The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารเสริมความรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เล่มนี้ เป็นเอกสารที่ได้คิดค้น ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ และจัดทำขึ้นเพื่อเป็นสารสนเทศสำหรับครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) เพื่อเสริมความรู้ความเข้าใจและนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องตามแผนแม่บทภายใต้กำหนดยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561 - 2580) แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และแนวทางการสอนภาษาอังกฤษแนวใหม่ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ
ขอบเขตของเนื้อหาเอกสารเสริมความรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ครอบคลุมดังนี้ กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อความสามารถในการสื่อสาร การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเสริมความรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในการนำไปศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองและประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษให้ตรงตามหลักมาตรฐานสากล ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ตามเป้าหมายที่ได้กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงใช้ประกอบการรับการนิเทศ อันจะนำไปสู่การส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษทั้งระบบเพื่อเพิ่มระดับความสามารถให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลก
นางพิมพ์วรี วงษ์ภัทรกร
ศึกษานิเทศก์ชำนาญการ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pimwaree.mnr, 2022-03-31 01:49:33

เอกสารเสริมความรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

เอกสารเสริมความรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เล่มนี้ เป็นเอกสารที่ได้คิดค้น ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ และจัดทำขึ้นเพื่อเป็นสารสนเทศสำหรับครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) เพื่อเสริมความรู้ความเข้าใจและนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องตามแผนแม่บทภายใต้กำหนดยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561 - 2580) แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และแนวทางการสอนภาษาอังกฤษแนวใหม่ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ
ขอบเขตของเนื้อหาเอกสารเสริมความรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ครอบคลุมดังนี้ กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อความสามารถในการสื่อสาร การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเสริมความรู้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในการนำไปศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองและประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษให้ตรงตามหลักมาตรฐานสากล ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ตามเป้าหมายที่ได้กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงใช้ประกอบการรับการนิเทศ อันจะนำไปสู่การส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษทั้งระบบเพื่อเพิ่มระดับความสามารถให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลก
นางพิมพ์วรี วงษ์ภัทรกร
ศึกษานิเทศก์ชำนาญการ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาชลบุรี ระยอง

Keywords: English Teaching,Lesson Planning,Communicative Language Teaching,CEFR,Language Assessment,Supervision,Thailand,High school

93

คำถามทบทวนความเขา้ ใจ

เร่อื ง การวดั และประเมินผลการจัดการเรยี นรู้
(Evaluation and Assessment)

คำชี้แจง จงคำถามเพ่ือทบทวนความเขา้ ใจ

1. จงอธบิ ายจดุ มุ่งหมายของการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้มาพอสังเขป
2. จงบอกขอ้ ดีของการประเมนิ ทเี่ นน้ ตามสภาพความเป็นจรงิ ของผูเ้ รียน (Authentic Assessment)
3. การวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจริงสามารถใชวิธกี ารประเมินใด
4. การทดสอบความสามารถในการสื่อสาร มีก่ีลักษณะพรอ้ มอธิบาย
5. จงอธิบายส่ิงสำคัญที่ควรคำนึงถึงในการวัดและประเมินผลตามแนวการสอนภาษาเพ่ือ

การสือ่ สาร

∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞

94

แบบทดสอบ

เรอ่ื ง การวัดและประเมนิ ผลการจดั การเรียนรู้
(Language Evaluation and Assessment)

คำช้แี จง แบบทดสอบฉบับนเี้ ปน็ แบบทดสอบแบบเลือกตอบ จำนวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน
ใช้เวลาในการทำแบบทดสอบ 10 นาที โดยเลือกคำตอบท่ถี ูกที่สดุ เพียงคำตอบเดียว

1. ขอ้ ใดต่อไปนี้ไม่ใช่วัตถุประสงคข์ องการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นการสอน
1) เพ่ือประเมินวิธีการและประสิทธภิ าพการสอนของครู
2) เพื่อประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเ้ รียน
3) เพอ่ื จำแนกหรือจดั ลำดับความสามารถของผู้เรยี นแตล่ ะคนตามความสามารถ
4) เพอื่ ส่งเสริมใหน้ กั เรียนมีทัศนคตทิ ด่ี ีต่อการเรยี นและพฒั นาตนเองให้ดีขนึ้

2. ขอ้ ใดต่อไปนี้เป็นลักษณะของการวดั ผลแบบทางเลอื ก (Alternative Assessment)
1) เปน็ การวัดผลที่มรี ะบบการให้คะแนนแบบอิงกลมุ่
2) เนน้ ผลทเ่ี กิดข้ึนมากกว่ากระบวนการระหว่างเรียน
3) เป็นการวดั ผลท่มี รี ูปแบบเปน็ ตวั เลอื กและจำกดั เวลา
4) เป็นการประเมนิ แบบพัฒนาผลการเรียนรู้

3. ขอ้ ต่อไปนีจ้ ัดอยู่ในองคป์ ระกอบของการวดั ผลทางเลอื ก ยกเว้นข้อใด
1) การทดลอง
2) การสังเกต
3) การใหน้ ักเรียนทำข้อสอบมาตรฐาน
4) การประเมนิ โครงงาน

4. ขอ้ ใดต่อไปน้ีไม่จัดเปน็ การประเมินดว้ ยการส่ือสารสว่ นบุคคล (Personal Communication)
1) การสมั ภาษณ์
2) การอภปิ รายกลุ่มย่อย
3) การประเมินการสาธติ
4) ข้อ 2) และ 3)

5. ข้อใดต่อไปน้ีกลา่ วไม่ถูกต้องเกี่ยวกบั ข้อท่ีควรคำนึงในการประเมินสภาพจริง
1) ทำไปพรอ้ มๆ กบั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
2) สนับสนนุ การป้อนข้อมูลจริงใหก้ ับผู้เรียน
3) เปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รียนประเมินตนเอง
4) ใหค้ วามสำคัญกับจดุ เด่นของผเู้ รียน

95

6. การประเมินตามสภาพจริงแบง่ เป็นกลี่ กั ษณะ แบบใดบา้ ง
1) 2 ลกั ษณะ ได้แก่ การประเมินด้วยข้อสอบมาตรฐานและการประเมินด้วยชน้ิ งาน
2) 3 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ การประเมินดว้ ยขอ้ สอบมาตรฐาน การประเมนิ กระบวนการและการ
ประเมินชน้ิ งาน
3) 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ การประเมินดว้ ยข้อสอบมาตรฐานและการประเมนิ ตามสภาพความเปน็ จรงิ
4) 3 ลักษณะ ได้แก่ การประเมนิ ด้วยข้อสอบมาตรฐาน การประเมินกระบวนการ และการประเมิน
การปฏิบตั ิ

7. รบู รคิ (Rubric) หมายถงึ ข้อใด
1) เครอื่ งมือให้คะแนนที่ใช้ประเมนิ การปฏิบัตงิ านหรือผลงานของนักเรียน
2) การประเมนิ นกั เรียนรายบุคคล
3) การสังเกตพฤติกรรมและปฏิสมั พนั ธ์ของนักเรยี น
4) ถูกทุกข้อ

8. ข้อใดไม่จัดเป็นประเภทของการทดสอบในการวัดและประเมินผลแบบทางเลือก (Alternative
Assessment)
1) ขอ้ สอบมาตรฐาน (Standardized Tests)
2) แบบทดสอบท้ายหนว่ ย (End-of-unit Tests)
3) แบบทดสอบทน่ี ักเรยี นร่วมกันสรา้ ง (Student-Made Tests)
4) แบบทดสอบทคี่ รูสร้าง (Teacher-Made Tests)

