41 สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส.พะเยา จำกัด 1. แผนธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ผลการวิเคราะห์ ในปีบัญชี 2565 ณ วันสิ้นปีบัญชี 31 มีนาคม 2565 สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. พะเยา จำกัด มีปริมาณธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย จำนวน 45,030,768.87 บาท ซึ่งประเภทสินค้าที่สหกรณ์ จัดหามาจำหน่าย ได้แก่ - สินค้าประเภทการเกษตร 42,410,398.00 บาท - สินค้ารับฝากขาย 859,775.00 บาท - สินค้าอื่นๆ 1,760,595.87 บาท วิธีดำเนินการ ในปีบัญชี 2567 สหกรณ์มีแผนในการที่จะดำเนินธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย โดยมีเป้าหมายการเพิ่ม ปริมาณธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่ายเป็น จำนวน 60 ล้านบาท โดยจะมีการเพิ่มปริมาณการจำหน่ายให้มากขึ้น และดำเนินธุรกิจเพื่อบริการสมาชิกเพิ่มมากขึ้น ดังนี้ 1. การประชาสัมพันธ์ โดยมีรถประชาสัมพันธ์สินค้าของสหกรณ์ตระเวนไปตามพื้นที่ต่างๆ เพื่อ ประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกและประชาชนได้รับทราบ 2. การออกบูธเพื่อประชาสัมพันธ์ตามงานต่างๆ เช่น คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ หรืองานต่างๆ ที่มีหน่วยงาน จัดขึ้น โดยให้ประสานงานกับสำนักงานสหกรณ์จังหวัดพะเยา เพื่อแจ้งความประสงค์เข้าร่วม 3. คณะกรรมการ/ผู้ตรวจสอบกิจการ ติดตามผลการดำเนินงานตามแผนฯ เป็นประจำทุกเดือน ในที่ ประชุมคณะกรรมการ 4. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนฯ 2. แผนรวบรวมผลิตผลทางการเกษตร ผลการวิเคราะห์ 1. สหกรณ์มีผลิตผลทางการเกษตรที่สมาชิกและเกษตรกรในพื้นที่ปลูกเป็นผลผลิตหลัก ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และปาล์มน้ำมัน ซึ่งผลผลิตในพื้นที่มีคุณภาพดี ตรงตามความต้องการของตลาด และสินค้า ได้รับความเชื่อมั่นจากผู้ซื้อ 2. สหกรณ์มีอุปกรณ์การตลาดซึ่งสามารถใช้ในธุรกิจรวบรวมผลผลิตครบ และพร้อมสำหรับการใช้งาน
42 มูลค่าธุรกิจรวบรวมของสหกรณ์ วิธีดำเนินการ ในปีบัญชี 2567 สหกรณ์มีแผนในการรวบรวมผลิตผลทางเกษตรของสหกรณ์ โดยมีเป้าหมายการเพิ่ม ปริมาณธุรกิจรวบรวมเป็นจำนวน 300 ล้านบาท ซึ่งจะสามารถดำเนินธุรกิจเพื่อบริการสมาชิกได้เพิ่มมากขึ้น โดย มีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้ 1. ประชุมชี้แจง คณะกรรมการ ผู้ตรวจสอบกิจการ ฝ่ายจัดการทุกคน เพื่อกำหนดแนวทาง และกำหนด ความรับผิดชอบในการดำเนินงานตามแผนงาน 2. มอบหมายคณะกรรมการ เจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบ จัดทำคำสั่ง ระเบียบ หรือประกาศเกี่ยวกับการ ดำเนินงานตามแผนงาน 3. สำรวจความต้องการของตลาด หาคู่ค้าที่มีความยุติธรรม โดยปฏิบัติตามระเบียบการรวบรวมและการ แปรรูปของสหกรณ์อย่างเคร่งครัด 4. สำรวจ คัดกรอง เกษตรกรสมาชิก ข้อมูลทั่วไป พื้นที่การปลูกผลิตผลทางการเกษตร 5. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ฯ เพื่อสร้างความเข้าใจแก่สมาชิกสหกรณ์ ในการมาดำเนินธุรกิจร่วมกับ สหกรณ์ 6. คณะกรรมการ/ผู้ตรวจสอบกิจการ ติดตามผลการดำเนินงานตามแผนฯ เป็นประจำทุกเดือน ในที่ ประชุมคณะกรรมการ 7. ติดตามและประเมินผล 2563 2564 2565 ข้าวเปลือก 616,121,374.15 313,223,463.15 190,971,912.59 ข้าวโพด 2,752,682.50 838,238.00 1,188,380.50 ล าไย 2,776,762.30 2,245,052.80 3,092,271.55 มนัส าปะหลัง 1,119,430.00 66,643.00 0.00 ปาล์มน ามนั 262,415.50 540,802.50 1,322,681.00 ลนิ จี่ 0.00 14,150.00 0.00 รวม 623,032,664.45 316,928,349.45 196,575,245.64 รายการ มูลคา่การรวบรวม
43 ประมวลภาพการจัดฝึกอบรมหลักสูตร “พัฒนาคณะกรรมการสหกรณ์เข้มแข็งทั้งคณะ” ณ สหกรณ์สกต. ธกส. พะเยา จำกัด อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา
44 ผลการประเมินโครงการ สรุปผลสำเร็จตามตัวชี้วัด - เชิงปริมาณ 1) กรรมการสหกรณ์ที่เข้ารับการอบรมมีโครงการและแผนงานในการพัฒนา/แก้ไขปัญหาของสหกรณ์ จำนวน 2 แผนงาน ได้แก่แผนธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย และแผนรวบรวมผลิตผลทางการเกษตร 2) ผู้เข้าอบรมมีแผนการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้หลังการอบรม ร้อยละ 100 3) บุคลากรของสหกรณ์ได้รับการพัฒนาความรู้เรื่องการสหกรณ์ ร้อยละ 100 ของจำนวนผู้เข้ารับการอบรม - เชิงคุณภาพ 1) สมาชิกสหกรณ์มีความเป็นเจ้าของสหกรณ์ และมีแนวโน้มมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจกับสหกรณ์ เพิ่มขึ้น ผลการทดสอบความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมาย ผู้เข้า ทดสอบ ความรู้ คะแนนเฉลี่ย (10 คะแนน) ผู้ที่มีความรู้เพิ่มขึ้น ก่อนอบรม หลังอบรม (คน) (ร้อยละ) ผู้เข้ารับการอบรม 28 7.14 9.82 28 100 รวม 28 7.14 9.82 28 100 ผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อโครงการฝึกอบรม แบบสอบถามความคิดเห็นหลังเสร็จสิ้นการอบรม มี 4 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป จำนวน 3 ข้อ ตอนที่ 2 ข้อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ 1) การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ จำนวน 2 ข้อ 2) ความรู้ ความเข้าใจในหัวข้อวิชาที่อบรม จำนวน 5 ข้อ 3) ความพึงพอใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการโครงการ จำนวน 7 ข้อ ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ ตอนที่ 4 ความรู้ที่ต้องการอบรมเพิ่มเติมในครั้งต่อไป โดยมีเกณฑ์พิจารณาให้คะแนนดังนี้ ความคิดเห็นในระดับมากที่สุด = 5 ความคิดเห็นในระดับมาก = 4 ความคิดเห็นในระดับปานกลาง = 3 ความคิดเห็นในระดับน้อย = 2 ความคิดเห็นในระดับน้อยที่สุด = 1
45 สรุปผลการประเมิน ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าอบรม - แสดงเพศของผู้เข้าอบรม เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ ชาย หญิง 20 8 71.43 28.57 รวม 28 100 แสดงอายุของผู้เข้าอบรม อายุ จำนวน (คน) ร้อยละ น้อยกว่า 21 21 - 30 ปี 31 - 40 ปี 41 - 50 ปี 51 - 60 ปี 60 ปีขึ้นไป - - 3 5 12 8 - - 10.71 17.86 42.86 28.57 รวม 28 100.00 - แสดงระดับการศึกษาของผู้เข้าอบรม ระดับการศึกษา จำนวน (คน) ร้อยละ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก - 9 5 - 6 8 - - - 32.14 17.86 - 21.43 28.57 - - รวม 29 100.00
46 ตอนที่ 2 ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ - แสดงการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ รายการที่ประเมิน ระดับความคิดเห็น มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) 1. เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์ได้รู้ และเข้าในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารงานสหกรณ์และกำหนดทิศ ทางการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของ สหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 24 (85.71) 4 (14.29) - - - 2. เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์ สามารถวางแผนการพัฒนาและแก้ไข ปัญหาของสหกรณ์ รวมถึงการ ขับเคลื่อนการดำเนินงานของสหกรณ์ ไปสู่ความเข้มแข็ง 21 (75.00) 7 (25.00) - - - - แสดงความรู้ ความเข้าใจในหัวข้อวิชาที่อบรม รายการที่ประเมิน ระดับความรู้ความเข้าใจ มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) 1. บทบาท หน้าที่ และความ รับผิดชอบของกรรมการ สหกรณ์ 19 (67.86) 7 (25.00) 2 (7.14) - - 2. ขั้นตอนการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ในแต่ละฝ่าย 17 (60.71) 11 (39.29) - - - 3. ข้อสังเกต/ข้อบกพร่อง สาเหตุและแนวทางการแก้ไข ของสหกรณ์ 20 (71.43) 7 (25.00 1 (3.57) - - 4. วิเคราะห์สถานการและ กำหนดปัญหาของสหกรณ์ แบบมีส่วนร่วม 20 (71.43) 6 (21.43) 2 (7.14) - -
