The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือรวมกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับเกี่ยวกับจริยธรรม จรรยา และวินัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by gluayping2528, 2022-04-25 07:35:37

หนังสือรวมกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับเกี่ยวกับจริยธรรม จรรยา และวินัย

หนังสือรวมกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับเกี่ยวกับจริยธรรม จรรยา และวินัย

รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอ ับงคับเ ี่กยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิวนัย njǎdžƫƲǝdžǢǘ njǥǦǕˢǘǕ ǧǓǥƺ˒ǠǕˎǏƾˎǕ
สำห ัรบ ขาราชการ ลูกจาง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย Ǧƫˑǘˢ ǎƫˎǕǍnjˠǘNjnjnjdž ǍnjnjǘǢ ǧǓǥǎDžˠ ˎǘ

ǔ˨ǢǝnjˎǕƺ˒ǢnjǢƼƫǢnj Ǔ˱ƫǍ˒ǢǏ ǜDžˎƫǏǢDžnjǢƼƫǢnj
ǧǓǥǜDžˎƫǏǢDžƫnjǥǃnjǎǏǔǢNjǢnjLjǔ˯ ƺ
ƫ nj dž Ǡ Dž Ǣ džˎ ǘ

๑๑๐ ( ǒ Ǖˎ Ǖ ǖ njˎ Ǖ ǖ nj˯ Ǐ ǜ . ǀ . Ȗ ș Ț Ș )

รวมกฏหมาย ระเบยี บ และข้อบงั คบั เกี่ยวกบั จริยธรรม จรรยา และวินยั
สำหรับขา ราชการ ลูกจา ง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณสขุ กรมอนามยั

4

รวมกฎหมาย ระเบยี บ และขอ บังคบั เกย่ี วกบั รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอ ับงคับเ ี่กยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิวนัย
จริยธรรม จรรยา และวินัย สำห ัรบ ขาราชการ ลูกจาง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย

สำหรบั ขา ราชการ ลูกจา ง พนกั งานราชการ
และพนกั งานกระทรวงสาธารณสุข
กรมอนามยั

รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอบังคับเ ี่กยวกับ จ ิรยธรรม จรรยา และ ิว ันย คำนำ
สำหรับ ขาราชการ ูลกจาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย
กรมอนามัยไดใหความสำคัญกับการสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม
และปองกันการทุจริต ของหนวยงานในสังกัด โดยใชกฎหมาย
และกฎระเบียบตางๆ มาเปนกลไกสำคัญในการใหบุคลากรมีความประพฤติ
ปฏิบัติตามนั้น เนื่องจากปจจุบันรัฐบาลและองคกรกลางตางๆ ไดพัฒนา
กลไก และตรากฎหมาย รวมทั้งปรับปรุง กฎระเบียบตางๆ ขึ้นใหม
ในสวนของกรมอนามัยจึงไดจัดทำขอบังคับวาดวยจรรยาขาราชการ
กรมอนามัย และประกาศเกณฑจริยธรรมตางๆ บนพื้นฐานของมาตรฐาน
คุณธรรม จริยธรรม มาใชในการดำเนินงานเพื่อพัฒนาองคกรใหเปนองคกร
ทม่ี สี มรรถนะสงู ทั้งในดานวชิ าการ และคณุ ธรรม จริยธรรม

กองการเจาหนาที่ โดยกลุมงานคุมครองจริยธรรม จึงรวบรวม
กฎหมาย ระเบยี บ และขอบังคบั เก่ียวกับจรยิ ธรรม จรรยา และวนิ ยั สำหรับ
ขาราชการ ลูกจาง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณสุข
กรมอนามัย ขึ้น โดยเรียบเรียงเฉพาะบทบัญญัติที่เกี่ยวของกับบุคลากร
กรมอนามัย เพ่ือเผยแพรใหบุคลากรในสังกัด ไดร ับทราบ ศกึ ษา ทำความเขาใจ
และยึดถือเปนแนวทางประพฤติปฏิบัติตน เพื่อการเปนขาราชการที่ดี
ปฏิบัติหนาที่ดวยความรับผิดชอบ ยึดมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรม
มุงมั่นในการรักษามาตรฐานงานตามหลักวิชาการ และวิชาชีพ
โดยยึดประโยชนสาธารณะเปนที่ตั้งเพื่อบรรลุภารกิจอันสำคัญย่ิง
ในการอภิบาลระบบสงเสริมสุขภาพ และระบบอนามัยสิ่งแวดลอม
เพื่อประชาชนสุขภาพดี รวมทั้งเพื่อความเจริญกาวหนาในหนาที่ราชการ
ของตนเองตอไป

กลมุ งานคุมครองจรยิ ธรรม กองการเจา หนาที่
กรมอนามยั

กนั ยายน 2564

สารบัญ

คำนำ หนา รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอบังคับเ ี่กยวกับ จ ิรยธรรม จรรยา และ ิว ันย
สารบัญ สำหรับ ขาราชการ ูลกจาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย
y พระราชบัญญัตริ ะเบียบขา ราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๕๑ 5
7
หมวด 6 วินัยและการรักษาวนิ ยั 11
หมวด 7 การดำเนนิ การทางวนิ ยั 19
หมวด 8 การออกจากราชการ 22
หมวด 9 การอุทธรณ 25
หมวด 10 การรองทุกข 27
29
y ระเบยี บกระทรวงการคลงั วาดวยลูกจา งประจำของสว นราชการ พ.ศ. ๒๕๓๗ 33
หมวด 4 วนิ ัยและการรกั ษาวนิ ัย 37
หมวด 5 การดำเนนิ การทางวินัย 40
หมวด 6 การออกจากราชการ 41
หมวด 7 การอุทธรณ 43
หมวด 8 การรอ งทุกข 45
47
y ระเบยี บสำนกั นายกรฐั มนตรวี าดว ยพนกั งานราชการ พ.ศ. 2547
หมวด 4 วินยั และการรักษาวนิ ัย 53

y ประกาศกรมอนามัย เรื่อง วนิ ัย และการดำเนินการทางวินัย 55
ของพนกั งานราชการ 59
64
y ประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสขุ เร่อื ง หลักเกณฑ 67
และวธิ ีการบรหิ ารบคุ คล วา ดวยวนิ ยั และการรกั ษาวนิ ยั การดำเนนิ การ 71
ทางวินัย การอุทธรณและการรอ งทกุ ขข องพนกั งานกระทรวงสาธารณสขุ
หมวด 1 วนิ ยั และการรักษาวินัย
หมวด 2 การดำเนินการทางวินัย
หมวด 3 การอุทธรณ
หมวด 4 การรองทกุ ข
บทเฉพาะกาล

สารบญั (ตอ)

y พระราชบัญญัติ มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒ หนา
73
y ประมวลจริยธรรมขาราชการพลเรือน 77
83
y ขอ กำหนดวา ดว ยกระบวนการรักษาจรยิ ธรรม :
กลไกและการบงั คับใชป ระมวลจริยธรรมขาราชการพลเรือน ๙๕
๑๐๑
y ขอ บงั คับกรมอนามยั วา ดว ยจรรยาขาราชการกรมอนามัย พ.ศ. 2563
๑๑๑
y แนวทางการปฏบิ ัติตามประมวลจริยธรรม ขา ราชการพลเรือน กรณีการเร่ียไร
และกรณกี ารใหหรือรบั ของขวญั หรอื ประโยชนอ ่นื ใด ๑๒๒

y ประกาศกรมอนามยั เรอ่ื ง แนวทางการปฏิบัติตามเกณฑจ รยิ ธรรมการจัดซอ้ื
จัดหาและการสง เสรมิ การขายยาและเวชภณั ฑท มี่ ใิ ชย า พ.ศ. 2564

y บรรณานุกรม

รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอ ับงคับเ ่ีกยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย
สำห ัรบ ขาราชการ ลูก จาง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย

พระราชบัญญตั ริ ะเบียบขา ราชการพลเรือน รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอ ับงคับเ ่ีกยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย
พ.ศ. ๒๕๕๑ สำห ัรบ ขาราชการ ลูก จาง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย

¾ หมวด 6 วินยั และการรกั ษาวนิ ยั
¾ หมวด 7 การดำเนนิ การทางวนิ ยั
¾ หมวด 8 การออกจากราชการ
¾ หมวด 9 การอทุ ธรณ
¾ หมวด 10 การรอ งทกุ ข

รวมกฏหมาย ระเบยี บ และข้อบงั คบั เกี่ยวกบั จริยธรรม จรรยา และวินยั
สำหรับขา ราชการ ลูกจา ง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณสขุ กรมอนามยั

หมวด 6 รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอบัง ัคบเ ่ีกยว ักบ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย
วินยั และการรักษาวินัย สำหรับ ขาราชการ ลูก จาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย

มาตรา ๘0 ขาราชการพลเรือนสามญั ตองรักษาวินัยโดยกระทำการ
หรอื ไมก ระทำการตามทบ่ี ญั ญัติไวในหมวดนโี้ ดยเครง ครดั อยเู สมอ

ขาราชการพลเรือนสามัญผูปฏิบัติราชการในตางประเทศนอกจาก
ตองรักษาวินัยตามที่บัญญัติไวในหมวดนี้แลว ตองรักษาวินัยโดยกระทำการ
หรอื ไมกระทำการตามที่กำหนดในกฎ ก.พ. ดวย

มาตรา ๘๑ ขาราชการพลเรือนสามัญตองสนับสนุนการปกครอง
ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุขดว ยความบริสทุ ธ์ิใจ

มาตรา ๘๒ ขาราชการพลเรือนสามัญตองกระทำการอันเปน
ขอ ปฏบิ ตั ิดงั ตอ ไปน้ี

(๑) ตองปฏิบัติหนาที่ราชการดวยความซื่อสัตย สุจริต
และเที่ยงธรรม

(๒) ตองปฏิบัติหนาที่ราชการใหเปนไปตามกฎหมาย กฎ
ระเบียบของทางราชการ มติของคณะรัฐมนตรี นโยบายของรัฐบาล
และปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บแบบแผนของทางราชการ

(๓) ตองปฏิบัติหนาที่ราชการใหเกิดผลดีหรือความกาวหนา
แกราชการดวยความตั้งใจอุตสาหะ เอาใจใส และรักษาประโยชน
ของทางราชการ

(๔) ตองปฏิบัติตามคำสั่งของผูบังคับบัญชาซึ่งสั่งในหนาที่
ราชการโดยชอบดวยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ โดยไมขัดขืน
หรือหลีกเลี่ยงแตถาเห็นวาการปฏิบัติตามคำสั่งนั้นจะทำใหเสียหาย
แกราชการ หรือจะเปนการไมรักษาประโยชนของทางราชการจะตองเสนอ
ความเห็นเปนหนังสือทันทเี พ่ือใหผูบังคับบัญชาทบทวนคำสั่งนั้น และเมื่อได
เสนอความเห็นแลว ถาผูบังคับบัญชายืนยันใหปฏิบัติตามคำสั่งเดิม
ผูอ ยูใตบังคับบญั ชาตองปฏบิ ัติตาม



รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และข้อบังคับเ ี่กยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย (๕) ตองอุทิศเวลาของตนใหแกราชการ จะละทิ้งหรือ
สำหรับ ขาราชการ ูลก จาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย ทอดทง้ิ หนาทรี่ าชการมิได

(๖) ตอ งรักษาความลบั ของทางราชการ
(๗) ตอ งสุภาพเรยี บรอ ย รกั ษาความสามคั คีและตองชวยเหลือกัน
ในการปฏบิ ตั ิราชการระหวา งขาราชการดว ยกนั และผรู วมปฏบิ ตั ิราชการ
(๘) ตองตอนรับ ใหความสะดวก ใหความเปนธรรม
และใหก ารสงเคราะหแกป ระชาชนผูติดตอราชการเกย่ี วกับหนาที่ของตน
(๙) ตองวางตนเปนกลางทางการเมืองในการปฏิบัติหนาที่
ราชการและในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวของกับประชาชน กับจะตองปฏิบัติ
ตามระเบียบของทางราชการวาดวยมารยาททางการเมืองของขาราชการดวย
(๑๐ ) ตองรักษาชื่อเสียงของตน และรักษาเกียรติศักดิ์
ของตำแหนงหนา ทรี่ าชการของตนมิใหเส่ือมเสีย
(๑๑) กระทำการอน่ื ใดตามทกี่ ำหนดในกฎ ก.พ.

มาตรา ๘๓ ขาราชการพลเรือนสามัญตองไมกระทำการใด
อันเปน ขอ หาม ดังตอไปน้ี

(๑) ตองไมรายงานเท็จตอผูบังคับบัญชา การรายงาน
โดยปกปดขอ ความซ่ึงควรตอ งแจงถือวา เปนการรายงานเทจ็ ดว ย

(๒) ตองไมปฏิบัติราชการอันเปนการกระทำการ
ขามผูบังคับบัญชาเหนือตน เวนแตผูบังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไปเปนผูส่ัง
ใหก ระทำหรือไดรบั อนุญาตเปนพิเศษชว่ั คร้งั คราว

(๓) ตองไมอาศัยหรือยอมใหผูอื่นอาศัยตำแหนงหนาท่ี
ราชการของตนหาประโยชนใหแกต นเองหรือผอู ่นื

(๔) ตองไมป ระมาทเลนิ เลอในหนาทีร่ าชการ
(๕) ตองไมกระทำการหรือยอมใหผูอื่นกระทำการ
หาผลประโยชนอันอาจทำใหเสียความเที่ยงธรรมหรือเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์
ของตำแหนงหนาท่รี าชการของตน



(๖) ตองไมเปนกรรมการผูจัดการ หรือผูจัดการ หรือดำรง รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และข้อบังคับเ ี่กยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย
ตำแหนงอ่นื ใดทีม่ ลี ักษณะงานคลายคลงึ กนั นน้ั ในหา งหนุ สวนหรือบริษัท สำหรับ ขาราชการ ูลก จาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย

(๗) ตองไมกระทำการอยางใดที่เปนการกลั่นแกลง กดขี่
หรอื ขมเหงกนั ในการปฏิบตั ริ าชการ

(๘) ตองไมกระทำการอันเปนการลวงละเมิดหรือคุกคาม
ทางเพศตามท่ีกำหนดในกฎ ก.พ.

