คมู่ ือการประเมนิ มูลคา่ ต้นไม้ I 43
อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติการคำนวณปริมาตรไม้โดยอาศัยสมการอาจไม่สะดวกและขาดความ
คล่องตัวในการปฏิบัติงาน จึงนิยมใช้ ตารางปริมาตรไม้ (volume table) ซึ่งเป็นตารางแสดงปริมาตร
เฉลี่ยของต้นไม้ในแต่ละขนาดชั้นความสูง เส้นผ่านศูนย์กลาง และชั้นลักษณะของต้นไม้ ทั้งไม้ยืนต้นและ
ไม้ที่โค่นแล้ว (ชาญ, 2513) เป็นวิธีการที่มีการคิดค้นและใช้มาอย่างต่อเนื่องยาวนานสามารถนำมาใช้เปิด
เพ่ือหาปริมาตรแทนการคำนวณด้วยสมการ
โดยทัว่ ไปการสร้างตารางปรมิ าตรไม้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นตารางสำหรับประเมนิ ปริมาตรไม้รายต้น
ในทอ้ งทป่ี า่ นั้น เพยี งแต่วดั ขนาดของส่วนต่าง ๆ ของไม้ เชน่ เส้นผา่ นศนู ย์กลาง ความสงู ก็จะทราบได้ทันที
โดยการอา่ นจากตารางปรมิ าตรไมท้ ี่ทำขน้ึ และวัตถปุ ระสงค์อีกประการหนึ่งกเ็ พื่อที่จะใช้เป็นตารางสำหรับ
ประเมินปริมาตรของหมู่ไม้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างมากในการสำรวจทรัพยากรป่าไม้ การวางโครงการป่าไม้
การกำหนด และควบคุมกำลังผลิตของไมช้ นิดน้ัน ๆ ในทางการจัดการป่าไม้ ซงึ่ เกย่ี วโยงไปถึงด้านวนวัฒนวิทยา
และชีววิทยาป่าไม้ด้วย ทั้งนี้ ตารางปริมาตรไม้จำแนกออกเป็น 2 ประเภท ตามลักษณะการนำไปใช้ คือ
ตารางปริมาตรไม้ท้องถิ่น ซึ่งนำไปใช้ในท้องที่ใดท้องท่ีหนึ่งโดยเฉพาะ และตารางปริมาตรไม้ทั่วไป
ซึ่งสามารถนำไปใช้ได้โดยทั่ว ๆ ไป เช่น ตัวอย่างตารางปริมาตรไม้สักและไม้ยางนา โดยการประเมิน
ปริมาตรไม้นั้นสามารถกระทำได้เมื่อทราบเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) และความสูง (เมตร)
(ตารางที่ 3.2 และ 3.3)
ตารางที่ 3.2 ตารางปรมิ าตรไมส้ กั ไม่รวมเปลอื ก 44 I การตรวจวดั และประเมนิ มลู คา่ ตน้ ไม้
DBH 6 ความสงู ท่ีใช้เปน็ สนิ คา้ ได้ (เมตร)
(ซม.) 8 10 12 14 16 18 20 22 24 26
ปรมิ าตรไม้สกั ไม่รวมเปลอื ก (ลูกบาศก์เมตร)
25 1.16 0.20 0.28
30 0.25 0.34 0.44 0.50
35 0.36 0.48 0.58 0.66 0.75
40 0.64 0.75 0.84 0.96 1.10
45 0.80 0.95 1.16 1.18 1.19 1.50
50 1.12 1.34 1.50 1.76 1.96
55 1.65 1.92 2.18 2.39 2.66
60 2.34 2.68 2.90 3.20
65 2.78 3.15 3.42 3.75 4.00
70 3.64 4.00 4.36 4.65
75 4.12 4.58 4.95 5.30
80 5.18 5.60 6.00
85 5.76 6.26 6.70 7.30
90 6.72 6.90 7.40 8.00
95 7.60 8.12 8.76 9.30
100 8.28 8.82 9.48 10.00
หมายเหตุ: DBH - เส้นผา่ นศูนยก์ ลางเพยี งอก (diameter at breast height)
ตารางท่ี 3.3 ตารางปรมิ าตรไม้ยางนาไม่รวมเปลอื ก
DBH 6 8 ความสูงทใ่ี ช้เป็นสนิ ค้าได้ (เมตร) 28 30 32 34 36
(ซม.) 10 12 14 16 18 20 22 24 26
ปรมิ าตรไม้ยางนาไม่รวมเปลือก (ลกู บาศกเ์ มตร)
25 0.22 0.30
30 0.37 0.45 0.54 0.63
35 0.60 0.69 0.76
40 0.85 0.94 1.12
45 0.99 1.14 1.34 1.57
50 1.42 1.64 1.96 2.24
55 1.78 2.02 2.41 2.73
60 2.20 2.48 2.89 3.25 3.81
65 2.97 3.42 3.82 4.37 4.94
70 3.94 4.42 4.95 5.52 6.17
75 4.50 5.00 5.55 6.12 6.79 7.30
80 5.07 5.64 6.16 6.75 7.41 7.97
85 5.64 6.24 6.77 7.36 8.06 8.65
90 6.26 6.86 7.37 8.00 8.73 9.36 9.75
95 6.88 7.51 8.00 8.67 9.43 10.14 10.56
100 8.17 8.62 9.32 10.22 10.92 11.18 12.21
105 8.81 9.30 10.05 11.04 11.80 12.49 13.30
ค่มู อื การประเมินมลู คา่ ต้นไม้ I 45
110 9.98 10.82 11.96 12.78 13.60 14.42
115 10.67 11.70 12.92 13.86 14.76 15.64 16.39
120 11.40 12.63 13.98 15.00 16.00 17.00 17.75
125 12.16 13.61 15.05 16.20 17.28 18.46 19.20 20.74
130 14.62 16.21 17.47 18.61 20.00 20.84 22.39 23.92
135 15.67 17.38 18.76 19.94 21.57 22.66 24.12 25.58
140 18.59 20.06 21.28 24.50 24.50 25.85 27.24
หมายเหต:ุ DBH - เส้นผ่านศนู ย์กลางเพยี งอก (diameter at breast height)
46 I การตรวจวดั และประเมนิ มูลคา่ ต้นไม้
อย่างไรก็ตาม ปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับปริมาตรของต้นไม้ประกอบด้วย ความโต ความสูง
รูปทรงของตน้ ไม้ อายุตน้ ไม้ ชั้นคณุ ภาพ และสภาพสงิ่ แวดล้อมซงึ่ ปจั จยั ดังกลา่ วมีอทิ ธพิ ลต่อปรมิ าตรไม้ของ
ต้นไม้มากน้อยแตกต่างกันออกไป การสร้างตารางปริมาตรไม้อาจนำปัจจัยต่าง ๆ มาใช้เป็นตัวแปรผัน
เก่ยี วขอ้ งมากน้อยต่างกนั อาจจะสร้างตารางปริมาตรไมโ้ ดยอาศัยเส้นผา่ นศูนย์กลางเพียงอกเป็นตัวแปรผัน
เดยี วกไ็ ด้ แต่การสรา้ งตารางปรมิ าตรวิธนี ี้ให้ความถูกต้องนอ้ ยทสี่ ดุ เพราะถือเอาวา่ ไมท้ ้ังหมดมีความสูงเท่า ๆ
กัน และมีรูปทรงที่เหมือน ๆ กัน แต่ถ้าหากตัวแปรต่าง ๆ สามารถจะวัดได้โดยง่าย การสร้างตารางโดย
อาศัยตัวแปรผัน 3 ตัว คือ เส้นผ่านศูนย์กลาง ความสูง และรูปทรง จะให้ความแน่นอนถูกต้องและนิยมใช้
มากกว่าตารางปริมาตรทสี่ รา้ งโดยอาศัยตวั แปรผนั เพยี งตวั เดียว (ชาญ, 2513)
3.3 หลกั การประเมนิ มูลค่าของตน้ ไม้
โดยปกติ มูลค่าของต้นไม้จะเกิดขึ้นเมื่อมีการตัดฟันเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ ซึ่งมูลค่าของต้นไม้จะ
แตกต่างกันตามชนิด ขนาดของไม้ และคุณภาพของเนื้อไม้ หากพิจารณาหลักการในการประเมินมูลค่า
ตน้ ไม้ทยี่ งั ยืนตน้ ประเด็นสำคญั ท่ตี ้องพจิ ารณามี 4 ประเดน็ หลกั ไดแ้ ก่
1) ชนิดไม้ ต้นไม้แตล่ ะชนิดมีมูลคา่ ท่ีแตกตา่ งกนั ข้ึนอย่กู บั อตั ราการเติบโต สมบัติของเนื้อไม้ และ
รอบตัดฟันในการนำไปใช้ประโยชน์ ตัวอย่างการจำแนกชนิดไม้ของโครงการส่งเสริมปลกู ต้นไมเ้ พื่อเป็นทนุ
ระยะยาว ซึ่งสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) หรือ สพภ. (BEDO) มอบหมาย
ให้ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ดำเนินโครงการเมื่อปี พ.ศ. 2552 ต่อมา
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร หรือ ธ.ก.ส. ได้นำเอาผลงานไปใช้เป็นต้นแบบเพื่อพัฒนา
เปน็ “ธนาคารตน้ ไม”้ ได้จำแนกกลมุ่ พรรณไม้ออกเป็น 4 กลุม่ ท่มี อี ตั ราการเตบิ โต รอบตัดฟนั และมูลค่าที่
แตกตา่ งกัน ซึง่ จะกลา่ วถงึ รายละเอียดต่อไปในหัวข้อ 3.4
2) ขนาดของต้นไม้ การซื้อขายไม้โดยทั่วไปหากเป็นไม้ชนิดเดียวกันราคาจะแตกต่างกันไปตาม
ขนาด ซึ่งดูจากเส้นรอบวง หรือเส้นผ่านศูนย์กลาง เช่น ไม้สักขนาดเส้นรอบวง 30-34 เซนติเมตร ราคา
เริ่มต้น 2,900 บาทต่อลูกบาศก์เมตร ไม้สักเส้นรอบวง 50-54 เซนติเมตร ราคาเริ่มต้น 5,100 บาทต่อ
ลูกบาศก์เมตร แต่ไม้สักขนาดเส้นรอบวง 200 เซนติเมตร ราคาเร่ิมต้นมากถึง 41,500 บาทต่อลูกบาศก์
เมตร นอกจากนี้ หากเป็นการซื้อขายไม้ท่อน การตัดท่อนได้ยาวขึน้ จะทำให้มมี ูลค่าสูงขึ้น เช่น ไม้สักขนาด
เส้นรอบวง 50-54 เซนติเมตร ความยาวท่อน 2 เมตร ราคา 5,100 บาทต่อลูกบาศก์เมตร แต่ความยาว
ท่อน 6 เมตร ขึ้นไป ราคาเพิ่มขึ้นเป็น 8,300 บาทต่อลูกบาศก์เมตร เป็นต้น (ตารางที่ 3.4) จะเห็นได้ว่า
ขนาดของไม้ที่แตกต่างกันอาจทำให้มูลค่าเนื้อไม้ต่อลูกบาศก์เมตรแตกต่างกันมากกว่า 10 เท่า ในการ
ประเมนิ มลู ค่าจงึ ต้องนำประเดน็ น้ีมาพิจารณาร่วมด้วย
3) คุณภาพเนื้อไม้ ในการจำแนกเกรดของเนื้อไม้โดยเฉพาะอย่างยิ่งการซื้อขายไม้ซงุ หรือไม้ท่อน
พจิ ารณาจากสมบัตเิ นื้อไม้หลาย ๆ ลกั ษณะ ท่ีสำคัญ ดงั นี้
• ปริมาณแก่น หรือสัดส่วนระหว่างแก่นและกระพ้ี เช่น ไม้สักเกรดเอ ราคาแพง ต้องมีปริมาณ
แก่นมากกว่าร้อยละ 80 เป็นต้น ตน้ ไมท้ ีอ่ ายนุ ้อย เติบโตเรว็ เกินไป อาจมปี ริมาณแก่นน้อยกว่า
ต้นไม้ท่ีอายมุ าก เชน่ เม่ือเปรยี บไมส้ ักอายุ 30 ปี และ 15 ปี ทีม่ ีขนาดใกลเ้ คยี งกัน (ภาพที่ 3.4)
คูม่ อื การประเมนิ มลู คา่ ตน้ ไม้ I 47
ตารางที่ 3.4 ราคาจำหนา่ ยไม้สักสวนป่าขององค์การอตุ สาหกรรมปา่ ไม้ ตั้งแตว่ ันท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2560
เสน้ รอบวง ราคาตามความยาวทอ่ น (บาทตอ่ ลกู บาศก์เมตร)
(ซม.)
30 - 34 ตำ่ กว่า 2 ม. 2 ถึงต่ำกวา่ 4 ม. 4 ถึงต่ำกว่า 6 ม. 6 ม. ข้ึนไป
35 - 39 2,900 3,300 3,800 4,100
40 - 44 3,300 3,700 4,200 4,600
45 - 49 3,800 4,500 5,100 5,700
50 - 54 4,300 5,400 6,200 6,700
55 - 59 5,100 6,600 7,600 8,300
60 - 64 5,900 7,700 8,900 9,600
65 - 69 6,700 8,900 10,200 11,000
70 - 74 7,800 10,200 11,400 12,400
75 - 79 9,000 11,400 12,900 13,900
80 - 84 10,200 12,800 14,200 15,400
85 - 89 11,400 14,100 15,600 16,900
90 - 94 12,800 15,500 16,900 18,600
95 - 99 13,900 16,800 18,500 20,200
15,200 18,400 20,000 22,000
100 - 109 16,700 20,500 22,100 24,100
110 - 119 18,400 22,200 24,000 26,000
120 - 129 20,000 24,100 26,000 28,000
130 - 139 21,700 26,300 28,300 30,400
140 - 149 23,400 28,800 30,800 32,800
150 - 159 25,700 31,700 33,900 36,100
160 - 169 28,300 34,800 37,300 39,700
170 - 179 31,200 38,300 41,000 43,700
180 - 189 34,300 42,100 45,100 48,000
190 - 199 37,700 46,400 49,600 52,900
200 ขนึ้ ไป 41,500 51,000 54,600 58,100
• โพรง หรือรตู รงกลางต้น เช่น ไม้สักเกรดเอ ราคาแพง มขี นาดโพรงไดน้ ้อยกวา่ ร้อยละ 10 ของ
พ้นื ท่หี นา้ ตดั เป็นตน้ ภาพท่ี 3.5 แสดงตวั อยา่ งโพรง หรอื รูตรงกลางต้นของไม้สัก
• ตา เป็นส่วนของกิ่งไม้หรือส่วนที่กลายเป็นกิ่งไม้แล้วแต่ยังฝังอยู่ในเนื้อไม้ ตาแบ่งออกเป็น
ตาเป็น หรือตาตัน เป็นตาที่มีเนื้อแน่นและไม่หลุดออก สามารถนำมาใช้เป็นประโยชน์ได้
ถ้าการใช้ไม้นั้นไม่เกี่ยวกับการรับน้ำหนัก ตาตาย หรือตาผุ เกิดจากเนื้อไม้ของกิ่งที่เกิดใหม่
มีความแข็งอ่อนไม่เท่ากับความแข็งอ่อนของลำต้น หรือเกิดจากน้ำฝนไหลเข้าไปในตาแล้วเกิด
เชอื้ เห็ดราทำให้ตาผุ ตวั อยา่ ง ไมส้ กั เกรดเอมีตำหนิท่เี ป็นตาไดส้ ูงสุดจำนวน 2 ตา ต่อความยาว
ทอ่ น 1 เมตร ภาพท่ี 3.6 แสดงตัวอย่างตาตาย หรอื ตาผขุ องไม้สัก
48 I การตรวจวดั และประเมนิ มูลคา่ ตน้ ไม้
• ลำตน้ คด หรอื โค้งงอ ซ่งึ อาจเกิดจากแมไ่ ม้ หรอื แหลง่ พนั ธุกรรมคณุ ภาพไมด่ ี สภาพบบี คั้นจาก
ธรรมชาติระหว่างการเติบโต เช่น ถูกไม้อื่นเบียดบัง เป็นต้น ตัวอย่างไม้สักเกรดเอมีส่วนที่คด
หรอื โคง้ งอไดเ้ พยี งจุดเดียว และไม่เกินรอ้ ยละ 3 ของความยาวท่อน
• สมบัติทางด้านฟิสิกส์ และสมบัติเชิงกลของเนื้อไม้ เช่น ความแข็งของเนื้อไม้ การรับแรง
ความทนทาน เป็นต้น
• ตำหนิอื่น ๆ ซึ่งทำให้มูลค่าเนื้อไม้ลดลง เช่น พูพอนบริเวณโคนต้น รูมอดป่า หรือรูจากแมลง
อื่น ๆ ลำต้นบิด ลำต้นแตกง่าม ซึ่งทำให้การทอนไม้เป็นท่อนถูกจำกัดความยาวลง ตุ่มหรือปุ่มปม
รอยร้าว รอยปริ เป็นต้น ตัวอย่างไม้สักเกรดเอ และเกรดบี จะต้องไม่มีรูมอดป่า รูแมลง และ
รอยผเุ ลย
4) ปัจจัยอื่น ๆ เช่น สีของเนื้อไม้ และลายของเนื้อไม้ เป็นต้น ซึ่งทำใหม้ ูลค่าเนื้อไมแ้ ตกต่างกันไป
ตามความตอ้ งการของผ้ซู ้ือ หรือการใชป้ ระโยชน์เฉพาะดา้ นอาจทำให้ตน้ ไมม้ ีมลู ค่าสงู ข้นึ อาทิ ไมพ้ ะยงู นิยม
นำไปแกะสลัก ไม้จันทน์หอมใช้ทำดอกไม้จนั ทน์ในงานฌาปนกิจศพ กฤษณานำไปทำน้ำหอม แก่นไม้ชิงชนั
มะหาด และพะยูง นำไปทำลูกระนาด เป็นต้น นอกจากนี้ กระแสและความนิยมของตลาด ก็เป็ นปัจจัย
สำคญั ทที่ ำให้ไม้มีมูลค่าสูงข้ึนกว่าเดิม
ภาพที่ 3.4 เปรยี บเทยี บแกน่ ไมส้ ักอายุประมาณ 30 ปี (ซ้าย) และ อายปุ ระมาณ 15 ปี (ขวา)
ภาพท่ี 3.5 ลกั ษณะโพรงตรงกลางลำต้นของไมส้ กั ซ่ึงทำให้ไม้มูลค่าลดลง
คู่มอื การประเมินมลู คา่ ตน้ ไม้ I 49
ภาพที่ 3.6 ลกั ษณะตาตาย หรอื ตาผุของไม้สกั ซง่ึ เป็นตำหนิทำใหไ้ ม้มีมลู คา่ ลดลง
อย่างไรก็ตาม สิง่ ท่ียากทีส่ ุดของการประเมนิ มลู ค่าต้นไม้ คือการประเมินคุณภาพเนื้อไม้ เพราะการ
ประเมินคุณภาพเนื้อไม้มักประเมินจากไม้ท่อนทำให้สามารถประเมินคุณภาพเนื้อไม้ในลักษณะต่าง ๆ ได้
ง่ายกว่าการประเมินจากไม้ยนื ต้นที่ยังมชี ีวิตอยู่ การใช้เคร่อื งมือบางอยา่ ง เชน่ เครือ่ งเจาะไม้ หรือที่เรียกว่า
increment borer ทีน่ ิยมเจาะไม้เพื่อใหไ้ ด้ตวั อย่างไม้ขนาดเล็ก (เส้นผ่านศูนย์กลางน้อยกว่า 1 เซนติเมตร)
ซึ่งนิยมใช้ในการนำตัวอย่างเนื้อไม้มาวิเคราะห์วงปี ดูปริมาณแก่น และวิเคราะห์สมบัติเนื้อไม้ด้านต่าง ๆ
เพื่องานวิจัย สามารถนำมาใช้เพือ่ ชว่ ยในการประเมินคณุ ภาพ (ภาพท่ี 3.7)
3.4 ขน้ั ตอนการประเมินมูลค่าของต้นไม้
ในการประเมินมลู ค่าของต้นไมม้ ขี นั้ ตอนดงั แสดงในภาพที่ 3.8 และมรี ายละเอียด ดงั น้ี
3.4.1 การตรวจสอบตน้ ไมต้ ามหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบยี นของ ธ.ก.ส.