47 5. แบ่งกลุ่มอภิปรายจัดทำ แผน/กิจกรรมในการพัฒนาแก้ ไปปัญหาของสหกรณ์ 23 (82.14) 2 (17.86) - - - แสดงความพึงพอใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการโครงการ รายการที่ประเมิน ระดับความพึงพอใจ มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) 1. การชี้แจงรายละเอียดจาก เจ้าหน้าที่โครงการ 26 (92.86) 2 (7.14) - - - 2. ระยะเวลามีความเหมาะสม 18 (64.29) 10 (35.71) - - - 3. ความสามารถในการ ถ่ายทอดของวิทยากร 18 (64.29) 7 (25.00) 3 (10.71) - - 4. การตอบข้อซักถามของ วิทยากร 19 (67.86) 5 (17.86 4 (14.29) - - 5. เอกสารประกอบการอบรม 21 (75.00) 7 (25.00) - - - 6. ความเหมาะสมของสถานที่ และสิ่งอำนวยความสะดวก 19 (67.86) 7 (25.00) 2 (7.14) - - 7. ความพึงพอใจโดยรวม ต่อ การเข้าร่วมโครงการ 20 (71.43) 8 (28.57) - - - ตอนที่ 3 สรุปความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการฝึกอบรม ดังนี้ 1) ควรเพิ่มระยะเวลาในการฝึกอบรม และเพิ่มกิจกรรมสัมพันธ์เพื่อให้ผู้เข้าอบรม ได้ทำความรู้จักและ คุ้นเคยกันมาก 2) ต้องการจัดอบรมแบบนี้อีกในครั้งต่อไป 3) ควรจัดฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อทบทวนความรู้ความเข้าใจให้มากขึ้น
48 ตอนที่ 4 ความรู้ที่ต้องการอบรมเพิ่มเติมในครั้งต่อไป ผู้เสนอผลงานต้องการทราบความต้องการฝึกอบรมของผู้เข้าอบรมในครั้งต่อไป ว่าต้องการเรียนรู้ใน เรื่องใดเพิ่มเติม เพื่อเป็นข้อมูลและเป็นการหาความจำเป็นในการฝึกอบรมหลักสูตรลักษณะนี้ในครั้งต่อไป ซึ่งผู้เข้า อบรมได้แสดงความคิดเห็น ดังนี้ 1) การบริหารการดำเนินธุรกิจในสหกรณ์ 2) กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการสหกรณ์ 3) การจัดทำแผนกลยุทธ์สหกรณ์ สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน งบประมาณตามโครงการอบรม หลักสูตร พัฒนาคณะกรรมการสหกรณ์เข้มแข็งทั้งคณะ งบประมาณ จำนวน 19,800 บาท ผลการเบิกจ่าย จำนวน 19,800 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
49 สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค.พะเยา จำกัด จังหวัดพะเยา *************** สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์โดยศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 10 จังหวัดลำปาง ได้กำหนดจัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “พัฒนาคณะกรรมการสหกรณ์เข้มแข็งทั้งคณะ” วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์ได้รู้และเข้าใจเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการสหกรณ์และ กำหนดทิศทางการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของสหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์สามารถวางแผนการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของสหกรณ์ รวมถึง การขับเคลื่อนการดำเนินงานของสหกรณ์ไปสู่ความเข้มแข็ง กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย - คณะกรรมการสหกรณ์ทั้งคณะ ผู้ตรวจสอบกิจการ ฝ่ายจัดการสหกรณ์ของสหกรณ์การเกษตร กรป. กลาง นพค.พะเยา จำกัด เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัด ผู้เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ และผู้สังเกตการณ์ จำนวน 20 คน เนื้อหาหลักสูตร - บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการสหกรณ์ 1.๓0 ชั่วโมง วัตถุประสงค์ เพื่อให้กรรมการสหกรณ์ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการ บริหารงานสหกรณ์ วิธีการ บรรยาย / แบ่งกลุ่มอภิปราย - ขั้นตอนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สหกรณ์ในแต่ละฝ่าย 1.30 ชั่วโมง วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้คณะกรรมการทราบขั้นตอนการทำงานของแต่ละฝ่ายในสหกรณ์ พร้อมทั้ง วิจารณ์ ข้อดี ข้อเสียของขั้นตอนการดำเนินงานของแต่ละธุรกิจได้ 2) เพื่อให้คณะกรรมการสามารถวางแผนเชื่อมโยงการทำงานของแต่ละฝ่ายให้เป็นไปใน ทิศทางเดียวกัน วิธีการ บรรยาย /แบ่งอภิปราย - ข้อสังเกต/ข้อบกพร่อง สาเหตุและแนวทางแก้ไขของสหกรณ์ 1.30 ชั่วโมง วัตุประสงค์ เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา/ข้อสังเกต/ข้อบกพร่อง พร้อมทั้งหาสาเหนุและแนว ทางแก้ไขให้สหกรณ์ วิธีการ บรรยาย /อภิปราย - วิเคราะห์สถานการณ์และกำหนดปัญหาของสหกรณ์แบบมีส่วนร่วม 2 ชั่วโมง วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์ทราบสถานภาพของสหกรณ์ในปัจจุบัน 2) เพื่อได้ประเด็นปัญหาที่สหกรณ์สามารถนำไปเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา/พัฒนา สหกรณ์ วิธีการ บรรยาย /แบ่งกลุ่มอภิปราย - การจัดทำแผนงาน/กิจกรรมในการพัฒนา/แก้ไขปัญหาของสหกรณ์ 5.30 ชั่วโมง วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้กรรมการสหกรณ์สามารถกำหนดแผนงานในการพัฒนา/แก้ไขปัญหาของ สหกรณ์ได้ตามเป้าหมายที่กำหนด 2) เพื่อได้โครงการและแผนงาน/กิจกรรมในการพัฒนา/แก้ไขปัญหาของสหกรณ์ วิธีการ แบ่งกลุ่มอภิปรายและระดมสมอง
50 ระยะเวลาและสถานที่ - จังหวัดลำปาง ระหว่างวันที่ 29 - 30 พฤษภาคม 2566 ณ ห้องประชุมสหกรณ์สหกรณ์การเกษตร กรป. กลาง นพค.พะเยา จำกัด อำเภอจุน จังหวัดพะเยา วิทยากร วิทยากร จากภาครัฐ และเอกชน สำนักงานสหกรณ์จังหวัด กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ผู้ที่มีความรู้ และประสบการณ์ในการถ่ายทอดความรู้ในแต่ละหัวข้อวิชา และเจ้าหน้าที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 10 จังหวัดลำปาง งบประมาณ เบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กรมส่งเสริมสหกรณ์ แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิตสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความ เข้มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลักส่งเสริมความรู้ด้านการสหกรณ์ กิจกรรมรองพัฒนาบุคลากร กรมส่งเสริม สหกรณ์ บุคลกรสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และบุคลากรในสถานศึกษา จำนวน 19,800.- (หนี่งหมื่นเก้าพันแปด ร้อยบาทถ้วน) โดยค่าใช้จ่ายทุกรายการสามารถถัวจ่ายได้ภายในวงเงิน ที่ได้รับอนุมัติ ผลการปฏิบัติงานตามโครงการ มีผู้รับการอบรม รวมทั้งสิ้นจำนวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 145 สหกรณ์ ผู้เข้าอบรม รวม (คน) หมายเหตุ ชาย (คน) หญิง (คน) 1.สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค.พะเยา จำกัด 16 13 29 แผนการพัฒนาสหกรณ์สู่ความเข้มแข็ง สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค.พะเยา จำกัด อำเภอจุน จังหวัดพะเยา ชาย หญิง 44.83% 55.17 %
51 1. โครงการมุ่งเน้นสหกรณ์ปิดบัญชีให้เป็นปัจจุบัน วิธีดำเนินการ ประชุมชี้แจง คณะกรรมการ ผู้ตรวจสอบกิจการ ฝ่ายจัดการทุกคน เพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานตาม โครงการ และให้เจ้าหน้าที่บัญชีและเจ้าหน้าที่การเงินจัดทำบัญชีให้เป็นปัจจุบันด้วยการลงบัญชีให้เป็นปัจจุบัน ทุกๆ วัน เพื่อให้สามารถปิดบัญชีได้ภายใน 30 วัน 2. โครงการระดมทุนจากสมาชิกสหกรณ์ วิธีดำเนินการ ผู้นำกลุ่มสมาชิกแต่ละกลุ่มประชาสัมพันธ์ให้กับสมาชิกสหกรณ์ในการระดมทุนของสหกรณ์เพิ่มขึ้น ทั้ง ทุนภายใน มีแผนตั้งเป้าในการระดมทุน ดังนี้ - ทุนภายใน จำนวน 500,000 บาท ช่วงเวลา 1 เมษายน 2566 – 31 มีนาคม 2566 - รับเงินฝาก จำนวน 16,500,000 บาท โดยมีการแจกของรางวัล เช่น ฝากขั้นต่ำทุกๆ 2,000 บาท ลุ้น 1 สิทธิ์ชิงรางวัล - ทุนภายนอก จำนวน 15,000,000 บาท 3. โครงการพัฒนาการดำเนินธุรกิจให้มีผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น - ธุรกิจสินเชื่อ โดยการลดอกเบี้ยเงินกู้ 2 % เมื่อจ่ายเงินกู้ภายในเดือน มีนาคม 2567 ระหว่างวันที่1 มีนาคม 2567 – 31 มีนาคม 2567 และปรับลดค่าปรับ 25 % ให้กับสมาชิกที่เป็นหนี้ค้าง - ธุรกิจรวบรวมผลผลิต ข้าวเปลือก ข้าวเหนียว ให้ได้ 3,000 ตัน โดยประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกทราบว่า รับซื้อข้าวนาปรังช่วงระหว่างเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2566 และรับซื้อข้าวนาปีกข.15 ช่วงเดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2566 - ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ได้แก่ ปุ๋ย จำนวน 60 ตัน โดยการทำแบบสำรวจความต้องการสินค้าของ สมาชิกโดยขอความร่วมมือทางหัวหน้ากลุ่มแต่ละกลุ่มช่วยประชาสัมพันธ์ให้ลูกกลุ่ม สำรวจความต้องการสินค้าที่ สมาชิกต้องการมาจำหน่ายให้แก่สมาชิกให้ตรงกับความต้องการ - เมล็ดพันธุ์พืช จำนวน 30 ตัน โดยการทำแบบสำรวจความต้องการสินค้าของสมาชิก - เคมีการเกษตร จำนวน 50,000 บาท โดยการทำแบบสำรวจความต้องการสินค้าของสมาชิก - ข้าวสาร จำนวน 700,000 บาท โดยการทำแบบสำรวจความต้องการสินค้าของสมาชิก
