บนั ทึกขอ้ ความ
ส่วนราชการ ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอสุไหงปาดี........................................
ที่ ศธ๐๒๑๐.๔๐๑๓/๔๒๕.........................................วันท่ี ๗ ตลุ าคม ๒๕๖๔...................................................
เร่ือง ขออนุมัติแผนการจัดกระบวนเรียนรู้รายสัปดาห์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ ๒
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ............................................................................................................ ....................
เรยี น ผู้อำนวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสุไหงปาดี
๑. เร่ืองเดิม ตามที่ ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาอัธยาศัยอำเภอ
สุไหงปาดี ได้มอบหมายให้ครูที่ได้รับหน้าที่จัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ จัดทำแผนการจัดกระบวนการเรยี นรู้รายสัปดาห์ และเสนอขออนมุ ัติทุกคร้ัง
ทีม่ กี ารจัดการเรียนการสอน เพ่ือให้จดั การเรียนการสอนมีประสทิ ธิภาพ นั้น
๒. ข้อเท็จจริง ในการน้ี ข้าพเจ้า นางยามีละห์ สิงหะ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลริโก๋
ขออนุมัติแผนการจัดกระบวนเรียนรู้รายสัปดาห์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา
๒๕๖๔ รายละเอียดดงั แนบ
๓. ข้อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง คำสั่งสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการที่ ๔๘๙/๒๕๕๑
เร่ืองมอบให้ผู้อำนวยการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ และ
ผอู้ ำนวยการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยเขต ปฏิบตั ริ าชการแทน ขอ้ ๑
๔. ขอ้ เสนอแนะ -
จึงเรยี นมาเพื่อโปรดพจิ ารณาอนมุ ตั ิ
(นางยามีละห์ สิงหะ)
ครู กศน.ตำบลรโิ ก๋
ความเห็นผูอ้ ำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสุไหงปาดี
อนุมตั ิ ไม่อนมุ ัติ
......................................................................................... .............................................................................
......................................................................................................................................................................
(นางหทัยกาญจน์ วัฒนสิทธ์ิ)
ผ้อู ำนวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอสไุ หงปาดี
บันทกึ ข้อความ
ส่วนราชการ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอสุไหงปาดี........................................
ที่ ศธ๐๒๑๐.๔๐๑๓/๔๒๖..........................................วนั ที่ ๗ ตลุ าคม ๒๕๖๔...................................................
เรื่อง ขออนุญาตดำเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้รายสัปดาห์ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ภาคเรียนท่ี ๒
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ ..................................................................................................................................
เรียน ผูอ้ ำนวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุไหงปาดี
๑. เร่ืองเดิม ตามที่ ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาอัธยาศัยอำเภอ
สุไหงปาดี ได้อนุมัติแผนการจัดกระบวนการเรียนรู้รายสัปดาห์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ ๒
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ นน้ั
๒.ข้อเท็จจริง ในการนี้ ข้าพเจ้า นางยามีละห์ สิงหะ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลริโก๋
ขออนุญาตดำเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้รายสัปดาห์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนท่ี ๒
ปีการศึกษา ๒๕๖๔ รายละเอยี ดดังแนบ
๓.ข้อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง คำส่ังสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการที่ ๔๘๙/๒๕๕๑
เรื่องมอบให้ผู้อำนวยการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ และ
ผูอ้ ำนวยการสถานศกึ ษาศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขต ปฏิบตั ริ าชการแทน ข้อ ๑
๔. ขอ้ เสนอแนะ -
จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดพจิ ารณาอนญุ าตดำเนนิ การ
(นางยามลี ะห์ สงิ หะ)
ครู กศน.ตำบลริโก๋
ความเหน็ ผูอ้ ำนวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสไุ หงปาดี
อนุญาต ไม่อนุญาต
......................................................................................................................................................................
.................................................................................... ..................................................................................
(นางหทยั กาญจน์ วฒั นสทิ ธ์ิ)
ผู้อำนวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอสุไหงปาดี
คำนำ
แผนการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 พัฒนาขึ้นตามยุทธศาสตร์ และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย นโยบายของรัฐบาลแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562 ตลอดจนพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม
มีสติปัญญา และมีศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาต่อ และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในครอบครัว ชุมชน
สังคมได้อย่างมีความสุข ท้งั น้ีสถานศึกษาที่จะนำหลักสตู รนไ้ี ปใช้ต้องนำสาระและมาตรฐานการเรยี นร้ทู ่ีกำหนด
ไปพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการของผู้เรียน ชุมชน/สังคม ภูมิปัญญา
ทอ้ งถนิ่ และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องสถานศกึ ษานั้น ๆ
กศน.ตำบลริโก๋ ได้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำเร็จลงได้ด้วยความร่วมมือจากผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บริหาร เจ้าหน้าท่ี
คณะครู นักศึกษา และภาคีเครือข่ายที่ได้เสนอแนะความคิดเห็นอันเป็นประโยชน์อย่างดียิ่ง ในการนำมาใช้
ทำแผนการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
กศน.ตำบลริโก๋ ขอขอบคุณในความรว่ มมอื มา ณ โอกาสน้ี
กศน.ตำบลรโิ ก๋ อำเภอสไุ หงปาดี จงั หวดั นราธิวาส
7 ตุลาคม 2564
สารบญั หน้า
ก
คำนำ ข
สารบัญ ค
1
ใบลงทะเบยี นเรียน 3
ปฏทิ นิ การเรยี นรู้ 9
แผนการวเิ คราะหเ์ น้ือหาสาระการเรียนรู้ 18
แผนการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ครั้งท่ี 1 27
แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ ครั้งที่ 2 38
แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ คร้งั ที่ 3 44
แผนการจดั กระบวนการเรียนรู้ คร้งั ท่ี 4 52
แผนการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ครง้ั ท่ี 5 58
แผนการจดั กระบวนการเรียนรู้ คร้ังท่ี 6 66
แผนการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ครั้งที่ 7 73
แผนการจัดกระบวนการเรยี นรู้ คร้ังที่ 8 80
แผนการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ครง้ั ที่ 9 86
แผนการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ครง้ั ที่ 10 91
แผนการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ครั้งท่ี 11 97
แผนการจดั กระบวนการเรยี นรู้ ครั้งท่ี 12 103
แผนการจดั กระบวนการเรียนรู้ ครัง้ ที่ 13 109
แผนการจัดกระบวนการเรยี นรู้ คร้ังที่ 14 115
แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ ครงั้ ท่ี 15 122
แผนการจดั กระบวนการเรียนรู้ ครง้ั ท่ี 16 128
แผนการจดั กระบวนการเรยี นรู้ ครง้ั ที่ 17 136
แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ ครงั้ ที่ 18
แผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ ครง้ั ที่ 19
ปฏิทนิ การจดั กระบวนการเรยี นรู้โดยการพบกลุ่ม ประจำภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสุไหงปาดี
สำนักงาน กศน.จงั หวัดนราธวิ าส
สปั ดาห์/วันท่ี 08.30- 09.00- รายวชิ า/เวลา
10.00- 11.00- 12.00- 13.00- 14.00- 15.00-
09.00 น 10.00 น 11.00 น. 12.00 น 13.00 น 14.00 น 15.00 น 16.30 น
สปั ดาหท์ ี่ 1 ปฐมนิเทศ จดั ทำแผนการเรยี นรูร้ ่วมกบั ผเู้ รยี น
วนั ท่ี 1 พ.ย. 64
สปั ดาหท์ ี่ 2 โฮมรูม การพัฒนา การพัฒนา การพฒั นา วาดฝนั กศน.ตำบลในอนาคต
วันที่ 8 พ.ย. 64 อาชพี ให้มี อาชพี ให้มี อาชีพใหม้ ี
ความม่ันคง ความม่ันคง ความมั่นคง
สัปดาหท์ ่ี 3 โฮมรมู การพฒั นา การพัฒนา การพัฒนา ปฏบิ ตั ิตามฝัน กศน.ตำบลในอนาคต
วันที่ 15 พ.ย. 64 อาชพี ให้มี อาชีพใหม้ ี อาชีพให้มี
ความมนั่ คง ความมน่ั คง ความม่ันคง
สัปดาห์ท่ี 4 โฮมรมู การพฒั นา การพัฒนา การพฒั นา สรา้ งบรรยากาศการเรียนรู้
วนั ที่ 22 พ.ย. 64 ตนเอง ชุมชน ตนเอง ชมุ ชน ตนเอง ชุมชน
สงั คม สงั คม สงั คม
สปั ดาห์ท่ี 5 โฮมรูม การพัฒนา การพฒั นา การพฒั นา ศึกษาชุมชนแบบอย่าง
วนั ท่ี 29 พ.ย. 64 ตนเอง ชุมชน ตนเอง ชมุ ชน ตนเอง ชมุ ชน สวนเศรษฐกิจพอเพียงตน้ แบบ
สังคม สังคม สังคม พกั
สปั ดาห์ท่ี 6 โฮมรมู เศรษฐกิจ เศรษฐกจิ เศรษฐกิจ
วันท่ี 6 ธ.ค. 64 พอเพียง พอเพยี ง พอเพยี ง
สปั ดาห์ท่ี 7 โฮมรมู เศรษฐกจิ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ มารจู้ กั การออม
วันที่ 13 ธ.ค. 64 พอเพยี ง พอเพียง พอเพียง
สปั ดาหท์ ่ี 8 โฮมรูม ประวตั ศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เจาะลกึ การเปล่ียนแปลงรัฐธรรมนญู
วันท่ี 20 ธ.ค. 64 ชาติไทย ชาติไทย ชาติไทย
สปั ดาหท์ ่ี 9 โฮมรมู ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เรยี นรโู้ ครงงานง่ายๆ
วันท่ี 27 ธ.ค. 64 ชาติไทย ชาตไิ ทย ชาตไิ ทย
สัปดาหท์ ่ี 10 โฮมรูม ประวัตศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เรียนรวู้ ัฒนธรรมและการดำเนนิ ชวี ิตใน
วันที่ 3 ม.ค. 65 ชาติไทย ชาตไิ ทย ชาติไทย สังคม
สปั ดาหท์ ่ี 11 โฮมรูม วสั ดศุ าสตร์ 3 วสั ดุศาสตร์ 3 วัสดศุ าสตร์ 3 จำลองอาชพี ตา่ ง ๆ
วนั ที่ 10 ม.ค. 65
สัปดาห์ที่ 12 โฮมรูม วสั ดุศาสตร์ 3 วัสดศุ าสตร์ 3 วัสดุศาสตร์ 3 กีฬาสร้างสมั พันธภาพ 1
วันที่ 17 ม.ค. 65
สปั ดาหท์ ่ี 13 โฮมรมู วัสดศุ าสตร์ 3 วสั ดุศาสตร์ 3 วสั ดุศาสตร์ 3 กีฬาสร้างสมั พันธภาพ 2
วันท่ี 24 ม.ค. 65
สัปดาห์ท่ี 14 โฮมรมู ความ ความ ความ ศึกษาพฤตกิ รรมของส่ิงมีชวี ิต
วนั ที่ 31 ม.ค. 65 หลากหลาย หลากหลาย หลากหลาย
ของสิ่งมีชวี ิต ของส่งิ มชี ีวติ ของสง่ิ มีชวี ิต
ปฏทิ ินการจัดกระบวนการเรยี นรู้โดยการพบกลุ่ม ประจำภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสไุ หงปาดี
สำนกั งาน กศน.จังหวดั นราธิวาส
สัปดาห/์ วนั ที่ 08.30- 09.00- รายวชิ า/เวลา
10.00- 11.00- 12.00- 13.00- 14.00- 15.00-
09.00 น 10.00 น 11.00 น. 12.00 น 13.00 น 14.00 น 15.00 น 16.30 น
สปั ดาหท์ ี่ 15 โฮมรมู ความ ความ ความ การบำเพญ็ ประโยชน์
วนั ท่ี 7 ก.พ. 65 หลากหลาย หลากหลาย หลากหลาย
ของสงิ่ มีชีวิต ของส่งิ มีชีวิต ของสิ่งมีชีวิต
สัปดาหท์ ่ี 16 โฮมรมู ความ ความ ความ ศึกษาสงิ่ มชี วี ติ ใต้น้ำ
วันท่ี 14 ก.พ. 65 หลากหลาย หลากหลาย หลากหลาย
ของสิง่ มีชีวิต ของส่งิ มชี ีวติ ของส่ิงมีชีวติ
สัปดาห์ท่ี 17 โฮมรมู รกั ษท์ อ้ งถิ่น รกั ษ์ท้องถิ่น รักษท์ อ้ งถนิ่ บา้ นของเรา
วนั ที่ 21 ก.พ. 65
สปั ดาหท์ ี่ 18 โฮมรูม รักษ์ทอ้ งถ่ิน รักษท์ อ้ งถ่นิ รักษ์ทอ้ งถิ่น ศกึ ษาเกษตรทฤษฎใี หม่
วันที่ 28 ก.พ. 65
สัปดาหท์ ่ี 19 โฮมรูม รกั ษ์ท้องถ่ิน รกั ษ์ท้องถนิ่ รักษ์ทอ้ งถน่ิ ศกึ ษาพฤติกรรมผู้บรโิ ภค
วนั ที่ 6 ม.ี ค. 65
สัปดาห์ที่ 20 สอบปลายภาควิชาบงั คับ สอบปลายภาควชิ าบงั คบั
วนั ที14-15 ม.ี ค. 65 สอบปลายภาควิชาเลือก สอบปลายภาควชิ าเลือก
วันที่21- 22 ม.ี ค. 65
แผนวเิ คราะหเ์ น้ือหาหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอสุไหงปาดี
สปั ดาห์ สาระ/ เนอ้ื หาวิชา วธิ ีการจัดการเรียนรู้
2 รายวชิ า
งา่ ย ยาก ยากปาน ยาก
กลาง ลึกซึ้ง
สาระ 1. ศักยภาพธรุ กิจ
การประกอบ 1.1 ความหมาย ความสำคัญและความจำเป็นของ
อาชพี การพฒั นาอาชพี เพ่ือความม่นั คง
รายวชิ า 1.2 ความจำเปน็ ของการวเิ คราะห์ศักยภาพธุรกจิ
การพฒั นา 1.3 การวเิ คราะห์ตำแหน่งธรุ กิจ
อาชีพให้มี 1.4 การวิเคราะหศ์ กั ยภาพธรุ กจิ บนเส้นทางของเวลา
ความม่ันคง 2. การจดั ทำแผนพัฒนาการตลาด
2.1 การกำหนดทิศทางการตลาด เป้าหมาย กลยุทธ์
ในการขยายอาชพี
2.2 การวิเคราะหก์ ลยุทธ์
2.3 การกำหนดกิจกรรมและแผนการพัฒนาการ
ตลาด
3. การจดั ทำแผนพัฒนาการผลติ หรอื การบริการ
3.1 การกำหนดคณุ ภาพผลผลิตหรอื การบรกิ าร
3.2 การวเิ คราะห์ทนุ ปจั จยั การผลติ หรือการบริการ
3.3 การกำหนดเปา้ หมายการผลติ หรอื การบรกิ าร
3.4 การกำหนดแผนกจิ กรรมการผลิต
3.5 การพฒั นาระบบการผลิตหรอื การบรกิ าร
3 สาระ 4. การพัฒนาธุรกจิ เชิงรุก
การประกอบ 4.1 ความจำเป็นและคุณค่าของธุรกจิ เชงิ รุก
อาชพี 4.2 การแทรกความนยิ มเข้าสคู่ วามต้องการของ
รายวิชา ผบู้ ริโภค
การพัฒนา 4.3 การสรา้ งรูปลกั ษณ์คุณภาพสนิ คา้ ใหม่
อาชีพให้มี 4.4 การพฒั นาอาชีพให้มีความมน่ั คง
ความมั่นคง 5. โครงการพัฒนาอาชพี สู่ความมัน่ คง
5.1 การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแผนการผลิต
หรือบรกิ าร
5.2 การเขียนโครงการพฒั นาอาชพี ส่คู วามมั่นคง
5.3 การตรวจสอบความเป็นไปได้ของโครงการ
5.4 การปรับปรงุ โครงการพฒั นาอาชีพ
แผนวเิ คราะหเ์ นอ้ื หาหลักสตู รการศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอสไุ หงปาดี
สัปดาห์ สาระ/ เน้อื หาวชิ า วิธีการจดั การเรียนรู้
รายวชิ า
งา่ ย ยาก ยากปาน ยาก
กลาง ลึกซึง้
4 สาระ 1. การพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม
การพัฒนา 1.1 การพฒั นาตนเอง
สงั คม 1.2 การพัฒนาชมุ ชน
รายวชิ า 1.3 การพัฒนาสังคม
การพฒั นา 2. ขอ้ มลู ตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม
ตนเอง ชุมชน 2.1 ความหมาย ความสำคัญ และประโยชนข์ อง
สังคม ข้อมูล
2.2 ขอ้ มลู ตนเอง ครอบครัว
2.3 ขอ้ มูลชมุ ชน สงั คม
3. การจดั เก็บและวเิ คราะหข์ อ้ มูล
3.1 การจัดเกบ็ ข้อมลู
3.2 การวเิ คราะหข์ ้อมูล
3.3 การนำเสนอข้อมลู
5 สาระ 4. การมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาตนเอง
การพฒั นา ครอบครวั ชุมชน สงั คม
สังคม 4.1 การวางแผน
รายวชิ า 4.2 การมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาตนเอง
การพฒั นา ครอบครวั ชุมชน สังคม
ตนเอง ชุมชน 5. เทคนิคการมีส่วนรว่ มในการจัดทำแผน
สงั คม 5.1 เทคนคิ การมีส่วนร่วมในการจดั ทำแผน
5.2 การจัดทำแผน
5.3 การเผยแพร่สู่การปฏบิ ัติ
6 สาระ 1. ความพอเพยี ง
ทกั ษะการ 1.1 ความเปน็ มาความหมายหลกั แนวคดิ
ดำเนนิ ชีวิต 1.2 ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
รายวิชา 1.3 การจดั การความรู้
เศรษฐกิจ 2. ชมุ ชนพอเพยี ง
พอเพยี ง 2.1 ความหมายโครงสรา้ งของชมุ ชน
2.2 การพฒั นาชุมชน
แผนวิเคราะหเ์ น้อื หาหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสุไหงปาดี
สปั ดาห์ สาระ/ เนอื้ หาวชิ า วิธีการจัดการเรยี นรู้ ยาก
7 รายวชิ า ลึกซงึ้
ง่าย ยาก ยากปาน
กลาง
สาระ 3. การแกป้ ญั หาชมุ ชน
ทักษะการ 3.1 ปญั หาของชมุ ชน
ดำเนนิ ชีวติ 3.2 การจัดทำแผนชมุ ชน
รายวชิ า 3.3 การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อแก้ไข
เศรษฐกจิ ปญั หาชมุ ชน
พอเพยี ง 4. สถานการณ์ของประเทศไทย และสถานการณ์
โลกกับความพอเพยี ง
4.1 สถานการณ์โลกปจั จบุ ัน
4.2 สถานการณ์พลังงานโลก กับผลกระทบ
เศรษฐกิจไทย
8 สาระ 1 ความภูมิใจในความเป็นไทย
การพัฒนา 1.1 สถาบนั หลักของชาติ
สังคม 1.2 บทสรปุ สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์เป็นศนู ย์รวมใจ
รายวิชา ของคนในชาติ
ประวัติศาสตร์ 1.3 บญุ คุณของพระมหากษตั รยิ ์ไทยตั้งแต่สมยั
ชาติไทย สโุ ขทัย อยธุ ยา ธนบรุ ี และรัตนโกสนิ ทร
9 สาระ 2. การประยกุ ต์ใช้วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์
การพัฒนา 2.1 ความหมาย ความสำคัญ และประโยชน์ของ
สงั คม วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตร์
รายวิชา 2.2 วธิ ีการทางประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ 3 พระราชกรณยี กิจของพระมหากษตั ริย์ไทยสมัย
ชาตไิ ทย รัตนโกสนิ ทร์
3.1 พระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษัตรยิ ์ไทยสมยั
รตั นโกสนิ ทร์
3.2 คณุ ประโยชนข์ องบคุ คลสำคญั
แผนวิเคราะหเ์ น้ือหาหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสไุ หงปาดี
สปั ดาห์ สาระ/ เนื้อหาวชิ า วธิ ีการจัดการเรยี นรู้
รายวิชา
งา่ ย ยาก ยากปาน ยาก
กลาง ลึกซ้งึ
10 สาระ 4 มรดกไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การพัฒนา 4.1 ความหมาย และความสำคญั ของมรดกไทย
สังคม 4.2 มรดกไทยสมยั รัตนโกสินทร์
รายวชิ า 4.3 มรดกไทยที่มีผลตอ่ การพฒั นาชาตไิ ทย
4.4 การอนุรักษ์มรดกไทย