ในการขึ้นทะเบียนเพื่อการตรวจสอบและประเมินมูลค่าต้นไม้ของธนาคารเพื่อการเกษตรและ
สหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) หลักเกณฑ์ของต้นไม้ที่สามารถนำมาขึ้นทะเบียนมีสมบัติตามราคากลางต้นไม้
มีดังนี้
1) มีอายุมากกว่า 1 ปี ขึ้นไป เพื่อให้มั่นใจว่าต้นไม้น้ันตั้งตวั ได้แล้ว และมีโอกาสรอดตายสูง และมี
ขนาดเส้นรอบวงเพียงอก คือวัดที่ระดบั ความสงู 130 เซนตเิ มตร จากโคนตน้ ทีต่ ดิ พน้ื ดิน ต้องมขี นาดเส้นรอ
บวงลำตน้ ไมต่ ำ่ กว่า 3 เซนตเิ มตร
2) มีลำตน้ ตรงสมส่วน มีความสงู อยา่ งน้อย 2 เมตร การเตบิ โตของลำต้นสมดลุ กบั ความสูง
3) ปลูกในทดี่ ินของตนเอง หรือทดี่ ินของชมุ ชน ปา่ ชมุ ชน วดั โรงเรยี น ส่วนราชการ ฯลฯ
4) ท่ดี ิน 1 ไร่ รับขน้ึ ทะเบียนไดไ้ มเ่ กิน 400 ตน้
50 I การตรวจวดั และประเมินมลู คา่ ต้นไม้
ภาพท่ี 3.7 การใชเ้ ครือ่ งเจาะไม้ (increment borer) เพ่อื เก็บตวั อย่างเน้ือไม้ไปวิเคราะหส์ มบตั เิ น้ือไม้
3.4.2 การจำแนกชนิดของตน้ ไม้
ในการตรวจสอบและประเมินมูลค่าต้นไม้ของ ธ.ก.ส. จำเป็นต้องจำแนกชนิดของต้นไม้ เพราะต้นไม้
แต่ละชนิดมีมูลค่าที่แตกต่างกัน หากไม่ทราบชนิดของต้นไม้ต้องสอบถามผู้เชี่ยวชาญ หรือถ่ายรูป และเก็บ
ตัวอย่างลำต้น ใบ ดอก และผล (ถ้ามี) เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตรวจสอบต่อไป การ
เรียกชื่อต้นไม้แตกต่างกันไปตามท้องถิ่น แต่ชื่อต้นไม้ท่ีนำมาใช้ในการขึ้นทะเบียนเพื่อการตรวจสอบและ
ประเมนิ มลู ค่าต้นไม้ต้องเป็น ชื่อสามัญ เทา่ น้ัน ตวั อยา่ งเชน่ ต้นจามจรุ ี มชี อื่ สามัญ คือ จามจุรี แต่มีช่ืออื่น
ที่เรยี ก เชน่ กา้ มปู ฉำฉา ดงั น้นั ช่อื ที่นำมาใชใ้ นการข้ึนทะเบียน คือ จามจรุ ี
คูม่ อื การประเมินมลู คา่ ต้นไม้ I 51
ภาพที่ 3.8 ขั้นตอนการประเมนิ มลู คา่ ของตน้ ไม้
3.4.3 การจำแนกตน้ ไม้เพอ่ื การประเมินมลู คา่
ในการขึ้นทะเบียนเพื่อการตรวจสอบและประเมินมูลค่าต้นไม้ของธนาคารเพื่อการเกษตรและ
สหกรณ์ (ธ.ก.ส.) มีการกำหนดชนิดของพรรณไม้ที่ส่งเสริมและสนับสนุนให้สมาชิกปลูกและดูแลรักษา
แล้วประเมินมูลค่าต้นไม้ตามมาตรฐานท่ีกรมป่าไม้ สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การ
มหาชน) (สพภ.) องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ (ออป.) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ ธ.ก.ส. ได้ร่วมกัน
กำหนดเกณฑ์มาตรฐานการประเมินมูลค่าต้นไม้ ซึ่งเป็นรายงานฉบับสมบูรณ์ของ โครงการศึกษาการ
ส่งเสริมการปลูกต้นไม้เพื่อเป็นทุนระยะยาว โดยคณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (คณะ
วนศาสตร์, 2552) แล้วนำมาบันทึกในแบบตรวจสอบและประเมินมูลค่าต้นไม้ (ธต. 6) และบันทึกรับฝาก
ต้นไม้ในสมุดธนาคารต้นไม้เพื่อแสดงมูลค่าสินทรัพย์ใช้เป็นหลักทรัพย์และหลักประกัน โดยจำแนกต้นไม้
ออกเปน็ 4 กลุ่ม ตามอตั ราการเตบิ โตและมูลคา่ เน้ือไม้ ตลอดจนพจิ ารณาจากหลักเกณฑ์การจำแนกไม้เน้ือ
แข็งตามมาตรฐานกรมป่าไม้ ตามหนังสือกรมป่าไม้ ที่ กส. 0702/6679 ลงวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
เรือ่ ง ขอ้ กำหนดเกยี่ วกบั ไม้ท่ใี ช้ในการก่อสรา้ ง ตามแบบพมิ พ์ราคากลางตน้ ไม้ โดยมรี ายละเอยี ด ดงั นี้
กลมุ่ ท่ี 1 ต้นไม้ท่ีมีอัตราการเติบโตเรว็ รอบตัดฟันสนั้ มลู คา่ ของเน้ือไมต้ ่ำ
กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มต้นไม้ที่มีอัตราการเติบโตเร็วถึงปานกลาง รอบตัดฟันสั้น มูลค่าของเนื้อไม้ต่ำ
สามารถแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ตามลักษณะของเนื้อไม้ ดังน้ี
1) ไม้เนื้ออ่อน ตามมาตรฐานกรมป่าไม้มคี วามแข็งแรงในการดัด (Modulus of Rupture: MOR)
ของไม้แห้งต่ำกว่า 600 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร และมีความทนทานตามธรรมชาติต่ำกว่า 2 ปี มีอัตรา
การเติบโตค่อนข้างรวดเร็ว และอัตราการเติบโตถึงจุดสูงสุดภายในระยะเวลาอันสั้น หลังจากนั้นมีอัตรา
ความเพิ่มพูนน้อยลง หากไม่ตัดมาใช้ประโยชน์คุณภาพของเนื้อไม้จะลดต่ำลง เนื่องจากเกิดการทำลายของ
โรคและแมลงได้ง่าย มูลค่าของเนื้อไม้ค่อนข้างต่ำ เนื่องจากส่วนมากเป็นการนำไปใช้ในอุตสาหกรรมเย่ือ
กระดาษ ชิน้ ไม้สบั ไมเ้ พ่ือพลังงาน ไมแ้ บบสำหรับงานก่อสรา้ ง รวมทั้งไมท้ ่ีใช้ในการก่อสรา้ งบ้านเรือน และ
เคร่อื งเรอื นในระดบั ท้องถ่นิ รายชอ่ื พรรณไมใ้ นกลมุ่ นดี้ งั แสดงในตารางท่ี 3.5
52 I การตรวจวดั และประเมนิ มูลคา่ ตน้ ไม้
2) ไม้เนื้อแข็งปานกลาง ตามมาตรฐานกรมป่าไม้ มีความแข็งแรงในการดัด (Modulus of
Rupture: MOR) ของไม้แห้ง 600-1000 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร แต่มีความทนทานตามธรรมชาติต่ำ
กว่า 2 ปี มอี ตั ราการเตบิ โตชา้ กว่ากลุ่ม 1 แต่สามารถเตบิ โตได้เปน็ ระยะเวลานาน มลู คา่ ของเน้ือไม้เพิ่มมาก
ขึ้นเมื่อต้นไม้มีขนาดใหญ่ขึ้น อย่างไรก็ตามมูลค่าของเนื้อไม้ก็ไม่สูงมากนัก เนื่องจากการใช้ประโยชน์
ค่อนข้างจำกัด อันเนื่องมาจากคุณสมบัติของเนื้อไม้ที่ไสกบยากหรือไม่มีค่าความทนทานตามธรรมชาติ มัก
ใชใ้ นอุตสาหกรรมไมแ้ ปรรูป การก่อสรา้ ง และเฟอร์นเิ จอร์ รายชื่อพรรณไม้ในกลมุ่ นี้ดงั แสดงในตารางท่ี 3.5
ตารางท่ี 3.5 รายชอ่ื พรรณไม้กล่มุ ที่ 1 ต้นไม้ทม่ี ีอัตราการเตบิ โตเรว็ รอบตดั ฟันสั้น มลู คา่ ของเนื้อไม้ต่ำ
ลำดบั ที่ ชือ่ สามัญ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ชื่อวงศ์
1 กระถนิ เทพณรงค์ ไม้เนื้ออ่อน
2 กระถินเทพา
3 กระถนิ ยักษ์ Acacia mangium x A. auriculiformis Fabaceae
4 กระถนิ ณรงค์
5 กระทุ่มบก Acacia mangium Fabaceae
6 โกงกางใบเล็ก
7 งิ้วป่า Leucaena leucocephala Fabaceae
8 ตีนเปด็
9 ตีนเป็ดแดง Acacia auriculiformis Fabaceae
10 ทองกวาว
11 นนทรี Anthocephalus chinensis Rubiaceae
12 ปออเี กง้
13 มะม่วงปา่ Rhizaphora apiculata Rhizophoraceae
14 มะยมปา่
15 เล่ยี น Bombax anceps Bombaceae
16 สมพง
17 สะตอ Alstonia scholaris Apocynaceae
18 สเุ หรียน
19 สนประดพิ ัทธ์ Dyera costulata Apocynaceae
20 เหรยี ง
21 ยางพารา (พน้ื เมือง) Butea monosperma Fabaceae
1 ขนนุ ปา่ Peltophorum pterocarpum Fabaceae
2 จิกนม
3 ตองจิง Pterocymbium javanicum Malvaceae
4 ทุเรยี นบ้าน
Mangifera caloneura Anacardiaceae
Ailanthus fauveliana Simaroubaceae
Melia azedarach Meliaceae
Tetrameles nudiflora Tetramelesceae
Parkia speciosa Fabaceae
Toona febrifuga Meliaceae
Casuarina junghuhniana Casuarinaceae
Parkia timoriana Mimosaceae
Hevea brasiliensis Euphorbiaceae
ไม้เน้ือแขง็ ปานกลาง
Artocarpus lanceifolius Moraceae
Palaquim abovatum Sapotaceae
Sterculia alata Sterculiaceae
Durio zibethinus Bombaceae
คมู่ อื การประเมินมูลคา่ ต้นไม้ I 53
ตารางที่ 3.5 (ตอ่ )
ลำดับท่ี ชื่อสามัญ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ช่อื วงศ์
5 ทเุ รียนปา่ ไมเ้ น้อื แขง็ ปานกลาง Bombaceae
6 มะเหล่อื ม Burseraceae
7 มะเกลือ Durio mansoni Ebenaceae
8 สยาแดง Canarium kerrii Dipterocarpaceae
9 ค่าหด Diospyros mollis Juglandaceae
10 จามจรุ ี Shorea curtisii Fabaceae
11 ไฉน Engelhardtia spicata Moraceae
12 ตะเคยี นขน Samanea saman Dipterocarpaceae
13 ตะบูนขาว Artocarpus sp. Meliaceae
14 ทำมัง Hopea minutiflora Lauraceae
15 ทงุ้ ฟา้ Xylocarpus obovatus Apocynaceae
16 ปอเลียง Litsia petiolata Malveceae
17 เสลาเปลอื กหนา Alstonia macrophylla Lythraceae
18 พญาไม้ Kydia calycina Podocarpaceae
19 มะเดือย Lagerstroemia villosa Poaceae
20 มะหา้ แฮ่ Podocarpus sp. Myrtaceae
21 มะฮอกกานี Coix lachrymajobi Meliaceae
22 โมกมัน Eugenia sp. Apocynaceae
23 สรอ้ ยพร้าว Swietenia macrophylla Malveceae
24 สองสลึง Wrightia tomentosa Celastraceae
25 สะเดาเทยี ม Pterospermum sp. Meliaceae
26 หลุมพอทะเล Lophopetalum duperreanum Fabaceae
Azadirachta excelsa
Intsia bijuga
กลุ่มท่ี 2 ตน้ ไม้ท่ีมีอตั ราการเติบโตปานกลาง รอบตัดฟันยาว มูลค่าของเนอ้ื ไม้ค่อนข้างสงู
กลมุ่ ที่ 2 เป็นกลมุ่ ต้นไม้ท่ีมีอัตราการเตบิ โตปานกลาง รอบตดั ฟันยาว มลู ค่าของเนื้อไม้ค่อนข้างสูง
สามารถแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ตามลักษณะของเนอ้ื ไม้ ดงั น้ี
1) ไมเ้ น้ือแขง็ ปานกลาง ตามมาตรฐานกรมป่าไม้ คือ ไมท้ มี่ ีความแขง็ แรงในการดัด (Modulus of
Rupture: MOR) ของไม้แห้ง 600-1,000 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร และความทนทานตามธรรมชาติ
2-6 ปี สามารถเติบโตได้เป็นระยะเวลานาน มูลค่าของเนื้อไม้เพิ่มมากขึ้นเมื่อต้นไม้มีขนาดใหญ่ขึ้น มูลค่า
ของเนื้อไม้ไม่สูงนัก เนื่องจากการใช้ประโยชน์ค่อนข้างจำกัด อันเนื่องมาจากคุณสมบัติของเนื้อไม้ที่ไสกบ
ตกแตง่ ยาก มกั ใช้ในอตุ สาหกรรมไม้แปรรูป การก่อสร้าง และเฟอร์นิเจอร์ รายชอื่ พรรณไมใ้ นกล่มุ น้ดี งั แสดง
ในตารางที่ 3.6
54 I การตรวจวดั และประเมินมลู ค่าตน้ ไม้
2) ไมเ้ นื้อแขง็ ตามมาตรฐานกรมป่าไม้ คือ ไมท้ ีม่ ีความแข็งแรงสูง แต่ความทนทานตามธรรมชาติ
ต่ำ คือ ไม้ที่มีความแข็งแรงในการดัด (Modulus of Rupture: MOR) ของไม้เนื้อแห้งสูงกว่า 1,000
กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร แต่ความทนทานตามธรรมชาติต่ำกว่า 6 ปี มูลค่าของเนื้อไม้จึงไม่สูงมากนัก
รายชอ่ื พรรณไมใ้ นกลมุ่ นีด้ ังแสดงในตารางที่ 3.6
กลมุ่ ที่ 3 ตน้ ไมท้ ี่มีอตั ราการเติบโตปานกลาง รอบตัดฟนั ยาว มูลค่าของเน้ือไม้สูง
ต้นไม้ในกลุ่มนีม้ ีอัตราการเตบิ โตชา้ กว่ากลุ่มที่ 1 โดยมีการเติบโตใกล้เคียงกบั ตน้ ไม้ในกลุ่มท่ี 2 แต่
มูลค่าของเนื้อไม้สูงกว่าไม้ในกลุ่มท่ี 2 โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมือ่ ต้นไม้มีขนาดใหญข่ ึ้น มูลค่าของเนื้อไม้จะเพมิ่
สูงขึ้นอย่างมาก เนื่องจากเนื้อไม้มีความสวยงาม แข็งแรง ทนทาน เป็นที่ต้องการของตลาดทั้งภายในประเทศ
และต่างประเทศ ตลอดจนสามารถใช้ในอุตสาหกรรมไม้แปรรูป การก่อสรา้ ง และเฟอรน์ ิเจอรช์ ้ันสูง พรรณ
ไมใ้ นกลุ่มนีม้ เี พยี ง 2 ชนิดเทา่ นัน้ ไดแ้ ก่ สกั (Tectona grandis) วงศ์ Lamiaceae และ มะปิน หรอื มะตูม
(Aegle marmelos) วงศ์ Rutaceae
ตารางที่ 3.6 รายชื่อพรรณไม้กลุ่มที่ 2 ต้นไม้ที่มีอัตราการเติบโตปานกลาง รอบตัดฟันยาว มูลค่าของเน้ือ
ไม้คอ่ นขา้ งสูง
ลำดับท่ี ช่ือสามัญ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ช่อื วงศ์
1 กระท้อน ไมเ้ นื้อแขง็ ปานกลาง Meliaceae
2 กระบาก Dipterocarpaceae
3 กระบก Sandoricum indicum Irvingiaceae
4 กราด Anisoptera oblonga Dipterocarpaceae
5 ก้านเหลือง Irvingia malayana Rubiaceae
6 ไขเ่ ขยี ว Dipterocarpus intricatus Dipterocarpaceae
7 จนั ทนป์ า่ Nauclea orientalis Myristicaceae
8 จำปาป่า Parashorea stellata Magnoliaceae
9 ชุมแพรก Myristica sp. Malvaceae
10 ซอ้ Michelia sp. Verbenaceae
11 ตาเสอื Heritiera javanica Meliaceae
12 ต้มุ แตน๋ Gmelina arborea Lythraceae
13 เตยหนาม Amoora polystachya Anacardiaceae
14 ปอจง Duabanga sonneratioides Malvaceae
15 ปอแดง Pentaspadon velutinus Malvaceae
16 เผิง Hibiscus macrophyllus Annonaceae
17 พนอง Sterculia sp. Dipterocarpaceae
18 ยมหอม Cananga latifolia Meliaceae
19 ยางนา Shorea hypochra Dipterocarpaceae
Cedrela toona
Dipterocarpus alatus
คู่มอื การประเมนิ มลู ค่าตน้ ไม้ I 55
ตารางท่ี 3.6 (ต่อ) ช่ือวิทยาศาสตร์ ช่อื วงศ์
ลำดับที่ ชื่อสามัญ ไมเ้ น้อื แข็งปานกลาง
20 ยวน Koompassia excelsa Fabaceae
21 เรียง
22 สนทะเล Parkia javanica Fabaceae
23 สยาขาว
24 สาย Casuarina equisetifolia Casuarinaceae
25 หวา้
26 อนิ ทนลิ น้ำ Shorea leprosula Dipterocarpaceae
1 กระเจยี น Pometia sp. Sapindaceae
2 กะบก
3 ก่อเดือย Syzygium cumini Myrtaceae
4 กระเบาลิง
5 กาลอ Lagerstroemia speciosa Lythraceae
6 กุหลมิ
7 กวา้ ว ไมเ้ นอ้ื แข็ง
8 กระเจา
9 กลว้ ยหมูสัง Polyalthia sp. Annonaceae
10 เกด
11 โกงกางใบใหญ่ Irvingia malayana Simaroubaceae
12 ขนนุ นก
13 ขวากเหลอื ง Castanopsis sp. Fagaceae
14 ขนาน
15 คอแลน Hydnocarpus ilicifolius Achariaceae
16 แคบา้ น
17 จนั ทน์ชะมด Shorea faguetiana Dipterocarpaceae
18 จันดง
19 ชันพู่ Scorodocarpus borneesis Olacaceae
20 ชากุน
21 ชุมแสง Haldina cordifolia Rubiaceae
22 ดำดง
23 ดหุ นุ Holoptelea integrifolia Ulmaceae
24 แดงควน
25 ตะคร้อ Polyyalthia lateriflora Annonaceae
Manikara hexandra Sapotaceae
Rhizophora mucronata Rhizophoraceae
Artocarpus chaplasha Moraceae
Garcinia thorelii Clusiaceae
Pterospermum diversifolium Malvaceae
Nephelium hypoleucum Sapintaceae
Agati grandiflora Fabaceae
Mansonia gagei Sterculiaceae
Diospyros dasyphylla Ebenaceae
Hopea recopei Dipterocarpaceae
Payena sp. Sapotaceae
Xanthophyllum glaucum Polygalaceae
Diospyros transitoria Ebenaceae
Heritiera littoralis Malvaceae
Syzygium sp. Mrtaceae
Schleichera oleosa Sapintaceae
56 I การตรวจวดั และประเมินมลู คา่ ต้นไม้
ตารางที่ 3.6 (ต่อ) ช่ือวิทยาศาสตร์ ชอื่ วงศ์
ลำดับที่ ชือ่ สามัญ ไมเ้ นื้อแข็ง Sapintaceae
Dipterocarpaceae
26 ตะคร้อหนาม Delpya muricata Dipterocarpaceae
27 ตะคร้ำ Shorea gratissima Combretaceae
28 ตะเคยี นทราย Hopea pierrei Meliaceae
29 ตะเคียนหนู Anogeissus acuminata Calophyllaceae
30 ตะบนู ดำ Xylocarpus moluccensis Guttiferae
31 ตังหน Calophyllum pulcherrimum Tiliaceae
32 ตว้ิ Cratoxylum sp. Putranjivaceae
33 ทองสุก Pentace floribund Mimosaceae
34 เทยี นขโมย Drypetes hoaensis Fabaceae
35 ถอ่ น Albizia procera Lauraceae
36 ทองบึ้ง Koompassia malaccensis Chrysobalanaceae
37 ทัง Litsea grandis Theaceae
38 ทะลอก Parinarium anamense Annonaceae
39 ทะโล้ Schima Wallichii Aquifoliaceae
40 นางเรว Cyathocalyx martabanicus Anacardiaceae
41 เน่าใน Ilex umellulata Bignoniaceae
42 เปรยี ง Swintonia schwenckii Combretaceae
43 ปีป Millingtonia hortensis Fabaceae.