52 ประมวลภาพการจัดฝึกอบรมหลักสูตร “พัฒนาคณะกรรมการสหกรณ์เข้มแข็งทั้งคณะ” ณ สหกรณ์การเกษตร กรป.กลาง นพค.พเยา จำกัด อำเภอจุน จังหวัดพะเยา
53 ผลการประเมินโครงการ สรุปผลสำเร็จตามตัวชี้วัด - เชิงปริมาณ 1) กรรมการสหกรณ์ที่เข้ารับการอบรมมีโครงการและแผนงานในการพัฒนา/แก้ไขปัญหาของสหกรณ์ จำนวน 2 โครงการ ได้แก่ โครงการมุ่งเน้นสหกรณ์ปิดบัญชีให้เป็นปัจจุบัน และโครงการพัฒนาการดำเนินธุรกิจให้ มีผลการดำเนินงานที่ดีขึ้น 2) ผู้เข้าอบรมมีแผนการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้หลังการอบรม ร้อยละ 100 3) บุคลากรของสหกรณ์ได้รับการพัฒนาความรู้เรื่องการสหกรณ์ ร้อยละ 100 ของจำนวนผู้เข้ารับการ อบรม - เชิงคุณภาพ 1) สมาชิกสหกรณ์มีความศรัทธา และมีความเป็นเจ้าของสหกรณ์เพิ่มมากขึ้น และมีแนวโน้มมีส่วนร่วมใน การดำเนินธุรกิจกับสหกรณ์เพิ่มขึ้น ผลการทดสอบความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมาย ผู้เข้า ทดสอบ ความรู้ คะแนนเฉลี่ย (10 คะแนน) ผู้ที่มีความรู้เพิ่มขึ้น ก่อนอบรม หลังอบรม (คน) (ร้อยละ) ผู้เข้ารับการอบรม 29 7.84 9.92 29 100 รวม 29 7.84 9.92 29 100 ผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อโครงการฝึกอบรม แบบสอบถามความคิดเห็นหลังเสร็จสิ้นการอบรม มี 4 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป จำนวน 3 ข้อ ตอนที่ 2 ข้อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ 1) การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ จำนวน 2 ข้อ 2) ความรู้ ความเข้าใจในหัวข้อวิชาที่อบรม จำนวน 5 ข้อ 3) ความพึงพอใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการโครงการ จำนวน 7 ข้อ ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ
54 ตอนที่ 4 ความรู้ที่ต้องการอบรมเพิ่มเติมในครั้งต่อไป โดยมีเกณฑ์พิจารณาให้คะแนนดังนี้ ความคิดเห็นในระดับมากที่สุด = 5 ความคิดเห็นในระดับมาก = 4 ความคิดเห็นในระดับปานกลาง = 3 ความคิดเห็นในระดับน้อย = 2 ความคิดเห็นในระดับน้อยที่สุด = 1 สรุปผลการประเมิน ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าอบรม - แสดงเพศของผู้เข้าอบรม เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ ชาย หญิง 16 13 55.17 44.83 รวม 29 100 แสดงอายุของผู้เข้าอบรม อายุ จำนวน (คน) ร้อยละ น้อยกว่า 21 21 - 30 ปี 31 - 40 ปี 41 - 50 ปี 51 - 60 ปี 60 ปีขึ้นไป - - 4 5 13 7 - - 13.79 17.24 44.83 24.14 รวม 29 100.00 - แสดงระดับการศึกษาของผู้เข้าอบรม ระดับการศึกษา จำนวน (คน) ร้อยละ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปริญญาตรี ปริญญาโท - 10 5 - 6 8 - - 34.48 17.24 - 20.69 27.59 -
55 ปริญญาเอก - - รวม 29 100.00 ตอนที่ 2 ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ - แสดงการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ รายการที่ประเมิน ระดับความคิดเห็น มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) 1. เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์ได้รู้ และเข้าในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารงานสหกรณ์และกำหนดทิศ ทางการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของ สหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 24 (82.76) 5 (17.24) - - - 2. เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์ สามารถวางแผนการพัฒนาและ แก้ไขปัญหาของสหกรณ์ รวมถึงการ ขับเคลื่อนการดำเนินงานของ สหกรณ์ไปสู่ความเข้มแข็ง 26 (89.66) 2 (6.90) - - - - แสดงความรู้ ความเข้าใจในหัวข้อวิชาที่อบรม รายการที่ประเมิน ระดับความรู้ความเข้าใจ มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) 1. บทบาท หน้าที่ และความ รับผิดชอบของกรรมการ สหกรณ์ 26 (89.66) 3 (10.34) - (- - - 2. ขั้นตอนการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ในแต่ละฝ่าย 20 (68.97) 7 (24.14) 2. (6.90) - - 3. ข้อสังเกต/ข้อบกพร่อง สาเหตุและแนวทางการแก้ไข ของสหกรณ์ 22 (75.86) 3 (10.34) 4 (13.79) - - 4. วิเคราะห์สถานการและ กำหนดปัญหาของสหกรณ์ 21 (72.41) 7 (24.14) 1 (3.45) - -
56 แบบมีส่วนร่วม 5. แบ่งกลุ่มอภิปรายจัดทำ แผน/กิจกรรมในการพัฒนาแก้ ไปปัญหาของสหกรณ์ 23 (79.31) 6 (20.69) - - - - แสดงความพึงพอใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการโครงการ รายการที่ประเมิน ระดับความพึงพอใจ มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) 1. การชี้แจงรายละเอียดจาก เจ้าหน้าที่โครงการ 24 (82.76) 5 (17.24) - - - 2. ระยะเวลามีความเหมาะสม 25 (86.21) 4 (13.79) - - - 3. ความสามารถในการ ถ่ายทอดของวิทยากร 25 (86.21) 4 (13.79) - - - 4. การตอบข้อซักถามของ วิทยากร 24 (82.76) 5 (17.24) - - - 5. เอกสารประกอบการอบรม 21 (72.41) 8 (27.59) - - - 6. ความเหมาะสมของสถานที่ และสิ่งอำนวยความสะดวก 21 (72.41) 8 (27.59) - - - 7. ความพึงพอใจโดยรวม ต่อ การเข้าร่วมโครงการ 27 (93.10) 2 (6.90) - - - ตอนที่ 3 สรุปความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการฝึกอบรม ดังนี้ 1) ควรเพิ่มระยะเวลาในการฝึกอบรม และเพิ่มกิจกรรมสัมพันธ์เพื่อให้ผู้เข้าอบรม ได้ทำความรู้จักและ คุ้นเคยกันมาก 2) ต้องการจัดอบรมแบบนี้อีกในครั้งต่อไป 3) ควรจัดฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อทบทวนความรู้ความเข้าใจให้มากขึ้น
57 ตอนที่ 4 ความรู้ที่ต้องการอบรมเพิ่มเติมในครั้งต่อไป ผู้เสนอผลงานต้องการทราบความต้องการฝึกอบรมของผู้เข้าอบรมในครั้งต่อไป ว่าต้องการเรียนรู้ใน เรื่องใดเพิ่มเติม เพื่อเป็นข้อมูลและเป็นการหาความจำเป็นในการฝึกอบรมหลักสูตรลักษณะนี้ในครั้งต่อไป ซึ่งผู้เข้า อบรมได้แสดงความคิดเห็น ดังนี้ 1) การบริหารการดำเนินธุรกิจในสหกรณ์ 2) กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการสหกรณ์ 3) การจัดทำแผนกลยุทธ์สหกรณ์ สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน งบประมาณตามโครงการอบรม หลักสูตร พัฒนาคณะกรรมการสหกรณ์เข้มแข็งทั้งคณะ งบประมาณ จำนวน 19,800 บาท ผลการเบิกจ่าย จำนวน 19,800 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
58 สหกรณ์การเกษตร เชียงของ จำกัด จังหวัดเชียงราย *************** สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์โดยศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 10 จังหวัดลำปาง ได้กำหนดจัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “พัฒนาคณะกรรมการสหกรณ์เข้มแข็งทั้งคณะ” วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์ได้รู้และเข้าใจเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการสหกรณ์และ กำหนดทิศทางการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของสหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์สามารถวางแผนการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของสหกรณ์ รวมถึง การขับเคลื่อนการดำเนินงานของสหกรณ์ไปสู่ความเข้มแข็ง กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย - คณะกรรมการสหกรณ์ทั้งคณะ ผู้ตรวจสอบกิจการ ฝ่ายจัดการสหกรณ์ของ สหกรณ์การเกษตร เชียงของ จำกัด เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัด ผู้เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ และผู้สังเกตการณ์ จำนวน 20 คน เนื้อหาหลักสูตร - บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการสหกรณ์ 1.๓0 ชั่วโมง วัตถุประสงค์ เพื่อให้กรรมการสหกรณ์ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการ บริหารงานสหกรณ์ วิธีการ บรรยาย / แบ่งกลุ่มอภิปราย - ขั้นตอนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สหกรณ์ในแต่ละฝ่าย 1.30 ชั่วโมง วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้คณะกรรมการทราบขั้นตอนการทำงานของแต่ละฝ่ายในสหกรณ์ พร้อมทั้ง วิจารณ์ ข้อดี ข้อเสียของขั้นตอนการดำเนินงานของแต่ละธุรกิจได้ 2) เพื่อให้คณะกรรมการสามารถวางแผนเชื่อมโยงการทำงานของแต่ละฝ่ายให้เป็นไปใน ทิศทางเดียวกัน วิธีการ บรรยาย /แบ่งอภิปราย - ข้อสังเกต/ข้อบกพร่อง สาเหตุและแนวทางแก้ไขของสหกรณ์ 1.30 ชั่วโมง วัตุประสงค์ เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา/ข้อสังเกต/ข้อบกพร่อง พร้อมทั้งหาสาเหนุและแนว ทางแก้ไขให้สหกรณ์ วิธีการ บรรยาย /อภิปราย - วิเคราะห์สถานการณ์และกำหนดปัญหาของสหกรณ์แบบมีส่วนร่วม 2 ชั่วโมง วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์ทราบสถานภาพของสหกรณ์ในปัจจุบัน 2) เพื่อได้ประเด็นปัญหาที่สหกรณ์สามารถนำไปเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา/พัฒนา สหกรณ์ วิธีการ บรรยาย /แบ่งกลุ่มอภิปราย - การจัดทำแผนงาน/กิจกรรมในการพัฒนา/แก้ไขปัญหาของสหกรณ์ 5.30 ชั่วโมง วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้กรรมการสหกรณ์สามารถกำหนดแผนงานในการพัฒนา/แก้ไขปัญหาของ สหกรณ์ได้ตามเป้าหมายที่กำหนด 2) เพื่อได้โครงการและแผนงาน/กิจกรรมในการพัฒนา/แก้ไขปัญหาของสหกรณ์ วิธีการ แบ่งกลุ่มอภิปรายและระดมสมอง