ประวตั ศิ าสตร์ 4.5 การมีสว่ นร่วมในการอนรุ ักษ์มรดกไทย
ชาตไิ ทย
5 การเปลยี่ นแปลงของชาติไทยสมัยรัตนโกสนิ ทร์
5.1 เหตกุ ารณ์สำคัญทางประวตั ศิ าสตรท์ มี่ ีผลต่อ
การพฒั นาชาติไทย
5.2 ตวั อยา่ งการวเิ คราะห์ และอภปิ รายเหตุการณ์
สำคญั ทางประวัตศิ าสตร์ท่ีมผี ลตอ่ การพฒั นาชาติไทย
11 สาระ 1 หลักวสั ดุศาสตร์
ความรพู้ นื้ ฐาน 1.1 ความหมายของวัสดศุ าสตร์และประเภท
รายวชิ า ของวัสดุ
วสั ดุศาสตร์ 3 1.2 สมบตั วิ ัสดศุ าสตร์
2 การใชป้ ระโยชน์และผลกระทบจากวสั ดุ
2.1 การใช้ประโยชนจ์ ากวัสดุ
2.2 มลพษิ จากการผลิตและการใชง้ าน
2.3 ผลกระทบตอ่ สิง่ มชี วี ิตและส่ิงแวดล้อม
12 สาระ 3 การคัดแยกและการรีไซเคิลวสั ดุ
ความร้พู น้ื ฐาน 3.1 การคดั แยกวสั ดุทใี่ ช้แล้ว
รายวิชา 3.2 การจดั การวสั ดุดว้ ยการรไี ซเคลิ
วัสดุศาสตร์ 3 4 แนวโนม้ การใชว้ สั ดแุ ละทิศทางการพัฒนา
วสั ดุในอนาคต
4.1 แนวโน้มการใช้วสั ดุในอนาคต
4.2 ทศิ ทางการพฒั นาวัสดุในอนาคต
แผนวิเคราะหเ์ นอื้ หาหลกั สตู รการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสุไหงปาดี
สปั ดาห์ สาระ/ เน้ือหาวชิ า วิธกี ารจดั การเรยี นรู้
รายวิชา
ง่าย ยาก ยากปาน ยาก
กลาง ลึกซง้ึ
13 สาระ 5 สง่ิ ประดษิ ฐจ์ ากวสั ดตุ ามหลักสะเตม็ ศกึ ษา
ความรู้พน้ื ฐาน 5.1 หลักสะเตม็ ศกึ ษา
รายวชิ า 5.2 หลักสะเต็มศึกษาสำหรับการประดิษฐ์วสั ดุ
วัสดศุ าสตร์ 3 ใชแ้ ลว้
5.2 การประดิษฐ์วสั ดุเหลือทิ้ง
6 เทคโนโลยีการกำจดั วสั ดุ
6.1 เทคโนโลยกี ารกำจดั เศษวัสดุเหลือทิ้งดว้ ย
การเผา
6.2 การผลติ พลังงานจากเศษวสั ดเุ หลือทิง้
14 สาระ 1. กาเนดิ สง่ิ มชี ีวิต ทฤษฎีกำเนดิ สงิ่ มีชีวิต
ความรูพ้ นื้ ฐาน 1.1 การจำแนกสง่ิ มีชีวิต
รายวชิ า 1.2 การกาเนดิ สิ่งมชี ีวิต และทฤษฎกี ารกำเนดิ
ความ สง่ิ มีชวี ติ
หลากหลาย 2. ลักษณะของส่งิ มีชีวิต
ของสง่ิ มีชีวติ 2.1 การกินอาหาร
2.2 การหายใจ
2.3 การเคล่อื นไหว
2.4 การขับถา่ ย
2.5 การตอบสนองต่อสงิ่ เร้า
2.6 การสืบพันธุ
15 สาระ 3. วิวฒั นาการของส่งิ มชี ีวิต
ความรูพ้ น้ื ฐาน 3.1 วิวฒั นาการ คอื
รายวชิ า 3.2 กลไกในการเกิดวิวฒั นาการ
ความ 4. การจำแนกส่ิงมีชีวติ และอาณาจกั รส่งิ มีชีวติ
หลากหลาย 4.1 ความรพู้ ื้นฐานเกี่ยวกับการจำแนกสงิ่ มชี ีวติ
ของสิ่งมชี วี ิต 4.2 หลกั เกณฑ์การจำแนกสง่ิ มีชวี ิต
4.3 วธิ ีการตงั้ ชอ่ื สิง่ มชี ีวิต
แผนวิเคราะห์เน้ือหาหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอสไุ หงปาดี
สัปดาห์ สาระ/ เน้ือหาวชิ า วิธกี ารจดั การเรยี นรู้
รายวชิ า
งา่ ย ยาก ยากปาน ยาก
กลาง ลึกซึง้
16 สาระ 4. การจำแนกส่งิ มีชีวิต และอาณาจักรสงิ่ มีชีวิต(ตอ่ )
ความรพู้ ื้นฐาน 4.4 สัตว์เซลลเ์ ดยี ว
รายวิชา 4.5 สิ่งมีชวี ติ ชั้นสูง
ความ 4.6 ลกั ษณะของส่งิ มชี วี ิตในอาณาจักรสัตว
หลากหลาย 4.7 สตั วม์ ีกระดกู สนั หลัง
ของสงิ่ มชี วี ิต
17 สาระ 1. ความหมาย ระบบนเิ วศ กลุ่มสิ่งมชี ีวิต ประชากร
ความรพู้ น้ื ฐาน ที่อยู่อาศยั
รายวชิ า 1.1 ความหมายของระบบนเิ วศ กลุ่มสิง่ มีชวี ติ
รกั ษ์ท้องถน่ิ ประชากรท่ีอยู่อาศยั
2. องค์ประกอบ ความสัมพันธ์ การปรับตัวของ
ส่ิงมีชีวติ การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ
2.1 องคป์ ระกอบของระบบนิเวศ
2.1.1 สว่ นประกอบที่ไม่มีชีวิต
2.1.2 สว่ นประกอบที่มชี ีวิต
18 สาระ 2. องคป์ ระกอบ ความสัมพันธ์ การปรับตัวของ
ความรพู้ นื้ ฐาน สงิ่ มีชีวติ การถา่ ยทอดพลังงานในระบบนิเวศ (ต่อ)
รายวชิ า 2.2 การถา่ ยทอดพลังงานในระบบนิเวศ
รักษ์ท้องถน่ิ 2.2.1 ระบบนเิ วศปา่ ไม้
2.2.2 ระบบนเิ วศน้ำจดื
2.2.3 ระบบนเิ วศน้ำเคม็
19 สาระ 3. การวางแผนเขียนโครงการ วธิ กี ารสำรวจระบบ
ความรู้พ้นื ฐาน นเิ วศในท้องถ่นิ การอนุรักษ์ระบบนเิ วศ
รายวชิ า 3.1 ขนั้ ตอนในการเขยี นโครงการ
รักษท์ ้องถ่นิ 3.2 การวางแผนและการเขียนโครงการ
3.3 ความหมายของโครงการ
3.4 องคป์ ระกอบของโครงการ
3.5 ลกั ษณะโครงการทด่ี ี
3.6 แนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
3.7 แนวทางการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์เพอ่ื
ส่งิ แวดล้อม
แผนการจดั กระบวนการเรยี นรู้ ครงั้ ท่ี 1
เนอ้ื หาการเรยี นร้ทู ่ี 1 เรื่อง การปฐมนิเทศ
วันที่ 1 เดือน ตลุ าคม พ.ศ. 2564 เวลา 09.00 น. - 12.00 น. ถึง 13.00 น. - 16.00 น.
1. มาตรฐานการเรยี นรู้ -
2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
2.1 เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ และเข้าใจ ความหมาย ความสำคัญ และการนำไปใช้เก่ียวกับ
การจดั การเรยี นรู้ตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 ได้
2.2 เพ่อื ให้ผเู้ รียนเข้ารว่ มกิจกรรม กศน.ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคล่ว ถกู ตอ้ ง
2.3 เพ่ือให้ผเู้ รียนมที ัศนคตทิ ่ดี ตี ่อสถานศึกษาและบุคลากรได้
3. สาระการเรียนรู้
3.1 โครงสรา้ งหลกั สูตร
3.2 การทำกจิ กรรพฒั นาคุณภาพชวี ิต
3.3 การประเมินคุณธรรมตามพฤติกรรมบง่ ช้ี
3.4 เกณฑ์การจบหลักสตู ร
3.5 ค่านิยมหลัก 12 ประการ
4. ผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวัง
4.1 ผู้เรียนรู้และเข้าใจความหมาย ความสำคัญ และการนำไปใช้เก่ียวกับการจัดการเรียนรู้
ตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พ.ศ.2551
4.2 ผูเ้ รยี นเข้ารว่ มกิจกรรม กศน.ได้อยา่ งคล่องแคลว่ ถูกต้อง
4.3 ผเู้ รยี นมที ัศนคติทด่ี ตี อ่ สถานศกึ ษาและบคุ ลากร กศน.
5. กิจกรรมการเรยี นรู้
5.1 ข้ันการกำหนดสภาพปัญหา (O : orientation)
ครูพบปะผู้เรียน เพ่ือแนะนำสถานศึกษา ช้ีแจงรายละเอียด โครงสร้างหลักสูตร 2551 เน้ือหารายวิชา
ท่ีลงทะเบียนวิธีเรียน หลักฐานการเรียนรู้ ปฏิทินการจัดการเรียนรู้/คู่มือผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียนทำความเข้าใจ
กอ่ นการเข้ารบั การปฐมนิเทศ
5.2 ข้นั การแสวงหาขอ้ มลู และการเรยี นรู้ (N : new way of learning)
5.2.1 ครแู ละผู้เรยี นร่วมกนั ศึกษาโครงสรา้ งหลักสูตร 2551 และเกณฑก์ ารจบหลักสตู ร
5.2.2 ครแู ละผูเ้ รียนรว่ มกนั จัดกจิ กรรมให้ผ้เู รยี นรูจ้ ักและคุ้นเคยกนั มากขน้ึ และรู้จกั ครูผ้สู อน
5.2.3 ครูและผเู้ รยี นร่วมกันหารือและสรุปข้อตกลงในการเรยี นการสอนใน ภาคเรยี น 2/2564
5.2.4 ครชู แ้ี จงช่องทางการติดต่อสอื่ สารระหว่างครูกับผู้เรยี นและสถานศึกษา
5.3 การปฏบิ ัติและการนำไปใช้ ( I : implementation)
5.3.1 ให้ผู้เรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มตามใบงานท่ีได้รับ และส่งตัวแทนนำเสนอหน้า
ชั้นเรียน
5.3.2 ครแู ละผเู้ รียนร่วมกันสรุปองค์ความรูร้ ว่ มกนั
5.3.3 ครูใหผ้ ู้เรียนแบ่งกลุม่ มอบหมายงานการเรียนร้ตู อ่ เนือ่ ง (กรต.) ออกเปน็ 4 กลุ่ม
กลุ่มท่ี 1 ความหมาย ความสำคัญและความจำเป็นของการพัฒนาอาชีพเพ่ือความ
ม่ันคง
กลุ่มที่ 2 ความจำเป็นของการวเิ คราะห์ศกั ยภาพธุรกิจ
กลมุ่ ท่ี 3 การวิเคราะหต์ ำแหน่งธรุ กิจ
กลมุ่ ที่ 4 การวิเคราะหศ์ กั ยภาพธุรกจิ บนเสน้ ทางของเวลา
5.4 ขัน้ การประเมนิ ผล (E : evaluation)
5.4.1 ประเมินผล จากการเรียนรู้การนำเสนอโดยใช้กระบวนการกลุ่ม การรายงาน และ
การทำทดสอบยอ่ ย ทดสอบก่อนเรียน การซกั ถาม และการสงั เกต
6. สอ่ื อปุ กรณก์ ารเรยี นรู้
6.1 คู่มอื ผูเ้ รยี น / ปฏิทนิ การเรยี นรู้
6.2 สอ่ื ประกอบการบรรยาย
6.3. แบบประเมนิ
7. การวดั ผลประเมินผล
7.1 การมีส่วนร่วมในการร่วมกิจกรรม
7.2 แบบประเมินความพงึ พอใจ
8. แหล่งเรียนรู้
8.1 กศน.ตำบล
8.2 ห้องสมุดประชาชนอำเภอ
8.3 แหล่งเรียนในตำบล
9. ตัวช้ีวัดการเรียนรู้
9.1 ร้อยละ 80 ของผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจความหมาย ความสำคัญ และการนำไปใช้เก่ียวกับ
การจัดการเรยี นรตู้ ามหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พ.ศ.2551
9.2 รอ้ ยละ 80 ของผเู้ รียนเข้าร่วมกิจกรรม กศน.ได้อย่างคลอ่ งแคล่ว ถกู ตอ้ ง
9.3 รอ้ ยละ 80 ของผเู้ รียนมีทัศนคติทดี่ ีต่อสถานศกึ ษาและบคุ ลากร
ลงช่อื ...............................................ครผู สู้ อน
(นางยามลี ะห์ สิงหะ)
ครู กศน.ตำบลรโิ ก๋
ความคิดเห็นหวั หนา้ งานการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชอื่ ..............................................หวั หนา้ งานการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
(นางมทั มา แวนาแว)
ครผู ้ชู ่วย
ความคดิ เหน็ ผ้บู ริหารสถานศึกษา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………….....…………………………………………………………………………………………….…
ลงช่ือ................................................ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
(นางหทยั กาญจน์ วัฒนสิทธ์ิ)
ผอู้ ำนวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสไุ หงปาดี
ใบความรูท้ ี่ 1
สรุปสาระสำคัญ หลกั สตู ร กศน.51
หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551
หลกั การ
หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กำหนดหลกั การไว้ ดังนี้
1. เป็นหลักสตู รทมี่ โี ครงสร้างยืดหยุน่ ดา้ นสาระการเรยี นรู้ เวลาเรยี น และการจดั การเรียนรู้โดยเนน้ การบรู ณาการเนื้อหาให้
สอดคลอ้ งกับวิถชี วี ติ ความแตกตา่ งของบคุ คล และชมุ ชน สงั คม
2. สง่ เสริมใหม้ กี ารเทียบโอนผลการเรยี นจากการศกึ ษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
3. สง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนได้พัฒนาและเรียนรู้อยา่ งต่อเนอื่ งตลอดชีวติ โดยตระหนกั วา่ ผู้เรียนมคี วามสำคญั สามารถพฒั นา
ตนเองไดต้ ามธรรมชาตแิ ละเตม็ ตามศกั ยภาพ
4. สง่ เสริมให้ภาคเี ครือข่ายมสี ว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษา
จดุ หมาย
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 มงุ่ พฒั นาให้ผเู้ รยี นมีคุณธรรม จริยธรรม
มสี ตปิ ญั ญา มคี ุณภาพชีวิตที่ดี มศี กั ยภาพในการประกอบอาชีพและการเรยี นรูอ้ ย่างต่อเนอ่ื ง ซงึ่ เป็นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ทีต่ อ้ งการ จงึ กำหนดจุดหมายดังตอ่ ไปนี้
1. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ มทดี่ ีงาม และสามารถอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมอย่างสันตสิ ขุ
2. มีความรู้พนื้ ฐานสำหรับการดำรงชวี ิต และการเรยี นร้อู ยา่ งตอ่ เนือ่ ง
3. มีความสามารถในการประกอบสัมมาอาชพี ใหส้ อดคลอ้ งกับความสนใจ ความถนดั และตามทนั ความเปลย่ี นแปลงทาง
เศรษฐกจิ สังคม และการเมือง
4. มีทักษะการดำเนินชวี ติ ที่ดี และสามารถจดั การกับชีวิต ชุมชน สงั คม ได้อยา่ งมคี วามสขุ ตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
5. มีความเข้าใจประวัตศิ าสตรช์ าติไทย ภมู ใิ จในความเปน็ ไทย โดยเฉพาะภาษา ศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณี กฬี า ภมู ิปญั ญา
ไทย ความเป็นพลเมอื งดี ปฏบิ ตั ิตนตามหลักธรรมของศาสนายดึ ม่ันในวถิ ีชีวิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี
พระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
6. มีจิตสำนกึ ในการอนุรกั ษ์ และพฒั นาทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม
7. เป็นบคุ คลแหง่ การเรยี นรู้ มที ักษะในการแสวงหาความรู้ สามารถเข้าถงึ แหล่งเรียนรแู้ ละบูรณาการความรมู้ าใช้ในการ
พฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ
กลมุ่ เป้าหมาย
ประชาชนท่ัวไปทไี่ มไ่ ดอ้ ยใู่ นระบบโรงเรียน
โครงสร้าง
เพอื่ ใหก้ ารจัดการศึกษาเปน็ ไปตามหลักการ จุดหมาย และมาตรฐานการเรยี นรู้ ที่กำหนดไว้ให้สถานศึกษาและภาคี
เครือขา่ ยมีแนวปฏิบัตใิ นการจัดหลกั สูตรสถานศึกษา จึงได้กำหนดโครงสรา้ งของหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษา
ข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ไว้ดงั น้ี
1. ระดับการศึกษา
ระดับการศกึ ษา แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ดงั นีค้ อื
1.1 ระดับประถมศึกษา
1.2 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
1.3 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
2. สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรปู้ ระกอบดว้ ย 5 สาระ ดังน้ี
2.1 สาระทักษะการเรียนรู้ เป็นสาระเกี่ยวกับการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง การใชแ้ หล่งเรยี นรู้ การจดั การความรู้
การคิดเป็น และการวิจัยอย่างงา่ ย
2.2 สาระความรู้พนื้ ฐาน เปน็ สาระเกีย่ วกับภาษาและการสอื่ สาร คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2.3 สาระการประกอบอาชพี เป็นสาระเกยี่ วกับการมองเหน็ ชอ่ งทาง และการตดั สนิ ใจประกอบอาชีพ
ทกั ษะในอาชีพ การจัดการอาชีพอย่างมคี ุณธรรม และการพฒั นาอาชพี ให้มีความมน่ั คง
2.4 สาระทกั ษะการดำเนนิ ชวี ิต เปน็ สาระเก่ียวกับปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสุขภาพ อนามัยและความ
ปลอดภยั ในการดำเนินชีวิต ศิลปะและสนุ ทรียภาพ
2.5 สาระการพัฒนาสงั คม เป็นสาระเก่ียวกบั ภมู ิศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์การเมือง การ
ปกครอง ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี หน้าท่ีพลเมือง และการพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม
3. กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวติ
กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ เป็นกจิ กรรมที่จดั ขึน้ เพือ่ ให้ผเู้ รยี นพัฒนาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคม
4. มาตรฐานการเรียนรู้
หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 กำหนดมาตรฐานการเรยี นรู้ ตามสาระการเรยี นรู้
ทั้ง 5 สาระ ทเ่ี ปน็ ขอ้ กำหนดคณุ ภาพของผูเ้ รียน ดังน้ี
4.1 มาตรฐานการเรยี นรกู้ ารศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน เป็นมาตรฐานการเรยี นร้ใู นแต่ละ
สาระการเรียนรู้ เม่ือผเู้ รียนเรยี นจบหลักสตู ร การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
4.2 มาตรฐานการเรยี นรูร้ ะดับ เปน็ มาตรฐานการเรยี นรใู้ นแตล่ ะสาระการเรยี นรเู้ ม่อื ผู้เรียนเรยี นจบในแต่
ละระดบั ตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551
5. เวลาเรียน
ในแต่ละระดบั ใชเ้ วลาเรยี น 4 ภาคเรยี น ยกเวน้ กรณที มี่ ีการเทยี บโอนผลการเรยี น ทงั้ นีผ้ เู้ รยี นต้องลงทะเบียนเรยี นใน
สถานศึกษาอยา่ งนอ้ ย 1 ภาคเรียน
6. หน่วยกติ
ใช้เวลาเรียน 40 ชวั่ โมง มีคา่ เทา่ กบั 1 หน่วยกิต
หมายเหตุ วิชาเลือกในแตล่ ะระดบั สถานศึกษาต้องจัดใหผ้ ู้เรยี น เรยี นรจู้ ากการทำโครงงานจำนวนอย่างนอ้ ย 3 หนว่ ยกิต
หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ประกอบด้วย
1. สาระการเรยี นรู้ 5 สาระ คอื ทักษะการเรยี นรู้ ความรู้พ้ืนฐาน การประกอบอาชีพ ทกั ษะการดำเนนิ ชีวิต และการ
พัฒนาสังคม
2. จำนวนหน่วยกติ ในแตล่ ะระดบั ดงั น้ี
2.1 ระดบั ประถมศกึ ษา ไม่นอ้ ยกว่า 48 หน่วยกิต แบง่ เป็นวชิ าบังคับ 36 หนว่ ยกติ และวิชาเลือกไมน่ อ้ ย
กว่า 12 หนว่ ยกติ
2.2 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ไมน่ อ้ ยกว่า 56 หนว่ ยกติ แบง่ เป็นวชิ าบังคบั 40 หนว่ ยกติ และวิชาเลอื กไมน่ อ้ ย
กว่า 16 หนว่ ยกิต
2.3 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายไม่น้อยกวา่ 76 หนว่ ยกติ แบง่ เป็นวชิ าบงั คบั 44 หนว่ ยกติ และวิชาเลือกไม่น้อยกว่า
32หนว่ ยกติ
3. ผ้เู รียนตอ้ งทำกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ระดบั ละ ไมน่ ้อยกวา่ 200 ช่ัวโมง
การจัดหลกั สตู ร
หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ทส่ี ถานศึกษานำไปใชจ้ ัดการเรียนรู้นัน้
ประกอบด้วยสาระการเรียนรู้ 5 สาระ คือ ทกั ษะการเรยี นรู้ ความรพู้ ื้นฐานการประกอบอาชีพ ทักษะการดำเนินชวี ติ และการ
พัฒนาสงั คม โดยโครงสรา้ งหลักสตู รไดก้ ำหนดจำนวนหน่วยกติ ในแตล่ ะระดบั ทั้งวชิ าบงั คบั และวิชาเลือก ซง่ึ ผูเ้ รยี นทกุ คนตอ้ ง
เรียนวิชาบังคบั ตามทกี่ ำหนด สำหรบั วชิ าเลือกให้ผเู้ รยี นเลอื กเรียนได้ ตามแผนการเรยี นรูเ้ ปน็ รายบคุ คล และ/หรกื ลุ่ม โดย
เลือกเรยี นในสาระการเรียนรู้ใดสาระการเรียนรูห้ นึ่ง หรอื หลายสาระการเรยี นรู้ ใหค้ รบจำนวนหน่วยกติ ตามโครงสรา้ งหลักสตู ร
ในแตล่ ะระดบั ตามความต้องการของผเู้ รยี น
การจัดการศกึ ษาสำหรับกล่มุ เปา้ หมายเฉพาะ
การจดั การศึกษาสำหรับกล่มุ เป้าหมายเฉพาะ เช่น ผบู้ กพรอ่ งในดา้ นต่าง ๆ ผมู้ คี วามสามารถพเิ ศษ การศกึ ษาทางเลือก
ที่จัดโดยครอบครัวและองค์กรต่าง ๆ การจดั การศกึ ษาดงั กลา่ วสถานศกึ ษาสามารถปรับมาตรฐานการเรียนรูใ้ นหลกั สตู ร
การศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ได้ตามความเหมาะสม
บันทกึ หลังการสอน
กศน.ตำบลรโิ ก๋
คร้ังท.ี่ .............. วนั ท.ี่ ............................................... ผสู้ อน นางยามลี ะห์ สิงหะ
สถานทพ่ี บกลุ่ม กศน.ตำบลรโิ ก๋ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
สาระ...................................................รายวิชา............................................................รหัสวชิ า...........................
