่างง่ายดายมากข้ึน ในปัจจบุ ันนั้นเป็นยุค ท่ีวัยรุ่น วัยเรียน
ให้ความสนใจกับเทคโนโลยีมาก โดยเฉพาะโทรศัพท์มือถือ น้อยคนมากที่จะไม่มี มือถือไว้ใช้ ดังนั้น M-
25
learning จึงเหมาะท่ีจะนำมาใช้กับการศึกษาในสมัยปัจจุบันมากที่สุด เพ่ือเป็น การเสริมความรู้ให้กับผู้เรยี น
อยา่ งทวั่ ถงึ
1.9.5 สรุปบทบาทของ M-Learning กบั การศกึ ษา
โดยสรุปแล้ว M-Learning เขา้ มามีบทบาทตอ่ การศึกษาโดยช่วยเขา้ มาส่งเสริมให้การศกึ ษา เป็นไปได้
ง่ายขึ้นและทั่วถึง ทำให้ผู้ศึกษาสามารถเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว ทุกท่ี ทุกเวลา M-Learning เป็นเทคโนโลยีที่
เหมาะสำหรับการนำมาพัฒนาควบคู่ไปกับการศึกษาเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาด้าน การศึกษาต่างๆที่เกิดข้ึนใน
ปัจจุบัน และบทบาทของ M-learning ต่อการศึกษาในอนาคตจะย่ิงมีมาก ข้ึน เพราะได้มีการพัฒนาอยู่
ตลอดเวลา และด้วยการพฒั นาน้นั จะทำให้สามารถลดขอ้ ดอ้ ยและเพ่ิม ข้อดีของ M-learning ได้มากขึน้ และ
จะยิง่ เปน็ ประโยชน์ตอ่ การศึกษามากย่งิ ข้ึนไป
1.10 การเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยีการศกึ ษา
1.10.1 ปัจจัยทีม่ ผี ลตอ่ การเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยี
ดังท่ีกล่าวมาแล้วข้างต้นนั้น นอกจากเป็นปัจจัยท่ีมีผลในทางบวก อันเป็นปัจจัยในการสร้างความ
เจริญเติบโตให้สังคมแล้ว อีกด้านหน่ึงการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีทเี่ กิดขึ้น ยังมีผลกระทบต่อสงั คมในทาง
ลบที่เป็นลูกโซต่ ามมาด้วย ดงั ตัวอย่างตอ่ ไปน้ีคือ
ผลกระทบต่อชุมชน การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีด้านต่างๆ ทเี่ กิดขึ้น ส่งผลให้มนุษย์มีส่วนร่วมใน
สังคมลดน้อยลง ความรู้สึกวา่ เปน็ สว่ นหนึง่ ของชุมชน มีความสัมพันธ์กับเพื่อนบ้านหายไป เพราะมนุษย์ทุกคน
สามารถพึ่งตนเองได้
ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยที ำให้เกิดเทคโนโลยีทีใ่ ช้แรงงานคนนอ้ ยลง ผู้
ท่ีมีทุนมากอาจนำเทคโนโลยีใหม่มาใช้งานทั้งหมดเป็นธุรกิจขนาดใหญ่มากข้ึน ทำให้ธุรกิจขนาดเล็กหดลงแต่
ในทางตรงกันข้ามการที่แต่ละคนสามารถเปน็ เจ้าของเทคโนโลยที ่ีมขี นาดเลก็ อาจจะทำให้เขากลายเปน็ นายทุน
อสิ ระ หรอื รวมตวั เปน็ สหกรณ์เจ้าของเทคโนโลยีรว่ มกนั และอาจทำให้เกิดองค์กรทางธรุ กจิ ใหม่ ๆ ได้
ผลกระทบด้านจิตวิทยา ความเจริญทางเทคโนโลยีที่เพ่ิมขึ้นในเครื่องมือส่ือสารทำให้มนุษย์มีการ
ติดต่อส่อื สารผา่ นทางจออิเลก็ ทรอนิกสเ์ ทา่ นั้น จึงทำให้ความสัมพนั ธ์ของมนุษย์ตอ้ งแบ่งแยกเปน็ ความสัมพันธ์
อันแท้จรงิ โดยการสอ่ื สารกนั ตัวตอ่ ตวั ทีบ่ ้านกับความสมั พนั ธ์ผ่านจออเิ ล็กทรอนกิ ส์ซงึ่ มีผลใหค้ วามรสู้ ึกนกึ คิดใน
ความเป็นมนษุ ยเ์ ปล่ียนไป
ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีบางตวั มีผล กระทบต่อสภาพแวดล้อม
ด้วย นอกจากนี้การสร้างเทคโนโลยีการผลิตมากข้ึน มีผลทำให้มีการขุดค้นพลังงานธรรมชาติมาใช้ได้มากข้ึน
และเร็วขึ้น เป็นการทำลายทรัพยากรธรรมชาติในทางอ้อมและการสร้างโรงงานอุตสาหกรรมเพ่ิมขึ้น โดย
ปราศจากทศิ ทางการดแู ลทีเ่ หมาะสมจะทำให้สิง่ แวดลอ้ ม อาทิ แม่นำ้ พน้ื ดิน อากาศ เกดิ มลภาวะมากยง่ิ ข้นึ
ผลกระทบทางด้านการศกึ ษา นวัตกรรมทางการศึกษามีลักษณะตามธรรมชาติที่เป็นส่งิ ใหม่ ดังนน้ั ใน
ความใหม่จึงอาจทำให้ท้ังครู และผู้ที่เกี่ยวขอ้ ง เชน่ นักเทคโนโลยีทางการศึกษา ผ้บู ริหารการศึกษา อาจตั้งข้อ
26
สงสัยและไม่แน่ใจว่า จะมคี วามพร้อมท่จี ะนำมาใช้เม่ือใด และเมอื่ ใชแ้ ลว้ จะทำให้เกิดผลสำเร็จมากน้อยอย่างไร
แตน่ วตั กรรมก็ยังมีเสน่ห์ในการดึงดูดความสนใจ เกดิ การตืน่ ตัว อยากรู้อยากเห็นตามธรรมชาตขิ องมนุษย์ หรือ
อาจเกิดผลในเชงิ ตรงข้าม คือกลัวและไม่กลา้ เข้ามาสัมผัสส่ิงใหม่ เพราะเกิดความไม่แน่ใจว่าจะทำให้เกดิ ความ
เสียหาย หรือใช้เป็นหรือไม่ ครูในฐานะผู้ใช้นวัตกรรม โดยตรงจึงต้องมีความตื่นตัวและหมั่นติดตาม
ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีต่างๆ ให้ทันตามความก้าวหน้า และเลือกนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่
สอดคลอ้ งกับสถานภาพและส่ิงแวดลอ้ มของตนเอง การหมั่นศึกษา และติดตามความรูว้ ิทยาการใหม่ ๆ ให้ทัน
จะช่วยทำให้การตัดสินใจนำนวัตกรรมมาใช้เพ่ือการศึกษา สามารถทำได้อย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพและลด
การเสย่ี งและความสนั้ เปลอื งงบประมาณและเวลาไดม้ ากทส่ี ดุ
สุดท้าย จะต้องมีกระบวนการในการตรวจสอบการใช้นวัตกรรมน้ัน ๆ ว่า มีความเหมาะสม มี
ข้อบกพร่องและแนวทางปรับปรุงแก้ไขอย่างไร ท้ังโดยการสังเกต การใช้แบบทดสอบเพ่ือตรวจวัดการ
เปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมของผู้เรียนอยเู่ สมอ กจ็ ะทำให้เราเชื่อแนไ่ ดว้ ่าการใชน้ วัตกรรมนั้นมีประสทิ ธภิ าพสูงสุด
1.11 การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีที่มผี ลตอ่ สถานศึกษา
สถานศึกษาในยุคปัจจุบันมี การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมเป็นอย่างมาก อิทธิพลของความ
เจริญก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำใหส้ ภาพแวดล้อมทางการเรียนและสถานการณ์ของการเรยี น
การสอนแตกต่างไปจากเดิม การเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นมีผลกระทบต่อการบริหารและการจัดการ
สภาพแวดล้อม ทางการเรียนซึ่งจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย สภาพแวดล้อมทางการเรียนใน
สถานศึกษาปัจจุบันถูกกำหนดด้วยเทคโนโลยที ่ีได้มี การพจิ ารณานำเขา้ มาใช้ การนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ทำให้
เกิดการเปลี่ยนแปลงทีม่ ีผลต่อสถานศกึ ษาอย่าง นอ้ ย 3 ประการ ได้แก่
1. เทคโนโลยเี ปล่ยี นแปลงวิถีชวี ิต (Technology alters orientation.) สถานศกึ ษา สภาพของผเู้ รียน
และผู้สอนได้รับอิทธิพลจากเทคโนโลยีมีลักษณะของการใช้ชีวิตในฐานะผู้เรียน และผู้สอนเปล่ียนไป วิถีชีวิต
ของทั้งผู้เรยี นและผู้สอนผกู พนั และขน้ึ อยกู่ ับเทคโนโลยมี ากข้ึน เช่น วันน้ีไฟดบั งดจ่ายกระแสไฟฟ้า นกั เรียนไม่
สามารถทนนั่งในห้องเรียนท่ีร้อนอบอ้าวได้ เช่นเดียวกับครูท่ีไม่สามารถทำการสอนได้ เพราะเคร่ืองฉายภาพ
จากคอมพิวเตอร์ไม่ทำงาน สื่อต่างๆ ท่ีผูส้ อนเตรียมมาไมส่ ามารถนำมาใช้ได้ และมีการเรยี นการสอนภาคนอก
เวลาซึ่งมกั จะสอนในเวลากลางคืนคงไมม่ ีการจุดเทียน หรือจุดตะเกียงเพ่ือการเรียนการสอน สิ่งเหล่านี้แสดงให้
เห็นถึงวิถีชีวิตของการเป็นผู้เรียนและการเป็นผู้สอนใน สถานศึกษาเปล่ียนแปลงไปจากเดิม และผูกพันกับ
เทคโนโลยีมากขึ้นจนบางทา่ นอาจคดิ ว่าเทคโนโลยีมีอิทธิพลในการ กำหนดวิถีชีวิตไมเ่ พียงการเปลย่ี นแปลงวิถี
ชีวติ เทา่ นั้น
2. เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงวิธีการ (Technology alters techniques.) วิธีการเรียนการสอนใน
สถานศึกษาปัจจุบันมีหลายรูปแบบหลายลักษณะ และในจำนวนรูปแบบต่างๆ ของการเรียนเหล่าน้ัน
จำเป็นต้องพ่ึงพาเทคโนโลยี เช่น การเรียนการสอนทางไกลแบบสองทาง การเรียนด้วยสื่อโทรทัศน์ผ่าน
ดาวเทียม หรือรูปแบบของการเรียนการสอนทีไ่ ม่จำเป็นต้องมีชัน้ เรียนให้ผู้เรียนเรียน ไดด้ ้วยตนเองจากแหล่ง
วิทยบริการท่ีมีอยู่หรือจากชุดการเรียนที่ทำข้ึนสำหรับ ผู้เรียนลักษณะน้ีโดยเฉพาะ นอกจากนี้เทคนิควิธีการ
27
เรียนการสอน การประเมินผล ยงั เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่มีครเู ป็นศนู ย์กลาง กลายเป็นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ของการเรยี นมากขึ้น
3. เทคโนโลยีเปล่ียนแปลงสถานการณข์ องการเรียน (Technology alters situations of learning.)