44 ปเู่ จ้า Terminalia tripteroides Rubiaceae
45 ประดูบ่ ้าน Pterocarpus indicus Fabaceae
46 พุด Gardenia jasminoides Sapotaceae
47 พฤกษ์ Albizia lebbek Anacardiaceae
48 พกิ ลุ ป่า Mimusops elengi Guttiferae
49 มะปริง Bouea oppositifolia Phyllanthaceae
50 มงั คดุ Garcinia mangostana Myrtaceae
51 มนั ปลาไหล Aporosa sp. Burseraceae
52 เมา Syzygium grande Anacardiaceae
53 มะแฟน Protium serratum Moraceae
54 มะมว่ งไขแ่ ลน Mangifera cochinchinensis Crypteroniaceae
55 มะหาด Artocarpus lacucha Fabaceae
56 เม่ยี งอาม Crypteronia paniculata Dipterocarpaceae
57 ยวน Koompassia excelsa
58 ยงู Dipterocarpus grandiflorus
ค่มู อื การประเมินมลู คา่ ต้นไม้ I 57
ตารางที่ 3.6 (ตอ่ )
ลำดับท่ี ชอื่ สามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์ ช่ือวงศ์
59 ยางเสียน ไม้เน้ือแขง็ Dipterocarpaceae
60 ลางสาด Meliaceae
61 ลางสาดเขา Dipterocarpus costatus Meliaceae
62 ลำบดิ Lansium domesticum Ebenaceae
63 สักข้ไี ก่ Aglaia sp. Lamiaceae
64 สำรอง Diospyros ferrea Malvaceae
65 สีระมัน Premna tomentosa Sapindaceae
66 สเี สยี ดเปลอื ก Scaphium lychnophonra Sapindaceae
67 สนสองใบ Litchi chinensis Pinaceae
68 สนสามใบ Pentace burmanica Pinaceae
69 ส้มงวงช้าง Pinus merkusii Clusiaceae
70 สมอไทย Pinus kesiya Combretaceae
71 สมอพิเภก Garcinia sp. Combretaceae
72 สะแกดง Terminalia chebula Lythraceae
73 สงั่ ทำ Terminalia bellerica Ebenaceae
74 สา้ น Lagerstroemia sp. Dilleniaceae
75 สกุ รม Diospyros buxifolia Dipterocarpaceae
76 หนามกรวย Dillenia pentagyna Combretaceae
77 หลังคำ Shorea rogersiana Ebenaceae
78 หลนั ตัน Terminalia sp. Dipterocarpaceae
79 หนอนไกห่ ลังขาว Diospyros sp. Dipterocarpaceae
80 หำโจน Shorea guiso Annonaceae
81 อ้ายกล้ิง Hopea helferi Fabaceae
82 โอบ Platymitra siamensis Flacortiaceae
83 ฮากเหลือง Sindora coriacea Celastraceae
84 ขนุน Homalium grandiflorum Moraceae
Kokoona reflexa
Artocarpus heterophyllus
กล่มุ ท่ี 4 ต้นไมท้ ่ีมีอตั ราการเติบโตชา้ รอบตัดฟันยาว มูลค่าของเนื้อไมส้ ูงมาก
ไม้เนื้อแข็งตามมาตรฐานกรมป่าไม้ คือ ไม้ที่มีความแข็งแรงในการดัด (Modulus of Rupture:
MOR) ของไม้เนื้อแห้งสูงกว่า 1,000 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร และความทนทานตามธรรมชาติสูงกว่า 6 ปี
ต้นไม้กลุ่มนี้มีอัตราการเติบโตชา้ มาก โดยเฉพาะในระยะแรก จงึ ไม่คอ่ ยมีคนนิยมปลูกกันมากนัก แม้ว่าจะมี
มูลค่าของเนื้อไม้สูงมากก็ตาม การที่เนื้อไม้มีความสวยงาม มูลค่าของเนื้อไม้เพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก เมื่อไม้มี
ขนาดใหญข่ ึ้น จึงสามารถนำไปใชใ้ นอุตสาหกรรมก่อสร้าง และเฟอร์นิเจอรช์ ้ันสูง รวมทัง้ เหมาะสำหรับการ
ปลกู เพอื่ การอนรุ กั ษ์ เน่อื งจากมีอายยุ ืนนาน รายชอ่ื พรรณไมใ้ นกลุ่มนีด้ งั แสดงในตารางที่ 3.7
58 I การตรวจวดั และประเมินมูลคา่ ตน้ ไม้
ตารางท่ี 3.7 รายชื่อพรรณไม้กลุ่มท่ี 4 ต้นไม้ทม่ี ีอัตราการเติบโตชา้ รอบตัดฟนั ยาว มลู ค่าของเนื้อไม้สูงมาก
ลำดับท่ี ชอ่ื สามัญ ช่อื วิทยาศาสตร์ ช่อื วงศ์
1 กระโดน Careya arborea Lecythidaceae
2 กระถนิ พิมาน Acacia siamensis Fabaceae
3 กระทังหนั Calophyllum floribundum Clusiaceae
4 กอ่ Quercus sp. Fagaceae
5 กระพเี้ ขาควาย Dalbergia cultrata Fabaceae
6 กดั ลน้ิ Walsura sp. Meliaceae
7 กนั เกรา Fagraea fragrant Gentianaceae
8 ขมนิ้ ตัน Metadina trichotoma Rubiaceae
9 ขานาง Homalium tomentosum Flacourtiaceae
10 เขลง็ Dialium cochincinchinense Fabeceae
11 เคยี่ ม Cotylelobium lanceolatum Dipterocarpaceae
12 เค่ยี มคะนอง Shorea henryana Dipterocarpaceae
13 แคทราย Stereospermum neuranthum Bignoniaceae
14 จันทนห์ อม Mansonia gagei Sterculiaceae
15 เฉียงพรา้ นางแอ Carallia brachiata Rhizophoraceae
16 ชัน Shorea thorelii Dipterocarpaceae
17 ชงิ ชนั Dalbergia oliveri Fabaceae
18 ซาก Erythrophloeum succirubrum Fabaceae
19 ดำดา่ ง Vatica cinerea Dipterocarpaceae
20 แดง Xylia kerrii Fabaceae
21 ตะเคยี นทอง Hopea odorata Dipterocarpaceae
22 ตะเคยี นชันตาแมว Neobalanocarpus heimii Dipterocarpaceae
23 ตะเคียนราก Hopea avellanca Dipterocarpaceae
24 ตะเคียนหิน Horea Ferrea Dipterocarpaceae
25 ตะแบกเลือด Terminalia mucronata Combretaceae
26 ตะแบกใหญ่ Lagerstroemia calyculata Lythraceae
27 ตนี นก Vitex pinnata Lamiaceae
28 เต็ง Shorea obtusa Dipterocarpaceae
29 เตง็ มาเลเซยี Shorea faxworthyi Dipterocarpaceae
30 บุนนาค Mesua ferrea Calophyllaceae
31 ประดปู่ ่า Pterocarpus macrocarpus Fabaceae
32 พะยงู Dalbergia cochinchinensis Fabaceae
33 พลวง Dipterocarpus tuberculatus Dipterocarpaceae
34 พะยอม Shorea talura Dipterocarpaceae
35 พะวา Garcinia cornea Clusiaceae
36 มะค่าแต้ Sindora siamensis Fabaceae
ค่มู อื การประเมินมลู คา่ ตน้ ไม้ I 59
ตารางที่ 3.7 (ต่อ)
ลำดับที่ ชอ่ื สามัญ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ชือ่ วงศ์
37 มะคา่ โมง Afzelia xylocarpa Fabeceae
38 มะซาง Madhuca pierrei Sapotaceae
39 มะอา้ แดง Amoora cucullata Meliaceae
40 มังคะ Cynometra iripa Fabaceae
41 ยมหิน Chukrasia celutina Meliaceae
42 รกฟ้า Terminalia alata Combretaceae
43 รงั Shorea siamemsis Dipterocarpaceae
44 เลียงมนั Berrya mollis Tiliaceae
45 สะเดาไทย Azadirachta indica Meliaceae
46 สะตือ Cradia chrysantha Fabaceae
47 สะทิต Phoebe sp. Lauraceae
48 สาธร Millettia leucantha Fabaceae
49 เสลา Lagerstroemia tomentosa Lythraceae
50 หลุมพอ Intsia bakeri Fabaceae
51 เหียง Dipterocarpus obtusifolius Dipterocarpaceae
52 แอ๊ก Shorea glauca Dipterocarpaceae
53 ตาล Borassus flabellifer Palmae
54 ไผ่ Bambusa sp. Gramineae
3.4.4 การวดั ขนาดตน้ ไม้
มูลค่าของต้นไม้แต่ละชนดิ หรือแต่ละกลุ่มมีความแตกต่างกนั ตามขนาดของต้นไม้ ดังนั้น จึงต้องมี
การวัดขนาดของต้นไม้เพื่อใชใ้ นการขึ้นทะเบียนเพ่ือการตรวจสอบและประเมินมูลค่าต้นไม้ของ ธ.ก.ส. โดย
การวัดขนาดวัดรอบเพียงอก (Girth at Breast Height: GBH) หรือเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (Diameter at
Breast Height: DBH) คือ วัดที่ระดับความสูง 1.30 เมตร จากพื้นดิน การคำนวณมูลค่าของต้นไม้สามารถ
ใช้ขนาดวัดรอบเพียงอก หรือเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ ส่วนใหญ่แล้วการวัดขนาดวัด
รอบเพียงอกสามารถใช้สายวัดตัวได้ ทำให้เป็นท่ีนิยมมากกว่า แต่ต้องหมั่นตรวจสอบคุณภาพของสายวัดตัว
หากสายวดั ตัวเก่าและใช้งานมานานจะทำใหส้ ายวัดตวั ยืดยาวกวา่ ปกติทำให้ข้อมลู จากการวดั ไม่ถูกต้อง
3.4.5 การคำนวณปรมิ าตรและมูลคา่ ของตน้ ไม้
การคำนวณปริมาตรและมลู ค่าของต้นไม้ สามารถตรวจสอบและประเมินมูลค่าต้นไม้ได้จากราคากลาง
ต้นไม้ (ภาคผนวกที่ 1) ซึ่งจำแนกเป็น 4 ตารางตามกลุ่มของต้นไม้ ดังแสดงในตารางที่ 3.8 ถึงตารางที่ 3.11
โดยมีรายละเอียดการคำนวณมลู คา่ ของต้นไม้ ดังน้ี
1) มูลค่าของต้นไม้เป็นราคาตลาด ที่ ธ.ก.ส. กำหนดตามเกณฑ์มาตรฐานประเมินมูลค่าต้นไม้ลง
วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2553 ดังทีป่ รากฏในภาคผนวกที่ 1
60 I การตรวจวดั และประเมนิ มูลค่าต้นไม้
2) การคำนวณมูลค่าของต้นไม้จากขนาดวัดรอบเพียงอก หรือเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก โดย
ไม่จำเป็นต้องสนใจอายุของต้นไม้ ในตารางการคำนวณมลู ค่าของต้นไม้มีข้อมูลประกอบด้วย อายุ (ป)ี การเติบโต
ได้แก่ ขนาดวัดรอบเพียงอก (เซนติเมตร) และเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก (เซนติเมตร) ปริมาตร (ลูกบาศก์
เมตรต่อตน้ ) และมลู คา่ ของตน้ ไม้ ทัง้ ทีเ่ ปน็ บาทตอ่ ลกู บาศก์เมตร และ บาทต่อตน้ ดงั แสดงในภาพท่ี 3.9
ตัวอย่างการใช้ตาราง เช่น หากผู้ประเมินวัดไม้สัก ซึ่งมีขนาดวัดรอบเพียงอก เท่ากับ 78.5
เซนติเมตร ไมส้ กั เปน็ ตน้ ไมใ้ นกลุม่ ท่ี 3 ให้ดูตารางตรวจสอบและประเมนิ มลู คา่ ตน้ ไม้ของกลมุ่ ท่ี 3 จากขนาด
เส้นรอบวง หากไม่มีกำหนดไว้ ให้ใช้ขนาดเส้นรอบวงในสดมภ์ที่น้อยกว่า (ดูในสดมภ์เส้นรอบวง 75.74
เซนติเมตร) จะมมี ูลคา่ เทา่ กบั 2,223 บาท โดยไม่ต้องพจิ ารณาว่าต้นไม้ท่ีประเมนิ มูลค่ามีอายุเท่าใด
ภาพที่ 3.9 ตวั อยา่ งการประเมนิ มูลคา่ ไมส้ กั ขนาดเสน้ รอบวง 78.50 เซนติเมตร
3) หากต้นไม้ท่ีประเมินมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางหรือเส้นรอบวงสูงกว่าตารางในแต่ละกลุ่ม ให้
คำนวณมูลค่าต้นไม้โดยการเทียบบัญญัติไตรยางศก์ บั มลู ค่าต้นไม้สดมภ์สุดทา้ ย
4) ต้นไม้ที่ไม่รับขึ้นทะเบียนเพื่อตรวจสอบและประเมินมูลค่า ได้แก่ ยางพารา ยูคาลิปตัส ปออีเก้ง
(พญาคชสาร) มะพรา้ ว และไม้อน่ื ๆ ทไี่ มส่ ามารถนำมาแปรรูปเพอ่ื การก่อสร้างบา้ นเรือนได้
5) ไมไ้ ผน่ ับเป็นกอ ไผ่ 1 กอ ต้องมีอย่างน้อย 5 ลำ ประเมินมูลคา่ กอละ 100 บาท
6) ตน้ ตาลประเมินมูลค่าตามอายุ ปลี ะ 100 บาท
โดยการประเมนิ มลู คา่ ต้นไม้จดทะเบยี นสัญญาหลักประกนั ทางธุรกจิ เพ่อื ใช้เป็นหลักประกนั เงินกู้ของ
ธนาคาร ได้ไม่เกนิ รอ้ ยละ 50 ของราคาประเมินมูลค่าต้นไม้ท่ีคณะกรรมการธนาคารตน้ ไม้พิจารณาให้ความ
เห็นชอบ
คมู่ อื การประเมินมูลค่าตน้ ไม้ I 61
ตารางท่ี 3.8 การประเมินมูลค่าของต้นไม้กลุ่มที่ 1 ต้นไม้ที่มีอัตราการเติบโตเร็ว รอบตัดฟันสั้น มูลค่าของ
เน้ือไม้ตำ่
อายุ การเตบิ โตเพยี งอก ปริมาตร มูลคา่ ตน้ ไม้
(ป)ี
เส้นผ่านศนู ย์กลาง เสน้ รอบวง (ลบ.ม./ตน้ ) (บาท/ลบ.ม.) (บาท/ตน้ )
(ซม.) (ซม.)