ผเู้ รียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน................คน เข้าพบกลมุ่ ..............คน ไม่พบกลุ่ม..............คน
เนอื้ หา/สาระ/รายวชิ า
........................................................................................................................................................................ .....
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
กจิ กรรมการเรยี นการสอน
........................................................................................................................................ .....................................
.............................................................................................................................................................................
..................................................................................................... ........................................................................
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
........................................................................................... ..................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
ปัญหา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... .........................
แนวทางการแก้ปัญหา
............................................................................................................. ................................................................
.............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................ .....................................................
ความเหน็ /ข้อเสนอแนะผู้บริหาร
.............................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................... .......................
ลงชอื่ ..............................................ครูผสู้ อน ลงชื่อ................................................ผูร้ ับรองข้อมลู
(นางยามลี ะห์ สงิ หะ) (นางหทยั กาญจน์ วัฒนสทิ ธ์)ิ
ครู กศน.ตำบลริโก๋
ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอสุไหงปาดี
แผนการจดั การเรยี นรู้ ครง้ั ท่ี 2
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สาระ การประกอบอาชพี รายวิชา การพฒั นาอาชพี ให้มีความมัน่ คง อช31003
เน้ือหาการเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง 1. ศักยภาพธุรกิจ 2.การจัดทำแผนพัฒนาการตลาด 3.การจัดทำแผนพัฒนา
การผลติ หรือการบริการ
วนั ท่ี 8 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถงึ 13.00 น.- 16.00 น.
1. มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ
มีความรู ความเขาใจในการพัฒนาอาชีพ ใหมีผลิตภัณฑหรืองานบริการ สร้างรายได้พอเพียงตอ
การดำรงชีวิต มเี งินออมและมที นุ ในการขยายอาชีพ
2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
2.1 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายความหมาย และความสำคัญของศักยภาพธุรกิจ การจัดทำ
แผนพฒั นาการตลาด และการจดั ทำแผนพฒั นาการผลติ หรอื การบริการได้
2.2 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถฝึกทักษะพ้ืนฐานเกี่ยวกับ ศักยภาพธุรกิจ การจัดทำแผนพัฒนาการตลาด
และการจดั ทำแผนพัฒนาการผลติ หรอื การบริการได้อย่างคล่องแคลว่
2.3 เพ่อื ใหผ้ ้เู รยี นสามารถสร้างความสามคั คี และตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั งิ านทีไ่ ด้มอบหมายได้
3. สาระการเรยี นรู้ สาระการประกอบอาชีพ
4. ผลการเรยี นร้ทู ค่ี าดหวัง
4.1 ความหมาย และความสำคัญของศักยภาพธุรกิจ การจัดทำแผนพัฒนาการตลาด และการจัดทำ
แผนพฒั นาการผลติ หรอื การบริการ
4.2 ฝึกทักษะพ้ืนฐานเก่ียวกับศักยภาพธุรกิจ การจัดทำแผนพัฒนาการตลาด และการจัดทำ
แผนพฒั นาการผลิตหรือการบริการได้อย่างคลอ่ งแคล่ว
4.3 สามารถสร้างความสามคั คี และตรงต่อเวลาในการปฏิบัติงานท่ีไดม้ อบหมาย
5. กิจกรรมการเรยี นรู้
5.1 ขน้ั การกำหนดสภาพปัญหา (O : orientation)
ครูทักทายและสอบถามนักศึกษา อธิบายความหมายความสำคัญเกี่ยวกับ ศักยภาพธุรกิจ
การจัดทำแผนพัฒนาการตลาด และการจัดทำแผนพัฒนาการผลิตหรือการบริการ เช่น ความหมาย
ความสำคัญและความจำเป็นของการพัฒนาอาชีพเพื่อความม่ันคง ความจำเป็นของการวิเคราะห์
ศักยภาพธรุ กิจ การวิเคราะห์ตำแหนง่ ธรุ กจิ การวิเคราะหศ์ กั ยภาพธุรกจิ บนเสน้ ทางของเวลา
5.2 ขัน้ การแสวงหาข้อมูลและการเรียนรู้ (N : new way of learning)
5.2.1 นำเสนอกจิ กรรมการเรียนรูต้ อ่ เน่อื ง (กรต.) และแลกเปล่ยี นเรียนรู้รว่ มกนั
กลุ่มท่ี 1 ความหมาย ความสำคัญและความจำเป็นของการพัฒนาอาชีพเพื่อ
ความมั่นคง
กลมุ่ ที่ 2 ความจำเปน็ ของการวิเคราะหศ์ กั ยภาพธุรกจิ
กลุ่มท่ี 3 การวิเคราะหต์ ำแหน่งธุรกิจ
กลุ่มท่ี 4 การวิเคราะหศ์ ักยภาพธุรกิจบนเสน้ ทางของเวลา
5.3 การปฏบิ ตั แิ ละการนำไปใช้ ( I : implementation)
5.3.1 ให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มตามใบงานที่ได้รับ และส่งตัวแทนนำเสนอ
หน้าช้ันเรยี น
5.3.2 ครแู ละนกั ศึกษารว่ มกันสรปุ องค์ความรรู้ ว่ มกัน
5.3.3 ครใู ห้นกั ศึกษาแบง่ กลมุ่ มอบหมายงานการเรียนรู้ต่อเน่ือง (กรต.) ออกเปน็ 4 กลมุ่
กล่มุ ท่ี 1 การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแผนการผลิตหรือบรกิ าร
กลมุ่ ท่ี 2 การเขยี นโครงการพฒั นาอาชพี สู่ความม่นั คง
กลมุ่ ท่ี 3 การตรวจสอบความเปน็ ไปได้ของโครงการ
กลุ่มที่ 4 การปรับปรงุ โครงการพัฒนาอาชีพ
5.4 ขัน้ การประเมินผล (E : evaluation)
5.4.1 ประเมินผลจากการเรียนรู้ การนำเสนอโดยใช้กระบวนการกลุ่ม การรายงาน และ
การทำทดสอบย่อย ทดสอบก่อนเรยี น การซกั ถาม และการสงั เกต
6. การวดั ผลประเมินผล
6.1 การสังเกต
6.2 การนำเสนอ และการซกั ถาม
7.สอื่ และวัสดอุ ปุ กรณ์
7.1 ใบความรู้
7.2 ใบงาน
7.3 หนงั สือเรียน
7.4 อินเทอร์เน็ต
8. แหล่งเรยี นรู้
8.1 กศน.ตำบล
8.2 ห้องสมุดประชาชนอำเภอ
8.3 สถาบันศกึ ษาปอเนาะ
9. ตัวช้ีวดั การเรยี นรู้
9.1 ร้อยละ 80 ของผู้เรียนสามารถอธิบายความหมาย และความสำคัญของศักยภาพธุรกิจ การจดั ทำ
แผนพัฒนาการตลาด และการจดั ทำแผนพัฒนาการผลิตหรือการบรกิ ารได้
9.2 ร้อยละ 80 ของผู้เรียนสามารถฝึกทักษะพ้ืนฐานเกี่ยวกับศักยภาพธุรกิจ การจัดทำแผนพัฒนา
การตลาด และการจดั ทำแผนพัฒนาการผลิตหรอื การบรกิ ารได้อยา่ งคลอ่ งแคล่ว
9.3 รอ้ ยละ 80 ของผเู้ รียนสามารถสรา้ งความสามัคคี และตรงต่อเวลาในการปฏิบัติงานทไี่ ด้
มอบหมายได้
ลงช่อื ........................................................ครผู สู้ อน
(นางยามลี ะห์ สงิ หะ)
ครู กศน.ตำบลรโิ ก๋
ความคดิ เหน็ หัวหนา้ งานการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่ือ.............................................หวั หนา้ งานการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
(นางมทั มา แวนาแว)
ครผู ชู้ ว่ ย
ความคดิ เหน็ ผู้บริหารสถานศึกษา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………….....…………………………………………………………………………………………….…
ลงช่ือ................................................ผู้บริหารสถานศกึ ษา
(นางหทัยกาญจน์ วฒั นสิทธ์ิ)
ผูอ้ ำนวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอสุไหงปาดี
ใบความรทู้ ่ี 1
เรื่องที่ 1 การกำหนดทิศการตลาด เป้าหมาย กลยทุ ธใ์ นการขยายอาชพี
ความคิดรวบยอด
การทำธุรกจิ ไมว่ า่ จะทำระดับใด จำเป็นต้องมีทศิ ทางใหม้ องเหน็ ผลสำเร็จ ภาระงานที่จะต้องทำและกลยุทธส์ ู่
ความสำเรจ็ ใชเ้ ป็นความคดิ สกู่ ารปฏบิ ตั จิ ริง จะทำใหเ้ ราวางธรุ กจิ อยใู่ นความพอดอี ยา่ งมีภูมคิ มุ้ กนั ไมใ่ ช่ทำไป คดิ ไป ลงทุนไป
อย่างไรท้ ิศทาง
ขัน้ ตอนการดำเนนิ งาน
12 3
1. ทศิ ทางธรุ กิจ 2. เป้าหมาย 3. แผน
วสิ ยั ทศั น์ กลยุทธ์ แผนกลยุทธ์
พนั ธกจิ
จากแผนภมู ิ ทำให้มองเห็นว่าการกำหนดทศิ ทาง กลยทุ ธ์ การขยายอาชีพ ประกอบด้วย
1. การคิดเขียนทิศทางธรุ กจิ ประกอบดว้ ยวิสยั ทัศนท์ ี่ต้องการใหเ้ กดิ อยา่ งมีความพอดี และพนั ธกจิ สำคัญท่ีจะนำไปสู่
ความสำเร็จ
2. การคิดเขียนกลยทุ ธห์ รือวิธีการสรา้ งความสำเร็จตามพันธกิจ ซึง่ จะมเี ป้าหมายอยา่ งชดั เจน
3. การคิดเขยี นแผนกลยุทธด์ ว้ ยการนำเป้าหมายกลยทุ ธม์ าวิเคราะหใ์ หม้ องเห็นตัวบง่ ชีค้ วามสำเร็จ ปจั จยั นำเข้าท่ี
สำคัญ และกจิ กรรมทจ่ี ำเป็นต้องทำเป็นแผนทิศทางไปสคู่ วามสำเรจ็ ของการดำเนนิ ธรุ กิจ
รายละเอียดการดำเนินงาน
การกำหนดทศิ ทางธรุ กิจ
เปน็ การคิดใหม้ องเหน็ อนาคตของการขยายอาชีพใหม้ คี วามพอดี จะต้องกำหนดให้ไดว้ า่ ในชว่ งระยะขา้ งหนา้ ควรจะ
ไปถงึ ไหน อยา่ งไร ซึง่ ประกอบด้วย ขอ้ ความวิสัยทศั นว์ ่าจะไปถงึ ไหน และขอ้ ความพันธกจิ วา่ จะไปอยา่ งไร โดยมวี ธิ กี ารคดิ และ
เขยี นดงั นี้
1.1 การเขยี นข้อความวิสยั ทศั น์ การขยายอาชพี มลี กั ษณะโครงสรา้ งการเขยี นทป่ี ระกอบด้วย
ก. ช่วงระยะเวลาทเ่ี ราไปสดุ ทางของการขยายอาชีพในช่วงนี้ จะเป็นระยะเวลา กี่ปี พ.ศ. อะไร
ข. ความคิด เปา้ หมาย ลักษณะความสำเร็จที่เราจะไปถึงอยา่ งมีความพอดี และท้าทายความสามารถของเรา คอื อะไร
จากข้อความวิสัยทัศน์ ตวั อยา่ งขา้ งตน้ สามารถจำแนกให้มองเห็นโครงสร้างการเขยี นได้ดงั นี้
ก. ชว่ งระยะเวลาทีจ่ ะไปสุดทาง คอื ปี พ.ศ. 2551
ข. ข้อความ ความคิดลักษณะความสำเรจ็ ที่จะไปถึงอยา่ งมคี วามพอดแี ละท้าทาย คือไร่ทนเหนอ่ื ยสามารถผลติ ผกั สด
ผลไม้ เกษตรอนิ ทรีย์เขา้ สตู่ ลาดคณุ ภาพประเทศสงิ คโปรไ์ ด้
จงึ อาจสรปุ ไดว้ า่ การกำหนดวสิ ัยทศั นไ์ ม่ใช่เปน็ การกำหนดเพ่ือความน่าสนใจ แตเ่ ป็นการกำหนดใหม้ องเหน็ ทศิ ทางของธุรกจิ ที่
เราจะต้องฝ่าฟันอุปสรรคต่าง ๆ ไปให้ถงึ ได้
1.2 การเขยี นพนั ธกจิ การเขียนขอ้ ความพันธกิจเปน็ การดำเนนิ การตอ่ เนือ่ งจากการกำหนดวสิ ยั ทศั น์ ว่า เราจะต้องมี
ภารกจิ ทส่ี ำคัญ อะไรบ้าง ท่เี ราทำให้การขยายอาชพี บรรลผุ ลสำเรจ็ ไดต้ ามวสิ ัยทศั น์ โดยมีแนวทางการคิดและเขียนดังนี้
1.2.1 การวเิ คราะหว์ า่ หากจะใหเ้ กดิ ความสำเรจ็ ตามวสิ ัยทัศน์ จะตอ้ งมีพันธกจิ อะไรบ้าง ในทางธุรกิจมี
ภาระทสี่ ำคญั 4 ประการ คอื
ก. ภารกิจด้านทุนดำเนินการ
ข. ภารกจิ ด้านลกู คา้
ค. ภารกิจด้านผลผลิต
ง. ภารกจิ ด้านการเรียนรพู้ ฒั นาตนเองและองค์กร
ดังน้นั การดำเนนิ การขยายอาชีพ อาจใชพ้ นั ธกิจทัง้ 4 กรณีมาคดิ เขยี นพันธกิจนำไปสคู่ วามสำเรจ็ ได้
1.2.2 โครงสรา้ งการเขียนพันธกจิ มีองคป์ ระกอบรว่ ม 3 ดา้ น คอื
ก. ทำอะไร (บอกภาระสำคญั ทก่ี ระทบตอ่ ความสำเรจ็ )
ข. ทำไมต้องทำ (บอกเหตุผลหรอื จุดประสงค)์
ค. ทำอยา่ งไร (บอกวธิ ีดำเนนิ การทส่ี ำคัญ และส่งผลต่อความสำเรจ็ จริง)
ตัวอย่างข้อความภารกิจของไร่ทนเหน่ือย
1. ขยายพื้นทก่ี ารผลติ 20 ไร่ เพอื่ ใช้ผลิตผกั สดอินทรยี ์ ดว้ ยการพฒั นาคุณภาพดินด้วยปุ๋ยพืชสด เพ่ิมแรงงาน 10 คน
จัดหานำ้ ใหไ้ ดว้ นั ละ 300 ลกู บาศก์เมตร
2. สรา้ งความเช่อื ถือให้กบั ลูกคา้ เพอื่ ขยายการตลาดด้วยการจดั ทำเวบ็ ไซด์ของตนเอง จดั ทำสารคดเี ผยแพร่ สัปดาห์
ละ 1 เรอื่ ง และเว็บบอร์ดแลกเปล่ียนเรียนรกู้ บั ลกู ค้าและผู้สนใจ
3. ยกระดับคุณภาพผลผลิตให้เป็นไปตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ยุโรป เพ่ือให้สามารถส่งออกต่างประเทศได้ ด้วย
การพฒั นาคณุ ภาพดินไมใ่ หป้ นเปือ้ นโลหะหนกั และจดั การแปลงเกษตรให้เป็นระบบนิเวศธรรมชาติ
4. พัฒนาคนงานให้ทำงานตามขั้นตอน เพ่ือติดตามหาข้อบกพร่องและปฏิบัติการแก้ไขข้อบกพร่องได้ด้วยการสร้าง
ความตระหนักให้เห็นความสำคัญของมาตรฐานคุณภาพ และร่วมเขียนเอกสารข้ันตอนการทำงาน จงึ สรปุ ได้ว่าการขยายอาชีพ
ใหเ้ กิดความพอดีน้นั เปน็ ไปตามศักยภาพของผปู้ ระกอบอาชพี แตก่ ารกำหนดทศิ ทางขยายอาชพี นัน้ ต้องมองเหน็ ทิศทางทจ่ี ะไป
ถงึ และรวู้ ่ามีภารกจิ อะไรบา้ ง ตอ้ งทำอย่างไรใหม้ องเห็นรปู ธรรมของการขยายอาชพี ทกี่ า้ วออกไปขา้ งหนา้
การกำหนดเปา้ หมายการตลาด
เป้าหมายการตลาดเพื่อการขยายอาชีพ คือ การบอกให้ทราบว่า สถานประกอบการน้ันสามารถทำอะไรได้ภายใน
ระยะเวลาเทา่ ใด ซ่ึงอาจจะกำหนดไวเ้ ป็นระยะส้นั หรือระยะยาว 3 ปี หรอื 5 ปีกไ็ ด้ การกำหนดเปา้ หมายของการขยายอาชีพ
ต้องมคี วามชดั เจนสามารถวัดและประเมินผลได้ การกำหนดเปา้ หมายหากสามารถกำหนดเปน็ จำนวนตวั เลขไดก้ จ็ ะย่ิงดี เพราะ
ทำให้มีความชัดเจนจะช่วยให้การวางแผนมคี ณุ ภาพย่ิงข้ึน และจะส่งผลในทางปฏิบัตไิ ดด้ ยี ง่ิ ข้นึ
การกำหนดกลยุทธ์
การทจ่ี ะขยายอาชีพใหบ้ รรลุตามวสิ ัยทัศน์ ตอ้ งมีแนวทางปฏบิ ัติสู่ความสำเร็จ เพ่ือชัยชนะเราเรียกวา่ กลยุทธ์ ดังนั้น
การกำหนดกลยทุ ธ์เพอ่ื ให้การขยายอาชีพสคู่ วามสำเร็จจงึ กำหนดกลยทุ ธ์จากภารกิจทจ่ี ะทำทง้ั 4 ด้านตามแนวคดิ ดังน้ี
เร่ืองท่ี 2 การวเิ คราะหก์ ลยทุ ธ์
ใช้เปน็ แผนภาพรวมของการขยายอาชีพ เปน็ เคร่ืองมือควบคุม ภาพรวมของการจัดการขยายอาชีพท่ีประกอบดว้ ย
เหตผุ ลท่จี ะทำใหก้ ารขยายอาชพี สำเรจ็ กับองคป์ ระกอบดา้ นการควบคุมเชิงกลยุทธ์ ทำใหเ้ กดิ 16 ตาราง บรรจเุ งื่อนไขสู่
ความสำเร็จไวส้ ำหรับจดั ทำแผนปฏบิ ัตกิ าร และควบคมุ ภาพรวมของการดำเนินงาน
ก. องคป์ ระกอบดา้ นเหตผุ ลสู่ความสำเร็จของการขยายอาชพี ประกอบด้วย
(1) ดา้ นการลงทนุ (2) ด้านลูกค้า (3) ดา้ นผลผลิต (4) ด้านการเรียนรู้พฒั นาตนเอง
ข. องค์ประกอบด้านการควบคุมเชิงกลยทุ ธป์ ระกอบด้วย
(1) เป้าหมายกลยุทธ์ (2) ตวั บ่งช้ีความสำเร็จ(3) ปัจจัยนำเข้าดำเนินงาน (4) กจิ กรรม/โครงการที่ตอ้ งทำ
การเขียนแผนกลยทุ ธ์ท้ังหมดจะตอ้ งบรรจุอยูใ่ นเอกสารหน้าเดียว เพ่ือให้มองเห็นความสมั พันธร์ ่วมระหวา่ งตารางทั้ง
16 ตารางดงั ตวั อยา่ ง
เรอ่ื งที่ 3 การกำหนดกจิ กรรมและแผนการพฒั นาการตลาด
การกำหนดกิจกรรมเพือ่ พัฒนาการตลาด
การตลาดมคี วามสำคัญมผี ลต่อการบรรลเุ ปา้ หมายสุดท้ายของการดำเนินธรุ กิจ ธุรกิจต้องเร่ิมดว้ ยการศึกษาความตอ้ งการที่
แทจ้ ริงของลูกคา้ จากนน้ั จงึ ทำการสรา้ งสินคา้ หรอื บรกิ ารที่ทำใหล้ ูกคา้ เกดิ ความพอใจสงู สุดดว้ ยการคำนงึ ถงึ ในเรื่องต่อไปน้ี
1. กิจกรรมการพัฒนาสินคา้ ใหต้ รงกับความต้องการของลูกค้า
2. กจิ กรรมด้านราคาผผู้ ลติ ต้องกำหนดราคาทเี่ หมาะสมกบั กำลงั ซ้อื ของผบู้ ริโภค และเหมาะสมกบั คณุ ภาพของสนิ ค้า
3. กจิ กรรมดา้ นสถานท่ี ตอ้ งคดิ ว่าจะสง่ ของสินค้าใหก้ ับผูบ้ รโิ ภคได้อยา่ งไร หรอื ตอ้ งมกี ารปรับสถานทข่ี าย ทำเลทีต่ ้งั ขายสนิ ค้า
4. กจิ กรรมสง่ เสรมิ การขาย จะใชว้ ธิ กี ารใดทีท่ ำให้ลูกค้ารจู้ ักสนิ ค้าของเรา
ใบงานที่ 1
รายวิชา การพัฒนาอาชพี ใหม้ ีความมนั่ คง (อช31003) ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
..................................................................................................