การเปลีย่ นแปลงสถานการณข์ องการเรียนในสถานศึกษา เปน็ สภาพใหมท่ ่เี กิดข้ึนพรอ้ มๆ กับนำเทคโนโลยใี หม่
เข้ามาใช้ สถานการณข์ องการเรยี นการสอนในสภาพของสิ่งแวดล้อมในสถานศกึ ษาท่ีเต็มไปด้วย เทคโนโลยีเพ่ือ
ชว่ ยการเรียนรู้จะมีบรรยากาศของการเรียน เงื่อนไขในการเรียน ที่แตกต่างจากเดมิ ผ้เู รยี นสามารถเลือกเรียน
ในสถานการณ์และเงื่อนไขท่ีตนเองต้องการได้มากขนึ้ สถานการณ์ท่ีทำให้เกดิ การเรียนรู้ไม่จำเป็นต้องสร้างขึ้น
ดว้ ยครูผู้สอน เท่านั้นอย่างแต่ก่อน แตเ่ ทคโนโลยีสามารถจะสร้างสถานการณ์ของการเรียนให้เกิดข้ึนได้และมี
ความหลาก หลายอีกดว้ ย
จากผลของการเปลี่ยนแปลงโดยมีเทคโนโลยีเป็นตัวกำหนดดัง กล่าวข้างต้น ทำให้สภาพแวดล้อม
ทางการเรียนในสถานศึกษาต้องมีการวางแผนและจัดการกับ เทคโนโลยีที่เป็นตัวกำหนดน้ันอย่างมี
ประสิทธิภาพและให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสุด เพ่ือเป็นแนวทางที่จะนำไปสู่การจัดการศกึ ษาอย่างมีคุณภาพ ที่
สถานศึกษาทุกแห่งตอ้ งการให้เกดิ ข้ึน
ภาพท่ี 1.14 ผลกระทบของเทคโนโลยีใหมใ่ นการศกึ ษา
ทีม่ า : https://th.thpanorama.com/articles/psicologa-educativa/impacto-de-las-nuevas-
tecnologas-en-la-educacin.html
1.12 ปญั หาและอปุ สรรคในการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
สภาพปจั จบุ ันและปัญหาการใชเ้ ทคโนโลยีการศกึ ษาในประเทศไทย
จากความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการจงึ ทำให้กระบวนการจดั การศึกษาต้องเปลย่ี นแปลงตามไปด้วย
อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นเทคโนโลยีการศึกษาไม่ว่าจะเป็นส่ือวัสดุอุปกรณ์ประเภทต่างๆรวมท้ังเทคนิควิธกี ารและ
แหล่งสนับสนุนการเรียนรู้ต้องเปล่ียนแปลงตามไปด้วยเชน่ กัน คอมพิวเตอร์ ได้เข้ามามีอิทธิพลและมีบทบาท
ตอ่ การจัดการศึกษาอย่างเด่นชัดมากย่งิ ข้ึน และดเู หมอื นวา่ จะเป็นส่อื ทีน่ ่าสนใจและเปน็ ส่อื ที่ต้องการของหลาย
ฝ่ายที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษาทุกๆระดับ ทั้งน้ีสังคมคาดหวังว่าสื่อยุคใหม่หรือนวัตกรรมทางการสอนท่ี
แปลกใหม่และมีความหลากหลายเหล่านั้นจะชว่ ยเสริมสร้างประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลทางการเรียนรู้และ
28
การจัดการศึกษาโดยรวมในท่ีสุด หากมองย้อนหลังสักหน่อย จะพบว่าเราเริ่มจาก การไม่มี อยากมี แล้วได้มี
ติดตามด้วยใช้ไม่ค่อยเป็น แล้วก็ใช้เป็นกันมากข้ึน แต่ได้ประโยชน์ มีแก่นสารสาระหรือไม่เป็นเร่ืองน่าคิด
ส่วนมากจะเข้าลักษณะใช้เป็น แต่ไม่ค่อยได้ประโยชน์ ดูท่ีกลุ่มเยาวชนก็แล้วกันว่าเขากำลังทำอะไรกันอยู่กับ
อินเตอร์เน็ต เสียเวลาและทรัพยากรไปเท่าไร และได้อะไรตอบแทนกลับมา ส่วนมากจะเข้าข่ายไร้สาระ
มากกว่า
1.12.1 ปัญหาทีพ่ บในการใช้นวัตกรรมการศกึ ษา
1. ปัญหาด้านบุคลากร บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจในการผลิตส่ือประกอบการจัดกิจกรรม
บุคลากรขาดประสบการณ์ในการใช้สื่อนวัตกรรมทางการศึกษา ไม่เข้าใจและรู้จักวิธีการใช้นวัตกรรมท่ีทาง
โรงเรียนจัดทำข้ึน ขาดความชำนาญในการใช้นวัตกรรม ขาดสื่อประกอบการเรียน บุคลากรส่วนใหญ่ให้ความ
ร่วมมือในการใชน้ วัตกรรม แตข่ าดความต่อเน่ืองแนวทางแก้ไข คือ สร้างความตระหนัก ความรับผิดชอบใน
ส่วนที่ยังบกพร่องทางนวัตกรรมของบุคลากร ส่งเสริมให้เข้าร่วมการอบรมสัมมนา ส่งเสริมให้เกิดการศึกษา
ด้วยตนเอง เพ่ือใหค้ วามรแู้ ละประสบการณใ์ นการใช้สือ่ นวัตกรรมทางการศึกษาทม่ี ากขนึ้
2. ปัญหาด้านวัสดุ อุปกรณ์ และงบประมาณ เก่ียวกับนวัตกรรม คือ ขาดงบประมาณในการพัฒนา
นวัตกรรม ขาดวสั ดุ – อุปกรณ์และงบประมาณทีจ่ ะพัฒนาส่ือนวตั กรรม การจัดหา การใช้ การดูแลรักษาและ
ขาดงบจดั หาส่ือทันสมัย แนวทางการแก้ไข เพิ่มงบประมาณให้เพียงพอ ใหห้ นว่ ยงานทม่ี ีส่วนเกย่ี วข้องจัดหา
งบประมาณสนับสนุน สำนักงานเขตพ้ืนที่ต้องชว่ ยดูแลและให้ความช่วยเหลือจัดสรรงบประมาณได้ เพื่อใช้ใน
การพฒั นานวตั กรรมใหม้ ีคุณภาพดยี ่ิงข้ึน และระดมทรพั ยากรทม่ี ีในท้องถิน่ มาชว่ ยสนับสนุน
3. ปญั หาด้านสภาพแวดล้อม และสถานท่ีการใช้นวตั กรรม สภาพแวดลอ้ มโดยทวั่ ไปยงั ไม่เหมาะสม
กับการใช้ส่ือ เน่ืองจากความยุ่งยากและไม่คล่องตัว มีสถานที่ไม่เป็นสัดส่วน ไม่มีห้องท่ีใช้เพ่ือเก็บรักษาสื่อ
นวัตกรรมเปน็ การเฉพาะ ทำให้การดแู ลทำได้ยากและขาดการพฒั นาทต่ี ่อเนื่อง แนวทางการแก้ไข คือ ใช้สื่อ
นวัตกรรมตามความเหมาะสมของเน้ือหาวชิ าตามความยากง่ายของเน้ือหา จัดทำห้องส่ือเคลื่อนท่ี แบ่งสอื่ ไป
ตามหอ้ งให้ครรู ับผิดชอบ ควรจัดหาห้องเพื่อการนีเ้ ป็นการเฉพาะ
4. ปัญหาด้านสภาพการเรียนการสอน เด็กมีความแตกต่างกันด้านสติปัญญา และด้านร่างกาย
ปัญหาครอบครวั แตกแยก เด็กอาศัยอยู่กับญาติ มีเนื้อหาวิชาท่ีมากและสาระ การเรียนการสอนแต่ละคร้ังไม่
ตอ่ เนอ่ื ง นกั เรยี นบางคนไม่สบายใจในกิจกรรม และทำไมจ่ ริงจังจึงมีผลต่อการจัดกิจกรรม นักเรยี นต้องเขา้ คิว
รอนานกับนวตั กรรมบางชนิด และสภาพการเรียนการสอน ครูยงั ยึดวิธีการสอนแบบเดิม คือ บรรยายหน้า
ชั้นเรยี น แตสว่ นใหญม่ แี นวโนม้ ในการพฒั นาทีด่ ขี น้ึ ครูยังไม่มีการนำส่อื นวตั กรรมมาใชใ้ นการจัดการเรยี นการ
สอนอย่างต่อเน่ือง แนวทางการแก้ไข คือ จัดกลุ่มให้เพื่อนช่วยเพ่ือน คอยกำกับแนะนำช่วยเหลือ จัดครเู ข้า
สอนตามประสบการณ์ความถนัด ควรจัดอบรมเพื่อให้ความรู้ จัดทำนวัตกรรมที่มีโอกาสเป็นไปได้ และสร้าง
การมีส่วนร่วมจากชุมชน สอนเพ่ิมเติมนอกเวลา และจัดการสอนแบบรวมช้ัน โดยใช้กระบวนการเรียนการ
สอนตามชว่ งชนั้
5. ปัญหาด้านการวัดผลและประเมินผล คือ บุคลากรขาดความรู้ในการท่ีจะนำส่ือนวัตกรรมมาใช้ใน
การวัดผลและประเมินผล นักเรียนที่ไม่ค่อยสนใจหรอื ไม่ชอบกิจกรรมก็จะมีผลต่อการจัดผลประเมินผล ขาด
29
นวัตกรรมส่ือคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต การวัดประเมินผล ครูส่วนใหญ่ยังใช้วธิ ีการทำแบบทดสอบ แบบ
ปรนัย แนวทางการแกไ้ ข จัดทำแบบสอบถามสุ่มเป็นรายบุคคล เพศชาย หญิง เนน้ นักเรียนไดฝ้ กึ ปฏิบตั ิจริง
และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง จดั แบบทดสอบที่หลากหลาย ทง้ั แบบปรนยั และอัตนัย และประเมินผลตาม
สภาพจรงิ ประเมินผลงานจากแฟ้มสะสมงาน
ภาพที่ 1.15 การปฏิเสธนวัตกรรม
ที่มา : https://sites.google.com/site/techno5040407/tidtx-1