(๙) ตองไมดูหมิ่น เหยียดหยาม กดข่ี หรือขมเหงประชาชน
ผูตดิ ตอ ราชการ

(๑๐) ไมก ระทำการอ่นื ใดตามทีก่ ำหนดในกฎ ก.พ.

มาตรา ๘๔ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดไมปฏิบัติตามขอปฏิบัติ
ตามมาตรา ๘1 และมาตรา ๘๒ หรือฝาฝนขอหามตามมาตรา ๘๓
ผูน น้ั เปนผูกระทำผดิ วนิ ยั

มาตรา ๘๕ การกระทำผิดวินัยในลักษณะดังตอไปนี้ เปนความผิด
วินยั อยา งรา ยแรง

(๑) ปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัตหิ นาท่ีราชการโดยมิชอบ
เพื่อใหเกิดความเสียหายอยางรายแรงแกผูหนึ่งผูใด หรือปฏิบัติหรือละเวน
การปฏิบตั ิหนาทีร่ าชการโดยทุจริต

(๒) ละทิ้งหรือทอดทิ้งหนาที่ราชการโดยไมมีเหตุผล
อนั สมควรเปนเหตุใหเสยี หายแกราชการอยางรายแรง

(๓) ละทิ้งหนาที่ราชการติดตอในคราวเดียวกันเปนเวลา
เกนิ สบิ หา วนั โดยไมม ีเหตอุ ันสมควรหรือโดยมีพฤติการณอันแสดงถึงความจงใจ
ไมป ฏบิ ตั ิตามระเบยี บของทางราชการ

(๔) กระทำการอันไดช่อื วา เปน ผูประพฤติชวั่ อยางรา ยแรง
(๕) ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ ขมเหง หรือทำราย
ประชาชนผูต ดิ ตอราชการอยางรา ยแรง
(๖) กระทำความผิดอาญาจนไดรับโทษจำคุกหรือโทษ
ที่หนักกวาโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดใหจำคุกหรือใหรับโทษที่หนักกวา



รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอ ับงคับเ ี่กยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิวนัย โทษจำคุกเวนแตเปนโทษสำหรับความผิดที่ไดกระทำโดยประมาท
สำห ัรบ ขาราชการ ลูกจาง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย หรือความผิดลหโุ ทษ

(๗) ละเวนการกระทำหรือกระทำการใดๆ อันเปนการ
ไมปฏิบัติตามมาตรา ๘๒ หรือฝาฝนขอหามตามมาตรา ๘3 อันเปนเหตุ
ใหเสียหายแกราชการอยา งรา ยแรง

(๘) ละเวนการกระทำหรือกระทำการใดๆ อันเปนการ
ไมปฏิบัติตามมาตรา ๘0 วรรคสองและมาตรา ๘๒ (๑๑) หรือฝาฝนขอหาม
ตามมาตรา ๘๓ (๑๐) ที่มีกฎ ก.พ. กำหนดใหเ ปนความผิดวินัยอยา งรา ยแรง

มาตรา ๘๖ กฎ ก.พ. ตามมาตรา ๘0 วรรคสอง มาตรา ๘๒ (๑๑)
มาตรา ๘๓ (๘) และ (๑๐) และมาตรา ๘๕ (๘) ใหใชสำหรับการกระทำ
ทีเ่ กิดขึ้นภายหลังจากทีก่ ฎ ก.พ. ดงั กลา วใชบ งั คับ

มาตรา ๘๗ ใหผูบังคับบัญชามีหนาที่เสริมสรางและพัฒนา
ใหผูอยูใตบังคับบญั ชามีวินัยและปองกนั มิใหผูอ ยูใตบังคบั บัญชากระทำผิดวินยั
ทั้งน้ี ตามหลกั เกณฑแ ละวธิ ีการท่ี ก.พ. กำหนด

มาตรา ๘๘ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทำผิดวินัย
จะตองไดรับโทษทางวินัย เวนแตมีเหตุอันควรงดโทษตามที่บัญญัติไวใน
หมวด ๗ การดำเนนิ การทางวนิ ยั โทษทางวินัยมี ๕ สถาน ดงั ตอไปนี้

(๑) ภาคทัณฑ
(๒) ตดั เงินเดือน
(๓) ลดเงนิ เดือน
(๔) ปลดออก
(๕) ไลอ อก

มาตรา ๘๙ การลงโทษขาราชการพลเรือนสามัญใหทำเปนคำสั่ง
ลงโทษตองสั่งลงโทษใหเหมาะสมกับความผิดและตองเปนไปดวย
ความยุติธรรมและโดยปราศจากอคติ โดยในคำสั่งลงโทษใหแสดงวา
ผูถกู ลงโทษกระทำผิดวนิ ยั ในกรณีใดและตามมาตราใด

๑๐

หมวด 7 รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอ ับงคับเ ี่กยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิวนัย
การดำเนินการทางวินยั สำห ัรบ ขาราชการ ลูกจาง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย

มาตรา ๙0 เมื่อมีการกลาวหาหรือมีกรณีเปนที่สงสัยวาขาราชการ
พลเรือนสามัญผูใดกระทำผิดวินัย ใหผูบังคับบัญชามีหนาที่ตองรายงาน
ใหผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ทราบโดยเร็ว
และใหผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ดำเนินการ
ตามพระราชบัญญตั นิ ี้ โดยเรว็ ดวยความยตุ ธิ รรมและโดยปราศจากอคติ

ผูบังคับบัญชาหรือผบู ังคับบัญชาซง่ึ มอี ำนาจสง่ั บรรจตุ ามมาตรา ๕๗
ผูใดละเลยไมปฏิบัติหนาที่ตามวรรคหนึ่ง หรือปฏิบัติหนาที่โดยไมสุจริต
ใหถือวาผนู ัน้ กระทำผิดวินยั

อำนาจหนาท่ีของผูบังคับบัญชาซึง่ มีอำนาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗
ตามหมวดนี้ ผูบ ังคับบญั ชาซงึ่ มีอำนาจสงั่ บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ จะมอบหมาย
ใหผูบ ังคบั บญั ชาระดับตำ่ ลงไปปฏิบัติแทนตามหลกั เกณฑท ี่ ก.พ. กำหนดก็ได

มาตรา ๙1 เมื่อไดรับรายงานตามมาตรา ๙๐ หรือความดังกลาว
ปรากฏตอผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕7
ใหผบู งั คบั บัญชาซง่ึ มอี ำนาจสัง่ บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ รบี ดำเนนิ การหรือส่ังให
ดำเนินการสืบสวนหรือพิจารณาในเบื้องตนวากรณีมีมูลที่ควรกลาวหาวา
ผูนั้นกระทำผิดวินัยหรือไมถาเห็นวากรณีไมมีมูลที่ควรกลาวหาวากระทำผดิ
วินยั กใ็ หยุตเิ รอ่ื งได

ในกรณที ีเ่ ห็นวามีมลู ทีค่ วรกลาวหาวาขาราชการพลเรือนสามัญผูใด
กระทำผิดวินัยโดยมีพยานหลักฐานในเบื้องตนอยูแลว ใหดำเนินการตอไป
ตามมาตรา ๙๒ หรอื มาตรา ๙๓ แลวแตกรณี

มาตรา ๙๒ ในกรณีที่ผลการสืบสวนหรือพิจารณาตามมาตรา ๙๑
ปรากฏวากรณีมีมูลถาความผิดนั้นมิใชเปนความผิดวินัยอยางรายแรง
และไดแจงขอกลาวหาและสรุปพยานหลักฐานใหผูถูกกลาวหาทราบ
พรอมทั้งรับฟงคำชี้แจงของผูถูกกลาวหาแลวผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจ

๑๑

รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอบังคับเ ี่กยวกับ จ ิรยธรรม จรรยา และ ิว ันย สั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ เห็นวาผูถูกกลาวหาไดกระทำผิดตามขอกลาวหา
สำหรับ ขาราชการ ูลกจาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย ใหผูบงั คับบัญชาสง่ั ลงโทษตามควรแกกรณีโดยไมต ั้งคณะกรรมการสอบสวนกไ็ ด

ในกรณีตามวรรคหนึ่ง ถาผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุ
ตามมาตรา ๕๗ เห็นวาผูถูกกลาวหาไมไดกระทำผิดตามขอกลาวหา
ใหผ ูบ งั คบั บญั ชาดงั กลาวสงั่ ยตุ ิเรือ่ ง

มาตรา ๙๓ ในกรณีที่ผลการสืบสวนหรือพิจารณาตามมาตรา ๙๑
ปรากฏวากรณีมีมูลอันเปนความผิดวินัยอยางรายแรง ใหผูบังคับบัญชา
ซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน
การสอบสวนตองแจงขอกลาวหาและสรุปพยานหลักฐานใหผูถูกกลาวหาทราบ
พรอมทั้งรับฟงคำชี้แจงของผูถูกกลาวหา เมื่อคณะกรรมการสอบสวน
ดำเนินการเสร็จใหรายงานผลการสอบสวนและความเห็นตอผูบังคับบัญชา
ซึ่งมอี ำนาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗

ถาผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ เห็นวา
ผูถูกกลาวหาไมไดกระทำผิดตามขอกลาวหา ใหสั่งยุติเรื่อง แตถาเห็นวา
ผูถูกกลาวหาไดกระทำผิดตามขอกลาวหา ใหดำเนินการตอไปตามมาตรา
๙๖ หรือมาตรา ๙๗ แลว แตกรณี

มาตรา ๙๔ การแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนสำหรับกรณี
ที่ขาราชการพลเรือนสามัญตำแหนงตางกัน หรือตางกรมหรือตางกระทรวง
กันถูกกลาวหาวากระทำผิดวินัยรวมกนั ใหดำเนินการ ดงั ตอ ไปน้ี

(๑) สำหรับขาราชการพลเรือนสามัญในกรมเดียวกัน
ท ี ่ อ ธ ิ บ ด ี ห ร ื อ ป ล ั ด ก ร ะ ท ร ว ง ถ ู ก ก ล  า ว ห า ว  า ก ร ะ ท ำ ผ ิ ด ว ิ น ั ย ร  ว ม กั บ
ผูอยูใตบังคับบัญชา ใหปลัดกระทรวงหรือรัฐมนตรีวาการกระทรวง
แลว แตก รณีเปนผสู ่ังแตงต้งั คณะกรรมการสอบสวน

(๒) สำหรับขาราชการพลเรือนสามัญตางกรมในกระทรวง
เดียวกันถูกกลาวหาวากระทำผิดวินัยรวมกัน ใหปลัดกระทรวงเปนผูส่ัง
แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน เวนแตเปนกรณีที่ปลัดกระทรวงถูกกลาวหา
รว มดว ยใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงเปน ผูสง่ั แตง ตง้ั คณะกรรมการสอบสวน

๑๒

(๓) สำหรับขาราชการพลเรือนสามัญตางกระทรวงกัน รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอบังคับเ ี่กยวกับ จ ิรยธรรม จรรยา และ ิว ันย
ถูกกลาวหาวากระทำผิดวินัยรวมกันใหผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุ สำหรับ ขาราชการ ูลกจาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย
ตามมาตรา ๕๗ รวมกันแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน เวนแตเปนกรณี
ที่มีผูถูกกลาวหาดำรงตำแหนงประเภทบริหารระดับสูงรวมดวย
ใหนายกรฐั มนตรีเปนผสู ง่ั แตง ต้งั คณะกรรมการสอบสวน

(๔) สำหรับกรณอี ืน่ ใหเปนไปตามทีก่ ำหนดในกฎ ก.พ.

มาตรา ๙๕ หลักเกณฑ วิธีการ และระยะเวลาเกี่ยวกับการดำเนินการ
ทางวินัยใหเปนไปตามที่กำหนดในกฎ ก.พ. ในกรณีที่เปนความผิดที่ปรากฏ
ชดั แจงตามท่กี ำหนดในกฎ ก.พ. จะดำเนนิ การทางวนิ ยั โดยไมต องสอบสวนก็ได

มาตรา ๙๖ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทำผิดวนิ ัยอยางไมรายแรง
ใหผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ สั่งลงโทษภาคทัณฑ
ตดั เงนิ เดือนหรือลดเงินเดือนตามควรแกกรณีใหเ หมาะสมกบั ความผิด

ในกรณีมเี หตุอนั ควรลดหยอน จะนำมาประกอบการพิจารณาลดโทษก็ได
แตสำหรบั การลงโทษภาคทัณฑใหใชเ ฉพาะกรณีกระทำผดิ วนิ ยั เล็กนอ ย

ในกรณีกระทำผิดวินัยเล็กนอยและมีเหตุอันควรงดโทษ จะงดโทษ
ใหโ ดยใหท ำทณั ฑบ นเปนหนังสือหรอื วากลาวตกั เดอื นกไ็ ด

การลงโทษตามมาตรานี้ ผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุ
ตามมาตรา ๕๗ จะมีอำนาจสั่งลงโทษผูอยูใตบังคับบัญชาในสถานโทษ
และอัตราโทษใดไดเ พียงใด ใหเปน ไปตามท่ีกำหนดในกฎ ก.พ.

มาตรา ๙๗ ภายใตบังคับวรรคสอง ขาราชการพลเรือนสามัญ
ผูใดกระทำผิดวินัยอยางรายแรงใหลงโทษปลดออกหรือไลออกตามความ
รายแรงในกฎ ก.พ. แหงกรณี ถามีเหตุอันควรลดหยอนจะนำมาประกอบ
การพิจารณาลดโทษกไ็ ดแตห ามมิใหลดโทษลงต่ำกวาปลดออก

ในกรณีที่คณะกรรมการสอบสวนหรือผูสั่งแตงตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนตามมาตรา ๙๓ วรรคหนึ่ง หรือผูมีอำนาจตามมาตรา ๙๔ เห็นวา
ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดกระทำผิดวินัยอยางรายแรงใหผูบังคับบัญชา
ซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕7 สงเรื่องให อ.ก.พ. จังหวัด อ.ก.พ. กรม
หรือ อ.ก.พ. กระทรวง ซึ่งผูถูกกลาวหาสังกัดอยู แลวแตกรณี พิจารณา

๑๓

รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอ ับงคับเ ่ีกยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย เมอื่ อ.ก.พ. ดงั กลาวมมี ติเปนประการใดใหผ ูบังคบั บัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุ
สำห ัรบ ขาราชการ ลูก จาง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย ตามมาตรา ๕๗ สั่งหรือปฏิบัติใหเปนไปตามนั้น ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ
และวิธกี ารทก่ี ำหนดในกฎ ก.พ.