ใหผ้ ูเ้ รียนกำหนดทิศทาง เป้าหมาย กลยทุ ธ์ในการขยายอาชพี และกำหนดกจิ กรรม และวางแผนการ
พัฒนาตลาดสินค้าของผเู้ รียนหรอื สนิ ค้าท่ีสนใจ ลงในตารางทกี่ ำหนดข้นึ
1. ทิศทางธรุ กิจในการขยายอาชีพ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. เป้าหมายธุรกจิ ในการขยายอาชพี
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. กลยทุ ธ์ในการขยายอาชีพ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทกึ หลังการสอน
กศน.ตำบลรโิ ก๋
คร้ังท.ี่ .............. วนั ท.ี่ ............................................... ผสู้ อน นางยามลี ะห์ สิงหะ
สถานทพ่ี บกลุ่ม กศน.ตำบลรโิ ก๋ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
สาระ...................................................รายวิชา............................................................รหัสวชิ า...........................
ผเู้ รียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน................คน เข้าพบกลมุ่ ..............คน ไม่พบกลุ่ม..............คน
เนอื้ หา/สาระ/รายวชิ า
........................................................................................................................................................................ .....
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
กจิ กรรมการเรยี นการสอน
........................................................................................................................................ .....................................
.............................................................................................................................................................................
..................................................................................................... ........................................................................
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
........................................................................................... ..................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
ปัญหา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... .........................
แนวทางการแก้ปัญหา
............................................................................................................. ................................................................
.............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................ .....................................................
ความเหน็ /ข้อเสนอแนะผู้บริหาร
.............................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................... .......................
ลงชอื่ ..............................................ครูผสู้ อน ลงชื่อ................................................ผูร้ ับรองข้อมลู
(นางยามลี ะห์ สงิ หะ) (นางหทยั กาญจน์ วัฒนสทิ ธ์)ิ
ครู กศน.ตำบลริโก๋
ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอสุไหงปาดี
แผนการจดั การเรียนรู้ ครง้ั ท่ี 3
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ สาระ การประกอบอาชีพ รายวิชา การพัฒนาอาชีพให้มคี วามมนั่ คง อช31003
เนื้อหาการเรยี นรทู้ ่ี 1 เร่ือง 1. การพัฒนาธรุ กิจเชิงรกุ 2. โครงการพัฒนาอาชีพสู่ความมั่นคง
วนั ท่ี 15 เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถงึ 13.00 น.- 16.00 น.
1. มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ
มีความรู ความเขาใจในการพัฒนาอาชีพ ใหมีผลิตภัณฑหรืองานบริการ สร้างรายได้พอเพียงตอ
การดำรงชีวิต มเี งินออมและมที ุนในการขยายอาชีพ
2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
2.1 เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถอธิบายความสำคัญของการพัฒนาธุรกิจเชิงรุก และโครงการพัฒนาอาชีพสู่
ความมนั่ คงได้
2.2 เพื่อให้ผเู้ รยี นสามารถฝึกทักษะพ้ืนฐานเก่ียวกับ การพัฒนาธุรกจิ เชิงรุก และโครงการพัฒนาอาชีพ
สู่ความมั่นคงไดอ้ ย่างคลอ่ งแคลว่
2.3 เพ่ือให้ผู้เรยี นสามารถสรา้ งความสามคั คี และตรงต่อเวลาในการปฏิบัติงานท่ไี ดม้ อบหมายได้
3. สาระการเรยี นรู้ สาระการประกอบอาชีพ
4. ผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวัง
4.1 ความสำคัญของการพฒั นาธรุ กจิ เชงิ รุก และโครงการพฒั นาอาชพี สูค่ วามม่นั คง
4.2 ฝึกทักษะพ้ืนฐานเก่ียวกับการพัฒนาธุรกิจเชิงรุก และโครงการพัฒนาอาชีพสู่ความม่ันคงได้อย่าง
คล่องแคล่ว
4.3 สามารถสรา้ งความสามัคคี และตรงต่อเวลาในการปฏิบตั ิงานท่ไี ด้มอบหมาย
5. กิจกรรมการเรยี นรู้
5.1 ขน้ั การกำหนดสภาพปัญหา (O : orientation)
ครูทักทายและสอบถามนักศึกษา อธิบายความสำคัญเกี่ยวกับ การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก เช่น
ความจำเป็นและคุณค่าของธุรกิจเชิงรุก การแทรกความนิยมเข้าสู่ความต้องการของผู้บริโภค การสร้าง
รูปลักษณ์คุณภาพสินค้าใหม่ การพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง โครงการพัฒนาอาชีพสู่ความม่ันคง และ
โครงการพัฒนาอาชีพสู่ความมั่นคง เช่น การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแผนการผลิตหรือบริการ การเขียน
โครงการพัฒนาอาชีพสู่ความม่ันคง การตรวจสอบความเป็นไปได้ของโครงการ การปรับปรุงโครงการพัฒนา
อาชพี
5.2 ขน้ั การแสวงหาข้อมลู และการเรียนรู้ (N : new way of learning)
5.2.1 นำเสนอกิจกรรมการเรยี นรูต้ อ่ เนือ่ ง (กรต.) และแลกเปลี่ยนเรียนรูร้ ่วมกัน
กลมุ่ ท่ี 1 การวเิ คราะห์ความเป็นไปไดข้ องแผนการผลิตหรอื บริการ
กลมุ่ ท่ี 2 การเขยี นโครงการพฒั นาอาชีพส่คู วามมนั่ คง
กล่มุ ที่ 3 การตรวจสอบความเป็นไปได้ของโครงการ
กลมุ่ ที่ 4 การปรบั ปรุงโครงการพัฒนาอาชพี
5.3 การปฏบิ ตั แิ ละการนำไปใช้ ( I : implementation)
5.3.1 ให้นักศึกษาแลกเปล่ียนเรียนรู้ภายในกลุ่มตามใบงานท่ีได้รับ และส่งตัวแทนนำเสนอ
หนา้ ชั้นเรียน
5.3.2 ครแู ละนักศึกษารว่ มกนั สรุปองคค์ วามร้รู ่วมกนั
5.3.3 ครูให้นักศกึ ษาแบง่ กลมุ่ มอบหมายงานการเรียนรู้ตอ่ เนื่อง (กรต.) ออกเป็น 3 กลุ่ม
กลมุ่ ที่ 1 การพัฒนาตนเอง
กลมุ่ ท่ี 2 การพัฒนาชุมชน
กลุม่ ที่ 3 การพัฒนาสังคม
5.4 ขนั้ การประเมินผล (E : evaluation)
5.4.1 ประเมินผลจากการเรียนรู้ การนำเสนอโดยใช้กระบวนการกลุ่ม การรายงาน และ
การทำทดสอบย่อย ทดสอบก่อนเรยี น การซักถาม และการสงั เกต
6. การวดั ผลประเมินผล
6.1 การสังเกต
6.2 การนำเสนอ และการซักถาม
7.สอ่ื และวัสดอุ ปุ กรณ์
7.1 ใบความรู้
7.2 ใบงาน
7.3 หนงั สือเรียน
7.4 อินเทอร์เนต็
8. แหลง่ เรียนรู้
8.1 กศน.ตำบล
8.2 ห้องสมุดประชาชนอำเภอ
8.3 สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ
9. ตวั ช้ีวดั การเรยี นรู้
9.1 ร้อยละ 80 ของผ้เู รียนสามารถอธิบายความสำคัญของการพัฒนาธุรกิจเชิงรุก และโครงการพัฒนา
อาชพี สคู่ วามมน่ั คงได้
9.2 ร้อยละ 80 ของผู้เรียนสามารถฝึกทักษะพื้นฐานเก่ียวกับการพัฒนาธุรกิจเชิงรุก และโครงการ
พฒั นาอาชพี สคู่ วามม่นั คงได้อยา่ งคลอ่ งแคล่ว
9.3 ร้อยละ 80 ของผู้เรยี นสามารถสรา้ งความสามัคคี และตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิงานทไ่ี ด้
มอบหมายได้
ลงชือ่ ........................................................ครผู สู้ อน
(นางยามลี ะห์ สิงหะ)
ครู กศน.ตำบลริโก๋
ความคดิ เหน็ หัวหนา้ งานการศึกษาขน้ั พื้นฐาน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชอ่ื .............................................หัวหนา้ งานการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
(นางมัทมา แวนาแว)
ครผู ชู้ ่วย
ความคดิ เหน็ ผูบ้ ริหารสถานศึกษา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………….....…………………………………………………………………………………………….…
ลงชื่อ................................................ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา
(นางหทัยกาญจน์ วฒั นสทิ ธิ์)
ผูอ้ ำนวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอสุไหงปาดี
ใบความรูท้ ี่ 1
เรือ่ งที่ 1 ความจำเป็นและคณุ คา่ ของธุรกจิ เชงิ รกุ
การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก เป็นการกำหนดวิธีการหรือแนวทางในการดำเนินงานและกิจกรรมต่าง ๆ ขององค์กรเพ่ือให้
บรรลุถึงวัตถปุ ระสงค์ที่กำหนด การกำหนดแนวทางในการดำเนินงานนี้ ผู้ประกอบการตอ้ งทำการวเิ คราะหแ์ ละประเมินปัจจัย
ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร เพื่อคิดหาแนวทางในการดำเนินงานที่เหมาะสมท่ีสุด ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของ
ปจั จยั ต่าง ๆ นำไปสู่การพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง เข้มแข็ง ยัง่ ยืน คอื พออยู่พอกนิ มีรายได้ มกี ารออมและมที ุนในการขยาย
อาชพี
โลกของเราเผชิญกับการเปล่ียนแปลงท่ีรวดเร็วทุกขณะทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี ฯลฯ ซ่งึ ส่งผลกระทบต่อ
สภาวะการแขง่ ขนั ระหว่างธรุ กจิ ตา่ ง ๆ ดังนั้น จึงมีความจำเปน็ ทตี่ ้องใชธ้ ุรกจิ เชงิ รกุ เข้ามาใช้ในการพฒั นาอาชีพ ดงั นี้ คอื
1. การแขง่ ขันที่ไร้พรมแดน
การแข่งขันที่ไร้พรมแดนเป็นปรากฏการณ์ท่ีเกิดข้ึนเมื่อสินค้าแรงงาน เทคโนโลยี ฯลฯ สามารถเคลื่อนย้ายไปมา
ระหวา่ งประเทศได้อยา่ งเสรมี ากขนึ้ มีผลทำให้มกี ารแข่งขันท่มี ีความรนุ แรงมากขึน้
2. การเปลยี่ นแปลงทางนวตั กรรม เทคโนโลยี
โลกยุคใหม่มคี วามก้าวหนา้ ทางวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยมี ากขน้ึ อัตราการเปล่ียนแปลงและการใชเ้ ทคโนโลยจี ะเพิม่ ข้ึน
ในอัตราท่ีรวดเร็วขึน้ ทำให้วงจรชีวติ ของสินค้าและการบริการมรี ะยะเวลาส้ันลง เทคโนโลยใี หม่ ๆ สามารถทดแทนเทคโนโลยี
เดิมได้อย่างรวดเร็ว การปรับปรุงสินค้าให้ทันสมัยเป็นที่ต้องการของลูกค้าตลอดเวลา เป็นปัจจัยทำให้มีการแข่งขนั ตลอดเวลา
ปัจจัยหรือความสำเร็จของธุรกิจท่ีมีมาในอดีตจะเริ่มเปล่ียนแปลงไป จำเป็นต้องมีการทบทวนปรับปรุงและพัฒนาตนเองอยู่
ตลอดเวลา แนวคิดหรือวิธกี ารในการบรหิ ารแบบเดิม ๆ ไมส่ ามารถนำองคก์ รไปสูค่ วามสำเรจ็ ไดเ้ หมือนในอดีต
เรอื่ งท่ี 2 การแทรกความนยิ มเข้าสคู่ วามตอ้ งการของผู้บรโิ ภค
ความสำคญั และความตอ้ งการของผู้บรโิ ภค
การวางแผนการขายสินคา้ หรือบริการใด ๆ ผู้บรหิ ารจะต้องมขี ้อมลู มาประกอบการตัดสินใจ ข้อมลู เก่ียวกับผ้บู ริโภค
จะถูกนำมาใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะหแ์ ละการวางแผนการตลาดและนักการตลาดจำเป็นต้องให้ความสนใจเก่ียวกับผบู้ รโิ ภค
และความต้องการของผู้บริโภค เพราะผู้ผลิตส่วนใหญ่จะผลิตสินค้าที่คล้ายคลึงกันและขายให้กับผู้บริโภคกลุ่มเดียวกันการ
กำหนดรปู แบบผลิตภณั ฑ์ตรายี่ห้อ โดยยึดถอื ความตอ้ งการของผูบ้ รโิ ภคจะเปน็ เครอื่ งช่วยให้ผู้บรโิ ภคตัดสนิ ใจได้ง่ายขนึ้ นักการ
ตลาดทราบกนั ดีอยแู่ ล้ววา่ ผบู้ ริโภคทกุ คนมีรสนยิ มไม่เหมือนกันซ่งึ มีความแตกต่างกันไปเห็นได้ชัดเจนในเร่อื งความต้องการของ
ผู้บริโภค นักการตลาดต้องมีความเข้าใจถึงความต้องการของผู้บริโภคซ่ึงต้องชี้ให้เห็นว่าความต้องการเกิดข้ึนจากอะไร ความ
ตอ้ งการของผู้บริโภคแบง่ ออกได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื
1. ความต้องการทางดา้ นร่างกาย คอื ความหวิ การนอน การพักผอ่ น การอบอนุ่
2. ความต้องการด้านอารมณ์หรือจิตวิทยา คือ ความปลอดภัย ความรัก การยอมรับ ความพอใจ ความงาม ฉะน้ัน
นกั การตลาดจึงต้องเข้าใจลึกซ้ึงถึงรายละเอียดของความต้องการทงั้ สองประเภทเพ่ือเอามาเป็นจดุ ขายสินคา้ และเป็นส่วนหน่ึง
ของกลยุทธท์ างการตลาดดา้ นการโฆษณา
โดยปกติสินค้าแตล่ ะชนดิ จะมเี อกลักษณ์เฉพาะอยูแ่ ล้ว เช่น ความนยิ มของอาหารไทยในต่างประเทศ เปน็ ทน่ี ิยมแบบ
ดาวรุ่งพุ่งแรงมาตลอดระยะเวลานาน ไม่เพียงแตใ่ นสหรัฐอเมริกาเทา่ นั้น แต่รวมทั้งในยโุ รป ออสเตรเลีย ญ่ปี ุน่ ตะวันออกกลาง
และอนิ เดีย อาจจะเปน็ เพราะอาหารไทยมเี อกลักษณ์ที่มีรสชาติถกู ปากได้รบั การยอมรับ ดังน้ี
1. เอกลักษณ์ด้านรสชาติ ท่ีมีความกลมกลอ่ มท้ัง 3 รส คือ เปร้ียว หวาน เผ็ด ได้อย่างลงตัวพอดี โดยไมเ่ น้นหนักไป
ในรสใดรสหนึ่ง สร้างความประทับใจให้กับผู้บริโภค ทำให้รู้สึกอยากกลับมาทานอีก อาหารบางชนิดมีเอกลักษณ์ของกลิ่น
สมุนไพรท่ีเป็นพืชผักในเมืองไทย เครื่องเทศต่าง ๆที่ใช้ปรุงอาหาร ถือว่าโดดเด่น ไม่ฉุนเกินไป แต่มีกล่ินหอมอ่อน ๆ ของ
เคร่ืองเทศท่ีสอดแทรก บางคร้ังมีการปรับรสชาติบ้าง เพื่อให้ตรงกับผู้บริโภค เช่น ไม่เผ็ดเกินไป เพราะต่างชาติจะไม่นิยม
รบั ประทานอาหารรสจัด
2. ความหลากหลายของอาหารไทย อาหารไทยนัน้ มที ัง้ อาหารคาวหวาน สารพดั ชนิดท่สี ามารถเลอื กมานำเสนอได้ไม่
รู้จบ มีการแข่งขันกัน นอกจากจะรสชาติแล้ว ยังมีการนำวัสดุมาดัดแปลงให้เป็นประโยชน์ใช้แทนกันได้ หรือการจัดตกแต่ง
อาหารก็เป็นทดี่ งึ ดูดลกู ค้าขน้ึ อยูก่ บั การเข้าถงึ รสนยิ มของผบู้ ริโภค
3. อาหารไทยไม่เล่ียนและไม่อ้วน ทั้งน้ีเพราะอาหารไทยมักมีผักปนอยู่เสมอ พร้อมกับเคร่ืองเคียงต่าง ๆ จนเป็นท่ี
เลืองลือวา่ อาหารไทยเป็นอาหารสุขภาพ เช่น เมี่ยงคำ นำ้ พริกกะปิ จึงเป็นอาหารที่เหมาะกับยุคนแี้ ละแนวโน้มของการบรโิ ภค
อาหารเพอ่ื สุขภาพ