30
บทท่ี 2
เร่ือง ความร้เู บื้องต้นเกีย่ วกบั เทคโนโลยีสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต มีความสำคัญในชีวิตประจำวันของมนุษย์ใน สังคมปัจจุบันมากข้ึน
เนื่องจากสังคมขณะน้ีกำลังเข้าสู่สังคมแห่งเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร หรือ สังคมไอที ท่ี
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสำคัญ ในการช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้ไม่ว่าจะเป็นการทำงานด้านการส่ง
ข้อมลู ข่าวสารระหว่างที่หนงึ่ ไปยงั อีกท่หี นึ่ง ในรูปแบบส่ือ ทั้งภาพเสียงตวั อักษรและมัลติมีเดีย ไดอ้ ย่างรวดเร็ว
ฉับไวทันเวลาทต่ี อ้ งการ
หากแต่ในปัจจุบันได้มีการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ไปในทางไม่เหมาะสม เช่น นำไปใช้แพร่ภาพ ลามก
อนาจาร นำภาพไปตัดต่อเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ทำให้ผอู้ ื่นเสยี หาย ปลอมแปลง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
โดยไม่ได้รับอนุญาต ก่อกวนทำร้ายผู้ใช้คอมพิวเตอรอ์ ื่นๆ หลอกลวง ก่อการร้าย การป้องกันปราบปรามและ
จับกุมดำเนินคดีแก่ผู้ท่ีใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่ทำให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อ่ืน หรือเกิดความเสียหาย แก่
ประเทศชาติ จงึ เป็นเร่ืองจำเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งมีการแก้ปัญหาดงั กล่าว
จึงเกิดการร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550ขึ้น โดยมี
เจตนารมณ์ คอื
1. เพ่ือเป็นการใช้กรอบแห่งกฎหมายในการกำหนดฐานความผิดและบทลงโทษในการเรียกร้อง
ค่าเสยี หายแก่ผู้กระทำความผดิ เพอ่ื คุ้มครองสิทธิให้แกป่ ระชาชน
2. เพ่ือกำหนดบทบัญญัติเก่ียวกับอำนาจหน้าทข่ี องเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ทั้งด้านนโยบาย มาตรฐาน
แนวปฏิบตั ิ และกำหนดหนา้ ท่ีของผู้ให้บริการไม่ว่าจะแก่ตนเองหรอื บุคคลอื่นในการเขา้ สู่อินเทอร์เน็ต หรือให้
สามารถติดตอ่ ถึงกันโดยผา่ นระบบคอมพิวเตอร์ โดยให้มีแนวทางการปฏิบัตติ ามดำเนินงานให้เกิดความชัดเจน
ถกู ต้องในแนวทางเดยี วกนั
จากการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนหลังพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเก่ียวกับ
คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการประชาสัมพันธ์
เผยแพร่เก่ียวกับพระราชยัญญัติให้แก่สาธารณะชนได้เข้าใจอย่างแท้จริง และเป็นผลให้การบังคับใช้
พระราชบญั ญตั มิ ปี ระสิทธภิ าพสูงสดุ
2.1 เครอื ข่ายคอมพวิ เตอรแ์ ละอินเทอร์เนต็
1. เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
1.1. ความหมายและองคป์ ระกอบของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (computer net-work) หมายถึง การเช่ือมต่อคอมพิวเตอรแ์ ละอุปกรณ์ต่อ
พว่ งเขา้ ด้วยกนั โดยใช้ส่ือกลางตา่ งๆ เครอื ข่ายคอมพวิ เตอรส์ ามารถแบ่งออกได้ 6 ประเภท ดงั นี้
1. เครือขา่ ยเฉพาะท่ี หรือแลน (local area network : LAN)
31
2. เครือข่ายนครหลวง หรอื แมน (metropolitan area network : MAN)
3. เครอื ข่ายบริเวณกวา้ ง หรือแวน (wide area network : WAN)
4. เครอื ข่ายภายในองค์กร หรอื อนิ ทราเน็ต (intranet)
5. เครือข่ายภายนอกองคก์ ร หรือเอก็ ทราเนต็ (extranet)
6. เครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต (internet)
1.2. การเลอื กใชฮ้ าร์ดแวรข์ องระบบเครอื ข่ายขนาดเลก็
ภาพท่ี 2.1 ฮาร์ดแวร์ของระบบเครอื ขา่ ยขนาดเล็ก
ท่ีมา : http://thecomputerandtheinternet.blogspot.com/2014/11/1_76.html
1. อปุ กรณใ์ นระบบเครือข่ายขนาดเล็ก
1.1. การ์ดแลน (LAN card) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าท่ีรับส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหน่ึงไปสู่
คอมพวิ เตอรอ์ รกเครื่องหนึง่ โดยผา่ นสายแลน
1.2. ฮับ (hub) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าท่ีเสมือนกับชุมทางข้อมูล มีหน้าที่เป็นตัวกลางคอยส่งข้อมูลให้
คอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
1.3. สวิตช์ (switch) เป็นอุปกรณ์รวมสัญญาณเช่นเดียวกับฮับ แต่ต่างจากฮับ คือ การรับส่งข้อมูล
จากคอมพิวเตอรเ์ คร่อื งหน่ึงน้นั จะไมก่ ระจายไปยงั ทกุ เคร่ือง เนือ่ งจากข้อมลู จะตรวจสอบก่อนว่าเปน็ ของเครอ่ื ง
ใด แลว้ จงึ สง่ ไปยังปลายทาง
1.4. โมเด็ม (modem) เป็นอปุ กรณ์ทท่ี ำหน้าทแี่ ปลงสัญญาณเพ่ือใหส้ มมารถสง่ ผ่านสายโทรศพั ทไ์ ด้
1.5. อุปกรณ์จัดเส้นทางหรือเราเตอร์ (router) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเช่ือมโยงเครือข่ายหลาย
เครือขา่ ยเขา้ ดว้ ยกนั เราเตอรท์ ำหน้าท่เี ลือกเสน้ ทางท่ีดีที่สุด
32
1.6. สายสญั ญาณ (cable) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าท่ีเปน็ สอ่ื กลางในการรบั สง่ ข้อมลู
ภาพท่ี 2.2 ระบบเครือข่ายขนาดเล็ก
ท่มี า : http://thecomputerandtheinternet.blogspot.com/2014/11/1_76.html
2. การเชื่อมต่อระบบเครือขา่ ยขนาดเลก็
2.1. การเชื่อมตอ่ เครือข่ายระยะใกล้ หากมีคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่ายไม่เกินสองเคร่ือง อุปกรณ์
ในระบบเครือข่ายนอกจากเครื่องคอมพิวเตอรแ์ ล้ว ยังต้องมีการ์ดแลนและสายสัญญาณ โดยไม่ต้องใช้ฮับและ
สวิตช์ เพราะถ้ามีคอมพิวเตอร์สองเครื่อง กส็ ามารถเชอ่ื ตอ่ โดยใชส้ ายไขว้ (cross line)
2.2. การเชือ่ มต่อเครือขา่ ยระยะไกล จากข้อกำจัดของเครือข่ายทใ่ี ช้สายแลนทไ่ี มส่ ามารถเดินสายให้มี
ความยาวมากกวา่ 100 เมตรได้ จงึ ตอ้ งหาทางเลือกสำหรับระบบเครอื ข่ายระยะไกล ดังน้ี
- แบบท่ี 1 คอื ต้องตดิ ต้ังเครื่องทวนสัญญาณ (repeater) ไว้ทกุ ๆระยะ 100 เมตร
- แบบท่ี 2 คอื ใช้โมเดม็ หมุนโทรศัพท์เข้าหากนั เมอื่ ต้องการเช่ือมต่อ เละเมื่อเสร็จส้ินกย็ กเลิก
การเชอื่ มต่อ
- แบบท่ี 3 คือ เป็นเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดในปัจจุบันสายสัญญาณท่ีเลือกใช้ คือ
สายใยแกว้ นำแสง สามารถสง่ ขอ้ มูลระยะไกลไดแ้ ละมีความเร็วสงู
- แบบท่ี 4 คือ ใช้จุดเช่ือมต่อแบบไร้สาย (wireless lan) เป็นการเช่ือมต่อโดยใช้สัญญาณ
วทิ ยุทางอากาศแทนการใชส้ ายโทรศพั ท์
- แบบท่ี 5 คือ เทคโนโลยี G.SHDSL ซึ่งเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีตระกูล DSL (Digital
