The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการประเมินตนเอง ปี2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by PCVC, 2023-09-11 02:55:24

PCVC_SAR_2565

รายงานการประเมินตนเอง ปี2565

1


2 รายงานผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2565 วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรี อาชีวศึกษาจังหวัดปราจีนบุรี สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


3 คำนำ ตามพระราชบัญัญติการศึกษาชาติพ.ศ. 2542 มาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้ มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระ บวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงาน ต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาและเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 กําหนดใหสถานศึกษาจัดใหมีระบบ การ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาใหเปนไป ตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา ที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกําหนด ประกอบดวย 3 มาตรฐาน 10 ตัวชี้วัด การประเมิน ไดแก มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาที่พึง ประสงค มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา และมาตรฐานที่ 3 การสรางสังคมแหงการเรียนรู การประกันคุณภาพการศึกษาของวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีมีการดำเนินการกําหนด มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาใหเปนไปตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา 3 มาตรฐาน และตามเกณฑ์การ ประเมินคุณภาพการศึกษาในเชิงประจักษ์ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561 มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาและเพื่อ รองรับการประกันคุณภาพภายนอก โดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ผู้บริหารและ คณะครู วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรี


4 คำชี้แจง คำชี้แจงของการรายงานผลการประเมินตนเองประกอบด้วยการสรุปสาระสำคัญ ได้แก่ 1. บทสรุปสำหรับผู้บริหาร 2. ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา 3. มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 4. รายงานการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 5. ผลการปฏิบัติงานที่เป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice)


5 สารบัญ หน้า คำนำ คำชี้แจง สารบัญ ส่วนที่ 1. บทสรุปสำหรับผู้บริหาร 1 – 10 ส่วนที่ 2. ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา 11 – 37 ส่วนที่ 3. มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 38 – 41 ส่วนที่ 4. รายงานการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 42 – 59 ส่วนที่ 5. ผลการปฏิบัติงานที่เป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice) 60 – 61 ภาคผนวก ก. ผลการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ข. รางวัลที่สถานศึกษา ครูบุคลากรและผู้เรียนได้รับ ค. เอกสารหลักฐานที่ใช้อ้างอิง 1. คำสั่งวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีที่ 5/2566 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการจัดทำมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2. คำสั่งวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีที่ 6/2566 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา 3. คำสั่งวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีที่ 7/2566 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการจัดทำรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษา 4. รายงานการประชุมคณะกรรมการวิทยาลัย ที่ 5/2566 เรื่อง การรับรองผลการประเมินคุณภาพการศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2565 ง. แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา 2565


6 ส่วนที่ 1 บทสรุปสำหรับผู้บริหาร สรุปผลภาพรวมการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของวิทยาลัยอาชีวศึกษา พณิชยการปราจีนบุรีในปีการศึกษา 2565 ประกอบด้วย ผลสัมฤทธิ์ จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะ เพื่อการพัฒนา ผลการปฏิบัติงานที่เป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice) ประกอบด้วย มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาที่พึงประสงค์ ตัวชี้วัดที่ 1.1 ความรู้ของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา 1) ผลสัมฤทธิ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีส่งเสริมผู้เรียนให้มีความรู้ตามหลักการทฤษฎีและ แนวปฏิบัติต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่เปิดสอน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกอบด้วย สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาวิชาการตลาดและสาขาวิชาธุรกิจค้าปลีกและ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประกอบด้วย สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล สาขาวิชาการตลาดและสาขาวิชาธุรกิจค้าปลีก ให้ผู้เรียนของวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีมี ความรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา สามารถผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพตามระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการ ผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)ชั้นปีที่ 3 ที่ลงทะเบียนครบทุกรายวิชา ตามโครงสร้างหลักสูตร จำนวน 114 คน สามารถผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ จำนวน 87 คน คิดเป็น ร้อยละ 76.32 ผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 2 ที่ลงทะเบียนครบทุกรายวิชาตาม โครงสร้างหลักสูตร จำนวน 123 คน สามารถผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ จำนวน 87 คน คิดเป็น ร้อยละ 70.73 ผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)ชั้นปีที่ 3 และผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 2 ที่ลงทะเบียนครบทุกรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร จำนวน 237 คนสามารถผ่านการ ประเมินมาตรฐานวิชาชีพ จำนวน 174 คน คิดเป็นร้อยละ 73.42 2) จุดเด่น วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีมีการพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียนให้มีความรู้ด้านวิชาการ และวิชาชีพทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)และหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ให้ผู้เรียนมีความรู้และสมรรถนะตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ สามารถ ผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพในครั้งแรกตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ผลการประเมินมีระดับคุณภาพ ดีเลิศ 3) จุดที่ควรพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีต้องให้การดูแลและแนะแนวผู้เรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 3 และผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 2 ให้เข้ารับการ ประเมินมาตรฐานวิชาชีพ


7 4) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีมีการส่งเสริมให้ผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)ชั้นปีที่ 3 และผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 2 เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะ ด้านวิชาการและวิชาชีพเพื่อเตรียมความพร้อมในการเข้ารับการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ตัวชี้วัดที่ 1.2 ทักษะและการนำไปประยุกต์ใช้ของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา 1) ผลสัมฤทธิ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีส่งเสริมผู้เรียนให้มีทักษะและการนำไปประยุกต์ใช้ โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนมีสมรรถนะในการเป็นผู้ประกอบการ โดยการบ่มเพาะผู้เรียนให้เปนผูประกอบการและ ประกอบอาชีพอิสระ จำนวนทั้งหมด 25 คน มีผูเรียนที่ประสบความสําเร็จสูการเปนผูประกอบการหรือการ ประกอบอาชีพอิสระจำนวน 15 คน รอยละของผูเรียนที่ประสบความสําเร็จสูการเปนผูประกอบการหรือการประกอบอาชีพอิสระ คิดเป็นร้อยละ 60 วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีสงเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนนำความรู้ด้านวิชาชีพ เข้าร่วมการแขงขันทักษะวิชาชีพการประกวดนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์และกีฬาสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน ระดับชาติ ปีการศึกษา 2565 ของสมาคมวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระ ราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี(กลุ่มภาคกลาง) ผูเรียนไดรับรางวัลจากการ ประกวด แขงขันทักษะวิชาชีพในระดับชาติระดับเหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง และเข้าร่วม การประกวดนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และการแข่งขันทักษะวิชาชีพพื้นฐานองค์การนักวิชาชีพ ในอนาคตแห่งประเทศไทยระดับจังหวัดและระดับภาคของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผูเรียน ไดรับรางวัลชนะเลิศ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 และรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 จากการพัฒนาคุณภาพการศึกษาส่งผลให้ผูเรียนได้รับรางวัลจากการประกวดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐงานสรางสรรค จำนวน 5 ชิ้น มีผลการแขงขันทักษะวิชาชีพระดับปวช.และระดับปวส. ได้รับ รางวัลเหรียญทองระดับชาติ จำนวน 23 เหรียญ ได้รับรางวัลเหรียญเงินจำนวน 21 เหรียญ ได้รับรางวัล เหรียญทองแดงจำนวน 9 เหรียญ ได้รับรางวัลเหรียญทองแดงระดับภาค จำนวน 2 เหรียญ ได้รับรางวัล เหรียญทองระดับจังหวัดจำนวน 9 เหรียญ ได้รับรางวัลเหรียญเงินระดับจังหวัดจำนวน 5 เหรียญ 2) จุดเด่น วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีมีการส่งเสริมให้ผู้เรียน มีสมรรถนะในการ เป็นผู้ประกอบการ โดยใช้ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาของวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการ ปราจีนบุรีซึ่งได้รับการนิเทศจากคณะกรรมการศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาของสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษาอย่างต่อเนื่องทุกปี สถานศึกษาได้นำข้อแนะนำต่างๆไปพัฒนากิจกรรมของ ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาของวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีเช่นการส่งหัวหน้าศูนย์ บ่มเพาะและครูที่ปรึกษาธุรกิจ เข้าอบรมความรู้เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจกับมหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัด ชลบุรี และนำความรู้มาพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้ประกอบการ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีสงเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีทักษะสามารถนำความรู้ ตามสาขาวิชาชีพไปประยุกต์ใช้ในการเข้าร่วมแสดงความสามารถ และไดรับรางวัลในระดับชาติ ระดับภาคและ ระดับจังหวัด จากการแขงขันทักษะวิชาชีพทุกสาขาวิชาที่เปิดการสอน ผลการประเมินมีระดับคุณภาพดีเลิศ 3) จุดที่ควรพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีต้องเพิ่มทักษะการเป็นผู้ประกอบการตามสภาพจริงให้กับ ผู้เรียนเพิ่มขึ้น โดยประสานความร่วมมือกับร้านค้าในชุมชนเพื่อให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินธุรกิจกับ


8 ผู้เรียนที่มีความสนใจในการเป็นผู้ประกอบการให้หลากหลายอาชีพ จะเป็นการสร้างประสบการณ์ให้กับ ผู้เรียนมากขึ้น 4) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีจัดกิจกรรมทัศนศึกษาดูงานการดำเนินธุรกิจของชุมชน ที่สามารถจุดประกายความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการผลิตสินค้าที่ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค ผู้เรียนสามารถนำไปเป็นแนวทางในการประกอบธุรกิจได้ และให้ความรู้ในการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ เป็นช่องทางการจำหน่ายสินค้า ตัวชี้วัดที่ 1.3 คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา 1) ผลสัมฤทธิ์ การดูแลและแนะแนวผู้เรียน วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีมีการดูแลและแนะแนวผู้เรียนโดยจัดกิจกรรมปฐมนิเทศ ผู้เรียนใหม่ที่เข้าศึกษาในสถานศึกษา แต่งตั้งครูที่ปรึกษาให้คำแนะนำและปรึกษาปัญหาต่างๆให้กับผู้เรียน มีการจัดประชุมผู้ปกครองเครือข่ายเพื่อประสานความร่วมมือในการดูแลผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนจบ หลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ส่งเสริม สนับสนุนทุนการศึกษาให้ผู้เรียนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ในการศึกษา ดูแลผู้เรียนกลุ่มเสี่ยงโดยให้ครูที่ปรึกษา เยี่ยมบ้านผู้เรียนเพื่อลดผู้เรียนออกกลางคัน ผู้เรียนสำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 3 แรกเข้าของรุ่น จำนวน 187 คน ผู้เรียนสำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)ชั้นปีที่ 2 แรกเข้าของรุ่นจำนวน 137 คน ผู้เรียนสำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 3 จำนวน 84 คน ผู้เรียนสำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)ชั้นปีที่ 2 จำนวน 71 คน ผู้เรียนสำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ร้อยละ 44.92 ผู้เรียนสำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ร้อยละ 51.82 ผู้เรียนที่สำเร็จการศึกษารวมทั้งหมดคิดเป็น ร้อยละ 47.84 ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีจัดโครงการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม โครงการส่งเสริมความเป็น ประชาธิปไตย โครงการส่งเสริมจิตอาสา โครงการเยาวชนยุคใหม่ห่างไกลยาเสพติดโครงการส่งเสริมกีฬาและ นันทนาการ โครงการส่งเสริมการรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ โครงการรักษ์สิ่งแวดล้อม และให้ผู้เรียน เข้าร่วมเป็นสมาชิกองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทยวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรี เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมทุกกิจกรรมที่ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์และเสียสละเพื่อส่วนรวม ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเป็นกัลยาณมิตร มีภาวะผู้นำ กล้าแสดงออก ภูมิใจในความเป็นไทยเห็นคุณค่าและร่วมพัฒนาภูมิปัญญาไทย ผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมทุกกิจกรรมทั้งหมด จำนวน 620 คน ผู้เรียนมีคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์จำนวนทั้งหมด 561 คน คิดเป็นร้อยละ 90.48 2) จุดเด่น วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ของสังคม ผู้เรียนให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมของสถานศึกษา ทุกกิจกรรม ผลการประเมิน มีระดับคุณภาพยอดเยี่ยม


9 3) จุดที่ควรพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีต้องมีการดูแลและแนะแนวผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนสามารถ เรียนจบหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ให้การดูแลผู้เรียนกลุ่มเสี่ยงอย่างใกล้ชิด โดยให้ครูที่ปรึกษาเยี่ยมบ้านผู้เรียนเพื่อลดผู้เรียนออกกลางคัน 4) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีต้องมีการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองในการดูแล ผู้เรียนกลุ่มเสี่ยงอย่างใกล้ชิด ตัวชี้วัดที่ 1.4 ผลสัมฤทธิ์ของผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา 1) ผลสัมฤทธิ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีประสานงานกับครูที่ปรึกษาดำเนินการสำรวจข้อมูลผู้สำเร็จ การศึกษาตามแผนงานติดตามผู้สำเร็จการศึกษาในปีที่ผ่านมา มีงานทำ ประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษาต่อ จากการใช้แบบสอบถามข้อมูลผู้เรียนก่อนสำเร็จการศึกษา การติดตามผู้สำเร็จการศึกษาจากการสอบถาม ทางไลน์ การส่ง E-mail Address การใช้ Facebook เพื่อจัดเก็บข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษาที่ได้งานทำ หรือ ประกอบอาชีพอิสระ หรือศึกษาต่อภายใน 1 ปีและการติดตามจากการใช้ผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาที่เป็น เครือข่ายของรุ่น จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จำนวน 109 คน จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) จำนวน 88 คน จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ที่ได้งานทำ หรือประกอบอาชีพอิสระ หรือ ศึกษาต่อภายใน 1 ปี จำนวน 94 คน จำนวนผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)ที่ได้งานทำ หรือประกอบอาชีพอิสระ หรือ ศึกษาต่อภายใน 1 ปี จำนวน 79 คน ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูง (ปวส.) ที่ได้งานทำ หรือประกอบอาชีพอิสระ หรือศึกษาต่อ ภายใน 1 ปีคิดเป็นร้อยละ 87.82 2) จุดเด่น วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีมีการติดตามผู้สำเร็จการศึกษาในปีที่ผ่านมาอย่างต่อเนื่องเพื่อสำรวจ ผู้สำเร็จการศึกษา มีงานทำ ประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษาต่อ ผลการประเมิน มีระดับคุณภาพยอดเยี่ยม 3) จุดที่ควรพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีต้องดำเนินการดูแลและแนะแนวผู้สำเร็จการศึกษาให้มี ความตระหนักในการต่อยอดความรู้ที่มี ไปทำงานประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษาต่อ 4) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีต้องดำเนินการจัด กิจกรรมศิษย์เก่าเล่าประสบการณ์ให้ผู้สำเร็จการศึกษาได้พบตัวอย่างของผู้ที่ประสบความสำเร็จจากการนำ ความรู้ที่มีไปทำงาน ประกอบอาชีพอิสระหรือศึกษาต่อ


10 มาตรฐานที่ 2 การจัดการอาชีวศึกษา ตัวชี้วัดที่ 2.1 หลักสูตรอาชีวศึกษา 1) ผลสัมฤทธิ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีมีการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับ ความต้องการของสถานประกอบการ หน่วยงานและชุมชนโดยดำเนินงานโครงการพัฒนาหลักสูตร ฐานสมรรถนะ สำรวจความต้องการของสถานประกอบการด้านสมรรถนะวิชาชีพของผู้เรียนที่พึงประสงค์ ประสานความร่วมมือกับสถานประกอบการในการปรับปรุงรายวิชาตามหลักสูตรของสถานศึกษาให้มี สมรรถนะรายวิชาเพิ่มขึ้น เพื่อใหผูเรียนมีสมรรถนะอาชีพสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และความตองการของตลาดแรงงาน รอยละ 100 ของประเภทวิชาที่จัดการเรียนการสอน มีการพัฒนาใหเปนหลักสูตรฐานสมรรถนะ อยางเปนระบบ 2 ประเภทวิชา (ประเภทวิชาพาณิชยกรรม และประเภทวิชาบริหารธุรกิจ) มีการใช้หลักสูตร ฐานสมรรถนะ ประกอบด้วย หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เพิ่มสมรรถนะวิชาชีพด้านการใช้ เทคโนโลยีสำหรับ การจัดพิมพ์งานในสำนักงาน และการใช้โปรแกรมสำหรับ การคำนวณค่าสถิติให้สามารถ ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เพิ่มสมรรถนะ วิชาชีพ ด้านการใช้เทคโนโลยีสำหรับการนำเสนอผลงาน และการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ให้สามารถใช้ใน การปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มสมรรถนะรายวิชาที่มีความจำเป็นและสอดคล้องกับความต้องการ ของสถานประกอบการ จำนวน 8 สาขางาน คิดเป็นร้อยละ 100 วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีมีการติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรจากการติดตาม ประเมินผลคุณภาพผู้เรียนที่ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ 2) จุดเด่น วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีได้รับความร่วมมือจากสถานประกอบการร่วมพัฒนา หลักสูตร มีการทำ MOU ระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการจำนวน 3 แห่ง คือบริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) บริษัทฟูจิคูระอิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด และบริษัท เอก-ชัย ดีสทริบิวชั่น ซิสเทม จำกัด (ห้างสรรพสินค้าเทสโก้โลตัส) สถานประกอบการมีระดับความพึงพอใจต่อการพัฒนาหลักสูตรที่ สอดคล้องกับความต้องการในระดับดี ผลการประเมินมีระดับคุณภาพดีเลิศ 3) จุดที่ควรพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีต้องพัฒนา และติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตร อย่างต่อเนื่องเพื่อสามารถพัฒนาสมรรถนะรายวิชาให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีในศตวรรษที่ 21 4) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีต้องขยายเครือข่ายความร่วมกับสถานประกอบการให้มี จำนวนสถานประกอบการเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดที่ 2.2 การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา 1) ผลสัมฤทธิ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีมีการจัดทำแผนการแผนการจัดการเรียนรู้การจัดการ เรียนการสอน การบริหารจัดการชั้นเรียน และการพัฒนาตนเองและวิชาชีพของครูโดยให้ครูจัดทำแผนการ จัดการเรียนรู้รายวิชาโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลายที่มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพ


11 และบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทุกรายวิชาที่สอน มีการวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชากำหนดสมรรถนะวิชาชีพที่สอดคล้องกับบริบทของ สถานศึกษาและความต้องการของตลาดแรงงาน บูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะ อันพึงประสงค์และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการกำหนดรูปแบบการเรียนเป็นแบบ PjBL และ Active Learning มีการใช้สื่อ เครื่องมืออุปกรณ และเทคโนโลยีการจัด การเรียนรู้ที่เหมาะสม และนํามาใช ในการจัดการเรียนการสอนการกําหนดแนวทางการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง ดวยรูปแบบ วิธีการที่ หลากหลาย โดยวัดผลตามจุดประสงค์การเรียนรู้ 3 ด้าน ด้านพุทธพิสัย ด้านทักษะพิสัยและด้านจิตพิสัย ครูผูสอนมีคุณวุฒิทางการศึกษาตรงตามสาขาวิชาที่สอน 21 คน จัดการเรียนการสอนตรงตาม แผนการจัดการเรียนรู้ดวยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย ใชสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษาและ แหลงการเรียนรูในการจัดการเรียน การสอน ทําวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรูและ แกปญหาในการเรียนให้กับผู้เรียน ครูผู้สอนมีคุณภาพในการจัดการเรียนการสอนจากการนิเทศการสอน คิดเป็น ร้อยละ 100 การเข้าถึงจำนวนห้องเรียน ห้องปฏิบัติการที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ทั้งหมดของสถานศึกษา มีจำนวน 40 ห้อง จำนวนหองเรียน หองปฏิบัติการที่มีระบบอินเทอรเน็ตความเร็วสูงในการจัดการเรียนการ สอนจำนวน 30 ห้อง คิดเป็นร้อยละ 75.00 2) จุดเด่น วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีให้ครูจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาโดยเน้นผู้เรียน เป็นสำคัญมีการกำหนดรูปแบบการเรียนเป็นแบบ PjBL และ Active Learning ให้ผู้เรียนมีการ บูรณาการ คิดวิเคราะห์ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ในการทำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบและมีการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผล การประเมินมีระดับคุณภาพยอดเยี่ยม 3) จุดที่ควรพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีต้องมีการพัฒนาบุคลากรครูทุกสาขาวิชาให้มีสมรรถนะ รายวิชาที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาและเทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมและเพิ่มจำนวน หองเรียน หองปฏิบัติการที่มีระบบอินเทอรเน็ตความเร็วสูงในการจัดการเรียนการสอน 4) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีต้องมีการพัฒนาบุคลากรครูทุกสาขาวิชาให้มีการจัดทำ แผนพัฒนาตนเอง (ID Plan) ตัวชี้วัดที่ 2.3 การบริหารจัดการสถานศึกษา 1) ผลสัมฤทธิ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีดำเนินงานโครงการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูล สารสนเทศและระบบอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง จัดทำ Web สถานศึกษาและพัฒนาระบบฐานข้อมูล สารสนเทศสถานศึกษาโดยพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศพื้นฐาน 9 ประเภท ได้แก่ข้อมูลทั่วไปของ สถานศึกษา ข้อมูลนักเรียน นักศึกษา ข้อมูลตลาดแรงงาน ข้อมูลบุคลากร ข้อมูลงบประมาณและการเงิน ข้อมูลหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน ข้อมูลครุภัณฑ์ ข้อมูลอาคารสถานที่ และข้อมูลพื้นฐานของจังหวัด ปราจีนบุรี ครูบุคลากรทุกฝ่ายและผู้เรียนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลสารสนเทศ


12 สถานศึกษามีการประเมินความพึงพอใจในการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของ สถานศึกษา โดยครูและบุคลากรทุกฝ่ายในสถานศึกษาและผู้เรียนจากกลุ่มตัวอย่าง 423 คน มีความพึงพอใจ ในระดับดีคิดเป็นรอยละ 85.42 สถานศึกษาจัดสภาพแวดลอม ภูมิทัศน อาคารสถานที่ หองเรียน หองปฏิบัติการ แหลงการเรียนรู และสิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อตอการจัดการเรียนรูสถานศึกษาปรับปรุงและพัฒนาสภาพแวดลอม ภูมิทัศน อาคารสถานที่ หองเรียน หองปฏิบัติการแหลงการเรียนรูและสิ่งอํานวย ความสะดวกใหสอดคลองกับบริบท ของสถานศึกษา สถานศึกษาดำเนินงานตามแผนงานซ่อมบำรุงระบบสาธารณูปโภคเพื่อดูแลระบบสาธารณูปโภค พื้นฐาน ไดแก ระบบไฟฟา ระบบประปา การคมนาคมภายในสถานศึกษา ระบบการสื่อสารภายใน และ ระบบรักษาความปลอดภัยไดรับการบํารุงรักษาและพัฒนาอยางตอเนื่อง สถานศึกษาดำเนินงานตามโครงการระดมทรัพยากรเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษา มีการจัดสรร งบประมาณจากภายในสถานศึกษาในการจัดซื้อจัดหาหนังสือและคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการค้นคว้าข้อมูลและ มีการระดมทรัพยากรจากภายนอกสถานศึกษาขอรับการสนับสนุนหนังสือจากบุคคลและชุมชน มีการสรางแรง จูงใจใหผูเรียนเขาใชบริการหองสมุดไมนอยกวารอยละ 80 ของผูเรียนทั้งหมดของสถานศึกษาโดยจัดกิจกรรม ต่างๆที่ผู้เรียนต้องการ และมีแหลงเรียนรูหรือสื่อ อุปกรณ หองเรียนเฉพาะทางครบทุกสาขาวิชาที่สถานศึกษา จัดการเรียนการสอน มีการประเมิน ความพึงพอใจผู้เข้ารับบริการห้องสมุดอยู่ในระดับดี หองสมุดมีจํานวนหนังสือตอจํานวนผูเรียนเปนไปตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และมีระบบ สืบคนดวยตนเองเพียงพอ ( ผู้เรียน จำนวน 10 เล่มต่อคน ) จำนวนหนังสือ ในห้องสมุด จำนวน 6,500 เล่ม จำนวนผู้เรียนทั้งหมดของสถานศึกษามี จำนวน 620 คน จำนวนผู้เรียนที่ใช้บริการห้องสมุด จำนวน 498 คน จำนวนสาขาที่สถานศึกษาจัดการเรียนการสอน จำนวน 8 สาขาวิชา สถานศึกษามีระบบเครือข่ายอินเทอรเน็ตที่มีประสิทธิภาพเหมาะสมกับการใช้งานเครือขาย คอมพิวเตอรทั้งภายในและภายนอกมีการสื่อสารและแลกเปลี่ยนขอมูลที่เปนสื่อประสมและมีรายละเอียดสูง ไดอยางรวดเร็ว โดยมีความเร็ว 300 Mbps มีผูรับผิดชอบดูแลและบริหารจัดการขอมูลการเขาถึงขอมูล ระบบความปลอดภัยในการจัดเก็บและใชขอมูล 2) จุดเด่น วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีมีการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศและระบบ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง มีสภาพแวดลอม ภูมิทัศน อาคารสถานที่ หองเรียน หองปฏิบัติการ แหลงการเรียนรูและสิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อตอการจัดการเรียนรู้ 3) จุดที่ควรพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีต้องมีการจัดระเบียบการคมนาคมภายในสถานศึกษาเพื่อลดการ ติดขัดของการจราจร 4) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีต้องมีการจัดเส้นทางการจราจรและมีผู้รับผิดชอบในการดูแล การจราจรของสถานศึกษา


13 ตัวชี้วัดที่ 2.4 การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ 1) ผลสัมฤทธิ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีดำเนินการจัดการอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคีรวมกับ สถานประกอบการ โดยนางกนกพร วรมานะกุล วอง ผู้อำนวยการ มีการบันทึกขอตกลงความรวมมือ (MOU) ในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีกับสถานประกอบการจำนวน 2 แห่ง คือบริษัท ซีพีออลล์ จำกัด (มหาชน)และ บริษัท เอก-ชัย ดีสทริบิวชั่น ซิสเทม จำกัด (ห้างสรรพสินค้าเทสโก้โลตัส) จัดโดย สมาคม วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ โรงแรม Best Western PLUS Wanda Grand Hotel แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีดำเนินการตามแผนงานโครงการแนะแนวการศึกษาต่อ ด้านอาชีวศึกษาให้กับผู้เรียนและดำเนินการดังนี้ 1. คัดเลือกผูเขาเรียน 2. ทําสัญญาการฝกอาชีพ ปฐมนิเทศผูเรียน และประชุมผูปกครอง 3. จัดทําแผนการจัดการเรียนรูหรือแผนการฝกอาชีพร่วมกับสถานประกอบการ 4. จัดการเรียนการสอนและการฝกอาชีพ สถานศึกษาดำเนินการแต่งตั้งหัวหน้างานทวิภาคีและครูที่ปรึกษานักเรียนระบบทวิภาคีให้ดำเนินการ นิเทศการจัดการเรียนการสอนและการฝกอาชีพของผู้เรียน ในสถานประกอบการ และดำเนินการวัดและ ประเมินผลรายวิชาและการฝกอาชีพร่วมกับสถานประกอบการ สถานศึกษาดำเนินการตามแผนงานการช่วยเหลือผู้เรียนระบบทวิภาคีให้สามารถสำเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรและติดตามผู้สําเร็จการศึกษาผูเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี โดยมีการสรุปผลการดําเนินงาน และรายงานประจําปในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีให้หน่วยงานต้นสังกัดได้รับทราบอย่างต่อเนื่อง 2) จุดเด่น ผู้บริหารวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีมีความรู้ความเข้าใจ ในนโยบายส าคัญ ที่หน่วยงานต้นสังกัดมอบหมาย โดยการจัดประชุมสื่อสารให้คณะกรรมการบริหาร ครู บุคลากร และ ผู้เรียนรวมทั้งผู้ปกครองได้รับทราบนโยบายส าคัญของหน่วยงานต้นสังกัด และร่วมกันก าหนดแผนงาน โครงการ กิจกรรม และด าเนินงานเพื่อให้นโยบายส าคัญของหน่วยงานต้นสังกัดประสบผลส าเร็จตาม เป้าหมาย 3) จุดที่ควรพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีต้องดำเนินการประชาสัมพันธ์และแนะแนวผู้เรียนให้มีความ เข้าใจถึงประโยชน์ในการเรียนระบบทวิภาคีเพื่อเพิ่มจำนวนผู้เรียนระบบทวิภาคีตามนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ 4) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีมีการประสานงานกับสถานประกอบการในเขตพื้นที่ ดำเนินการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี


14 มาตรฐานที่ 3 การสร้างสังคมแหงการเรียน ตัวชี้วัดที่ 3.1 ความร่วมมือในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ 1) ผลสัมฤทธิ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ผูบริหารสถานศึกษาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีสวนรวมในการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา การจัดทําแผนพัฒนาสถานศึกษา แผนปฏิบัติงานประจําปีและการดําเนินงานโครงการระดม ทรัพยากรเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษา โครงการทัศนศึกษา โครงการจิตอาสาบริการชุมชนโดยใช้เทคโนโลยี ที่ทันสมัยในการประสานงานและการดำเนินงาน ผู้บริหารสถานศึกษาครูและบุคลากรทางการศึกษามีสวนรวมในการดําเนินงานโครงการ ระดมทรัพยากรเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาทำความร่วมมือกับหน่วยงานและชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชนใน การระดมทรัพยากรบุคคลและจัดหาสื่ออุปกรณ์เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการพัฒนาการจัดการศึกษา จัดหา แหล่งเรียนรู้ตามโครงการทัศนศึกษาให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะและเพิ่มวิสัยทัศน์สามารถนำความรู้ที่ได้รับไป บริการชุมชน 2) จุดเด่น ผู้บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษามีสวนรวม ในการพัฒนาการจัดการศึกษาและสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานและชุมชนทั้งภาครัฐและเอกชนในการระดม ทรัพยากรบุคคลและจัดหาสื่ออุปกรณ์เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการพัฒนาการจัดการศึกษา สถานศึกษามีเครือข่ายความร่วมมือในการระดมทรัพยากรที่หลากหลายเพื่อยกระดับคุณภาพการ จัดการศึกษาภายในประเทศ มีผลการประเมินโครงการในระดับดีทุกโครงการและดำเนินการอย่างต่อเนื่อง สถานศึกษาส่งเสริมให้ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และผูเรียนเข้าร่วมกิจกรรมโครงการจิต อาสาบริการชุมชน ผลการประเมินความพึงพอใจผู้รับบริการมีความพึงพอใจในการให้บริการในระดับดีมาก 3) จุดที่ควรพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีขยายเครือข่ายความร่วมมือในการระดมทรัพยากร ที่หลากหลายเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาภายในประเทศและมีการเพิ่มโครงการบริการวิชาชีพ สู่ชุมชน 4) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีส่งเสริมให้ครูและผู้เรียนจัดทำโครงการ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ที่สามารถนำมาใช้ในการบริการวิชาชีพสู่ชุมชน ตัวชี้วัดที่ 3.2 นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ และงานวิจัย 1) ผลสัมฤทธิ์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีดำเนินงานโครงการแข่งขันทักษะวิชาชีพและการ ประกวดผลงานนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ในระดับสถานศึกษาและคัดเลือกผู้ที่มีผลการแข่งขันชนะเลิศเข้าร่วม การการประกวดผลงานกับสมาคมวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระ ราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี(กลุ่มภาคกลาง)และเข้าร่วมการประกวด


15 นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และการแข่งขันทักษะวิชาชีพพื้นฐานองค์การนักวิชาชีพในอนาคต แห่งประเทศไทยระดับจังหวัดและระดับภาคของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผูเรียนไดรับรางวัลจากการประกวดนวัตกรรม สิ่งประดิษฐงานสรางสรรค จำนวน 5 ชิ้นงาน รางวัล เหรียญทองแดงระดับจังหวัดจำนวน 3 ชิ้นงาน รางวัลเหรียญทองแดงระดับชาติจำนวน 2 ชิ้นงาน 1) จุดเด่น ผู้บริหารวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีส่งเสริมสนับสนุนให้ครูและผู้เรียนได้มีการนำ ความรู้ด้านวิชาชีพไปประยุกต์ใช้ในการให้บริการวิชาชีพกับชุมชนและนำนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ไปต่อยอด ในเชิงพาณิชย์เพื่อสร้างอาชีพและรายได้ 2) จุดที่ควรพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีต้องมีการส่งเสริมผู้เรียนให้มีการพัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐงานสรางสรรค์โดยร่วมกับชุมชนและองกรต่างๆเพิ่มขึ้นเพื่อเพิ่มจำนวนนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ ที่ สามารถใช้ประโยชน์และเผยแพร่สู่สาธารณชน 3) ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีส่งเสริมให้ครูเข้าร่วมการอบรมพัฒนาความรู้ในการผลิต นวัตกรรม สิ่งประดิษฐงานสรางสรรค์กับหน่วยงาน องค์กรต่างๆเพื่อนำความรู้มาพัฒนาผู้เรียน ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาที่เป็นแบบอย่างที่ดี (Best Practice) วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีมีการพัฒนาการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงของสังคมในศตวรรษที่ 21 โดยร่วมมือกับบุคคล ชุมชน องค์กรต่างๆทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชนให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา การจัดทรัพยากรทางการศึกษา กระบวนการเรียนรู้ การบริการ ทางวิชาการและวิชาชีพ การพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของสังคม ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้ และสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างผลงานได้รับรางวัลในระดับชาติ สถานประกอบการ หนวยงานภาครัฐและเอกชนให้การยอมรับความสามารถของผู้สำเร็จการศึกษา ผู้สำเร็จการศึกษาได้งานทำ และนำความรู้ที่ได้รับไปประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากผลการสำรวจความพึงพอใจ ของสถานประกอบการ หน่วยงาน ที่ผู้สำเร็จการศึกษาทำงาน ศึกษาต่อมีผลการประเมินในระดับดี ผู้เรียนของสถานศึกษาได้รับพระราชทานรางวัลจากสมเด็จ พระเทพรัตน์ราชสุดา สยามบรมราชกุมารี “ความเป็นเลิศด้านอาชีวศึกษา”ปีการศึกษา 2559 ปีการศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2563 และปีการศึกษา 2564


16 ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษาประกอบด้วยสาระสำคัญ ดังนี้ 2.1 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานศึกษา ได้แก่ 2.1.1 ที่ตั้ง วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรี 97 ซอยศึกษา ถนนเทศบาลดำริ ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมืองปราจีนบุรี จังหวัดปราจีนบุรี รหัสไปรษณีย์ 25000 โทรศัพท์037-211401 Website : http://www.panichprachin.ac.th E-mail : [email protected] สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 2.1.2 ประวัติสถานศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรี ได้รับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งครั้งแรก เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2525 โดยใช้ชื่อโรงเรียนศึกษาพณิชยการปราจีนบุรี ตั้งอยู่เลขที่ 97 ซอย ศึกษา ถนนเทศบาลดำริ ตำบลหน้าเมือง อำเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี ตามใบอนุญาตเลขที่ 59/2525 มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 6 ไร่ 3 งาน 47 ตารางวา มีนายสุชาติ วรมานะกุล เป็นผู้รับใบอนุญาต ผู้จัดการ และครูใหญ่ เปิดทำการสอนประเภทวิชา พาณิชยกรรม แบ่งออกเป็น 3 แผนก ได้แก่ การบัญชี การขาย และเลขานุการ ตามหลักสูตรสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2524 และขอเปลี่ยนแปลงชื่อโรงเรียนจาก “โรงเรียนศึกษาพณิชยการปราจีนบุรี”เป็น “โรงเรียนศึกษาพณิชยการปราจีนบุรี”ตามใบอนุญาตเลขที่ ปจ.15/2534 ตั้งแต่วันที่ 8 มกราคม 2534 ปีการศึกษา 2538 ได้เปิดทำการเรียน การสอนหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ จำนวน 3 สาขา ได้แก่ สาขาวิชา การบัญชีสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ และ สาขาวิชาการตลาด โดยใช้หลักสูตรของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2536 ปีการศึกษา 2543 ได้ขอเปลี่ยนแปลงหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชีสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ และสาขาวิชาการตลาด โดยใช้หลักสูตรของ กรมอาชีวศึกษา พ.ศ. 2540 ปีการศึกษา 2544 ขออนุญาตแต่งตั้ง นายนพดล วรมานะกุล เป็นผู้จัดการและแต่งตั้ง นางกนกพร วรมานะกุล เป็นครูใหญ่ ตามใบอนุญาตที่ ปจ.02/2544 และตามใบอนุญาตที่ ปจ.03/2544 ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2544 ในปีการศึกษา 2548 ได้ปรับลดขนาดที่ดินให้โรงเรียนหทัยชาติจำนวน 1 ไร่ 2 งาน จึงเหลือพื้นที่ จำนวน 5 ไร่1งาน 40 ตารางวา ตามใบอนุญาตที่ ปจ.81/2548 ตั้งแต่วันที่ 18 มกราคม 2548 ปีการศึกษา 2551 เปิดการเรียนการสอนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) โดยใช้หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2545 (ปรับปรุง 2546) ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประเภท


17 วิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาพณิชยการ 3 สาขางานได้แก่ สาขางานการบัญชี สาขางาน คอมพิวเตอร์ธุรกิจและ สาขางานการขาย ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ใช้หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พ.ศ. 2546 ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาประเภทวิชา บริหารธุรกิจ เปิดสอน 3 สาขาวิชาได้แก่ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด ปีการศึกษา 2554 ได้ขออนุญาตเพิ่มหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) สาขางานธุรกิจ ค้าปลีก ตามใบอนุญาตเลขที่ ปจ 009/2554 ซึ่งเป็นการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบทวิภาคีโดยประสาน ความร่วมมือกับบริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด ( มหาชน) และศูนย์การเรียนรู้ปัญญาภิวัฒน์ในการวางแผนและปฏิบัติการ จัดการเรียนการสอน การฝึกวิชาชีพในระบบทวิภาคี และปีการศึกษา 2554 ได้ขอเปลี่ยนแปลงรายการ ในตราสารจัดตั้งโรงเรียน หมวด 1 ชื่อ ประเภท ระดับ การศึกษาข้อ 1 โรงเรียนมีชื่อว่าจากเดิม“โรงเรียน พณิชยการปราจีนบุรี” ชื่อเป็นภาษาอังกฤษ “ Prachinburi Commercial School ”เปลียนเป็น “ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรี ”ชื่อเป็นภาษาอังกฤษ“ Prachinburi Commercial Vocational College ” ตามใบอนุญาตเลขที่ปจ 3/2555 ตั้งแต่วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2555 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2555 มีนายสุชาติ วรมานะกุลเป็นผู้รับใบอนุญาต นายนพดล วรมานะกุล เป็นผู้จัดการ และนางกนกพร วรมานะกุล วอง เป็นผู้อำนวยการ ปีการศึกษา 2556 ได้ขออนุญาตใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ของสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 4 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด และสาขาวิชาธุรกิจค้าปลีก ปีการศึกษา 2557 ได้ขออนุญาตใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พ.ศ.2557 ของสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประเภทวิชาบริหารธุรกิจสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาวิชาการตลาดและสาขาวิชาธุรกิจค้าปลีกได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนแปลงรายละเอียดเกี่ยวกับกิจการของ วิทยาลัยตามใบอนุญาตเลขที่ 01/2557 ลงวันที่ 7 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2557 ปีการศึกษา 2562 ได้ขออนุญาตใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2562 ของสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 4 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด และสาขาวิชาธุรกิจค้าปลีก และได้มีการขอโอนและรับโอนใบอนุญาต ให้จัดตั้งวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีเลขที่ 0209/2525 ให้แก่นางกนกพร วรมานะกุล วอง (ทายาทของนายสุชาติ วรมานะกุล) ตั้งแต่วันที่ 24 กันยายน 2562 ตามหนังสืออนุญาตเลขที่สอช.6/2563 ลงวันที่ 27 เดือน มกราคม พ.ศ. 2563 ปีการศึกษา 2563 ได้ขออนุญาตใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พ.ศ.2563 ของสำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประเภทวิชาบริหารธุรกิจสาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิตัล สาขาวิชาการตลาดและสาขาวิชาธุรกิจค้าปลีกได้รับอนุญาตให้เปลี่ยนแปลงรายละเอียดเกี่ยวกับกิจการของ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีตามคำสั่งของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ 2.1.3 การจัดการศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรี จัดการศึกษาระบบปกติและระบบทวิภาคีใช้หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2562 และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พ.ศ.2563 ของสำนักงาน


18 คณะกรรมการการอาชีวศึกษา จัดการเรียนการสอนมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้พัฒนาด้านความรู้ ทักษะวิชาชีพและ ทักษะชีวิตเป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ 2.1.4 สภาพชุมชน สภาพเศรษฐกิจ สังคม วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีตั้งอยู่ในเขตชุมชนอำเภอเมืองปราจีนบุรี ซึ่งจังหวัด ปราจีนบุรีเป็นจังหวัดในภาคตะวันออกของประเทศไทย นับเป็นจังหวัดแห่งมรดกโลก เนื่องจากมีอุทยาน แห่งชาติที่เป็นมรดกโลกถึง 3 แห่ง และเป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีการพบซากโบราณสถาน ในหลายพื้นที่ของจังหวัด นอกจากนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ หลายแห่ง ทั้งยังเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ ป่ามากที่สุดในภาคตะวันออก ปัจจุบันจังหวัดปราจีนบุรีได้รับการพัฒนา จนกลายเป็นหัวเมืองรองในด้าน เศรษฐกิจที่สำคัญของภูมิภาค มีการลงทุนจากต่างประเทศ ทำให้เกิดนิคมอุตสาหกรรมเกิดขึ้นใหม่มากมาย นักเรียนนักศึกษาของวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีส่วนใหญ่ผู้ปกครอง มีอาชีพรับ ราชการเกษตรกร ค้าขาย รับจ้าง นักเรียน นักศึกษาที่จบการศึกษาส่วนมากได้งานทำ โดยทำงาน ในโรงงาน อุตสาหกรรมเขต 304 จังหวัดปราจีนบุรีเป็น 1 ใน 9 จังหวัดที่คณะรัฐมนตรีกำหนดการพัฒนาในรูปแบบ "ซูเปอร์คลัสเตอร์" ด้วยศักยภาพการพัฒนาสินค้าไทยให้เกิดการแข่งขันได้จากการต่อยอด จาก 5 อุตสาหกรรม เดิมที่เรียกว่า First S-Curve ประกอบด้วย 1. อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ 2. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ 3. อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 4. การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ 5. อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารไปสู่ New S-Curve ประกอบด้วย อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพ และเคมีชีวภาพ อุตสาหกรรมดิจิทัลและ อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร 2.2 แผนภูมิการบริหารของสถานศึกษา คณะผู้บริหารวิทยาลัย ข้อมูล รายละเอียด ผู้รับใบอนุญาต เบอร์โทรศัพท์ E- mail address วุฒิการศึกษาสูงสุด ดำรงตำแหน่งนี้ตั้งแต่ นางกนกพร วรมานะกุล วอง 089-8314657 [email protected], hathaichat @ gmail. com ปริญญาเอก DOCTOR OF PHILOSOPHY IN MANAGEMENT (Ph. D) วันที่ 24 กันยายน 2562 ผู้จัดการ เบอร์โทรศัพท์ E- mail address วุฒิการศึกษาสูงสุด ดำรงตำแหน่งนี้ตั้งแต่ นายนพดล วรมานะกุล 081- 8635496 [email protected] ปริญญาโท ครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) สาขาผู้นำทางสังคม ธุรกิจ และการเมือง วันที่ 1 มิถุนายน 2544


19 ข้อมูล รายละเอียด ผู้อำนวยการ เบอร์โทรศัพท์ E- mail address วุฒิการศึกษาสูงสุด ดำรงตำแหน่งนี้ตั้งแต่ นางกนกพร วรมานะกุล วอง 089-8314657 [email protected] ปริญญาเอก DOCTOR OF PHILOSOPHY IN MANAGEMENT (Ph. D) วันที่ 1 มิถุนายน 2544 รองผู้อำนวยการ เบอร์โทรศัพท์ E- mail address วุฒิการศึกษาสูงสุด ดำรงตำแหน่งนี้ตั้งแต่ นางรัตนาพร เกียรติอมรเวช (ฝ่ายแผนงานและความร่วมมือ) 081-2853842 rattana_ pcs @ hotmail.co.th ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) วันที่ 1 มิถุนายน 2558 รองผู้อำนวยการ เบอร์โทรศัพท์ E- mail address วุฒิการศึกษาสูงสุด ดำรงตำแหน่งนี้ตั้งแต่ นางวิจิตรา วรมานะกุล (ฝ่ายวิชาการ) 063-5929419 eak_ pcs @ hotmail.com ปริญญาโท บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) วันที่ 1 มิถุนายน 2558 รองผู้อำนวยการ เบอร์โทรศัพท์ วุฒิการศึกษาสูงสุด ดำรงตำแหน่งนี้ตั้งแต่ นางกรรณิกา ศรีภักดี(ฝ่ายบริหารทรัพยากร) 064- 6246992 ปริญญาตรีครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) วันที่ 1 มิถุนายน 2558 รองผู้อำนวยการ เบอร์โทรศัพท์ วุฒิการศึกษาสูงสุด ดำรงตำแหน่งนี้ตั้งแต่ นางสาวดวงกมล มูลพลาศัย (ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษา) 081-3772397 ปริญญาตรีครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) วันที่1 มิถุนายน 2558 คณะกรรมการบริหารวิทยาลัย คณะกรรมการบริหารชุดปัจจุบัน ตามที่ตราสารจัดตั้งของสถานศึกษากำหนด ที่ ชื่อ – สกุล ตำแหน่งในคณะกรรมการ ระยะเวลาการ ดำรงตำแหน่ง 1 นางกนกพร วรมานะกุล วอง ประธานกรรมการ 2565 – 2566 2 นายนพดล วรมานะกุล รองประธานกรรมการ 2565 – 2566 3 นางวิจิตรา วรมานะกุล กรรมการและเลขานุการ 2565 – 2566 4 นายภูเบศร วรมานะกุล ผู้แทนครู 2565 – 2566 5 นางกรรณิกา ศรีภักดี ผู้ช่วยกรรมการและเลขานุการ 2565 – 2566 6 นางรัตนาพร เกียรติอมรเวช ผู้แทนครู 2565 – 2566 7 นาง.อุไรวรรณ วรมานะกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ 2565 – 2566 8 นายสถาพร วัฒนธรรม ผู้ทรงคุณวุฒิ 2565 – 2566


20 แผนภูมิการบริหารของวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรี


21 2.3 ข้อมูลสถานศึกษา 2.3.1 ข้อมูลด้านผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษา ข้อมูลด้านผู้เรียน จำนวนผู้เรียนจำแนกตามหลักสูตร ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน และชั้นปี (สำรวจ ณ วันที่ 10 สิงหาคม 2564) หลักสูตร/ประเภทวิชา ชั้นปี รวม 1 2 3 ปกติ ทวิภาคี ปกติ ทวิภาคี ปกติ ทวิภาคี ปกติ ทวิภาคี ผู้เรียนรวมทั้งสถานศึกษา 224 12 236 10 118 20 578 42 ปวช. 110 4 86 6 118 20 314 30 ปวส. 114 8 150 4 0 0 264 12 ปวช. แยกตามประเภทวิชา ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาการบัญชี 26 0 21 0 34 0 81 0 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 84 0 65 0 84 0 233 0 สาขาวิชาการตลาด 0 0 0 0 0 0 0 0 สาขาวิชาธุรกิจค้าปลีก 0 4 0 6 0 20 0 30 รวม ปวช.ทั้งหมด 314 30 344 ปวส. แยกตามประเภทวิชา ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี 31 0 38 0 0 0 69 0 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล 65 0 68 0 0 0 133 0 สาขางานการตลาด 18 0 44 0 0 0 62 0 สาขาวิชาธุรกิจค้าปลีก 0 8 0 4 0 0 0 12 รวม ปวส.ทั้งหมด 264 12 276 ผู้เรียนรวมทั้งสถานศึกษา 620


ข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษหลักสูตร/ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน จำนวนผู้สำเร็จ การศึกษา ปีการศึกษา 2561 ปวช. พาณิชยกรรม การบัญชี 37 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 42 การตลาด - ธุรกิจค้าปลีก 15 รวม ปวช. 94 หลักสูตร/ประเภทวิชา/สาขาวิชา/สาขางาน จำนวนผู้สำเร็จ การศึกษา ปีการศึกษา 2561 ปวส. บริหารธุรกิจ การบัญชี 41 สาขาวิชาเทคโนโลยี ธุรกิจดิจิทัล 43 การตลาด 25 ธุรกิจค้าปลีก 0 รวม ปวส. 109 รวม ปวช. ปวส. 203


22 ษาข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา จำนวนผู้สำเร็จ การศึกษา ปีการศึกษา 2562 จำนวนผู้สำเร็จ การศึกษา ปีการศึกษา 2563 จำนวนผู้สำเร็จ การศึกษา ปีการศึกษา 2564 จำนวนผู้สำเร็จ การศึกษา ปีการศึกษา 2565 34 25 21 18 53 59 59 49 - - - - 9 13 29 17 96 97 109 84 จำนวนผู้สำเร็จ การศึกษา ปีการศึกษา 2562 จำนวนผู้สำเร็จ การศึกษา ปีการศึกษา 2563 จำนวนผู้สำเร็จ การศึกษา ปีการศึกษา 2564 จำนวนผู้สำเร็จ การศึกษา ปีการศึกษา 2565 53 49 28 22 44 41 40 29 24 19 14 18 11 2 6 2 132 111 88 71 228 208 197 155


23 2.3.2 ข้อมูล ด้านบุคลากรของสถานศึกษา ประเภท บุคลากร จำนวน (คน) สถานภาพ ใบประกอบ วิชาชีพ วุฒิการศึกษา ครู ประจำ ครู พิเศษ มี ไม่มี ปริญญา เอก ปริญญา โท ปริญญา ตรี ต่ำกว่า ปริญญาตรี ผู้รับ ใบอนุญาต/ ผู้อำนวยการ 1 1 - 1 - 1 - - - ผู้จัดการ 1 1 - 1 - - 1 - - ครู 21 20 1 17 4 - 6 15 - บุคลากร ทางการ ศึกษา - - - - - - - - - บุคลากร สนับสนุน 3 - - - - - - - 3 รวม 26 22 1 19 4 1 7 15 3


24 จำแนกครูตามสาขาวิชา/สาขางาน สาขาวิชา/สาขา งาน จำนวน (คน) สถานภาพ ใบประกอบ วิชาชีพ วุฒิการศึกษา ครู ประจำ ครู พิเศษ มี ไม่มี ปริญญา เอก ปริญญา โท ปริญญา ตรี ต่ำกว่า ปริญญา ตรี ประเภทวิชา พาณิชยกรรม สาขาวิชาการบัญชี 4 4 0 3 1 0 0 4 0 สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 6 6 0 4 2 0 0 6 0 สาขาวิชาการตลาด 0 0 0 0 0 0 0 0 0 สาขาวิชาธุรกิจ ค้าปลีก 1 1 0 1 0 0 0 1 0 รวมครูปวช. 11 11 0 8 3 0 0 11 0 ประเภทวิชา บริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี 3 3 0 3 0 0 3 0 0 สาขาวิชา เทคโนโลยี ธุรกิจดิจิทัล 3 3 0 3 0 0 2 1 0 สาขางานการตลาด 3 3 0 3 0 0 1 2 0 สาขาวิชาธุรกิจ ค้าปลีก 1 1 1 0 1 0 0 1 0 รวมครูปวส. 10 9 1 9 1 0 6 4 0 รวมครูทั้งหมด 21 20 1 17 4 0 6 15 0 หมายเหตุ ครูสอนวิชาสามัญบางรายวิชา สอนทั้งระดับปวช.และระดับปวส. ครูที่ไม่มีใบประกอบวิชาชีพจำนวน 4 คน สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ระดับ ปวช. จำนวน 3 คน คือ นางสาวชวนพิศ วงษ์พันธุ์ นางสุกัญญา บุญแจ้ง นางสาวจินต์จุฑา ใจเอี้อ ระดับ ปวส. จำนวน 1 คน คือ นายนัยนรินทร์ ปราสาททอง


25 จำแนกครูตามสาขาวิชาที่สอน หลักสูตร/ประเภทวิชา สาขาวิชา ที่ รายชื่อ ปวช. ประเภทวิชาพาณิชยกรรม สาขาวิชาการบัญชี 1 นางกรรณิกา ศรีภักดี 2 นางสุกัญญา บุญแจ้ง 3 นางจริยา สุทธิประภา 4 นางชนิษฐา เสนาใหญ่ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 1 ว่าที่ร้อยตรีวรพงศ์ คอมเหลา 2 นางสาวจินต์จุฑา ใจเอื้อ 3 นางสาววนิดา ทองเอม 4 นางสาวรุ่งฤดี คำมณี 5 นายปัญญา บุญครุฑ 6 นางสาวชวนพิศ วงษ์พันธุ์ สาขาวิชาการตลาด - -- สาขาวิชาธุรกิจค้าปลีก 1 นางมณฑิตา คุ้มพงษ์พันธุ์ รวม 11


26 จำแนกครูตามสาขาวิชาที่สอน หลักสูตร/ประเภทวิชา สาขาวิชา ที่ รายชื่อ ปวส. ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการบัญชี 1 นางรัตนาพร เกียรติอมรเวช 2 นางสาวน้ำผึ้ง ธรรมวัตร 3 นางวิจิตรา วรมานะกุล สาขาวิชาเทคโนโลยี ธุรกิจดิจิทัล 1 นายณฐพล มังคลา 2 นายผดุงเดช แก้วเชื้อ 3 นางสาวชาลินี สมจิต สาขาวิชาการตลาด 1 นายภูเบศร วรมานะกุล 2 นางรัตนากร วงษ์มาก 3 นางสาวดวงกมล มูลพลาศัย สาขาวิชาธุรกิจค้าปลีก 1 นายนัยนรินทร์ ปราสาททอง รวม 10


รายชื่อครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิที่ ชื่อ-ชื่อสกุล วุฒิการศึกษา 1 นางกนกพร วรมานะกุล วอง ศิลปศาสตรบัณฑิต(ศศ.บ.) (บริหารรัฐกิจ) บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) DOCTOR OF PHILOSOPHY IN MANAGEMENT (Ph.D) สาขา บริหารงานทั่วไป 2 นายนพดล วรมานะกุล ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) ครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.) ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต (ศศ.ม.) 3 นางสาวดวงกมล มูลพลาศัย ครุศาสตรบัณฑิต (คบ.) 4 นายปัญญา บุญครุฑ วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) 5 นางกรรณิกา ศรีภักดี ครุศาสตรบัณฑิต (คบ.) 6 นางรัตนากร วงษ์มาก ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) 7 นางมณฑิตา คุ้มพงษ์พันธุ์ ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) 8 นางชนิษฐา เสนาใหญ่ ครุศาสตรบัณฑิต (คบ.)


