150
เรอื่ งนใ้ี หแ้ งค่ ดิ หลายประการ แงค่ ดิ อนั หนง่ึ กค็ อื อบุ าสกิ า
กส็ ามารถบรรลธุ รรมขน้ั สงู ได้ และสงู กวา่ พระสงฆท์ เ่ี ปน็ ครบู า-
อาจารยด์ ว้ ยซำ�้ พระเหลา่ นน้ั ถอื เปน็ ครบู าอาจารยข์ องนางพราหมณี
แต่ปรากฏว่าการปฏิบัติธรรมไม่ก้าวหน้าเท่ากับลูกศิษย์ซึ่งเป็น
ผู้ครองเรือนและสามารถบรรลุธรรมข้ันสูงได้ บางครั้งผู้สอน
กเ็ ห็นธรรมไดไ้ ม่ชดั เจนแจม่ แจง้ เทา่ กับผทู้ ่ีเปน็ ศษิ ย์
แงค่ ดิ อกี อยา่ งหนงึ่ กค็ อื ในการบรรลธุ รรมขน้ั สงู นนั้ อาหาร
หรอื สปั ปายะ กม็ สี ว่ นสำ� คญั จติ ใจของคนเราสมั พนั ธก์ บั รา่ งกาย
รา่ งกายกส็ มั พนั ธก์ บั อาหาร สปั ปายะแปลวา่ ความเกอ้ื กลู ทจี่ รงิ
ไม่ได้หมายถึงอาหารอย่างเดียว แต่รวมถึงสถานท่ี และดินฟ้า
อากาศ รวมท้ังหมู่มิตร ชุมชนแวดล้อมด้วย เป็นองค์ประกอบ
สำ� คญั ในหลกั ธรรมเร่อื งสัปปายะ
นนั่ หมายความวา่ ในการปฏบิ ตั ธิ รรมนน้ั นอกจากความตงั้ ใจ
และวธิ กี ารทถ่ี กู ตอ้ งแลว้ ปจั จยั ภายนอกกส็ ำ� คญั ความตงั้ ใจเปน็
ปัจจัยภายใน ได้แก่ วิริยะ หรืออิทธิบาท ๔ แต่ก็ต้องอาศัย
ปัจจัยภายนอกด้วย ปัจจัยภายนอกก็มีตั้งแต่สถานท่ี ดิน ฟ้า
อากาศ และอาหาร รวมทง้ั บคุ คลแวดลอ้ ม จะเรยี กวา่ ชมุ ชน หรอื
กลั ยาณมติ รกไ็ ด ้ ถา้ มสี งิ่ เหลา่ นเ้ี ออ้ื เฟอ้ื เกอื้ กลู กส็ ง่ ผลใหป้ จั จยั
ภายในงอกงาม การปฏิบัติก้าวหน้าจนกระท่ังบรรลุธรรมข้ันสูง
ได้
พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 151
เรอื่ งทมี่ าเลา่ นเี้ ปน็ แงค่ ดิ ทด่ี สี ำ� หรบั พวกเรา ซงึ่ เปน็ ฆราวาส
เปน็ อบุ าสก อบุ าสกิ า ดว้ ยความจำ� เปน็ หรอื ดว้ ยภาระ เราไมส่ ามารถ
ทจี่ ะบวชเปน็ พระสงฆ ์ เปน็ ภกิ ษ ุ หรอื ภกิ ษณุ ไี ด ้ ยงิ่ ภกิ ษณุ ใี นเมอื ง
ไทยดว้ ยแลว้ สมยั นี้เปน็ เร่อื งยากมาก แตถ่ งึ แม้เราไมม่ ีโอกาสได้
ครองอุตตมเพศหรือเพศบรรพชิต ในทางเถรวาทถือว่าฆราวาส
เปน็ หนี เพศ หนี ะแปลวา่ ตำ�่ แตน่ นั่ กเ็ ปน็ แคส่ มมต ิ มนั เปน็ เพยี ง
แคช่ อื่ เรยี ก แตพ่ ดู ถงึ ศกั ยภาพแลว้ เราทกุ คนเปน็ มนษุ ย ์ มพี ทุ ธ
ภาวะอยภู่ ายใน พทุ ธภาวะนอ้ี าจจะยงั ไมแ่ กก่ ลา้ เปรยี บไปกเ็ หมอื น