Subscriber Line) เป็นเทคโนโลยีโมเดม็ ท่ที ำให้คูส่ ายทองแดงกลายเป็นสอื่ สัญญาณดจิ ิทลั ความเรว็ สงู
- แบบท่ี 6 คือ เทคโนโลยีแบบ ethernet over VDSL เป็นเทคโนโลยีระบบเครือข่ายแบบ
ล่าสดุ ท่สี ามารถจะตดิ ตั้งใชง้ านไดเ้ อง สามารถเชื่อมต่อใช้กบั โทรศัพท์ได้
33
1.3. การเลือกใช้ซอฟต์แวรข์ องระบบเครือข่ายขนาดเล็ก
1. ระบบปฏบิ ตั ิการลินกุ ซ์ เซน็ โอเอส (Linux community enterprise operating system)
นยิ มเรียกย่อวา่ CentOS ซึง่ ชว่ ยประหยัดงบประมาณขององคก์ ร เน่ืองจาก CentOS เป็นซอฟแวรเ์ ปิดเผยโค้ด
(open source software) ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดโค้ดไปใชง้่ านโดยไมต่ อ้ งจา่ ยค่าลิขสทิ ธ์ิซอฟต์แวร์
2. ระบบปฏิบตั กิ ารวินโดวส์ เซริ ์ฟเวอร์ (Windows server) ปจั จบุ ันถกู พฒั นาเปน็ windows Server
2008 ซ่ึงออกแบบมาเพ่ือนสนับสนุนระบบเครือข่าย แอพพลิเคช่ันและบริการอื่นๆ ที่มีความทันสมัยบน
เว็บไซต์ โดยมคี ุณสมบตั ิเด่น ดงั น้ี
1. สรา่ งโครงสร้างพ้ืนฐานทมี่ ั่นคงสำหรับภาระงานของเซิร์ฟเวอร์ รวมถึงความต้องการด้าน
แอพพลิเคชัน่ ตา่ งๆด้วย
2. เวอร์ชวลไลเซซ่ัน (virtualization) เป็นการสร้างระบบเสมือนจริงท่ีมีรากฐานจากระบบ
hypervisor ช่วยให้สามารถรวมเซิรฟ์ เวอร์และใชง้ านฮารด์ แวร์ได้อยา่ งเต็มที่
3. มรี ะบบจดั การและดแู ลเวบ็ และแอพพลิเคชน่ั ทไ่ี ด้รบั การพฒั นามากขน้ึ
4. ระบบความปลอดภัย ได้รับการพัฒนาให้มีความทนทานมากขึ้น พร้อมท้ังผสานการใช้
เทคโนโลยีดา้ น IDA หลายช้ิน
2. อนิ เทอร์เนต็
2.1. ความหมายและพัฒนาการของอินเทอรเ์ น็ต
อินเทอร์เน็ต (internet) มาจากคำว่า interconnection network หมายถึง การใช้
ประโยชนข์ องระบบเครอื ขา่ ยท่นี ำเครื่องคอมพิวเตอรห์ ลายๆ เครอ่ื งมาเชื่อมตอ่ กันโดยผา่ นสือ่ กลางชนิดใดชนิด
หนึ่ง
ภาพที่ 2.3 อนิ เทอรเ์ น็ตคืออะไร
ทม่ี า : https://www.ar.co.th/kp/th/127
34
2.2. บรกิ ารบนอินเทอรเ์ น็ต
1. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรืออีเมลล์ (electronic mail or e-mail) เนื่องจากในระบบ
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตน้ันมีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หลายเคร่ืองเข้าด้วยกัน ทำให้การส่งข้อมูลระหว่าง
คอมพิวเตอรด์ ้วยกนั สามารถทำได้งา่ ย
2. เมลลงิ ลสิ ต์ (mailing list) เป็นเสมือนเคร่ืองมือที่ใช้กระจายขา่ วสารและขอ่้ มูลเฉพาะกลุ่ม
3. การสือ่ สารในเวลาจรงิ (realtime communication) เปน็ การสื่อสารกันท่สี ามารถโตต้ อบ
กลับไดท้ นั ทผี ่านเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต เช่น แชท (chat)
4. เวบ็ ไซต์เครือข่ายทางสังคม (social networking web site) เป็นชุมชนออนไลนท์ ่ีกลมุ่ คน
รวมกันเปน็ สังคม เช่น facebook
5. บล็อก (blog) ย่อมาจากคำว่า เว็บบล็อก (webblog) เป็นเว็บไซต์ที่ใช้เขียนบันทึก
เรื่องราว เพอื่ สอ่ื สารความรสู้ กึ มมุ มอง เรียกวา่ ไดอาร่อี อนไลน์ (diary online)
6. วกิ ิ (wiki) เปน็ รปู แบบการเผยแพร่ข้อมูลที่บุคคลต่างๆ ท่มี ีความรู้ในแต่ละเรอ่ื งมาให้ขอ้ มูล
เช่น wikipedia
7. บริการเข้าใช้ระบบคอมพิวเตอร์ระยะไกล (remote login/telnet) บริการนี้อนุญาตให้
ผใู้ ช้สามารถเข้าไปทำงานต่างๆ ท่ีอยู่ในคอมพิวเตอร์เครอื่ งหน่ึงผ่านทางคอมพิวเตอร์อีกเคร่ืองหน่ึงที่เช่ือมต่อ
อยใู่ นเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต ไม่วา่ คอมพวิ เตอร์เครื่องน้ันจะอยใู่ กลห้ รอื ไกลกันก็ตาม
8. การโอนย้ายข้อมูล (file transfer protocol : FTP) เป็นการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลจาก
คอมพิวเตอรเ์ ครอ่ื งหนึง่ ไปยงั คอมพิวเตอรอ์ ีกเครือ่ งหนึ่ง ซ่งึ อาจจะอยู่ใกล้หรือไกล
9. บริการแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร หรือ ยูสเน็ต (usenet) เป็นอีกบริการหนึ่งบน
อินเทอร์เน็ต ซ่งึ มีลกั ษณะเป็นกลมุ่ สนทนา เพอื่ แลกเปลี่ยนขา่ วสารกันบนเครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต
10. เวิลด์ไวด์เว็บ (world wide web) ซึ่งอาจเรียกย่อว่า เว็บ (web) เป็นบริการเพ่ือการ
ค้นหาข้อมูลท่ีไดร้ ับความนิยมมากท่ีสุดของอินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน เป็นการให้บริการข้อมูลแบบไฮเปอร์เท็กซ์
(hypertext) เป็นวธิ ีการที่จะเช่ือมโยงขอ้ มูลจากเอกสารหน่งึ ไปข้อมลู ของอีกเอกสารหนึง่
11. พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (electronic commerce หรือ e-commerce) เป็นการทำ
ธรุ กรรมซ้อื ขายสนิ ค้าและบริการบนเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ โดยนำเสนอสนิ ค้าและบริการทางเว็บไซต์
2.3. คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในการใชอ้ ินเทอรเ์ น็ต
1. จรรยาบรรณในการใชอ้ ินเทอรเ์ น็ต (netiquette)
1.1. จรรยาบรรณสำหรบั ผใู้ ช้ไปรษณียอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์
- ตรวจสอบกลอ่ งรบั ไปรษณยี ์ทกุ วัน จำกัดจำนวนไฟลแ์ ละข้อมลู ในตู้จดหมาย
35
- ลบขอ้ ความหรอื จดหมายท่ไี มต่ อ้ งการทง้ิ
- โอนยา้ ยจดหมายจากระบบไปไวย้ ังเคร่อื งคอมพิวเตอร์สว่ นบคุ คล
- พงึ ระลึกไวเ้ สมอวา่ จดหมายทเ่ี กบ็ ไวใ้ นต้จู ดหมายนี้อาจถูกผู้อืน่
- ไมค่ วรจะสง่ จดหมายกระจายไปยังผู้รับจำนวนมาก
1.2. จรรยาบรรณสำหรบั ผ้สู นทนาผ่านเครือขา่ ย
- ควรสนทนากบั ผ้ทู ี่รู้จกั และต้องการสนทนาดว้ ยเท่าน้ัน
- ก่อนการเรยี กคู่สนทนา ควรตรวจสอบสถานการณใ์ ช้งานของคสู่ นทนา ก่อน
- หลังการเจรยี กคสู่ นทนาไปแล้ว ไม่ตอบกลับมาแสดงว่าเขาอาจตดิ ธรุ ะอยู่
- ควรใชว้ าจาสภุ าพ
1.3 จรรยาบรรณสำหรบั ผใู้ ชก้ ระดานข่าวหรอื กระดานสนทนา
- เขียนเร่ืองใหก้ ระชับ ใชข้ อ้ ความส้ัน
- ไม่ควรเขยี นขอ้ ความพาดพิงถึงสถาบนั ของชาติในทางท่ีไมส่ มควร
- ใหค้ วามสำคญั ในเร่ืองลขิ สทิ ธิ์
- ไม่ควรสรา้ งข้อความเท็จ
- ไมค่ วรใช้เครือขา่ ยส่วนรวมเพ่ือใช้ประโยชนส์ ว่ นตน
2. บญั ญตั ิ 10 ประการในการใชง้ านคอมพวิ เตอร์
1. ไมใ่ ชค้ อมพวิ เตอร์ทำรา้ ยผอู้ ่ืน
2. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์รบกวนการทำงานของผอู้ น่ื
3. ไมเ่ ปดิ ดขู อ้ มูลในแฟ้มของผ้อู น่ื โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต
4. ไม่ใชค้ อมพิวเตอรเ์ พอื่ การโจรกรรมขอ้ มลู ขา่ วสาร
5. ไมใ่ ชค้ อมพวิ เตอร์สร้างหลกั ฐานทเ่ี ปน็ เทจ็
6. ไมค่ ัดลอกโปรแกรมของผูอ้ ืน่
7. ไมล่ ะเมดิ การใชท้ รัพยากรคอมพวิ เตอร์
8. ไมน่ ำเอาผลงานคนอนื่ มาเป็นของตัวเอง
9. คำนึงถึงสิ่งท่จี ะเกดิ ขนึ้ กบั สงั คมอันเป็นผลมาจากการกระทำของตน
36
10. ตอ้ งใช้คอมพิวเตอรโ์ ดนเคารพกฎ ระเบียบ กตกิ า
กฎหมายเกย่ี วกับเทคโนโลยีสารสนเทศ มี 6 ฉบบั ดงั น้ี
1. กฎหมายเกีย่ วกบั ธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์
2. กฎหมายเกย่ี วกบั ลายมือชือ่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์
3. กฎหมายเกี่ยวกบั การคุ้มครองข้อมลู สว่ นบคุ คล
4. กฎหมายเกี่ยวกับการค้มุ ครองขอ้ มูลสว่ นบุคคล
5. กฎหมายวา่ ด้วยอาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์
6. กฎหมายเกีย่ วกบั การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานสารสนเทศ
กฎหมายทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ
- ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์
- ลายมือชื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์
- โอนเงนิ ทางอิเล็กทรอนกิ ส์
- การคุม้ ครองข้อมลู ส่วนบุคคล
- อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์
- การพฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐานสารสนเทศ
2.2 การใชอ้ ินเตอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้
สาระสำคัญ
ในปัจจุบันสื่อและเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมีประโยชน์ในการสืบค้นข้อมูล และแสวงหาความรู้ให้
กว้างขวางมากขึ้น พ้ืนท่ีที่ใช้สืบค้นองค์ความรู้ต่างๆ มิได้จำกัดเพียงตำราและหนังสือเท่านั้นสอ่ื อินเตอร์เน็ต
นับวา่ มบี ทบาทสำคัญอย่างมากสำหรบั ผู้เรียนรู้กลุ่มยคุ ใหม่ ระบบอินเตอร์เน็ตเป็นแหล่งข้อมลู องคค์ วามรู้ท่ี
ผ้ใู ช้สามารถสืบค้นขอ้ มูลได้ง่ายดายและสะดวกรวดเร็วที่สุด ผูส้ ืบค้นข้อมลู สามารถสืบค้นขอ้ มูลตา่ งๆ ได้อยา่ ง
รวดเรว็ หน่วยงานตา่ งๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ตา่ งเห็นความสำคัญของการติดต้ังระบบอินเตอร์เนต็ กันอย่าง
กว้างขวาง เพอ่ื บรกิ ารบุคคลในองคก์ รเพือ่ การปฏิบัติหนา้ ที่ได้สะดวกย่ิงข้นึ
37
ภาพท่ี 2.4 การใชอ้ นิ เตอรเ์ น็ตเพอื่ การเรียนรู้
ทีม่ า : https://www.gotoknow.org/posts/411991
1. การใชอ้ นิ เตอรเ์ นต็ เพ่ือการเรยี นรู้
อินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งข้อมูลที่ทุกคนสามารถเข้าถึงเพ่ือค้นหา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ได้อย่างแทบไม่มี
ขดี จำกัด การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อประโยชน์ดงั กล่าว จำเป็นที่เราจะต้องมีความรู้และทักษะในการค้นหาข้อมูล
(Search) รู้จักแหล่งเรียนรู้ และวิธีการนำเสนอข้อมูลความรแู้ ละผลงานอย่างเหมาะสม จะช่วยใหเ้ ราสามารถ
ใชอ้ นิ เทอร์เน็ตเปน็ เคร่ืองมอื ในการสืบค้นขอ้ มลู ในหวั ขอ้ เร่ืองทน่ี ักเรียนสนใจ
2.3 กิจกรรมการนำเสนอ
เป็นการเปิดเวทีเพื่อนำเสนอผลงานจากการสบื คน้ และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สามารถทำไดห้ ลาย
วธิ ี เช่น
1. การนำเสนอแบบ Online เชน่
1.1 สรา้ ง Web Page
1.2 สร้าง Blog
1.3 การส่งข้อมลู ออนไลน์
2. การนำเสนอแบบ Off line เช่น
2.1 การนำเสนอด้วยวาจา
2.2 ทำเอกสารรายงาน
2.3 จัดนิทรรศการ
2.4 การสรา้ งช้ินงาน
3. การนำเสนอแบบส่ือผสม โดยการเลือก Online และ Off line ซึ่งในปัจจุบันเป็นที่นิยมอย่าง
กวา้ งขวางในทุกวงการ
38
2. รปู แบบการใช้อนิ เตอรเ์ นต็ เพอ่ื การเรยี นรู้
การประยุกต์น็ตเป็นเครือข่ายที่สามารถติดต่อส่ือสารกันได้กับแหล่งที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน สามารถ
สืบค้นข้อมูลได้และมีสถาบันต่าง ๆ ท้ังภาครัฐและเอกชนท่ัวโลกได้เช่ือมเครือข่ายร่วมกัน จึงเป็นแหล่งที่จะ
สืบคน้ ขอ้ มูลเพอื่ นำมาศกึ ษาหาความรู้ได้ การนำอนิ เทอรเ์ นใ็ ชง้ านเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ ทางการศึกษา ดงั นี้
1. การใช้เครือข่ายเพื่อการติดต่อสื่อสาร เป็นการติดต่อระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน เพ่ือส่งรายงาน
การบ้าน วิทยานิพนธ์ ในรูปแบบแฟ้มข้อมูล การเปน็ สมาชิกกลุ่มสนทนาเพ่ือเป็นเวทแี ลกเปลี่ยนความคิดเห็น
เผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั ชว่ ยเหลือซ่ึงกนั และกันทางดา้ นวชิ าการ และแจง้ ข่าวความเคลือ่ นไหวทางวชิ าการ
2. การใช้เครือข่ายเพื่อการสืบค้นข้อมูล ซ่ึงผู้เรียน นักวิจัย และ ผู้สอนสามารถสืบค้นจากฐานข้อมูล
ทางการศึกษา และ Online Library Catalog ของห้องสมุดต่าง ๆ ท่ีเช่ือมโยงในอินเทอร์เน็ตจากประเทศใน
ทวปี ตา่ ง ๆ ทัว่ โลก
3. การใช้เครือข่ายเพื่อการสอน หรอื การสอนทางไกลโดยผา่ นเครือข่าย โดยเปดิ เป็นหลักสูตรการสอน
ในระดับปรญิ ญาและในแบบประกาศนยี บัตร เรียกว่า Online Program ซง่ึ ผู้เรยี นสามารถสมัครและเรยี นผา่ น
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ส่วนกิจกรรมการเรียนการสอน เอกสารและการติดต่อต่าง ๆ อยู่ในรปู ของแฟ้มข้อมูล
อเิ ลก็ ทรอนิกส์
การใช้ Internet ในชีวิตประจำวันส่งผลในด้านการศึกษา เราต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตเพ่ือค้นคว้าหา
ข้อมูลได้ ไม่ว่าจะเป็น ข้อมูลทางวชิ าการจากที่ต่าง ๆ ซึ่งในกรณีนี้ อินเตอร์เน็ต จะทำหน้าท่ีเหมือนห้องสมุด
ขนาดยักษ์ ส่งข้อมูลที่เราต้องการ มาให้ถึงบนจอคอมพิวเตอร์ท่ีบ้านหรือที่ทำงานของเรา ไม่กี่วินาทีจาก
แหล่งข้อมูลทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม ศิลปกรรม สังคมศาสตร์ กฎหมาย ความ
บันเทิง และการ พักผ่อนหย่อนใจ หรอื สันทนาการ เช่น เลือกอ่านวารสารต่างๆ ผ่านอินเตอร์เน็ต ที่เรียกว่า
magazine แบบ online รวมถึงหนังสือพิมพ์ และข่าวสารอ่ืน ๆ โดยมีภาพประกอบบนจอคอมพิวเตอร์
เหมือนกบั หนงั สอื
3. การสบื ค้นข้อมูลในการเรียนรดู้ ้วยตนเอง
เนอื่ งจากข้อมลู ที่อยู่บนเครือข่ายอนิ เตอร์เนต็ ในปจั จุบันมีมากมายและกระจัดกระจายอยูต่ ามที่ต่างๆ
ดังน้ันผู้ใช้อินเตอร์เน็ตจงึ จำเปน็ ต้องเรียนรู้วิธีการใช้บรกิ ารอนิ เตอร์เน็ตและเลอื กใช้ให้เหมาะสม เพ่อื การค้นหา