1 4.90 15.40 0.0201 286.24 6
2 7.80 24.51 0.0466 582.71 27
3 10.30 32.37 0.0928 834.04 77
4 12.60 39.60 0.1679 1,059.93 178
5 14.70 46.20 0.2793 1,268.60 354
6 16.60 52.17 0.4278 1,464.50 627
7 18.50 58.14 0.6032 1,650.39 996
8 20.30 63.80 0.7855 1,828.11 1,436
9 22.00 69.14 0.9530 1,998.99 1,905
10 23.60 74.17 1.0914 2,164.01 2,362
11 25.20 79.20 1.1969 2,323.94 2,782
12 26.80 84.23 1.2728 2,479.36 3,156
13 28.30 88.94 1.3254 2,630.78 3,487
14 29.80 93.66 1.3611 2.778.59 3,782
15 31.20 98.06 1.3851 2,923.12 4,049
16 32.60 102.46 1.4010 3,064.67 4,294
17 34.00 106.86 1.4117 3,203.47 4,522
18 35.40 111.26 1.4188 3,339.73 4,738
19 36.70 115.34 1.4236 3,473.65 4,945
20 38.10 119.75 1.4268 3,605.37 5,144
21 39.40 123.83 1.4290 3,735.04 5,337
22 40.60 127.60 1.4305 3,862.80 5,526
23 41.90 131.69 1.4315 3,988.74 5,710
24 43.10 135.46 1.4322 4,112.99 5,891
25 44.40 139.54 1.4327 4,800.00 6,877
62 I การตรวจวดั และประเมนิ มลู คา่ ตน้ ไม้
ตารางท่ี 3.9 การประเมินมูลค่าของต้นไม้กลุ่มที่ 2 ต้นไม้ที่มีอัตราการเติบโตปานกลาง รอบตัดฟันยาว
มลู ค่าของเน้ือไม้คอ่ นข้างสงู
อายุ การเตบิ โตเพยี งอก ปรมิ าตร มูลคา่ ตน้ ไม้
(ปี) เสน้ ผ่านศูนย์กลาง (ซม.) เส้นรอบวง (ซม.) (ลบ.ม./ตน้ ) (บาท/ลบ.ม.) (บาท/ต้น)
1- - 0.00628 - -
2 0.10 0.31 0.00640 - -
3 1.00 3.14 0.00728 128.56 1
4 2.80 8.80 0.00945 462.94 4
5 5.20 16.34 0.01333 904.40 12
6 7.80 24.51 0.01940 1,390.31 27
7 10.40 32.69 0.02822 1,800.00 51
8 13.00 40.86 0.04030 2,355.26 95
9 15.40 48.40 0.05597 2,808.85 157
10 17.60 55.31 0.07534 3,219.95 243
11 19.70 61.91 0.09822 3,606.02 354
12 21.60 67.89 0.12413 3,660.00 454
13 23.40 73.54 0.15236 5,802.12 884
14 25.00 78.57 0.18207 6,244.73 1,137
15 26.50 83.29 0.21242 6,653.16 1,413
16 27.90 87.69 0.24261 7,030.60 1,706
17 29.20 91.77 0.27199 7,380.00 2,007
18 30.40 95.54 0.30008 7,600.00 2,281
19 31.50 99.00 0.32652 8,005.20 2,614
20 32.50 102.14 0.35113 8,285.60 2,909
21 33.50 105.29 0.37382 8,547.20 3,195
22 34.40 108.11 0.39461 8,791.72 3,469
23 35.20 110.63 0.41354 9,020.71 3,730
24 36.00 113.14 0.43073 9,235.53 3,978
25 36.80 115.66 0.44631 9,437.43 4,212
26 37.50 117.86 0.46040 9,627.48 4,433
27 38.10 119.74 0.47315 9,806.68 4,640
28 38.70 121.63 0.48468 9,975.90 4,835
29 39.30 123.51 0.49511 10,135.93 5,018
30 39.90 125.40 0.50457 10,287.48 5,191
31 40.40 126.97 0.51315 13,900.00 7,133
32 40.90 128.54 0.52094 14,032.15 7,310
33 41.40 130.11 0.52804 14,082.52 7,436
34 41.80 131.37 0.53450 14,130.46 7,553
35 42.30 132.94 0.54041 14,176.15 7,661
คมู่ อื การประเมินมลู คา่ ตน้ ไม้ I 63
ตารางท่ี 3.9 (ตอ่ )
อายุ การเตบิ โตเพียงอก ปริมาตร มลู คา่ ต้นไม้
(ป)ี เสน้ ผ่านศนู ยก์ ลาง (ซม.) เส้นรอบวง (ซม.) (ลบ.ม./ต้น) (บาท/ลบ.ม.) (บาท/ต้น)
36 42.70 134.20 0.54582 14,219.79 7,761
37 43.10 135.46 0.55079 14,261.34 7,855
38 43.50 136.71 0.55534 14,301.12 7,942
39 43.80 137.66 0.55954 14,339.19 8,023
40 44.20 138.91 0.56341 14,378.64 8,099
41 44.50 139.86 0.56699 14,410.58 8,171
42 44.80 140.80 0.57030 14,444.09 8,237
43 45.10 141.74 0.57337 14,476.28 8,300
44 45.40 142.69 0.57622 14,507.20 8,359
45 45.70 143.63 0.57888 14,536.94 8,415
46 46.00 144.57 0.58135 14,565.55 8,468
47 46.20 145.20 0.58366 14,593.11 8,517
48 46.50 146.14 0.58583 14,619.67 8,565
49 46.70 146.77 0.58785 14,645.28 8,609
50 47.00 147.71 0.58975 14,900.00 8,787
ตารางท่ี 3.10 การประเมินมูลค่าของต้นไม้กลุ่มที่ 3 ต้นไม้ที่มีอัตราการเติบโตปานกลาง รอบตัดฟันยาว
มลู ค่าของเนื้อไม้สงู
อายุ การเติบโตเพยี งอก ปรมิ าตร มูลคา่ ตน้ ไม้
(ป)ี เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง (ซม.) เสน้ รอบวง (ซม.) (ลบ.ม./ต้น) (บาท/ลบ.ม.) (บาท/ตน้ )
1 2.80 8.80 0.02225 758.04 17
2 4.70 14.77 0.02819 1,342.37 38
3 6.30 19.80 0.03467 1,854.47 64
4 7.80 24.51 0.04190 2.24.65 97
5 9.20 28.91 0.05002 2,768.94 138
6 10.60 33.31 0.05916 3,185.49 188
7 11.90 37.40 0.06944 3,587.78 249
8 13.10 41.17 0.08099 3,975.87 322
9 14.40 45.26 0.09393 4,351.95 409
10 15.50 47.71 0.10841 4,717.68 511
11 16.70 52.49 0.12455 5,074.34 632
12 17.80 55.94 0.14251 5,422.95 773
13 18.90 59.40 0.16242 5,764.34 936
14 20.00 62.86 0.18442 6,099.21 1,125
15 21.10 66.31 0.20866 6,489.88 1,348
16 22.10 69.46 0.23527 6,814.65 1,603
17 23.10 72.60 0.26438 7,163.90 1,894
18 24.10 75.74 0.29609 7,508.06 2,223
19 25.10 78.89 0.33051 7,847.40 2,594
20 26.10 82.03 0.63770 8,182.32 3,009
64 I การตรวจวดั และประเมนิ มลู ค่าต้นไม้
ตารางท่ี 3.10 (ต่อ)
อายุ การเตบิ โตเพยี งอก ปรมิ าตร มูลคา่ ตน้ ไม้
(ป)ี เสน้ ผ่านศูนย์กลาง (ซม.) เส้นรอบวง (ซม.) (ลบ.ม./ตน้ ) (บาท/ลบ.ม.) (บาท/ต้น)
21 27.10 85.17 0.40771 8,513.06 3,471
22 28.10 88.31 0.45056 8,839.89 3,983
23 29.00 91.14 0.49623 9,163.00 4,547
24 29.90 93.97 0.54468 9,482.61 5,165
25 30.90 97.11 0.59579 9,798.91 5,838
26 31.80 99.94 0.64945 11,876.15 7,713
27 32.70 102.77 0.70546 13,080.18 9,228
28 33.60 105.60 0.76361 14,273.09 10,899
29 34.50 108.43 0.82364 15,455.35 12,730
30 35.40 111.26 0.88525 16,205.49 14,346
31 36.30 114.09 0.94811 16,437.96 15,585
32 37.20 116.91 1.01188 16,668.55 16,867
33 38.00 119.43 1.07619 16,897.34 18,185
34 38.90 122.25 1.14067 17,124.41 19,533
35 39.70 124.77 1.20496 17,349.80 20,906
36 40.60 127.60 1.26868 17,573.59 22,295
37 41.10 130.11 1.33150 17,607.91 23,445
38 42.30 132.94 1.39310 17,718.28 24,683
39 43.10 135.46 1.45318 17,827.92 25,907
40 43.90 137.97 1.51149 17,936.86 27,111
41 44.70 140.49 1.56781 18,045.11 28,291
42 45.60 143.31 1.62195 18,152.71 29,443
43 46.40 145.83 1.67379 18,259.67 30,563
44 47.20 148.34 1.72320 18,366.00 31,648
45 48.00 150.86 1.77013 18,471.73 32,697
46 48.80 153.37 1.81453 18,576.88 33,708
47 49.60 155.89 1.85640 18,681.45 34,680
48 50.30 158.09 1.89576 18,785.47 35,613
49 51.10 160.60 1.93266 18,888.94 36,506
50 51.90 163.11 1.96715 18,991.89 37,360
คูม่ ือการประเมนิ มลู ค่าต้นไม้ I 65
ตารางที่ 3.11 การประเมินมูลคา่ ของต้นไม้กล่มุ ท่ี 4 ตน้ ไม้ที่มีอัตราการเติบโตชา้ รอบตดั ฟันยาว มลู ค่าของ
เน้อื ไม้สูงมาก
อายุ การเตบิ โตเพยี งอก ปริมาตร มลู คา่ ต้นไม้
(ป)ี เสน้ ผา่ นศูนย์กลาง (ซม.) เสน้ รอบวง (ซม.) (ลบ.ม./ต้น) (บาท/ลบ.ม.) (บาท/ตน้ )
1- - - --
2- - - --
3 0.98 3.08 0.00023 1,760 1
4 3.95 12.41 0.00474 2,070 10
5 6.26 19.67 0.01391 2,380 33
6 8.15 25.61 0.02638 2,690 71
7 9.74 30.61 0.04111 3,000 123
8 11.12 34.95 0.05745 4,275 246
9 12.34 38.78 0.07490 5,550 416
10 13.43 42.21 0.09314 6,825 636
11 14.41 45.29 0.11192 8,100 907
12 15.31 48.12 0.13109 9,375 1,229
13 16.14 50.73 0.15050 10,650 1,603
14 16.91 53.15 0.17007 11,925 2,028
15 17.62 55.38 0.18971 13,200 2,504
16 18.29 57.48 0.20939 14,475 3,031
17 18.92 59.46 0.22904 15,750 3,607
18 19.51 61.32 0.24865 17,025 4,233
19 20.07 63.08 0.26818 18,300 4,908
20 20.60 64.74 0.28762 18,630 5,358
21 21.10 66.31 0.30694 18,960 5,820
22 21.58 67.82 0.32615 19,290 6,291
23 22.04 69.27 0.34522 19,620 6,773
24 22.48 70.65 0.36416 19,950 7,265
25 22.90 71.97 0.38295 20,280 7,766
26 23.31 73.26 0.40160 20,610 8,277
27 23.70 74.49 0.42010 20,940 8,797
28 24.07 75.65 0.43845 21,270 9,326
29 24.44 76.81 0.45665 21,600 9,864
30 27.79 77.91 0.47470 21,930 10,410
31 25.13 78.98 0.49260 22,260 10,965
32 25.46 80.02 0.51035 22,590 11,529
33 25.77 80.99 0.52795 22,920 12,101
34 26.08 81.97 0.54541 23,250 12,681
35 26.38 82.91 0.56272 23,580 13,269
36 26.67 83.82 0.57989 23,910 13,865
37 26.96 84.73 0.59691 24,240 14,469
38 27.23 85.58 0.61380 24,570 15,081
39 27.50 86.43 0.63054 24,900 14,701
40 27.76 87.25 0.64715 25,230 16,328
66 I การตรวจวดั และประเมนิ มลู คา่ ต้นไม้
ตารางที่ 3.11 (ต่อ)
อายุ การเติบโตเพยี งอก ปริมาตร มลู ค่าตน้ ไม้
(ป)ี เสน้ ผ่านศูนยก์ ลาง (ซม.) เสน้ รอบวง (ซม.) (ลบ.ม./ต้น) (บาท/ลบ.ม.) (บาท/ต้น)
41 28.02 88.06 0.66363 25,560 16,962
42 28.27 88.85 0.67997 25,890 17,604
43 28.51 89.60 0.69619 26,220 18,254
44 28.75 90.36 0.71227 26,550 18,911
45 28.98 91.08 0.72823 26,880 19,575
46 29.21 91.80 0.74407 27,210 20,246
47 29.43 92.49 0.75978 27,540 20,924
48 29.65 93.19 0.77538 27,870 21,610
49 29.86 93.85 0.79086 28,200 22,302
50 30.07 94.51 0.80622 28,530 23,001
บทท่ี 4
การใชเ้ ครอื่ งมอื วดั ขนาดและคุณภาพตน้ ไม้
68 I การใช้เครือ่ งมอื วดั ขนาดและคณุ ภาพต้นไม้
4.1 หลกั การและวิธกี ารในการวดั ต้นไม้
ในการวัดปริมาตรของต้นไม้นั้น วิธีการที่ถูกต้องมากที่สุดคือ การนำไม้ท่อนไปแทนที่น้ำ แล้ววัด
ปริมาตรน้ำที่ไหลออกมา (displacement) แต่เป็นไปไม่ได้ในทางปฏิบัติ ดังนั้นเราจำเป็นต้องหาวิธีการ
ที่เหมาะสมในการประเมนิ ปริมาตรไม้ก่อน โดยค่าพารามิเตอรส์ ำคัญที่เกี่ยวข้องกบั การประเมินปรมิ าตรไม้
มีอยู่ 3 ค่า ได้แก่ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง (diameter) ความสูง (height) และรูปทรง (form) ซึ่งแสดงได้
จากสตู รต่อไปนี้
V = bhf
V = ปรมิ าตรของต้นไม้ (volume)
b = พืน้ ที่หน้าตดั ของต้นไม้ (cross – sectional area)
h = ความสูงของตน้ ไม้
f = ค่าแสดงลกั ษณะรูปทรงของต้นไม้ หรอื คา่ สมั ประสิทธ์ติ ัวคณู ลดปรมิ าตรรูป
ทรงกระบอก
โดยค่าพารามิเตอร์แต่ละค่ามักใช้เครื่องมือที่สามารถวัดมิติต่าง ๆ ของต้นไม้ก่อนแล้วจึงนำมา
ประมวลผลต่อไป โดยคู่มือนี้ปรับปรุงจากหนังสือ “การคณิตป่าไม้” คู่มือการศึกษาและฝึกปฏิบัติงาน
ภาคสนาม ภาควชิ าการจดั การปา่ ไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ปัสสี และขวัญชยั , 2548)
ซึ่งปรับเน้ือหาให้เหมาะสมกับการอบรมในครั้งน้ี โดยเน้นไปทีว่ ธิ ีการศึกษาเก่ียวกับการวดั ค่าตา่ ง ๆ รวมทั้ง
การใชเ้ คร่อื งมือในการวดั ทถ่ี กู ตอ้ งซง่ึ มีความจำเปน็ อยา่ งยิ่งในการตรวจวดั และประเมินมูลคา่ ต้นไม้
4.1.1 ความสำคัญของการวัดขนาดเสน้ ผ่านศูนย์กลาง (diameter) และความโตวดั รอบ
(girth)
1) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและความโตวัดรอบ เป็นค่าของขนาดต้นไม้ที่วัดง่ายที่สุด และมีความ
คลาดเคล่อื นค่อนขา้ งต่ำกว่าการวัดมติ อิ นื่ ๆ ของตน้ ไม้
2) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและความโตวัดรอบ สามารถนำมาคำนวณพื้นที่หน้าตัดของต้นไม้ ซึ่ง
เป็นพารามิเตอร์ที่สำคัญในการประเมินปริมาตรไม้และผลรวมของพื้นที่หน้าตัดของหมู่ไม้ สามารถใช้
คาดคะเนปรมิ าณไม้ในป่า (stock) ไดด้ ี
3) ในพื้นที่ป่าธรรมชาติซึ่งมีความหลากหลายของชนิดและอายุ ชั้นของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
สามารถวิเคราะหล์ ักษณะโครงสรา้ งปา่ ได้
4) มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มของปริมาตรต้นไม้มากกว่าค่าพารามิเตอร์อื่น ๆ คือ ความเพิ่มพูน