ในกรณีที่ผูบ ังคบั บัญชาซึ่งมีอำนาจส่ังบรรจุตามมาตรา ๕๗ ไมใชอำนาจ
ตามมาตรา ๙๓ วรรคหนึ่ง มาตรา ๙๔ หรือมาตรานี้ ใหผูบังคับบัญชาตามมาตรา
๕๗ ระดับเหนือขึ้นไปมีอำนาจดำเนินการตามมาตรา ๙๓ วรรคหนึ่งมาตรา ๙๔
หรอื มาตรานีไ้ ด

ผูใดถูกลงโทษปลดออก ใหมีสิทธิไดรับบำเหน็จบำนาญเสมือนวา
ผนู นั้ ลาออกจากราชการ

มาตรา ๙๘ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดใหขอมูลตอผูบังคับบัญชา
หรือใหถอยคำในฐานะพยานตอผูมีหนาที่สืบสวนสอบสวนหรือตรวจสอบ
ตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ อันเปนประโยชน และเปนผลดียิ่ง
ตอ ทางราชการ ผบู งั คบั บัญชาอาจพจิ ารณาใหบ ำเหนจ็ ความชอบเปนกรณีพเิ ศษได

ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดอยูในฐานะที่อาจจะถูกกลาวหาวา
รวมกระทำผิดวินัยกับขาราชการอื่น ใหขอมูลตอผูบังคับบัญชา
หรือใหถอยคำตอบุคคลหรือคณะบุคคลตามความในวรรคหนึ่งเกี่ยวกับ
การกระทำผิดวินัยที่ไดกระทำมา จนเปนเหตุใหมีการสอบสวนพิจารณา
ทางวินัยแกผูเปนตนเหตุแหงการกระทำผิด ผูบังคับบัญชาอาจใชดุลพินิจ
กันผนู ั้นไวเ ปนพยานหรอื พจิ ารณาลดโทษทางวินัยตามควรแกก รณีได

ขา ราชการพลเรือนสามัญผใู ดใหขอ มลู หรือใหถ อ ยคำในฐานะพยาน
ตามวรรคหนงึ่ หรอื วรรคสองอนั เปนเท็จใหถือวาผูนนั้ กระทำผิดวนิ ัย

หลักเกณฑและวิธีการการใหบำเหน็จความชอบ การกันเปนพยาน
การลดโทษ และการใหความคุมครองพยาน ใหเ ปน ไปตามที่กำหนดในกฎ ก.พ.

กฎ ก.พ. วาดวยการคุมครองพยานตามวรรคส่ี จะกำหนดหลักเกณฑ
และวิธีการที่สำนักงาน ก.พ. หรือผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗
จะดำเนินการยาย โอน หรือดำเนินการอื่นใด โดยไมตองไดรับความยินยอม
หรือเห็นชอบจากผูบังคับบัญชาของขาราชการผูนั้น และไมตองปฏิบัติตามขั้นตอน
หรือกระบวนการตามท่ีบัญญตั ไิ วในพระราชบัญญัตินีก้ ็ได

๑๔

มาตรา ๙๙ ใหกรรมการสอบสวนตามมาตรา ๙๓ วรรคหน่ึง รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอ ับงคับเ ่ีกยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย
เปนเจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาและใหมีอำนาจเชนเดียวกับ สำห ัรบ ขาราชการ ลูก จาง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย
พนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเพียงเทาที่
เกี่ยวกับอำนาจและหนาที่ของกรรมการสอบสวนและโดยเฉพาะใหมีอำนาจ
ดังตอไปน้ีดว ยคือ

(๑) เรียกใหกระทรวง กรม สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ
หนวยงานอื่นของรัฐ หรือหางหุนสวน บริษัท ช้ีแจงขอเท็จจริง สงเอกสาร
และหลกั ฐานท่เี กยี่ วของ สง ผแู ทนหรอื บุคคลในสังกัดมาช้แี จงหรือใหถอยคำ
เกีย่ วกบั เร่ืองทีส่ อบสวน

(๒) เรียกผูถูกกลาวหาหรือบุคคลใดๆ มาชี้แจงหรือ
ใหถ อ ยคำ หรือใหสงเอกสารและหลกั ฐานเกี่ยวกบั เรอ่ื งทส่ี อบสวน

มาตรา ๑00 ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดมีกรณีถูกกลาวหา
เปนหนังสือวากระทำหรือละเวนกระทำการใดที่เปนความผิดวินัย
อยางรายแรงถาเปนการกลาวหาตอผูบังคับบัญชาของผูน ้ันหรือตอ ผูมีหนา ท่ี
สืบสวนสอบสวนหรือตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ
หรอื เปนการกลาวหาโดยผูบงั คบั บัญชาของผนู ัน้ หรอื มกี รณีถกู ฟอ งคดีอาญา
หรือตองหาวากระทำความผิดอาญาอันมิใชเปนความผิดที่ไดกระทำ
โดยประมาทที่ไมเกี่ยวกับราชการหรือความผิดลหุโทษ แมภายหลังผูน้ัน
จะออกจากราชการไปแลว โดยมิใชเพราะเหตุตาย ผูมีอำนาจดำเนินการ
ทางวินัยมีอำนาจดำเนินการสืบสวนหรือพิจารณา และดำเนินการทางวินัย
ตามที่บัญญัติไวในหมวดนี้ตอไปไดเสมือนวาผูนั้นยังมิไ ดออกจากราชการ
แตทั้งนี้ผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ตองดำเนินการ
สอบสวนตามมาตรา ๙๓ วรรคหนึ่งภายในหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันท่ี
ผูนัน้ พนจากราชการ

ในกรณีตามวรรคหนึ่งถาผลการสอบสวนพิจารณาปรากฏวาผูนั้น
กระทำผดิ วินยั อยา งไมร า ยแรงก็ใหง ดโทษ

๑๕

รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอบัง ัคบเ ่ีกยว ักบ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย มาตรา ๑01 ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดมีกรณีถูกกลาวหาวา
สำหรับ ขาราชการ ลูก จาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย กระทำผิดวินัยอยางรายแรงจนถูกตั้งกรรมการสอบสวน หรือถูกฟอง
คดีอาญา หรือตองหาวากระทำความผิดอาญา เวนแตเปนความผิดที่ได
กระทำโดยประมาท หรอื ความผิดลหุโทษ ผบู งั คบั บญั ชาซง่ึ มีอำนาจสั่งบรรจุ
ตามมาตรา ๕๗ มีอำนาจสั่งพักราชการหรือสั่งใหออกจากราชการไวกอน
เพือ่ รอฟง ผลการสอบสวน หรือพิจารณา หรอื ผลแหงคดีได

ถาภายหลังปรากฏผลการสอบสวนหรือพิจารณาวาผูนัน้ มิไดกระทำผิด
หรือกระทำผิดไมถึงกับจะถูกลงโทษปลดออกหรือไลออก และไมมีกรณีท่ี
จะตองออกจากราชการดวยเหตุอื่น ก็ใหผูมีอำนาจดังกลาวสั่งใหผูน้ัน
กลับเขาปฏิบัติราชการหรือกลับเขารับราชการในตำแหนงตามเดิม
หรือต่ำแหนงอื่นในประเภทเดียวกันและระดับเดียวกันหรือในตำแหนง
ประเภทและระดับที่ ก.พ. กำหนด ทั้งนี้ ผูนั้นตองมีคุณสมบัติตรงตาม
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหนงนั้น

เมื่อไดมีการสั่งใหขาราชการพลเรือนสามัญผูใดพักราชการหรือ
ออกจากราชการไวกอนแลวภายหลังปรากฏวาผูนั้นมีกรณีถูกกลาวหาวา
กระทำผิดวินัยอยางรายแรงในกรณีอื่นอีก ผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุ
ตามมาตรา ๕๗ มีอำนาจดำเนินการสืบสวนหรือพิจารณา และแตงตั้ง
คณะกรรมการสอบสวน ตามมาตรา ๙๓ ตลอดจนดำเนินการทางวินัย
ตามทีบ่ ญั ญตั ิไวในหมวดนต้ี อ ไปได

ในกรณีทสี่ ง่ั ใหผถู ูกส่ังใหออกจากราชการไวกอนกลับเขารับราชการ
หรือสั่งใหผูถูกสั่งใหออกจากราชการไวกอนออกจากราชการดวยเหตุอ่ืน
ที่มใิ ชเ ปนการลงโทษเพราะกระทำผดิ วินยั อยางรายแรงก็ใหผูน ้ันมีสถานภาพ
เปนขาราชการพลเรือนสามัญตลอดระยะเวลาระหวางที่ถูกสั่งใหออก
จากราชการไวกอนเสมือนวาผนู น้ั เปน ผถู กู สัง่ พกั ราชการ

เงินเดือน เงินอื่นที่จายเปนรายเดือน และเงินชวยเหลืออยางอ่ืน
และการจายเงินดังกลาวของผูถูกสั่งพักราชการ และผูถูกสั่งใหออก
จากราชการไวกอ น ใหเ ปน ไปตามกฎหมายหรือระเบยี บวา ดว ยการน้นั

การสั่งพักราชการใหสั่งพักตลอดเวลาที่สอบสวนหรือพิจารณา
เวนแตผูถูกสั่งพักราชการผูใดไดรองทุกขตามมาตรา ๑๒๒ และผูมีอำนาจ

๑๖

พิจารณาคำรองทุกขเห็นวาสมควรสั่งใหผูนั้นกลับเขาปฏิบัติหนาที่ราชการ รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอบัง ัคบเ ่ีกยว ักบ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย
กอนการสอบสวนหรือพิจารณาเสร็จสิ้นเนื่องจากพฤติการณของผูถูกส่ัง สำหรับ ขาราชการ ลูก จาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย
พักราชการไมเปนอุปสรรคตอการสอบสวนหรือพิจารณา และไมกอใหเกิด
ความไมส งบเรียบรอยตอไป หรอื เนือ่ งจากการดำเนนิ การทางวินัยไดลวงพน
หนึ่งปนับแตวันพักราชการแลวยังไมแลวเสร็จและผูถูกสั่งพักราชการ
ไมมีพฤติกรรมดังกลาวใหผูมีอำนาจสั่งพักราชการสั่งใหผูนั้นกลับเขาปฏิบัติ
หนาที่ราชการกอนการสอบสวนหรอื พจิ ารณาเสร็จส้นิ

ใหนำความในวรรคหกมาใชบ ังคับกับกรณถี ูกสัง่ ใหออกจากราชการ
ไวก อ นดวย

หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการสั่งพักราชการ การสั่งใหออก
จากราชการไวกอน ระยะเวลาใหพักราชการและใหออกจากราชการไวกอน
การใหกลับเขาปฏิบัติราชการหรือกลับเขารับราชการและการดำเนินการ
เพื่อใหเปน ไปตามผลการสอบสวนหรอื พิจารณาใหเปน ไปตามท่กี ำหนดในกฎ ก.พ.

มาตรา ๑๐๒ การลงโทษขาราชการพลเรือนสามัญในสวนราชการ
ที่มีกฎหมายวาดวยวินัยขาราชการโดยเฉพาะ ในกรณีเปนความผิดวินัย
อยางไมรายแรงตามพระราชบัญญัตินี้จะลงโทษตามพระราชบัญญัติน้ี
หรือลงทัณฑ หรือลงโทษตามกฎหมายวาดวยวินัยขาราชการนั้นอยางใด
อยา งหนง่ึ ตามควรแกกรณีและพฤติการณก็ได แตถาเปน กรณีกระทำผิดวินัย
อยางรายแรงตามพระราชบัญญัตินี้ไมวาจะไดลงทัณฑหรือลงโทษ
ตามกฎหมายดังกลาวแลวหรือไม ใหผูบังคับบัญชาพิจารณาดำเนินการ
ตามทก่ี ำหนดไวใ นพระราชบญั ญตั นิ ี้

มาตรา ๑๐๓ เมื่อผูบังคับบัญชาไดสั่งลงโทษตามพระราชบัญญัติน้ี
หรือลงทัณฑตามกฎหมายวาดวยวินัยขาราชการโดยเฉพาะ หรือสั่งยุติเรื่อง
หรืองดโทษแลว ใหรายงาน อ.ก.พ. กระทรวงซึ่งผูถูกดำเนินการทางวินัย
สังกัดอยูเพื่อพิจารณา เวนแตเปนกรณีดำเนินการทางวินัยกับขาราชการ
ตางกระทรวงกัน หรือกรณีดำเนินการทางวินัยตามมติ อ.ก.พ. กระทรวง
ตามมาตรา ๙๗ วรรคสอง ใหรายงาน ก.พ. ทั้งนี้ ตามระเบียบที่ ก.พ.
กำหนด

๑๗

รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และข้อบังคับเ ี่กยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย ในกรณีที่ อ.ก.พ. กระทรวงหรือ ก.พ. เห็นวาการดำเนินการ
สำหรับ ขาราชการ ูลก จาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย ทางวินัยเปนการไมถูกตองหรือไมเหมาะสม หากมีมติเปนประการใด
ใหผูบังคับบัญชาสั่งหรือปฏิบัติใหเปนไปตามที่ อ.ก.พ. กระทรวงหรือ ก.พ.
มีมติในกรณีตามวรรคสองและในการดำเนินการตามมาตรา ๑0๔ ให ก.พ.
มีอำนาจสอบสวนใหมหรือสอบสวนเพิ่มเติมไดตามหลักเกณฑและวิธีการ
ที่ ก.พ. กำหนดตามมาตรา ๙๕

มาตรา ๑0๔ ในการดำเนินการของ อ.ก.พ. กระทรวงตามมาตรา
๙๗ วรรคสอง หรือมาตรา ๑0๓ วรรคสอง หากผูแ ทน ก.พ. ซงึ่ เปน กรรมการ
ใน อ.ก.พ. กระทรวงดังกลาวเห็นวาการดำเนินการของผูบังคับบัญชาหรือ
มติ อ.ก.พ. กระทรวง เปนการไมปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้หรือปฏิบัติ
ไมเ หมาะสม ใหรายงาน ก.พ. เพอ่ื พจิ ารณาดำเนนิ การตามควรแกกรณีตอไป
และเมื่อ ก.พ. มีมติเปนประการใด ใหผูบังคับบัญชาสั่งหรือปฏิบัติใหเปนไป
ตามที่ ก.พ. มีมติ ทั้งนี้เวนแตผูถูกลงโทษไดอุทธรณคำสั่งลงโทษ
ของผูบังคับบัญชาตอ ก.พ.ค. ในกรณีเชนนี้ให ก.พ. แจงมติตอ ก.พ.ค.
เพอ่ื ประกอบการพจิ ารณาวินจิ ฉยั อุทธรณ

มาตรา ๑๐๕ เมื่อมีกรณีเพิ่มโทษ ลดโทษ งดโทษ หรือยกโทษใหผูส่ัง
มีคำสัง่ ใหม และในคำส่ังดงั กลา วใหส ่ังยกเลิกคำสั่งลงโทษเดิมพรอมท้ังระบุวิธีการ
ดำเนินการเกีย่ วกับโทษที่ไดรบั ไปแลว ท้ังนี้ ตามท่ีกำหนดในกฎ ก.พ.