ข้อมูลในการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ โดยสามารถใช้อินเตอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูล ศึกษา
ค้นคว้า และวิจยั ไดห้ ลายวิธีดว้ ยกนั วิธีท่เี ปน็ ทีน่ ิยมมากท่สี ดุ ในปจั จบุ นั คอื
การสืบค้นทางเวิลด์ไวด์เว็บ เนื่องจากสามารถรองรับข้อมูลได้หลายๆ รูปแบบ และเช่ือมโยงข้อมูลท่ี
เกี่ยวเน่ืองกันให้เราได้ศึกษาอย่างสะดวกสบาย และมีซอฟต์แวร์ สำหรับอ่านข้อมูลในเว็บท่ีสมบูรณ์แบบมาก
การค้นหาข้อมูล ในการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ จำเป็นต้องใช้เครื่องมือช่วยค้น (Search
engine) ซ่ึงซอฟตแ์ วร์สำหรบั อ่านข้อมูลในเว็บ (Web Browser) ส่วนใหญ่บริการเชอ่ื มต่อกบั เคร่ืองมือเหล่าน้ี
ไวใ้ หแ้ ลว้ ผู้ใชเ้ พียงแต่กดปุม่ สำหรับเรียกเครอ่ื งมือนี้ขน้ึ มา พิมพ์คำ หรือข้อความท่ีต้องการสืบค้นลงไป เครือ่ ง
39
ก็จะแสดงผลการค้น โดยการแสดงช่อื ของข้อมูลที่เราตอ้ งการศึกษา (Web Page) ซึ่งถ้าต้องการเข้าไปอ่าน ก็
สามารถกดลงไปบนช่ือนั้นได้เลย ข้อมูลดังกล่าวจะปรากฏบนจอไม่ว่าจะเป็นข้อมูลจากเคร่ืองคอมพิวเตอร์
เคร่ืองใดในโลกก็ตาม
นอกจากน้ีการเข้าใช้คอมพิวเตอร์เคร่ืองอื่นๆ ท่ีต่ออยู่กับเครือข่าย และมีการอนุญาตให้เข้าไปใช้ได้
เช่น การติดตอ่ เขา้ สเู่ คร่ืองคอมพวิ เตอร์ของห้องสมุดเพอ่ื คน้ หา ยมื ตอ่ เวลาการยมื หรอื การจองหนังสอื สงิ่ พิมพ์
ต่าง ๆ ก็เป็นที่นิยมกันมาก ปัจจุบันมีห้องสมุดหลายแห่งเปิดให้บริการบริการน้ีสามารถเข้าใช้ได้โดยการ ใช้
คำสัง่ Telnet และตามด้วยชอ่ื เคร่อื ง หรือหมายเลขของเครือ่ งแล้วพิมพ์ชื่อในการขอเข้าใช้ (Login) บางเครอ่ื ง
อาจต้องใช้รหัสลับ (Password) ด้วย หลังจากน้ันต้องทำตามคำสั่งที่ปรากฏบนจอ ซึ่งจะแตกต่างกันไปในแต่
ละระบบของเครื่อง นอกจากห้องสมดุ แล้ว เราอาจจะใช้คอมพวิ เตอร์ที่เป็นฐานข้อมลู ตา่ ง ๆ ไดด้ ว้ ย โดยในบาง
ฐานข้อมูล นอกจากผ้ใู ช้จะเข้าไปค้นหาบทความที่เคยตีพิมพ์ในวารสารตา่ ง ๆ แล้วยังสามารถใชบ้ ริการพิเศษ
อื่น ๆ เช่น บริการส่งอีเมล์แจ้งให้ทราบเก่ียวกับบทความใหม่ ๆ ท่ีได้ตีพิมพ์ในวารสารการศึกษาท่ีสนใจเล่ม
ล่าสดุ โดยต้องมีการกำหนดชื่อของวารสารทส่ี นใจไวล้ ่วงหน้า หรือ มีบริการส่งแฟกซ์ บทความน้ันให้แก่ผู้ใช้ท่ี
สนใจ
สรุป
อนิ เทอร์เน็ตเป็นเทคโนโลยีสารสนเทศทีม่ บี ทบาทในยคุ น้ี โดยการนำความรู้ การเช่อื มโยงแหล่งความรู้
มาประกอบกันเพือ่ ใหผ้ ูเ้ รียน ทตี่ อ้ งการเรียนร้ใู หเ้ ข้าถงึ ไดจ้ งึ นับวา่ เป็นประโยชนต์ ่อวงการศกึ ษาในการใช้สบื ค้น
ขอ้ มูลต่างๆจากความจำเปน็ และความสำคญั ของอินเทอร์เน็ตดังกล่าว ผู้วิจัยจงึ สนใจทจี่ ะศึกษาพฤติกรรมการ
ใช้อิ น เทอ ร์เน็ตเพื่ อก ารศึก ษาขอ งนั ก ศึก ษ าสถาบัน เทคโน โลยีพ ระ จ อ มเก ล้าเจ้าคุณ ทห ารลาดก ระ บั ง
ผลการวจิ ัยครั้งนเ้ี ป็นประโยชน์ต่อสถาบนั เพื่อใชใ้ นการวางแผนการบริหารจดั การและการลงทุนดา้ นเทคโนโลยี
คอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเพอื่ เป็นประโยชนส์ ำหรบั ตวั เราเอง
2.4 ววิ ฒั นาการของสารสนเทศ
อดีตมนุษย์ยังไม่มีภาษาท่ีใช้สำหรับการส่ือสาร เม่ือเกิดมีเหตุการณ์ (Event) อะไร เกิด ข้ึน ก็ไม่
สามารถถ่ายทอด หรอื เผยแพร่แก่บุคคลอ่ืน หรือสังคมอื่นได้ อย่างถูกตอ้ งตรงกัน ระหว่างผู้ส่งสารกับผู้รับสาร
จึงมีการคิดใช้สัญลักษณ์ (Symbol) หรือเครื่องหมาย ทำหน้าท่ีสื่อ ความหมายแทนเหตุการณ์ดังกล่าว จึงมี
การใช้กฎ และสูตร (Rule & Formulation) มาใช้เพื่ออธิบายเหตุการณ์ดังกล่าวว่าเกิดมาจากสาเหตุใด หรือ
เกิดมาจากสารใดผสมกับสารใด เป็นต้น จากน้ันเมื่อ มนุษย์มีภาษา สำหรับการส่ือสารแล้ว ก็เกิดมีข้อมูล
(Data) เก่ียวกบั เหตกุ ารณ์ดังกลา่ ว เกดิ ข้ึนมามากมาย ทัง้ จากภายในสังคมเดียวกัน หรือจากสังคมอ่ืนๆ เพ่ือให้
ได้คำตอบท่ีถูกต้อง ทำให้ต้องมีการวิเคราะห์ หรือประมวลผล ข้อมูลให้มีสถานภาพเป็นสารสนเทศ
(Information) ท่จี ะเป็นประโยชนต์ อ่ ผูใ้ ช้ หรอื ผบู้ ริโภค เม่อื ผบู้ ริโภคมกี ารสะสม เพม่ิ พูน สารสนเทศมากๆเข้า
และมีการเรียนรู้ (Learning) จนเกิดความเข้าใจ (Understanding) ก็จะเป็นการพัฒนา สารสนเทศที่มีอยู่ใน
ตนเองเป็นองค์ความรู้ (Knowledge) เน่ืองจากมนุษยเ์ ป็นผทู้ ี่มีสติ (สมั ปชัญญะ) (Intellect) รู้จักใช้ เหตุและ
ผล (Reasonable) กับความรู้ท่ีตนเองมีอยกู่ ็จะมีการพัฒนาความรเู้ ป็นปัญญา (Wisdom) ในท่ีสุด ดังแสดงได้
ตาม ภาพขา้ งลา่ งน้ี
40
ภาพท่ี 2.5 ววิ ัฒนาการของสารสนเทศ
ทมี่ า : https://www.baanjomyut.com/library_3/extension-
1/introduction_to_information_technology/01.html
2.5 สาเหตทุ ท่ี ำใหเ้ กิดสารสนเทศ
1. เม่ือมีวิทยาการความรู้ หรือสงิ่ ประดิษฐ์ หรือผลิตภัณฑใ์ หม่ๆ พร้อมกันน้ัน กจ็ ะเกดิ สารสนเทศมา
พร้อมๆ กันด้วย จากน้ันก็จะมีการเผยแพร่ หรือกระจายสารสนเทศ เกี่ยวกับ วิทยาการความรู้ หรือ
สงิ่ ประดิษฐ์ ผลติ ภัณฑ์ ชนิดน้ันๆไปยัง แหลง่ ตา่ งๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง
2. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เป็นเคร่ืองมือสำคญั ในการผลติ สารสนเทศ เนื่องจากมี ความสะดวกในการ
ป้อน ข้อมูล การปรับปรุงแก้ไข การทำซ้ำ การเพ่ิมเติม ฯลฯ ทำให้มีความ สะดวกและง่ายต่อการผลิต
สารสนเทศ
3. เทคโนโลยีส่ือสารยุคใหม่มีความเรว็ ในการส่อื สารสงู ข้นึ สามารถเผยแพร่สารสนเทศ จากแหลง่ หนึ่ง
ไปยัง สถานท่ีต่างๆ ท่ัวโลกในเวลาเดียวกันกับเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นจริง อีกท้ังสามารถส่งผ่านข้อมูลได้อย่าง
หลากหลาย รูปแบบ พรอ้ มๆ กันในเวลาเดยี วกนั
4. เทคโนโลยีการพิมพ์ที่มีความสามารถในการผลิตสารสนเทศสูงขึ้น สามารถผลิตสารสนเทศได้ครั้ง
ละจำนวน มากๆ ในเวลาส้นั ๆ มสี สี ันเหมอื นจริง ทำใหม้ ปี ริมาณสารสนเทศใหม่ๆ เกดิ ขึน้ อยู่ตลอดเวลา
5. ผู้ใช้มีความจำเป็นต้องใช้สารสนเทศเพื่อการศึกษา เพ่ือการค้นคว้าวิจัย เพ่ือการ พัฒนาคุณภาพ
ชีวิต เพื่อการ ตัดสินใจ เพ่ือการแก้ไขปัญหา เพื่อการปฏิบัติงาน หรือปรับปรุง ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ,
การบรหิ ารงาน ฯลฯ
6. ผู้ใช้มีความต้องการใช้สารสนเทศ เพ่ือตอบสนองความสนใจ ต้องการทราบแหล่งที่อยู่ของ
สารสนเทศ ต้องการเข้าถึงสารสนเทศ ต้องการสารสนเทศที่มาจากต่างประเทศ ต้องการสารสนเทศอย่าง
หลากหลาย หรอื ตอ้ งการ สารสนเทศอย่างรวดเร็ว เป็นตน้
41