ดา้ นเสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางของตน้ ไม้มอี ทิ ธิพล 2/3 ถึง 3/4 ตอ่ ความเพ่มิ พนู ดา้ นปริมาตรของต้นไม้
คู่มอื การประเมนิ มลู คา่ ต้นไม้ I 69
4.1.2 ความสำคญั ของการวัดความสงู ของตน้ ไม้
1) ความสงู เปน็ พารามเิ ตอรท์ ี่สำคญั ในการประเมินปริมาตรไม้
2) ความสูงใช้บรรยายและวิเคราะห์สังคมพืช คือ การวิเคราะห์ชั้นเรือนยอดทางด้านตั้ง
(stratification)
3) ความสูงเป็นพารามิเตอร์ที่สำคัญในการประเมินถิ่นที่ตั้ง (site) ของสวนป่าว่ามีคุณภาพเป็น
อยา่ งไร
4) ความสงู ใช้อธิบายลกั ษณะของตน้ ไม้และหมไู่ มอ้ ื่น ๆ
4.2 เครื่องมือและหลักการวัดต้นไม้
4.2.1 การวัดความโตของตน้ ไม้
1) ขนาดเส้นผ่านศนู ย์กลาง (diameter) และความโตวดั รอบ (girth)
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง (diameter) หมายถึง ความยาวจากลำต้นของต้นไม้ด้านหนึ่งผ่านจุดใจ
กลางของต้นไม้ (pith) ไปด้านตรงข้ามอีกด้านหนึ่ง ส่วนความโตวัดรอบ (girth) หมายถึง ความยาววัดรอบ
ลำต้นของต้นไม้ โดยหลักมาตรฐานในการวดั ขนาดเสน้ ผ่านศูนย์กลางเและความโตวัดรอบในประเทศไทยมี
มาตรฐานที่ระดับอก หรือที่ความสูง 1.30 เมตร จากพื้นดิน “เส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก” หรือ DBH
(Diameter at Breast Height) ซึง่ ในการวัดที่ระดับอกน้มี เี หตผุ ล 3 ประการคือ
- เป็นจุดที่มีความสะดวกในการวัด ซึ่งจุดนี้เป็นจุดที่ผู้วัดสามารถมองเห็นสเกลของเครื่องมือได้
ชดั เจน และสามารถควบคุมเครือ่ งมอื ให้อย่ใู นตำแหนง่ ทเ่ี หมาะสมได้ดี
- เป็นจุดท่ีคาดว่าอยู่สูงกว่าตำหนิท่ีเกิดจากพูพอนของต้นไม้ ซึ่งเป็นอุปสรรคในการวัด และพูพอน
เปน็ สาเหตุหนง่ึ ที่ทำใหก้ ารวัดมคี วามคลาดเคล่อื น
- เป็นการสร้างจุดที่เป็นมาตรฐานในการวัดเพื่อประโยชน์ในเชิงเปรียบเทียบ ซึ่งจะทำให้เรา
สามารถเปรยี บเทียบคา่ ขนาดเส้นผา่ นศนู ย์กลาง และความโตวัดรอบกับพ้ืนท่ีอื่น ๆ ได้
วิธกี ารวดั ขนาดเสน้ ผ่านศูนยก์ ลางแสดงดงั ภาพท่ี 4.1
2) หลักการวัดขนาดเส้นผ่านศูนยก์ ลาง
- วดั ด้านทม่ี ีขนาดเสน้ ผ่านศนู ย์กลางสูงสดุ และต่ำสุด หรอื
- วดั ดา้ นทมี่ ีขนาดเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางสูงสุด และ วัดอกี ดา้ นในแนวต้งั ฉากกนั หรือ
- วัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางสองครั้งตั้งฉากกัน โดยวัดครั้งแรกให้เป็นระบบเดียวกัน เช่น วัดโดย
ยดึ ทิศเดียวกัน หรือด้านระยะปลูกเดยี วกนั เป็นต้น
3) เครื่องมือวัดความโตของต้นไม้
เครื่องมือวัดความโตของต้นไม้มีมากมาย โดยมีบริษัทที่ผลิตขึ้นเพื่อให้ใช้ได้ง่าย ซึ่งจะมีราคาท่ี
แตกต่างกันขึ้นอยู่กับวัสดุและเทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิต โดยในที่นี้จะขอยกตัวอย่างให้เห็นคุณลักษณะ
เบอ้ื งตน้ เพอ่ื ใหเ้ หน็ ภาพรวมเท่านั้น
70 I การใช้เคร่ืองมอื วัดขนาดและคณุ ภาพต้นไม้
(1) เทปวัดเสน้ ผ่านศนู ย์กลาง (diameter tape) เปน็ เคร่อื งมือวดั เส้นผา่ นศูนย์กลางท่ีนิยมใช้ใน
งานทางป่าไม้ เพราะใช้งานง่ายและพกพาสะดวก โดยมีสเกล 2 ด้านที่สามารถวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
ได้โดยตรงและด้านที่สามารถวัดค่าเป็นความโตวัดรอบ (สเกลคล้ายสายวัดตัว) ตัวเทปผลิตจากวัสดุหลาย
ชนดิ เชน่ เหล็กหรอื ผา้ (ภาพที่ 4.2)
ภาพท่ี 4.1 หลักมาตรฐานในการวดั ขนาดเส้นผา่ นศูนย์กลางและความโตวดั รอบ
ทม่ี า : สถิตย์ (2525)
คมู่ อื การประเมินมลู ค่าตน้ ไม้ I 71
ภาพที่ 4.2 เทปวดั เสน้ ผา่ นศูนย์กลางและความโตวดั รอบ
(2) เวอร์เนียร์ แคลลิปเปอร์ เครื่องมือนี้นิยมใช้วัดต้นไม้ที่มีลักษณะลำต้นไม่เป็นวงกลมมากนัก
แต่มีข้อจำกัดคือขนาดต้นไม้ต้องมีขนาดเล็กกว่าเครื่องมือ โดยการใช้จะวัดสองครั้งในทิศทางตั้งฉากกัน
(ภาพที่ 4.3)
ภาพท่ี 4.3 เวอร์เนยี ร์ แคลลิปเปอร์
4.2.2 การวัดความสงู ของตน้ ไม้
การวัดความสงู ของต้นไม้มีความยุ่งยากมากกวา่ การวดั ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอก เนื่องจาก
ผวู้ ดั ไมส่ ามารถสัมผสั ตน้ ไมข้ ณะวดั ไดโ้ ดยตรง และอาจมอี ปุ สรรคในเร่ืองของพื้นท่ีและรูปทรงเรือนยอดของ
ต้นไม้ในการมองหาจุดสูงสุดที่ต้องการวัดความสูงของต้นไม้ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องอธิบายหลักการในการวัด
ความสูงตน้ ไม้และการใช้เครอ่ื งมอื ท่ีถกู วธิ ีจะช่วยลดค่าความคลาดเคลือ่ นดงั กลา่ วได้
72 I การใช้เครือ่ งมือวัดขนาดและคุณภาพต้นไม้
1) การวดั ความสงู โดยใช้หลักเรขาคณิต
ภาพท่ี 4.4 หลักการทางเรขาคณิตในการวดั ความสูงต้นไม้
จากภาพท่ี 4.4 จะพบวา่
สามเหลยี่ ม Acd = สามเหลยี่ ม ACD
สามเหลี่ยม Acb = สามเหลย่ี ม ACB
สามเหลย่ี ม Abd = สามเหล่ยี ม ABD
จากสามเหลี่ยมคล้ายข้างต้น จะได้
CD/BD = cd/bd หรอื
CD =BD × cd/bd
โดยเครือ่ งมือทม่ี กี ารวดั โดยใช้หลกั การทางเรขาคณิต เช่น ไม้ 1 ตอ่ 10, Christen’s hypsometer,
Tangent HT.Gauge เปน็ ต้น
คู่มือการประเมนิ มูลค่าตน้ ไม้ I 73
2) การวัดความสงู โดยใช้หลักตรโี กณมติ ิ
ภาพท่ี 4.5 หลกั การทางตรีโกณมิติในการวดั ความสงู ต้นไม้
จากภาพที่ 4.5 จะพบว่า
tan θ = CB/BA หรอื CB = BA (tan θ)
tan α = BD/BA หรอื BD = BA (tan α)
จะได้ความสูงต้นไม้ (CD) เท่ากับ
CD = BA (tan θ) + BA (tan α) หรือ
= BA (tan θ + tan α)
โดยเครื่องมือที่มีการวัดโดยใช้หลักการทางเรขาคณิต เช่น Haga altimeter, Spiegel relaskop,
Vertex IV hypsometer และ Laser meter
3) เครอื่ งมือวัดความสงู ของต้นไม้
(1) ฮากา แอลติมิเตอร์ (haga altimeter) เป็นเครื่องมือที่สร้างขึ้นจากหลักตรีโกณมิติ มี
รูปร่างคล้ายปืน ภายในตัวเครื่องมีลูกตุ้มถ่วงตามแรงโน้มถ่วงของโลกในขณะวัด มีเข็มชี้สเกลต่าง ๆ ซึ่งใช้
บอกค่าความสูงของต้นไม้ โดยสเกลจะปรับไปตามระยะทางที่ยนื ห่างจากต้นไม้ในแนวราบ มีระยะทาง 15
20 25 และ 30 เมตรตามลำดับ และยังสามารถวัดความชันของพื้นที่ในหน่วยเปอร์เซ็น (%) ได้อีกด้วย
(ภาพที่ 4.6)
74 I การใช้เครื่องมอื วัดขนาดและคุณภาพตน้ ไม้
ภาพที่ 4.6 ฮากา แอลติมิเตอร์ (Haga altimeter)
(2) กล้องวดั ระยะ (laser rangefinder) ย่หี อ้ Nikon รนุ่ Forestry Pro เป็นเคร่ืองมอื ที่สร้าง
ขึ้นจากหลักตรีโกณมิติ มีกล้องเล็งลักษณะคล้ายกล้องส่องทางไกลโดยทั่วไป สามารถเล็งและวัดระยะทาง
ทางลาดและความสูงได้ สามารถวัดระยะทางโดยไม่ต้องใช้เป้าปริซึมได้ไกลประมาณ 10 - 500 เมตร
แสดงผลการวดั ระยะทางและความสงู เปน็ ตัวเลข บนจอ LCD ท้งั ภายในและภายนอกกล้องส่อง (ภาพที่ 4.7)
ภาพที่ 4.7 กล้องวดั ระยะ (laser rangefinder) ยี่ห้อ Nikon รุ่น Forestry Pro
คูม่ อื การประเมินมูลค่าตน้ ไม้ I 75
4.3 การสร้างเครือ่ งมือพืน้ ฐานในการวดั ตน้ ไม้
การสร้างเครื่องมือสำหรับวัดความสูงของต้นไม้มีหลายประเภท ในคู่มือนี้ขอยกตัวอย่างไม้ 1 ต่อ
10 ซึ่งเป็นเครื่องมือที่สามารถสร้างได้เองโดยง่าย โดยจะอธิบายให้เห็นคุณลักษณะเบื้องต้นเพื่อให้เห็น
ภาพรวมเท่านั้น ส่วนการใชเ้ ครื่องมอื แต่ละชนิดจะแสดงรายละเอียดในการปฏิบตั ิภาคสนาม
4.3.1 การวดั ความสงู โดยใช้ไม้ 1 ต่อ 10
ปัสสี และขวัญชยั (2548) ได้รวบรวมหลกั การสร้างและการใชไ้ ม้ 1 ต่อ 10 ดงั รายละเอียดตอ่ ไปนี้
หลกั การสร้างเครื่องมือ
ภาพท่ี 4.8 การวดั ความสูงโดยใช้ไม้ 1 ตอ่ 10
จากรปู กำหนดให้
A = จุดเลง็ ของผู้วดั
cd = ความยาวของไม้ 1 ต่อ 10
b = เครื่องหมายทแี่ สดงถงึ สัดสว่ นความยาวของไมเ้ ทา่ กับ 1 ตอ่ 10
CD = ความสงู ของต้นไม้
B = จดุ ทสี่ ายตาเล็งผา่ นเคร่ืองหมาย 1 ต่อ 10 ไปยงั
ลำต้นของต้นไม้
76 I การใช้เครื่องมือวดั ขนาดและคณุ ภาพต้นไม้
จากรปู สามเหลีย่ ม ACD และ สามเหล่ยี ม Acd คลา้ ยคลึงกนั
CD/cd = AD/Ad (1)
สามเหลีย่ ม ABD และสามเหล่ยี ม Abd คล้ายคลงึ กนั
BD/bd =AD/Ad (2)
เนื่องจาก (1) = (2)
ดังน้ัน CD = BD
แต่เพราะว่า cd bd
BDx cd
CD = bd
cd = 10 bd
ดังน้นั CD = 10 BD
ขอ้ สังเกตุ ความสูงของต้นไม้เท่ากบั 10 เท่าของความสูงจากโคนไม้ถึงระดบั ทตี่ าเล็งผา่ น
เครื่องหมาย 1 ตอ่ 10 ทหี่ มายไว้
การใช้เครอื่ งมือ
1) ผวู้ ัดเลอื กต้นไม้ที่ต้องการจะวดั ความสงู
2) ยืนห่างจากต้นไม้ในระยะที่เหมาะสม กล่าวคือ ควรมีระยะในแนวราบมากกว่าความสูง
ของต้นไมห้ รอื ไมไ่ กลจนสายตามองไม่ค่อยชดั
3) ให้ผวู้ ัดถอื ไม้ 1 ตอ่ 10 โดยยน่ื มือไปขา้ งหนา้ จนสุดและใหเ้ ครื่องมอื ตง้ั ดงิ่ กบั แนวระดบั
4) เล็งสายตาผ่านปลายไม้ปลายบนไปยังยอดต้นไม้และเล็งสายตาผ่านปลายไม้ปลายล่างไป
ยังโคนของต้นไม้ โดยใช้วิธเี ดินหน้าเขา้ หาตน้ ไมห้ รอื ถอยหลังออกจากตน้ ไม้จนกว่าจะไดจ้ ุดที่พอดี
5) เม่ือได้ตำแหนง่ ท่ีพอดีแลว้ ให้ใช้สายตาเล็งผ่านเคร่ืองหมาย 1 ต่อ 10 บนไม้เครื่องมือไปยัง
ลำต้นของตน้ ไม้ให้ทำเครื่องหมายทจ่ี ุดน้นั
6) วดั ความสูงจากโคนตน้ ไมถ้ งึ ระดับท่ที ำเครื่องหมายไว้
7) เอาความสงู ในข้อ (6) คณู ดว้ ย 10 จะเปน็ ความสงู ของต้นไมน้ ั้น
ขอ้ ควรระวงั
1) การเล็งโดยใช้สายตาต้องไม่ก้มหน้าหรือเงยหน้าเมื่อเล็งไปยังโคนต้นไม้หรือปลายยอดให้
ใช้วธิ ีเหลอื บสายตา
2) ตอ้ งพยายามเลอื กแนวการวัดทร่ี ะดบั ราบทส่ี ุด
คู่มอื การประเมนิ มูลค่าต้นไม้ I 77
3) ตอ้ งถอื เครื่องมือให้ตัง้ ด่ิงท่สี ุด
4) ถ้าใช้ไม้ 1 ต่อ 10 สั้นเกินไปจะทำให้ยืนห่างจากต้นไม้มากขณะเล็งวัด และถ้าใช้ไม้ 1 ต่อ
10 ยาวเกนิ ไป การเล็งผ่านแนว 1 ตอ่ 10 ไปยังลำตน้ ของตน้ ไม้อาจผิดพลาดได้งา่ ย
5) ควรใชไ้ ม้ยาวประมาณ 40 เซนตเิ มตร
4.3.2 การวัดความสงู โดยใช้เครือ่ งมือ ครสิ เตน ฮปิ โซมเิ ตอร์ (Christen’s hypsometer)
คริสเตน ฮิปโซมิเตอร์ เป็นเครื่องมือที่สร้างขึ้นโดยใช้หลักเรขาคณิตอีกแบบหนึ่งโดยใช้ร่วมกับ
ไม้ทาบโคน และไม่จำเป็นต้องวัดระยะทางจากต้นไม้ถึงผูว้ ัด เพียงแต่สามารถเล็งเห็นจุดโคนไม้ จุดความสงู
ที่ต้องการวัดและจุดสูงสุดของไม้ทาบโคน ก็จะสามารถทราบความสูงของต้นไม้ได้ (ปัสสี และขวัญชัย, 2548)
(ภาพท่ี 4.9)
ภาพที่ 4.9 การวัดความสูงโดยใชเ้ ครื่องมือ คริสเตน ฮิปโซมเิ ตอร์ (Christen’s hypsometer)
จากภาพท่ี 4.9 กำหนดให้
A = จดุ เลง็ ของผูว้ ัด
cd = ความยาวของคริสเตน ฮิปโซมิเตอร์
BD = ความยาวของไม้ทาบโคน
CD = ความสงู ของตน้ ไม้
78 I การใชเ้ ครอื่ งมอื วดั ขนาดและคุณภาพตน้ ไม้
การใชเ้ ครื่องมือ
1) ผู้วดั เลือกต้นไม้ทีต่ อ้ งการจะวดั
2) เอาไม้ทาบโคนตงั้ ท้ิงไวท้ ี่โคนต้นไม้ให้สามารถมองเหน็ ปลายไมท้ าบโคนถนดั เม่ือเวลาเล็งวดั
3) ผู้วัดยืนห่างจากต้นไม้ในระยะที่เหมาะสมกล่าวคือควรมีระยะในแนวราบมากกวา่ ความสูง
ของต้นไมห้ รอื ไมไ่ กลจนสายตามองไม่ค่อยชดั
4) ยืนถอื คริสเตน ฮิปโซมิเตอร์ โดยยน่ื มอื ไปข้างหน้าจนสุดและให้เครื่องมือต้ังด่ิงกับแนวระดับ
5) ให้ผูว้ ดั เล็งสายตาผ่านปลายเครื่องมือปลายบนไปยังยอดไม้และเล็งผ่านเคร่ืองมือปลายล่าง
ไปยังโคนตน้ ไม้ โดยใชว้ ิธกี ารเดนิ เขา้ หาต้นไม้หรอื เดินถอยหลงั ออกจากต้นไมจ้ นกวา่ จะไดจ้ ุดพอดี
6) เมื่อเล็งจนได้จุดพอดีดังข้อ (5) แล้วให้ผู้วัดเล็งสายตาผ่านเครื่องมือไปยังปลายไม้ทาบโคน
จดุ ที่เลง็ ผา่ นบนเครอ่ื งมอื เมอื่ อา่ นค่าแลว้ ก็คือความสงู ของตน้ ไม้นน้ั
ขอ้ ควรระวัง
1) ผูว้ ดั ต้องไมก่ ้มหนา้ หรอื เงยหนา้ ขณะวัดยอดไมห้ รอื โคนต้นไม้ โดยใหใ้ ช้การเหลือบตาแทน
2) ต้องถือเครอื่ งมือใหต้ ั้งด่ิงท่ีสดุ
3) พยายามเลือกทีร่ าบที่สุดในแนวท่ียนื เล็งวดั
4) ครสิ เตน ฮปิ โซมเิ ตอร์ทีส่ รา้ งข้นึ ตอ้ งบอกความยาวของไม้ทาบโคนกำกบั ไว้ดว้ ย
5) ถ้าตน้ ไมท้ จี่ ะวดั เอียง การต้ังไม้ทาบโคนจะต้องวางแนบชดิ กับลำตน้ เป็นมุมเดียวกนั เพ่อื จะ
ให้ผลการวดั เป็นความยาวของลำต้นจรงิ ๆ
บทท่ี 5
การให้บรกิ ารของระบบนิเวศป่าไม้ และแนวทาง
การประเมนิ มูลคา่
80 I การให้บริการของระบบนเิ วศปา่ ไม้ และแนวทางการประเมินมูลค่า
5.1 ระบบนิเวศป่าไม้
5.1.1 ความหมายของปา่ ไม้ และระบบนเิ วศป่าไม้
ต้นไม้ที่อยู่ในป่านั้นไม่สามารถที่จะอยู่เพียงลำพังต้นเดียวได้ การประกอบขึ้นเป็นป่า ต้องอาศัย
