4 ส่วนที่ 2 เทคโนโลยีและนวัตกรรมสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุ คำชี้แจ้ง : กรุณาทำเครื่องหมาย ✓ ลงในตาราง ที่ตรงกับความจริงของท่าน เทคโนโลยีและนวตักรรมสวสัดิการสงัคม ระดับ มาก ที่สุด มาก ค่อนข้าง มาก ค่อนข้าง น้อย น้อย น้อย ที่สุด 2.1) ท่านทำธุรกรรมทางธนาคาร เช่น การถอนเงิน เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ/ผู้พิการจากตู้เอทีเอ็ม การฝาก เงิน/ชำระค่าบริการผ่านตู้เอทีเอ็ม 2.2) ท่านทำธุรกรรมทางธนาคารออนไลน์ (Internet banking/ E-banking) เช่น การโอนเงิน การชำระ ค่าบริการ เป็นต้น 2.3) ท่านร้องทุกข์ผ่านช่องทางโซเชียลมีเดีย เช่น เฟสบุ๊ค (Facebook), ไลน์(Line) line OA 2.4) ท่านร้องทุกข์ผ่านช่องทางทางการของ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) เช่น สายด่วน1300 E-mail (พม.) 2.5) ท่านใช้แอปพลิเคชันโกลด์ “Gold by dop” 2.6) ท่านใช้แอปพลิเคชันเพื่อรับสวัสดิการ เช่น เป๋า ตัง หมอพร้อม คนละครึ่ง เป็นต้น 2.7) ท่านใช้สมาร์ทโฟน/ไอแพด/แท็ปเล็ต 2.8) ท่านใช้รถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า (automobile) 2.9) ท ่ า น ใ ช้อ ุ ป ก ร ณ ์ ก า ร แ พ ท ย ์ อ ั จฉริย ะ (Telemedicine/ Telehealth) เ ช่ น เ ค รื่อ ง ตรวจสอบหัวใจ ปอด เบาหวานระบบประสาท
5 เทคโนโลยีและนวตักรรมสวสัดิการสงัคม ระดับ มาก ที่สุด มาก ค่อนข้าง มาก ค่อนข้าง น้อย น้อย น้อย ที่สุด นาฬิกาอัจฉริยะ หุ่นยนต์อัจฉริยะ บ้านอัจฉริยะ (smart-home/smart-care) เป็นต้น 2.10) ท่านใช้เว็บไซต์ของสำนักงานพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ หรือ ศูนย์พัฒนาการจัด สวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ 2.11) ท่านใช้แอปพลิเคชันสั่งอาหาร เช่น แกร็ป (Grab) หรือ แอปพลิเคชันขนส่งพัสดุ เช่น เคอรี่ (Kerry) แฟลช (Flash) เป็นต้น 2.12) ท่านใช้แอปพลิเคชันและเว็บไซต์อื่น ๆ ส่วนที่ 3 ความต้องการรับเอาเทคโนโลยีและนวัตกรรมสำหรับผู้สูงอายุ คำชี้แจ้ง : กรุณาทำเครื่องหมาย ✓ ลงในตาราง ที่ตรงกับความรู้สึกจริงของท่าน ความต้องการรับเอาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ระดับ มาก ที่สุด มาก ค่อนข้าง มาก ค่อนข้าง น้อย น้อย น้อย ที่สุด 3.1 คุณประโยชน์ (Value): (หมายถึง ผู้สูงอายุรับรู้ถึงคุณประโยชน์ที่(อาจจะ)เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม) 3.1.1) ท่านทราบถึงประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต และ ประโยชน์ต่อการทำกิจวัตรประจำวัน (เช่น (เช่น ระบบ ติดตาม (Tracking service) นาฬิกาอัจฉริยะ (Smart watch)
6 ความต้องการรับเอาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ระดับ มาก ที่สุด มาก ค่อนข้าง มาก ค่อนข้าง น้อย น้อย น้อย ที่สุด เครื่องมือทางการแพทย์อัจฉริยะ กล้อง CCTV Smart home ปลั๊ก ไฟฟ้าอัจฉริยะ ประตูอัจฉริยะ เป็นต้น) 3.1.2) ท่านทราบถึงประโยชน์ต่อสุขภาพ หรือ สามารถแก้ไขปัญหา/ลดอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากความ เจ็บป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ (เช่น ลดการเดินทางไป โรงพยาบาล/ธนาคาร/ร้านอาหาร หรือเพิ่มความสะดวกในมิติอื่น ๆ เป็นต้น) 3.1.3) ท่านทราบถึงประโยชน์ในการสร้างความ ใกล้ชิดกับครอบครัว ญาติและเพื่อน 3.1.4) ท่านทราบถึงประโยชน์ในการส่งเสริมกิจกรรม ทางสังคม ศาสนพิธี/กิจกรรมทางความเชื่อ งาน สังสรรค์ และงานประเพณีนันทนาการ เช่น การ ทำบุญตักบาตร 3.1.5) ท่านทราบถึงประโยชน์ในการทำให้รู้เท่าทัน ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม เช่น การติดตามข่าว สารบ้านเมือง การฉีดวัคซีนป้องกันโรค Covid-19 3.2 การใช้งาน (Usability): หมายถึง ผู้สูงอายุรับรู้ถึงฟังก์ชันการใช้งานที่ง่ายหรือระบบการทำงานของเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่สามารถเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว 3.2.1) ท่านสามารถใช้งานได้ด้วยตนเอง 3.2.2) ท่านสามารถใช้งานได้ ก็ต่อเมื่อมีคนช่วย แนะนำขณะใช้งานเท่านั้น เช่น คนในครอบครัว ผู้ดูแล เพื่อน อาสาสมัคร เจ้าหน้าที่ธนาคาร
7 ความต้องการรับเอาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ระดับ มาก ที่สุด มาก ค่อนข้าง มาก ค่อนข้าง น้อย น้อย น้อย ที่สุด เจ้าหน้าที่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น นักสังคม สงเคราะห์เป็นต้น 3.2.3) ท่านสามารถเข้าใจการสื่อความหมายจาก ภาษาหรือรูปภาพในคู่มือการใช้งาน และท่าน เลือกใช้ตัวอักษรแบบตัวหนา และ/หรือ ขนาดใหญ่ 3.2.4) ท่านสามารถใช้จอแบบสัมผัส (Touch screen) ได้ 3.2.5) ท่านสามารถจดจำรหัสผ่านและขั้นตอนการ ใช้งานได้ เช่น รหัสบัตร ATM บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ เครื่องตรวจโรคเบาหวาน 3.3 ความประหยัด (Affordability): หมายถึง ผู้สูงอายุรับรู้ถึงราคาที่สามารถจ่ายได้ในการซื้อหรือจัดหาใช้งาน และความประหยัดหรือต้นทุนที่ลดลงเมื่อใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม 3.3.1) ท่านสามารถซื้อหรือจัดหาเทคโนโลยีและ นวัตกรรม เช่น สมาร์ทโฟน ไอแพด แท็ปเล็ท นาฬิกา อัจฉริยะ รถเข็นอัจฉริยะ ลิฟท์บันไดอัจฉริยะ เครื่องช่วยฟัง 3.3.2) ท่านสามารถจ่ายค่าธรรมเนียมการใช้งาน เทคโนโลยีและนวัตกรรม เช่น ค่าธรรมเนียมรายปี บัตรเอทีเอ็ม ค่าบริการอินเตอร์เน็ตรายเดือน เป็นต้น
8 ความต้องการรับเอาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ระดับ มาก ที่สุด มาก ค่อนข้าง มาก ค่อนข้าง น้อย น้อย น้อย ที่สุด 3.3.3) ท่านประหยัดเงินหรือลดค่าใช้จ่ายลง เมื่อใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เช่น ค่าเดินทาง ค่า รักษาพยาบาล เป็นต้น 3.3.4) ท่านได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐ เพื่อใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เช่น เงินทุน เงินอุดหนุน เงินกู้ เป็นต้น และท่านได้รับเงินสนับสนุนจาก ครอบครัว เพื่อใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม เช่น เงิน ค่าเลี้ยงดู เป็นต้น 3.3.5) ท่านได้รับเงินกู้จากผู้อื่นหรือหน่วยงานเอกชน เพื่อใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม เช่น เงินกู้ เงินผ่อน