มาตรา ๑๐๖ ขาราชการพลเรือนสามัญซึ่งโอนมาตามมาตรา ๖๔
ผูใดมีกรณีกระทำผิดวินัยอยูกอนวันโอนมาบรรจุ ใหผูบังคับบัญชา
ของขาราชการพลเรือนสามัญผูนั้นดำเนินการทางวินัยตามหมวดนี้
โดยอนุโลมแตถาเปนเรื่องที่อยูในระหวางการสืบสวนหรือพิจารณา
หรือสอบสวนของผูบังคับบัญชาเดิมกอนวันโอนก็ใหสืบสวนหรือพิจารณา
หรือสอบสวนตอไปจนเสร็จ แลวสงเรื่องใหผูบังคับบัญชาของขาราชการ
พลเรือนสามัญผูนั้นพิจารณาดำเนินการตอไปตามหมวดนี้โดยอนุโลม
แตทั้งนี้ในการสั่งลงโทษทางวินัยใหพิจารณาตามความผิด และลงโทษ
ตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นหรือกฎหมาย
วาดว ยระเบยี บขาราชการทโี่ อนมานั้น แลว แตกรณี

๑๘

หมวด 8 รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และข้อบังคับเ ี่กยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย
การออกจากราชการ สำหรับ ขาราชการ ูลก จาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย

มาตรา ๑๐๗ ขาราชการพลเรอื นสามญั ออกจากราชการเม่ือ
(๑) ตาย
(๒) พนจากราชการตามกฎหมายวาดวยบำเหน็จบำนาญ

ขา ราชการ
(๓) ลาออกจากราชการและไดรับอนุญาตใหลาออก

หรอื การลาออกมผี ลตามมาตรา ๑๐๙
(๔) ถูกสง่ั ใหออกตามมาตรา ๕๙ มาตรา ๖๗ มาตรา ๑0๑

มาตรา ๑๑๐ หรือมาตรา ๑๑๑ หรือ
(5) ถกู ส่ังลงโทษปลดออก หรือไลอ อก

วันออกจากราชการตาม (๔) และ (๕) ใหเ ปน ไปตามระเบียบท่ี ก.พ. กำหนด

มาตรา ๑๐๘ ขาราชการพลเรือนสามญั ผใู ดเมอ่ื อายุครบหกสิบปบริบูรณ
ในสิ้นปงบประมาณและทางราชการมีความจำเปนที่จะใหรับราชการตอไป
เพื่อปฏิบัติหนาที่ในทางวิชาการหรือหนาที่ที่ตองใชความสามารถเฉพาะตัว
ในตำแหนงตามมาตรา ๔๖ (๓) (ง) หรือ (จ) หรือ (๔) (ค) หรือ (ง) จะใหรับราชการ
ตอ ไปอกี ไมเ กินสิบปก็ไดต ามท่ีกำหนดในกฎ ก.พ.

มาตรา ๑0๙ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดประสงคจะลาออก
จากราชการใหยื่นหนังสือขอลาออกตอผูบังคับบัญชาเหนือขึ้นไป ชั้นหน่ึง
โดยยื่นลว งหนากอนวนั ขอลาออกไมน อยกวาสามสิบวนั เพื่อใหผูบังคับบัญชา
ซ่งึ มีอำนาจสัง่ บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ เปนผพู จิ ารณากอนวันขอลาออก

ในกรณที ผ่ี ูป ระสงคจะลาออกยน่ื หนังสือขอลาออกลวงหนานอยกวา
สามสิบวัน และผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ เห็นวา
มีเหตุผลและความจำเปน จะอนญุ าตใหลาออกตามวันที่ขอลาออกก็ได

ในกรณีที่ผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ เห็นวา
จำเปนเพื่อประโยชนแกราชการ จะยับยั้งการลาออกไวเปนเวลาไมเกิน

๑๙

รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอ ับงคับเ ี่กยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิวนัย เกาสิบวันนับแตวันขอลาออกก็ได ในกรณีเชนนั้นถาผูขอลาออก
สำห ัรบ ขาราชการ ลูกจาง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย มิไดถอนใบลาออกกอนครบกำหนดระยะเวลาการยับย้ังใหถือวาการลาออกน้ัน
มีผลเมือ่ ครบกำหนดเวลาตามทไี่ ดยับยัง้ ไว

ในกรณีที่ผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗
มิไดย บั ยง้ั ตามวรรคสามใหก ารลาออกนนั้ มผี ลต้ังแตว ันขอลาออก

ในกรณีที่ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดประสงคจะลาออก
จากราชการเพื่อดำรงตำแหนงในองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ตำแหนง
ทางการเมือง หรือตำแหนงอื่นท่ี ก.พ. กำหนด หรือเพื่อสมัครรับเลือกต้ัง
เปนสมาชิกรัฐสภาสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น ใหยื่นหนังสือ
ขอลาออกตอผูบังคับบัญชาตามวรรคหนึ่ง และใหการลาออกมีผลนับตั้งแต
วันที่ผูนั้นขอลาออกหลักเกณฑและวธิ กี ารเกี่ยวกับการลาออก การพิจารณา
อนุญาตใหลาออกและการยับยั้งการลาออกจากราชการ ใหเปนไป
ตามระเบียบท่ี ก.พ. กำหนด

มาตรา ๑๑๐ ผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗
มีอำนาจสั่งใหขาราชการพลเรือนสามัญออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จ
บำนาญเหตุทดแทนตามกฎหมายวาดวยบำเหน็จบำนาญขาราชการ
ไดใ นกรณดี ังตอ ไปนี้

(๑) เมื่อขาราชการพลเรือนสามัญผูใดเจ็บปวยไมอาจ
ปฏิบตั หิ นา ท่ีราชการของตนไดโดยสมำ่ เสมอ

(๒) เมื่อขาราชการพลเรือนสามัญผูใดสมัครไปปฏิบัติงานใดๆ
ตามความประสงคของทางราชการ

(๓) เมื่อขาราชการพลเรือนสามัญผูใดขาดคุณสมบัติทั่วไป
ตามมาตรา ๓๖ ก. (๑) หรือ (๓) หรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๓๖ ข.
(๑) (๓) (๖) หรือ (๗)

(๔) เมื่อทางราชการเลิกหรือยุบหนวยงานหรือตำแหนง
ทีข่ า ราชการพลเรือนสามัญปฏิบัตหิ นา ทห่ี รือดำรงอยู สำหรับผทู อ่ี อกจากราชการ
ในกรณีนี้ ใหไดรับเงินชดเชยตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไข
ทกี่ ระทรวงการคลังกำหนดดว ย

๒๐

(๕) เมื่อขาราชการพลเรอื นสามัญผูใ ดไมส ามารถปฏิบัตริ าชการ รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอ ับงคับเ ี่กยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิวนัย
ใหมีประสิทธิภาพและเกดิ ประสทิ ธิผลในระดบั อนั เปนทพี่ อใจของทางราชการ สำห ัรบ ขาราชการ ลูกจาง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย

(๖) เมื่อขาราชการพลเรือนสามัญใดหยอนความสามารถ
ในอันที่จะปฏิบัติหนาที่ราชการบกพรองในหนาที่ราชการ หรือประพฤติตน
ไมเหมาะสมกับตำแหนงหนาที่ราชการ ถาใหผูนั้นรับราชการตอไป
จะเปนการเสียหายแกร าชการ

(๗) เมื่อขาราชการพลเรือนสามัญผูใดมีกรณีถูกสอบสวน
วากระทำผิดวินัยอยางรายแรงตามมาตรา 93 และผลการสอบสวนไมได
ความแนชัดพอที่จะฟงลงโทษตามมาตรา ๙๗ วรรคหนึ่งแตมีมลทินหรือมัว
หมองในกรณที ่ีถกู สอบสวน ถาใหร บั ราชการตอ ไปจะเปน การเสยี หายแกราชการ

(๘) เมื่อขาราชการพลเรือนสามัญผูใดตองรับโทษจำคุก
โดยคำพิพากษาถึงที่สุดใหจำคุกในความผิดที่ไดกระทำโดยประมาท
หรือความผิดลหุโทษหรือตองรับโทษจำคุกโดยคำสั่งของศาลซึ่งยังไมถึง
กบั จะตองถกู ลงโทษปลดออกหรอื ไลออก

การสั่งใหออกจากราชการตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามที่กำหนด
ในกฎ ก.พ. ทั้งนี้ ใหนำมาตรา ๙๗ วรรคสอง มาใชบังคับกับการสั่งใหออก
จากราชการตามกรณี (๓) เฉพาะมาตรา ๓๖ ก. (๓) กรณี (๖) และกรณี (๗) โดยอนโุ ลม

เมื่อผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ สั่งให
ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดออกจากราชการตามมาตรานี้แลว ใหรายงาน
อ.ก.พ. กระทรวง หรือ ก.พ. แลว แตกรณี และใหน ำมาตรา ๑0๓ มาใชบ ังคบั
โดยอนุโลม

มาตรา ๑๑๑ เมื่อขาราชการพลเรือนสามัญผูใดไปรบั ราชการทหาร
ตามกฎหมายวาดวยการรับราชการทหาร ใหผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจส่ัง
บรรจตุ ามมาตรา ๕๗ สั่งใหผนู ั้นออกจากราชการ

ผูใดถูกสั่งใหออกจากราชการตามวรรคหนึ่ง และตอมาปรากฏวา
ผูนั้นมีกรณีที่จะตองถูกสั่งใหออกจากราชการตามมาตราอื่นอยูกอน
ไปรับราชการทหาร ก็ใหผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗

๒๑

รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอบังคับเ ี่กยวกับ จ ิรยธรรม จรรยา และ ิว ันย มีอำนาจเปลี่ยนแปลงคำสั่งใหออกตามวรรคหนึ่งเปนใหออกจากราชการ
สำหรับ ขาราชการ ูลกจาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย ตามมาตราอนื่ นัน้ ได

มาตรา ๑๑๒ ในกรณีที่ผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุ
ตามมาตรา ๕๗ ไมใชอำนาจตามมาตรา ๑๑0 โดยไมมีเหตุอันสมควร
ใหผูบังคับบัญชาซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ระดับเหนือขึ้นไป
มีอำนาจดำเนนิ การตาม มาตรา ๑๑๐ ได

มาตรา ๑๑๓ การออกจากราชการของขาราชการพลเรือนสามัญ
ผูดำรงตำแหนงที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้ง ใหนำความกราบบังคมทูล
เพื่อมีพระบรมราชโองการใหพนจากตำแหนงนับแตวันออกจากราชการ
เวนแตออกจากราชการเพราะความตายใหนำความกราบบังคมทูลเพื่อทรงทราบ

หมวด 9
การอุทธรณ

มาตรา ๑๑๔ ผูใดถูกสั่งลงโทษตามพระราชบัญญัตินี้หรือถูกส่ัง
ใหออกจากราชการตามมาตรา ๑๑๐ (๑) (๓) (๕) (๖) (๙) และ (๘) ผูนั้นมีสิทธิ
อทุ ธรณตอ ก.พ.ค. ภายในสามสิบวันนับแตวันทราบหรอื ถือวาทราบคำสัง่

การอุทธรณและการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณตามวรรคหนึ่ง
ใหเปนไปตามทีก่ ำหนดในกฎ ก.พ.ค.

มาตรา ๑๑๕ ในการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ ก.พ.ค. จะพิจารณา
วินิจฉัยเองหรือจะตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ เพื่อทำหนาที่เปนผูพิจารณา
วนิ จิ ฉยั อทุ ธรณก็ได ทงั้ น้ี ใหเ ปน ไปตามที่กำหนดในกฎ ก.พ.ค.

มาตรา ๑๑๖ เม่อื ก.พ.ค. พิจารณาวินจิ ฉัยอุทธรณแ ลวใหผูบังคับบัญชา
ซึ่งมีอำนาจสั่งบรรจุตามมาตรา ๕๗ ดำเนินการใหเปนไปตามคำวินิจฉัยน้ัน
ภายในสามสบิ วนั นบั แตว นั ที่ ก.พ.ค. มคี ำวินิจฉัย

๒๒

ในกรณีที่ผูอุทธรณไมเห็นดวยกับคำวินิจฉัยอุทธรณของ ก.พ.ค. รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอบังคับเ ี่กยวกับ จ ิรยธรรม จรรยา และ ิว ันย
ใหฟองคดีตอศาลปกครองสูงสุดภายในเกาสิบวันนับแตว นั ทีท่ ราบ หรือถือวาทราบ สำหรับ ขาราชการ ูลกจาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย
คำวนิ ิจฉัยของ ก.พ.ค.

ผูบังคับบัญชาผูใดไมปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ใหถือวาเปนการจงใจละเวน
การปฏบิ ัติหนาทโี่ ดยมิชอบเพ่อื ใหเกดิ ความเสียหายแกบุคคลอืน่

มาตรา ๑๑๗ ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัติน้ี
ใหกรรมการ ก.พ.ค. และกรรมการวินิจฉัยอุทธรณ เปนเจาพนักงาน
ตามประมวลกฎหมายอาญา และใหมีอำนาจดงั ตอ ไปน้ี

(๑) สั่งใหผูบังคับบัญชาซึ่งสั่งลงโทษหรือสั่งใหออก
จากราชการอันเปนเหตุใหมีการอุทธรณสงสำนวนการสอบสวนและการ
ลงโทษให ก.พ.ค.ภายในเวลาที่กำหนด

(๒) สั่งใหกระทรวง กรม สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ
และหนว ยงานอื่นของรัฐรวมตลอดท้งั องคกรปกครองสว นทองถิน่ ท่ีเก่ียวของ
สอบสวนใหมหรือสอบสวนเพิ่มเติมหรือสงตัวขาราชการหรือเจาหนาที่
ในสังกัดมาใหถอยคำ ในการนี้จะกำหนดระยะเวลาในการสอบสวนใหม
หรือสอบสวนเพ่มิ เตมิ ไวด วยก็ได

(๓) มีคำสั่งใหขาราชการ พนักงาน หรือลูกจาง
ของกระทรวง กรมสวนราชการ รัฐวิสาหกิจและหนวยงานอื่นของรัฐ
หรือองคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือบุคคลใดที่เกี่ยวของ มาใหถอยคำ
หรือใหส งเอกสารหรอื หลักฐานท่ีเกย่ี วขอ ง

(๔) เขาไปในอาคาร หรือสถานที่ใดๆ ที่เกี่ยวของกับ
การปฏิบัติหนาที่ของ ก.พ.ค. ทั้งนี้ ในระหวางพระอาทิตยขึ้นถึงพระอาทิตยตก
หรอื ในเวลาทำการของสถานท่ีน้นั

(๕) สอบสวนใหมห รือสอบสวนเพิม่ เติม

๒๓

รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอ ับงคับเ ่ีกยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย มาตรา ๑๑๘ การพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณตามมาตรา ๑๑๔
สำห ัรบ ขาราชการ ลูก จาง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย ใหดำเนินการใหแลวเสร็จภายในหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันที่ไดรับอุทธรณ
เวนแตมีเหตุขัดของที่ทำใหการพิจารณาไมแลวเสร็จภายในร ะยะเวลา
ดังกลาว ก็ใหขยายระยะเวลาไดอีกซึ่งไมเกินสองครั้ง โดยแตละครั้ง
จะตองไมเ กนิ หกสบิ วัน และใหบนั ทกึ เหตขุ ดั ของใหปรากฏไวด วย

มาตรา ๑๑๙ ขาราชการพลเรือนสามัญซึ่งโอนมาตามมาตรา ๖๔
ผูใดถูกสั่งลงโทษทางวินัยอยูกอนวนั โอนมาบรรจุ และผูนั้นมีสิทธิอุทธรณได
ตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นหรือกฎหมาย
วาดวยระเบียบขาราชการที่โอนมาแตยังไมไดใชสิทธิอุทธรณตามกฎหมาย
ดังกลาวก็ใหผูนั้นมีสิทธิอุทธรณตามมาตรา ๑๑๔ ได แตถาผูนั้นไดใชสิทธิ
อุทธรณตามกฎหมายวาดวยระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่นหรือ
กฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการที่โอนมาไวแลวและในวันที่ผูนั้นไดโอน
มาบรรจุเปนขาราชการพลเรือนสามัญ การพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ
ยังไมแลวเสร็จกใ็ หส ง เรอื่ งให ก.พ.ค. เปน ผพู จิ ารณาอุทธรณ

มาตรา ๑๒๐ ในการพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณให ก.พ.ค. มีอำนาจ
ไมรับอุทธรณ ยกอุทธรณหรือมีคำวินิจฉัยใหแกไขหรือยกเลิกคำสั่งลงโทษ
และใหเยียวยาความเสียหายใหผูอุทธรณ หรือใหดำเนินการอื่นใด
เพอื่ ประโยชนแหง ความยุตธิ รรม ตามระเบียบท่ี ก.พ.ค. กำหนด

การวินิจฉัยใหแกไขหรือใหดำเนินการอื่นตามวรรคหนึ่ง ก.พ.ค.
จะใหเพิ่มโทษไมได เวนแตเปนกรณีไดรับแจงจาก ก.พ. ตามมาดรา ๑๐๔
วาสมควรเพ่มิ โทษ ในกรณเี ชนนั้น ก.พ.ค. มอี ำนาจวินิจฉยั ใหเ พ่มิ โทษได

มาตรา ๑๒๑ เมื่อมีกรณีดังตอไปนี้ กรรมการวินิจฉัยอุทธรณ
อาจถูกคัดคานได

(๑) รูเห็นเหตุการณในการกระทำผิดวินัยที่ผูอุทธรณ
ถกู ลงโทษหรอื การถกู ส่งั ใหอ อกจากราชการ

(๒) มสี ว นไดเ สยี ในการกระทำผดิ วนิ ัยท่ีผูอทุ ธรณถูกลงโทษ
หรอื การถูกส่ังใหอ อกจากราชการ

(๓) มีสาเหตโุ กรธเคอื งกับผอู ทุ ธรณ

๒๔

(๔) เปนผูกลาวหา หรือเปนหรือเคยเปนผูบังคับบัญชา รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอ ับงคับเ ่ีกยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย
ผูสัง่ ลงโทษหรือส่งั ใหออกจากราชการ สำห ัรบ ขาราชการ ลูก จาง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย

(๕) เปนผูมีสวนเกี่ยวของกับการดำเนินการทางวินัยหรือ
การส่ังใหอ อกจากราชการทผี่ ูอุทธรณถูกลงโทษหรือถูกส่ังใหออกจากราชการ

(๖) มีความเกี่ยวพันทางเครือญาติหรือทางการสมรสกับบคุ คล
ตาม (๑) (๒) (๓) หรอื (๔) อนั อาจกอใหเ กิดความไมเ ปน ธรรมแกผ ูอทุ ธรณ

กรรมการวินจิ ฉยั อทุ ธรณซ ึง่ มีกรณีตามวรรคหนึง่ ใหแจงตอประธาน ก.พ.ค.
และถอนตัวจากการพิจารณาวนิ ิจฉยั อุทธรณ

การยื่นคำคัดคาน และการพิจารณาคำคัดคาน ใหเปนไปตามที่กำหนด
ในกฎ ก.พ.ค.

หมวด 10
การรองทุกข

มาตรา ๑๒๒ ขาราชการพลเรือนสามัญผูใดมีความคับของใจ
อันเกิดจากการปฏิบัติหรือไมปฏิบัติตอตนของผูบังคับบัญชา และเปนกรณี
ที่ไมอาจอุทธรณตามหมวด ๙ การอุทธรณ ได ผูนั้นมีสิทธิรองทุกข
ไดตามหลักเกณฑ และวิธกี ารที่กำหนดไวใ นหมวดนี้

มาตรา ๑๒๓ การรองทุกขที่เหตุเกิดจากผูบงั คับบัญชา ใหรองทุกข
ตอผูบังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไป ตามลำดับการรองทุกขที่เหตุเกิด
จากหัวหนาสวนราชการระดับกรมที่อยูในบังคับบัญชา หรือรับผิดชอบ
การปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอนายกรฐั มนตรี หรือตอรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง
รฐั มนตรเี จา สังกดั หรือนายกรัฐมนดรีใหรอ งทุกขตอ ก.พ.ค.

เมื่อ ก.พ.ค. ไดพิจารณาวินิจฉัยเรื่องรองทุกขประการใดแลว
ใหหัวหนาสวนราชการระดับกรมที่อยูในบังคับบัญชาหรือรับผิดชอบ
การปฏิบัติราชการขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรีหรือตอรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง
รัฐมนตรีเจาสังกัด หรือนายกรัฐมนตรี แลวแตกรณี ดำเนินการใหเปนไป
ตามคำวินจิ ฉยั ของ ก.พ.ค.

๒๕

รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอบัง ัคบเ ่ีกยว ักบ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย การรองทุกขและการพิจารณาวินิจฉัยเรื่องรองทุกขตามวรรคหน่ึง
สำหรับ ขาราชการ ลูก จาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย และวรรคสอง ใหเปน ไปตามท่ีกำหนดในกฎ ก.พ.ค.

มาตรา ๑๒๔ ในการพิจารณาวินิจฉัยเรื่องรองทุกขให ก.พ.ค.
มีอำนาจไมรับเรื่องรองทุกข ยกคำรองทุกข หรือมีคำวินิจฉัยใหแกไขหรือ
ยกเลิกคำสั่ง และใหเยียวยาความเสียหายใหผูรองทุกขหรือใหดำเนินการ
อื่นใดเพอ่ื ประโยชนแหง ความยุตธิ รรมตามระเบียบที่ ก.พ.ค. กำหนด

ในการพจิ ารณาวนิ ิจฉัยเรื่องรอ งทุกข ก.พ.ค. จะพิจารณาวนิ จิ ฉยั เอง
หรือจะตั้งกรรมการ ก.พ.ค. คนหนึ่ง หรือจะตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยรองทุกข
เพื่อทำหนาที่เปนผูพิจารณาวินิจฉัยเรื่องรองทุกขก็ได ทั้งนี้ ใหเปนไป
ตามที่กำหนดในกฎ ก.พ.ค. และในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัติน้ี
ใหกรรมการวินิจฉัยรองทุกขเปนเจาพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
และใหมีอำนาจตามมาตรา ๑๑๗ โดยอนโุ ลม

มาตรา ๑๒๕ เมื่อมีกรณีดังตอไปนี้ กรรมการวินิจฉัยรองทุกข
อาจถูกคดั คา นได

(๑) เปนผูบังคับบัญชาผูเปนเหตุใหเกิดความคับของใจ
หรอื เปน ผอู ยใู ตบงั คบั บัญชาของผบู ังคับบัญชาดงั กลาว

(๒) มีสวนไดเสยี ในเรือ่ งทีร่ อ งทุกข
(๓) มสี าเหตุโกรธเคืองกับผรู องทกุ ข
(๔) มีความเกี่ยวพันทางเครือญาติหรือทางการสมรส
กบั บคุ คลตาม (๑) (๒) หรอื (๓) อนั อาจกอใหเ กิดความไมเปนธรรมแกผรู อ งทุกข
กรรมการวินิจฉัยรองทุกขซึ่งมีกรณีตามวรรคหนึ่ง ใหแจงตอ
ประธาน ก.พ.ค. และถอนตัวจากการพจิ ารณาวนิ ิจฉัยเรื่องรอ งทุกข
การยื่นคำคัดคาน และการพิจารณาคำคัดคาน ใหเปนไปตามที่กำหนด
ในกฎ ก.พ.ค.

๒๖

ระเบียบกระทรวงการคลังวาดว ยลกู จา งประจำ รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอบัง ัคบเ ่ีกยว ักบ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย
ของสว นราชการ พ.ศ. 2537 สำหรับ ขาราชการ ลูก จาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย

¾ หมวด 4 วนิ ัยและการรักษาวินยั
¾ หมวด 5 การดำเนนิ การทางวินยั
¾ หมวด 6 การออกจากราชการ
¾ หมวด 7 การอทุ ธรณ
¾ หมวด 8 การรอ งทุกข

รวมกฏหมาย ระเบยี บ และข้อบงั คบั เกี่ยวกบั จริยธรรม จรรยา และวินยั
สำหรับขา ราชการ ลูกจา ง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณสขุ กรมอนามยั

๒๘

หมวด 4 รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และข้อบังคับเ ี่กยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย
วนิ ยั และการรักษาวนิ ัย สำหรับ ขาราชการ ูลก จาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย

ขอ ๒๘ ลูกจางประจำตองรักษาวินัยโดยเครงครัดอยูเสมอ
ลูกจางประจำผูใดฝาฝนขอหามหรือไมปฏิบัติตามขอกำหนดทางวินัย ตามท่ี
กำหนดไวในหมวดนี้ ผูนั้นเปนผูกระทำผิดวินัย จะตองไดรับโทษทางวินัย
เวน แตมีเหตอุ นั ควรงดโทษตามทก่ี ำหนดไวในหมวด ๕

ขอ ๒๙ ลูกจางประจำตองสนับสนุนการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตามรัฐธรรมนูญ
แหง ราชอาณาจักรไทยดว ยความบรสิ ทุ ธ์ใิ จ

ขอ ๓๐ ลูกจางประจำตองปฏิบัติหนาที่ราชการดวยความซื่อสัตยสุจริต
และเท่ียงธรรม หา มมิใหอาศัย หรอื ยอมใหผูอ่นื อาศยั อำนาจหนาท่รี าชการของตน
ไมวา จะโดยทางตรงหรอื ทางออ มหาประโยชนใหแ กต นเองหรอื ผูอนื่

การปฏิบตั หิ รือละเวนการปฏบิ ัตหิ นา ท่รี าชการโดยมชิ อบ เพื่อใหต นเอง
หรือผูอื่นไดประโยชนที่มิควรได เปนการทุจริตตอหนาที่ราชการ
และเปน ความผิดวินยั อยา งรา ยแรง

ขอ ๓๑ ลูกจางประจำตองตั้งใจปฏิบัติหนาที่ราชการใหเกิดผลดี
หรือความกา วหนาแกร าชการ

ขอ ๓๒ ลูกจางประจำตองปฏิบัติหนาที่ราชการดวยความอุตสาหะ
เอาใจใส ระมัดระวังรักษาประโยชนของทางราชการ และตองไมประมาท
เลินเลอในหนาที่ราชการ