59 ระยะเวลาและสถานที่ - จังหวัดลำปาง ระหว่างวันที่ 11-12 กรกฎาคม 2566 ณ ห้องประชุมสหกรณ์สหกรณ์การเกษตรเชียงของ จำกัด อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย วิทยากร วิทยากร จากภาครัฐ และเอกชน สำนักงานสหกรณ์จังหวัด กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ผู้ที่มีความรู้ และประสบการณ์ในการถ่ายทอดความรู้ในแต่ละหัวข้อวิชา และเจ้าหน้าที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 10 จังหวัดลำปาง งบประมาณ เบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กรมส่งเสริมสหกรณ์ แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิตสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความ เข้มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลักส่งเสริมความรู้ด้านการสหกรณ์ กิจกรรมรองพัฒนาบุคลากร กรมส่งเสริม สหกรณ์ บุคลกรสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และบุคลากรในสถานศึกษา จำนวน 19,800.- (หนี่งหมื่นเก้าพันแปด ร้อยบาทถ้วน) โดยค่าใช้จ่ายทุกรายการสามารถถัวจ่ายได้ภายในวงเงิน ที่ได้รับอนุมัติ ผลการปฏิบัติงานตามโครงการ มีผู้รับการอบรม รวมทั้งสิ้นจำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 175 สหกรณ์ ผู้เข้าอบรม รวม (คน) หมายเหตุ ชาย (คน) หญิง (คน) 1.สหกรณ์การเกษตรเชียงของ จำกัด 14 21 35 ชาย หญิง 40 % 60%
60 แผนพัฒนาสหกรณ์สู่ความเข้มแข็ง สหกรณ์การเกษตรเชียงของ จำกัด อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย 1. แผนการแก้ไขปัญหาลูกหนี้ค้างชำระ ผลการวิเคราะห์ ในปีบัญชี 2565 ณ วันสิ้นปีบัญชี 31 มีนาคม 2565 สหกรณ์มีลูกหนี้เงินให้กู้คงเหลือ 1,390 ราย เป็นเงิน 78,365,381 บาท ในจำนวนดังกล่าวมีลูกหนี้ผิดนัดชำระหนี้และเป็นหนี้ค้างนาน จำนวน 375 ราย เป็นเงินจำนวน 44,189,672 บาท คิดเป็นร้อยละ 56.39 ของมูลหนี้เงินให้กู้ทั้งหมด ซึ่งปัญหาหนี้คงค้าง ดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาสภาพคล่องในด้านการบริหารเงินทุนของสหกรณ์เป็นอย่างมาก ดังนั้น สหกรณ์จึงได้ พิจารณาจัดทำแผนติดตามการชำระหนี้และแก้ไขปัญหาหนี้คงค้างของลูกหนี้ผิดนัดชำระ เพื่อให้สหกรณ์ได้รับ เงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินงานและดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ ต่อไป วิธีดำเนินการ 1. จัดทำรายละเอียดข้อมูลลูกหนี้ค้างชำระทั้งหมดของสหกรณ์ แยกเป็นกลุ่มสมาชิก 2. ประชุมชี้แจง คณะกรรมการดำเนินการ ผู้ตรวจสอบกิจการ ฝ่ายจัดการทุกคน เพื่อจัดทำแผนการ ดำเนินงานติดตามหนี้ทั้งหมดตามโครงการ โดยจะดำเนินการติดตามถึงบ้าน 100% 3. จัดทำคำสั่งมอบหมายคณะกรรมการดำเนินการ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ หรือประกาศเกี่ยวกับ โครงการแก้ไขปัญหาลูกนี้เงินกู้ค้างชำระ 4. ติดตามลูกหนี้ที่ผิดนัดชำระหนี้ตามกลุ่มสมาชิกทั้ง 48 กลุ่ม เพื่อเยี่ยมเยือน สอบถามปัญหา ความ ต้องการให้สหกรณ์ช่วยเหลือ ตามแบบฟอร์มที่ได้จัดทำไว้ 5. สรุปผลการติดตามหนี้จากสมาชิก เสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ เพื่อให้ความ ช่วยเหลือสมาชิกที่เป็นหนี้ตามมาตรการของสหกรณ์ 6. ดำเนินการแก้ไขปัญหาให้กับลูกหนี้ที่ผิดนัดชำระหนี้ตามแผนการดำเนินการมาตรการต่าง ๆ ของ สหกรณ์ 7. ติดตามผลการดำเนินงานตามแผนฯ สรุปผลนำเข้าที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์เป็น ประจำทุกเดือน 8. สรุปผลการดำเนินงานแก้ไขปัญหา อุปสรรค และดำเนินการตามแผนฯ ต่อไป 2. แผนพัฒนาศักยภาพบุคลากรของสหกรณ์ สหกรณ์จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ ผู้ตรวจสอบกิจการ และฝ่ายจัดการสหกรณ์ ใน การอบรมเพิ่มเติมความรู้ ทักษะ ในการบริหารจัดการสหกรณ์ในหลักสูตรต่าง ๆ โดยใช้งบประมาณทุนศึกษาอบรม ของสหกรณ์ เพื่อให้บุคลากรของสหกรณ์มีความรู้ ความเข้าใจ เกิดทักษะในการทำงาน และสามารถบริหารจัดการ สหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างความเข้มแข็งให้สหกรณ์ เป็นที่พึ่งของมวลสมาชิกอย่างยั่งยืน
61 ประมวลภาพการจัดฝึกอบรมหลักสูตร “พัฒนาคณะกรรมการสหกรณ์เข้มแข็งทั้งคณะ” ณ สหกรณ์การเกษตรเชียงของ จำกัด อำเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
62 ผลการประเมินโครงการ สรุปผลสำเร็จตามตัวชี้วัด - เชิงปริมาณ 1) กรรมการสหกรณ์ที่เข้ารับการอบรมมีโครงการและแผนงานในการพัฒนา/แก้ไขปัญหาของสหกรณ์ จำนวน 2 แผนงาน ได้แก่แผนการแก้ไขปัญหาลูกหนี้ค้างชำระ และแผนพัฒนาศักยภาพบุคลากรของสหกรณ์ 2) ผู้เข้าอบรมมีแผนการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้หลังการอบรม ร้อยละ 100 3) บุคลากรของสหกรณ์ได้รับการพัฒนาความรู้เรื่องการสหกรณ์ ร้อยละ 100 ของจำนวนผู้เข้ารับการ อบรม - เชิงคุณภาพ 1) สมาชิกสหกรณ์มีความศรัทธา และมีความเป็นเจ้าของสหกรณ์เพิ่มมากขึ้น และมีแนวโน้มมีส่วนร่วมใน การดำเนินธุรกิจกับสหกรณ์เพิ่มขึ้น ผลการทดสอบความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมาย ผู้เข้า ทดสอบ ความรู้ คะแนนเฉลี่ย (10 คะแนน) ผู้ที่มีความรู้เพิ่มขึ้น ก่อนอบรม หลังอบรม (คน) (ร้อยละ) ผู้เข้ารับการอบรม 35 7.69 9.87 35 100 รวม 35 7.69 9.87 35 100 ผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อโครงการฝึกอบรม แบบสอบถามความคิดเห็นหลังเสร็จสิ้นการอบรม มี 4 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป จำนวน 3 ข้อ ตอนที่ 2 ข้อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ 1) การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ จำนวน 2 ข้อ 2) ความรู้ ความเข้าใจในหัวข้อวิชาที่อบรม จำนวน 5 ข้อ 3) ความพึงพอใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการโครงการ จำนวน 7 ข้อ ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ ตอนที่ 4 ความรู้ที่ต้องการอบรมเพิ่มเติมในครั้งต่อไป โดยมีเกณฑ์พิจารณาให้คะแนนดังนี้ ความคิดเห็นในระดับมากที่สุด = 5 ความคิดเห็นในระดับมาก = 4
63 ความคิดเห็นในระดับปานกลาง = 3 ความคิดเห็นในระดับน้อย = 2 ความคิดเห็นในระดับน้อยที่สุด = 1 สรุปผลการประเมิน ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าอบรม - แสดงเพศของผู้เข้าอบรม เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ ชาย หญิง 14 21 40.00 60.00 รวม 35 100 แสดงอายุของผู้เข้าอบรม อายุ จำนวน (คน) ร้อยละ น้อยกว่า 21 21 - 30 ปี 31 - 40 ปี 41 - 50 ปี 51 - 60 ปี 60 ปีขึ้นไป - - 4 13 9 9 - - 11.43 37.14 25.71 25.71 รวม 35 100.00 - แสดงระดับการศึกษาของผู้เข้าอบรม ระดับการศึกษา จำนวน (คน) ร้อยละ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก - 8 5 - 4 8 10 - - 22.86 14.29 - 11.43 22.86 28.57 - รวม 35 100.00