2.6 ความหมายของคำวา่ ขอ้ มูล
ภาพท่ี 2.6 ขอ้ มูล
ท่ีมา : https://safety.google/intl/th/privacy/data/
จากการศกึ ษาพบว่ามีผู้ให้คำนยิ ามของคำว่าขอ้ มูลไว้ หลากหลาย เช่น
ขอ้ มลู คอื ขอ้ เท็จจรงิ ภาพ (Images) หรอื เสยี ง (Sounds) ที่อาจจะ(หรอื ไม่) แก้ไขปญั หา
(Pertinent) หรอื เป็น ประโยชนต์ อ่ การปฏิบตั งิ าน (Alter 1996 : 28)
ขอ้ มลู คอื ตัวแทนของข้อเท็จจริง ตวั เลข ข้อความ ภาพ รปู ภาพ หรือเสียง (Nickerson 1998 : 10-
11)
ขอ้ มลู คอื ข้อเท็จจรงิ ทแี่ ทนเหตุการณท์ ี่เกดิ ขน้ึ ภายในองค์การ หรือสง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพก่อนท่ีจะ
มกี ารจดั ระบบใหเ้ ป็นรปู แบบท่ีคนสามารถเขา้ ใจ และนำไปใช้ได้ (Laudon and Laudon 1999 :8)
ขอ้ มลู คอื ข้อเท็จจรงิ หรือการอภิปรายปรากฏการณ์อย่างใดอย่างหนงึ่ (Haag, Cummings and
Dawkins 2000 : 31)
ข้อมูล คือ ส่ิงประกอบไปดว้ ยข้อเท็จจริง และสัญลกั ษณ์ (Figures) ทมี่ คี วามสมั พนั ธ์ (ไมม่ คี วามหมาย
หรือมี ความหมายน้อย) กับผใู้ ช้ (McLeod, Jr. and Schell 2001 : 12)
ขอ้ มูล คอื คำอธิบายพนื้ ฐานเกีย่ วกับสิ่งของ เหตุการณ์ กจิ กรรม หรอื ธุรกรรม ซ่ึงได้รับการบนั ทกึ
จำแนก และ เก็บรกั ษาไว้ โดยที่ยงั ไมไ่ ด้เก็บใหเ้ ป็นระบบ เพ่ือทจ่ี ะใหค้ วามหมายอย่างใดอยา่ งหนง่ึ ที่แนช่ ัด
(Turban, McLean and Wetherbe 2001 : 17)
ข้อมูล ประกอบไปด้วยข้อเท็จจรงิ (Raw Facts) เชน่ ชอื่ ลกู ค้า ตัวเลขเก่ียวกบั จำนวนชว่ั โมงท่ีทำงาน
ในแต่ละ สปั ดาห์ ตัวเลขเกย่ี วกบั สินคา้ คงคลัง หรือรายการสัง่ ของ (Stair and Reynolds 2001 : 4)
ข้อมูล คือ ข้อเท็จจรงิ ท่ีใช้แทนเหตุการณท์ ี่เกดิ ขึ้น และไดร้ บั การรวบรวม หรือปอ้ นเขา้ ระบบ (เลาว์
ดอน และ เลาว์ดอน 2545 : 6)
42
ข้อมูล คือ ข้อเท็จจรงิ หรือสง่ิ ทก่ี อ่ หรือยอมรับวา่ เปน็ ข้อเทจ็ จริง (ขอ้ เท็จจรงิ หมายถงึ ข้อความ หรือ
เหตกุ ารณท์ ่ี เป็นมา หรือทีเ่ ปน็ อยจู่ ริง (ราชบัณฑิตยสถาน 2539 : 134) สำหรับใชเ้ ปน็ หลักอนมุ านหาความ
จรงิ หรอื การคำนวณ (หนา้ เดียวกนั )
ข้อมลู คอื ข้อความจริงเกี่ยวกบั เร่ืองใดเร่ืองหน่งึ โดยอาจเปน็ ตัวเลข หรือขอ้ ความที่ทำให้ผู้อา่ นทราบ
ความเปน็ ไป หรือเหตกุ ารณ์ทเ่ี กิดข้นึ (สุชาดา กรี ะนันท์ 2542 : 4)
ขอ้ มูล คอื ข้อเท็จจรงิ ท่ีมอี ยใู่ นชีวติ ประจำวันเก่ียวกับบุคคล สง่ิ ของ หรอื เหตุการณต์ ่างๆ ทอ่ี าจเป็น
ตวั เลข ตวั อักษร ข้อความ ภาพ หรือเสียงก็ได้ (จิตตมิ า เทียมบญุ ประเสรฐิ 2544 : 3)
ขอ้ มลู คือ ขอ้ มลู ดิบ (Raw Data) ท่ยี งั ไมม่ ีความหมายในการนำไปใช้งาน และถกู รวบรวมจากแหลง่
ตา่ งๆ ทั้งภาย ใน และภายนอกองคก์ าร (ณฏั ฐพันธ์ เขจรนนั ทน์ และไพบลู ย์ เกยี รติโกมล 2545 : 40)
ขอ้ มูล คือ ขอ้ เท็จจรงิ เกย่ี วกับเหตุการณ์ หรือข้อมลู ดบิ ท่ยี ังไมผ่ ่านการประมวลผล ยังไม่มีความหมาย
ในการ นำไปใช้งาน ขอ้ มลู อาจเปน็ ตวั เลข ตัวอกั ษร สญั ลักษณ์ รูปภาพ เสยี ง หรอื ภาพเคลอ่ื นไหว (ทิพวรรณ
หลอ่ สุวรรณรตั น์ 2545 : 9)
ข้อมูล คอื ตัวอักษร ตัวเลข หรือสญั ลักษณใ์ ดๆ (นภิ าภรณ์ คำเจริญ 2545 : 14)
สรปุ ขอ้ มูล คือ ขอ้ เท็จจรงิ เกยี่ วกับเรื่องตา่ งๆ ท่ีมีลักษณะเป็นตวั เลข ตัวอกั ษร สญั ลักษณ์ ภาพ เสยี ง
กลน่ิ หรือมี ลกั ษณะประสมกนั
2.7 ชนดิ ของข้อมูล (Types of Data)
เราสามารถแบง่ ขอ้ มลู ออกเป็น 4 ชนดิ ดงั นี้ (Alter 1996 : 151-152, Stair and Reynolds 2001 :
5)
ขอ้ มูลท่ีเปน็ อักขระ (Alphanumeric Data) ได้แก่ ตวั เลข (Numbers) ตวั อักษร (Letters)
เครือ่ งหมาย (Sign) และ สญั ลกั ษณ์ (Symbol)
ขอ้ มลู ทเี่ ปน็ ภาพ (Image Data) ได้แก่ ภาพกราฟกิ (Graphic Images) และรปู ภาพ (Pictures)
ข้อมูลท่ีเป็นเสียง (Audio Data) ได้แก่ เสียง (Sounds) เสยี งรบกวน/เสยี งแทรก (Noise) และเสียงที่
มีระดับ (Tones) ตา่ งๆ เช่น เสยี งสงู เสยี งตำ่ เป็นตน้
ขอ้ มูลที่เป็นภาพเคลือ่ นไหว (Video Data) ได้แก่ ภาพยนตร์ (Moving Images or Pictures)และ วีดิ
ทัศน์ (Video)นอกจากนน้ั ยังพบวา่ มขี อ้ มลู ในลักษณะของกลน่ิ (Scent) และข้อมลู ในลักษณะที่มกี ารประสม
ประสานกนั เชน่ มีการนำเอาขอ้ มูลทั้ง 4 ชนดิ มารวมกันเรียกวา่ สือ่ ประสม (Multimedia) แตถ่ ้ามีการประสม
ขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ กลิน่ เข้าไปด้วย เราเรยี กวา่ Multi-scented
2.8 กรรมวธิ กี ารจัดการขอ้ มูล (Datamanipulation) (ให้มคี ุณคา่ เป็นสารสนเทศ)
การจัดการข้อมูลให้มีคุณค่าเป็นสารสนเทศ กระทำได้โดยการเปลี่ยนแปลงสถานภาพของข้อมูล ซงึ่ มี
วิธกี าร หรอื กรรมวธิ ีดังตอ่ ไปนี้ (Kroenke and Hatch1994 : 18-20)
43
1. การรวบรวมข้อมูล (Capturing/gathering/collecting Data) ที่ต้องการจากแหล่งต่างๆ โดยการ
เคร่ืองมือ ชว่ ยค้นท่ีเป็นบัตรรายการ หรือ OPAC แล้วนำตัวเล่มมาพิจารณาวา่ มีรายการใดที่สามารถ
นำมาใชป้ ระโยชน์ได้
2. การตรวจสอบข้อมูล (Verifying/checking Data) โดยตรวจสอบเนื้อหาของข้อมูลที่หามาได้ ใน
ประเด็นของ ความถูกต้องและความแม่นยำของเนื้อหา ความสอดคล้องของตาราง, ภาพประกอบ
หรอื แผนที่ กับเนือ้ หา
3. การจัดแยกประเภท/จัดหมวดหมู่ข้อมูล (Classifying Data) เมื่อผ่านการตรวจสอบความถูกต้อง
สอดคลอ้ งกนั ของเนื้อหาแล้ว นำข้อมลู ต่างๆ เหล่านั้นมาแยกออกเป็นกอง หรือกลมุ่ ๆ ตามเรื่องราว
ท่ีปรากฏในเน้ือหา
4. จากนั้นก็นำแตล่ ะกอง หรอื กลุ่ม มาทำการเรยี งลำดบั /เรียบเรียงข้อมลู (Arranging/sorting Data) ให้
เปน็ ไป ตามความเหมาะสมของเนอื้ หาว่าจะเรม่ิ จากหัวขอ้ ใด จากนั้นควรเปน็ หวั ข้ออะไร
5. หากมีข้อมูลเกี่ยวกับตัวเลขจะต้องนำตัวเลขนั้นมาทำการวเิ คราะห์หาค่าทางสถิติที่เกี่ยวข้อง หรือทำ
การ คำนวณขอ้ มูล (Calculating Data) ให้ไดผ้ ลลพั ธอ์ อกเสียก่อน
6. หลังจากน้นั จึงทำการสรุป (Summarizing/conclusion Data) เนอ้ื หาในแต่ละหวั ข้อ
7. เสรจ็ แล้วทำการจัดเก็บ หรือบันทึกข้อมูล (Storing Data) ลงในสื่อประเภทตา่ งๆ เช่น ทำเปน็ รายงาน
หนงั สอื บทความตพี ิมพใ์ นวารสาร หนงั สอื พิมพ์ หรอื ลงในฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ (แผ่นดิสก์ ซีดี-รอม
ฯลฯ)
8. จดั ทำระบบการค้นคนื เพื่อความสะดวกในการจัดเกบ็ และค้นคืนสารสนเทศ (Retrieving Data) จะได้