4. การบริการที่ประทับใจ ซ่ึงเป็นส่วนเสริมที่สำคัญมากของธุรกิจการเปิดร้านขายอาหารไทย จึงเป็นอีกมิติหน่ึงที่มี
ภาพลักษณท์ ่ีดีใหก้ ับอาหารไทย ด้วยการบริการแบบมีมารยาทอันดีงามของคนไทย จึงเป็นการชว่ ยส่งเสริมใหอ้ าหารไทยยังคง
ครองความนิยมต่อไป
เรอ่ื งที่ 2 การแทรกความนยิ มเขา้ ส่คู วามตอ้ งการของผ้บู รโิ ภค
ความสำคัญและความต้องการของผบู้ ริโภค
การวางแผนการขายสินค้าหรือบริการใด ๆ ผู้บริหารจะต้องมขี ้อมลู มาประกอบการตัดสินใจ ขอ้ มูลเกี่ยวกับผ้บู ริโภค
จะถูกนำมาใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะหแ์ ละการวางแผนการตลาดและนักการตลาดจำเป็นต้องให้ความสนใจเก่ียวกบั ผบู้ รโิ ภค
และความต้องการของผู้บริโภค เพราะผู้ผลิตส่วนใหญ่จะผลิตสินค้าที่คล้ายคลึงกันและขายให้กับผู้บริโภคกลุ่มเดียวกันการ
กำหนดรปู แบบผลติ ภณั ฑ์ตรายีห่ อ้ โดยยดึ ถือความตอ้ งการของผูบ้ ริโภคจะเป็นเครอื่ งชว่ ยให้ผู้บริโภคตัดสนิ ใจได้ง่ายขึ้น นักการ
ตลาดทราบกนั ดอี ยู่แล้ววา่ ผบู้ ริโภคทกุ คนมีรสนยิ มไม่เหมอื นกันซึ่งมีความแตกต่างกันไปเห็นได้ชัดเจนในเร่ืองความตอ้ งการของ
ผู้บริโภค นักการตลาดต้องมีความเข้าใจถึงความต้องการของผู้บริโภคซ่ึงต้องชี้ให้เห็นว่าความต้องการเกิดข้ึนจากอะไร ความ
ตอ้ งการของผูบ้ รโิ ภคแบ่งออกได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. ความต้องการทางด้านรา่ งกาย คอื ความหิว การนอน การพกั ผ่อน การอบอนุ่
2. ความต้องการด้านอารมณ์หรือจิตวิทยา คือ ความปลอดภัย ความรัก การยอมรับ ความพอใจ ความงาม ฉะนั้น
นกั การตลาดจงึ ต้องเข้าใจลกึ ซ้ึงถึงรายละเอียดของความต้องการทั้งสองประเภทเพื่อเอามาเป็นจุดขายสินค้าและเป็นส่วนหน่ึง
ของกลยุทธ์ทางการตลาดดา้ นการโฆษณา
โดยปกติสนิ ค้าแตล่ ะชนดิ จะมีเอกลกั ษณ์เฉพาะอยู่แล้ว เช่น ความนยิ มของอาหารไทยในต่างประเทศ เป็นทน่ี ิยมแบบ
ดาวรุง่ พุ่งแรงมาตลอดระยะเวลานาน ไมเ่ พียงแตใ่ นสหรัฐอเมริกาเท่าน้ัน แต่รวมทั้งในยโุ รป ออสเตรเลีย ญปี่ นุ่ ตะวันออกกลาง
และอนิ เดีย อาจจะเป็นเพราะอาหารไทยมเี อกลักษณท์ ่มี ีรสชาตถิ กู ปากไดร้ ับการยอมรับ ดงั น้ี
1. เอกลักษณ์ด้านรสชาติ ท่ีมีความกลมกล่อมท้ัง 3 รส คือ เปรย้ี ว หวาน เผ็ด ได้อย่างลงตวั พอดี โดยไม่เน้นหนักไป
ในรสใดรสหน่ึง สร้างความประทับใจให้กับผู้บริโภค ทำให้รู้สึกอยากกลับมาทานอีก อาหารบางชนิดมีเอกลักษณ์ของกลิ่น
สมุนไพรที่เป็นพืชผักในเมืองไทย เครื่องเทศต่าง ๆที่ใช้ปรุงอาหาร ถือว่าโดดเด่น ไม่ฉุนเกินไป แต่มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ของ
เครื่องเทศที่สอดแทรก บางครั้งมีการปรับรสชาติบ้าง เพื่อให้ตรงกับผู้บริโภค เช่น ไม่เผ็ดเกินไป เพราะต่างชาติจะไม่นิยม
รับประทานอาหารรสจัด
2. ความหลากหลายของอาหารไทย อาหารไทยนัน้ มีทัง้ อาหารคาวหวาน สารพดั ชนิดที่สามารถเลอื กมานำเสนอไดไ้ ม่
รู้จบ มีการแข่งขันกัน นอกจากจะรสชาติแล้ว ยังมีการนำวัสดุมาดัดแปลงให้เป็นประโยชน์ใช้แทนกันได้ หรือการจัดตกแต่ง
อาหารก็เป็นท่ีดึงดดู ลูกค้าขึน้ อยู่กับการเข้าถึงรสนิยมของผู้บริโภค
3. อาหารไทยไม่เล่ียนและไม่อ้วน ท้ังนี้เพราะอาหารไทยมักมีผักปนอยู่เสมอ พร้อมกับเครื่องเคียงต่าง ๆ จนเป็นที่
เลืองลอื ว่า อาหารไทยเป็นอาหารสุขภาพ เชน่ เมี่ยงคำ นำ้ พริกกะปิ จงึ เปน็ อาหารท่เี หมาะกับยคุ น้แี ละแนวโนม้ ของการบรโิ ภค
อาหารเพื่อสุขภาพ
4. การบริการท่ีประทับใจ ซึ่งเป็นส่วนเสริมท่ีสำคัญมากของธุรกิจการเปิดร้านขายอาหารไทย จึงเป็นอีกมิติหนึ่งที่มี
ภาพลักษณท์ ี่ดใี หก้ ับอาหารไทย ด้วยการบรกิ ารแบบมีมารยาทอันดีงามของคนไทย จึงเป็นการช่วยส่งเสรมิ ใหอ้ าหารไทยยังคง
ครองความนิยมต่อไป
เรือ่ งนเี้ ป็นกรณตี ัวอยา่ งในการแทรกความนิยมเข้าสู่ความต้องการของผู้บริโภคได้เปน็ อยา่ งดี โดยรู้ความตอ้ งการของ
ผู้บริโภค แล้วจึงมกี ารพยายามดัดแปลงสินคา้ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความต้องการนนั้ ๆ
เรอ่ื งท่ี 3 การสรา้ งรปู ลักษณค์ ณุ ภาพสินค้าใหม่
William H. Davidow กลา่ วว่า “เครื่องมือท่เี ย่ยี มทสี่ ุด ประดิษฐม์ าจากห้องปฏิบัติการ ผลิตภณั ฑท์ ่ีเยย่ี มทส่ี ุดมาจาก
ฝา่ ยการตลาด”
การทำธุรกิจทุกขนาดจะต้องทำการแบ่งส่วนตลาดเป้าหมายได้ เมื่อถึงเวลาท่ีจะพัฒนาและนำผลติ ภัณฑ์ออกสู่ตลาด
ฝ่ายการตลาดต้องแสดงบทบาทสำคัญในกระบวนการนี้ ไม่ใช่ฝ่ายวิจัยและพัฒนาอย่างเดียวเป็นผู้รับผิดชอบการพัฒนา
ผลติ ภัณฑ์ใหม่ ซงึ่ ฝา่ ยการตลาดมสี ว่ นเก่ียวข้องอย่างมาก ทุกขัน้ ตอนในการพฒั นาผลิตภัณฑ์
ธุรกิจทุกธุรกิจมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์อยู่ตลอดเวลา การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่แทนท่ีผลิตภัณฑ์เดิมจะทำเพื่อเพ่ิม
ยอดขายในอนาคตและลูกค้าเองก็ต้องการผลิตภัณฑ์ใหม่ ซ่ึงธุรกิจคู่แข่ง ก็ใช้ความพยายามที่จะผลิตสินค้าที่ตรงกับความ
ต้องการของลูกค้าออกจำหน่ายและจะออกผลิตภัณฑ์ใหม่ได้จากการเข้าครอบครองส่วนแบ่งตลาด จากการพัฒนาผลิตภัณฑ์
ใหม่
- การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ใหม่ในสายผลิตภัณฑ์เดิมเป็นการนำผลิตภัณฑ์ใหม่เข้ามาแทน
ผลติ ภณั ฑใ์ นสายผลติ ภัณฑ์เดมิ เชน่ เปลยี่ นขนาดบรรจุภณั ฑ์ เปลี่ยนรสชาติ
- การปรบั ปรงุ ผลติ ภณั ฑเ์ ดมิ คอื การปรบั ปรงุ ผลิตภัณฑ์เดมิ ใหเ้ ป็นผลิตภัณฑ์ใหม่
- การวางตำแหน่งสินค้าใหม่ เปน็ การนำผลิตภณั ฑเ์ ดมิ ที่มีอยู่ออกขายให้ลูกคา้ เป้าหมายกลมุ่ ใหม่
- การลดตน้ ทนุ คอื การทำผลติ ภณั ฑใ์ หมท่ ม่ี คี ณุ สมบตั เิ หมือนเดมิ แต่ต้นทนุ ตำ่ ลง
ขั้นตอนการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ มี 8 ขนั้ ตอน
1. การสร้างความคิดใหม่
2. การเลือกความคิด
3. การทดสอบความคดิ
4. การวางกลยทุ ธ์ทางการตลาด
5. การวเิ คราะห์ธุรกจิ
6. การพฒั นาผลติ ภัณฑ์
7. การทดสอบตลาด
8. การนำผลิตภัณฑ์ออกสตู่ ลาด
เรื่องที่ 4 การพฒั นาอาชพี ให้ มคี วามมนั่ คง
ในช่วงการดำเนินแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7 – 8 แม้จะปรากฏผลรูปธรรม ส่วนหนึ่งเป็นการ
ขยายตวั ทางเศรษฐกิจ ทตี่ รวจวัดดว้ ยอตั ราเพ่ิมของผลผลติ มวลรวมภายในประเทศ (จดี ีพี) แต่ผลรูปธรรมอีกส่วนหนึ่งกลับเป็น
ความต่อเนื่องของสภาพปัญหาการกระจายรายได้ไม่เท่าเทียมกันระหว่างชนบทกับเมือง และระหว่างผู้ผลิตภาคเกษตรกรรม
(ระดบั ครวั เรอื นรายยอ่ ย) กับภาคอุตสาหกรรมและการบริการ
ผลรูปธรรมส่วนหลังข้างต้นปรากฏสะสมปัญหา จนกลายเป็นอุปสรรคสำคัญของการพัฒนาประเทศชัดเจนมากขึ้น
ตามลำดับ จนถูกระบุเป็นขอ้ สงั เกตเร่อื ง “ความยากจน” ของประชากรส่วนใหญข่ องประเทศ ที่มีสัดส่วนการถือครองทรัพย์สิน
รายได้ตำ่ สุด เม่ือเปรยี บเทยี บกับสัดสว่ นการถอื ครองของประชากรร่ำรวยจำนวนน้อยของประเทศ
รายงานของคณะกรรมการการพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สภาพฒั น์) ยอมรับผลสรปุ ของการพัฒนาข้างต้น
ไว้ในช่วงปลาย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 8 ด้วยเช่นกัน ปัญหาความยากจน (รายได้ไม่เพียงพอต่อ
รายจ่าย) แพร่ระบาดจากชนบท ชุมชนเกษตรกร เข้าสู่สังคมเมืองมากขึ้น รวมท้ังแพร่ระบาดเข้าสู่แวดวงอาชีพอ่ืน ๆ
นอกเหนือจากเกษตรกรรายย่อยมากขึ้นตามลำดบั ในช่วงก่อนและหลงั วิกฤติเศรษฐกิจ 2540 โดยสภาพัฒนไ์ ดพ้ ยายามปรับกล
ยุทธ์การพัฒนา เช่น การพัฒนาที่ถือ “มนุษย์” เป็นศูนย์กลางจนกระทั้งได้เร่ิมปรับและกำลังจะปรับปรุงให้เกิดกลยุทธ์การ
พัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียงมากขึ้นตามลำดับ โดยถือตามหลักปรัชญา แนวทฤษฎี และโครงการต้นแบบตามแนว
พระราชดำริท่ไี ดร้ บั การยอมรบั นบั ถือจากองค์การสหประชาชาติ ดังท่มี รี ายงานข่าวเผยแพรไ่ ปยังประชาคมโลกแล้ว
เพราะเหตุที่ประชาชนจำนวนมากยงั คงอยู่ในภาวะยากจนคือ รายได้ไม่พอเพยี งต่อการใชจ้ า่ ยเพ่อื ดำรงชวี ิตครอบครัว
ในขัน้ พ้ืนฐาน โดยเฉพาะอย่างย่ิงชาวชนบทที่ดำรงอาชพี เกษตรกร ดังนั้น การแก้ไขปญั หาความยากจนด้วยการยกระดบั รายได้
ของประชากรกลุ่มนี้ให้สูงขนึ้ สภู่ าวะพอเพียงจึงเป็นสว่ นสำคัญของยุทธศาสตร์การพฒั นา แบบเศรษฐกิจพอเพียงในข้ันต้นสว่ น
หน่งึ โดยไมย่ ตุ ิกระบวนการทางเศรษฐกิจส่วนอื่นทจ่ี ำเป็น เช่น การแลกเปล่ียนทางการค้าระหว่างประเทศ และการลงทุนท่ีอยู่
ในขอบเขตเหมาะสมภายใต้ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ซ่ึงจำแนกข้ันตอนดำเนินการพัฒนาไวต้ ่อเนื่อง เป็นลำดบั ชดั เจน โดยไม่
ปดิ ก้นั ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และไม่มุ่งหมายจะให้เกิดการหยดุ ชะงัก หรือถอยหลังเขา้ คลองทางเศรษฐกิจ รวมท้ังมิได้
มงุ่ หมายใหป้ ระเทศมีแต่การผลิตแบบเกษตรกรรมเพียงสว่ นเดยี ว
โครงการตามแนวพระราชดำริจำนวนมาก ที่สร้างความรู้ตามทฤษฎีใหม่และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นโครงการ
ท่ีมีลักษณะผูกพันกับวิถีชีวิตชุมชนของชาวชนบทในภาคเกษตรกรรม เน่ืองจากตลอด 3 – 4 ทศวรรษที่ผ่านมา ชุมชน
เกษตรกรรมโดยทั่วไปในประเทศเผชิญกับปัญหารายได้ไม่เพียงพอต่อรายจ่ายอย่างกว้างขวางรุ่นแรง แต่โครงการท่ีมีลักษณะ
เป็นการพัฒนาผลผลิตทางการเกษตรจำนวนมากเหล่านั้น เช่น โครงการหลวงดอยอ่างขาง และโครงการหลวงดอยอินทนนท์
ฯลฯ มีความชัดเจนในแนวคิดเรื่องการผลิตท่ีมีคุณภาพเพียงพอ สำหรับการชายออกสู่ตลาดภายนอชุมชน เพื่อสร้างรายได้ที่
เพียงพอและย่ังยนื แทนการปลกู ฝิ่นในอดตี
ใบงานที่ 1
รายวชิ า การพัฒนาอาชพี ใหม้ ีความมนั่ คง (อช31003) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
..................................................................................................
1. ใหผ้ ้เู รยี นกำหนดแนวทางการแทรกความนยิ มลงในสินค้าบรกิ ารของตนเองหรืออาชพี ท่ีสนใจ แลว้ นำเสนอ
แลกเปลยี่ นเรยี นรูซ้ ง่ึ กันและกัน แลว้ สรปุ เปน็ องคค์ วามรู้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. อธิบายคำวา่ อยู่พอดีกินพอดี
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. การพึ่งตนเอง หมายถึง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ความยั่งยืน หมายถงึ
.…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทกึ หลังการสอน
กศน.ตำบลรโิ ก๋
คร้ังท.ี่ .............. วนั ท.ี่ ............................................... ผสู้ อน นางยามลี ะห์ สิงหะ
สถานทพ่ี บกลุ่ม กศน.ตำบลรโิ ก๋ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
สาระ...................................................รายวิชา............................................................รหัสวชิ า...........................
ผเู้ รียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน................คน เข้าพบกลมุ่ ..............คน ไม่พบกลุ่ม..............คน
เนอื้ หา/สาระ/รายวชิ า
........................................................................................................................................................................ .....
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
กจิ กรรมการเรยี นการสอน
........................................................................................................................................ .....................................
.............................................................................................................................................................................
..................................................................................................... ........................................................................
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
........................................................................................... ..................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
ปัญหา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... .........................
แนวทางการแก้ปัญหา
............................................................................................................. ................................................................
.............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................ .....................................................
ความเหน็ /ข้อเสนอแนะผู้บริหาร
.............................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................... .......................
ลงชอื่ ..............................................ครูผสู้ อน ลงชื่อ................................................ผูร้ ับรองข้อมลู
(นางยามลี ะห์ สงิ หะ) (นางหทยั กาญจน์ วัฒนสทิ ธ์)ิ
ครู กศน.ตำบลริโก๋
ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอสุไหงปาดี
แผนการจัดการเรียนรู้ คร้ังท่ี 4
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สาระ การพฒั นาสังคม รายวิชา การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม สค31003
เน้ือหาการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง 1. การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม 2. ข้อมูลตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม
3.การจดั เก็บและวเิ คราะห์ขอ้ มลู
วันที่ 22 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถงึ 13.00 น.- 16.00 น.
1. มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ
มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการพัฒนาชุมชน สังคม สามารถวิเคราะห์ข้อมูล และเป็นผู้นาผู้ตามใน
การพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคม ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพการเปลยี่ นแปลงของเหตุการณ์ปัจจุบนั
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายความสำคัญของการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ข้อมูลตนเอง
ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และการจดั เก็บและวเิ คราะหข์ ้อมลู ได้
2.2 เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถฝึกทักษะพื้นฐานเก่ียวกับ การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ข้อมูลตนเอง
ครอบครัว ชุมชน สังคม และการจัดเกบ็ และวิเคราะหข์ อ้ มลู ไดอ้ ย่างคล่องแคล่ว
2.3 เพือ่ ให้ผู้เรียนสามารถสร้างความสามคั คี และตรงต่อเวลาในการปฏิบตั งิ านทไ่ี ดม้ อบหมายได้
3. สาระการเรียนรู้ สาระการพัฒนาสังคม
4. ผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวัง
4.1 ความสำคัญของการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ข้อมูลตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และการ
จดั เก็บและวเิ คราะหข์ อ้ มลู
4.2 ฝึกทักษะพ้ืนฐานเก่ียวกับการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ข้อมูลตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม
และการจัดเก็บและวเิ คราะหข์ ้อมูลได้อย่างคล่องแคลว่
4.3 สามารถสร้างความสามัคคี และตรงต่อเวลาในการปฏิบตั ิงานทไี่ ดม้ อบหมาย
5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
5.1 ขนั้ การกำหนดสภาพปัญหา (O : orientation)
ครทู ักทายและสอบถามนักศึกษา อธิบายความสำคญั เกี่ยวกบั การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม
ขอ้ มลู ตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม และการจดั เก็บและวิเคราะหข์ อ้ มลู
5.2 ข้ันการแสวงหาข้อมลู และการเรยี นรู้ (N : new way of learning)
5.2.1 นำเสนอกจิ กรรมการเรียนรตู้ ่อเนอื่ ง (กรต.) และแลกเปล่ียนเรยี นรรู้ ว่ มกนั
กลุ่มที่ 1 การพฒั นาตนเอง
กลุ่มที่ 2 การพฒั นาชุมชน
กลุ่มที่ 3 การพฒั นาสังคม
5.3 การปฏบิ ัตแิ ละการนำไปใช้ ( I : implementation)
5.3.1 ให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มตามใบงานท่ีได้รับ และส่งตัวแทนนำเสนอ
หนา้ ช้ันเรยี น
5.3.2 ครแู ละนกั ศึกษาร่วมกันสรปุ องคค์ วามรูร้ ่วมกนั
5.3.3 ครูให้นักศกึ ษาแบ่งกลมุ่ มอบหมายงานการเรียนร้ตู อ่ เน่ือง (กรต.) ออกเปน็ 4 กลุม่
กลมุ่ ท่ี 1 การวางแผน
กลุ่มท่ี 2 การมสี ว่ นรว่ มในการวางแผนพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม
กลมุ่ ที่ 3 การจดั ทำแผน
กลุม่ ที่ 4 การเผยแพรส่ ูก่ ารปฏบิ ัติ
5.4 ข้ันการประเมนิ ผล (E : evaluation)
5.4.1 ประเมินผลจากการเรียนรู้ การนำเสนอโดยใช้กระบวนการกลุ่ม การรายงาน และ
การทำทดสอบยอ่ ย ทดสอบกอ่ นเรยี น การซักถาม และการสังเกต
6. การวดั ผลประเมินผล
6.1 การสงั เกต
6.2 การนำเสนอ และการซักถาม
7.สอื่ และวสั ดุอปุ กรณ์
7.1 ใบความรู้
7.2 ใบงาน
7.3 หนังสือเรยี น
7.4 อนิ เทอร์เน็ต
8. แหล่งเรยี นรู้
8.1 กศน.ตำบล
8.2 ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอ
8.3 สถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ
9. ตัวชี้วัดการเรยี นรู้
9.1 ร้อยละ 80 ของผู้เรียนสามารถอธิบายความสำคัญของการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ข้อมูล
ตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม และการจัดเกบ็ และวเิ คราะห์ข้อมูลได้
9.2 ร้อยละ 80 ของผู้เรียนสามารถฝึกทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม ข้อมูล
ตนเอง ครอบครวั ชุมชน สงั คม และการจดั เกบ็ และวเิ คราะหข์ อ้ มลู ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคล่ว
9.3 รอ้ ยละ 80 ของผ้เู รียนสามารถสร้างความสามคั คี และตรงต่อเวลาในการปฏิบัติงานทไี่ ด้
มอบหมายได้
ลงชื่อ........................................................ครผู ู้สอน
(นางยามลี ะห์ สิงหะ)
ครู กศน.ตำบลริโก๋
ความคดิ เหน็ หัวหน้างานการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชอ่ื .............................................หัวหนา้ งานการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
(นางมทั มา แวนาแว)
ครูผชู้ ว่ ย
ความคดิ เหน็ ผูบ้ ริหารสถานศึกษา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………….....…………………………………………………………………………………………….…
ลงชอ่ื ................................................ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
(นางหทัยกาญจน์ วฒั นสิทธิ์)
ผูอ้ ำนวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอสุไหงปาดี
ใบความร้ทู ่ี 1
เรื่องท่ี 1 การจัดเกบ็ ข้อมลู
การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนท่ีให้ได้มาซ่ึงข้อมูลท่ีต้องการมีความหมายรวมท้ังการเก็บข้อมูลข้ึนมาใหม่ และ
การรวบรวมขอ้ มลู จากผู้อ่ืนทไี่ ด้เก็บไว้แลว้ หรือได้รายงานไว้ในเอกสารต่าง ๆ เพือ่ นำมาศึกษาต่อไป ตัวอยา่ ง เช่น เม่อื ต้องการ
เก็บรวบรวมขอ้ มูลพื้นฐานเร่ืองอาชีพและรายได้ครวั เรอื นของคนในหมู่บ้าน อาจเริ่มตน้ ด้วยการออกแบบสอบถามสำหรบั การ
ไปสำรวจข้อมูล เพ่ือให้ครอบครัวต่าง ๆ ในหมู่บ้านกรอกข้อมูล มีการส่งแบบสอบถามไปยังผู้กรอกข้อมูลเพ่ือทำการกรอก
รายละเอียด มกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ซง่ึ การเก็บรวบรวมข้อมลู มเี ทคนิคและวธิ กี ารหลายวธิ ี ดังนี้
1. การเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากรายงาน (Reporting System) เป็นผลพลอยได้จากระบบการบริหารงาน เป็นการเก็บ
รวบรวมข้อมูลจากรายงานที่ทำไว้หรือจากเอกสารประกอบการทำงาน ซ่งึ การเก็บรวบรวมข้อมูลจากรายงานส่วนมากใช้เพียง
ครั้งเดียว จากรายงานดังกล่าว อาจมีข้อมูลเบื้องต้น บางประเภทที่สามารถนำมาประมวลเป็นยอดรวมข้อมูลสถิติได้ วิธีเก็บ
รวบรวมข้อมูลจากรายงานของหน่วยบริหาร นับว่าเป็นวิธีการรวบรวมข้อมูลสถิติโดยไม่ต้องส้ิ นเปลืองค่าใช้จ่ายในการ
ดำเนินงานมากนกั ค่าใช้จา่ ย ทใ่ี ชส้ ว่ นใหญ่กเ็ พ่อื การประมวลผล พมิ พแ์ บบฟอร์มต่าง ๆ ตลอดจนการพิมพ์รายงาน วธิ ีการนใี้ ช้
กันมากท้ังในหนว่ ยงานรฐั บาลและเอกชน2 2หน่วยงานของรฐั ทม่ี ขี ้อมูลสถิตทิ ี่รวบรวมจากรายงาน ไดแ้ ก่ กรมศลุ กากรมีระบบ
การรายงานเกีย่ วกับการส่งสนิ ค้าออก และการนำสนิ ค้าเข้า และกระทรวงศกึ ษาธิการ มรี ายงานผลการปฏิบัติงานของโรงเรียน
ภายในสงั กดั ซงึ่ สามารถนำมาใช้ ในการประมวลผลสถิติทางการศกึ ษาได้
2. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากทะเบียน (Registration) เป็นข้อมลู สถติ ิท่ีรวบรวมจากระบบทะเบียน มีลักษณะคล้าย
กับ การรวบรวมจากรายงานตรงที่เป็นผลพลอยได้เช่นเดียวกัน จะต่างกันตรงท่ี แหล่งเบื้องต้นของข้อมูลเป็นเอกสารการ
ทะเบียนซึ่ง การเก็บมลี ักษณะต่อเน่ือง มีการปรับแก้หรือเปล่ียนแปลง ให้ถูกต้องทันสมัย ทำให้ได้สถิตทิ ี่ต่อเนื่องเป็นอนุกรม
เวลา ข้อมูลท่ีเกบ็ โดยวิธีการทะเบยี น มีข้อรายการไม่มากนัก เนอ่ื งจากระบบทะเบยี นเปน็ ระบบข้อมลู ที่ค่อนขา้ งใหญ่ ตัวอย่าง
ขอ้ มลู สถติ ิที่รวบรวม จากระบบทะเบียน ได้แก่ สถิตจิ ำนวนประชากรท่ีกรมการปกครอง ดำเนินการเก็บรวบรวมจากทะเบียน
ราษฎร์ ประกอบด้วย จำนวนประชากร จำแนกตามเพศเป็นรายจังหวัด อำเภอ ตำบล นอกจากทะเบียนราษฎร์แล้วก็มี
ทะเบียนยานพาหนะของกรมตำรวจท่ีจะทำให้ไดข้ อ้ มูลสถิตจิ ำนวนรถยนต์ จำแนกตามชนดิ หรอื ประเภทของรถยนต์ เปน็ ตน้
3. การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวธิ ีสำมะโน (Census) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลสถิตขิ องทุก ๆ หน่วยของประชากรท่ี
สนใจศึกษาภายในพ้ืนท่ีท่ีกำหนด และภายในระยะเวลาท่ีกำหนด การเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติด้วยวิธีน้ี จะทำให้ได้ข้อมูลใน
ระดบั พื้นทย่ี ่อย เชน่ หมู่บา้ น ตำบล อำเภอ และทำให้ได้ขอ้ มูลท่ีเปน็ ค่าจริง
2ตามพระราชบัญญัติสถิติ พ.ศ.2508 ได้บัญญัติไว้ว่า สำนักงานสถิติแห่งชาติเป็นหน่วยงานเดียวท่ีสามารถจัดทำสำมะโนได้
และ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู สถติ ดิ ้วยวธิ ีการสำมะโน เปน็ งานทตี่ ้องใช้เงนิ งบประมาณ เวลาและกำลังคนเป็นจำนวนมาก ส่วน
ใหญจ่ ะจัดทำสำมะโนทุก ๆ 10 ปี หรือ 5 ปี
4. การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีสำรวจ (Sample Survey) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติ จากบางหน่วยของ
ประชากรด้วยวิธีการเลือกตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติด้วยวิธีนี้ จะทำให้ได้ข้อมูลในระดับรวม เช่น จังหวัด ภาค เขต
การปกครอง และรวมท่ัวประเทศ และข้อมูลที่ได้จะเป็นค่าโดยประมาณ การสำรวจเป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ใช้
งบประมาณ เวลา และกำลังคนไม่มากนักจึงสามารถจัดทำได้เป็นประจำทุกปี หรือ ทุก 2 ปี ปัจจุบันการสำรวจเป็นวิธีการเก็บ
รวบรวมข้อมูลสถติ ิทีม่ ีความสำคัญ และใช้กนั อย่างแพร่หลายมากที่สุด ทั้งในวงการราชการและเอกชน ไม่ว่าจะเป็นการสำรวจ
เพ่ือหาข้อมูลทางด้านการเกษตร อุตสาหกรรม สาธารณสุข การคมนาคม การศึกษา และข้อมูลทางเศรษฐกิจและสังคมอื่น ๆ
เป็นต้น2
5. วิธกี ารสังเกตการณ์ (Observation) เป็นวิธีเก็บข้อมูลโดยการสังเกตโดยตรงจากปฏิกริ ิยา ท่าทาง หรือเหตุการณ์
หรือปรากฏการณ์ ท่ีเกิดข้ึนในขณะใดขณะหนึ่ง และจดบันทึกไว้โดยไม่มีการสัมภาษณ์ วิธีนี้ใช้กันอย่างกว้างขวางในการวิจัย
เช่น จะศึกษาดูปฏิกิริยาของผู้ขับรถยนต์บนท้องถนนภายใต้สภาพการณ์จราจรต่าง ๆ กัน ก็อาจจะส่งเจ้าหน้าท่ีไปยืน
สังเกตการณ์ได้ การสังเกตจำนวนลูกค้าและบันทึกปริมาณการขายของสถานประกอบการ โดย พนักงานเก็บภาษีของ
กรมสรรพากร เน่อื งจากการไปสมั ภาษณ์ผปู้ ระกอบการถงึ ปรมิ าณการขาย ยอ่ มไม่ไดข้ อ้ มูลท่แี ท้จรงิ
6. วิธีการบันทึกข้อมูลจากการวัดหรือนับ วิธีน้ีจะมีอุปกรณ์เพื่อใช้ในการวัดหรือนับตามความจำเป็นและความ
เหมาะสม เช่น การนับจำนวนรถยนต์ที่แล่นผ่านท่ีจุดใดจุดหน่ึง ก็อาจใช้เคร่ืองนับโดยให้รถแล่นผ่านเครื่องนับ หรือ การเก็บ
ขอ้ มลู จำนวนผู้มาใช้บริการในห้องสมุดประชาชน กใ็ ชเ้ คร่ืองนบั เมอ่ื มคี นเดินผา่ นเครื่อง เป็นตน้
ใบงานที่ 1
รายวิชา การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม (สค31003) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
..................................................................................................
ใหผ้ เู้ รียนทำกจิ กรรมตอ่ ไปนี้
ข้อ 1 ถ้าครูต้องการศึกษาพฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักศึกษา ครูควรจะเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีใด
จึงจะเหมาะสม
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................ ..................................
..............................................................................................................................................................................
ข้อ 2 ให้ผู้เรยี นเก็บรวบรวมข้อมูลครอบครัวของตนเองตามแบบสำรวจ ต่อไปน้ี
แบบสำรวจข้อมูลครอบครวั
1. จำนวนสมาชกิ ในครอบครัว........................คน
2. หวั หนา้ ครอบครวั
2.1 ชอ่ื ...................................................................................................อายุ.....................................ปี
2.2 อาชีพหลกั .......................................................................รายได้ตอ่ ปี......................................บาท
2.3 อาชพี รอง/อาชีพเสรมิ .....................................................รายได้ตอ่ ปี......................................บาท
2.4 รายได้รวมต่อปี................................................................บาท
2.5 การศึกษาสงู สุดของหวั หนา้ ครอบครวั ...............................................................................................
2.6 บทบาทในชมุ ชน (กำนนั , ผู้ใหญ่บา้ น, สมาชกิ อบต. ฯลฯ)...............................................................
.................................................................................................................................................................
3. โปรดใสร่ ายละเอียดเกย่ี วกับสมาชิกภายในครอบครวั ทุกคนที่อาศยั อยรู่ ว่ มกนั ในตารางต่อไปน้ี
ช่อื -สกุล อายุ ความสมั พันธ์ อาชีพ อาชพี รายได้ การศกึ ษา กำลงั บทบาท
กบั หวั หนา้ หลกั รอง/ เฉลี่ยตอ่ สงู สุด ศกึ ษา ในชมุ ชน
ครอบครัว เสริม ปี ระดบั
บันทกึ หลังการสอน
กศน.ตำบลรโิ ก๋
คร้ังท.ี่ .............. วนั ท.ี่ ............................................... ผสู้ อน นางยามลี ะห์ สิงหะ
สถานทพ่ี บกลุ่ม กศน.ตำบลรโิ ก๋ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
สาระ...................................................รายวิชา............................................................รหัสวชิ า...........................
ผเู้ รียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน................คน เข้าพบกลมุ่ ..............คน ไม่พบกลุ่ม..............คน
เนอื้ หา/สาระ/รายวชิ า
........................................................................................................................................................................ .....
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
กจิ กรรมการเรยี นการสอน
........................................................................................................................................ .....................................
.............................................................................................................................................................................
..................................................................................................... ........................................................................
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
........................................................................................... ..................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
ปัญหา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... .........................
แนวทางการแก้ปัญหา
............................................................................................................. ................................................................
.............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................ .....................................................
ความเหน็ /ข้อเสนอแนะผู้บริหาร
.............................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................... .......................
ลงชอื่ ..............................................ครูผสู้ อน ลงชื่อ................................................ผูร้ ับรองข้อมลู
(นางยามลี ะห์ สงิ หะ) (นางหทยั กาญจน์ วัฒนสทิ ธ์)ิ
ครู กศน.ตำบลริโก๋
ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอสุไหงปาดี
แผนการจดั การเรยี นรู้ ครง้ั ท่ี 5
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สาระ การพัฒนาสังคม รายวิชา การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม สค31003
เนื้อหาการเรยี นรูท้ ่ี 4 เร่ือง การมีส่วนรว่ มในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม 5. เทคนิคการ
มีสว่ นรว่ มในการจดั ทำแผน
วนั ท่ี 29 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถึง 13.00 น.- 16.00 น.
1. มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ
มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการพัฒนาชุมชน สังคม สามารถวิเคราะห์ข้อมูล และเป็นผู้นาผู้ตามใน
การพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณป์ ัจจบุ นั
2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
2.1 เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถอธิบายความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาตนเอง
ครอบครวั ชุมชน สงั คม และเทคนิคการมีส่วนร่วมในการจดั ทำแผนได้
2.2 เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถฝึกทักษะพ้ืนฐานเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาตนเอง
ครอบครวั ชมุ ชน สังคม และเทคนิคการมสี ่วนร่วมในการจดั ทำแผนได้อยา่ งคล่องแคลว่
2.3 เพอื่ ให้ผู้เรยี นสามารถสร้างความสามัคคี และตรงต่อเวลาในการปฏิบัติงานทไ่ี ดม้ อบหมายได้
3. สาระการเรยี นรู้ สาระการพัฒนาสงั คม
4. ผลการเรียนรูท้ ค่ี าดหวัง
4.1 ความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และเทคนิค
การมีส่วนรว่ มในการจัดทำแผน
4.2 ฝึกทักษะพ้นื ฐานเกยี่ วกบั การมีส่วนร่วมในการวางแผนพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สังคม และ
เทคนคิ การมสี ่วนร่วมในการจดั ทำแผนได้อย่างคลอ่ งแคล่ว
4.3 สามารถสร้างความสามคั คี และตรงต่อเวลาในการปฏิบัตงิ านท่ไี ด้มอบหมาย
5. กจิ กรรมการเรยี นรู้
5.1 ขน้ั การกำหนดสภาพปัญหา (O : orientation)
ครูทักทายและสอบถามนักศึกษา อธิบายความสำคัญเกี่ยวกับ การมีส่วนร่วมในการวางแผน
พฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และเทคนคิ การมีส่วนรว่ มในการจดั ทำแผน
5.2 ข้นั การแสวงหาข้อมลู และการเรยี นรู้ (N : new way of learning)
5.2.1 นำเสนอกจิ กรรมการเรยี นร้ตู ่อเนื่อง (กรต.) และแลกเปลี่ยนเรยี นรู้รว่ มกัน
กลุ่มท่ี 1 การวางแผน
กลุ่มที่ 2 การมสี ว่ นรว่ มในการวางแผนพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม
กลุม่ ที่ 3 การจัดทำแผน
กลมุ่ ที่ 4 การเผยแพร่สูก่ ารปฏบิ ัติ
5.3 การปฏิบัติและการนำไปใช้ ( I : implementation)
5.3.1 ให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มตามใบงานที่ได้รับ และส่งตัวแทนนำเสนอ
หน้าชั้นเรยี น
5.3.2 ครูและนกั ศึกษาร่วมกนั สรปุ องคค์ วามร้รู ่วมกนั
5.3.3 ครูใหน้ กั ศึกษาแบ่งกลุ่มมอบหมายงานการเรยี นร้ตู ่อเน่ือง (กรต.) ออกเปน็ 3 กลุ่ม
กลมุ่ ที่ 1 ความเปน็ มาความหมายหลักแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
กลมุ่ ท่ี 2 ความหมายโครงสรา้ งของชมุ ชน
กล่มุ ที่ 3 การพัฒนาชมุ ชน
5.4 ข้นั การประเมนิ ผล (E : evaluation)
5.4.1 ประเมินผลจากการเรียนรู้ การนำเสนอโดยใช้กระบวนการกลุ่ม การรายงาน และ
การทำทดสอบย่อย ทดสอบก่อนเรียน การซักถาม และการสังเกต
6. การวดั ผลประเมินผล
6.1 การสงั เกต
6.2 การนำเสนอ และการซกั ถาม
7.สื่อและวสั ดุอุปกรณ์
7.1 ใบความรู้
7.2 ใบงาน
7.3 หนังสอื เรียน
7.4 อินเทอร์เนต็
8. แหลง่ เรยี นรู้
8.1 กศน.ตำบล
8.2 ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอ
8.3 สถาบันศึกษาปอเนาะ
9. ตัวชี้วัดการเรยี นรู้
9.1 ร้อยละ 80 ของผู้เรียนสามารถอธิบายความสำคญั ของการมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาตนเอง
ครอบครวั ชุมชน สังคม และเทคนคิ การมีส่วนรว่ มในการจดั ทำแผนได้
9.2 ร้อยละ 80 ของผู้เรียนสามารถฝึกทักษะพื้นฐานเก่ียวกับการมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนา
ตนเอง ครอบครัว ชุมชน สงั คม และเทคนคิ การมสี ว่ นรว่ มในการจัดทำแผนได้อย่างคลอ่ งแคล่ว
9.3 ร้อยละ 80 ของผเู้ รียนสามารถสรา้ งความสามคั คี และตรงต่อเวลาในการปฏิบัติงานท่ีได้
มอบหมายได้
ลงชอื่ ........................................................ครผู สู้ อน
(นางยามีละห์ สิงหะ)
ครู กศน.ตำบลริโก๋
ความคดิ เหน็ หวั หนา้ งานการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่ือ.............................................หวั หนา้ งานการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
(นางมทั มา แวนาแว)
ครผู ชู้ ว่ ย
ความคดิ เหน็ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………….....…………………………………………………………………………………………….…
ลงชื่อ................................................ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
(นางหทยั กาญจน์ วัฒนสทิ ธิ)์
ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุไหงปาดี
ใบความรูท้ ่ี 1
เรื่องที่ 1 การวางแผน
แผนเป็นสิง่ ทีแ่ สดงให้เห็นว่าองคก์ ารพยายามท่ีจะทำส่ิงท่ีทำอย่ใู ห้ได้ผลออกมาดีที่สุดและประสบความสำเรจ็ ฉะนั้น
การวางแผนเป็นการตัดสนิ ใจล่วงหนา้ ก่อนเหตกุ ารณ์น้ันเกิดขนึ้ จรงิ
การวางแผน (Planning) หมายถึง กระบวนการในการกำหนดวัตถุประสงค์ เพื่อการตัดสินใจ เพื่อเลือกแนวทางใน
การทำงานให้ดที ่สี ุด สำหรบั อนาคตและใหอ้ งค์การไดบ้ รรลุตามวัตถปุ ระสงค์
ความสำคญั ของการวางแผน
1. เพื่อลดความไม่แน่นอนและความเส่ียงใหเ้ หลือนอ้ ยท่ีสดุ
2. สรา้ งการยอมรับในแนวคิดใหม่ ๆ
3. เพ่ือใหก้ ารดำเนินงานบรรลุเปา้ หมาย
4. ลดข้ันตอนการทำงานท่ีซบั ซอ้ น
5. ทำใหเ้ กดิ ความชดั เจนในการทำงาน
วตั ถุประสงคใ์ นการวางแผน
1. ทำใหร้ ทู้ ศิ ทางในการทำงาน
2. ทำให้ลดความไม่แน่นอนลง
3. ลดความเสียหายหรอื การซ้ำซ้อนของงานท่ีทำ
4. ทำให้รมู้ าตรฐานในการควบคมุ ใหเ้ ปน็ ไปตามทก่ี ำหนด
ข้อดีของการวางแผน
1. ทำใหเ้ กดิ การปรบั ปรงุ การทำงานให้ดีขึน้
2. ทำใหเ้ กดิ การประสานงานดยี ่งิ ขน้ึ
3. ทำใหก้ ารปรับปรงุ และการควบคุมดีขนึ้
4. ทำให้เกิดการปรบั ปรงุ การบรหิ ารเวลาให้ดีขนึ้ ซ่ึงเปน็ ส่วนทีส่ ำคัญที่สุดในการวางแผน
หลกั พื้นฐานการวางแผน
1. ตอ้ งสนับสนุนเป้าหมายและวัตถปุ ระสงคข์ ององคก์ าร
2. เปน็ งานอนั ดบั แรกของกระบวนการจดั การ
3. เป็นหน้าทีข่ องผู้บรหิ ารทุกคน
4. ต้องคำนึงถึงประสทิ ธภิ าพของแผนงาน
ตวั อยา่ งแผนการมสี ่วนร่วมของประชาชน (คนเก็บขยะ)
การทำงานของเทศบาลนครพษิ ณุโลก จะเนน้ ทีก่ ารมีสว่ นรว่ มของประชาชน2 นอกจากจะใหป้ ระชาชนร่วมคิด เช่น
การให้ประชาชนมสี ว่ นในการทำแผนพฒั นาเทศบาลแลว้ ยงั ได้ขยายลงไปถึงการทำแผนพัฒนาชุมชนประจำปี ซ่งึ เป็นการจดั ทำ
ประชาคม ให้สมาชกิ ในชุมชนมีสว่ นร่วมในการทำแผนพัฒนาชุมชนของตัวเองและได้เรยี งลำดับความสำคัญหรอื ความต้องการ
ของชมุ ชนนนั้ ๆ
ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมต้ังแต่ข้ันตอนการวางแผน ทางเทศบาลได้มีการจัดทำแผนเฉพาะการจัดการขยะมูลฝอยของ
เทศบาล โดยให้ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดเข้ามามีส่วนร่วมในการทำแผน และได้เริ่มขยายการจัดทำแผนการ
จดั การขยะมูลฝอยลงในชมุ ชนบางแห่ง มีการอบรมใหค้ วามรู้ดา้ นการจัดการขยะมูลฝอยแก่ประชาชนในชุมชนและกลมุ่ ตา่ ง ๆ
เช่น ชมรมสตรีอาสาพัฒนา กลุ่มผู้ประกอบการอาหาร สถานศึกษาในพื้นท่ี กลุ่มเยาชน กลุ่มออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ฯลฯ
พร้อมทั้งขอความร่วมมือในการจดั การขยะมูลฝอย เชน่ ช่วยในการคัดแยกของขายได้ (หรอื ขยะรีไซเคิล) ระดับครัวเรือน ช่วย
คัดแยกขยะอินทรีย์หรือขยะชีวภาพทำปุ๋ยหมักที่บ้านหรือร่วมมือกันทำระดับชุมชน ช่วยจัดหาถังขยะของแต่ละครัวเรือนเอง
นำถังขยะออกมาให้สมั พันธ์กบั เวลาจดั เก็บ ทำให้ชมุ ชนปลอดถังขยะหรือถนนปลอดถงั ขยะ เทศบาลสามารถลดความถี่ในการ
จดั เก็บขยะมูลฝอยลงได้ บางชุมชนนดั หมายเทศบาลมาเก็บขยะสัปดาหล์ ะครั้ง หรอื อย่างน้อยก็สามารถลดลงได้เป็นวันเว้นวัน
ทัง้ ยงั ใหค้ วามรว่ มมืออย่างดใี นการชำระคา่ ธรรมเนียมขยะมลู ฝอย
ภาครัฐควรใส่ใจและทำการประชาสัมพันธ์และรณรงค์ เพ่ือสื่อสารทำความเข้าใจกับประชาชน รวมท้ังขอความ
ร่วมมือจากประชาชน ถ้าประชาชนเข้าใจและเห็นประโยชน์ที่จะเกิดข้ึนทั้งต่อตนเองและส่วนรวมแล้ว จะส่งผลให้เกิดความ
ร่วมมือเป็นอย่างดี ทำใหก้ ารงานต่าง ๆ สำเรจ็ ลลุ ่วงตามวัตถปุ ระสงค์ และกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อทุกฝ่าย
เร่ืองที่ 2 การมีสว่ นรว่ มในการวางแผนพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม
การมีสว่ นรว่ ม หมายถึง การเปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนไดม้ ีส่วนร่วมในทุกข้ันตอนของ การพัฒนาท้ังในการแก้ไขปัญหา
และป้องกันปัญหา โดยเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการคิดริเริ่ม ร่วมกำหนดนโยบาย รว่ มวางแผน ตดั สนิ ใจและปฏิบัติตามแผน
ร่วมตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐทุกระดับ ร่วมติดตามประเมินผลรับผิดชอบในเรื่องต่าง ๆ อันมีผลกระทบกับประชาชน ชุมชน
และเครือข่ายทกุ รูปแบบในพืน้ ที่
การมีสว่ นร่วมของประชาชน (Public Participation) หมายถึง กระบวนการท่ีประชาชนและผู้ท่ีเก่ียวข้องมีโอกาส
ได้เข้าร่วมในการแสดงทัศนะ ร่วมเสนอปัญหา ประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้อง ร่วมคิดแนวทาง ร่วมแก้ไขปัญหา และร่วมใน
กระบวนการตดั สนิ ใจประชาชนกับการมีส่วนรว่ มในการพัฒนาสงั คม
มนุษย์ถูกจัดให้เป็นทรัพยากรท่ีมีคุณภาพที่สุดในสังคม และยังเป็นองค์ประกอบท่ีถูกจัดให้เป็นหน่วยย่อยของสังคม
สังคมจะเจริญหรือมกี ารพัฒนาไปไดห้ รือไมข่ ้ึนอยกู่ บั คุณภาพของประชาชนที่เป็นองคป์ ระกอบในสังคมนนั้ ๆ
การที่สังคมจะพัฒนาได้อย่างมีคุณภาพจำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องเร่ิมต้นท่ีจะทำการพัฒนาหน่วยท่ีย่อยที่สุดของสังคมก่อน ซ่ึง
ได้แก่ การพฒั นาคน การพฒั นาในลำดบั ต่อมาเรมิ่ กันทค่ี รอบครัว และตอ่ ยอดไปจนถึงชมุ ชน สงั คม และประเทศ
1. การพฒั นาตนเอง และครอบครวั
การพัฒนาตนเอง หมายถึง การพัฒนาตนเองด้วยตนเอง หรือการสอนใจตนเองในการสร้างอุปนิสัยท่ีดี ซึ่งจะส่งผล
ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อตนเองและทำให้สงั คมเกดิ ความสงบสุข
การเปิดโอกาสใหท้ กุ คน ทกุ กลุ่มในหมู่บ้านมสี ว่ นเกีย่ วขอ้ งในการตัดสินใจทจี่ ะดำเนนิ การใด ๆ เพือ่ หมบู่ ้าน แตล่ ะคนตอ้ งเขา้ มา
มีส่วนรว่ ม ซ่ึงลักษณะการทำงานดังกล่าวจะมีลกั ษณะของ “หุ้นส่วน” ระหว่างเจ้าหน้าท่ีรัฐกับประชาชน ซึ่งจะเป็นผู้ได้รับผล
จากการพัฒนา การทำงานลักษณะน้ีจะต้องอาศัยประชาชนทุกคนมามีส่วนร่วมต้ังแต่การตัดสินใจการดำเนินงาน การ
ตรวจสอบผลงาน และการประเมินผลงาน ดังนัน้ ประชาชนแต่ละคนต้องเพิ่มความรู้ ความสามารถพัฒนาตนเองใหเ้ ป็นผู้รอบรู้
เพอื่ ชว่ ยกันแสดงความคดิ เหน็ ทเ่ี ป็นประโยชน์แกส่ ว่ นรวม
การพัฒนาครอบครัว หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จงั หวัด และประเทศ การพัฒนาสังคมในหน่วยย่อยนำไปสู่การพัฒนา
สงั คมท่เี ป็นหน่วยใหญ่ มักจะมีจุดเร่ิมต้นที่เหมือนกันคือการพัฒนาที่ตัวบุคคล ซ่งึ บคุ คลเหลา่ น้จี ะกระจายอยู่ตามสงั คมต่าง ๆ
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ประชาชนจำนวนมากมกั จะอาศัยอยูต่ ามชนบท ถ้าประชาชนเหลา่ นี้ไดร้ ับการพัฒนาให้เปน็ บุคคลที่มจี ิตใจดี
งาม มีความเอื้อเฟื้อ มีคุณธรรม รู้จักการพึ่งพาตนเอง มีความร่วมมือร่วมใจ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ มีความเช่ือม่ันในภูมิ
ปญั ญาของตนเอง และพร้อมที่จะรับความรู้ใหม่ ๆ เช่น ด้านวิชาการ วิชาชีพ หรือแม้กระทั่งข่าวสารข้อมูลที่จะเป็นประโยชน์
ต่อตนเองและสังคมแล้วประชาชนเหล่านี้ก็จะเป็นกลุ่มคนที่มีคุณภาพและมีคุณค่าต่อสังคมไทย ซ่ึงสามารถเป็นตัวขับเคล่ือน
ความเจริญกา้ วหน้าให้แก่ประเทศในอนาคต
การพัฒนา ไม่ว่าจะเป็นชนบทหรือในเมือง ถ้าได้มีการฝึกให้คนได้มีความสามารถและมีการเรียนรู้ที่จะเข้ามามีส่วน
รว่ มในการดำเนินงาน นับไดว้ ่าเป็นปจั จัยพื้นฐานที่สำคัญ ซ่ึงการพัฒนาคนท่ีดีทีส่ ุดคือ การรวมกลมุ่ ประชาชนใหเ้ ป็นองคก์ รเพื่อ
พัฒนาคนในกลุ่ม เพราะกลุ่มคนนั้นจะกอ่ ให้เกิดการเรยี นรู้ ฝึกการคิดและการแก้ปัญหา หรือกลุ่มท่ีฝึกฝนด้านบุคลิกภาพของ
คน ฝกึ ในการทำงานร่วมกัน ซ่ึงจะช่วยใหค้ นไดเ้ กดิ การพัฒนาในดา้ นความคิด ทัศนคติ ความมีเหตุผล ซง่ึ เปน็ รากฐานที่สำคัญ
ของระบอบประชาธปิ ไตย
2. การพัฒนาชุมชน และสังคม
การพัฒนาชุมชน และสังคม หมายถึง การทำกิจกรรมท่ีมีผลต่อคุณภาพชีวิตของทุกคนในชุมชนร่วมกัน ดังน้ันการ
พัฒนาชุมชนและสังคม จึงตอ้ งใชก้ ารมีสว่ นรว่ มของประชาชน ร่วมกันคดิ เกีย่ วกบั ปัญหาตา่ ง ๆ เชน่ ยาเสพตดิ ส่ิงแวดลอ้ มทถ่ี ูก
ทำลาย ปัญหาท่ีไม่พึงประสงค์อ่ืนๆ ตัดสินใจร่วมกันในกิจกรรมท่ีเป็นปัญหาส่วนรวม เหตุท่ีต้องให้ประชาชนมามีส่วนร่วม
เนื่องจากประชาชนรู้ว่าความต้องการของเขาคืออะไร ปัญหาคืออะไร และจะแก้ปัญหาน้ันอย่างไร ถ้าประชาชนช่วยกัน
แก้ปัญหา กจิ กรรมทุกอยา่ งจะนำไปสคู่ วามต้องการทแ่ี ทจ้ ริง
หลักการพฒั นากับการมีส่วนรว่ มของประชาชน
1. การมสี ว่ นรว่ มในการค้นหาปญั หาและสาเหตขุ องปัญหา
เป็นข้ันตอนที่สำคญั ท่สี ุด เพราะถ้าประชาชนไมส่ ามารถเข้าใจปญั หาและหาสาเหตขุ องปญั หาดว้ ยตนเองได้ กิจกรรม
ต่าง ๆ ที่ตามมาก็จะไม่เกิดประโยชน์ เนื่องจากประชาชนขาดความรู้ ความเข้าใจและไม่สามารถมองเห็นความสำคัญของ
กิจกรรมนั้น สง่ิ ที่สำคัญทส่ี ดุ คือ ประชาชนทอี่ ยู่กับปญั หาและร้จู ักปัญหาของตนเองดที สี่ ดุ แต่อาจมองปัญหาไมอ่ อกน้นั อาจจะ
ขอความร่วมมือจากเพ่อื นหรอื ขา้ ราชการทร่ี บั ผดิ ชอบในเร่อื งนั้น ๆ มาช่วยวเิ คราะห์ปญั หาและหาสาเหตุของปญั หา
2. การมีส่วนรว่ มในการวางแผนการดำเนนิ งาน
ในการวางแผนการดำเนนิ งานหรือกิจกรรม เจา้ หนา้ ท่ีของรัฐควรทีจ่ ะต้องเขา้ ใจประชาชนและเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มในการ
วางแผน โดยคอยใหค้ ำแนะนำ ปรึกษา หรือช้ีแนะกระบวนการดำเนนิ งานให้กบั ประชาชนจนกว่าจะเสร็จส้ินกระบวนการ
3. การมสี ว่ นรว่ มในการลงทนุ และปฏบิ ตั งิ าน
เจา้ หน้าท่ีรัฐควรจะชว่ ยสร้างแรงบันดาลใจและจิตสำนกึ ให้ประชาชน โดยให้รู้สึกถึงความเป็นเจา้ ของ ใหเ้ กดิ สำนกึ ใน
การดแู ลรกั ษาหวงแหนสิ่งนัน้ ถ้าการลงทุนและการปฏบิ ัตงิ านทั้งหมดมาจากภายนอก ในกรณีทเี่ กิดความเสยี หายประชาชนจะ
ไม่รู้สำนึกหรือเดือดร้อนต่อความเสียหายที่เกิดขึ้น เพราะไม่เดือดร้อนเน่ืองจากไม่ใช่ของตนเอง จึงไม่มีการบำรุงรักษา ไม่ต้อง
หวงแหน
นอกจากจะมีการเข้ามามีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานด้วยตนเอง จะทำให้เกิดประสบการณ์ตรง โดยเรียนรู้จากการดำเนิน
กจิ กรรมอยา่ งใกลช้ ดิ และสามารถดำเนนิ กจิ กรรมชนิดนั้นด้วยตนเองตอ่ ไปได้ นอกเหนือจากการพฒั นาตนเองในดา้ นบุคลิกภาพ
อารมณ์ สังคม สติปญั ญาแล้ว บุคคลควรมคี ่านิยมท่ีเก้ือหนุนในการพัฒนาสังคมอีกด้วย ได้แก่ การมีระเบียบวินัย ความอดทน
ขยนั ขันแขง็ มานะอดออม ไมส่ ุรุ่ยสุรา่ ย ซ่อื สัตย์ การเอือ้ เฟื้อเผื่อแผ่ ตรงต่อเวลา
4. การมสี ่วนรว่ มในการติดตามและประเมนิ ผลงาน
ควรให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผลงาน เพ่ือที่จะสามารถบอกได้ว่างานท่ีทำไปน้ัน
ได้รับผลดีเพียงใด ก่อให้เกิดประโยชน์หรือไม่ ดังน้ัน ในการประเมินผลควรท่ีจะต้องมีท้ังประชาชนในชุมชนนั้น และ
บคุ คลภายนอกชมุ ชนช่วยกันพิจารณาวา่ กิจกรรมที่กระทำลงไปนั้นเกิดผลดหี รือไม่ดีอย่างไร ซึ่งจะทำให้ประชาชนเห็นคุณค่า
ของการทำกจิ กรรมนน้ั รว่ มกันตวั อยา่ งท่ี 1 การมสี ่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษว์ ัฒนธรรม
ในการอนรุ ักษ์วัฒนธรรมด้ังเดมิ ของหมู่บ้านวัฒนธรรมถลาง บา้ นแขนน หมู่บ้านวฒั นธรรมถลาง จังหวดั ภูเก็ต จดั เป็น
หมบู่ า้ นที่สบื สานความรูด้ ั้งเดมิ ของภเู กต็ ตง้ั แตส่ มัยท้าวเทพกษัตรยิ ต์ รี อีกทัง้ วัฒนธรรมในการปรุงอาหารซึง่ เปน็ อาหารตำรบั เจา้
เมืองในสมัยโบราณของภูเกต็ และศิลปวัฒนธรรมดา้ นนาฏศิลปข์ องภูเก็ต เช่น การรำมโนราห์ ไดม้ กี ารถา่ ยทอดและเปดิ โอกาส
ให้ผู้ท่ีสนใจเข้าร่วมสืบสานวฒั นธรรมด้ังเดิม และสามารถท่ีจะพัฒนาเป็นชุมชนท่ีมีความเข้มแข็งซง่ึ เป็นผลสืบเน่ืองมาจากการ
สง่ เสรมิ การมีส่วนรว่ มของประชาชน ในการสบื สานวฒั นธรรมท้องถน่ิ ใหอ้ ยู่อย่างย่งั ยนื
ตวั อย่างท่ี 2 การมสี ว่ นร่วมของประชาชนในการอนรุ ักษ์ส่ิงแวดล้อมในเขตวนอทุ ยาน
แห่งชาติสิรนิ าถ จังหวัดภูเก็ต
เป็นผลสืบเนื่องจากการบุกรกุ ทำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการเข้าไปขุดคลอง การปล่อยน้ำเสีย
จากสถานประกอบการ ส่งผลให้ประชาชนท่ีอยู่บริเวณโดยรอบได้รับผลกระทบเสียหาย จากการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม ทำให้ประชาชนและภาครฐั ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดระบบการบำบัดน้ำเสีย และการขุดลอกคคู ลอง เพื่อ
ปอ้ งกนั และอนุรักษ์ส่งิ แวดลอ้ มใหค้ งอย่ใู นสภาพทีเ่ ป็นธรรมชาติต่อไป
ตัวอย่างที่ 3 การบริหารจัดการของเสีย โดยเตาเผาขยะและการบำบัดของเสียของเทศบาลนครภูเก็ต จังหวัด
ภูเก็ต
สืบเนื่องจากปริมาณขยะท่ีมีมากถึง 500 ตันต่อวัน ซ่ึงเกินความสามารถในการกำจัด โดยเตาเผาท่ีมีอยู่สามารถกำจัดขยะได้
250 ตนั ต่อวนั หลุมฝังกลบของเทศบาลมีเพียง 5 บอ่ ซึ่งถูกใช้งานจนหมด และไมส่ ามารถรองรับขยะได้อีก
ประชาชนไดเ้ ข้าไปมสี ่วนร่วมโดยใหค้ วามรว่ มมือในการคัดแยกขยะกอ่ นท้ิง ซ่งึ แยกตามลกั ษณะของขยะ เชน่
1. ขยะอินทรีย์ หรือขยะเปยี กที่สามารถย่อยไดต้ ามธรรมชาติ เทศบาลนครภเู ก็ต ไดน้ ำไปทำปุย๋ หมักสำหรบั เกษตรกร
2. ขยะรไี ซเคิล เชน่ แกว้ พลาสตกิ กระดาษ ทองแดง เปน็ ตน้ นำไปจำหนา่ ย
3. ขยะอนั ตราย เช่น ถ่านไฟฉาย หลอดไฟ เป็นตน้ นำไปฝงั กลบและทำลาย
4. ขยะท่ัวไปทจี่ ะนำเข้าเตาเผาขยะเพือ่ ทำลาย
ในการจัดกระบวนการดังกล่าว สง่ ผลให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมส่ิงแวดล้อมท่ีดีให้กับจังหวัดภูเกต็ อีกท้ัง
เป็นการบรู ณาการในการดำเนินกจิ กรรมร่วมกนั ระหว่างสว่ นราชการเทศบาลนครภเู กต็ และภาคประชาชน เปน็ การสร้างการมี
สว่ นรว่ มระหว่างองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ กับประชาชนในการร่วมกนั สร้างสรรคส์ ่งิ แวดลอ้ มทด่ี ีต่อกนั
ใบงานที่ 1
รายวชิ า การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม (สค31003) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
..................................................................................................