9. บุคคลใดทไ่ี ม่จดั อยใู่ นบุคคลท่ีมีส่วนร่วมในการประเมนิ นักเรียนตามหลักการของการประเมนิ ตาม
สภาพจรงิ
1) เพอ่ื นผ้ปู ระเมนิ
2) ผ้ปู กครองผ้ปู ระเมิน
3) นกั เรยี นเอง
4) บคุ คลท่เี คยรว่ มงานกับผปู้ ระเมินท่ไี ม่ใช่คนสนทิ หรอื เพือ่ น เชน่ หวั หน้าทมี กฬี า หัวหน้าชมรม

10. การประเมนิ ท่ีเน้นตามสภาพความเป็นจริงของผูเ้ รียนจะเนน้ การประเมิน 4 ด้าน ยกเว้นข้อใด
1) ประเมนิ พฤติกรรมของผ้เู รียน (Behavior)
2) ประเมนิ แฟม้ สะสมผลงาน (Portfolio)
3) ประเมินการปฏิบัติ (Performance)
4) ประเมนิ กระบวนการ (Process)

∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞

96

แนวตอบคำถามทบทวนความเขา้ ใจ

เรื่อง การวดั และประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรู้
(Evaluation and Assessment)

1. จงอธบิ ายจุดมงุ่ หมายของการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้มาพอสงั เขป
แนวตอบ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องผู้เรยี นมจี ดุ มุ่งหมาย 2 ประการ ดังนี้
1) การวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน การประเมินระหว่างการเรียนการสอนเพื่อ

พฒั นาการเรียนรู้เชน่ น้ีเป็นการวัดและประเมินผลเพื่อการพัฒนา (Formative Assessment) โดย
เกบ็ รวบรวมข้อมูลเกีย่ วกบั ผลการเรยี นและการเรียนรขู้ องผู้เรยี นในระหวา่ งการเรียนการสอนอย่าง
ต่อเนื่อง บันทึก วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูล แล้วนำมาใช้ในการส่งเสริมหรือปรับปรุงแก้ไข
การเรียนรู้ของผู้เรียนและการสอนของครู 2) การวัดและประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียน เป็น
การประเมินสรุปผลการเรียนรู้ (Summative Assessment) ซึ่งมีหลายระดับ ได้แก่ เมื่อเรียนจบ
หน่วยการเรียน จบรายวิชาเพื่อตัดสินให้คะแนน หรือให้ระดับผลการเรียน ให้การรับรองความรู้
ความสามารถของผู้เรียนว่าผ่านรายวิชาหรือไม่ ควรได้รับการเลื่อนชั้นหรือไม่ หรือสามารถจบ
หลักสูตรหรือไม่ ในการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนที่ดีต้องให้โอกาสผู้เรียนแสดงความรู้
ความสามารถด้วยวิธีการที่หลากหลายและพิจารณาตัดสินบนพื้นฐานของเกณฑ์ผลการปฏิบัติ
มากกวา่ ใชเ้ ปรียบเทยี บระหว่างผเู้ รียน
2. จงบอกข้อดีของการประเมินที่เน้นตามสภาพความเป็นจริงของผู้เรียน (Authentic
Assessment)

แนวตอบ เน้นพฤติกรรมที่แสดงออกจากความสามารถที่แท้จริง สามารถทำไปพร้อมๆ กับ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้ความสำคัญกับจุดเด่นของผู้เรียนตั้งอยูบนพื้นฐานของสถานการณ์จริง
มีการใช้ข้อมูลที่หลากหลายและมีการเก็บข้อมูลในทุกด้านอย่างต่อเนื่อง ตอบสนองการเรียนรู้และ
ความสามารถของผู้เรียนอย่างกว้างขวาง สนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ของผู้เรียน เปิดโอกาสให้
ผู้เรียนประเมินตนเอง เกิดความร่วมมือระหว่างครู ผู้ปกครองและผู้เรียนในการพัฒนาการเรียนรู้
และตอบสนองหลักสตู รท่ีเนน้ การเรยี นรใู้ นสภาพจรงิ

3. การวดั และประเมินผลตามสภาพจรงิ สามารถใชวิธีการประเมินใดไดบ้ ้าง
แนวตอบ การประเมินตามสภาพจริงมักใชวิธีการประเมินหลากหลาย ประกอบดวย การทดสอบ

การสอบสัมภาษณ การสังเกต การตรวจผลงาน การใชแฟมสะสมงาน การประเมินโดยใชศูนยประเมิน

97

4. การทดสอบความสามารถในการสอ่ื สาร มีก่ลี กั ษณะพร้อมอธบิ าย
แนวตอบ การทดสอบความสามารถในการสือ่ สาร มี 2 ลักษณะ โดยลักษณะแรกเปน็ การทดสอบ

ความสามารถทางภาษาแบบรวม เป็นแบบทดสอบที่ต้องการให้ผู้เรียนแสดงออกมากกว่าหน่ึง
ทกั ษะเพอื่ วดั ความสามารถในการใชท้ ักษะสมั พันธใ์ ห้เหมาะสมกบั สภาพการณ์ การประเมนิ อาจทำ
โดยใช้การสังเกตพฤติกรรมการใช้ภาษาเพื่อประเมินผลตามสภาพความสามารถที่แสดงออกจริง
หรือประเมินด้วยแบบทดสอบก็ได้ และลักษณะที่สองคือแบบทดสอบความสามารถทางภาษาจุด
ยอ่ ยเป็นแบบทดสอบที่วดั องคป์ ระกอบย่อยของภาษา เช่น เสียง ศัพท์ โครงสร้าง หรือทักษะต่างๆ
ซึ่งแยกออกเปน็ ทกั ษะการฟัง การพดู การอ่าน และการเขียน ตามองคป์ ระกอบของภาษาหรือตาม
ทกั ษะที่ตอ้ งการวดั ทัง้ นขี้ ึน้ อยกู่ บั วัตถปุ ระสงคข์ องการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เปน็ สำคญั

5. จงอธบิ ายส่งิ สำคญั ทีค่ วรคำนงึ ถึงการวัดและประเมนิ ผลตามแนวการสอนภาษาเพือ่ การสอ่ื สาร
แนวตอบ การวดั และประเมนิ ผลตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารควรมีจดุ ประสงค์เพื่อ

วัดความสามารถในการสื่อสารของผู้เรียน รูปแบบของการทดสอบต้องสอดคล้องกับจุดประสงค์
การเรียนรู้และรูปแบบการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร
สามารถทำไดห้ ลายวธิ ที ้งั โดยการทดสอบและไมม่ ีการทดสอบ

∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞

98

เฉลยแบบทดสอบ

เรอื่ ง การวัดและประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้
(Language Evaluation and Assessment)

1. 4) เพ่อื สง่ เสรมิ ใหน้ ักเรยี นมที ศั นคตทิ ี่ดตี ่อการเรียนและพัฒนาตนเองใหด้ ขี ึ้น
2. 4) เป็นการประเมนิ แบบพฒั นาผลการเรียนรู้
3. 1) การทดลอง
4. 3) การประเมนิ การสาธติ
5. 2) สนบั สนนุ การป้อนขอ้ มูลจริงใหก้ ับผู้เรยี น
6. 3) 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ การประเมนิ ดว้ ยขอ้ สอบมาตรฐานและการประเมนิ ตามสภาพความเปน็ จริง
7. 1) เครื่องมือใหค้ ะแนนทใ่ี ช้ประเมินการปฏิบัตงิ านหรอื ผลงานของนกั เรียน
8. 3) แบบทดสอบท่ีนกั เรยี นร่วมกนั สร้าง (Student-Made Tests)
9. 4) บคุ คลทเ่ี คยรว่ มงานกบั ผู้ประเมนิ ทไี่ ม่ใชค่ นสนทิ หรอื เพอ่ื น เชน่ หวั หน้าทมี กีฬา หวั หน้าชมรม
10. 1) ประเมนิ พฤตกิ รรมของผูเ้ รียน (Behavior)

∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞

99

ภาคผนวก

100

แบบทดสอบวัดความรู้ความเข้าใจ

การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูภ้ าษาองั กฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR
สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น