ต้นไม้หลากหลายชนิด แต่ละชนิดมีการกระจายออกไปแล้วแต่แบบแผนและการสืบต่อพันธุ์ของแต่ละชนิด
โดยนิยามของ “ป่า” ตามพระราชบัญญัติป่าไม้ พุทธศักราช 2484 คือ ที่ดินที่ยังมิได้มีบุคคลได้มาตาม
กฎหมายที่ดิน ในขณะที่หน่วยงานระดับนานาชาติ เช่น องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ
(Food and Agriculture Organization of the United Nations: FAO) ได้ให้คำนิยาม “ป่าไม้” ไว้ว่า
ป่าไม้น้ันหมายรวมถึงพื้นท่ีท่ีเป็นทั้งปา่ ธรรมชาติและป่าปลกู ซงึ่ เปน็ พื้นท่ีท่ีมเี รือนยอดของต้นไม้ปกคลุมอยู่
มากกว่าร้อยละ 10 ของพื้นที่ และมีพื้นที่รวมทั้งหมดมากกว่า 5,000 ตารางเมตร (หรือ 3.125 ไร่) โดย
ต้นไม้ที่อยู่ในพื้นที่มีความสูงได้ถึง 5 เมตร แต่ไม่รวมถึงไม้ยืนต้นที่ปลูกเพื่อการเกษตรและไม้ยืนตน้ ที่อยูใ่ น
ระบบวนเกษตร ซึ่งนอกเหนือจากต้นไม้ในป่าแล้วนั้น องค์ประกอบของป่ายังประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ
อกี หลายชนิด รวมไปถึงสิ่งที่ไม่มีชีวิต ไดแ้ ก่ สงิ่ แวดล้อมที่อยูร่ อบ ๆ ทั้ง ดนิ หนิ น้ำ อากาศ ล้วนแล้วแต่เป็น
องคป์ ระกอบของปา่ ท้ังสนิ้
จากคำนิยามของป่าไม้ข้างต้น จึงเกิดการศึกษาทางด้านนิเวศวิทยา (ecology) ซึ่งเป็นการศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างสงิ่ ท่ีเราให้ความสนใจ ซง่ึ ในทีน่ คี้ อื ตน้ ไม้ หรอื ป่าไม้ กบั สงิ่ แวดล้อมท้งั ทมี่ ชี วี ิตและไม่มี
ชีวิตท่อี ยรู่ อบ ๆ ต้นไม้หรือปา่ ไม้ โดยความสัมพนั ธเ์ หลา่ นี้มกี ารถ่ายทอดพลงั งานและสารอาหารต่อเนื่องกัน
อยู่ตลอดเวลาอย่างเป็นระบบ จึงเป็นที่มาของคำว่าระบบนิเวศ (ecosystem) นั่นเอง ซึ่งการคงอยู่ของทั้ง
ระบบนี้ทำให้เกิดการให้บริการทางนิเวศ (ecosystem services) ต่อโลก ความสัมพันธ์ทางนิเวศวิทยาน้ัน
แบ่งออกได้เปน็ 5 แบบ (Whittaker, 1975) ดงั นี้
1) ความสมั พนั ธแ์ บบเปน็ อาหาร (predation) ความสมั พนั ธใ์ นการเปน็ อาหารนีเ้ ร่ิมต้นจากมีผู้ผลิต
(producer) และผู้บริโภค (consumer) โดยผู้ผลิตหนึง่ เดียวในป่าทีส่ ามารถสร้างอาหารเพือ่ เลี้ยงตัวเองได้
และยังเป็นอาหารใหแ้ ก่ผ้บู ริโภคอน่ื ๆ ไดแ้ ก่ ต้นไม้ เนอื่ งจากตน้ ไมม้ รี งควัตถุพเิ ศษที่สามารถเปลี่ยนพลังงาน
ทีไ่ ด้รับจากดวงอาทติ ย์ให้กลายเปน็ อาหารได้ ส่งผลใหพ้ ชื เตบิ โต มีดอก และผล ซงึ่ เป็นอาหารใหแ้ ก่สง่ิ มชี ีวิต
อื่น ๆ เช่น ผีเสื้อกินน้ำหวาน นกกินผลไม้ และกวางกินหญ้า เป็นต้น และนอกจากนี้ยังมีความสัมพันธ์ใน
การเป็นอาหารแบบผลู้ ่า (predator) และ เหยอ่ื (prey) เชน่ เสือกินกวาง กบกินแมลง และงกู นิ หนู เป็นตน้
ซ่ึงความสัมพนั ธแ์ บบนจี้ ะมีการถา่ ยทอดสารอาหารและพลงั งานจากผูผ้ ลิตไปยงั ผบู้ รโิ ภคตอ่ เน่ืองไปเร่ือย ๆ
2) ความสัมพนั ธ์แบบแกง่ แยง่ แขง่ ขัน (competition) เปน็ การแกง่ แย่งแขง่ ขันเพอ่ื ช่วงชิงทรัพยากร
ที่มีอยู่อย่างจำกัด เช่น รากต้นไม้มีการแก่งแย่งธาตุอาหารในดิน โดยพยายามขยายตัวให้ไปได้ไกลและลึก
เพ่อื ใหไ้ ดน้ ำ้ และธาตุอาหารที่พอเพียง หรอื เรอื นยอดพชื แกง่ แย่งแสงเพ่ือนำมาสร้างอาหาร โดยพยายามยืด
ลำต้นให้สูงเหนือกว่าต้นอื่น ๆ เพื่อให้ได้แสงอย่างเพียงพอ ในส่วนของสัตว์อาจจะมีประชากรในพื้นที่มาก
จนเกิดการต่อสู้เพื่อแย่งอาหาร ซึ่งเหตุการณ์นี้จะเป็นตัวจำกัด (limiting factor) ให้จำนวนสิ่งมีชีวิต
เพียงพอกับทรัพยากรธรรมชาตทิ ี่มีอยู่ สิ่งมีชวี ิตทอ่ี ่อนแอกว่ากจ็ ะถูกกำจดั ออกจากพน้ื ทเี่ ป็นการรักษาระบบ
นเิ วศให้สมดลุ ตลอดเวลาโดยไมต่ ้องมใี ครเป็นผจู้ ดั การ ธรรมชาตจิ ะคัดสรรสงิ่ เหล่าน้เี อง
3) ความสัมพันธ์แบบภาวะอิงอาศัย (commensalism) เป็นความสัมพันธ์แบบที่สิ่งมีชีวิตหน่ึง
ไดร้ บั ประโยชน์ในขณะที่อีกฝ่ายไมไ่ ด้รับ และ/หรือ เสียผลประโยชนแ์ ต่อย่างใด เช่น การที่กล้วยไม้เกาะอยู่
คูม่ ือการประเมินมูลค่าตน้ ไม้ I 81
บนตน้ ไมใ้ หญ่ ซึง่ กลว้ ยไมส้ ามารถสร้างอาหารไดเ้ องเหมือนพืชทว่ั ๆ ไป ไมไ่ ด้ใช้อาหารจากต้นไม้แต่อย่างใด
เพียงแต่เป็นผู้อาศัยอยู่บนลำต้นของต้นไม้เท่านั้น ซึ่งกล้วยไม้ได้ประโยชน์จากการมีที่ค้ำจุน แต่ต้นไม้ไม่ได้
รบั ประโยชนใ์ ดจากกล้วยไม้ ในขณะเดยี วกันกไ็ มไ่ ด้เสียประโยชน์ หรือ เพรียงทเี่ กาะอยู่กับวาฬหรือสิ่งมีชีวิต
อื่น ๆ ในทะเล โดยอาศัยวาฬในการเดินทาง เนื่องจากเมื่อเป็นตัวอ่อนเพรียงจะเคลื่อนที่ได้ แต่เมื่อเป็นตัว
เตม็ วัยจะเคล่อื นทไี่ ม่ได้ ดังน้ันการหาอาหารหรือผสมพันธุจ์ งึ ตอ้ งอาศัยเกาะไปกับวาฬซงึ่ เคลื่อนท่ีได้เร็วและ
ไปไดไ้ กล อกี ท้ังยงั เป็นการหลบหลีกจากศัตรอู กี ดว้ ย
4) ความสัมพันธ์แบบเป็นปรสิต (parasitism) เป็นความสัมพันธ์ที่มีผู้ได้ประโยชน์เพียงฝ่ายเดียว
แตอ่ กี ฝ่ายตอ้ งเสียประโยชน์ เช่นเช้อื โรคที่รบั อาหารจากพชื แล้วก่อให้เกิดโรคในพืช หรือ เห็บ เหา หมัด ท่ี
กินเลือดจากสัตว์ และก่อให้เกิดโรคได้ แต่อย่างไรก็ตาม การทราบความสัมพันธ์แบบนี้สามารถนำมาใช้
ประโยชน์ในการควบคุม กำจัด สิ่งมีชีวิตที่เราไม่ต้องการได้ เช่น เชื้อราทำลายแมลงในกลุ่มของถั่งเช่า
(cordycep) โดยท่สี ปอร์ของเชอ้ื ราจะไปตกท่แี มลงท่อี าจเป็นศัตรูพชื หรอื แมลงรุกรานทเ่ี ข้ามารบกวนระบบ
ส่งผลใหแ้ มลงเหล่านั้นตาย หรือ การใช้ตัวหำ้ ตัวเบียน ซึ่งเป็นแมลงกำจดั แมลงศัตรูพืช เป็นวิธกี ารควบคมุ
ประชากรทเี่ รยี กวา่ biological control โดยไม่ใช้สารเคมนี น่ั เอง ซง่ึ จะปลอดภยั ตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม
5) ความสัมพันธ์แบบได้ประโยชน์ทั้งสองฝ่าย (mutualism) เช่น ไลเคน เป็นชื่อเรียกสิ่งมีชีวิต
2 ชนิดทอี่ ยูร่ ว่ มกนั ไดแ้ ก่ เช้อื รา และ สาหร่าย หรอื ไซยาโนแบคทีเรีย ซง่ึ เช้ือราไม่สามารถสร้างอาหารเอง
ได้ จะได้รับสารอาหารที่สาหร่ายสร้างขึ้น ในขณะเดียวกัน สาหร่ายก็จะได้ธาตุอาหารจากการย่อยหินของ
เชื้อรา เพื่อให้สาหร่ายสามารถสร้างอาหารได้ หรือ ความสัมพันธ์ระหว่างเชื้อรากับต้นไม้ใหญ่ที่เรียกว่า
ไมคอร์ไรซา (mycorrhiza) ซึ่งเชื้อราจะอาศัยอยู่บริเวณราก และทำหน้าที่หาน้ำและธาตุอาหารส่งให้พืช
ทางราก เนื่องจากเส้นใยของเชื้อรานั้นมีขนาดเล็ก และมีพื้นที่ผิวสัมผัสที่มากกว่ารากหลายร้อยเท่า จึงดูด
ซึมน้ำและธาตุอาหารได้ดีกว่า และเมื่อพืชสร้างอาหารได้ ก็จะลำเลียงอาหารส่งกลับมาที่ราก และเชื้อราก็
ได้รับอาหารนั้นไปด้วย ซึ่งความสัมพันธ์แบบนี้สร้างประโยชน์มหาศาลให้แก่ไม้ป่าอย่างยิ่ง เนื่องจากใ น
ผืนปา่ การแกง่ แย่งธาตุอาหารมีสูงมากอีกทั้งการแก่งแยง่ แสงยังต้องการพลังงานจากการสรา้ งอาหารเพื่อให้
ลำต้นยืดขึ้นหาแสงได้เร็วกว่าต้นอื่น ๆ ดังนั้น น้ำและธาตุอาหารจึงจำเป็นอย่างยิ่งต่อการสร้างอาหาร
ซง่ึ ราไมคอร์ไรซาจะชว่ ยหาน้ำและธาตุอาหารให้แกร่ ากพืชอย่างเพยี งพอ
โดยสรุปแล้วสงิ่ มีชีวิตในระบบนิเวศหนงึ่ ๆ สามารถมคี วามสัมพนั ธ์ได้หลายรปู แบบกบั สง่ิ มีชีวิตและ
ส่ิงไม่มชี ีวติ อื่น ๆ ในระบบ ซง่ึ ความสมั พันธ์ท่ีกลา่ วมาสามารถสรุปไดด้ งั ตารางท่ี 5.1
ตารางที่ 5.1 ความสัมพนั ธข์ องส่ิงมีชีวติ ในระบบนิเวศ
ความสมั พันธ์ สงิ่ มีชีวติ ท่ี 1 สงิ่ มีชวี ติ ที่ 2
การเป็นอาหาร (predator) + -
การแกง่ แยง่ แข่งขนั (competition) - -
ภาวะองิ อาศยั (commensalism) + 0
ปรสิต (parasitism) + -
ไดป้ ระโยชนท์ ้ังสองฝา่ ย (mutualism) + +
หมายเหตุ : + หมายถงึ สง่ิ มชี วี ิตชนิดน้นั ไดป้ ระโยชน์ – หมายถึง สิง่ มีชวี ติ นน้ั เสยี ประโยชน์
0 หมายถงึ สิง่ มีชวี ติ นน้ั ไมไ่ ดป้ ระโยชน์แตก่ ็ไม่เสยี ผลประโยชน์เช่นเดยี วกนั
82 I การให้บรกิ ารของระบบนเิ วศป่าไม้ และแนวทางการประเมินมลู คา่
5.1.2 การหมนุ เวียนธาตอุ าหารและพลังงานในระบบนิเวศ
ลักษณะสำคัญที่ทำให้ระบบนิเวศคงอยู่ได้ คือ การหมุนเวียนธาตุอาหารและพลังงานในระบบน้ัน
จะต้องเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง และจุดกำเนิดของการหมุนเวียนธาตุอาหารและพลังงาน คือ พืช ซึ่งสามารถ
สร้างอาหารได้เอง จากการเปลี่ยนพลังงานที่ไดร้ ับจากดวงอาทิตย์ให้มาเป็นนำ้ ตาลและคาร์โบไฮเดรต ผ่าน
กระบวนการทีเ่ รียกว่าการสังเคราะหด์ ้วยแสง (photosynthesis) จากนั้นสัตว์กินพืชจึงมาใชป้ ระโยชนเ์ ป็น
อาหาร และสัตว์ลำดับต่อไปก็มากินสัตว์ที่กินพืชต่อเนื่องกันไปเรียกการถ่ายทอดพลังงานจากการกินเป็น
ทอด ๆ เหล่านี้ว่า ห่วงโซ่อาหาร หรือ “food chain” ดังแสดงในภาพที่ 5.1 โดยเมื่อส่ิงมีชีวิตทุกอยา่ งตาย
ลงไป ผู้ย่อยสลาย (decomposer) จะเข้าทำงานและสลายสารต่าง ๆ ที่อยู่ในร่างกาย ให้กลับคืนเป็นธาตุ
อาหารสู่ดิน และหมุนเวียนกลับขึ้นมาโดยพืชดึงธาตุอาหารเหล่านั้นมาใช้เพื่อการเติบโต ดังนั้นจะเห็นได้วา่
พืชเป็นแกนกลางของระบบนิเวศ โดยเป็นผู้ผลิตเริ่มต้น ส่งผลให้เกิดการถ่ายทอดหมุนเวียนอาหารและ
พลังงาน และเม่อื สารอาหารเหล่านัน้ สลายกลับคนื ไปสู่ดนิ พชื ก็นำธาตอุ าหารเหล่านนั้ หมุนเวียนกลับข้ึนมา
ใช้อีก ส่งผลให้ระบบมคี วามเสถียรและสามารถคงอย่ไู ด้ด้วยตัวของมนั เอง หากไม่มสี ิง่ ใดเข้าไปรบกวน
ภาพที่ 5.1 ลำดบั การกนิ อาหารเปน็ ห่วงโซ่อาหาร (food chain) ของส่ิงมชี ีวิตในระบบนิเวศ
ท่มี า: ดดั แปลงภาพจาก https://www.education.com/worksheet/article/food-chain-pyramid/
แต่อย่างไรก็ตาม ในระบบนิเวศนั้นมีความหลากหลายและซับซ้อน ประกอบด้วยพืชหลากหลาย
ชนิด อยู่ในระดับชั้นเรือนยอดที่แตกต่างกัน จึงเป็นอาหารของสัตว์ที่แตกต่างกันไป และในขณะเดียวกัน
สัตว์ชนิดหนึ่งก็สามารถกินพืชอาหารได้หลายชนิด รวมถึงสัตว์ที่กินพืชก็เป็นอาหารให้แก่สัตว์ที่กินเนื้ออีก
หลายชนิดเชน่ เดยี วกัน ทำให้การหมุนเวียนถา่ ยทอดอาหารและพลงั งานในระบบนเิ วศนีม้ ีความซับซ้อนมาก
ยง่ิ ขึน้ ซง่ึ เรียกวา่ “food web” หรือเครอื ข่ายใยอาหาร ดังแสดงในภาพท่ี 5.2 จากภาพผ้บู รโิ ภคสูงสุดได้แก่
สิงโตภูเขา (mountain lion) ซึ่งจะกินสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ตั้งแต่ กวาง (deer) กระต่าย (rabbit) งู (snake)
หรือหนู (shrew) ซึ่งกวางเป็นผู้บริโภคอันดับ 1 ที่กินต้นไม้หรือพืช เช่นเดียวกับกระต่าย ส่วนหนูนั้นเป็น
ผู้บริโภคอันดับ 2 ซึ่งกินผู้บริโภคอันดับ 1 คือ ตั๊กแตน (grasshopper) ที่กินพืช แล้วหนูก็กลายเปน็ อาหาร
คูม่ ือการประเมินมูลคา่ ต้นไม้ I 83
ของทั้งงู และเหยี่ยว (hawk) ซึ่งการบริโภคไปตามขั้นตอนนี้ หากมีสิ่งมีชีวิตชนิดใดหายไปจากระบบอาจ
ส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่อาหาร และเครือข่ายใยอาหาร แม้ว่าสิ่งมีชีวิตนั้นจะสามารถเลือกกินอย่างอื่นแทน
สิ่งที่หายไป แต่ในระยะยาวนั้นระบบนิเวศจะค่อย ๆ เสื่อมลง และสลายไปได้ในที่สุด เนื่องจากไม่มีความ
ต่อเนอ่ื งของการถ่ายทอดอาหารและพลงั งาน
ภาพที่ 5.2 เครอื ข่ายใยอาหาร (food web) ในระบบนิเวศปา่ ไม้ทม่ี ีความซับซ้อน
ทีม่ า: ดัดแปลงจาก http://jenniferparedes03.blogspot.com/2012/03/food-web.html
5.2 การใหบ้ ริการทางนิเวศของป่าไม้
การให้บริการทางนเิ วศของป่าไม้ (forest ecosystem services) หมายถึง ประโยชน์ท่ีธรรมชาติ
สง่ มอบให้กับมนุษย์ นิเวศบรกิ ารที่เราคุ้นเคยท่ีสุด ไดแ้ ก่ อาหาร น้ำสะอาด และทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้ใน
การผลิตสินค้า และบริการต่าง ๆ แต่ยังมีบริการอีกมากมายที่เรามักไม่ค่อยนึกถึง เช่น การดูดซับคาร์บอน
และบรรเทาการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ การกรองและทำนำ้ ให้สะอาด เปน็ ตน้
ดังนน้ั ถ้ามองระบบนเิ วศในฐานะนเิ วศบริการ สง่ิ แวดลอ้ มก็คือ “สนิ ทรพั ย์” ท่ีจำเป็นตอ่ การพัฒนา
ดังนั้นการดูแลสิ่งแวดล้อมจะเป็น “การลงทุน” ที่จำเป็น และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมไม่ใช่ “ค่าใช้จ่าย” ที่
ไมไ่ ดอ้ ะไรกลับคนื
นิเวศบริการ บางครั้งเรียกว่า “บริการทางด้านสิ่งแวดล้อม” หรือ “บริการทางด้านระบบนิเวศ”
หมายถึง ผลประโยชนท์ ี่มนุษย์ไดจ้ ากระบบนิเวศ ทั้งจากสิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพ เพ่ือ