กบั เมลด็ พนั ธท์ุ ร่ี อวนั เตบิ โต และสามารถเตบิ โตเปน็ ไมใ้ หญ ่ เชน่
ตน้ โพธ ิ์ ตน้ ไทร หรอื ถา้ เปน็ ตน้ ไมเ้ มอื งนอก กใ็ หญอ่ ยา่ งตน้ เรดวดู้
(Redwood) ตน้ ซเิ ควยา่ (Sequoia) ทใ่ี หญโ่ ตมโหฬารเหลอื เกนิ
รถสบิ ลอ้ สามารถแลน่ ทะลอุ โุ มงคท์ ่ขี ดุ ไวต้ รงโคนต้นได้
ตน้ ไมใ้ หญเ่ หลา่ นลี้ ว้ นกำ� เนดิ มาจากเมลด็ เลก็ ๆ ความเปน็
ผรู้ ู้ ผตู้ นื่ ผเู้ บกิ บาน หรอื ความเปน็ พระพทุ ธเจา้ กเ็ ตบิ โตมาจาก
พทุ ธภาวะทม่ี อี ยใู่ นจติ ปถุ ชุ น เชน่ เราๆ ทา่ นๆ เหมอื นกนั ไมว่ า่
จะเปน็ อบุ าสก อบุ าสกิ า ลว้ นเปน็ เสมอื นเมลด็ พนั ธท์ุ ม่ี ศี กั ยภาพ
ทจี่ ะเตบิ โต เปน็ ไมใ้ หญ ่ และใหญม่ ากๆ ไดด้ ว้ ย พทุ ธภาวะในใจ
ของเรา แม้ตอนนี้ยังไม่งอกงามแต่ก็สามารถพัฒนาเติบใหญ่
ท�ำให้เราเป็นอริยบุคคล หรือกลายเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ท่ี
เรยี กว่า “พทุ โธ” ได้
152
เมลด็ พนั ธน์ุ น้ั ตอ้ งอาศยั ปจั จยั ภายนอก ดนิ ฟา้ อากาศ
น�้ำ ในการบ่มเพาะ เพ่ือให้แตกใบและเติบโตเป็นต้นกล้า และ
จากตน้ กลา้ กก็ ลายเปน็ ไมใ้ หญ ่ พทุ ธภาวะในใจเรากเ็ ชน่ เดยี วกนั
จะเบง่ บานจนกระทงั่ กอ่ ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงดา้ นใน จนกลาย
เป็นผู้รู้ ผู้ต่ืน ผู้เบิกบาน หรืออริยบุคคล เป็นผู้ไกลจากกิเลส
เปน็ พระอรหนั ตไ์ ด ้ กต็ อ้ งอาศยั ปจั จยั ภายนอก แตข่ อใหเ้ รามนั่ ใจ
ว่าเราแต่ละคนมีศักยภาพอยู่แล้ว ส่ิงที่ส�ำคัญก็คือการสร้างเหตุ
สรา้ งปจั จยั ใหพ้ รง่ั พรอ้ มบรบิ รู ณ ์ เพอื่ เกอ้ื หนนุ ใหพ้ ทุ ธภาวะเตบิ โต
ปัจจัยน้ัน มีทั้งปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก ปัจจัย
ภายในกค็ อื ความเพยี ร หรอื ถา้ พดู ใหก้ วา้ งกวา่ นนั้ กค็ อื อทิ ธบิ าท ๔
ไดแ้ ก ่ ฉนั ทะ คอื ความรกั ความใฝใ่ จในการบำ� เพญ็ ปฏบิ ตั ิ วริ ยิ ะ
ไมใ่ ชห่ มายความถงึ ความเพยี รความขยนั เทา่ นนั้ แตร่ วมถงึ ความ
แกลว้ กลา้ ไมย่ อ่ ทอ้ ตอ่ อปุ สรรค จติ ตะ คอื ความมใี จจดจอ่ และ
วมิ งั สา คอื การหมน่ั ทบทวน หมนั่ ตรวจสอบเพอื่ ปรบั ปรงุ วถิ ชี วี ติ
และการปฏบิ ตั ขิ องตนใหเ้ จรญิ กา้ วหนา้ มากขนึ้ รวมทง้ั การพจิ ารณา