คำชี้แจง แบบทดสอบนม้ี วี ัตถุประสงคเ์ พ่ือประเมนิ ความรู้ความเข้าใจในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR สำหรบั ครูภาษาองั กฤษ ระดบั ช้ัน
มัธยมศึกษาตอนตน้ ซ่ึงแบบทดสอบเป็นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลอื ก จำนวน 30 ข้อ ใชเ้ วลา 30 นาที
ขอใหเ้ ลือกคำตอบทถ่ี ูกตอ้ งที่สุดเพียงข้อเดยี ว

1. การปฏิรปู การเรียนการสอนภาษาองั กฤษตามนโยบายปจั จุบันใชก้ รอบแนวคิดใดเป็นหลัก
1) Canadian Language Benchmarks
2) Interagency Language Roundtable scale
3) The Common European Framework of Reference for Languages
4) American Council on the Teaching of Foreign Languages Proficiency Guidelines

2. จุดมุ่งหมายของกรอบความสามารถทางภาษา CEFR คือ ข้อใด

1) กรอบมาตรฐานที่ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปใช้ร่วมกันในการวางแผนการสอนภาษาถ่ิน

ทุกภาษาทั่วทั้งทวีปยุโรป

2) กรอบมาตรฐานท่ีประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปใช้ร่วมกันในการวางแผนการสอนเฉพาะ

ภาษาแม่ในประเทศทวีปยุโรป

3) กรอบมาตรฐานที่ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปใช้ร่วมกันในการวางแผนการสอนภาษาที่

สองท่ัวท้ังทวีปยุโรป

4) กรอบมาตรฐานที่ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปใช้ร่วมกันในการวางแผนการสอนเฉพาะ

ภาษาอังกฤษท่ัวท้ังทวีปยุโรป
3. ข้อใดกล่าวถึงหลักการวัดระดับภาษาของ CEFR ได้ถูกต้อง

1) CEFR แบ่งเป็น 6 กลุ่ม 6 ระดับ
2) CEFR แบ่งเป็น 3 กลุ่ม 6 ระดับ
3) CEFR แบ่งเป็น 3 กลุ่ม 3 ระดับ
4) CEFR แบ่งเป็น 6 กลุ่ม 3 ระดับ

4. ผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ อยูร่ ะดบั ความสามารถใด
1) A1 2) A2 3) B1 4) C1

101

5. ระดบั Waystage or Elementary คอื ระดับใด
1) A1 2) A2 3) B1 4) C1

6. ผู้มีความสามารถด้านภาษาเทียบเท่าเจ้าของภาษา คือ ผู้ที่มีความสามารถในกลุ่มใด
1) A1 2) A2 3) C1 4) C2

7. กรอบความสามารถทางภาษา CEFR ควรนำมาใชใ้ นข้อใดมากที่สุด
1) กำหนดเป้าหมายการจดั การเรยี นรู้
2) การจดั การเรียนรูภ้ าษาอังกฤษ
3) การทดสอบและการวัดผล
4) ถูกทุกข้อ

8. แนวการสอนภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร ควรเป็นไปตามข้อใด
1) เนน้ การท่องจำคำศัพท์
2) ควรสอนโดยเจา้ ของภาษา
3) ความถกู ตอ้ งของไวยากรณ์และโครงสร้างเปน็ ส่งิ สำคัญ
4) ฝึกการใช้ภาษาในสถานการณ์จรงิ ทม่ี ีโอกาสพบในชวี ติ ประจำวนั

9. ข้อใด ไม่ใช่ หลักสำคัญในการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร
1) ครูมีบทบาทสำคัญมากที่สุด
2) ให้ผู้เรียนทำกิจกรรมการใช้ภาษาท่ีมีลักษณะเหมือนในชีวิตประจำวัน
3) ผู้สอนต้องบอกให้ผู้เรียนทราบถึงความมุ่งหมายของการเรียนและการฝึกใช้ภาษา
4) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทำกิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆให้มากท่ีสุดท่ีจะเป็นไปได้

10. การจัดการเรียนการสอนแบบใดท่ีเป็นไปตามกรอบความคิดหลักCEFR

1) Total Physical Response: TPR
2) Cognitive Code Learning theory: CLT
3) Communicative Language Teaching: CLT
4) Individualized Instruction: II

11. ข้ันตอนใดในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารท่ีครูเป็นผู้ให้ความรู้ทาง
ภาษาท่ีถูกต้อง
1) Practice
2) Presentation
3) Production
4) Warm up/Lead in

102

12. ข้อใดเรียงลำดับข้ันตอนการจัดการเรียนรภู้ าษาอังกฤษแบบ P – P – P ได้ถูกต้อง

1) Warm up/Lead in – Presentation – Production - Practice – Wrap up
2) Wrap up – Presentation – Practice – Production - Warm up/Lead in
3) Warm up/Lead in – Production - Practice – Presentation – Wrap up
4) Warm up/Lead in – Presentation – Practice – Production - Wrap up

13. ครูท่านใดกำลังทำกิจกรรมในรูปแบบของการสอนแบบกึ่งควบคุม (SEMI-CONTROLLED)

1) ครูเต้ยยกตัวอย่างกิจกรรมก่อนให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง
2) ครูนาเดียให้นักเรียนคิดกิจกรรมเองหลังจากที่ได้เรียนเนื้อหามาแล้ว
3) ครูสลาเขียนเร่ืองให้นักเรียนตอบคำถาม
4) ครูลิลลี่บอกวัตถุประสงค์ของกิจกรรมและให้นักเรียนได้ฝึกตาม

14. กระบวนการเรยี นการสอนตามแนวการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสือ่ สารท่ีมปี ระสทิ ธิภาพขึ้นอยู่
กับองคป์ ระกอบทสี่ ำคญั ขอ้ ใด

1) กิจกรรมและเทคนิคการสอน
2) บทบาทของผเู้ รยี นและผสู้ อน
3) การวัดผลประเมินผล
4) ถกู ทุกข้อ

15. บทบาทของครผู ้สู อนภาษาองั กฤษเพื่อการสอื่ สารข้อใดไม่ถูกตอ้ ง
1) เป็นผู้ประเมินและใหข้ ้อมูลสะทอ้ นกลับนักเรยี น
2) ครตู อ้ งควบคมุ การเรียนการสอนในชว่ งฝึกรปู แบบภาษา
3) ครูต้องขดั จงั หวะและช่วยสอนในขณะนักเรียนใช้ภาษา
4) ครตู อ้ งให้ความชว่ ยเหลือในขณะท่ีผ้เู รยี นส่ือสารชะงกั งนั

16. ขอ้ ใดกลา่ วถูกต้องท่สี ุดเก่ียวกับภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร
1) เน้นการสอ่ื สารให้ถูกต้องตามไวยากรณ์
2) เนน้ การใช้ภาษามากกวา่ เนน้ โครงสรา้ งทางไวยากรณ์
3) เน้นการออกแบบกจิ กรรมให้ใชภ้ าษาในหอ้ งเรียนมากกวา่ สถานการณ์จริง
4) การสอนเพ่อื การสอื่ สารควรแยกเปน็ สว่ นๆ จะดกี วา่ การสอนทักษะรวมๆ

17. ข้อใดไม่ใช่ความสามารถในการส่อื สาร

1) ความสามารถด้านไวยากรณ์
2) ความสามารถด้านสงั คม
3) ความสามารถด้านการวางแผน
4) ความสามารถด้านการใช้กลวธิ ีการสื่อความหมาย

103

18. การฝกึ ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารเปรยี บเสมือนการถา่ ยโอนการเรียนร้ภู าษาจากสถานการณ์ในชัน้ เรียน
ไปสู่การนำภาษาไปใช้จรงิ เป็นขน้ั ใดในการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร

1) ข้ันนำสู่บทเรยี น (Warm up)
2) ขั้นนำเสนอ (Presentation)
3) ขั้นฝึกปฏิบัติ (Practice)
4) ขน้ั นำไปใช้ (Production)

19. ครผู สู้ อนเลือก Brochure มาใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเปน็ การใชส้ อื่ ประเภทใด

1) สอ่ื จรงิ (Realia)
2) สื่อประเภทเทคนคิ หรือวธิ ีการ
3) สือ่ ประเภทอุปกรณ์
4) สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

20. ขอ้ ใดไมใ่ ช่จดุ มงุ่ หมายของขน้ั นำเข้าสู่บทเรียนในการสอนภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร

1) เพ่อื นักเรียนได้ฝึกใชภ้ าษา
2) เพ่ือให้นกั เรียนเกิดความสนกุ
3) เพอ่ื ใหน้ กั เรียนเกิดความพรอ้ ม
4) เพ่อื ให้เกดิ ความอยากรู้

21. ครูท่านใด ไม่ได้ จัดการเรียนการสอนแนว Communicative Language Teaching

1) ครูนุ่นให้นักเรียนแข่งขันต่อคำศัพท์
2) ครูเจนอธิบายหลักไวยากรณ์ (Grammar) ก่อนการสอนสนทนา
3) ครูแก้วให้นักเรียนฟังเพลงและเติมคำที่หายไป
4) ครูโบว์เล่าเร่ืองส่วนตัวและให้นักเรียนตอบคำถาม

22. การสอนภาษาเพ่ือการสื่อสารควรให้ความสำคัญในเร่ืองใดมากท่ีสุด

1) ส่ือการเรียนการสอน
2) ทักษะการส่ือสาร
3) ความถูกต้องของหลักไวยากรณ์
4) เวลาท่ีเหมาะสม

23. ข้อต่อไปน้ีจัดอยู่ในวิธีการวัดผลทางเลือก ยกเว้น ข้อใด

1) การทดลอง
2) การสังเกต
3) การให้นักเรียนทำข้อสอบมาตรฐาน
4) การประเมินโครงงาน

104

24. การสอนเขียนควรคำนึงถึงสงิ่ ใดมากท่สี ุด
1) ทักษะการเขียนเก่ียวข้องสัมพันธก์ ับทักษะการฟังมากทสี่ ดุ จึงควรจัดกิจกรรมให้สัมพนั ธก์ ัน
2) กอ่ นจะทำกจิ กรรมการเขียน นกั เรียนต้องทราบวตั ถปุ ระสงคข์ องการเขียนให้ชดั เจน
3) ครตู ้องใหน้ ักเรียนร้คู ำศพั ท์ ไวยากรณ์และเน้ือหาอยา่ งเพยี งพอ
4) ถกู ทัง้ 2 และ 3

25. การวดั ประเมินผลภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารมจี ุดม่งุ หมายเพื่ออะไร
1) เพอื่ พฒั นาผู้เรียนและตดั สนิ ผลการเรียน
2) เพ่ือออกแบบการจดั การเรียนรู้
3) เพ่อื วเิ คราะหต์ ัวชวี้ ัด
4) เพ่ือประเมนิ ความพึงพอใจของผู้เรยี น

26. ข้อใดกลา่ วถึงกิจกรรมหลงั การฟังได้ถกู ต้องท่สี ุด
1) เป็นกิจกรรมขณะที่ผเู้ รยี นได้ฝึกปฏิบัตใิ นขณะท่ีฟงั
2) ควรให้ผ้เู รยี นได้ทราบแนวทางวา่ จะได้ฟังเกย่ี วกบั เร่อื งใด
3) เป็นกจิ กรรมท่ีทำใหผ้ เู้ รยี นได้ผ่อนคลายหลงั จากการฟัง
4) เป็นกจิ กรรมทีม่ ุ่งใหผ้ เู้ รยี นได้ฝึกใชภ้ าษาและตรวจสอบความรู้ความถูกต้อง

27. การสอนทักษะการพดู ที่ถกู ต้อง คือ
1) ออกแบบกจิ กรรมเพ่อื เสริมทักษะการพูดจากง่ายไปหายาก
2) การฝกึ จะกระทำทนั ทีหลังจากเสนอเน้ือหา
3) กิจกรรมควรเป็นที่ยอมรับของเจา้ ของภาษา
4) ถกู ทุกข้อ

28. ข้อดีของการจัดกจิ กรรมเป็นกล่มุ ทถี่ กู ต้องทสี่ ุดได้แก่ข้อใด
1) เปน็ กิจกรรมทฝี่ กึ พ่ึงตนเอง
2) เปน็ กจิ กรรมท่ีสง่ เสริมใหผเู้ รียนมีภาวะอิสระ ลดการพ่ึงครผู ู้สอน
3) เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนไดเ้ ลอื กทำกจิ กรรมตามความสนใจการเรยี นรู้ของตนเอง
4) เปน็ กิจกรรมทส่ี ่งเสริมให้ผ้เู รียนมีปฏิสมั พันธกฺ ับครูผูส้ อน

29. ขอ้ ใดเหมาะสมท่สี ุดในการประเมินการพดู สนทนาโต้ตอบเรื่องใกล้ตัว
1) การเขียนบทสนทนา
2) บทบาทสมมติการสนทนา
3) การพดู บรรยาย
4) ถูกทุกข้อ

105

30. ขอ้ ใดไมใ่ ช่การประเมนิ การเรียนร้ขู องนักเรียนตามสภาพจริง (Authentic Assessment)
1) ประเมินการปฏิบตั ิ (Performance)
2) ประเมนิ กระบวนการ (Process)
3) ประเมินความน่าจะเปน็ (Probability)
4) ประเมนิ แฟ้มสะสมงาน (Portfolio)

∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞

106

เฉลยแบบทดสอบวัดความรู้ความเขา้ ใจ

การจัดกจิ กรรมการเรยี นรูภ้ าษาองั กฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR
สำหรับครูภาษาอังกฤษ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาตอนตน้

1. 3) The Common European Framework of Reference for Languages
2. 3) กรอบมาตรฐานท่ีประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปใช้ร่วมกันในการวางแผนการสอนภาษาที่

สองทั่วทั้งทวีปยุโรป
3. 2) CEFR แบ่งเป็น 3 กลุ่ม 6 ระดับ
4. 2) A2
5. 2) A2
6. 4) C2
7. ถกู ทุกข้อ
8. 4) ฝึกการใชภ้ าษาในสถานการณจ์ ริงที่มีโอกาสพบในชีวิตประจำวัน
9. 1) ครูมีบทบาทสำคัญมากที่สุด
10. 3) Communicative Language Teaching: CLT
11. 2) Presentation
12. 2) Wrap up – Presentation – Practice – Production - Warm up/Lead in
13. 1) ครูเต้ยยกตัวอย่างกิจกรรมก่อนให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริง
14. 4) ถูกทุกข้อ
15. 3) ครูต้องขัดจงั หวะและชว่ ยสอนในขณะนักเรียนใช้ภาษา
16. 2) เนน้ การใชภ้ าษามากกวา่ เนน้ โครงสรา้ งทางไวยากรณ์
17. 3) ความสามารถด้านการวางแผน
18. 4) ข้นั นำไปใช้ (Production)
19. 1) สื่อจริง (Realia)
20. 1) เพ่ือนักเรยี นไดฝ้ ึกใชภ้ าษา
21. 4) ครูโบว์เล่าเรื่องส่วนตัวและให้นักเรียนตอบคำถาม
22. 2) ทักษะการสื่อสาร
23. 3) การให้นักเรียนทำข้อสอบมาตรฐาน
24. 4) ถูกทั้ง 2 และ 3
25. 1) เพื่อพฒั นาผ้เู รยี นและตัดสินผลการเรยี น

107

เฉลยแบบทดสอบวัดความร้คู วามเขา้ ใจ (ต่อ)

การจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ภู าษาองั กฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR
สำหรบั ครูภาษาอังกฤษ ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาตอนต้น

26. 4) เปน็ กิจกรรมทีม่ งุ่ ใหผ้ เู้ รียนไดฝ้ กึ ใชภ้ าษาและตรวจสอบความรู้ความถูกต้อง
27. 4) ถูกทุกข้อ
28. 2) เป็นกจิ กรรมทีส่ ่งเสริมใหผู้เรยี นมีภาวะอิสระ ลดการพง่ึ ครผู ู้สอน
29. 4) ถูกทุกข้อ
30. 3) ประเมินความนา่ จะเปน็ (Probability)

∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞∞

108

แบบประเมินความสามารถสำหรบั ครภู าษาองั กฤษ

ในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR

ชื่อ-สกุล ผรู้ บั การนิเทศ…………....................................................………………………………………...........
โรงเรยี น..........................................................ชน้ั .………………............... เวลา ........……………….........
ชือ่ หนว่ ยการเรียนรู้ ………………….....................................................…...............................................
แผนการจัดการเรียนรเู้ รื่อง ..................................................………………..........……………….................