64 ตอนที่ 2 ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ - แสดงการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ รายการที่ประเมิน ระดับความคิดเห็น มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) 1. เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์ได้รู้และเข้า ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงาน สหกรณ์และกำหนดทิศทางการพัฒนาและ แก้ไขปัญหาของสหกรณ์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 28 (80.00) 7 (20.00) - - - 2. เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์สามารถ วางแผนการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของ สหกรณ์ รวมถึงการขับเคลื่อนการ ดำเนินงานของสหกรณ์ไปสู่ความเข้มแข็ง 27 (77.14) 8 (22.86) - - - - แสดงความรู้ ความเข้าใจในหัวข้อวิชาที่อบรม รายการที่ประเมิน ระดับความรู้ความเข้าใจ มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) 1. บทบาท หน้าที่ และความ รับผิดชอบของกรรมการ สหกรณ์ 29 (82.86) 6 (17.14) - - - 2. ขั้นตอนการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ในแต่ละฝ่าย 30 (68.97) 5 (24.14) -. - - 3. ข้อสังเกต/ข้อบกพร่อง สาเหตุและแนวทางการแก้ไข ของสหกรณ์ 31 (88.57) 4 (11.43) - - - 4. วิเคราะห์สถานการและ กำหนดปัญหาของสหกรณ์ แบบมีส่วนร่วม 29 (82.86) 6 (17.14) - - - 5. แบ่งกลุ่มอภิปรายจัดทำ แผน/กิจกรรมในการพัฒนาแก้ 30 (85.71) 5 (14.29) - - -
65 ไปปัญหาของสหกรณ์ - แสดงความพึงพอใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการโครงการ รายการที่ประเมิน ระดับความพึงพอใจ มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) 1. การชี้แจงรายละเอียดจาก เจ้าหน้าที่โครงการ 32 (91.43) 3 (8.57) - - - 2. ระยะเวลามีความเหมาะสม 30 (85.71) 5 (14.29) - - - 3. ความสามารถในการ ถ่ายทอดของวิทยากร 32 (91.43) 3 (8.57) - - - 4. การตอบข้อซักถามของ วิทยากร 28 (80.00) 7 (20.00) - - - 5. เอกสารประกอบการอบรม 29 (82.86) 6 (17.14) - - - 6. ความเหมาะสมของสถานที่ และสิ่งอำนวยความสะดวก 31 (88.57) 4 (11.43) - - - 7. ความพึงพอใจโดยรวม ต่อ การเข้าร่วมโครงการ 29 (82.86) 6 (17.14) - - - ตอนที่ 3 สรุปความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการฝึกอบรม ดังนี้ 1) ควรเพิ่มระยะเวลาในการฝึกอบรม และเพิ่มกิจกรรมสัมพันธ์เพื่อให้ผู้เข้าอบรม ได้ทำความรู้จักและ คุ้นเคยกันมาก 2) ต้องการจัดอบรมแบบนี้อีกในครั้งต่อไป 3) ควรจัดฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อทบทวนความรู้ความเข้าใจให้มากขึ้น
66 ตอนที่ 4 ความรู้ที่ต้องการอบรมเพิ่มเติมในครั้งต่อไป ผู้เสนอผลงานต้องการทราบความต้องการฝึกอบรมของผู้เข้าอบรมในครั้งต่อไป ว่าต้องการเรียนรู้ใน เรื่องใดเพิ่มเติม เพื่อเป็นข้อมูลและเป็นการหาความจำเป็นในการฝึกอบรมหลักสูตรลักษณะนี้ในครั้งต่อไป ซึ่งผู้เข้า อบรมได้แสดงความคิดเห็น ดังนี้ 1) การบริหารการดำเนินธุรกิจในสหกรณ์ 2) กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการสหกรณ์ 3) การจัดทำแผนกลยุทธ์สหกรณ์ 4) การสหกรณ์ สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน งบประมาณตามโครงการอบรม หลักสูตร พัฒนาคณะกรรมการสหกรณ์เข้มแข็งทั้งคณะ งบประมาณ จำนวน 19,800 บาท ผลการเบิกจ่าย จำนวน 19,800 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
67 สหกรณ์การเกษตรเวียงแก่น จำกัด *************** สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์โดยศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 10 จังหวัดลำปาง ได้กำหนดจัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “พัฒนาคณะกรรมการสหกรณ์เข้มแข็งทั้งคณะ” วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์ได้รู้และเข้าใจเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการสหกรณ์และ กำหนดทิศทางการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของสหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2) เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์สามารถวางแผนการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของสหกรณ์ รวมถึง การขับเคลื่อนการดำเนินงานของสหกรณ์ไปสู่ความเข้มแข็ง กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย - คณะกรรมการสหกรณ์ทั้งคณะ ผู้ตรวจสอบกิจการ ฝ่ายจัดการสหกรณ์ของสหกรณ์การเกษตร เวียงแก่น จำกัด เจ้าหน้าที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัด ผู้เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ และผู้สังเกตการณ์ จำนวน 20 คน เนื้อหาหลักสูตร - บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของกรรมการสหกรณ์ 1.๓0 ชั่วโมง วัตถุประสงค์ เพื่อให้กรรมการสหกรณ์ตระหนักถึงบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการ บริหารงานสหกรณ์ วิธีการ บรรยาย / แบ่งกลุ่มอภิปราย - ขั้นตอนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่สหกรณ์ในแต่ละฝ่าย 1.30 ชั่วโมง วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้คณะกรรมการทราบขั้นตอนการทำงานของแต่ละฝ่ายในสหกรณ์ พร้อมทั้ง วิจารณ์ ข้อดี ข้อเสียของขั้นตอนการดำเนินงานของแต่ละธุรกิจได้ 2) เพื่อให้คณะกรรมการสามารถวางแผนเชื่อมโยงการทำงานของแต่ละฝ่ายให้เป็นไปใน ทิศทางเดียวกัน วิธีการ บรรยาย /แบ่งอภิปราย - ข้อสังเกต/ข้อบกพร่อง สาเหตุและแนวทางแก้ไขของสหกรณ์ 1.30 ชั่วโมง วัตุประสงค์ เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา/ข้อสังเกต/ข้อบกพร่อง พร้อมทั้งหาสาเหนุและแนว ทางแก้ไขให้สหกรณ์ วิธีการ บรรยาย /อภิปราย - วิเคราะห์สถานการณ์และกำหนดปัญหาของสหกรณ์แบบมีส่วนร่วม 2 ชั่วโมง วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์ทราบสถานภาพของสหกรณ์ในปัจจุบัน 2) เพื่อได้ประเด็นปัญหาที่สหกรณ์สามารถนำไปเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา/พัฒนา สหกรณ์ วิธีการ บรรยาย /แบ่งกลุ่มอภิปราย - การจัดทำแผนงาน/กิจกรรมในการพัฒนา/แก้ไขปัญหาของสหกรณ์ 5.30 ชั่วโมง วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้กรรมการสหกรณ์สามารถกำหนดแผนงานในการพัฒนา/แก้ไขปัญหาของ สหกรณ์ได้ตามเป้าหมายที่กำหนด 2) เพื่อได้โครงการและแผนงาน/กิจกรรมในการพัฒนา/แก้ไขปัญหาของสหกรณ์ วิธีการ แบ่งกลุ่มอภิปรายและระดมสมอง
68 ระยะเวลาและสถานที่ - จังหวัดลำปาง ระหว่างวันที่ 18 - 19 กรกฎาคม 2566 ณ ห้องประชุมสหกรณ์สหกรณ์การเกษตรเวียงแก่น จำกัด อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย วิทยากร วิทยากร จากภาครัฐ และเอกชน สำนักงานสหกรณ์จังหวัด กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ผู้ที่มีความรู้ และประสบการณ์ในการถ่ายทอดความรู้ในแต่ละหัวข้อวิชา และเจ้าหน้าที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 10 จังหวัดลำปาง งบประมาณ เบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กรมส่งเสริมสหกรณ์ แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิตสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความ เข้มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลักส่งเสริมความรู้ด้านการสหกรณ์ กิจกรรมรองพัฒนาบุคลากร กรมส่งเสริม สหกรณ์ บุคลกรสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และบุคลากรในสถานศึกษา จำนวน 19,800.- (หนี่งหมื่นเก้าพันแปด ร้อยบาทถ้วน) โดยค่าใช้จ่ายทุกรายการสามารถถัวจ่ายได้ภายในวงเงิน ที่ได้รับอนุมัติ ผลการปฏิบัติงานตามโครงการ มีผู้รับการอบรม รวมทั้งสิ้นจำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 175 สหกรณ์ ผู้เข้าอบรม รวม (คน) หมายเหตุ ชาย (คน) หญิง (คน) 1.สหกรณ์การเกษตรเวียงแก่น จำกัด 20 15 35 แผนพัฒนาสหกรณ์สู่ความเข้มแข็ง ชาย หญิง 42.85 % 57.15%
69 สหกรณ์การเกษตรเวียงแก่น จำกัด อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย แผนธุรกิจรวบรวมผลผลิตทางการเกษตร ผลการวิเคราะห์ ในปีบัญชี 2565 ณ วันสิ้นปีบัญชี 31 มีนาคม 2565 สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจในการรวบรวมผลผลิต ทางการเกษตรของสมาชิกทั้งสิ้นมีมูลค่าจำนวน 11,432,342 บาท ซึ่งเป็นธุรกิจที่สหกรณ์ดำเนินการกับสมาชิก โดยเฉพาะการรวบรวมผลผลิตยางพาราและส้มโอ สมาชิกสหกรณ์โดยส่วนใหญ่มีอาชีพปลูกยางพาราและส้มโอ มี ปริมาณผลผลิตเป็นจำนวนมากในฤดูการผลิต ดังนั้น สหกรณ์จึงได้พิจารณาจัดทำแผนพัฒนาธุรกิจรวบรวมผลผลิต ของสหกรณ์ เพื่อให้บริการสมาชิกและสร้างรายได้ให้กับสหกรณ์ ต่อไป สหกรณ์จัดทำโครงการรวบรวมผลผลิตยางพารา - รวบรวมผลผลิตยางพาราจากสมาชิกสหกรณ์ จำนวน 200 ราย - ปริมาณผลผลิตที่จะดำเนินการรวบรวม 900,000 กิโลกรัม - มูลค่าการรวบรวมเป็นเงินจำนวน 18,000,000 บาท สหกรณ์จัดทำโครงการรวบรวมผลผลิตส้มโอ - รวบรวมผลผลิตส้มโอจากสมาชิกสหกรณ์ จำนวน 8,000 กิโลกรัม - มูลค่าการรวบรวมเป็นเงินจำนวน 80,000 บาท