เป็นฐานในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนและสังคม เช่น น้ำ ไม้ซุง ความสามารถในการควบคุมสภาพ
ภูมอิ ากาศ การคุม้ ครองความเสยี่ งทางธรรมชาติ การควบคุมการกดั เซาะของดิน การพักผอ่ นหย่อนใจ และ
การดูดซบั ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ เปน็ ตน้
84 I การให้บริการของระบบนเิ วศปา่ ไม้ และแนวทางการประเมินมูลคา่
5.2.1 บรกิ ารดา้ นการเปน็ แหลง่ ผลติ
บรกิ ารดา้ นการเป็นแหล่งผลติ (provisioning services) เป็นการใหบ้ ริการทางนิเวศของป่าไม้เพ่ือ
การยังชีพของมนุษย์ ดังนี้ แหล่งอาหาร เช่น พืชผล สัตว์น้ำ และอาหารจากป่า เป็นต้น แหล่งน้ำจืด เช่น
นำ้ บาดาล ทะเลสาบ และน้ำผิวดนิ เปน็ ต้น เสน้ ใยหรอื ไม้ เช่น ไมซ้ ุง เยื่อไม้ เชอื ก และชีวเคมี เปน็ ตน้ สารสกัด
จากธรรมชาติและยารักษาโรค เช่น สมุนไพร เป็นต้น แหล่งพลังงาน เช่น เชื้อเพลิงชีวมวล ฟืน และถ่าน เป็น
ต้น ตลอดจนเป็นแหล่งพันธุกรรม หรือลักษณะพันธุกรรมที่ใช้ในการเพาะพันธ์ุพืช พันธุ์สัตว์ หรือใช้ในการ
ปรับปรงุ พันธุ์
5.2.2 บรกิ ารด้านการควบคมุ
บรกิ ารดา้ นการควบคุม (regulating services) เป็นการใหบ้ รกิ ารทางนเิ วศของปา่ ไมใ้ นการควบคุม
กลไกของระบบนิเวศ ดังนี้ (1) ป่าไม้ช่วยควบคุมคุณภาพอากาศและสภาพอากาศ เช่น การกรองอากาศ และ
ทะเลสาบเป็นแหล่งดูดซับกำมะถันจากอุตสาหกรรม เป็นต้น (2) ป่าไม้ช่วยในการดูดซับหรือกักเก็บก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ (3) ป่าไม้ช่วยให้ฝนตก หรือการให้ร่มเงาและช่วยลดอุณหภูมิ (4) ป่าไม้ช่วยควบคุมการ
พงั ทลายของดิน เช่น หญา้ และต้นไม้ ช่วยป้องกันดนิ จากการกัดเซาะของกระแสลมและฝน อกี ทัง้ ชว่ ยป้องกัน
การทบั ถมของดินตะกอนบริเวณทางน้ำ ปา่ ไมบ้ รเิ วณที่ลาดเขาช่วยในการยึดเกาะดิน และปอ้ งกันดินถล่ม การ
ป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดินและชายฝั่ง เป็นต้น (5) การควบคุมสมดุลของน้ำ โดยระบบนิเวศมี
อิทธิพลต่อช่วงเวลา และปริมาณของกระแสน้ำหลาก การเกิดอุทกภัย และการเพิ่มปริมาณน้ำในชั้นหินหรือ
ชั้นดินอุ้มน้ำ ป้องกันหรือลดความแรงของน้ำป่าไหลหลาก การกรองน้ำเพื่อรักษาคุณภาพน้ำ (6) การควบคุม
ศัตรูพืช โดยระบบนิเวศมีอิทธิพลต่อการแพร่กระจายของแมลงศัตรูพืชและเชื้อโรคที่เกิดในพืชและสัตว์ เช่น
ค้างคาวกินแมลง นกกินแมลง เป็นต้น (7) การถ่ายละอองเรณู เช่น ผึ้งหรือผีเสื้อดูดกลืนน้ำหวานจากดอกไม้
จะช่วยในการถ่ายเกสรตัวผู้ไปสู่เกสรตัวเมีย เป็นต้น (8) การควบคุมภัยธรรมชาติ เช่น ป่าโกงกางและแนว
ปะการัง ช่วยป้องกันพื้นที่แนวชายฝั่งจากความแรงของน้ำทะเล หรือพายุ กระบวนการย่อยสลายทางชีวภาพ
ชว่ ยลดปริมาณเชื้อไฟท่เี ป็นต้นเหตุของไฟป่า เป็นต้น
5.2.3 บรกิ ารดา้ นการเก้อื หนุน
บริการด้านการเกื้อหนุน (supporting services) เป็นการให้บริการทางนิเวศของป่าไม้ในการ
เกื้อหนุนกระบวนการต่าง ๆ ของระบบนิเวศให้เกิดความยั่งยืน ได้แก่ การหมุนเวียนธาตุอาหาร ในระบบ
นิเวศมีการไหลและหมุนเวียนของสารอาหาร เช่น การหมุนเวียนของไนโตรเจน ฟอสฟอรัส คาร์บอน ผ่าน
กระบวนการย่อยสลาย และ/หรือ การดูดซึมตามธรรมชาติ เชน่ การยอ่ ยสลายสารอินทรีย์ เพ่ือเพ่ิมความอุดม
สมบูรณ์ของดิน เป็นต้น การสงั เคราะหแ์ สง หรอื การผลิตข้ันปฐมภมู ิ เชน่ หว่ งโซ่ อาหารของระบบนเิ วศต่าง ๆ
เป็นต้น การหมุนเวียนของน้ำ โดยการไหลเวียนของน้ำในระบบนิเวศ ในรูปแบบของแข็ง ของเหลว และ
กา๊ ซ เช่น การถ่ายเทน้ำจากดินสู่พืช จากพชื สอู่ ากาศ จากอากาศสผู่ ืนดนิ ในรปู ของฝน แหล่งท่ีอยู่อาศัยของ
ความหลากหลายทางชีวภาพ เปน็ ต้น
คมู่ ือการประเมินมูลค่าตน้ ไม้ I 85
5.2.4 บริการด้านวฒั นธรรม
บริการด้านวัฒนธรรม (cultural services) เป็นการให้บริการทางนิเวศของป่าไม้ที่เกี่ยวข้องกับ
วัฒนธรรมและประเพณขี องมนษุ ย์ เชน่ ประเพณีวฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาท้องถ่ินในการจัดการปา่ ไม้ ความ
เพลิดเพลินจากความงดงามทางธรรมชาติหรือทิวทัศน์ที่สวยงาม การนันทนาการหรือการพักผอ่ นหย่อนใจ
การศึกษาเรยี นรู้ การทอ่ งเทย่ี ว คุณค่าทางจติ ใจ และศาสนา เป็นตน้
5.3 การจ่ายค่าตอบแทนการให้บรกิ ารของระบบนิเวศ
การจ่ายค่าตอบแทนการบริการของระบบนิเวศ (Payment for Environmental Services: PES)
เป็นการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ในการส่งเสริมการอนุรักษ์ และฟื้นฟูระบบนิเวศเพื่อให้คง ไว้ซึ่งการ
ให้บริการของระบบนิเวศที่เปน็ ประโยชน์ต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ และเพื่อเป็นการสร้างรายได้เสริมจาก
การอนุรักษ์ฟื้นฟูระบบนิเวศให้กับประชาชนหรือชุมชนที่ดูแลอนุรักษ์ระบบนิเวศนั้น ๆ รวมทั้งจะช่วย
สนบั สนนุ หนว่ ยงานภาครฐั ในการอนุรักษ์และฟืน้ ฟูระบบนิเวศอีกทางหนึ่ง การจา่ ยค่าตอบแทนการบริการ
ของระบบนิเวศเป็นความสมคั รใจและอยู่บนพื้นฐานของความสนใจและข้อตกลงระหวา่ งผู้เข้ามามีส่วนร่วม
ภายใตก้ ารจัดการผ้ใู ช้บรกิ ารของระบบนิเวศ เช่น คนเมือง ผ้ใู ชน้ ้ำ นกั ธรุ กจิ จะต้องมคี วามเต็มใจในการจ่าย
เพื่อจะได้ใช้บริการ และผู้ให้บริการ (เจ้าของพื้นที่ป่า ผู้ดูแลรักษาระบบนิเวศนั้น ๆ) จะต้องเต็มใจในการ
รักษาไว้ ซึ่งการบริการของระบบนิเวศเพื่อไดร้ บั การจ่ายค่าตอบแทน
จากแนวคิดดังกล่าว เมื่อนำไปสู่การปฏิบัติจะเป็นการสร้างระบบให้บุคคล กลุ่มคน หรือชุมชนท่ี
ดูแลรักษาระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติหรือผู้ให้บรกิ ารควรจะได้รับค่าชดเชยหรือผลตอบแทน และ
บุคคลหรือกลุ่มทีไ่ ด้รับผลประโยชน์จากระบบนเิ วศและทรพั ยากรธรรมชาตคิ วรจะต้องจ่ายเพ่ือแลกเปล่ียน
กับการบริการด้านสิ่งแวดล้อมหรือประโยชน์ที่ได้รับ โดยองค์ประกอบท่ีสำคัญในการดำเนินกลไกการจ่าย
ค่าตอบแทนการบริการของระบบนิเวศ ได้แก่ (1) เป็นข้อตกลงที่เกิดขึ้นจากความสมัครใจ ระหว่างผู้ซ้ือ
และผู้ขายบริการของระบบนิเวศ (2) มีการกำหนดชนิดการบริการของระบบนิเวศที่ชัดเจน มีผู้ซื้อหรือ
ผไู้ ด้รบั ประโยชน์จากบริการของระบบนิเวศอย่างน้อยหนึง่ ราย (3) มผี ้ขู ายหรือผจู้ ดั หาดูแลบริการของระบบ
นิเวศอย่างน้อยหนึ่งราย อยู่ภายใต้เงื่อนไขที่ว่าผู้จ่ายจะจ่ายค่าตอบแทนก็ต่อเมื่อมีการจัดหาบริการของ
ระบบนิเวศอยา่ งสม่ำเสมอ ในช่วงระยะเวลาท่กี ำหนด
ตัวอย่างการจ่ายค่าตอบแทนการบริการของระบบนิเวศในด้านต่าง ๆ เช่น การบริการด้านการ
ป้องกันต้นน้ำ การบริการด้านการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ การบริการด้านความสวยงามของ
ภมู ทิ ศั น์ และการบริการด้านการกกั เกบ็ คารบ์ อน มีรายละเอยี ดดงั น้ี
5.3.1 การบริการดา้ นการปอ้ งกันต้นน้ำ
1) การเก็บคา่ ใช้น้ำจากกลุ่มผู้ใชเ้ พ่ือนำมาจ่ายเปน็ ค่าตอบแทนให้กับชุมชนที่ดูแลรักษาพ้ืนท่ีต้นน้ำ
เพื่อให้ระบบนเิ วศปา่ ไมใ้ นพืน้ ที่น้ันสามารถใหน้ ้ำท่ีมปี ริมาณเพียงพอและคุณภาพที่ดี เชน่
1.1) การจัดเก็บค่าธรรมเนียมในการดูแลรักษาพื้นที่ต้นน้ำในประเทศอินเดีย โดยการจัดต้ัง
กองทุนท้องถนิ่ เพ่ือการจัดการลุ่มนำ้ โดยการระดมทนุ จากการบริจาคของชุมชนและประชาชนเพ่ือกิจกรรม
ในการดแู ลรักษาลุม่ นำ้ ของชมุ ชน
86 I การใหบ้ รกิ ารของระบบนิเวศป่าไม้ และแนวทางการประเมินมลู คา่
1.2) การจดั เก็บคา่ ธรรมเนียมการรกั ษาพ้นื ทต่ี ้นนำ้ ในประเทศโคลมั เบีย โดยการออกกฎหมาย
กำหนดให้โรงไฟฟา้ พลังงานนำ้ จะต้องหักเงนิ รายไดจ้ ำนวนร้อยละ 3 ให้กบั รัฐบาลทอ้ งถ่ินในพ้ืนที่น้ันเพ่ือนำ
เงินไปดูแลรักษาพื้นที่ต้นน้ำและรักษาความสะอาดในพื้นท่ี และกำหนดให้หักร้อยละ 1 ของการลงทุนเพื่อ
ใช้ในการป้องกันรักษาพน้ื ท่ปี า่ ตน้ น้ำ
2) การจัดตั้งกองทุนการใชน้ ้ำเพื่อนำไปสนับสนุนชุมชนในการอนุรักษ์พื้นที่ป่า เช่น ประเทศลาวมี
การจัดตั้งกองทุนอนุรักษ์พื้นที่ต้นน้ำเพื่อดูแลรักษาป่าและสัตว์ป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ ทั้งนี้ การดำเนินการมี
ข้อจำกัดของผู้ดแู ลระบบนเิ วศเน่อื งจากขาดอำนาจในการต่อรองเพ่ือให้ไดร้ บั ค่าตอบแทน
3) การเป็นแหล่งอนุรักษ์ดินและน้ำ มีการดำเนินการในเรื่องนี้ในรูปแบบการยกเว้นภาษีสำหรับ
เจ้าของที่ดินที่อนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่ของตนเอง เช่น การจัดเก็บภาษีเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรทาง
ชีวภาพ และการลดภาษีสำหรับเจ้าของที่ดินที่มีเอกสารสิทธ์ิในการดูแลรักษาระบบนิเวศในประเทศ
ออสเตรเลยี แคนาดา และหลายประเทศในทวปี แอฟริกา
4) การจัดเก็บค่าธรรมเนียมการใช้น้ำจากเกษตรกรรายใหญ่ในพื้นที่เพื่อนำเงินไปใช้ในการจัดการ
ล่มุ น้ำบนทีส่ งู เชน่ การปลกู ป่าทดแทน การควบคุมการพงั ทลายของดนิ การนำเงนิ มาซื้อท่ีดินที่มคี วามเสี่ยง
ต่อดินถล่ม ทั้งนี้การดำเนินการมีข้อจำกัดคือ ทรัพยากรชีวภาพมีความเกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน ทำให้ไม่
สามารถแยกส่วนของทรพั ยากรชวี ภาพได้อย่างชดั เจน
5.3.2 การบริการด้านการอนรุ กั ษค์ วามหลากหลายทางชีวภาพ
1) การจ่ายเงินค่าตอบแทนให้กับเกษตรกรที่เลิกใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช มีการอนุรักษ์พันธุ์
พ้ืนเมอื ง และการปลูกพืชในพ้นื ทีท่ ำการเกษตร
2) ผบู้ ริโภคจ่ายเงนิ ซือ้ สนิ ค้า และบริการท่ีเป็นราคารวมต้นทุนในการฟน้ื ฟู และอนรุ กั ษ์ระบบนิเวศ
ปา่ ไม้
3) บริษัทผลิตยาจ่ายเงินเพื่อรักษาพื้นที่ป่าไม้ที่มีทรัพยากรหรือมีความหลากหลายทางชีวภาพ ท่ี
อาจนำมาใชผ้ ลิตยาได้
5.3.3 การบรกิ ารด้านความสวยงามของภูมทิ ัศน์
การเป็นแหลง่ พักผอ่ นหยอ่ นใจเน่อื งจากความสวยงาม โดยมีการดำเนินการจัดเกบ็ ค่าตอบแทนจาก
ผู้ประกอบการท่องเที่ยวตามแหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่ป่าให้กับเจ้าของที่ดินที่รักษาความสวยงามของแหล่ง
ท่องเท่ียว ทง้ั นี้ ผู้ให้บริการส่วนใหญ่เป็นหน่วยงานภาครัฐทดี่ ูแลพนื้ ทีอ่ นุรกั ษ์ที่มกี ารจัดเก็บคา่ บริการต่ำกว่า
มลู ค่าทค่ี วรไดร้ ับ
5.3.4 การบริการดา้ นการกักเกบ็ คาร์บอน
การจัดเก็บคา่ ตอบแทนจากอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดมลพิษเพ่ือนำเงินมาทำกิจกรรมการปลูกต้นไม้
และการอนุรักษ์ป่าเพื่อเป็นแหล่งดูดซับคาร์บอน และนำปริมาณคาร์บอนที่ลดได้จากภาคป่าไม้ไปขายใน
ตลาดคาร์บอน เช่น รายได้จากการขายคาร์บอนเครดิตจากภาคป่าไม้ ทั้งน้ี การกักเก็บคาร์บอนของป่าไม้
จะกลา่ วถึงต่อไปในบทที่ 7
คู่มือการประเมนิ มูลคา่ ต้นไม้ I 87
5.4 วิธีการประเมนิ มูลค่าการใหบ้ ริการทางนเิ วศของปา่ ไม้
การประเมินมูลค่าการให้บริการของระบบนิเวศป่าไม้สามารถทำได้หลายแนวทาง ทั้งการประเมิน
มูลค่าการให้บริการของระบบนิเวศป่าไม้ในเชิงเศรษฐศาสตร์ ซึ่งเป็นการวัดมูลค่าของการเปลี่ยนแปลง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อความกินดีอยู่ดีของมนุษย์ (Freeman, 2003) เช่น การ
เปลี่ยนแปลงของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมมีผลต่อความกินดีอยู่ดีของมนุษย์ผ่านระบบตลาดโดยมีผลต่อ
การเปลย่ี นแปลงรายได้ของผูผ้ ลิต และการเปลีย่ นแปลงของราคาของสินค้าและบริการ หรืออาจจะมีผลต่อ
สนิ คา้ และบริการท่ีระบบตลาดไม่สามารถสะทอ้ นมูลค่าทแี่ ทจ้ ริงได้ เชน่ การเปลีย่ นแปลงสภาพแวดล้อมท่ีมี
ผลตอ่ สขุ ภาพและทัศนยี ภาพของส่ิงแวดลอ้ ม เปน็ ต้น ภาพที่ 5.3 แสดงประเภทของมลู คา่ ทางเศรษฐกิจของ
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมทางเศรษฐศาสตร์ ซง่ึ สามารถแบง่ ออกเปน็ 3 กลุ่ม ได้แก่ (1) มูลค่าเกิด
จากการใช้ (use value) ท้ังมลู คา่ ทเ่ี กดิ จากการใช้ทางตรง (direct use value) และมูลคา่ ทเี่ กิดจากการใช้
ทางอ้อม (indirect use value) (2) มูลค่าที่ไม่ไดเ้ กิดจากการใช้ (non-use value) ทั้งมูลค่าของการคงอยู่
(existence value) และมูลค่าที่เก็บรักษาไว้เพื่อให้คนรุ่นต่อไปได้ใช้ในวันข้างหน้า (bequest value)
(3) มูลค่าเผอ่ื ใช้ (option value) ซ่ึงเปน็ มลู คา่ ท่ีมนุษย์อาจจะไม่ไดใ้ ช้ประโยชนจ์ ากทรัพยากรในปัจจุบันไม่
ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม แต่ก็มีความต้องการที่จะเก็บรักษาทรัพยากรนั้นไว้เพื่อที่จะใช้ประโยชน์ได้
ในอนาคต
ภาพที่ 5.3 ประเภทของมูลคา่ ส่ิงแวดลอ้ ม
ทมี่ า: สถาบันวจิ ยั เพอ่ื การพฒั นาประเทศไทย (2549)
นอกจากนี้ ยังมีการประเมินมูลค่าสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นวิธีการที่นำเอามูลค่าผลกระทบที่เป็นตัวเงิน
ทั้งด้านต้นทุนและประโยชน์ของโครงการพัฒนาส่วนใหญ่มักส่งผลกระทบทางลบต่อทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมในบริเวณใกล้เคียง (ภาพที่ 5.4) นอกจากนี้การประเมินมูลค่าสิ่งแวดล้อมยังสามารถนำไป
ประยุกต์ใชไ้ ด้ในหลายๆ กรณี ดังแสดงในตารางที่ 5.2
88 I การให้บริการของระบบนิเวศปา่ ไม้ และแนวทางการประเมนิ มลู คา่
ภาพท่ี 5.4 ตวั อยา่ งการประเมินมูลค่าทรพั ยากรธรรมชาติ
ตารางท่ี 5.2 ตัวอยา่ งการประยกุ ตใ์ ช้การประเมนิ มลู คา่ ส่งิ แวดลอ้ ม
การนำไปประยกุ ตใ์ ช้ เทคนคิ การประเมนิ มูลคา่ ส่งิ แวดลอ้ ม
การวิเคราะห์ต้นทนุ และประโยชน์ของโครงการ และ วธิ ีการประเมนิ โดยการวดั ความพึงพอใจแบบเปดิ เผย วิธีการ
รวมถงึ กฎระเบียบข้อบังคบั ต่าง ๆ ประเมนิ มลู ค่าทางตรง และวธิ ีการถา่ ยโอนผลประโยชน์
การจดั ลำดบั ความสำคญั ของปญั หาสงิ่ แวดล้อมเพอ่ื สว่ นใหญ่จะใช้วิธกี ารถ่ายโอนผลประโยชน์
กำหนดในแผนการพัฒนาต่าง ๆ
การกำหนดภาษสี ่งิ แวดล้อม หรอื ค่าธรรมเนียม ส่วนใหญจ่ ะใช้วิธกี ารถา่ ยโอนผลประโยชน์ แตใ่ นบางกรณที ีม่ ี
สิ่งแวดล้อม งบประมาณและเวลาเพียงพอมกี ารใชว้ ธิ กี ารประเมนิ โดยการวดั
ความพงึ พอใจแบบเปิดเผย และวธิ กี ารประเมนิ มลู คา่ ทางตรง
การประเมินความเสยี หายในคดคี วามทางศาล วธิ ีการประเมินโดยการวดั ความพงึ พอใจแบบเปิดเผย วิธกี าร
ประเมินมลู ค่าทางตรง และวธิ กี ารถ่ายโอนผลประโยชน์
การจัดทำบญั ชีรายไดป้ ระชาชาตสิ เี ขียว สว่ นใหญใ่ ช้วิธีการถา่ ยโอนผลประโยชน์
(Green National Income Accounting)
ท่ีมา: ดดั แปลงจาก Bateman et al. (2002)
อย่างไรก็ตาม ในท่นี ี้ ได้นำวิธกี ารประเมินมลู ค่าการให้บริการทางนิเวศป่าไม้ของกรมอุทยานแห่งชาติ
สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ซึ่งได้มีการพัฒนาการประเมินมูลค่าของป่าตน้ นำ้ มาอย่างต่อเน่ือง เพื่อนำมาประยุกต์ใช้
ในการปรับผู้ทำลายป่า ในขณะเดียวกันก็นำไปใช้ในการจ่ายค่าตอบแทนแก่ผู้รักษาระบบนิเวศป่าไม้ด้วย
โดยจดั ทำออกมาเป็นแบบจำลองคณติ ศาสตร์เพ่อื ประเมนิ มูลคา่
คู่มอื การประเมนิ มูลคา่ ตน้ ไม้ I 89
5.4.1 แนวคิดการประเมินมลู คา่ ระบบนิเวศป่าไม้
พงษ์ศักดิ์ และคณะ (2554) เสนอแนวคิดการประเมินมูลค่าระบบนิเวศป่าต้นน้ำจากการวิเคราะห์
องค์ประกอบของระบบนเิ วศต้นน้ำ ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คอื
1) โครงสร้าง (structure) ของระบบนิเวศ คือ ปัจจยั ต่าง ๆ ทปี่ ระกอบตวั กันขึ้นเปน็ รปู ร่างหน้าตา
ของป่าตน้ นำ้ เช่น ดนิ น้ำ ปา่ ไม้ สตั ว์ป่า และอากาศ
2) การทำงานตามหน้าท่ี (function) ของระบบนิเวศ คอื กระบวนการ (process) ตา่ ง ๆ ท่เี กิดข้ึน
จากปฏิกรยิ าโต้ตอบซึ่งกนั และกนั ระหว่างปัจจัยแต่ละตวั ท่ีเปน็ องค์ประกอบของโครงสร้างระบบนเิ วศ เช่น
กระบวนการสร้างดิน กระบวนการหมุนเวียนของน้ำและธาตุอาหาร และกระบวนการหมุนเวียนของ
พลังงาน
3) การให้บริการ (services) ของระบบนิเวศที่เป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ ประกอบไปด้วย การให้ผล
ผลิตที่เป็นเนื้อไม้ ของป่า และอาหารจากสัตว์ป่า การควบคุมการดูดซับน้ำฝนของดินและการระบายน้ำ
จากช้ันดนิ ลงสูล่ ำธาร การบรรเทาความรุนแรงของอากาศ การเปน็ แหล่งเรยี นรูท้ างธรรมชาติ และการเป็น
สถานทพี่ ักผอ่ นหยอ่ นใจ
ในการกำหนดแนวคิดการประเมินมูลค่าระบบนิเวศป่าต้นน้ำ พงษ์ศักดิ์ และคณะ (2554) ได้นำ
สมมุติฐานและทฤษฎีต่าง ๆ มาประมวลเพื่อสร้างแนวคิดการประเมินผลกระทบ สมมุติฐานแรกกล่าวว่า
ชนดิ ปรมิ าณ สดั สว่ น และการกระจายของปัจจัยแต่ละตัวทีเ่ ปน็ องคป์ ระกอบของโครงสร้างระบบนิเวศ ซ่ึง
แตกต่างกันไปในแต่ละท้องที่ จะส่งผลทำให้การทำงานตามหน้าที่ในการให้บริการของระบบนิเวศต้นน้ำ
แตกต่างกันไปด้วย ทฤษฎีที่สองระบุว่า ภายในระบบนิเวศต้นน้ำ ดิน น้ำ ป่าไม้ สัตว์ป่าและอากาศจะมี
ความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันอย่างใกล้ชิด ถ้าปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งมีการเปลี่ยนแปลงไป อาจส่งผลทำให้ปัจจยั
อ่ืนๆ มีการเปล่ียนแปลงตามไปด้วย
จากสมมุติฐานและทฤษฎีทั้งสอง เมื่อนำมาประมวลเข้าด้วยกัน สามารถสร้างแนวคิดขึ้นมาได้ว่า
การทำลายปา่ ไม้ จะทำใหด้ ิน นำ้ สัตว์ปา่ และอากาศ ตลอดจนการทำงานตามหน้าที่ในการให้บริการที่เป็น
ประโยชน์ต่อมนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย เมื่อนำกระบวนการภายในโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การ
หมุนเวียนของน้ำและพลังงานมาประกอบกับแนวคิดดังกล่าวแล้ว สามารถจำลองเหตุการณ์ (simulation)
การเกดิ ผลกระทบทางส่ิงแวดลอ้ มจากการทำลายป่าต้นน้ำไดด้ ังแสดงในภาพที่ 5.5
การทำลายปา่ ไม้ทำให้ผิวดินถกู เปิดโล่ง แรงตกกระทบของเมด็ ฝนทำใหผ้ วิ ดนิ ถกู อัดแน่น ดินผิวจะ
ดดู ซบั น้ำฝนได้น้อยลง ฝนที่ตกตามมาภายหลังจึงเอ่อนองตามผวิ หนา้ ดินเป็นส่วนใหญ่ แลว้ จึงไหลลงสู่พ้ืนท่ี
ต่ำ และ/หรือ ลำธารทางผิวดิน เรียกว่าน้ำไหลบ่าหน้าผิวดิน (surface runoff) ในขณะที่น้ำไหลบ่าหน้า
ผิวดินอยู่น้ี จะมีพลังงานมากพอที่จะกัดเซาะและพัดพาเอาผิวหน้าดินที่อุดมสมบูรณ์ ก่อให้เกิดเป็นการ
สูญเสียนำ้ ดิน และธาตุอาหารขึน้ (ภาพที่ 5.6)
90 I การให้บริการของระบบนิเวศปา่ ไม้ และแนวทางการประเมนิ มลู คา่
ภาพที่ 5.5 โครงสร้างและการทำงานในการให้บริการของระบบนิเวศป่าไม้
ภาพท่ี 5.6 แนวคิดในการกำหนดผลกระทบทางส่งิ แวดล้อมทเี่ กิดข้ึนจากการทำลายระบบนเิ วศป่าไม้
ในทำนองเดียวกันเมื่อผิวดินถูกเปิดโล่ง พลังงานจากดวงอาทิตย์สุทธิ (net radiation: Rn) จะตก
กระทบผิวดนิ โดยตรง พลังงานดงั กลา่ วนีโ้ ดยปกติจะถกู ใช้ไปในการระเหยนำ้ (latent heat flux: LE) กอ่ น
แต่เมื่อดินผิวไม่มีน้ำหลงเหลืออยู่เนื่องจากดินไม่ดูดซับน้ำ พลังงานส่วนใหญ่จึงถูกใช้ไปในการเพิ่มความ
ร้อนให้กับดิน (soil heat flux: G) และการเผาผลาญอากาศ (sensible heat flux: H) แทน นั่นคือ
Rn=LE+G+H สำหรับดินเองเม่ือไดร้ ับพลังงานจากดวงอาทติ ย์ พลงั งานสว่ นหนึ่งจะถูกใช้ไปในการขยายตัว
และส่วนที่เหลือจะถูกใช้ไปในการเพิ่มความร้อนให้กับดิน ซึ่งความร้อนดังกล่าวนี้จะถูกคายกลับ
(reradiation) ออกมาให้อากาศอีกครั้งในรูปของรังสีคลื่นยาว ทั้ง sensible heat flux โดยตรงและ
คมู่ อื การประเมินมลู คา่ ต้นไม้ I 91
reradiation จากดิน ทำให้อุณหภูมอิ ากาศเหนือผวิ ดิน หรืออุณหภูมิอากาศในระดบั อุตุนยิ มวทิ ยาใกล้ผิวดิน
(microclimate) เพมิ่ มากขึน้ ในชว่ งเวลากลางวันและหวั คำ่
5.4.2 แบบจำลองมูลคา่ ระบบนิเวศปา่ ไม้
แบบจำลองมูลค่าระบบนิเวศป่าไม้เป็นแบบจำลองที่มีลักษณะต่อยอดจากแบบจำลองมูลค่าความ
หลากหลายทางชีวภาพ (biodiversity value: BDV) โดยพงษ์ศักดิ์ และคณะ (2550) ใช้ความหลากหลาย
ทางชีวภาพ เป็นตัวชี้วัดความสมบูรณ์ของต้นไม้ที่ปลูก และใช้ปัจจัยที่มีบทบาทต่อการดูดซับและเก็บกัก
น้ำฝน กบั การสร้างความรม่ เย็นใหก้ บั พื้นท่เี ป็นตัวแปรในการประเมินคา่ ตวั ชว้ี ดั ดงั สมการที่ (1)
BDV = 0.45(10.46+0.11(CC*CS))0.62*(25.16+45.26(BA*SD))0.59 (1)
โดยที่ CC คือ รอ้ ยละการปกคลมุ พ้ืนทีเ่ รือนยอด
CS คอื จำนวนช้นั เรอื นยอด
BA คือ รอ้ ยละ พนื้ ที่หน้าตดั ของลำต้นต่อหน่วยพ้นื ที่
SD คอื ความลึกของชนั้ ดิน
นอกจากนี้ พงษ์ศักดิ์ และคณะ (2554) ได้สร้างสมการคณิตศาสตร์ที่ใช้สำหรับประเมินผลกระทบ
ในด้านต่าง ๆ ทเ่ี กิดขน้ึ จากการทำลายป่าไม้ ซ่งึ ประกอบไปด้วย ปริมาณนำ้ สญู หายจากการไม่ดูดซับน้ำของ
ผิวดิน ปริมาณดินสูญหายและปุ๋ยสูญหายจากกระบวนการกัดชะพังทลายของดิน และปริมาณน้ำสูญหาย
กบั การเพ่มิ ขนึ้ ของอุณหภมู ิอากาศจากการแผดเผาของแสงแดด
สำหรับปริมาณน้ำสูญหายจากการไม่ดูดซับน้ำฝนของผิวดิน กับปริมาณดินสูญหายจาก
กระบวนการกัดชะพังทลายของดินนั้น จะนำแนวคิดของสมการสูญเสียดินสากล หรือ Universal Soil
Loss Equation (USLE) ของประเทศสหรัฐอเมริกามาประยุกต์ใช้ นั่นคือปัจจัยที่มีบทบาทต่อการสญู หาย
ดังกล่าว ได้แก่ ปริมาณน้ำฝน ชนิดดิน ปัจจัยลักษณะภูมิประเทศที่ประกอบไปด้วยความลาดชันของพื้นท่ี
และความยาวของด้านลาดเทที่ถูกทำลาย และชนิดกับปริมาณพืชคลุมดิน สมการเพื่อประเมินค่าการ
สูญเสียน้ำจากการไม่ดูดซับน้ำฝนของผิวดิน และการสูญเสียดินจากกระบวนการกัดชะพังทลายของดินจะ
อยใู่ นรปู ของสมการสหสมั พันธ์ (multiple regression equations) ดังสมการที่ (2) – (4)
Sr = 4.97 + 0.004*Ra + 42.24*K + 0.09*LS + 0.31Ft r2 = 0.8537 (2)
Sd = 0.62 + 0.002*Ra + 3.84*K + 0.18*LS + 0.41*Ft r2 = 0.9599 (3)
เม่ือ Sr เปน็ ปริมาณน้ำไหลบา่ หนา้ ผวิ ดนิ ทเ่ี กดิ ข้นึ จากการไม่ดูดซับนำ้ ฝนของดิน (มม./ปี)
SD เป็นปรมิ าณดนิ สูญหายจากกระบวนการกดั ชะพังทลายของดิน (ตัน/เฮกแตร์/ปี)
Ra เปน็ ปรมิ าณนำ้ ฝนรายปี (มม.)
K เปน็ ค่าคะแนนของเน้ือดนิ (ไม่มหี น่วยวัด)
LS เป็นค่าคะแนนปัจจัยลักษณะภมู ปิ ระเทศ (ไม่มีหน่วยวัด)
Ft เปน็ ค่าคะแนนพืชคลมุ ดนิ (ไม่มหี น่วยวดั )
92 I การให้บรกิ ารของระบบนเิ วศป่าไม้ และแนวทางการประเมินมูลคา่
LS = 0.0056*(S*L)0.997 r2 = 0.8883 (4)
เมื่อ S เป็นค่าความลาดชัน (slope) ของพ้ืนที่ (%)
L เปน็ คา่ ความยาวดา้ นลาดเท (slope length) ของพ้นื ท่ี (เมตร)
ส่วนการสูญเสียปริมาณธาตุอาหารหลัก ซึ่งประกอบไปด้วย ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม
ที่เป็นผลสืบเนื่องมาจากกระบวนการกัดชะพังทลายของดินนั้น พงษ์ศักดิ์ และคณะ (2554) ได้นำร้อยละ
พื้นที่หน้าตัดลำต้นของไมท้ ุกต้นตอ่ หน่วยพืน้ ท่ี (percent of basal area) มาเป็นตัวแปรในการประเมินค่า
ด้วยเหตุผลที่ว่าตัวแปรดังกล่าวมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับปริมาณอินทรียวัตถุที่ผิวดิน ในทำนอง
เดียวกันอินทรียวตั ถุในดนิ จะเป็นแหล่งสะสมตัวของธาตุอาหารหลัก สำหรับสมการทีใ่ ช้ประเมินค่าปรมิ าณ
ธาตุอาหารหลักที่สูญหาย อันเนื่องมาจากกระบวนการกัดชะพังทลายของดิน จะอยู่ทั้งในรูปของสมการ
เสน้ ตรง (linear equation) และสมการ quadratic function ดงั สมการท่ี (5) – (7)
N = 0.05*((22.32*BA) – 1.55) (5)
P = 14.61 – 170.14*BA + 150.34*BA2 (6)
K = 9.45 + 414.43*BA (7)
เมอ่ื N เปน็ ปรมิ าณธาตไุ นโตรเจนที่สญู เสยี ออกไปจากพื้นท่ี (%)
P เปน็ ปริมาณธาตุฟอสฟอรสั ทสี่ ูญเสียออกไปจากพ้ืนท่ี (ppm)
K เปน็ ปรมิ าณธาตุโพแทสเซียมที่สญู เสยี ออกไปจากพ้นื ท่ี (ppm)
ในส่วนของการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิอากาศในระดับอุตุนิยมวิทยาใกล้ผิวดิน (ตั้งแต่ผิวดินถึงเรือน
ยอดต้นไม้) จะนำข้อมูลเกี่ยวกับพืชคลุมดินมาเป็นตัวแปรในการประเมินค่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งความ
หนาแน่นของเรือนยอด (crown density) และจำนวนชั้นเรือนยอด (canopy strata) ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้อง
กับการบดบังแสงแดด และการลดความเข้มข้นของพลังงานจากดวงอาทิตย์ ทั้งนี้ พงษ์ศักดิ์ และคณะ
(2554) ใช้การวิเคราะห์ความถดถอย (regression analysis) เป็นเครื่องมอื ในการสรา้ งสมการคณิตศาสตร์
รูปแบบต่าง ๆ เพื่อประเมินค่าผลกระทบในแต่ละด้านจากปัจจัยที่เกี่ยวข้อง โดยสมการคณิตศาสตร์ที่
เหมาะสมสำหรับใช้ประเมินค่าอุณหภูมิอากาศในระดับอุตุนิยมวิทยาใกล้ผิวดินในเวลากลางวันและหัวค่ำ
จะอยู่ในรูปของ quadratic function ดงั สมการท่ี (8)
Td = 0.0394*Ft + 0.0011*Ft – 1.3286 r2 = 0.9784 (8)
เมอ่ื Td เป็นอุณหภูมอิ ากาศทสี่ ูงข้นึ (องศาเซลเซียส)
Ft เปน็ ค่าคะแนนพชื คลมุ ดนิ (ไม่มหี น่วยวัด)