คำชแี้ จง โปรดทำเครื่องหมาย  ลงในช่องระดบั ผลการประเมนิ ตามความเป็นจริง

ระดับผลการประเมนิ ดงั นี้ 5 หมายถึง มีคณุ ภาพมากที่สุด
4 หมายถงึ มีคุณภาพมาก
3 หมายถงึ มีคุณภาพปานกลาง
2 หมายถงึ มีคณุ ภาพน้อย
1 หมายถงึ มีคณุ ภาพน้อยทส่ี ุด

ข้อ รายการ ระดบั คะแนน
54321
ดา้ นที่ 1 การจดั ทำแผนการจดั การเรยี นรู้
1 องค์ประกอบแผนการจดั การเรียนรคู้ รบถ้วน
2 จุดประสงค์การเรียนรู้ถกู ต้อง ชดั เจน สอดคลอ้ งกับ

มาตรฐานและตัวช้วี ดั
3 กำหนดสาระการเรียนร้สู อดคลอ้ งกบั ตัวชว้ี ดั
4 กำหนดเน้อื หาถูกต้อง ทันสมัย สอดคล้องกับจุดประสงค์

การเรียนรู้
5 กำหนดกิจกรรมเนน้ การพฒั นาทกั ษะภาษาอังกฤษตาม

กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR สอดคล้องกับ
จุดประสงค์การเรยี นรู้

109

ข้อ รายการ ระดบั คะแนน 1
5432

ด้านที่ 2 การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้

6 ออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ โดยใช้

เทคนคิ การสอนเหมาะสมกบั วัยของผู้เรยี น

7 กิจกรรมการเรยี นรสู้ อดคลอ้ งตามกรอบความสามารถทาง

ภาษาสากล CEFR

8 กำหนดสอ่ื การสอนสอดคล้องกบั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

เนือ้ หา และกิจกรรมการเรียนรู้

9 กำหนดวิธีการวัดผลและประเมนิ ผลไดต้ รงกบั จุดประสงค์

การเรียนร้แู ละหลากหลาย

10 ออกแบบการวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ (Authentic

Assessment)

ด้านที่ 3 การจัดการเรยี นร้ภู าษาองั กฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR

11 การจัดกิจกรรมการเรยี นรสู้ ง่ เสริมให้นักเรียนมโี อกาสในการใช้

ภาษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR

สอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์การเรียนรู้

12 การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เป็นไปตามลำดบั ขัน้ ตอนการสอน

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

13 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้นักเรียนได้ฝกึ ทกั ษะ

ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารตามกรอบความสามารถทาง

ภาษาสากล CEFR ตามที่กำหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้

(ทักษะ การฟัง พดู อ่านและเขียน)

14 มกี ารใช้สอื่ การสอนที่สง่ เสริมการเรียนรูภ้ าษาอังกฤษตาม

กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR อย่างหลากหลาย

15 ใชส้ ื่อได้สอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงคก์ ารจดั การเรยี นรู้

ดา้ นท่ี 4 การวดั และประเมินผลการจดั การเรียนรู้

16 มกี ารวดั และประเมินผลไดส้ อดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้

17 ใชก้ ารวัดและประเมินผลตามสภาพจริง

110

ขอ้ รายการ ระดับคะแนน
54321

18 มีเกณฑค์ ุณภาพ (Rubrics) การประเมนิ ทักษะภาษาองั กฤษ

เพอ่ื การสอ่ื สารตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล

CEFR ท่ถี กู ต้องเหมาะสม

19 ใช้การวดั ผลหลากหลาย ไม่ตายตัว ข้นึ อยู่กบั วัตถปุ ระสงค์

กิจกรรมผเู้ รียนและเวลา

20 มกี ารวดั และประเมนิ ผลได้สอดคลอ้ งตามกรอบ

ความสามารถทางภาษาสากล CEFR

รวม

ระดบั คุณภาพ

ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม
............................................................................................................................. ...................................
............................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................. ...................................

ลงชอื่ ...................................................ผู้นเิ ทศ
(…………………………………………)

ตำแหนง่ …………………………...................
วนั ท่ี ....... เดือน ....................... พ.ศ. ............

111

เกณฑ์การใหค้ ะแนนตามแบบประเมินความสามารถสำหรับครภู าษาองั กฤษ

ในการจัดการเรยี นรู้ภาษาองั กฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR

พฤตกิ รรม เกณฑก์ ารให้คะแนน

ด้านท่ี 1 การจัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้

1. องคป์ ระกอบแผนการจัดการ 5 มีองค์ประกอบครบถ้วน
เรียนรคู้ รบถว้ น ดงั นี้
4 ขาด 1 องค์ประกอบ
1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวดั /

ผลการเรยี นรู้ 2.สาระสำคัญ

3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 4.สาระการเรียนรู้ 3 ขาด 2 องค์ประกอบ

5. กิจกรรมการเรยี นรู้ 6. สื่อ/อุปกรณ/์ 2 ขาด 3 องคป์ ระกอบ
แหล่งการเรยี นรู้ 7.การวดั และประเมินผล

8. กิจกรรมเสนอแนะ 9.บันทกึ ผลหลงั 1 ขาดมากกวา่ 3 องคป์ ระกอบ
จัดการเรียนรู้

5 จุดประสงค์การเรยี นรูถ้ กู ต้อง ชดั เจนสอดคล้องกับ
มาตรฐานและตัวชว้ี ดั

4 จุดประสงค์การเรียนรู้ถูกต้องและสอดคลอ้ งกับ
มาตรฐานและตัวชวี้ ดั บางส่วน
2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ถกู ต้อง 3 จดุ ประสงค์การเรียนรถู้ ูกต้องบางส่วนและสอดคล้อง
ชัดเจน สอดคล้องกับมาตรฐาน 2 กับมาตรฐานและตวั ช้วี ัดบางส่วน
และตัวชี้วดั จดุ ประสงค์การเรยี นรูถ้ กู ต้องบางสว่ นแตไ่ มส่ อดคล้อง

กับมาตรฐานและตวั ชว้ี ดั

1 จุดประสงค์การเรยี นรู้ไม่ถกู ต้อง และไมส่ อดคล้องกบั
มาตรฐานและตวั ชีว้ ดั

5 กำหนดสาระการเรียนรู้ครอบคลุมและสอดคล้องกับ
ตวั ชว้ี ัดทุกตัว อ่านเข้าใจง่าย

4 กำหนดสาระการเรยี นร้คู รอบคลมุ สอดคล้องกบั ตัวช้ีวดั ทุกตวั

3. กำหนดสาระการเรยี นรู้ 3 กำหนดสาระการเรียนรู้ไม่ครอบคลุมแตส่ อดคล้องกับ
สอดคลอ้ งกับตัวชี้วดั ตัวชี้วัดทกุ ตัว