70 ประมวลภาพการจัดฝึกอบรมหลักสูตร “พัฒนาคณะกรรมการสหกรณ์เข้มแข็งทั้งคณะ” ณ สหกรณ์การเกษตรเวียงแก่น จำกัด อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
71 ผลการประเมินโครงการ สรุปผลสำเร็จตามตัวชี้วัด - เชิงปริมาณ 1) กรรมการสหกรณ์ที่เข้ารับการอบรมมีโครงการและแผนงานในการพัฒนา/แก้ไขปัญหาของสหกรณ์ จำนวน 1 แผนงาน ได้แก่แผนธุรกิจรวบรวมผลผลิตทางการเกษตร 2) ผู้เข้าอบรมมีแผนการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้หลังการอบรม ร้อยละ 100 3) บุคลากรของสหกรณ์ได้รับการพัฒนาความรู้เรื่องการสหกรณ์ ร้อยละ 100 ของจำนวนผู้เข้ารับการ อบรม - เชิงคุณภาพ 1) สมาชิกสหกรณ์มีความศรัทธาสหกรณ์เพิ่มมากขึ้น และมีแนวโน้มมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจกับ สหกรณ์เพิ่มขึ้น ผลการทดสอบความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมาย ผู้เข้า ทดสอบ ความรู้ คะแนนเฉลี่ย (10 คะแนน) ผู้ที่มีความรู้เพิ่มขึ้น ก่อนอบรม หลังอบรม (คน) (ร้อยละ) ผู้เข้ารับการอบรม 35 6.58 9.87 35 100 รวม 35 6.58 9.87 35 100 ผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อโครงการฝึกอบรม แบบสอบถามความคิดเห็นหลังเสร็จสิ้นการอบรม มี 4 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป จำนวน 3 ข้อ ตอนที่ 2 ข้อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ 1) การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ จำนวน 2 ข้อ 2) ความรู้ ความเข้าใจในหัวข้อวิชาที่อบรม จำนวน 5 ข้อ 3) ความพึงพอใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการโครงการ จำนวน 7 ข้อ ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ ตอนที่ 4 ความรู้ที่ต้องการอบรมเพิ่มเติมในครั้งต่อไป โดยมีเกณฑ์พิจารณาให้คะแนนดังนี้ ความคิดเห็นในระดับมากที่สุด = 5 ความคิดเห็นในระดับมาก = 4 ความคิดเห็นในระดับปานกลาง = 3
72 ความคิดเห็นในระดับน้อย = 2 ความคิดเห็นในระดับน้อยที่สุด = 1 สรุปผลการประเมิน ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าอบรม - แสดงเพศของผู้เข้าอบรม เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ ชาย หญิง 20 15 57.14 42.86 รวม 35 100 แสดงอายุของผู้เข้าอบรม อายุ จำนวน (คน) ร้อยละ น้อยกว่า 21 21 - 30 ปี 31 - 40 ปี 41 - 50 ปี 51 - 60 ปี 60 ปีขึ้นไป - - 4 12 8 11 - - 11.43 34.26 22.86 31.43 รวม 35 100.00 - แสดงระดับการศึกษาของผู้เข้าอบรม ระดับการศึกษา จำนวน (คน) ร้อยละ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก 8 5 5 - 4 8 5 - 22.86 14.29 14.29 - 11.43 22.86 14.29 - รวม 35 100.00
73 ตอนที่ 2 ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ - แสดงการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ รายการที่ประเมิน ระดับความคิดเห็น มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) 1. เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์ได้รู้ และเข้าในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารงานสหกรณ์และกำหนดทิศ ทางการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของ สหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 31 (88.57) 4 (11.43) - - - 2. เพื่อให้คณะกรรมการสหกรณ์ สามารถวางแผนการพัฒนาและแก้ไข ปัญหาของสหกรณ์ รวมถึงการ ขับเคลื่อนการดำเนินงานของสหกรณ์ ไปสู่ความเข้มแข็ง 30 (85.71) 5 (14.29) - - - - แสดงความรู้ ความเข้าใจในหัวข้อวิชาที่อบรม รายการที่ประเมิน ระดับความรู้ความเข้าใจ มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) 1. บทบาท หน้าที่ และความ รับผิดชอบของกรรมการ สหกรณ์ 31 (88.57) 4 (11.43) - - - 2. ขั้นตอนการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ในแต่ละฝ่าย 30 (68.97) 5 (24.14) -. - - 3. ข้อสังเกต/ข้อบกพร่อง สาเหตุและแนวทางการแก้ไข ของสหกรณ์ 29 (82.86) 6 (17.14) - - - 4. วิเคราะห์สถานการและ กำหนดปัญหาของสหกรณ์ แบบมีส่วนร่วม 31 (88.57) 4 (11.43) - - - 5. แบ่งกลุ่มอภิปรายจัดทำ 30 5 - - -
74 แผน/กิจกรรมในการพัฒนาแก้ ไปปัญหาของสหกรณ์ (85.71) (14.29) - แสดงความพึงพอใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการโครงการ รายการที่ประเมิน ระดับความพึงพอใจ มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) 1. การชี้แจงรายละเอียดจาก เจ้าหน้าที่โครงการ 33 (94.29) 2 (5.71) - - - 2. ระยะเวลามีความเหมาะสม 29 (82.86) 6 (17.14) - - - 3. ความสามารถในการ ถ่ายทอดของวิทยากร 33 (94.29) 2 (5.71) - - - 4. การตอบข้อซักถามของ วิทยากร 29 (82.86) 6 (17.16) - - - 5. เอกสารประกอบการอบรม 28 (80.00) 7 (20.00) - - - 6. ความเหมาะสมของสถานที่ และสิ่งอำนวยความสะดวก 27 (77.14) 8 (22.86) - - - 7. ความพึงพอใจโดยรวม ต่อ การเข้าร่วมโครงการ 29 (82.86) 6 (17.14) - - - ตอนที่ 3 สรุปความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการฝึกอบรม ดังนี้ 1) ควรเพิ่มระยะเวลาในการฝึกอบรม และเพิ่มกิจกรรมสัมพันธ์เพื่อให้ผู้เข้าอบรม ได้ทำความรู้จักและ คุ้นเคยกันมาก 2) ต้องการจัดอบรมแบบนี้อีกในครั้งต่อไป 3) ควรจัดฝึกอบรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อทบทวนความรู้ความเข้าใจให้มากขึ้น
75 ตอนที่ 4 ความรู้ที่ต้องการอบรมเพิ่มเติมในครั้งต่อไป ผู้เสนอผลงานต้องการทราบความต้องการฝึกอบรมของผู้เข้าอบรมในครั้งต่อไป ว่าต้องการเรียนรู้ใน เรื่องใดเพิ่มเติม เพื่อเป็นข้อมูลและเป็นการหาความจำเป็นในการฝึกอบรมหลักสูตรลักษณะนี้ในครั้งต่อไป ซึ่งผู้เข้า อบรมได้แสดงความคิดเห็น ดังนี้ 1) การบริหารการดำเนินธุรกิจในสหกรณ์ 2) กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการสหกรณ์ 3) การจัดทำแผนกลยุทธ์สหกรณ์ 4) การสหกรณ์ สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน งบประมาณตามโครงการอบรม หลักสูตร พัฒนาคณะกรรมการสหกรณ์เข้มแข็งทั้งคณะ งบประมาณ จำนวน 19,800 บาท ผลการเบิกจ่าย จำนวน 19,800 บาท คิดเป็นร้อยละ 100
76 สรุปผลโครงการฝึกอบรม หลักสูตร “พัฒนาสมาชิกสร้างการมีส่วนร่วมในการสร้างความเข้มแข็งของสหกรณ์” *************** 1. หน่วยงาน ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 10 จังหวัดลำปาง 2. กลุ่มเป้าหมาย (จากสหกรณ์) 2.1 จังหวัดลำปาง 2 สหกรณ์ 68 คน 2.2 จังหวัดพะเยา 2 สหกรณ์ 67 คน 2.3 จังหวัดเชียงราย 2 สหกรณ์ 69 คน สมาชิกสหกรณ์ และผู้ที่เกี่ยวข้องในสหกรณ์ ลำดับ ที่ ชื่อสหกรณ์ จังหวัด แผน ผล จำนวน (คน) หมายเหตุ ชาย หญิง รวม 1 สหกรณ์การเกษตรแม่เมาะ พัฒนา จำกัด ลำปาง 28 33 3 30 33 2 สหกรณ์การเกษตรเวียงมอก จำกัด ลำปาง 28 35 3 32 35 3 สกต.ธกส. พะเยา จำกัด พะเยา 28 33 25 8 33 4 สหกรณ์การเกษตร กรป. กลาง นพค.พะเยา จำกัด พะเยา 28 34 8 26 34 5 สหกรณ์การเกษตรเชียงของ จำกัด เชียงราย 28 35 23 12 35 6 สหกรณ์การเกษตรเวียงแก่น จำกัด เชียงราย 28 34 20 14 34 รวมทั้งหมด 168 204 82 122 204
77 การประเมินผลผู้เข้ารับการอบรมตามโครงการ หลักสูตร “พัฒนาสมาชิกสร้างการ มีส่วนร่วมในการกำกับดูแลสหกรณ์” แผนปฏิบัติงาน จำวน 168 คน ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 204 คน คิดเป็นร้อยละ 121 สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานตามโครงการ หลักสูตร “พัฒนาสมาชิกสร้างการมี ส่วนร่วมในการกำกับดูแลสหกรณ์” งบประมาณที่ได้รับ จำนวน 90,480 บาท ผลการเบิกจ่าย จำนวน 90,480 บาท คิดเป็นร้อยละ 100 แผน 168 ผล 204 แผน 168 ผล 204 งบประมาณ 90,480 บาท ผลการเบิกจ่าย 90,480 บาท 100 % งบประมาณ 90,480 บาท ผลการเบิกจ่าย 90,480 บาท …