จัดเกบ็ และค้นคนื สารสนเทศอยา่ งถกู ต้อง แมน่ ยำ รวดเร็ว และตรงกับความต้อง
9. ในการประมวลผลเพ่ือให้ได้มาซ่ึงสารสนเทศ จักต้องมีการสำเนาข้อมูล (Reproducing Data) เพื่อ
ปอ้ งกนั ความเสยี หายที่อาจเกิดข้ึนกับข้อมูล ทั้งจากสาเหตุทางกายภาพ และระบบการจดั เกบ็ ขอ้ มลู
10. จากนั้นจึงทำการการเผยแพร่ หรือส่ือสาร หรือกระจายข้อมูล (Communicating/disseminating
Data) เพือ่ ให้ผลลพั ธ์ทไ่ี ด้ถึงยังผู้รบั หรือผูท้ เี่ ก่ียวขอ้ ง
การจัดการข้อมูลให้มีสถานภาพเป็นสารสนเทศ (Transformation Processing) ในความเป็นจรงิ แล้วไม่
จำเป็นท่ี จะต้องทำครบ ทั้ง 10 วิธีการ การท่ีจะทำกี่ขั้นตอนน้ันข้ึนอยู่กับ ข้อมูลท่ีนำเข้ามาในระบบการ
ประมวลผล หากข้อมูลผ่าน ข้ันตอน ท่ี 1 หรือ 2 มาแล้ว พอมาถึงเรา เราก็ทำข้ันตอนท่ี 3 ต่อไปได้ทันที แต่
อย่างไรก็ตามการให้ได้มาซ่ึงผลลัพธ์ที่มี คุณค่า จักต้องทำตามลำดับดังกล่าวข้างต้น ไม่ควรทำข้ามข้ันตอน
ยกเว้นข้ันตอนที่ 5 และขั้นตอนท่ี 6 กรณีที่เป็นข้อมูล เก่ียวกับตวั เลขก็ทำข้ันตอนที่ 5 หากข้อมูลไม่ใช่ตัวเลข
อาจจะข้ามข้ันตอนท่ี 5 ไปทำข้ันตอนท่ี 6 ได้เลย เป็นต้น ผลลัพธ์ หรือผลผลิตท่ีได้จากการประมวลผล หรือ
กรรมวธิ จี ดั การข้อมูล ปรากฏแกส่ ังคมในรปู ของส่ือประเภทต่างๆ เชน่ เป็น หนงั สอื วารสาร หนงั สือพิมพ์ ซดี ี-
รอม สไลด์ แผน่ ใส แผนท่ี เทปคลาสเซท ฯลฯ แต่อย่างไรก็ตามไม่ได้หมายความว่า ผลผลิต หรือผลลัพธน์ ้ันจะ
มสี ถานภาพเปน็ สารสนเทศเสมอไป
44
2.9 ความหมายของสารสนเทศ ( Information )
ภาพที่ 2.7 สารสนเทศ
ท่มี า : https://sites.google.com/site/noojinza2556/sara-snthes-hmay-thung-xari
ซาเรซวิค และวดู (Saracevic and Wood 1981 : 10) ได้ใหค้ ำนยิ ามสารสนเทศไว้ 4 นยิ ามดงั น้ี
1. Information is a selection from a set of available message, a selection which
reduces uncertainty. สารสนเทศ คือ การเลือกสรรจากชุดของขา่ วสารที่มีอยู่ เป็นการเลือกท่ีช่วยลดความ
ไม่แนน่ อน หรือกล่าวได้ว่า สารสนเทศ คอื ข้อมูลทไ่ี ด้มีเลอื กสรรมาแล้ว (เปน็ ข้อมูลที่มคี วามแนน่ อนแล้ว) จาก
กลมุ่ ของขอ้ มลู ทม่ี ีอยู่
2. Information as the meaning that a human assigns to data by means of conventions
used in their presentation. สารสนเทศ คือ ความหมายที่มนุษย์ (ส่ัง) ให้แก่ ข้อมูล ด้วยวิธีการนำเสนอท่ี
เปน็ ระเบียบแบบแผน
3. Information is the structure of any text-which is capable of changing the image-
structure of a recipient. (Text is a collection of signs purposefully structured by a sender with
the intention of changing the image-structure of recipient) สารสนเทศ คือ โครงสร้างของข้อความ
ใดๆ ท่ีสามารถเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ทาง จินตภาพ (ภาพลักษณ์) ของผู้รับ (ข้อความ หมายถึง ที่รวมของ
สญั ลักษณ์ต่างๆ มโี ครงสร้างท่ีมี จดุ มุ่งหมาย โดยผสู้ ่งมเี ป้าหมายทีจ่ ะ เปล่ียนแปลงโครงสร้างทาง จินตภาพ (+
ความรสู้ กึ นึกคิด) ของผู้รับ(สาร)
4. Information is the data of value in decision making. สารสนเทศ คือ ข้อมูลท่ีมีค่าในการ
ตัดสนิ ใจ
45
นอกจากนั้นยงั มคี วามหมายท่ีน่าสนใจ ดงั น้ี
สารสนเทศ คือ ข้อมูลท่ีมีการปรับเปล่ียน (Convert) ด้วยการจัดรูปแบบ (Formatting) การ
กลั่นกรอง (Filtering) และการสรุป (Summarizing) ให้เป็นผลลัพธท์ ่ีมี รูปแบบ (เช่น ข้อความ เสียง รูปภาพ
หรอื วีดทิ ศั น)์ และเนอื้ หาทตี่ รงกับ ความตอ้ งการ และเหมาะสมตอ่ การนำไปใช้ (Alter 1996 : 29, 65, 714)
• สารสนเทศ คือ ตัวแทนของข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล (Process) การจัดการ (Organized) และ
การผสมผสาน (Integrated) ให้เกิดความเข้าใจอยา่ งถอ่ งแท้ (Post 1997 : 7)
• สารสนเทศ คือ ข้อมลู ที่มคี วามหมาย (Meaningful) หรอื เปน็ ประโยชน์ (Useful) สำหรับบางคนที่จะ
ใชช้ ่วยในการ ปฏิบตั ิงานและการจดั การ องคก์ าร (Nickerson 1998 : 11)
• สารสนเทศ คอื ข้อมูลท่มี ีความหมาย (Schultheis and Sumner 1998 : 39)
• สารสนเทศ คือ ขอ้ มูลที่มีความหมายเฉพาะภายใต้บรบิ ท (Context) ที่เก่ียวข้อง (Haag, Cummings
and Dawkins 2000 : 20)
• สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ผ่านการปรับเปล่ียน (Converted) มาเป็นสิ่งที่มีความ หมาย (meaningful)
และเป็น ประโยชน์ (Useful) กบั เฉพาะบคุ คล (O’Brien 2001 : 15)
• สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล หรือข้อมูลท่ีมีความหมาย (McLeod, Jr. and Schell
2001 : 12)
• สารสนเทศ คือ ข้อมูลท่ีได้รับการจัดระบบเพื่อให้มีความหมายและมีคุณค่าสำหรับ ผู้ใช้ (Turban,
McLean and Wetherbe 2001 : 7)
• สารสนเทศ คือ ท่ีรวม (ชุด) ขอ้ เท็จจริงท่ีได้มกี ารจัดการแล้ว ในกรณีเช่น ข้อเท็จจริงเหล่านั้นได้มีการ
เพ่ิมคณุ ค่า ภายใต้คุณค่าของข้อเทจ็ จริงนน้ั เอง (Stair and Reynolds 2001 : 4)
• สารสนเทศ คือ ขอ้ มูลท่ีไดร้ ับการประมวลผล หรือปรงุ แตง่ เพ่อื ใหม้ ีความหมาย และเป็นประโยชน์ต่อ
ผ้ใู ช้ (เลาวด์ อน และเลาว์ดอน 2545 : 6)
• สารสนเทศ คือ ข้อมูลท่ีได้รับการประมวลผลให้อยู่ในรูปแบบที่มีความหมายต่อผู้รบั และมีคุณค่าอัน
แท้จริง หรือ คาดการณ์ว่าจะมีค่าสำหรับการดำเนินงาน หรือการตัดสินใจใน ปัจจุบัน หรืออนาคต
(ครรชิต มาลัยวงศ์ 2535 : 12)
• สารสนเทศ คือ เรื่องราว ความรู้ต่างๆ ที่ได้จากการนำข้อมูลมาประมวลผลด้วยวิธีการอย่างใดอย่าง
หน่ึง และมี การผสมผสานความรู้ หรอื หลักวิชาที่เก่ียวข้อง หรอื ความคดิ เหน็ ลงไปด้วย (กัลยา อุดม
วทิ ิต 2537 :3)
• สารสนเทศ คือ ข้อความรู้ที่ประมวลได้จากข้อมูลต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องในเร่ืองนั้นจนได้ ข้อสรุป เป็น
ข้อความรู้ท่ี สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ โดยเน้นที่การเกิดประโยชน์ คือความรู้ที่เกิดขึ้นเพ่ิมข้ึนกับ
ผู้ใช้(สุชาดา กรี ะนันท์ 2542 : 5)
• สารสนเทศ คือ ขา่ วสาร หรอื การชแี้ จงข่าวสาร (ปทีป เมธาคุณวฒุ ิ 2544 : 1)
• สารสนเทศ คือ ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล ผ่านการวิเคราะห์ หรือสรุปใหอ้ ยู่ในรูปที่มีความหมายท่ี
สามารถนำไป ใช้ประโยชน์ไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์ (จติ ติมา เทยี มบุญประเสริฐ 2544 : 4)