2 กำหนดสาระการเรยี นรไู้ ม่ครอบคลมุ และสอดคลอ้ งกบั
ตัวช้วี ัดบางสว่ น

1 กำหนดสาระการเรยี นร้ไู ม่ครอบคลมุ และไมส่ อดคลอ้ ง
กบั ตวั ชว้ี ดั

112

พฤตกิ รรม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

5 มีเนื้อหาถูกต้อง ทันสมัยสอดคล้องกบั จุดประสงค์การเรยี นรู้

4. กำหนดเนื้อหาถูกตอ้ งทันสมัย 4 มเี นื้อหาถูกต้อง ทันสมัย
สอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3 มเี นื้อหาถูกต้อง แต่ไม่ทันสมยั
2 มีเน้ือหาถูกต้องบางส่วน

1 มเี นือ้ หาสาระแต่ยังไม่ถูกต้อง

5 กิจกรรมเน้นการพัฒนาทักษะภาษาองั กฤษตามกรอบ

ความสามารถทางภาษาสากล CEFR สอดคล้องกับ

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

4 กิจกรรมเนน้ การพฒั นาทกั ษะภาษาองั กฤษตามกรอบ

5. กำหนดกจิ กรรมเนน้ การ ความสามารถทางภาษาสากล CEFR มีบางส่วนไม่

พัฒนาทกั ษะภาษาองั กฤษตาม สอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์การเรยี นรู้

กรอบความสามารถทาง 3 มกี ิจกรรมทพ่ี ัฒนาทักษะภาษาอังกฤษตามกรอบ

ภาษาสากล CEFR สอดคลอ้ ง ความสามารถทางภาษาสากล CEFR แตไ่ มส่ อดคล้อง

กบั จุดประสงค์การเรียนรู้ กบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

2 มีกิจกรรมบางสว่ นที่พฒั นาทักษะภาษาอังกฤษตาม

กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR

1 กจิ กรรมไมเ่ น้นการพฒั นาทักษะภาษาอังกฤษตาม

กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR

ด้านที่ 2 การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้

5 ออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญโดย

ใชเ้ ทคนิคการสอนเหมาะสมกับวยั ของผูเ้ รยี นทุกข้ันตอน

6. ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ 4 ออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ร้อยละ 80 ท่ีเนน้ ผเู้ รยี น
ท่ีเน้นผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ โดยใช้ 3 เป็นสำคัญและมเี ทคนคิ เหมาะสมกบั ผเู้ รียน
เทคนคิ การสอนเหมาะสมกับวัย 2 ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ร้อยละ 60 ท่ีเนน้ ผ้เู รียนเป็น
ของผู้เรียน สำคัญ และเทคนิคการสอนเหมาะสมกบั ผเู้ รียน
ออกแบบกิจกรรมการเรียนร้ทู ี่ไมเ่ น้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ

แต่มเี ทคนคิ การสอนเหมาะสมกับผู้เรียน

1 ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ท่ไี ม่เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ

113

พฤติกรรม เกณฑ์การให้คะแนน

5 กจิ กรรมการเรียนรสู้ อดคล้องตามกรอบ CEFR ชัดเจน

ครอบคลุม บรู ณาการทั้ง 4 ทักษะ

4 กจิ กรรมการเรยี นรสู้ อดคล้องตามกรอบ CEFR

7. กจิ กรรมการเรียนรู้สอดคล้อง บูรณาการอย่างน้อย 3 ทักษะ

ตามกรอบความสามารถทาง 3 กิจกรรมการเรยี นรูส้ อดคล้องตามกรอบความสามารถ

ภาษาสากล CEFR ทางภาษาสากล CEFR บรู ณาการอย่างน้อย 2 ทักษะ

2 กิจกรรมการเรียนรสู้ อดคลอ้ งตามกรอบความสามารถ

ทางภาษาสากล CEFR อยา่ งน้อย 1 ทกั ษะ

1 มีกิจกรรมการเรียนรู้

5 มสี ่ือการสอนสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์การเรยี นรู้

เนื้อหาและกจิ กรรมการเรียนรู้รอ้ ยละ 100

4 มีสื่อการสอนสอดคล้องกบั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้และ

8. กำหนดส่ือการสอนสอดคลอ้ ง 3 เนื้อหาไมต่ ่ำกว่าร้อยละ 80 แตย่ ังไมส่ อดคล้องกับ
กบั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
เนอ้ื หาและกจิ กรรมการเรียนรู้ มสี ื่อการสอนสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์การเรียนรู้
เนอื้ หาไม่ตำ่ กวา่ ร้อยละ 60 แต่ไมส่ อดคลอ้ งกบั กิจกรรม

การเรยี นรู้

2 มีส่ือการสอนสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้

1 มีสื่อการสอน

5 วิธกี ารวดั ผลและประเมนิ ผลไดต้ รงกับจุดประสงค์การ

เรยี นรู้ครบทุกขอ้ และหลากหลาย

4 มีวิธกี ารวดั ผลและประเมนิ ผลตรงกบั จดุ ประสงคก์ าร

9. กำหนดวธิ ีการวดั ผลและ เรยี นรูเ้ พยี งบางขอ้ และมีวิธกี ารทหี่ ลากหลาย

ประเมนิ ผลไดต้ รงกบั จุดประสงค์ 3 มีวิธีการวัดผลและประเมนิ ผลและตรงกบั จุดประสงค์

การเรยี นรู้และหลากหลาย การเรยี นรู้เพยี งบางข้อ

2 มวี ิธกี ารวัดผลและประเมนิ ผลแต่ไม่ตรงกบั จุดประสงค์

การเรียนรู้

1 มีวิธกี ารวัดผลและประเมนิ ผล

114

พฤตกิ รรม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

10. ออกแบบการวัดและ 5 มีการวดั และประเมินผลตามสภาพจริง(Authentic
ประเมนิ ผลตามสภาพจริง Assessment) สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรู้
(Authentic Assessment) ตัวช้ีวัดและจดุ ประสงค์การเรียนรู้

4 มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic
Assessment) สอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์การเรยี นรู้

3 มีการวดั และประเมินผลและสอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์
2 มีการวัดและประเมินผลแต่ไมส่ อดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์
1 มีการวดั และประเมนิ ผล

ด้านที่ 3 ดา้ นการจดั การเรียนรูภ้ าษาองั กฤษตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR

5 การจัดกิจกรรมการเรยี นรสู้ ่งเสริมให้นักเรียนมีโอกาส

ในการใช้ภาษาองั กฤษตามกรอบวามสามารถทาง

ภาษาสากล CEFR อย่างหลากหลายสอดคล้องกบั

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

11. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 4 มกี ารจัดกจิ กรรมการเรยี นรสู้ ง่ เสริมใหน้ กั เรียนมโี อกาส

สง่ เสริมใหน้ กั เรียนมโี อกาสในการ ในการใชภ้ าษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษา

ใชภ้ าษา อังกฤษตามกรอบ สากล CEFR และสอดคลอ้ งกับจุดประสงค์การเรียนรู้

ความสามารถทางภาษาสากล 3 มีการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรียนมีโอกาส

CEFR สอดคล้องกับจดุ ประสงค์ ในการใชภ้ าษาอังกฤษตามกรอบความสามารถทางภาษา

การเรยี นรู้ สากล CEFR แตไ่ ม่สอดคล้องกบั จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

2 มกี ารจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้สง่ เสริมใหน้ ักเรยี นมโี อกาส

ในการใช้ภาษาองั กฤษตามกรอบความสามารถทาง

ภาษาสากล CEFR เพยี งเล็กน้อย

1 มกี ารจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

12. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 5 จดั กิจกรรมการเรียนรู้เป็นไปตามลำดบั ขั้นตอน
เปน็ ไปตามลำดับขนั้ ตอนการสอน การสอนภาษาองั กฤษเพ่ือการสือ่ สาร(CLT)
ภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สาร ทกุ ขนั้ ตอนอยา่ งราบรื่น
(CLT)
4 จัดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ ป็นไปตาม ลำดบั ข้ันตอนการสอน
ภาษาอังกฤษเพื่อสือ่ สาร (CLT) ทุกขั้นตอน