ชวี ติ ของเราทผ่ี า่ นมาในภาพรวมอยา่ งทพ่ี ดู เมอ่ื วานตอนเยน็ และ
ทข่ี าดไมไ่ ดก้ ค็ อื ปจั จยั ภายนอก โดยเฉพาะกลั ยาณมติ ร ซงึ่ มที งั้
ครบู าอาจารยแ์ ละเพอ่ื นนกั ปฏิบัติ
พวกเราไดร้ วมกลมุ่ กนั เปน็ ชมรมกลั ยาณธรรม กลั ยาณธรรม
หมายถงึ ธรรมทด่ี งี ามกไ็ ด ้ หรอื จะหมายถงึ ธรรมของกลั ยาณมติ ร
พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 153
ก็ได้ ถือว่าเป็นปัจจัยท่ีเกื้อกูลมากส�ำหรับการปฏิบัติ พวกเรา
ใชเ้ วลา ๔-๕ วนั มาปฏบิ ตั ถิ งึ ทน่ี ซี่ ง่ึ เปน็ ทไ่ี กล การเดนิ ทางกใ็ ชเ้ วลา
หลายชวั่ โมงกวา่ จะมาถงึ และเมอ่ื มาถงึ แลว้ กน็ อนกลางดนิ กนิ
กลางทราย คนท่ัวไปมองว่าเรามาล�ำบาก แต่พวกเราก็มีความ
พึงพอใจท่ีได้มาใช้ชีวิตแบบนี้ และได้ใช้โอกาสน้ีในการปฏิบัติ
หลงั จากทไ่ี ดบ้ ำ� เพญ็ ประโยชนใ์ หก้ บั ผอู้ น่ื หรอื สว่ นรวมมามากแลว้
กไ็ ดม้ าปลกี ตวั บำ� เพญ็ ประโยชนต์ น เปน็ การใชโ้ อกาสทม่ี อี ยอู่ ยา่ ง
เตม็ ทเี่ พอ่ื ใหเ้ กดิ ความเจรญิ งอกงามภายใน ซง่ึ แนน่ อนวา่ เมอ่ื เรามี
ความเจริญงอกงามภายใน หรือได้บรรลุประโยชน์ตนอย่างพรงั่
พรอ้ มแลว้ กส็ ามารถทจี่ ะไปบำ� เพญ็ ประโยชนท์ า่ นไดม้ ากมายยง่ิ ขนึ้
เมืองไทยทุกวันน้ีคนที่นึกถึงประโยชน์ท่านนับวันจะน้อย
ลงไปเร่ือยๆ ในขณะท่ีประโยชน์ตนท่ีหมายม่ันก็มีความหมาย
คบั แคบและตน้ื เขนิ คอื มงุ่ แตเ่ พยี งความสขุ ทางวตั ถ ุ ทรพั ยส์ มบตั ิ
ลาภ ยศ สรรเสรญิ แตป่ ระโยชนต์ นทสี่ งู ไปกวา่ นนั้ เชน่ ความดี
คณุ ธรรม กลบั ละเลย และยง่ิ สงู ไปกวา่ นน้ั คอื ความเขา้ ใจแจม่ แจง้
ในเร่ืองสัจธรรม จนเข้าประโยชน์ข้ันสูงสุดคือปรมัตถ์อันได้แก่
การพ้นทกุ ข์ กย็ ิ่งมองข้ามไมส่ นใจ
จะวา่ ไปพวกเรากเ็ หมอื นกบั เทยี นหรอื ประทปี ทกี่ �ำลงั สอ่ ง
สวา่ งทา่ มกลางความมดื มดิ สงั คมไทยตอนนเ้ี หมอื นถกู ครอบงำ�
ดว้ ยความมดื เพราะหลงตดิ ในวตั ถนุ ยิ ม บรโิ ภคนยิ ม หรอื กนิ
154
กาม เกยี รต ิ กนั มาก ซำ�้ ยงั มอี กี สามขอ้ เพม่ิ เขา้ มาเปน็ อกี ชดุ หนงึ่
คอื โกรธ เกลยี ด กลวั กนิ กาม เกยี รต ิ กห็ นกั แลว้ ยงั มโี กรธ
เกลียด กลัว ถึงข้ันแบ่งกันเป็นฝักเป็นฝ่าย คิดจะห้�ำหั่นกัน