การประมาทเลินเลอในหนาที่ราชการ อันเปนเหตุใหเสียหาย
แกราชการอยางรา ยแรง เปน ความผิดวนิ ัยอยางรา ยแรง

ขอ ๓๓ ลูกจางประจำตองปฏิบัติหนาที่ราชการใหเปนไป
ตามกฎหมาย ระเบียบของทางราชการ มติคณะรัฐนตรี และนโยบายของ
รฐั บาลโดยไมใหเสียหายแกราชการ

๒๙

รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอ ับงคับเ ี่กยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิวนัย การปฏิบัติหนาที่ราชการโดยจงใจไมปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ
สำห ัรบ ขาราชการ ลูกจาง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย ของทางราชการ มติคณะรัฐมนตรี หรือนโยบายของรัฐบาล อันเปนเหตุ
ใหเสียหายแกร าชการอยางรายแรง เปนความผดิ วนิ ัยอยางรายแรง

ขอ ๓๔ ลูกจางประจำตองถือเปนหนาที่พิเศษที่จะสนใจ
และรับทราบเหตุการณเคลื่อนไหว อันอาจเปนภยันตรายตอประเทศชาติ
และตอ งปองกนั ภยันตรายซง่ึ จะบงั เกดิ แกป ระเทศชาตจิ นเต็มความสามารถ

ขอ ๓๕ ลูกจางประจำตองรักษาความลับของทางราชการ
การเปด เผยความลับของทางราชการ อนั เปน เหตุใหเ สียหายแกราชการอยาง
รายแรง เปนความผิดวินัยอยา งรายแรง

ขอ ๓๖ ลูกจางประจำตองปฏิบัติตามคำสั่งของผูบังคับบัญชา
ซึ่งสั่งในหนาที่ราชการ โดยชอบดวยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ
โดยไมขัดขืนหรือหลีกเล่ียง แตถาเห็นวาการปฏิบัติตามคำสั่งนั้นจะทำให
เสียหายแกราชการ หรือจะเปนการไมรักษาประโยชนของทางราชการ
จะตองเสนอความเห็นเปนหนังสือทันที เพื่อใหผูบังคับบัญชาทบทวนคำส่ัง
นั้นก็ได และเมื่อไดเสนอความเห็นแลว ถาผูบังคับบัญชายืนยันใหปฏิบัติหนาท่ี
ตามคำส่งั เดมิ ลูกจางประจำผูอยใู ตบังคับบัญชาตอ งปฏิบตั ิตาม

การขัดคำสั่ง หรือหลีกเลี่ยง ไมปฏิบัติตามคำสั่ง ของผูบังคับบัญชา
ซึ่งสั่งในหนาที่ราชการโดยชอบดวยกฎหมาย และระเบียบของทางราชการ
อันเปน เหตใุ หเสยี หายแกราชการอยา งรา ยแรง เปนความผิดวินัยอยา งรา ยแรง

ขอ ๓๗ ลูกจางประจำตองปฏิบัติราชการโดยมิใหเปนการกระทำการ
ขา มผบู ังคบั บญั ชาเหนอื ตนเวนแตผ บู งั คบั บัญชาเหนือตนข้ึนไปเปนผูสั่งใหกระทำ
หรือไดร บั อนญุ าตเปน พเิ ศษชวั่ คร้ังคราว

ขอ ๓๘ ลูกจางประจำตองไมรายงานเท็จตอผูบังคับบัญชา
การรายงานโดยปกปดขอความซ่ึงควรตองแจงถือวา เปนการรายงานเท็จดวย
การรายงานเท็จตอผูบังคับบัญชา อันเปนเหตุใหเสียหายแกราชการ
อยางรายแรง เปน ความผิดวนิ ัยอยา งรา ยแรง

๓๐

ขอ ๓๙ ลูกจางประจำตองถือและปฏิบัตติ ามระเบียบ และแบบธรรมเนียม รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอ ับงคับเ ี่กยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิวนัย
ของทางราชการ และใหนำจรรยาบรรณของขาราชการพลเรือนที่กำหนดไว สำห ัรบ ขาราชการ ลูกจาง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย
ตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราช การพลเรือนมาใชบ ัง คับ
แกลูกจา งประจำโดยอนุโลม

ขอ ๔0 ลูกจางประจำตองอุทิศเวลาของตนใหแกราชการ จะละท้ิง
หรอื ทอดท้งิ หนา ทร่ี าชการมไิ ด

การละทิ้งหรือทอดทิ้งหนาที่ราชการ โดยไมมีเหตุผลอันสมควร
เปนเหตุใหเสียหายแกราชการอยางรายแรง หรือละทิ้งหนาที่ราชการติดตอ
ในคราวเดียวกันเปนเวลาเกินกว าสิบหาว ันโดยไม มีเห ตุผลอัน ส ม ค ว ร
หรือโดยมีพฤติการณอันแสดงถึงความจงใจไมปฏิบัติตามระเบียบของ
ทางราชการเปนความผิดวนิ ยั อยา งรายแรง

ขอ 41 ลูกจางประจำตองสุภาพเรียบรอย รักษาความสามัคคี
และไมกระทำการอยางใด ที่เปนการกลั่นแกลงและตองชวยเหลือกันในการ
ปฏบิ ตั ิราชการระหวา งลูกจางประจำดวยกันและผูรวมปฏบิ ตั ิราชการ

ขอ ๔2 ลูกจางประจำตองตอนรับ ใหความสะดวก ใหความเปนธรรม
และใหการสงเคราะหแกประชาชนผูติดตอราชการเกี่ยวกับหนาที่ของตน
โดยไมชักชา และดวยความสุภาพเรียบรอย หามมิใหดูหมิ่นเหยียดหยาม
กดข่ี หรอื ขมเหงประชาชนผูตดิ ตอ ราชการ

การดหู มน่ิ เหยยี ดหยาม กดขี่ หรือขมเหงประชาชนผูติดตอ ราชการ
อยา งรายแรง เปนความผิดวินยั อยางรา ยแรง

ขอ ๔๓ ลูกจา งประจำตอ งไมก ระทำการหรือยอมใหผูอ่ืนกระทำการ
หาผลประโยชน อันอาจทำใหเสียความเทีย่ งธรรม หรือเสื่อมเสียเกียรติศักด์ิ
ของตำแหนง หนา ทร่ี าชการของตน

ขอ ๔4 ลูกจางประจำตองไมเปนกรรมการผูจัดการหรือผูจัดการ
หรือดำรงตำแหนงอื่นใดที่มีลักษณะงานคลายคลึงกันนั้น ในหางหุนสวน
หรอื บริษทั

๓๑

รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอบังคับเ ี่กยวกับ จ ิรยธรรม จรรยา และ ิว ันย ขอ ๔๕ ลูกจางประจำตองวางตนเปนกลางทางการเมือง
สำหรับ ขาราชการ ูลกจาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย ในการปฏิบัติหนาที่ราชการ และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวของกับ
ประชาชน กบั จะตองปฏิบตั ติ ามระเบียบของทางราชการวา ดว ยมารยาททาง
การเมืองของขาราชการดว ยโดยอนุโลม

ขอ ๔๖ ลูกจางประจำตองรักษาชื่อเสียงของตน และรักษาเกียรติศักดิ์
ของตำแหนงหนาที่ราชการของตนมิใหเสื่อมเสีย โดยไมกระทำการใดๆ
อันไดช อ่ื วา เปนผปู ระพฤติชว่ั

การกระทำความผิดอาญาจนไดรับโทษจำคุก หรือโทษที่หนักกวา
โทษจำคุก โดยคำพิพากษาถึงที่สุดใหจำคุก หรือไดรับโทษที่หนักกวาโทษ
จำคุกเวนแตเปนโทษสำหรับความผิดที่ไดกระทำโดยประมาท หรือความผิด
ลหุโทษหรือกระทำการอื่นใด อันไดชื่อวาเปนผูประพฤติชั่วอยางรายแรง
เปน ความผิดวินัยอยา งรา ยแรง

ขอ 47 ใหผูบังคับบัญชามีหนาที่เสริมสรางและพัฒนาให
ลูกจางประจำผูอยูใตบังคับบัญชา มีวินัยและปองกันมิใหลูกจางประจำ
ผอู ยูใตบ งั คับบัญชากระทำผิดวนิ ัย และดำเนินการทางวนิ ัยแกลูกจางประจำ
ผอู ยูใตบ ังคับบัญชาซง่ึ มีกรณีอันมีมูลวากระทำผิดวนิ ยั

การเสริมสรางและพฒั นาใหล ูกจางประจำผูอยใู ตบังคบั บัญชามีวินัย
ใหกระทำโดยการปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดี การฝกอบรม การสรางขวัญ
และกำลังใจ การจูงใจหรือการอื่นใด ในอันที่จะเสริมสรางและพัฒนา
ทัศนคติจิตสำนึก และพฤติกรรมของลูกจางประจำผูอยูใตบังคับบัญชา
ใหเปน ไปในทางทีม่ ีวนิ ัย

การปองกันมิใหลูกจางประจำผูอยูใตบังคับบัญชากระทำผิดว ินั ย
ใหกระทำโดยการเอาใจใส สังเกตการณ และขจัดเหตุที่อาจกอใหเกิด
การกระทำผิดวินยั ในเรอ่ื งอันอยใู นวสิ ัยทจ่ี ะดำเนนิ การปอ งกันตามควรแกก รณีได

เมื่อมีการกลาวหาโดยปรากฏตัวผูกลาวหา หรือมีกรณีเปนที่สงสัย
วาลูกจางประจำผูใดกระทำผิดวิ นัยโดยยังไมมีพยานหลักฐาน
ใหผูบังคับบัญชารีบดำเนินการสืบสวนหรือพิจารณาในเบื้องตน

๓๒

วามีมูลหรือไม ถาเห็นวากรณีไมมีมูล ก็ใหยุติเรื่องได ถาเห็นวากรณีมีมูล รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอบังคับเ ี่กยวกับ จ ิรยธรรม จรรยา และ ิว ันย
กใ็ หด ำเนินการทางวนิ ัยทนั ที สำหรับ ขาราชการ ูลกจาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย

ผูบังคับบัญชาผูใดละเลยไมปฏิบัติหนาที่ตามหมวดนี้หรือปฏิบัติ
หนาทด่ี งั กลา วโดยไมสุจริต ใหถอื วา ผนู ัน้ กระทำผิดวินยั

ขอ ๔๘ โทษทางวินยั มี ๕ สถาน คือ
(๑) ภาคทณั ฑ
(๒) ตัดคา จา ง
(๓) ลดขนั้ คาจาง
(๔) ปลดออก
(๕) ไลออก

ขอ ๔๙ การลงโทษลูกจางประจำใหทำเปนคำสั่ง ผูสั่งลงโทษตอง
สั่งลงโทษใหเหมาะสมกับความผิด และมิให เปนไปโดยความพยาบาท
โดยอคติหรือโดยโทสะจริต หรือลงโทษผูไมมีความผิด ในคำสั่งลงโทษ
ใหแสดงวาผถู กู ลงโทษไดก ระทำผิดวนิ ยั ในการกรณีใดตามขอใด

หมวด 5
การดำเนินการทางวนิ ัย

ขอ ๕0 การดำเนินการทางวินัยแกลูกจางประจำซึ่งมีกรณีอันมีมูล
วากระทำผิดวินยั ใหส อบสวนเพื่อใหไดค วามจรงิ และยตุ ิธรรมโดยไมชกั ชา

การดำเนินการตามวรรคหนึ่ง ถา เปนกรณีกลาวหาวา กระทำผิดวินัย
อยางไมรายแรง ใหดำเนินการตามวิธีการที่ผูบังคับบัญชาเห็นสมควร
ถาเปนกรณีกลาวหาวากระทำผดิ วินัยอยางรายแรง ใหแตงตั้งคณะกรรมการข้นึ
ทำการสอบสวน และในการสอบสวนนี้ตองแจงขอกลาวหาและสรุป
พยานหลักฐานที่สนับสนุนขอกลาวหาเทาที่มีใหผูถูกกลาวหาทราบ
โดยจะระบุหรือไมระบุพยานก็ได ทั้งนี้เพื่อใหผูถูกกลาวหาชี้แจงและนำสืบ
แกขอกลาวหา เมื่อดำเนินการแลวถา ฟงไดว า ผูถูกกลา วหาไดกระทำผิดวินัย

๓๓

รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอ ับงคับเ ่ีกยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย ก็ใหดำเนินการตามขอ ๕๑ หรือขอ ๕๒ แลวแตกรณี ถายังฟงไมไดวา
สำห ัรบ ขาราชการ ลูก จาง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย ผถู ูกกลา วหากระทำผดิ วนิ ัย จึงจะยุติเรอ่ื งได

การแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนตามวรรคสอง ใหผูมีอำนาจ
สั่งบรรจุตามขอ ๑๓ เปนผูสั่งแตงตั้งหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการ
สอบสวนพิจารณา เพื่อใหไดความจริงและยุติธรรมและอำนาจและหนาท่ี
ของคณะกรรมการสอบสวนใหเ ปนไปตามทีก่ ำหนดไวในกฎหมายวาดวยระเบียบ
ขาราชการพลเรอื นโดยอนุโลม

ขอ ๕๑ ลูกจางประจำผูใดกระทำผิดวินัยอยางไมรายแรง
ใหผูบังคับบัญชาสั่งลงโทษภาคทัณฑ ตัดคาจาง หรือลดคาจางตามควร
แกกรณีใหเหมาะสมกับความผิด ถามีเหตุอันควรลดหยอน จะนำมาประกอบ
การพิจารณาลดโทษก็ได แตสำหรับการลงโทษภาคทัณฑใหใชเฉพาะกรณี
กระทำผิดวินัยเล็กนอย หรือมีเหตุอันควรลดหยอน ซึ่งยังไมถึงกับจะตองถูกลงโทษ
ตัดคาจาง ถาผูบังคับบัญชาเห็นวาผูนั้นควรจะตองไดรับโทษสูงกวา
ที่ตนมีอำนาจสั่งลงโทษใหรายงานตอผูบังคับบัญชาของผูนั้นที่มีอำนาจ
เพ่อื ใหพิจารณาดำเนินการเพื่อลงโทษตามควรแกกรณี