115

พฤติกรรม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

13. กิจกรรมการเรยี นรสู้ ่งเสริมให้ 3 จัดกจิ กรรมการเรียนรเู้ ป็นไปตาม ลำดับขั้นตอนการสอน
นกั เรียนได้ฝึกทกั ษะภาษา องั กฤษ ภาษาองั กฤษเพ่ือส่อื สาร (CLT) ไดเ้ ปน็ สว่ นมาก
เพ่ือการส่อื สารตามกรอบ
ความสามารถทางภาษาสากล 2 จดั กิจกรรมการเรียนรเู้ ปน็ ไปตาม ลำดับขัน้ ตอนการสอน
CEFR ตามที่กำหนดไว้ในแผนการ ภาษาองั กฤษเพื่อส่อื สาร (CLT) เพยี งบางขน้ั ตอน
จดั การเรียนรู้ (ทกั ษะ การฟงั พดู
อ่านและเขยี น) 1 จดั กิจกรรมการเรียนร้ไู มเ่ ปน็ ไปตามลำดับขั้นตอน

14. มีการใช้สอ่ื การสอนท่ี 5 กจิ กรรมการเรียนรสู้ ง่ เสริมให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการ
สง่ เสริมการเรยี นรูภ้ าษาอังกฤษ ฟงั พูด อ่านและเขียน และตรงตามวตั ถุประสงค์
ตามกรอบความสามารถทาง
ภาษาสากล CEFR อย่าง 4 กิจกรรมการเรียนรมู้ กี จิ กรรมฝกึ ทักษะฟงั พดู อา่ น
หลากหลาย เขยี น ตรงตามวัตถปุ ระสงค์

15. ใชส้ ื่อได้สอดคล้องกับ 3 กิจกรรมการเรยี นรู้มกี จิ กรรมฝึกทักษะเพียง 1-2 ทักษะ
วัตถุประสงคก์ ารจดั การเรียนรู้ 2 กจิ กรรมการเรียนรมู้ กี จิ กรรมฝึกทักษะเพียง 1 ทักษะ

1 กจิ กรรมการเรียนรู้เป็นแบบบรรยาย

5 มกี ารใชส้ ื่อการเรียนรมู้ ากกวา่ 3 ชนดิ มีความทันสมยั
นา่ สนใจ และเหมาะสมกับวัย

4 มีการใชส้ อื่ การเรยี นรู้ 3 ชนดิ มคี วามทนั สมยั นา่ สนใจ

3 มีการใช้สือ่ การเรยี นรู้ 2 ชนิด มคี วามทนั สมยั น่าสนใจ

2 มีการใช้สอื่ การเรยี นรู้ 1 ชนิด มคี วามทันสมัย น่าสนใจ

1 มีการใชส้ ่อื การเรยี นรู้ 1 ชนดิ
5 ใช้สือ่ ไดส้ อดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ เน้ือหา กจิ กรรม

การจัดการเรยี นรู้ไดอ้ ย่างสมบูรณ์ น่าสนใจ ทันสมัย
ไมม่ ีข้อบกพร่อง
4 ใชส้ อ่ื ได้สอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงค์ เนื้อหา กิจกรรม
การจดั การเรียนรู้ได้อย่างน่าสนใจ ทนั สมัย
3 ใช้สื่อได้สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคเ์ นอื้ หาได้อย่าง
น่าสนใจ
2 ใช้ส่ือไดส้ อดคลอ้ งกับวัตถุประสงคเ์ นือ้ หา
1 มีการใช้สื่อในการจัดกจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้

116

พฤติกรรม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

ด้านท่ี 4 การวดั และประเมนิ ผลการจัดการเรยี นรู้

16. มีการวัดและประเมนิ ผลได้ 5 มีการวดั และประเมนิ ผลก่อนเรยี น ระหวา่ งการเรยี นรู้และ
สอดคล้องกับจุดประสงคก์ าร หลังการเรียนรู้ไดส้ อดคลอ้ งกบั จุดประสงค์การเรยี นรู้และมี
เรียนรู้ ความหลากหลาย

17. ใช้การวัดและประเมนิ ผล 4 มกี ารวัดและประเมนิ ผลก่อนเรยี น ระหวา่ งการเรยี นรู้และ
ตามสภาพจรงิ หลังการเรยี นรู้ได้สอดคล้องกับวัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้

18. มเี กณฑค์ ณุ ภาพ (Rubrics) 3 มกี ารวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ระหว่างเรยี นหรือหลัง
การประเมินทักษะภาษาอังกฤษ เรียนอย่างใดอย่างหน่ึงไดส้ อดคลอ้ งตามวัตถุประสงค์
เพ่อื การสื่อสารตามกรอบ
ความสามารถทางภาษาสากล 2 มีการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรูร้ ะหว่างเรยี นหรอื
CEFR ท่ถี ูกตอ้ งเหมาะสม หลงั เรียนอย่างใดอยา่ งหนงึ่

1 มีการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
5 มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง โดยวธิ กี ารประเมิน

เหมาะสมสอดคล้องตามกรอบความสามารถทาง
ภาษาสากล CEFR
4 มีการวัดผลและประเมนิ ผลและสอดคล้องตามกรอบ
ความสามารถทางภาษาสากล CEFR
3 มกี ารวัดผลและประเมินผลโดยใชว้ ิธีการทเ่ี หมาะสม
2 มกี ารวดั ผลและประเมนิ ผลแตไ่ มส่ อดคล้องตามกรอบ
ความสามารถทางภาษาสากล CEFR
1 มีการวัดและประเมนิ ผล
5 มเี กณฑค์ ุณภาพ(rubric) การประเมินทักษะภาษาองั กฤษ
เพอื่ การส่อื สารตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล
CEFR อยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม
4 มเี กณฑค์ ุณภาพ(rubric) การประเมินทักษะภาษาองั กฤษ
เพื่อการสือ่ สารตามกรอบความสามารถทางภาษาสากลCEFR ท่ี
ถกู ต้องแต่มบี างหัวข้อยงั ไม่เหมาะสมเพียงเลก็ น้อย
3 มเี กณฑค์ ุณภาพ(rubric) การประเมินทกั ษะภาษาองั กฤษ
เพื่อการสื่อสารตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล

117

พฤตกิ รรม เกณฑก์ ารให้คะแนน

CEFR ท่ยี ังไมถ่ ูกต้องและไม่เหมาะสมต้องไดร้ บั การ

เสนอแนะเพิ่มเตมิ

2 มเี กณฑค์ ณุ ภาพ(rubric) การประเมินทักษะภาษาอังกฤษ

เพอื่ การสือ่ สารตามกรอบความสามารถ ทางภาษาสากล

CEFR แตต่ ้องไดร้ บั เสนอแนะอยา่ งมาก

1 มีการวัดผลแต่ไมม่ ีเกณฑ์คุณภาพในการประเมนิ

5 มีการวัดผลก่อนเรียน ระหวา่ งเรียนและหลงั เรียนด้วย

วิธกี ารทห่ี ลากหลายเหมาะสมกับธรรมชาตขิ องวิชา

19. ใช้การวัดผลหลากหลาย ไม่ 4 มีการวดั ผลก่อนเรยี นระหว่างเรียนและหลงั เรยี น
ตายตัว ขึ้นอยกู่ ับวตั ถุประสงค์ 3 ด้วยวิธกี ารทห่ี ลากหลาย
กิจกรรมผ้เู รียนและเวลา มกี ารวัดผลกอ่ นเรียน และหลังเรียนดว้ ยวธิ ีการท่ี
หลากหลาย