ไมเ่ หน็ อกี ฝา่ ยเปน็ มนษุ ย์ เรยี กวา่ กำ� ลงั ใกลม้ คิ สญั ญ ี มคิ ะ กค็ อื
กวาง มิคสัญญี คือ การมองเห็นซึ่งกันและกันเป็นกวาง คือ
คิดแต่จะฆ่าฟันเอาเลือดเอาเนื้อกัน แม้ว่าตอนนี้ยังไม่ถึงข้ันนั้น
แตถ่ า้ เลยจากนไ้ี ปกเ็ ปน็ ไปได ้ นค้ี อื ความมดื มดิ พวกเราเปรยี บ
เสมอื นแสงเทยี นที่ก�ำลงั ส่องสว่างขบั ไลค่ วามมดื มน
ตอนน้ีมีหลายกลุ่มหลายคนท่ีก�ำลังบ�ำเพ็ญตนเป็นเทียน
เลม่ นอ้ ยๆ ถงึ แมอ้ าจจะยงั ไมส่ ามารถขบั ไลค่ วามมดื ได ้ แตก่ ท็ ำ� ให้
ผู้คนมีที่พ่ึง และมีความหวังว่าสักวันหนึ่งความมืดมนจะหายไป
และความสว่างจะมาแทนที่ เหมือนเทียนท่ีเราจุดกันคนละเล่ม
สองเล่มนี ้ แมจ้ ะให้ความสว่างได้ไม่เต็มท ่ี แตก่ ็ช่วยใหเ้ ราทำ� สิ่ง
ต่างๆ ได้หลายอย่างทา่ มกลางความมืดมดิ
ความมดื มนนนั้ ไมเ่ คยมดื มดิ ไปตลอด ไมน่ านแสงสวา่ งยอ่ ม
ปรากฏ เทียนมีประโยชน์ตรงน้ี คือท�ำให้ผู้คนยังมีความหวังว่า
อกี ไมช่ า้ ไมน่ านความสวา่ งจะปรากฏ และเมอื่ ถงึ ตอนนน้ั เมอ่ื อาทติ ย์
เร่ิมอุทัย ผู้คนก็จะต่ืนข้ึน ถึงตอนนั้นเทียนก็อาจจะมีประโยชน์
นอ้ ยลง แตก่ ไ็ มเ่ ปน็ ไรแลว้ เพราะมนั ไดท้ �ำหนา้ ทท่ี สี่ ำ� คญั แลว้ คอื
ทำ� ใหผ้ คู้ นมคี วามหวงั และความมนั่ ใจวา่ ไมช่ า้ ไมน่ านความมดื มน
พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 155
จะหายไป ความสว่างจะปรากฏ อย่างตอนนี้ความสว่างค่อยๆ
ปรากฏ และเมื่อสว่างเต็มที่ เทียนก็อาจจะไม่มีประโยชน์แต่ก็
ถอื วา่ ไดท้ ำ� หน้าท่ีแล้ว
เมอื่ วานอาตมาไดพ้ ดู วา่ ใจของเรานม้ี คี วามผกู พนั กบั ทอ้ งฟา้
ในขณะทร่ี า่ งกายของเราผกู พนั กบั ผนื ดนิ ทอ้ งฟา้ จะสวา่ งไดก้ ต็ อ้ ง
อาศัยดวงอาทิตย์ ฉันใดก็ฉันนั้น ใจของเราจะสว่างไสวได้
กเ็ พราะพระธรรม พระธรรมในทนี่ ไ้ี มไ่ ดม้ าจากผรู้ ู้ จากพระสงฆ์
หรอื แมก้ ระทงั่ จากพระพทุ ธองคเ์ ทา่ นน้ั แตย่ งั หมายถงึ ธรรมะในใจ
เรา ธรรมะจากภายนอกไมท่ ำ� ใหใ้ จเราสวา่ งไดม้ ากเทา่ กบั ธรรมะ
ในใจ ธรรมะในใจน ี้ ไมไ่ ดห้ มายถงึ เฉพาะคณุ ธรรมความด ี แตย่ งั
หมายถงึ ความเข้าใจแจ่มแจ้งในสัจธรรม เราจะเข้าใจแจ่มแจ้ง
ในสัจธรรมได้กต็ ้องมีสัมมาทิฏฐเิ ป็นจุดเร่ิมต้น