เป็นต้น 3.4 การเข้าถึง (Accessibility): หมายถึง ผู้สูงอายุมีข้อมูล ความรู้ และความสามารถในการเข้าถึงแหล่ง หรือมีระบบนำส่งเทคโนโลยีและนวัตกรรม 3.4.1) ท่านทราบข้อมูลเกี่ยวกับสวัสดิการที่ท่านพึง ได้รับผ่านช่องทางดิจิทัล เช่น เว็ปไซต์ ไลน์ เฟสบุ๊ค เป็นต้น 3.4.2) ตู้เอทีเอ็มและธนาคารตั้งอยู่ใกล้กับที่อยู่อาศัย ของท่าน 3.4.3) ท่านสามารถใช้อินเตอร์เน็ตประชารัฐได้ 3.4.4) ท่านสามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตของผู้ ให้บริการภาคเอกชนได้เช่น True Ais Dtac เป็นต้น
9 ความต้องการรับเอาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ระดับ มาก ที่สุด มาก ค่อนข้าง มาก ค่อนข้าง น้อย น้อย น้อย ที่สุด 3.4.5) ท่านมีและสามารถใช้สมาร์ทโฟน หรือ อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศอื่น ๆ (เช่น คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต นาฬิกาอัจฉริยะ เป็นต้น) ในการลงทะเบียนเพื่อรับ สวัสดิการได้ 3.5 ระบบสนับสนุนทางเทคนิค (Technical Support): หมายถึง ผู้สูงอายุได้รับความช่วยเหลือทางเทคนิคหรือด้านดิจิทัลที่เพียงพอและมีคุณภาพ ตลอดระยะเวลาการครองครองเทคโนโลยีและนวัตกรรม 3.5.1) ท่านได้รับการอบรม การแนะนำ หรือความ ช่วยเหลือทางเทคนิคหรือด้านดิจิทัล 3.5.2) ท่านได้รับบริการติดตั้งสำหรับการใช้งาน 3.5.3) ท่านได้รับบริการซ่อม/บำรุงรักษาระบบ 3.5.4) ท่านเข้าใจคู่มือการใช้เกี่ยวกับเทคนิค 3.5.5) ท่านมี (ศูนย์บริการ) ใกล้บ้าน หรือศูนย์ให้ คำปรึกษาทางโทรศัพท์ (Call Center) 3.6 ระบบสนับสนุนทางสังคม (Social Support): หมายถึง ผู้สูงอายุได้รับความช่วยเหลือจากคนในครอบครัว เพื่อน และชุมชน ตลอดระยะเวลาการครองครองเทคโนโลยีและนวัตกรรม 3.6.1) ท่านได้รับความช่วยเหลือหรือแรงบันดาลใจ จากคนในครอบครัว/ผู้ดูแล ในการใช้เทคโนโลยีและ นวัตกรรม 3.6.2) ท่านได้รับความช่วยเหลือหรือแรงบันดาลใจ จากเพื่อนในการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม
10 ความต้องการรับเอาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ระดับ มาก ที่สุด มาก ค่อนข้าง มาก ค่อนข้าง น้อย น้อย น้อย ที่สุด 3.6.3) ท่านได้รับความช่วยเหลือหรือแรงบันดาลใจ จากคนในชุมชนในการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม เช่น ผู้นำ อพม. อาสาสมัครอื่น ๆ 3.6.4) ท่านได้รับความช่วยเหลือหรือแรงบันดาลใจ จากหน่วยงานราชการในการใช้เทคโนโลยีและ นวัตกรรม เช่น พม. สาธารณสุข ปกครอง แรงงาน เป็นต้น 3.6.5) ท่านได้รับความช่วยเหลือหรือแรงบันดาลใจ ผ่านสื่อช่องทางโซเชียลมีเดีย 3.7 ความรู้สึกชื่นชอบ (Emotion): หมายถึง ผู้สูงอายุรู้สึกหลงใหล ชื่นชอบ และมีความเชื่อส่วนตัวว่าเทคโนโลยีและนวัตกรรมเป็นสิ่งที่ดีสำหรับผู้สูงอายุ 3.7.1) ท่านมีความรู้สึกหลงใหลและชื่นชอบใน เทคโนโลยีและนวัตกรรม เช่น สมาร์ทโฟน ไลน์ เฟสบุ๊ค เป็นต้น 3.7.2) ท่านมีความรู้สึกว่าเทคโนโลยีและนวัตกรรม ช่วยลดความเครียดและสร้างความสุขให้แก่ผู้สูงอายุ 3.7.3) ท่านใช้เวลานาน/หมกมุ่นในการใช้เทคโนโลยี และนวัตกรรม 3.7.4) ท่านต้องการซื้อ/เป็นเจ้าของเทคโนโลยีและ นวัตกรรมรุ่นใหม่อยู่เสมอ เช่น สมาร์ทโฟน