27 ณิชยการปราจีนบุรี ปีการศึกษา 2565 บรรจุเมื่อวันที่ เลขที่ใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพครู/ผู้บริหาร ของ คุรุสภา เลขที่หนังสืออนุญาต ปฏิบัติการสอนโดยไม่มี ใบประกอบวิชาชีพ 1 มกราคม 2533 62423021957737 1 มิถุนายน 2543 62409002052436 1 มกราคม 2533 62403022018424 1 มิถุนายน 2532 62403022018459 15 กรกฎาคม 2537 62403022018432 15 กรกฎาคม 2537 62403022018416 1 มิถุนายน 2538 62403022208355 1 มิถุนายน 2538 62403022208339


รายชื่อครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิที่ ชื่อ-ชื่อสกุล วุฒิการศึกษา 9 นางสาวรุ่งฤดี คำมณี ครุศาสตรบัณฑิต (คบ.) 10 นางรัตนาพร เกียรติอมรเวช บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) สาขาการบัญชี บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) 11 นางวิจิตรา วรมานะกุล บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) สาขาการเงินและการธนาคาร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) 12 นายภูเบศร วรมานะกุล บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) รัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต (รป.ม.) 13 นายณฐพล มังคลา ครุศาสตรบัณฑิต (คบ.) บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) 14 นางจริยา สุทธิประภา บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) 15 ว่าที่ร้อยตรีวรพงศ์ คอมเหลา บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) สาขาคอมพิวเตอร์


28 ณิชยการปราจีนบุรี ปีการศึกษา 2565 บรรจุเมื่อวันที่ เลขที่ใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพครู/ผู้บริหาร ของ คุรุสภา เลขที่หนังสืออนุญาต ปฏิบัติการสอนโดยไม่มี ใบประกอบวิชาชีพ 1 กรกฎาคม 2539 62403021456452 1 พฤษภาคม 2541 62403022018467 15 มีนาคม 2544 62403022018441 1 กันยายน 2545 62403022208347 1 มีนาคม 2548 63403021462469 2 มิถุนายน 2551 63303020175602 1 มิถุนายน 2552 58209000842015


รายชื่อครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิที่ ชื่อ-ชื่อสกุล วุฒิการศึกษา 16 นางสาวชาลินี สมจิต บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) วิชาเอก การจัดการทั่วไป บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) 17 นางสาวน้ำผึ้ง ธรรมวัตร บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) วิชาเอก การบัญชี บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) วิชาเอก การตลาด 18 นางสาววนิดา ทองเอม บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) วิชาเอก คอมพิวเตอร์ 19 นายผดุงเดช แก้วเชื้อ ครุศาสตรบัณฑิต (คบ.) วิชาเอก คอมพิวเตอร์ 20 นางสาวชวนพิศ วงษ์พันธุ์ บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) วิชาเอก คอมพิวเตอร์ 21 นางสุกัญญา บุญแจ้ง บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) วิชาเอก การบัญชี 22 นางสาวจินต์จุฑา ใจเอื้อ บริหารธุรกิจบัณฑิต (บธ.บ.) วิชาเอก คอมพิวเตอร์ 23 นายนัยนรินทร์ ปราสาททอง วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)


29 ณิชยการปราจีนบุรี ปีการศึกษา 2565 บรรจุเมื่อวันที่ เลขที่ใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพครู/ผู้บริหาร ของ คุรุสภา เลขที่หนังสืออนุญาต ปฏิบัติการสอนโดยไม่มี ใบประกอบวิชาชีพ 1 กุมภาพันธ์ 2553 63109000027508 1 กรกฎาคม 2556 58109000486301 1 กรกฎาคม 2556 58109000486310 1 มิถุนายน 2560 59109000292360 - - สัญญาจ้างเลขที่ วันที่ 16 พฤษภาคม 2564 สัญญาจ้างเลขที่ วันที่ 16 พฤษภาคม 2564 - - สัญญาจ้างเลขที่ วันที่ 16 พฤษภาคม 2564


30 2.3.3 ข้อมูลด้านหลักสูตรที่จัดการเรียนการสอน วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีเปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา • สาขาวิชาการบัญชี(Accounting) สาขางานการบัญชี • สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ (Business Computer) สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ • สาขาวิชาการตลาด (Marketing) สาขางานการตลาด • สาขาวิชาธุรกิจค้าปลีก (Retail Business) สาขางานการค้าปลีกร้านสะดวกซื้อ เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา • สาขาวิชาการบัญชี (Accounting) สาขางานการบัญชี • สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล (Digital Business Technology) • สาขาวิชาการตลาด (Marketing) สาขางานการตลาด • สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก(Retail Business) สาขางานธุรกิจร้านสะดวกซื้อ


โครงสร้างหลักสูต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ระบบปกติ ระบบทวิภาคี สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด


31 ตร หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ระบบปกติ ระบบทวิภาคี ก สาขาวิชาการบัญชี สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก


32 2.3.4 ข้อมูลด้านอาคารสถานที่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการปราจีนบุรีมีพื้นที่ 5 ไร่ 1 งาน 40 ตารางวา อาคารหลัก 1. อาคารไม้ 2 ชั้น (อาคาร 1) จำนวน 1 หลัง 2. อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 ชั้น (อาคาร 3,4) จำนวน 2 หลัง อาคารประกอบ 1. อาคารเอนกประสงค์ (อาคารหอประชุม) จำนวน 1 หลัง 2. โรงอาหาร จำนวน 1 หลัง 3. หอพัก จำนวน 3 หลัง ห้องปฏิบัติการมีทั้งหมด 10 ห้อง ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ 4 ห้อง ห้องปฏิบัติการพิมพ์ดีดไทย 1 ห้อง ห้องปฏิบัติการพิมพ์ดีดภาษาอังกฤษ 1 ห้อง ห้องปฏิบัติการบัญชี 1 ห้อง ห้องปฏิบัติการตลาด 1 ห้อง ห้องปฏิบัติการศูนย์บ่มเพาะ 1 ห้อง ห้องปฏิบัติการองค์การนักวิชาชีพในอนาคต แห่งประเทศไทย 1 ห้อง ห้องประกอบมีทั้งหมด 5 ห้อง ห้องพยาบาล 1 ห้อง ห้องสมุด 1 ห้อง ห้องแนะแนว 1 ห้อง ห้องประชุม 1 ห้อง ห้องพุทธศาสนา 1 ห้อง เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมโปรแกรมใช้งานมีทั้งหมด จำนวน 154 เครื่อง เครื่องใช้สำนักงาน(ปริ้นเตอร์) จำนวน 9 เครื่อง


2.3.5 ข้อมูลด้านงบประมาณ วิทยาลัยอาชีวงบประมาณรับ-จ่รายรับ รายการ จำนวนเงิน ค่าธรรมเนียมการศึกษา เงินเดือนครู ค่าธรรมเนียมการเรียน ปวช. 64,735 00 เงินเดือนบุคลากรอื่นค่าธรรมเนียมการเรียน ปวส. 2,189,760 00 ค่าตอบแทนครูและบค่าธรรมเนียมการศึกษาเงินกองทุน 516,885 00 งบปรับปรุงอาคารสค่าธรรมเนียมการศึกษาทวิภาคี 271,000 00 โครงการพัฒนาสภาพเงินอุดหนุนเป็นค่าใช้จ่ายรายหัวนักเรียน 3,558,686 84 การซ่อมแซมบำรุงรักษค่าธรรมเนียมอื่น 740,065 00 การพัฒนาสภาพแวดรายได้ทางการศึกษา 15,700 00 การซ่อมแซมหอพักผูงบจัดหา/พัฒนาเครืรายได้เงินอุดหนุน15 ปีเรียนฟรี โครงการจัดหาและบำค่าพัฒนาคุณภาพการศึกษา 288,201 50 กิจกรรมซ่อมบำรุงรักความพร้อมในการใช้ภาคเรียนที่1 ( 314x475 ) =149,150 กิจกรรมการจัดหาครใช้งาน ภาคเรียนที่2 ( 287x484.50)= 139,051.50 โครงการบริหารจัดกอินเทอร์เน็ตความเร็วค่าหนังสือเรียน (314x1,000)+(287x1,000) 502,728 20 ค่าอุปกรณ์การเรียน(314x230)+(287x260) 146,840 00


33 วศึกษาพณิชยการปราจีนบุรี าย ณ วันที่ 30 เมษายน 2566 รายจ่าย รายการ จำนวนเงิน 4,919,128 10 น 275,873 00 บุคลากร 520,851 00 5,715,852 10 สถานที่ 224,663 67 พแวดล้อมและซ่อมบำรุง อาคารสถานที่ 224,663 67 าอาคารเรียน ห้องเรียนและห้องปฏิบัติการ 108,591 10 ดล้อม ภูมิทัศน์ของสถานศึกษา 34,150 00 ผู้เรียน 81,922 57 รื่องมือ อุปกรณ์สื่อการสอน วัสดุฝึก 825,541 78 บำรุงรักษาครุภัณฑ์ 738,259 43 กษาคอมพิวเตอร์และระบบสนับสนุนให้มี ช้งาน 8,784 43 รุภัณฑ์ให้เพียงพอและมีความพร้อมในการ 729,475 00 การระบบฐานข้อมูลสารสนเทศและระบบ วสูง 87,282 35


วิทยาลัยอาชีวศึกงบประมาณรับ-จ่รายรับ รายการ จำนวนเงิน ค่าเครื่องแบบนักเรียน (314x900) 282,600 00 งบจัดหา/พัฒนาสำหรัรายได้เงินอุดหนุนค่าอุปกรณ์สายอาชีพ 20,790 00 โครงการแนะแนวการศึเงินสนับสนุนจากภายนอก กิจกรรมการให้บริการดอกเบี้ยรับ โครงการจิตอาสาบริการายได้อื่น 1,420,000 00 กิจกรรมแบ่งปันน้ำใจสำงบในการส่งเสริมสนับดำเนินการจัดประกวดโครงการแข่งขันทักษะวิสิ่งประดิษฐ์ กิจกรรมการแข่งขันทักกิจกรรมการแข่งขันทักกิจกรรมการประกวดผลงานการจัดทำแผนการจังบดำเนินงานตามโครงและเสริมสร้างความเป็โครงการพัฒนาคุณธรรกิจกรรมการอบรมธรรมกิจกรรมทำบุญและฟังพ