ในกรณีกระทำผิดวินัยเล็กนอยและมีเหตุผลอันควรงดโทษ
จะงดโทษใหโดยวากลาวตักเตือนหรือใหทำทัณฑบนเปนหนังสือไวกอนก็ได
การลงโทษตามขอนี้ ผูบังคับบัญชาใดจะมีอำนาจสั่งลงโทษลูกจางประจำ
ผูอ ยใู ตบ ังคบั บญั ชา ในสถานโทษและอัตราโทษใดไดเพยี งใด ใหเ ปนไปตามที่
กระทรวงการคลังกำหนด

ขอ ๕๒ ลูกจา งประจำผูใดกระทำผิดวนิ ยั อยางรายแรง ใหผ มู อี ำนาจ
สั่งบรรจุตามขอ ๑๓ สั่งลงโทษปลดออก หรือไลออกตามความรายแรง
แหงกรณี ในกรณีที่สั่งลงโทษไถออก ถามีเหตุอันควรลดหยอนจะนำมา
ประกอบการพิจารณา ลดโทษก็ได แตหามมิใหลดโทษต่ำกวาปลดออก
ผูถูกสัง่ ลงโทษปลดออกตามวรรคหน่ึง ใหมีสิทธไิ ดรบั บำเหน็จเสมือนวา ผูน นั้
ลาออกจากราชการ

๓๔

ขอ ๕๓ ลูกจางประจำผูใดกระทำผิดวินัยอยางรายแรง และเปนกรณี รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอ ับงคับเ ่ีกยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย
ความผิดท่ีปรากฏชัดแจงตามที่กำหนดในกฎหมายวาดว ยระเบียบขาราชการพลเรือน สำห ัรบ ขาราชการ ลูก จาง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย
ผมู ีอำนาจส่ังบรรจตุ ามขอ ๑๓ จะดำเนนิ การตามขอ ๕๒ โดยไมสอบสวนก็ได

ขอ ๕๔ ลูกจางประจำผูใดมีกรณีถูกกลาวหาวากระทำ หรือละเวน
กระทำการใด ที่พึ่งเห็นไดวาเปนความผิดวินัยอยางรายแรง และเปนการ
กลาวหาเปนหนังสือตอผูบังคับบัญชาของผูนั้น หรือตอผูมีหนาที่สืบสวน
สอบสวน หรือตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบของทางราชการ
หรือเปนการกลาวหาเปนหนังสือโดยผูบังคับบัญชาของผูนั้น หรือมีกรณี
ถูกฟอ งคดอี าญา หรอื ตอ งหาวากระทำความผิดอาญา เวน แตความผิดทีไ่ ดกระทำ
โดยประมาทที่ไมเกี่ยวกับราชการ หรือความผิดลหุโทษ แมภายหลังผูนั้น
จะออกจากราชการไปแลวเวนแตออกจากราชการเพราะตาย ผูมีอำนาจ
ส่ังบรรจุตามขอ ๑๓ มีอำนาจดำเนินการสืบสวนหรือพิจารณาตามขอ ๕0
และดำเนนิ การทางวินัยตามท่กี ำหนดไวใ นหมวดนี้ตอไป ใหเสมือนวา ผูน้ันยัง
มิไดออกจากราชการ เวนแตกรณีที่ผลการสอบสวนพิจารณาปรากฏวาผูนนั้
กระทำผิดวินัยที่จะตองลงโทษภาคทัณฑ ตัดคาจาง หรือลดขั้นคาจาง
กใ็ หง ดโทษเสยี ได

ขอ ๕๕ ลูกจางประจำผูใดมีกรณีถูกกลาวหาวากระทำผิดวินัย
อยางรายแรง จนถูกตั้งคณะกรรมการสอบสวน หรือถูกฟองคดีอาญา
หรือตองหาวากระทำความผิดอาญา เวนแตเปนความผิดที่ไดกระทำ
โดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ ผูมีอำนาจสั่งบรรจุตามขอ ๑๓ มีอำนาจ
สั่งพักราชการหรือสั่งใหออกจากราชการไวกอน เพื่อรอฟงผลการสอบสวน
พิจารณาได แตถาภายหลังปรากฏผลการสอบสวนพิจารณาวาผูนั้น
มไิ ดกระทำผิด หรอื กระทำผิดไมถ ึงกบั จะตองถูกลงโทษปลดออก หรือไลออก
และไมมีกรณีที่จะตองออกจากราชการดวยเหตุอื่น ก็ใหผูมีอำนาจสั่งบรรจุ
ตามขอ ๑๓ สั่งใหผูนั้น กลับเขารับราชการในตำแหนงเดิม หรือตำแหนง
ทไี่ มส งู กวาเดิมที่ผนู ั้นมคี ุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหนงนั้น

เม่ือไดมีการสั่งใหล ูกจา งประจำผูใดพักราชการ หรอื ออกจากราชการไวกอน
ตามวรรคหนึ่งแลว ภายหลังปรากฏวาผูนั้นมีกรณีถูกกลาวหาวากระทำผิดวินัย

๓๕

รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอบัง ัคบเ ่ีกยว ักบ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย อยางรายแรงในกรณีอื่นอีก ผูมีอำนาจสั่งบรรจุตามขอ ๑๓ มีอำนาจ
สำหรับ ขาราชการ ลูก จาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย ดำเนินการสบื สวนหรือดำเนนิ การทางวนิ ยั ตามทก่ี ำหนดไวในระเบยี บน้ี

ในกรณที ี่สั่งใหผ ถู ูกสั่งใหออกจากราชการไวกอนกลับเขารับราชการ
หรือสั่งใหผูถูกสั่งใหออกจากราชการไวกอน ออกจากราชการดวยเหตุอื่น
ที่มิใชเปนการลงโทษเพราะกระทำผิดวินัยอยางรายแรง ก็ใหผูนั้น
มีสถานภาพเปนลูกจางประจำตลอดระยะเวลาระหวางวันที่ถูกสั่งใหออก
จากราชการไวก อนเสมือนวาผนู ้ันเปนผูถ กู สง่ั พกั ราชการ

คาจาง เงินอื่นที่จายเปนรายเดือนและเงินชวยเหลืออยางอื่น
และการจายเงินดังกลาวของผูถูกสั่งพักราชการ และผูถูกสั่งใหออก
จากราชการไวกอนใหเปนไปตามกฎหมายหรือระเบียบวาดวยการนั้น
สำหรับผูถูกสั่งใหออกจากราชการไวกอน ถาไมมีกฎหมายหรือระเบียบ
ดังกลา ว ใหถ อื เสมอื นวา ผนู ัน้ เปน ผูถูกสั่งพกั ราชการ

หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการสั่งพักราชการ การสั่งใหออก
จากราชการไวกอน ระยะเวลาใหพักราชการและใหออกจากราชการไวกอน
และการดำเนินการเพื่อใหเปนไปตามผลการสอบสวนพิจารณาใหเปนไปตาม
ทีก่ ำหนดไวใ นกฎหมายวา ดว ยระเบียบขาราชการพลเรอื นโดยอนโุ ลม

ขอ ๕๖ การลงโทษลูกจางประจำในสวนราชการที่มีกฎหมาย
ระเบียบหรือขอบังคับวาดวยวินัยโดยเฉพาะ จะลงโทษตามระเบียบน้ี
หรือลงทัณฑห รือลงโทษตามกฎหมาย หรือระเบียบ หรือขอบังคบั วาดว ยวินัยนนั้
อยา งใดอยา งหน่ึง ตามควรแกก รณีและพฤติการณก็ได แตถ า เปนการกระทำ
ผิดวินัยอยางรายแรงตามระเบียบนี้ ก็ใหผูมีอำนาจสั่งบรรจุตามขอ ๑3
พจิ ารณาดำเนนิ การตามทกี่ ำหนดไวในระเบียบนี้

๓๖

หมวด 6 รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอบัง ัคบเ ่ีกยว ักบ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย
การออกจากราชการ สำหรับ ขาราชการ ลูก จาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย

ชอ ๕๗ ลกู จา งประจำออกจากราชการเมอื่
(๑) ตาย
(๒) พนจากราชการตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวย

บำเหน็จลูกจาง
(๓) ลาออกจากราชการ และไดรับอนุญาตใหลาออก

หรือการลาออกมผี ลตามขอ ๕๘
(๔) ถูกสั่งใหออกตามขอ ๑๔ ขอ ๒๑ ขอ ๕๕ ขอ ๕๙

ขอ ๖๐ ขอ ๖๑ ขอ ๖๒ หรือขอ ๖๓ หรอื
(๕) ถูกสงั่ ลงโทษปลดออกหรอื ไลออก

วันออกจากราชการตาม (๔) และ (๕) ใหเปนไปตามกฎหมาย
วาดวยระเบียบขาราชการพลเรือนโดยอนโุ ลม

การตอ เวลาราชการใหล ูกจางประจำที่ตองออกจากราชการตาม (๒)
รบั ราชการตอไป จะกระทำมิได

ขอ ๕๘ นอกจากกรณีตามวรรคหา ลูกจางประจำผูใดประสงค
จะลาออกจากราชการใหยื่นหนังสือขอลาออกจากราชการตอผูบ ังคับบญั ชา
โดยใหยื่นลวงหนากอนวันที่จะขอลาออกจากราชการไมนอยกวาสามสิบวัน
เพอ่ื ใหผ ูมีอำนาจส่ังบรรจุตามขอ ๑๓ เปนผูพ จิ ารณาอนุญาต

ในกรณีมีเหตุผลความจำเปนพิเศษ ผูบังคับบัญชาจะอนุญาต
ใหลูกจางประจำซึ่งประสงคจะลาออกจากราชการยื่นหนังสือขอลาออก
จากราชการลวงหนา นอ ยกวาสามสิบวันก็ได

ในกรณีที่ผูมีอำนาจสั่งบรรจุตามขอ 13 พิจารณา เห็นวาจำเปน
เพื่อประโยชนแกราชการจะยับยั้งการอนุญาตใหลาออกไวเปนเวลาไมเกิน
เกาสิบวันนับตั้งแตวันขอลาออกก็ได แตตองแจงการยับยั้งการอนุญาต
ใหลาออกพรอมทั้งเหตุผลใหผูขอลาออกทราบ และเมื่อครบกำหนดเวลา
ท่ยี ับย้ังแลว ใหการลาออก มีผลตั้งแตวนั ถดั จากวนั ครบกำหนดเวลาทีย่ บั ยัง้

๓๗

รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และข้อบังคับเ ี่กยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย ถาผูมีอำนาจสั่งบรรจุตามขอ ๑๓ ไมไดอนุญาตใหลาออกตามวรรคหน่ึง
สำหรับ ขาราชการ ูลก จาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย และไมไดยับยั้งการอนุญาตใหลาออกตามวรรคสอง ใหการลาออกนั้นมีผล
ต้งั แตว ันขอลาออก

ในกรณีที่ลูกจางประจำผูใดประสงคจะลาออกจากราชการ
เพอ่ื ดำรงตำแหนงทางการเมือง หรอื เพอื่ สมัครรับเลือกต้ังเปน สมาชิกรัฐสภา
สมาชิกสภาทองถิ่น หรือผูบริหารทองถิ่น ใหยื่นหนังสือขอลาออกตอ
ผูบ ังคับบัญชาและใหก ารลาออกมผี ลตัง้ แตว ันที่ผูนน้ั ขอลาออก

หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการลาออก การพิจารณาอนุญาต
ใหลาออกและการยับย้ัง การอนุญาตใหลาออกจากราชการ ใหเปนไปตามท่ี
กำหนดไวในกฎหมายวาดว ยระเบียบขา ราชการพลเรือนโดยอนโุ ลม

ขอ ๕๙ เมื่อลูกจางประจำผูใดไปรับราชการทหารตามกฎหมาย
วาดวยการรับราชการทหาร ใหผูมีอำนาจสั่งบรรจุตามขอ ๑๓ สั่งใหผูนั้น
ออกจากราชการ

ลูกจางประจำผูใดถูกสั่งใหออกจากราชการตามวรรคหนึ่ง
และตอมาปรากฏวา ผนู ้นั มีกรณีท่จี ะตองถูกส่ังใหออกจากราชการตามขออ่ืน
อยูกอนไปรับราชการทหาร ก็ใหผูมีอำนาจสั่งบรรจุตามขอ ๑๓ มีอำนาจ
เปลี่ยนแปลงคำส่ังใหออกจากราชการตามวรรคหน่ึงเปน ใหออกจากราชการ
ตามขอ อืน่ น้ันได

ขอ ๖๐ ผมู ีอำนาจส่ังบรรจุตามขอ ๑๓ มอี ำนาจสง่ั ใหล กู จา งประจำ
ออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวย
บำเหนจ็ ลูกจางได และการสง่ั ใหอ อกจากราชการเพอ่ื รบั บำเหน็จ นอกจากใหท ำได
ในกรณีที่กำหนดไวในขออื่นของระเบียบนี้แลว ใหทำไดในกรณีใดกรณีหน่ึง
ดังตอ ไปนี้ดว ยคือ

(๑) เมอ่ื ลกู จา งประจำผูใดเจ็บปว ยไมอ าจปฏิบตั หิ นาท่ีราชการ
ของตนไดโดยสม่ำเสมอ ถาผูมีอำนาจสั่งบรรจุตามขอ ๑๓ เห็นสมควร
ใหออกจากราชการ ใหส่ังใหผ ูน ้นั ออกจากราชการได

(๒) เมื่อลูกจา งประจำผูใดขาดคุณสมบัติตามขอ 6 (๑) (๔) (๕)
(6) (๙) หรอื (๑๐) ใหผ ูมีอำนาจสั่งบรรจตุ ามขอ ๑๓ สง่ั ใหผนู ้ันออกจากราชการได