ไดพ้ ดู ไปแลว้ เมอื่ วนั กอ่ นวา่ สมั มาทฏิ ฐนิ นั้ มที งั้ โลกยิ สมั มา-
ทิฏฐิ คือความเชื่อหรือความเห็นเกี่ยวกับความดีหรือคุณธรรม
เชน่ ทำ� ดไี ดด้ ี ทำ� ชวั่ ไดช้ ว่ั สว่ นโลกตุ รสมั มาทฏิ ฐหิ มายถงึ ความ
เข้าใจแจ่มแจ้งในสัจธรรมความจริง เข้าใจในเรื่องของสามัญ
ลกั ษณะหรอื ไตรลกั ษณ ์ คอื อนจิ จงั ทุกขัง อนัตตา
ขยายความหน่อยว่า โลกียสัมมาทิฏฐินั้นช่วยให้เรารู้จัก
ใช้ร่างกายน้ีให้เป็นประโยชน์ในการท�ำความดีหรือประโยชน์ให้
156
แกเ่ พอื่ นมนษุ ย ์ ไมก่ อ่ โทษ เบยี ดเบยี น สว่ นโลกตุ ตรสมั มาทฏิ ฐิ
คอื การเหน็ ชดั วา่ รา่ งกายของเรานเี้ ปน็ สกั แตว่ า่ ธาตไุ มม่ ตี วั ไมม่ ตี น
เม่ือมองเห็นร่างกาย ก็มองไม่เห็นตัวตนแม้แต่น้อย อย่างท่ีเรา
ได้สวดกายคตาสติเม่ือสักครู่
พระพทุ ธองคไ์ ดต้ รสั ถงึ สมั มาทฏิ ฐโิ ดยเปรยี บเทยี บกบั ดวง
อาทิตย์ เราคงเคยได้ยินพุทธพจน์ที่ว่า เมื่อดวงอาทิตย์อุทัยอยู่
ยอ่ มมแี สงอรณุ ขนึ้ มากอ่ น เปน็ บพุ นมิ ติ ฉนั ใด ความถงึ พรอ้ มดว้ ย
โยนโิ สมนสกิ าร และกลั ยาณมติ ร กเ็ ปน็ บพุ นมิ ติ แหง่ การเกดิ ขน้ึ
ของอารยอษั ฎางคกิ มรรค หรอื มรรคมอี งคแ์ ปดอนั ประเสรฐิ ฉนั นน้ั
บพุ นมิ ติ หมายถงึ สญั ญาณบอกลว่ งหนา้ หรอื เปน็ ปจั จยั น�ำ เชน่
อรยิ มรรคมอี งคแ์ ปด ซงึ่ เรม่ิ ตน้ ดว้ ยสมั มาทฏิ ฐจิ ะเกดิ ขน้ึ ได ้ กต็ อ้ ง
อาศัยโยนิโสมนสิการ และกัลยาณมิตรเป็นปัจจัย โยนิโสมน-
สิการเปน็ ปจั จยั ภายใน สว่ นกัลยาณมิตรเปน็ ปจั จัยภายนอก
เม่ือตอนต้นก็ได้พูดไปแล้วว่า ปัจจัยภายในและปัจจัย
ภายนอกเปน็ สง่ิ จำ� เปน็ สำ� หรบั ความเจรญิ งอกงามในจติ ใจ พวกเรา
ซง่ึ หวงั ความกา้ วหนา้ ในทางธรรมจงึ ควรใหค้ วามสำ� คญั แกโ่ ยนโิ ส-
มนสกิ ารและกลั ยาณมติ ร อาศยั กลั ยาณมติ รเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ทน่ี �ำ
ไปสโู่ ยนิโสมนสกิ าร
พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 157
พระพุทธองค์ยังได้ตรัสถึงความเจริญงอกงามในธรรมใน
อีกมุมหน่ึง ว่าเร่ิมต้นด้วยการเข้าหาสัตตบุรุษ เม่ือเข้าหาแล้วก็
สนทนาและฟังธรรมจากท่าน หลังจากนั้นก็จะเกิดโยนิโสมน-