78 สหกรณ์การเกษตรแม่เมาะพัฒนา จำกัด อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง *************** สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์โดยศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 10 จังหวัดลำปาง ได้กำหนดจัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “พัฒนาสมาชิกสร้างการมีส่วนร่วมในการสร้างความ เข้มแข็งของสหกรณ์” วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้ประธานกลุ่ม/สมาชิกชั้นนำมีความรู้และความเข้าใจในการดำเนินธุรกิจ/กิจกรรม สหกรณ์ 2) เพื่อให้ประธานกลุ่ม/สมาชิกชั้นนำสามารถถ่ายทอดกิจกรรมในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ ไปยังสมาชิก ในกลุ่มให้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมของสหกรณ์ตามเป้าหมายได้ กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย - ประธานกลุ่มสหกรณ์หรือสมาชิกชั้นนำของสหกรณ์การเกษตรแม่เมาะพัฒนา จำกัด เจ้าหน้าที่สำนักสหกรณ์ จังหวัด ผู้เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ และผู้สังเกตการณ์ จำนวน 28 คน เนื้อหาหลักสูตร - แผนงาน/กิจกรรมของสหกรณ์ที่ให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการพัฒนา/แก้ไขปัญหาของ สหกรณ์ พร้อมทั้งกำหนดเป้าหมายที่จะให้ประธานกลุ่มไปดำเนินการ จำนวน 1.30 ชั่วโมง วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประธานกลุ่ม/สมาชิกชั้นนำรับทราบข้อมูลแนวทางในการพัฒนา/แก้ไขปัญหาของสหกรณ์ พร้อมทั้งนำไปชี้แจงสมาชิกในกลุ่มให้ดำเนินการเป็นไปตามเป้าหมายและแนวทางเดียวกัน วิธีการ บรรยาย/อภิปราย - สิทธิ หน้าที่ ความรับผิดชอบ และบทบาทสมาชิกในการมีส่วนร่วมสร้างความเข้มแข็งของ สหกรณ์ จำนวน 1.30 ชั่วโมง วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ข้าอบรมได้ทราบและเข้าใจสิทธิ หน้าที่ ของสมาชิกสหกรณ์ และตระหนักบทบาทของ ตนเองในการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างความเข้มแข็งของสหกรณ์ วิธีการ บรรยาย/อภิปราย - ขับเคลื่อนแผนงาน/กิจกรรมของสหกรณ์ กำหนดระยะเวลาในการดำเนินการ และช่องทาง ในการติดต่อสื่อสารกับสมาชิกในกลุ่ม จำนวน 3 ชั่วโมง วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประธานกลุ่ม/สมาชิกชั้นนำ กำหนดแผนงานให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการพัฒนา/แก้ไขปัญหา ของสหกรณ์ให้สำเร็จตามเป้าหมายของกิจกรรมที่สหกรณ์กำหนด วิธีการ แบ่งกลุ่ม/อภิปราย ระยะเวลาและสถานที่ สหกรณ์การเกษตรแม่เมาะพัฒนา จำกัด ระหว่างวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2566 ณ ห้องประชุม สำนักงานสหกรณ์การเกษตรแม่เมาะพัฒนา จำกัด อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
79 วิทยากร วิทยากรจากภาครัฐ และเอกชน สำนักงานสหกรณ์จังหวัด กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ผู้ที่มีความรู้ และประสบการณ์ในการถ่ายทอดความรู้ในแต่ละหัวข้อวิชา และเจ้าหน้าที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 10 จังหวัดลำปาง งบประมาณ เบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กรมส่งเสริมสหกรณ์ แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิตสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความ เข้มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลักส่งเสริมความรู้ด้านการสหกรณ์กิจกรรมรองพัฒนาบุคลากร กรมส่งเสริม สหกรณ์ บุคลากรสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และบุคลากรในสถานศึกษา จำนวน 15,080.- บาท (หนึ่งหมื่นห้าพัน แปดสิบบาทถ้วน) โดยค่าใช้จ่ายทุกรายการสามารถถัวจ่ายได้ภายในวงเงินที่ได้รับอนุมัติ คิดเป็นร้อยละ 100 ผลการปฏิบัติงานตามโครงการ มีผู้รับการอบรม รวมทั้งสิ้นจำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 117 สหกรณ์ ผู้เข้าอบรม รวม (คน) หมายเหตุ ชาย (คน) หญิง (คน) สหกรณ์การเกษตรแม่เมาะพัฒนา จำกัด 3 30 33 ชาย หญิง 9.09 % 90.1%
80 ประมวลภาพการจัดฝึกอบรมหลักสูตร “พัฒนาสมาชิกสร้างการมีส่วนร่วมในการสร้างความเข้มแข็งของสหกรณ์” ณ สหกรณ์การเกษตรแม่เมาะพัฒนา จำกัด อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
81 ผลการประเมินโครงการ สรุปผลสำเร็จตามตัวชี้วัด - เชิงปริมาณ 1) สมาชิกสหกรณ์ได้รับการพัฒนาความรู้เรื่องการสหกรณ์ ร้อยละ 100 ของจำนวนผู้เข้ารับการอบรม 2) สมาชิกสหกรณ์ที่เข้ารับการฝึกอบรมมีแผนการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้หลังการอบรม ร้อยละ 100 - เชิงคุณภาพ 1) สมาชิกสหกรณ์เห็นความสำคัญของสหกรณ์ และมีแนวโน้มมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจกับสหกรณ์ เพิ่มขึ้น 2) สหกรณ์มีแผนการแก้ไขปัญหาลูกหนี้ค้างชำระในการดำเนินธุรกิจเพื่อแก้ไขปัญหาให้กับสมาชิกเพิ่ม มากขึ้น ผลการทดสอบความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมาย ผู้เข้า ทดสอบ ความรู้ คะแนนเฉลี่ย (10 คะแนน) ผู้ที่มีความรู้เพิ่มขึ้น ก่อนอบรม หลังอบรม (คน) (ร้อยละ) ผู้เข้ารับการอบรม 33 7.14 9.25 33 100 รวม 33 7.14 9.25 33 100 ผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อโครงการฝึกอบรม แบบสอบถามความคิดเห็นหลังเสร็จสิ้นการอบรม มี 4 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป จำนวน 3 ข้อ ตอนที่ 2 ข้อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ 1) การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ จำนวน 2 ข้อ 2) ความรู้ ความเข้าใจในหัวข้อวิชาที่อบรม จำนวน 5 ข้อ 3) ความพึงพอใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการโครงการ จำนวน 7 ข้อ ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ ตอนที่ 4 ความรู้ที่ต้องการอบรมเพิ่มเติมในครั้งต่อไป โดยมีเกณฑ์พิจารณาให้คะแนนดังนี้ ความคิดเห็นในระดับมากที่สุด = 5 ความคิดเห็นในระดับมาก = 4 ความคิดเห็นในระดับปานกลาง = 3 ความคิดเห็นในระดับน้อย = 2 ความคิดเห็นในระดับน้อยที่สุด = 1
82 สรุปผลการประเมิน ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าอบรม - แสดงเพศของผู้เข้าอบรม เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ ชาย หญิง 3 30 9.10 90.90 รวม 33 100 แสดงอายุของผู้เข้าอบรม อายุ จำนวน (คน) ร้อยละ น้อยกว่า 21 21 - 30 ปี 31 - 40 ปี 41 - 50 ปี 51 - 60 ปี 60 ปีขึ้นไป - - - 9 14 10 - - - 27.27 42.42 30.30 รวม 33 100.00 - แสดงระดับการศึกษาของผู้เข้าอบรม ระดับการศึกษา จำนวน (คน) ร้อยละ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก 5 14 10 - 2 2 - - 15.15 42.42 30.30 - 6.06 6.06 - - รวม 33 100.00
83 ตอนที่ 2 ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ - แสดงความเข้าใจในเนื้อหาวิชา รายการที่ประเมิน ระดับความคิดเห็น มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) 1. ชี้แจงแผนงาน/กิจกรรมของ สหกรณ์ที่ให้สมาชิกมีส่วนร่วม 29 (87.88) 4 (12.12) - - - 2. สิทธิหน้าที่ ความรับผิดชอบ และบทบาทสมาชิกในการมี ส่วนร่วมสร้างความเข้มแข็ง ของสหกรณ์ 25 (75.76) 8 (24.24) - - - 3. แบ่งกลุ่มระดมสมอง เพื่อ ขับเคลื่อนแผนงาน/กิจกรรม ของสหกรณ์ 28 (84.85) 5 (15.15) - - - - แสดงความพึงพอใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการโครงการ รายการที่ประเมิน ระดับความพึงพอใจ มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) 1. ด้านเนื้อหาและหลักสูตร 22 (66.67) 10 (30.30) 1 (3.03) - - 2. ความคุ้มค่าของการอบรม ครั้งนี้ 25 (75.76) 8 (24.24) - - - 3. ด้านการให้บริหารของ เจ้าหน้าที่โครงการ 26 (78.79) 7 (21.21) - - - 4. การนำไปประยุกต์ใช้ใน สถานการณ์ 19 (57.58) 11 (33.33) 3 (9.09) - - 5. ความเหมาะสมด้าน ระยะเวลาการอบรม/สถานที่ 20 (60.61) 10 (30.30) 3 (9.09) - - 6. การเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม 25 (75.76) 8 (24.24) - - -
84 ตอนที่ 3 สรุปความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการฝึกอบรม ดังนี้ 1) ควรเพิ่มระยะเวลาในการฝึกอบรม 2) ควรเพิ่มจำนวนผู้เข้าอบรมให้มากกว่านี้จะได้รู้ เข้าใจ ทั่วถึง 3) ต้องการจัดอบรมแบบนี้อีกในครั้งต่อไป ตอนที่ 4 ความรู้ที่ต้องการอบรมเพิ่มเติมในครั้งต่อไป ผู้เสนอผลงานต้องการทราบความต้องการฝึกอบรมของผู้เข้าอบรมในครั้งต่อไป ว่าต้องการเรียนรู้ใน เรื่องใดเพิ่มเติม เพื่อเป็นข้อมูลและเป็นการหาความจำเป็นในการฝึกอบรมหลักสูตรลักษณะนี้ในครั้งต่อไป ซึ่งผู้เข้า อบรมได้แสดงความคิดเห็น ดังนี้ 1) กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องกับสมาชิก 2) การมีส่วนร่วมของสมาชิกในด้านการทำธุรกิจกับสหกรณ์ สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน งบประมาณตามโครงการอบรม หลักสูตร พัฒนาสมาชิกสร้างการมีส่วนร่วมในการสร้างความ เข้มแข็งของสหกรณ์งบประมาณ จำนวน 15,080 บาท ผลการเบิกจ่าย จำนวน 15,0800 บาท คิดเป็นร้อย ละ 100