๓๘

(๓) เมื่อลูกจางประจำผูใดมีกรณีถูกกลาวหาหรือมีเหตุอันควร รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และข้อบังคับเ ี่กยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย
สงสัยวาเปนผูขาดคุณสมบัติทั่วไป ตามขอ ๖ (๓) และผูมีอำนาจสั่งบรรจุ สำหรับ ขาราชการ ูลก จาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย
ตามขอ ๑๓ เห็นวากรณีมีมูลก็ใหสั่งแตงตั้งคณะกรรมการสอบสวนโดยไม
ชักชา และใหนำขอ ๖๑ มาใชบ งั คบั โดยอนโุ ลม ในกรณีท่ีผมู ีอำนาจสั่งบรรจุ
ตามขอ ๑3 เห็นวาผูนั้นเปนผูขาดคุณสมบัติทั่วไปตาม ขอ ๖ (๓) ก็ใหสั่งให
ผูน น้ั ออกจากราชการ

(๔) เมือ่ ทางราชการเลกิ หรือยุบตำแหนงใด ใหผมู ีอำนาจสง่ั บรรจุ
ตามขอ ๑๓ สั่งใหลูกจางประจำผูดำรงตำแหนงนั้นออกจากราชการ
ไดตามหลักเกณฑแ ละวธิ ีการทก่ี ระทรวงการคลังกำหนด หรอื

(๕) เมื่อลูกจางประจำผูใดไมสามารถปฏิบัติราชการใหมี
ประสทิ ธภิ าพ และเกิดประสิทธผิ ลในระดบั อนั เปน ที่พอใจของทางราชการได
ใหผูมีอำนาจสั่งบรรจุตามขอ ๑๓ สั่งใหผูนั้นออกจากราชการ ทั้งนี้ตาม
หลักเกณฑและวธิ ีการตามที่กำหนดไวในกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการ
พลเรอื นโดยอนุโลม

ขอ ๖๑ เมื่อลูกจางประจำผูใดมีกรณีถูกกลาวหา หรือมีเหตุอันควรสงสยั
วาหยอนความสามารถในอันที่จะปฏิบัติหนาที่ของตนบกพรองในหนาที่ราชการ
หรือประพฤติตนไมเหมาะสมกับตำแหนงหนาที่ราชการ และผูมีอำนาจสั่งบรรจุ
ตามขอ ๑3 เห็นวากรณีมีมูล ถาใหผูนั้นปฏิบัติราชการตอไปจะเปนการเสียหาย
แกราชการ ก็ใหผูมีอำนาจสั่งบรรจุตามขอ ๑๓ แตงตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนโดยไมชักชา ในการสอบสวนนี้จะตองแจงขอกลาวหา
และสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนขอกลาวหาเทาที่มีใหผูถูกกลาวหาทราบ
โดยจะระบุหรือไมระบุชื่อพยานก็ได และตองใหโอกาสผูถูกกลาวหาช้ีแจง
และนำสบื แกขอกลา วหาไดดว ย เมอื่ ไดมีการสอบสวนแลวและผูมีอำนาจส่ังบรรจุ
ตามขอ ๑๓ พิจารณาเห็นวาสมควรใหออกจากราชการก็ใหสั่งใหผูนั้น
ออกจากราชการเพ่ือรบั บำเหนจ็ ได

หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการสอบสวนพิจารณา ใหเปนไป
ตามท่ีกำหนดไวใ นกฎหมายวา ดวยระเบียบขา ราชการพลเรอื นโดยอนุโลม

๓๙

รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอ ับงคับเ ี่กยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิวนัย ในกรณีที่เปนกรณีที่ปรากฏชัดแจงตามที่กำหนดไวในกฎหมาย
สำห ัรบ ขาราชการ ลูกจาง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย ว  า ด  ว ย ร ะ เ บ ี ย บ ข า ร า ช ก า ร พ ล เ ร ื อ น จ ะ ด ำ เ น ิ น ก า ร ต า ม ว ร ร ค ห น่ึ ง
โดยไมส อบสวนกไ็ ด

ขอ 6๒ เมื่อลูกจางประจำผูใดมีกรณีถูกแตงตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนตามขอ ๕0 และคณะกรรมการสอบสวนเห็นวากรณีมีเหตุอันควร
สงสัยอยางยิ่งวาผูนั้นไดกระทำผิดวินัยอยางรายแรง แตการสอบสวน
ไมไ ดค วามแนชัดพอทจ่ี ะลงโทษไดต ามขอ ๕2 วรรคหน่งึ แตมีมลทินหรือมัว
หมองในกรณีที่ถูกสอบสวนนั้น ซึ่งถาใหปฏิบัติราชการตอไปจะเปนการ
เสยี หายแกร าชการ ก็ใหผ มู ีอำนาจสัง่ บรรจุตามขอ ๑๓ ส่ังใหผูนน้ั ออกจากราชการ
เพือ่ รบั บำเหน็จได

ขอ ๖๓ เมื่อลูกจางประจำผูใดตองรับโทษจำคุกโดยคำสั่งศาล
หรอื ตองรบั โทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงทส่ี ดุ ใหจำคุกในความผิดที่ไดกระทำ
โดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ ซึ่งยังไมถึงกับจะตองถูกลงโทษปลดออก
หรือไลออก ผูมีอำนาจสั่งบรรจุตามขอ ๑๓ จะสั่งใหผูนั้นออกจากราชการ
เพอ่ื รับบำเหนจ็ กไ็ ด

หมวด 7
การอุทธรณ

ขอ ๖๔ ลูกจางประจำผูใดถูกสั่งลงโทษตามระเบียบนี้ ใหผูนั้นมี
สิทธิอุทธรณไ ดภายในสามสิบวนั นบั แตว นั ทราบคำสงั่

การอุทธรณและการพิจารณาอุทธรณใหเปนไปตามหลักเกณฑ
และวิธีการที่กระทรวงการคลังกำหนด ในกรณีที่สั่งใหผูอุทธรณ
กลบั เขา ปฏบิ ัตริ าชการใหน ำขอ ๕๕ มาใชบ ังคบั โดยอนุโลม

๔๐

หมวด 8 รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอ ับงคับเ ี่กยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิวนัย
การรอ งทกุ ข สำห ัรบ ขาราชการ ลูกจาง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย
ขอ ๖๕ ลูกจางประจำผูใดถูกสั่งใหออกจากราชการตามระเบียบนี้
ดว ยเหตุใดๆ ใหผ นู น้ั มสี ทิ ธริ อ งทุกขไ ดภ ายในสามสบิ วันนบั แตวนั ทราบคำสั่ง
ขอ ๖๖ ลูกจางประจำผูใดเห็นวาผูบังคับบัญชาใชอำนาจหนาที่
ปฏิบัติตอตนโดยไมถูกตองหรือไมปฏิบัติตอตนใหถูกตองตามกฎหมาย
หรือมีความคับของใจอันเกิดจากการปฏบิ ัติของผูบังคับบัญชาตอ ตนในกรณี
ตามที่กำหนดไวใ นกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือน ผูนั้นอาจรองทุกข
ตอ ผบู ังคบั บัญชาเพ่ือขอใหแ กไขหรือแกความคับของใจได ท้ังนี้ เวนแตกรณี
ท่ีมีสทิ ธอิ ุทธรณตามหมวด ๗ ซ่ึงตอ งใหสทิ ธอิ ทุ ธรณต ามทกี่ ำหนดไวในหมวดนัน้
ขอ ๖๗ การรองทุกขและการพิจารณาเรื่องรองทุกข ใหเปนไป
ตามหลักเกณฑและวธิ กี ารทกี่ ระทรวงการคลังกำหนด

๔๑

รวมกฏหมาย ระเบยี บ และข้อบงั คบั เกี่ยวกบั จริยธรรม จรรยา และวินยั
สำหรับขา ราชการ ลูกจา ง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณสขุ กรมอนามยั

๔๒

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวา ดวยพนักงานราชการ
พ.ศ. 2547

¾ หมวด 4 วินยั และการรกั ษาวินยั

รวมกฏหมาย ระเบยี บ และข้อบงั คบั เกี่ยวกบั จริยธรรม จรรยา และวินยั
สำหรับขา ราชการ ลูกจา ง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณสขุ กรมอนามยั

รวมกฏหมาย ระเบยี บ และข้อบงั คบั เกี่ยวกบั จริยธรรม จรรยา และวินยั
สำหรับขา ราชการ ลูกจา ง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณสขุ กรมอนามยั

๔๔

หมวด 4 รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอ ับงคับเ ่ีกยวกับ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย
วนิ ยั และการรักษาวนิ ยั สำห ัรบ ขาราชการ ลูก จาง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย

ขอ ๒๒ พนักงานราชการมีหนาที่ตองปฏิบัติงานตามที่กำหนด
ในระเบียบนี้ ตามที่สวนราชการกำหนดและตามเงื่อนไขที่กำหนดไวในสัญญาจาง
และมีหนาที่ตองปฏิบัติตามคำสั่งของผูบังคับบัญชาซึ่งสั่งในหนาท่ีราชการ
โดยชอบดว ยกฎหมายและระเบยี บของทางราชการ

ขอ ๒๓ พนักงานราชการตองรักษาวินัยโดยเครงครัดตามที่กำหนด
ไวเปน ขอหามและขอ ปฏบิ ัติทส่ี วนราชการกำหนด

พนักงานราชการผูใดฝาฝนขอหามหรือไมปฏิบัติตามขอปฏิบัติ
ตามวรรคหนึ่งพนักงานราชการผนู นั้ เปน ผูกระทำผิดวนิ ัยจะตองไดร ับโทษทางวนิ ยั

ขอ ๒4 การกระทำความผิดดังตอไปนี้ ถือวาเปนความผิดวินัย
อยางรายแรง

(๑) กระทำความผิดฐานทุจรติ ตอ หนา ที่ราชการ
(๒) จงใจไมปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ
หรือเงื่อนไขที่ทางราชการกำหนดใหปฏิบัติจนเปนเหตุใหทางราชการ
ไดร บั ความเสยี หายอยา งรายแรง
(๓) ปฏิบัติหนาที่โดยประมาทเลินเลอจนเปนเหตุ
ใหทางราชการไดร บั ความเสยี หายอยางรายแรง
(๔) ไมปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดในสัญญา หรือขัดคำสั่ง
หรือหลีกเลี่ยงไมปฏิบัติตามคำสั่งของผูบังคับบัญชาตามขอ ๒๒ จนเปนเหตุ
ใหท างราชการไดร ับความเสยี หายอยางรายแรง
(๕) ประมาทเลินเลอจนเปนเหตุใหทางราชการไดรับ
ความเสียหายอยางรา ยแรง
(๖) ละทิ้งหรือทอดทิ้งการทำงานเปนเวลาติดตอกัน
เกนิ กวา เจ็ดวนั สำหรบั ตำแหนง ที่สวนราชการกำหนดวนั เวลาการมาทำงาน

๔๕

รวมกฏหมาย ระเ ีบยบ และ ้ขอบัง ัคบเ ่ีกยว ักบ จริยธรรม จรรยา และ ิว ันย (๗) ละทิ้งหรือทอดทิ้งการทำงานจนทำใหงานไมแลวเสร็จ
สำหรับ ขาราชการ ลูก จาง พนักงานราชการ และพ ันกงานกระทรวงสาธารณ ุสข กรมอนามัย ตามระยะเวลาทีก่ ำหนดจนเปนเหตใุ หทางราชการไดรับความเสียหายอยางรายแรง
สำหรับตำแหนงที่สว นราชการกำหนดการทำงานตามเปา หมาย

(8) ประพฤติชั่วอยางรายแรง หรือกระทำความผิดอาญา
โดยมคี ำพิพากษาถงึ ทีส่ ุดใหจำคุกหรือหนักกวา โทษจำคุก

(๙) การกระทำอืน่ ใดที่สวนราชการกำหนดวา เปนความผิดวินัย
อยา งรายแรง

ขอ ๒๕ เมื่อมีกรณีที่พนักงานราชการถูกกลาวหาวากระทำผิดวินัย
อยางรายแรงใหหัวหนาสวนราชการจัดใหมีคณะกรรมการสอบสวน
เพื่อดำเนินการสอบสวนโดยเร็ว และตองใหโอกาสพนักงานราชการ
ที่ถูกกลาวหาชี้แจง และแสดงพยานหลักฐานเพื่อใหเกิดความเปนธรรม
ในกรณีที่ผลการสอบสวนปรากฏวาพนักงานราชการผูนั้นกระทำความผิดวินัย
อยางรายแรงใหหัวหนาสวนราชการมีคำสั่งไลออก แตถาไมมีมูลกระทำความผิด
ใหส ัง่ ยตุ ิเร่อื ง

หลักเกณฑและวิธีการการสอบสวนพนักงานราชการ ใหเปนไป
ตามท่สี วนราชการกำหนด

ขอ ๒๖ ในกรณีที่ปรากฏวาพนักงานราชการกระทำความผิดวินัย
ไมรายแรงตามที่สวนราชการกำหนด ใหหัวหนาสวนราชการสั่งลงโทษ
ภาคทัณฑ ตัดเงินคาตอบแทน หรือลดขั้นเงินคาตอบแทน ตามควรแกกรณี
ใหเ หมาะสมกับความผิด

ในการพิจารณาการกระทำความผิดตามวรรคหนึ่ง ใหหัวหนาสวนราชการ
พจิ ารณาสอบสวนใหไดความจรงิ และยุตธิ รรมตามวธิ กี ารที่เหน็ สมควร

ขอ ๒๗ ในกรณีที่คณะกรรมการเห็นสมควรอาจกำหนดแนวทาง
การดำเนินการทางวินัยแกพนักงานราชการ เพื่อเปนมาตรฐานทั่วไป
ใหส วนราชการปฏบิ ัติกไ็ ด

๔๖

ประกาศกรมอนามัย
เร่อื ง วนิ ยั และการดำเนินการทางวนิ ยั

ของพนักงานราชการ

รวมกฏหมาย ระเบยี บ และข้อบงั คบั เกี่ยวกบั จริยธรรม จรรยา และวินยั
สำหรับขา ราชการ ลูกจา ง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณสขุ กรมอนามยั

รวมกฏหมาย ระเบยี บ และข้อบงั คบั เกี่ยวกบั จริยธรรม จรรยา และวินยั
สำหรับขา ราชการ ลูกจา ง พนักงานราชการ และพนักงานกระทรวงสาธารณสขุ กรมอนามยั

๔๘


Click to View FlipBook Version