2 มีการวดั ผลอย่างใดอย่างหนึ่งด้วยวิธีการทเี่ หมาะสม

1 มกี ารวดั ผลและประเมินผล

5 มีการวัดและประเมนิ ผลโดยเลือกวิธีประเมินได้เหมาะสม

สอดคล้องตามกรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFRไม่

ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ 80

4 มีการวดั ผลและประเมินผลและประเมินได้สอดคล้องตาม

20. มีการวดั และประเมนิ ผลได้ กรอบความสามารถทางภาษาสากล CEFR ไมต่ ่ำกวา่ ร้อย
สอดคล้องตามกรอบความ ละ 70
สามารถทางภาษาสากล CEFR 3 มกี ารวัดผลและประเมนิ ผลสอดคลอ้ งตามกรอบ
ความสามารถทางภาษาสากล CEFR ไม่ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ 60

2 มกี ารวัดผลและประเมนิ ผลสอดคลอ้ งตามกรอบ

ความสามารถทางภาษาสากล CEFR ไมต่ ่ำกว่ารอ้ ยละ 50

1 มีการวัดและประเมนิ ผลแต่ยังไมส่ อดคลอ้ งตามกรอบ

ความสามารถทางภาษาสากล CEFR

118

บรรณานกุ รม

กัญญา ชัยรตั น.์ (2554). กลวธิ กี ารสอน (Teaching Strategies). เขา้ ถึงได้จาก
http://teacherkanya.blogspot.com/2011/07/blog-post.html

คณาภรณ์ รศั มีมารยี ์. (2561). Education game การสอนโดยใชเ้ กม. เข้าถึงได้จาก
http://khunanonchan.blogspot.com/2018/02/blog-post.html

จริ ดา วุฑฒยากร และกรวิภา พูลผล. (2563). การวัดและประเมินผลภาษาอังกฤษตามกรอบ
มาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษทเี่ ป็นสากล (CEFR). เข้าถงึ ได้จาก
https://online.fliphtml5.com/nnvzp/qpth/?fbclid=IwAR0_ouUnfhQekwgKKVn
76X1kXxtWAFJpjAX9G7eFOMQidkpTyM7miwglIok#p=11

ชนาธปิ พรกุล. (2552). การออกแบบการสอนการบรู ณาการการอ่านการคิดวเิ คราะหแ์ ละการเขียน.
พิมพค์ รง้ั ที่ 2. กรงุ เทพฯ : สำนกั พมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

ชวลิต ชกู ำแพง. (2553). การวจิ ัยหลกั สตู รและการสอน. พิมพ์ครง้ั ที่ 2. มหาสารคาม : สำนกั พิมพ์
มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.

ทศิ นาแขมมณี. (2544). วทิ ยาการด้านการคิด. กรุงเทพฯ : เดอะมาสเตอร์กรปุ๊ แมเนจเมนท.์
ทศิ นา แขมมณ.ี (2547). ศาสตร์การสอน: องคค์ วามรเู้ พื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่มี ปี ระสิทธิภาพ.

พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สำนกั พมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
ธนกร สวุ รรณพฤฒิ. (2558). การพฒั นารูปแบบการสอนกลยทุ ธก์ ารเรยี นภาษาต่างประเทศเพ่ือ

เสริมสร้างความสามารถในการฟงั และการพูดภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษาระดับปรญิ ญาตรี.
วิทยานิพนธป์ รัชญาดุษฎีบัณฑติ , สาขาวิชาหลกั สตู รและการสอน, บณั ฑติ วิทยาลยั ,
มหาวิทยาลยั ศิลปากร.
ธูปทอง กว้างสวาสด.ิ์ (2549). คู่มือการสอนภาษาอังกฤษ. มหาสารคาม: สำนกั พิมพ์มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม.
นาตยา ปิลันธนานนท์. (2545). จากมาตรฐานสู่ช้นั เรยี น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
วชั รี เกษพชิ ัยณรงค์. (2557). การเรยี นเชิงรกุ และเทคนิควิธกี ารจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นการเรียน
เชงิ รกุ . กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.
วฒั นาพร ระงบั ทุกข์. (2542). แผนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลาง. กรงุ เทพฯ : แอล.ท.ี เพรส.

119

วมิ ลรตั น์ สุนทรวโิ รจน์. (2553). การออกแบบการเรยี นรูต้ ามแนวคดิ Backward Design.
มหาสารคาม : สำนกั พิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ศศธิ ร เวียงวะลยั . (2556). การจัดการเรยี นรู้. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
ศิริวรรณ วณชิ วัฒนวรชยั . (2558). วิธีสอนทั่วไป. นครปฐม : มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร.
สมจิตต์ สนิ ธุชยั . (2560). การเรยี นรูโ้ ดยใชส้ ถานการณ์จำลองเสมือนจรงิ : การนำไปใชใ้ นการจัดการ

เรยี นการสอน. เข้าถึงได้จาก https://www.tcithaijo.org/index.php
/JRTAN/article/view/85254
สมศกั ดิ์ ภูว่ ภิ าดาวรรธน์. 2554. การยดึ ผ้เู รยี นเปน็ ศนู ย์กลางและการประเมนิ ตามสภาพจรงิ .
เชียงใหม่ : เชยี งใหมโ่ รงพมิ พ์แสงศลิ ป์.
สํานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2555). หลักเกณฑและวธิ กี ารปรบั หลกั สตู รการศึกษาขนั้
พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สําหรบั กลุมเปาหมายเฉพาะ. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พอักษรไทย.
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน. (2557). แนวปฏิบัติการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์
ชมุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน. (2557). แนวปฏิบัตติ ามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร
เรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาองั กฤษ. กรงุ เทพฯ : จามจรุ ีโปรดักส์.
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขันพื้นฐาน. (2557). นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ : ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. (2562). แนวทางการนิเทศเพื่อพฒั นาและส่งเสริมการจัด
การเรยี นรู้เชงิ รุก. เขา้ ถึงได้จาก http://academic.obec.go.th/images/document/
1603180137_d_1.pdf
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน. (ม.ป.ป.). ค่มู ือการจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ
แนวใหม่ตามกรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษท่ีเป็นสากล ระดบั มัธยมศึกษา.
กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก.
สำลี รักสทุ ธี. (2541). แผนการจดั การเรยี นรู้. กรุงเทพฯ : พัฒนศกึ ษา.
สุมติ รา องั วฒั นกุล. (2539). วธิ ีสอนภาษาอังกฤษ. กรงุ เทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
สุมิตรา องั วัฒนกลุ . (2540). วธิ กี ารสอนส่อื สารภาษาอังกฤษ. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
อาภรณ์ ใจเทีย่ ง. (2553). หลกั การสอน (พมิ พ์ครง้ั ที่ 5). กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร์.

120

เอกรนิ ทร์ ส่ีมหาศาล และคณะ. (2552). กระบวนการจดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษาแนวคิดสู่ปฏบิ ัติ.
กรุงเทพฯ : บคุ๊ พอยท์.

Brown, H. (2001). Teaching by principles: an Interactive Approach to Language
pedagogy. New York: Addison Wesley Longman.

Council of Europe. (2001). Common European Framework of Reference for
Languages. Learning, Teaching, Assessment (CEFR). From
http://www.coe.int/t/dg4/linguistic/Source/Framework_EN.pdf.

Davies, Paul and Pearse, Eric. (2000). Success in English Teaching. Hong Kong: Oxford
University Press.

Levy, Meredith and Murgatroyd, Nicholas.(2009). Pair work and Groupwork: Multi-
level Photocopiable Activities for Teenagers (Cambridge Copy Collection).
Cambridge: Cambridge University Press.

Richard, Jack C. (2006). Communicative Language Teaching Today. Cambridge :
Cambridge University Press.

Savignon, S. J. (1991). Communicative language teaching: State of the art. TESOL
Quarterly. 25: 261-277.


Click to View FlipBook Version