ข้อ 1 ใหผ้ เู้ รียนแบ่งกลมุ่ 3 – 4 คนต่อ 1 กลมุ่ และให้ร่วมกันศกึ ษารปู แบบขัน้ ตอนในการวางแผน โดยช่วยกนั
ระดมความคดิ อภปิ ราย จากนน้ั ทำการสรุปและรว่ มกันจัดทำแผนการพัฒนาชุมชน หรือหมูบ่ ้านของผ้เู รียน ให้
มคี วามเปน็ อยู่ทด่ี ี โดยยดึ หลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง มากลมุ่ ละ 1 แผน
ข้อ 2 ให้ผเู้ รยี นศกึ ษาตวั อย่างของการมสี ว่ นร่วมของภาคประชาชน ในการเขา้ ร่วมพฒั นาสงั คม จากน้นั ให้
รว่ มกันจดั ทำแนวทางการบริหารจัดการโดย การมีสว่ นรว่ มของประชาชนในดา้ นต่อไปน้ี
1. การอนุรักษ์ส่งิ แวดล้อม
2. การอนรุ กั ษด์ ้านศิลปวัฒนธรรมไทย
3. การรณรงค์ป้องกันยาเสพติด
4. การรณรงค์ป้องกนั ไข้หวดั 2009
5. การรณรงค์การเลอื กใช้ผลิตภัณฑข์ องไทย
(ให้เลอื กเฉพาะด้านใดดา้ นหนึ่งเทา่ นั้น)
บันทกึ หลังการสอน
กศน.ตำบลรโิ ก๋
คร้ังท.ี่ .............. วนั ท.ี่ ............................................... ผสู้ อน นางยามลี ะห์ สิงหะ
สถานทพ่ี บกลุ่ม กศน.ตำบลรโิ ก๋ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
สาระ...................................................รายวิชา............................................................รหัสวชิ า...........................
ผเู้ รียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน................คน เข้าพบกลมุ่ ..............คน ไม่พบกลุ่ม..............คน
เนอื้ หา/สาระ/รายวชิ า
........................................................................................................................................................................ .....
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
กจิ กรรมการเรยี นการสอน
........................................................................................................................................ .....................................
.............................................................................................................................................................................
..................................................................................................... ........................................................................
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
........................................................................................... ..................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
ปัญหา/อปุ สรรค
............................................................................................................................. ................................................
.............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................... .........................
แนวทางการแก้ปัญหา
............................................................................................................. ................................................................
.............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................ .....................................................
ความเหน็ /ข้อเสนอแนะผู้บริหาร
.............................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................... .......................
ลงชอื่ ..............................................ครูผสู้ อน ลงชื่อ................................................ผูร้ ับรองข้อมลู
(นางยามลี ะห์ สงิ หะ) (นางหทยั กาญจน์ วัฒนสทิ ธ์)ิ
ครู กศน.ตำบลริโก๋
ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอสุไหงปาดี
แผนการจัดการเรยี นรู้ ครง้ั ท่ี 6
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สาระ ทักษะการดำเนินชีวติ รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพียง สค31003
เนือ้ หาการเรยี นรู้ที่ 4 เรื่อง ความพอเพยี ง และชุมชนพอเพียง
วันท่ี 6 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2564 เวลา 09.00 น. -12.00 น. ถึง 13.00 น.- 16.00 น.
1. มาตรฐานการเรยี นรู้ระดบั
มีความรู้ ความเข้าใจ เจตคติที่ดีเก่ียวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถประยุกตใช
ในการดำเนนิ ชวี ติ ได้อย่างเหมาะสม
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 เพ่อื ให้ผเู้ รยี นสามารถอธิบายความสำคัญของความพอเพยี ง และชุมชนพอเพียงได้
2.2 เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถฝึกทักษะพ้ืนฐานเก่ียวกับความพอเพียง และชุมชนพอเพียงได้อย่าง
คลอ่ งแคล่ว
2.3 เพื่อให้ผู้เรยี นสามารถสรา้ งความสามัคคี และตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติงานท่ีไดม้ อบหมายได้
3. สาระการเรยี นรู้ สาระทักษะการดำเนินชีวติ
4. ผลการเรยี นร้ทู คี่ าดหวัง
4.1 ความสำคัญของความพอเพียง และชมุ ชนพอเพียง
4.2 ฝึกทักษะพืน้ ฐานเกย่ี วกบั ความพอเพยี ง และชมุ ชนพอเพียงไดอ้ ย่างคลอ่ งแคล่ว
4.3 สามารถสร้างความสามคั คี และตรงต่อเวลาในการปฏิบตั งิ านท่ไี ดม้ อบหมาย
5. กิจกรรมการเรียนรู้
5.1 ขนั้ การกำหนดสภาพปัญหา (O : orientation)
ครูทักทายและสอบถามนักศึกษา อธิบายความสำคัญเกี่ยวกับ ความพอเพียง และชุมชน
พอเพยี ง
5.2 ขนั้ การแสวงหาข้อมูลและการเรยี นรู้ (N : new way of learning)
5.2.1 นำเสนอกจิ กรรมการเรยี นรตู้ อ่ เนื่อง (กรต.) และแลกเปลย่ี นเรียนร้รู ว่ มกนั
กลุ่มที่ 1 ความเป็นมาความหมายหลักแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
กลมุ่ ท่ี 2 ความหมายโครงสร้างของชุมชน
กลุม่ ที่ 3 การพฒั นาชุมชน
5.3 การปฏบิ ตั ิและการนำไปใช้ ( I : implementation)
5.3.1 ให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มตามใบงานที่ได้รับ และส่งตัวแทนนำเสนอ
หนา้ ช้ันเรียน
5.3.2 ครูและนักศกึ ษาร่วมกนั สรปุ องคค์ วามรู้รว่ มกัน
5.3.3 ครูให้นักศึกษาแบง่ กล่มุ มอบหมายงานการเรยี นรตู้ ่อเนื่อง (กรต.) ออกเปน็ 3 กล่มุ
กลุ่มท่ี 1 การจัดทำแผนชมุ ชน
กลมุ่ ท่ี 2 สถานการณโ์ ลกปัจจุบัน
กล่มุ ท่ี 3 สถานการณ์พลังงานโลก กับผลกระทบเศรษฐกิจไทย
5.4 ขน้ั การประเมนิ ผล (E : evaluation)
5.4.1 ประเมินผลจากการเรียนรู้ การนำเสนอโดยใช้กระบวนการกลุ่ม การรายงาน และ
การทำทดสอบย่อย ทดสอบก่อนเรยี น การซกั ถาม และการสังเกต
6. การวัดผลประเมินผล
6.1 การสังเกต
6.2 การนำเสนอ และการซักถาม
7.สือ่ และวสั ดอุ ปุ กรณ์
7.1 ใบความรู้
7.2 ใบงาน
7.3 หนังสอื เรียน
7.4 อินเทอรเ์ น็ต
8. แหล่งเรียนรู้
8.1 กศน.ตำบล
8.2 ห้องสมุดประชาชนอำเภอ
8.3 สถาบันศึกษาปอเนาะ
9. ตวั ช้ีวัดการเรยี นรู้
9.1 รอ้ ยละ 80 ของผเู้ รียนสามารถอธิบายความสำคัญของความพอเพยี ง และชมุ ชนพอเพยี งได้
9.2 ร้อยละ 80 ของผเู้ รยี นสามารถฝึกทักษะพื้นฐานเกีย่ วกับความพอเพยี ง และชมุ ชนพอเพียงได้อยา่ ง
คล่องแคลว่
9.3 ร้อยละ 80 ของผู้เรยี นสามารถสรา้ งความสามัคคี และตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติงานทไี่ ด้
มอบหมายได้
ลงชอื่ ........................................................ครผู ู้สอน
(นางยามลี ะห์ สิงหะ)
ครู กศน.ตำบลรโิ ก๋
ความคิดเหน็ หวั หนา้ งานการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่ือ.............................................หัวหน้างานการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน
(นางมัทมา แวนาแว)
ครผู ชู้ ว่ ย
ความคิดเห็นผู้บริหารสถานศึกษา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………….....…………………………………………………………………………………………….…
ลงชอ่ื ................................................ผ้บู ริหารสถานศึกษา
(นางหทยั กาญจน์ วฒั นสทิ ธิ์)
ผูอ้ ำนวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสุไหงปาดี
ใบความรูท้ ี่ 1
เรอ่ื ง ท่ี 1 ความเปน็ มา ความหมายหลักแนวคิด
พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวภูมิพลอดุลยเดช ได้พฒั นาหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อที่จะให้พสกนิกรชาวไทย
ได้เข้าถึงทางสายกลางของชีวิต และเพ่ือคงไว้ซึ่งทฤษฎีของการพัฒนาที่ย่ังยืนทฤษฎีน้ี เป็นพ้ืนฐานของการดำรงชีวิต ซึ่งอยู่
ระหวา่ งสังคมระดับท้องถ่นิ และตลาดระดับสากลจดุ เด่นของแนวปรชั ญานี้ คือ แนวทางที่สมดลุ โดยชาติสามารถทันสมยั และ
กา้ วสู่ความเป็นสากลได้ โดย ปราศจากการต่อต้านกระแสโลกาภิวัฒน์ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความสำคัญในช่วงปี พ. ศ.
2540 เม่ือปีท่ีประเทศไทยต้องการ รักษาความมั่นคง และเสถียรภาพ เพ่อื ทจ่ี ะยืนหยัดในการพึ่งตนเอง และพัฒนานโยบายท่ี
สำคัญ เพื่อการฟ้ืนฟูเศรษฐกิจของประเทศ โดยการสร้างแนวคิดเศรษฐกจิ ที่พ่ึงตนเองได้ ซึ่งคนไทยจะสามารถเล้ียงชพี โดยอยู่
บนพื้นฐาน ของความพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริ ว่า “มันไม่ได้มีความจำเป็นท่ีเราจะ
กลายเป็นประเทศ อตุ สาหกรรมใหม่ (NIC ) “พระองค์ได้ทรงอธิบายว่า ความพอเพียงและการพึ่งตนเอง คือทางสายกลางทจ่ี ะ
ปอ้ งกนั การเปล่ยี นแปลงความไม่ม่ันคงของประเทศได้
เร่ืองที่ 2 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
“การพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับข้ัน ต้องสร้างพ้ืนฐาน คือ ความพอมีพอกิน พอใช้ของประชาชนส่วน
ใหญ่ เป็นเบ้อื งต้นก่อนโดยใช้วิธีการและใช้อปุ กรณ์ท่ีประหยดั แต่ถูกตอ้ งตามหลักวชิ าเมอื่ ได้พน้ื ฐาน ม่ันคง พร้อมพอควร และ
ปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงข้ึน โดยลำดับต่อไป หากมุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความ
เจริญยกเศรษฐกิจขึ้นให้รวดเร็ว แต่ประการเดียว โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศ และของประชาชน
โดยสอดคล้องด้วยก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่าง ๆ ข้ึน ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุด” พระบรม
ราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วัน
พฤหัสบดี ท่ี 1 8 กรกฎาคม พ. ศ.2517
“คนอื่นจะว่าอย่างไร ก็ช่างเขาจะว่าเมืองไทยล้าสมัยว่า เมืองไทยเชยว่าเมืองไทยไม่มีสิ่งใหม่แต่เราอยู่อย่าง
พอมีพอกิน และขอให้ ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทยพออยู่พอกินมีความสงบช่วยกันรักษาส่วนร่วมให้อยู่ที
พอสมควรขอย้ำพอควรพออยู่พอกิน มีความ สงบไม่ให้คนอ่ืนมาแย่งคุณสมบัติไปจากเราได้” พระราชกระแสรับสัง่ ใน เร่ือง
เศรษฐกิจ พอเพยี งแกผ่ ู้เขา้ เฝ้าถวายพระพรชยั มงคล เนื่องในวนั เฉลมิ พระชนมพรรษาแต่พุทธศักราช 2517
“การจะเป็นเสือน้ัน มันไม่สำคัญ สำคัญอยู่ที่เราพออยู่พอกิน และมีเศรษฐกิจการเป็นอยู่แบบพอมีพอกิน แบบ
พอมีพอกนิ หมายความวา่ อุ้มชูตัวเองได้ใหม้ ีพอเพียงกับตัวเอง” พระราชดำรัส “เศรษฐกิจ แบบ พอเพียง” พระบาท สมเด็จ
พระปรมนิ ทร มหาภมู ิพลอดุลยเดช พระราชทาน เม่อื วันท่ี 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ทรงปรับปรุงพระราชทานเป็นท่ีมาของนิยาม “ 3 ห่วง 2 เง่ือนไข” ที่คณะอนุกรรมการ
ขบั เคล่ือน เศรษฐกจิ พอเพียงสำนักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาตินำมาใช้ในการรณรงค์เผยแพร่
ปรัชญา ของ เศรษฐกิจพอเพียง ผ่านช่องทางต่าง ๆ อยู่ในปัจจุบัน ซ่ึงประกอบด้วยความ “ พอประมาณ มีเหตุผลมี
ภมู ิคุ้มกัน” บนเง่ือนไข “ ความรู้ และคณุ ธรรม” อภิชัย พนั ธเสน ผู้อำนวยการสถาบันการจัดการเพื่อชนบท และสังคมได้ จัด
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงว่า เป็น “ ข้อเสนอในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามแนวทางของพุทธธรรมอย่างแท้จริง”
ทง้ั น้ี เนือ่ งจากในพระราชดำรัส หน่ึงได้ ให้ คำอธิบายถึงเศรษฐกิจพอเพียงว่า “ คือ ความพอประมาณ ซ่ือตรงไม่โลภมาก
และต้องไม่เบยี ดเบียน ผู้อ่ืน” ระบบเศรษฐกิจพอเพียง มงุ่ เน้นใหบ้ ุคคลสามารถประกอบอาชพี ได้อย่างยัง่ ยนื และใช้จ่ายเงนิ ให้
ได้มาอย่างพอเพียง และประหยัดตามกำลังของเงินของบุคคล น้ัน โดยปราศจากการกู้หนี้ยืมสิน และถ้ามีเงินเหลือก็แบ่งเก็บ
ออมไวบ้ างสว่ นชว่ ยเหลอื ผอู้ ่นื บางส่วน และ อาจจะใชจ้ ่ายมาเพอื่ ปจั จยั เสริมอีกบางสว่ น ( ปัจจยั เสรมิ ในทน่ี ่ี เช่น ท่องเท่ยี ว
ความบนั เทิง เป็นตน้ ) สาเหตุทแี่ นวทางการดำรงชีวิต อย่างพอเพียง ได้ถกู กล่าว ถงึ อย่างกว้างขวางในขณะน้ี เพราะสภาพการ
ดำรงชีวิตของสังคมทุนนิยมในปัจจุบันได้ถูกปลูกฝังสร้าง หรือกระตุ้นให้เกิดการใช้จ่าย อย่างเกินตัวในเร่ืองท่ีไม่เกี่ยวขอ้ ง หรือ
เกินกว่าปัจจัยในการดำรงชีวิต เช่น การบริโภค เกินตัวความบันเทิง หลากหลายรูปแบบความ สวยความงามการแต่งตัวตาม
แฟช่นั การพนัน หรือ เสยี่ งโชค เป็นต้น จนทำให้ไม่มีเงินเพียงพอ เพ่ือตอบสนองความต้องการเหลา่ นั้น ส่งผลให้เกิด
การกหู้ นยี้ มื สินเกิดเป็น วัฏจักรทบี่ คุ คลหนงึ่ ไม่สามารถหลุดออกมาได้ ถา้ ไม่เปลยี่ นแนวทางในการดำรงชีวิต