11 ความต้องการรับเอาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ระดับ มาก ที่สุด มาก ค่อนข้าง มาก ค่อนข้าง น้อย น้อย น้อย ที่สุด 3.7.5) ท่านมีความรู้สึกว่าเทคโนโลยีและนวัตกรรม สร้างความสุขให้แก่ผู้สูงอายุ 3.8 ภาพลักษณ์ด้านความสามารถในการพึ่งตนเอง (Independence): หมายถึง ผู้สูงอายุรับรู้ถึงภาพลักษณ์หรือการถูกมองว่ามีความสามารถในการพึ่ง/ดูแลตนเองได้เมื่อใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม 3.8.1) ท่านคิดว่าเทคโนโลยีและนวัตกรรมช่วยลด ภาวะพึ่งพิงของผู้สูงอายุในการดำรงชีวิต เช่น การส่ง สินค้าอุปโภค บริโภค ยารักษาโรค 3.8.2) ท่านคิดว่าเทคโนโลยีและนวัตกรรมช่วยให้ ผู้สูงอายุลงทะเบียนเพื่อรับสวัสดิการได้ด้วยตนเอง 3.8.3) ท่านคิดว่าการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมทำ ให้ท่านมีภาพลักษณ์ที่ดีทันสมัย 3.8.4) ท่านคิดว่าการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมทำ ให้เรียนรู้และเสริมสร้างสิ่งใหม่ ๆ เสมอ 3.8.5) ท่านคิดว่าเทคโนโลยีและนวัตกรรมช่วยให้ สามารถแบ่งปันประสบการณ์ให้แก่ผู้อื่นได้ 3.9 ทักษะและประสบการณ์ในอดีต (Experiences): หมายถึง ผู้สูงอายุมีประสบการณ์ทักษะพื้นฐานหรือคุ้นเคยกับการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม 3.9.1) ท่านมีประสบการณ์มีทักษะพื้นฐานกับการใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
12 ความต้องการรับเอาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ระดับ มาก ที่สุด มาก ค่อนข้าง มาก ค่อนข้าง น้อย น้อย น้อย ที่สุด 3.9.2) ท่านมีทักษะขั้นสูงในการใช้เทคโนโลยีและ นวัตกรรม 3.9.3) ท่านสามารถเรียนรู้และเข้าใจวิธีการใช้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมจากการฝึกหัดได้ในครั้งแรก 3.9.4) ท่านคุ้นเคยกับการใช้เทคโนโลยีและ นวัตกรรม 3.9.5) ท่านมีประสบการณ์ในการลงทะเบียนเพื่อรับ สวัสดิการผ่านช่องทางออนไลน์ 3.10 ความมั่นใจ (Confidence): หมายถึง ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนให้ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยปราศจากการความวิตกกังวลหรือความกลัว 3.10.1) ท่านวิตกกังวลว่าจะทำผิดหรือสร้างความ เสียหายให้กับอุปกรณ์หรือผู้อื่น เช่น คนในครอบครัว ผู้ดูแล เพื่อน คนในชุมชน หากใช้เทคโนโลยีและ นวัตกรรมตามลำพัง 3.10.2) ท่านรู้สึกไม่มั่นใจในการใช้เทคโนโลยีและ นวัตกรรมก็ต่อเมื่อมีผู้ดูแลหรือคนที่ท่านไว้ใจอยู่ด้วย 3.10.3) ท่านกลัวเสียงดัง (ลำโพง)
13 ความต้องการรับเอาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ระดับ มาก ที่สุด มาก ค่อนข้าง มาก ค่อนข้าง น้อย น้อย น้อย ที่สุด 3.10.4) ท่านกลัวสูญเสียความเป็นส่วนตัว เมื่อกรอก ข้อมูลส่วนบุคคลในแพลตฟอร์มดิจิทัล เช่น ไลน์ เฟสบุ๊ค แอปพลิเคชั่นอื่น ๆ เป็นต้น 3.10.5) ท่านรู้สึกไม่มั่นใจในการใช้เทคโนโลยีและ นวัตกรรมด้วยตนเองเพราะได้รับการแนะนำ/สอน วิธีการใช้อย่างแม่นยำ ส่วนที่4 ท่านจะมีความพึงพอใจในระดับใด