สกิ ารขนึ้ และโยนโิ สมนสกิ ารกน็ ำ� ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ เรยี กวา่ ธรรมา
นุธรรมปฏบิ ตั ิ ทีเ่ ปน็ บันไดสขี่ นั้ ของการมีดวงตาเหน็ ธรรม คอื
๑ เขา้ หาผรู้ ู้ คอื กัลยาณมิตร หรอื สตั บรุ ษุ
๒ เสวนา สดบั ตรับฟงั หรอื ศึกษาจากท่าน อันนรี้ วมถึง
ไตถ่ ามด้วย
๓ เกิดความร้จู กั คดิ หรอื โยนิโสมนสิการคอื รู้จักคดิ ถ้า
เอาแตแ่ หแ่ หนเขา้ ใกล ้ แตไ่ มส่ นทนา ไมร่ บั ฟงั ความรจู้ กั
คดิ ร้จู กั พิจารณา กไ็ ม่เกดิ โยนโิ สมนสกิ าร
คนจำ� นวนไมน่ อ้ ยอยากเหน็ บารมขี องพระอรยิ เจา้ อยาก
จะทำ� บญุ กบั ทา่ น แตไ่ มส่ นใจทจ่ี ะฟงั ไมส่ นใจทจี่ ะเสวนา ไมส่ นใจ
ทจี่ ะเรยี นธรรมจากทา่ น กไ็ มเ่ กดิ โยนโิ สมนสกิ ารขน้ึ มา กต็ ดิ ตนั
อยู่แค่นั้น คือได้แต่บุญ ได้แต่กุศล แต่ว่าปัญญาไม่เกิด แต่
ถ้าหากเรารู้จักฟังธรรมจากสัตบุรุษ สัตบุรุษน้ันไม่จ�ำเป็นว่าจะ
ต้องเป็นพระ จะเป็นญาติโยม จะเป็นคนที่มีอายุอ่อนกว่าเรา
หรือมีวัยวุฒิ คุณวุฒิต่�ำกว่าเราก็ยังได้ แต่เป็นผู้ที่มีปัญญา ฟัง
แลว้ ถา้ เอาไปคดิ กจ็ ะเกดิ โยนโิ สมนสกิ าร แตถ่ า้ คดิ แลว้ ไมป่ ฏบิ ตั ิ
ก็ไม่เกิดความก้าวหน้า น่ันคือข้อ ๔ คือ ต้องปฏิบัติ ท่านใช้
158
คำ� วา่ ธรรมานธุ รรมปฏบิ ตั ิ แปลวา่ การปฏบิ ตั ธิ รรมสมควรแกธ่ รรม
บางทกี แ็ ปลวา่ ปฏบิ ตั ธิ รรมนอ้ ยคลอ้ ยธรรมใหญ่ หมายความวา่
ปฏบิ ตั ธิ รรมโดยเขา้ ใจจดุ มุง่ หมายของธรรมแตล่ ะขอ้
ธรรมแตล่ ะขอ้ เปรยี บเหมอื นขนั้ บนั ไดทพ่ี าเราเขยบิ สงู ขน้ึ
ธรรมแตล่ ะขอ้ นนั้ มจี ดุ มงุ่ หมายสง่ ตอ่ กนั เปน็ ทอดๆ เชน่ ทาน ชว่ ย
ใหเ้ ราละความยดึ ตดิ ในทรพั ยส์ มบตั ิ ไมเ่ อาทรพั ยเ์ ปน็ เปา้ หมาย
ของชีวิต หรือคิดแต่จะเอาอย่างเดียว แต่รู้จักเผ่ือแผ่ ซึ่งท�ำให้
จิตใจเป็นบุญ ท�ำให้ความเห็นแก่ตัวน้อยลง เป็นพ้ืนฐานในการ
รักษาศีล เห็นคุณค่าของศีล เมื่อรักษาศีลดี จิตใจสงบ ไม่มี
ความกงั วลหรอื หวน่ั วติ กเพราะไมไ่ ดส้ รา้ งความเดอื ดรอ้ นแกใ่ คร
มีความม่ันใจในตนเอง จิตใจก็สงบท�ำให้เก้ือกูลต่อการบ�ำเพ็ญ
สมาธิ จากสมาธิกน็ �ำไปสปู่ ญั ญา
แต่ถ้าเราไม่เข้าใจจุดมุ่งหมายของธรรมแต่ละข้อ ความ
ไมเ่ ขา้ ใจนนั้ กอ็ าจเปน็ เครอื่ งขวางกน้ั เชน่ ใหท้ าน เพราะอยาก