34 กษาพณิชยการปราจีนบุรี าย ณ วันที่ 30 เมษายน 2566 รายจ่าย รายการ จำนวนเงิน รับการบริการวิชาการและวิชาชีพ 204,982 00 ศึกษาต่อด้านอาชีวศึกษา 201,982 00 ด้านวิชาการกับสถานศึกษาในชุมชน รชุมชน 3,000 00 ำหรับน้องๆ สนุนให้ครูและผู้เรียนจัดทำและ ดจัดแสดงโครงการนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ 72,035 50 วิชาชีพและการประกวดผลงานนวัตกรรม 67,835 50 ษะวิชาชีพภายใน 3,000 00 ษะวิชาชีพร่วมกับหน่วยงานภายนอก 61,835 50 ลงานโครงการตามหลักสูตร (Project) 3000 00 จัดการเรียนรู้รายวิชาและวิจัยในชั้นเรียน 4,200 00 งการกิจกรรมด้านการปลูกฝังจิตสำนึก ป็นพลเมืองไทยและพลโลก 187,547 00 ม จริยธรรม (287x200) 67,090 00 มะ 9,690 00 พระธรรมเทศนา 57,400 00


วิทยาลัยอาชีวศึกษงบประมาณรับ-จ่รายรับ รายการ จำนวนเงิน โครงการส่งเสริมความเกิจกรรมการเลือกตั้งปรกิจกรรมการเลือกตั้งนาโครงการส่งเสริมจิตอาสกิจกรรมฺBig Cleaningกิจกรรมบำเพ็ญประโยโครงการส่งเสริมกีฬาแกิจกรรมการแข่งขันกีฬกิจกรรมการแข่งขันกีฬโครงการเยาวชนยุคใหมกิจกรรมตรวจคัดกรองกิจกรรมการอบรมให้ค- อบรมความรู้เกี่ยวกั- การแนะนำเกี่ยวกับโครงการ TO BE Nโครงการเศรษฐกิจพอเพกิจกรรมปลูกพืชสวนครกิจกรรมการอบรมการโครงการส่งเสริมการรักกิจกรรมวันอาสาฬหบูช


35 ษาพณิชยการปราจีนบุรี าย ณ วันที่ 30 เมษายน 2566 รายจ่าย รายการ จำนวนเงิน เป็นประชาธิปไตย 2,000 00 ระธานชมรมวิชาชีพ 1,000 00 ายกอวท. 1,000 00 สาพัฒนาชุมชน 2,000 00 g Day 1,000 00 ชน์เพื่อชุมชนและสังคม 1,000 00 ละนันทนาการ 97,440 00 ฬาภายนอกสถานศึกษา (กีฬากาบัดดี้) 60,000 00 ฬาภายในสถานศึกษา 37,440 00 ม่ห่างไกลยาเสพติด 8,795 00 ผู้เรียน 219 00 วามรู้เกี่ยวกับโทษของยาเสพติด กับยาเสพติดและการคุกคามทางเพศ 6,600 00 บยาเสพติด เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด ตาม NUMBER 1 1,976 00 พียง 3,140 00 รัว 0 00 ทำบัญชีรายรับรายจ่าย 3,140 00 กชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ 2,025 00 ชาและวันเข้าพรรษา 1,300 00


วิทยาลัยอาชีวศึกงบประมาณรับ-จ่รายรับ รายการ จำนวนเงิน กิจกรรมวันเฉลิมพระชนรัชกาลที่ 10 กิจกรรมวันแม่แห่งชาติกิจกรรมวันพ่อแห่งชาติกิจกรรมวันลอยกระทงการประกวดสิ่งประดิษงานวันไหว้ครู งบพัฒนาบุคลากร โครงการพัฒนาศักยภากิจกรรมการอบรมการสกิจกรรมการอบรมการสกิจกรรมการจัดทำสื่อกโครงการทัศนศึกษาครูงานพัฒนาครูตามนโยบงบจัดหา/พัฒนาสำหรัโครงการประเมินสมรรกิจกรรมการทดสอบมากิจกรรมการทดสอบทากิจกรรมการทดสอบสม


36 ษาพณิชยการปราจีนบุรี าย ณ วันที่ 30 เมษายน 2566 รายจ่าย รายการ จำนวนเงิน นม์พรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 275 00 ิ ติ 450 00 ษฐ์กระทงใบตอง 0 00 5,057 00 31,650 00 พครูสู่โลกดิจิทัล 5,000 00 สร้างข้อสอบ Online ผ่าน Google Forms สอนในรูปแบบ Online ารสอนและงานวิจัย 12,300 00 บายของหน่วยงานต้นสังกัด 14,350 00 รับการบริหารจัดการทั่วไป 364,962 50 ถนะวิชาชีพผู้เรียน 998 00 าตรฐานวิชาชีพ 500 00 างการศึกษาระดับชาติ(V-net) -418 00 มรรถนะกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน 80- 00


วิทยาลัยอาชีวศึงบประมาณรับ-จ่รายรับ รายการ จำนวนเงิน โครงการบ่มเพาะธุรกิจและการปกิจกรรมการอบรมการเขียนแผกิจกรรมการประกวดแผนธุรกิจ กิจกรรมการผลิตสินค้าและการปโครงการพัฒนาหลักสูตรฐานสมกิจกรรมสำรวจความต้องการของสถานปรกิจกรรมประสานความร่วมมือกักิจกรรมจัดทำหลักสูตรฐานสมรกิจกรรมการใช้หลักสูตรฐานสมรโครงการส่งเสริมการเรียนรู้แบบการทำ MOU กับสถานประกอบรายได้ระหว่างเรียนของผู้เรียน กิจกรรมปฐมนิเทศผู้เรียนเพื่อเตสถานศึกษาร่วมกับสถานประกอกิจกรรมนิเทศติดตามและประเสถานศึกษาร่วมกับสถานประกอกิจกรรมการรับเกียรติบัตรรับรอโครงการส่งเสริมผู้เรียนฝึกงานตกิจกรรมปฐมนิเทศผู้เรียนและเตกิจกรรมนิเทศติดตามและประเมิ


37 ศึกษาพณิชยการปราจีนบุรี าย ณ วันที่ 30 เมษายน 2566 รายจ่าย รายการ จำนวนเงิน ประกอบการ 2,674 00 นธุรกิจ ประกอบธุรกิจ Online รรถนะ 2,000 00 ะกอบการด้านสมรรถนะวิชาชีพของผู้เรียนที่พึงประสงค์ ับสถานประกอบการในการพัฒนาหลักสูตร รรถนะ รรถนะ/การประเมินหลักสูตร บบูรณาการประสบการณ์วิชาชีพ 37,511 00 บการเพื่อการมีประสบการณ์วิชาชีพและการมี ตรียมความพร้อมในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพโดย อบการ เมินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพของผู้เรียนโดย อบการ องการฝึกประสบการณ์วิชาชีจากสถานประกอบการ ตามสาขาวิชาชีพ 3,314 00 ตรียมความพร้อมผู้เรียนก่อนออกฝึกงาน 264 00 มินผลการฝึกงาน 3,050 00


วิทยาลัยอาชีวศึกษ งบประมาณรับ-จ่าย ณ รายรับ รายการ จำนวนเงิน โครงการทัศนศึกษา (287x284.5กิจกรรมการศึกษาดูงานสถานปรโครงการอบรมทักษะการใช้เทคโนกิจกรรมการอบรมคอมพิวเตอร์ (การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้โปรแกรม Microsoft officการอบรมโปรแกรมกราฟิกผ่านเว็โครงการส่งเสริมการใช้ภาษาต่างกิจกรรมอบรมการใช้ภาษาอังกฤษโครงการระดมทรัพยากรเพื่อพัฒการจัดหาครูภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ทรงคโครงการจัดอบรมกิจกรรมองค์กาโครงการลดการบาดเจ็บและเสียชีโครงการปัจฉิมนิเทศ กิจกรรมเตรียมความพร้อมผู้เรียนที่จะงานติดตามผู้สำเร็จการศึกษาได้งภายใน 1ปี งานสำรวจความพึงพอใจต่อคุณภงานนิเทศการสอนครู


38 ษาพณิชยการปราจีนบุรี ณ วันที่ 30 เมษายน 2566 รายจ่าย รายการ จำนวนเงิน 50) 83,151 50 ระกอบการและแหล่งเรียนรู้ นโลยีเพื่อการพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 94,600 00 (314x 275)+(30x275) ce เพื่องานสำนักงาน ว็บไซต์ (Canva) ประเทศ (314x 200) 62,800 00 ษเพื่อการสื่อสาร (ปวช.1-3) นาการจัดการศึกษา 3,982 00 คุณวุฒิในสถานประกอบการ หน่วยงานร่วมพัฒนาผู้เรียน ารนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย (อวท.) 10,116 00 ชีวิตจากการไม่ใส่หมวกนิรภัยในเด็กและเยาวชน 1,115 00 32,595 00 ะสำเร็จการศึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ านทำ ศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพอิสระ - ภาพของผู้สำเร็จการศึกษา 500 00 500 00


วิทยาลัยอาชีวศึกษ งบประมาณรับ-จ่าย ณรายรับ รายการ จำนวนเงิน งานดูแลความปลอดภัยภายใงานปฐมนิเทศนักเรียน นักศึงานนัดพบผู้ปกครอง งานเยี่ยมบ้านผู้เรียน งานประกันคุณภาพและมาตการจัดทำแผนพัฒนาสถานศึการจัดทำแผนปฏิบัติการประการตรวจติดตามและประเมินการจัดทำรายงานการประเมิงานจัดทำรายงานทางการเงินการจัดทำงบกำไรขาดทุน การจัดทำงบแสดงฐานะทางกงานมอบประกาศนียบัตรผู้สำค่าสาธารณูปโภค ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด ค่าหนังสือเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่าเครื่องแบบนักเรียน ค่าอุปกรณ์สายอาชีพ 10,017,991 54


Click to View FlipBook Version