เมื่อรับบริการและสวัสดิการสังคมด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม (เช่น โครงข่ายอินเตอร์เน็ต/อินเตอร์เน็ตประชารัฐ, เป๋าตัง, หมอพร้อม, บัตรเอทีเอ็ม, การสื่อสารผ่านช่องทาง โซเชียลมีเดียเพื่อให้ข้อมูล/ความช่วยเหลือต่าง ๆ เป็นต้น) กรุณาระบุ………………………เปอร์เซ็นต์(คะแนนสูงสุด 100 เปอร์เซ็นต์) ส่วนที่ 5 ข้อเสนอแนะ (เช่น ความต้องการอุปกรณ์อัจฉริยะเพื่อช่วยเหลือความพิการ (disable-friendly/voice command) การมีส่วนร่วมในการออกแบบระบบเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ การอบรมเชิงปฏิบัติการ เป็น ต้น) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. - ขอขอบคุณที่ร่วมตอบแบบสอบถาม -
วิจัยความต้องการการจัดสวัสดิการทางสังคมด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมส าหรับผู้สูงอายุในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ค ำถำมสัมภำษณ์(เชิงคุณภำพ) 1. ท่านคิดว่าผู้สูงอายุต้องกำรใช้/รับเอำสวัสดิการสังคมด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมหรือไม่ (1.1 หากมีความต้องการ มีอะไรบ้าง ด้านใดบ้าง เช่น การเงิน (online banking), การรับสวัสดิการ (แอปพลิเคชันเพื่อรับสวัสดิการ, E-mail พม.), การเข้าสังคม (โซเชียลมีเดีย), การด ารงชีพ และสุขภาพ (แอป พลิเคชันสั่งอาหาร, แอปพลิเคชันขนส่งพัสดุ, อุปกรณ์การแพทย์อัจฉริยะ (Telemedicine/Telehealth), smartphone, หุ่นยนต์อัจฉริยะ) เป็นต้น (1.2 หากไม่มีความต้องการ ท่านคิดว่าเพราะเหตุใด) 2. ท่านคิดว่าปัจจัยใดบ้ำงที่มีผลต่อกำรใช้/รับเอำสวัสดิการสังคมด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมส าหรับ ผู้สูงอายุ (เช่น คุณประโยชน์ (Value), การใช้งาน (Usability), ความประหยัด (Affordability), การเข้าถึง (Accessibility), ระบบสนับสนุนทางเทคนิค (Technical Support), ระบบสนับสนุนทางสังคม (Social Support), ความรู้สึกชื่นชอบ (Emotion), ภาพลักษณ์ด้านความสามารถในการพึ่งตนเอง (Independence), ทักษะและประสบการณ์ในอดีต (Experiences), ความมั่นใจ (Confidence))
วิจัยความต้องการการจัดสวัสดิการทางสังคมด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมส าหรับผู้สูงอายุในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คณะผู้จัดท ำ ที่ปรึกษำโครงกำร นำงสำวนงลักษณ์ ยะสูงเนิน ผู้อ านวยการส านักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ ๕ ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ดร.อจิรภำส์ เพียรขุนทด อาจารย์ประจ าสาขาวิชาบริหารรัฐกิจ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะนักวิจัย นางเยาวภา บุญคง นักพัฒนาสังคมช านาญการพิเศษ นางสาวเกษสุดา เพชรก้อน นักพัฒนาสังคมช านาญการ นางพลอยวรินทร์ จันดา นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ นายวิชานนท์ ศรีธรรมวงษ์ นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ นางสาวปฏิพัทธ์ ดวงแสง นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ นางจุฬาลักษณ์ ค าสีแก้ว นักพัฒนาสังคม นายภิรนันท์ ภูริพงษ์พิพัฒน์ นักพัฒนาสังคม