85 สหกรณ์การเกษตรเวียงมอก จำกัด อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง *************** สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์โดยศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 10 จังหวัดลำปาง ได้กำหนดจัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร “พัฒนาสมาชิกสร้างการมีส่วนร่วมในการสร้างความ เข้มแข็งของสหกรณ์” วัตถุประสงค์ 1) เพื่อให้ประธานกลุ่ม/สมาชิกชั้นนำมีความรู้และความเข้าใจในการดำเนินธุรกิจ/กิจกรรม สหกรณ์ 2) เพื่อให้ประธานกลุ่ม/สมาชิกชั้นนำสามารถถ่ายทอดกิจกรรมในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ ไปยังสมาชิก ในกลุ่มให้เข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมของสหกรณ์ตามเป้าหมายได้ กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย - ประธานกลุ่มสหกรณ์หรือสมาชิกชั้นนำของสหกรณ์การเกษตรแม่เมาะพัฒนา จำกัด เจ้าหน้าที่สำนักสหกรณ์ จังหวัด ผู้เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ และผู้สังเกตการณ์ จำนวน 28 คน เนื้อหาหลักสูตร - แผนงาน/กิจกรรมของสหกรณ์ที่ให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการพัฒนา/แก้ไขปัญหาของ สหกรณ์ พร้อมทั้งกำหนดเป้าหมายที่จะให้ประธานกลุ่มไปดำเนินการ จำนวน 1.30 ชั่วโมง วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประธานกลุ่ม/สมาชิกชั้นนำรับทราบข้อมูลแนวทางในการพัฒนา/แก้ไขปัญหาของสหกรณ์ พร้อมทั้งนำไปชี้แจงสมาชิกในกลุ่มให้ดำเนินการเป็นไปตามเป้าหมายและแนวทางเดียวกัน วิธีการ บรรยาย/อภิปราย - สิทธิ หน้าที่ ความรับผิดชอบ และบทบาทสมาชิกในการมีส่วนร่วมสร้างความเข้มแข็งของ สหกรณ์ จำนวน 1.30 ชั่วโมง วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ข้าอบรมได้ทราบและเข้าใจสิทธิ หน้าที่ ของสมาชิกสหกรณ์ และตระหนักบทบาทของ ตนเองในการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างความเข้มแข็งของสหกรณ์ วิธีการ บรรยาย/อภิปราย - ขับเคลื่อนแผนงาน/กิจกรรมของสหกรณ์ กำหนดระยะเวลาในการดำเนินการ และช่องทาง ในการติดต่อสื่อสารกับสมาชิกในกลุ่ม จำนวน 3 ชั่วโมง วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประธานกลุ่ม/สมาชิกชั้นนำ กำหนดแผนงานให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการพัฒนา/แก้ไขปัญหา ของสหกรณ์ให้สำเร็จตามเป้าหมายของกิจกรรมที่สหกรณ์กำหนด วิธีการ แบ่งกลุ่ม/อภิปราย ระยะเวลาและสถานที่ สหกรณ์การเกษตรเวียงมอก จำกัด ระหว่างวันที่ 23 มีนาคม 2566 ณ ศาลาเอนกประสงค์บ้าน หอรบ อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง
86 วิทยากร วิทยากรจากภาครัฐ และเอกชน สำนักงานสหกรณ์จังหวัด กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ผู้ที่มีความรู้ และประสบการณ์ในการถ่ายทอดความรู้ในแต่ละหัวข้อวิชา และเจ้าหน้าที่ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 10 จังหวัดลำปาง งบประมาณ เบิกจ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กรมส่งเสริมสหกรณ์ แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิตสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความ เข้มแข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลักส่งเสริมความรู้ด้านการสหกรณ์กิจกรรมรองพัฒนาบุคลากรกรมส่งเสริม สหกรณ์ บุคลากรสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร และบุคลากรในสถานศึกษา จำนวน 15,080.- บาท (หนึ่งหมื่นห้าพัน แปดสิบบาทถ้วน) โดยค่าใช้จ่ายทุกรายการสามารถถัวจ่ายได้ภายในวงเงินที่ได้รับอนุมัติ คิดเป็นร้อยละ 100 ผลการปฏิบัติงานตามโครงการ มีผู้รับการอบรม รวมทั้งสิ้นจำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 125 สหกรณ์ ผู้เข้าอบรม รวม (คน) หมายเหตุ ชาย (คน) หญิง (คน) สหกรณ์การเกษตรเวียงมอก จำกัด 3 32 35 ชาย หญิง 91.43 % 8.57 %
87 ประมวลภาพการจัดฝึกอบรม ประมวลภาพการจัดฝึกอบรมหลักสูตร “พัฒนาสมาชิกสร้างการมีส่วนร่วมในการสร้างความเข้มแข็งของสหกรณ์” ณ ศาลาเอนกประสงค์บ้านหอรบ อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง
88 ผลการประเมินโครงการ สรุปผลสำเร็จตามตัวชี้วัด - เชิงปริมาณ 1) สมาชิกสหกรณ์ได้รับการพัฒนาความรู้เรื่องการสหกรณ์ ร้อยละ 100 ของจำนวนผู้เข้ารับการอบรม 2) สมาชิกสหกรณ์ที่เข้ารับการฝึกอบรมมีแผนการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้หลังการอบรม ร้อยละ 100 - เชิงคุณภาพ 1) สมาชิกสหกรณ์มีความศรัทธา และมีความเป็นเจ้าของสหกรณ์เพิ่มมากขึ้น และมีแนวโน้มมีส่วนร่วมใน การดำเนินธุรกิจกับสหกรณ์เพิ่มขึ้น 2) สหกรณ์มีแผนการอบรมเพื่อพัฒนาสมาชิกให้มีความรักและศรัทธาสหกรณ์เพิ่มมากขึ้น ผลการทดสอบความรู้ก่อน-หลังการอบรม กลุ่มเป้าหมาย ผู้เข้า ทดสอบ ความรู้ คะแนนเฉลี่ย (10 คะแนน) ผู้ที่มีความรู้เพิ่มขึ้น ก่อนอบรม หลังอบรม (คน) (ร้อยละ) ผู้เข้ารับการอบรม 35 6.87 9.03 35 100 รวม 35 6.87 9.03 35 100 ผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อโครงการฝึกอบรม แบบสอบถามความคิดเห็นหลังเสร็จสิ้นการอบรม มี 4 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป จำนวน 3 ข้อ ตอนที่ 2 ข้อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ 1) การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ จำนวน 2 ข้อ 2) ความรู้ ความเข้าใจในหัวข้อวิชาที่อบรม จำนวน 5 ข้อ 3) ความพึงพอใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการโครงการ จำนวน 7 ข้อ ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่น ๆ ตอนที่ 4 ความรู้ที่ต้องการอบรมเพิ่มเติมในครั้งต่อไป โดยมีเกณฑ์พิจารณาให้คะแนนดังนี้ ความคิดเห็นในระดับมากที่สุด = 5 ความคิดเห็นในระดับมาก = 4 ความคิดเห็นในระดับปานกลาง = 3 ความคิดเห็นในระดับน้อย = 2 ความคิดเห็นในระดับน้อยที่สุด = 1
89 สรุปผลการประเมิน ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าอบรม - แสดงเพศของผู้เข้าอบรม เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ ชาย หญิง 3 32 8.57 91.43 รวม 35 100 แสดงอายุของผู้เข้าอบรม อายุ จำนวน (คน) ร้อยละ น้อยกว่า 21 21 - 30 ปี 31 - 40 ปี 41 - 50 ปี 51 - 60 ปี 60 ปีขึ้นไป - - - 9 14 12 - - - 25.71 40.00 34.29 รวม 35 100.00 - แสดงระดับการศึกษาของผู้เข้าอบรม ระดับการศึกษา จำนวน (คน) ร้อยละ ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก 16 10 9 - - - - - 45.71 28.57 25.71 - - - - - รวม 35 100.00
90 ตอนที่ 2 ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการ - แสดงความเข้าใจในเนื้อหาวิชา รายการที่ประเมิน ระดับความคิดเห็น มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) 1. ชี้แจงแผนงาน/กิจกรรมของ สหกรณ์ที่ให้สมาชิกมีส่วนร่วม 24 (68.57) 11 (31.43) - - - 2. สิทธิหน้าที่ ความรับผิดชอบ และบทบาทสมาชิกในการมี ส่วนร่วมสร้างความเข้มแข็ง ของสหกรณ์ 27 (77.14) 8 (22.86) - - - 3. แบ่งกลุ่มระดมสมอง เพื่อ ขับเคลื่อนแผนงาน/กิจกรรม ของสหกรณ์ 28 (80.00) 7 (20.00) - - - - แสดงความพึงพอใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการโครงการ รายการที่ประเมิน ระดับความพึงพอใจ มาก ที่สุด (5) มาก (4) ปาน กลาง (3) น้อย (2) น้อย ที่สุด (1) 1. ด้านเนื้อหาและหลักสูตร 27 (77.14) 4 (11.43) 4 (11.43) - - 2. ความคุ้มค่าของการอบรมครั้งนี้ 29 (82.86) 6 (17.14) - - - 3. ด้านการให้บริหารของเจ้าหน้าที่ โครงการ 30 (85.71) 5 (14.29) - - - 4. การนำไปประยุกต์ใช้ใน สถานการณ์ 30 (58.71) 5 (14.29) - - - 5. ความเหมาะสมด้านระยะเวลา การอบรม/สถานที่อบรม 31 (88.57) 3 (8.57) 1 (2.86) - - 6. การเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม 32 (91.43) 3 (8.57) - - -