จะไดเ้ ขา้ ตวั มากๆ อยากจะถกู ลอตเตอร ี่ อยากจะไดค้ วามชน่ื ชม
สรรเสรญิ แทนทค่ี วามยดึ ตดิ ถอื มน่ั จะลดลงกก็ ลบั เพม่ิ พนู มากขนึ้
กิเลสไม่ได้ลดน้อยถอยลง กลับมากข้ึนด้วยซ�้ำ หรือรักษาศีล
แทนท่ีจะมุ่งขัดเกลาตนเอง กลับเกิดความหลงตัวลืมตนว่า
ฉันมีศีลมากกว่าผู้อ่ืน มองผู้อ่ืนด้วยความเหยียดแคลน เกิด
อหังการ มมังการ ก็ยิ่งกลายเป็นอุปสรรคแก่การปฏิบัติธรรม
พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 159
หรือพอท�ำสมาธิแล้วเห็นแสง เห็นนิมิต มีความสามารถพิเศษ
ทางจิต ก็หลงติดส่ิงนั้น หรือแม้กระทั่งได้รับความสงบก็ติด
ความสงบ แทนที่จะใช้ความสงบนั้นเพื่อพิจารณากายและใจ
ใหเ้ หน็ อยา่ งแจม่ แจง้ ในความจรงิ ทเี่ ปน็ ไตรลกั ษณ ์ กไ็ มพ่ จิ ารณา
คนจ�ำนวนไม่น้อยหลงหรือติดตัน ท้ังๆ ท่ีบ�ำเพ็ญธรรม
เป็นผู้ให้ทาน รักษาศีล แต่บางทีกิเลสไม่ได้ลดลง ความโกรธ
กลับมากข้ึน ความเห็นแก่ตัวกลับมากขึ้น การรักษาศีลก็กลาย
เป็นสีลัพพตปรามาส นั่นเป็นเพราะไม่รู้จักธรรมานุธรรมปฏิบัติ
คือไม่ปฏบิ ัติธรรมโดยสมควรแกธ่ รรม
ฉะน้ันเมื่อเรามีปัจจัยภายนอกเกื้อกูล มีกัลยาณมิตร มี
ครูบาอาจารย์แล้ว ก็ขอให้ลงมือปฏิบัติ โดยมีโยนิโสมนสิการ
เป็นเคร่ืองช่วยก�ำกับให้การปฏิบัติของเราถูกทิศถูกทาง เป็น
เหมอื นการเดนิ ขน้ึ บนั ได ถา้ เปน็ บนั ไดทชี่ นั เรากต็ อ้ งจบั ราวบนั ได
เอาไว ้ แตเ่ ราจะไมส่ ามารถจะกา้ วขน้ึ สงู ไดเ้ ลยถา้ หากวา่ เรายงั ยดึ
ราวบนั ไดไว ้ หรอื วา่ เทา้ เรายงั ตดิ อยกู่ บั ขน้ั บนั ได คนเราจะกา้ ว
ขนึ้ สงู ไปไดเ้ รอื่ ยๆ กต็ อ่ เมอื่ มอื รจู้ กั ปลอ่ ยราวบนั ได และเทา้ กต็ อ้ ง
รู้จักยกลอยข้ึนจากขัน้ บนั ไดแต่ละขนั้ ๆ เพือ่ กา้ วไปสขู่ น้ั ท่ีสูง
การปฏบิ ตั ธิ รรมดว้ ยความยดึ ตดิ ถอื มน่ั ไมว่ า่ จะเปน็ ทาน
ศลี หรอื วา่ ธรรมขอ้ อนื่ ๆ กต็ าม ถา้ ทำ� ดว้ ยความยดึ ตดิ ถอื มนั่ แลว้
160
กไ็ มก่ า้ วหนา้ ทย่ี ดึ ตดิ ถอื มนั่ กเ็ พราะไมเ่ ขา้ ใจจดุ มงุ่ หมายของธรรม
แตล่ ะขอ้ ทเี่ หมอื นกบั เปน็ บนั ไดแตล่ ะขนั้ ๆ จนกระทง่ั เมอื่ ถงึ ทสี่ ดุ
แลว้ กต็ อ้ งปลอ่ ยวางใหห้ มด พระพทุ ธเจา้ ตรสั วา่ ธรรมนนั้ เหมอื นกบั
แพที่ใช้ข้ามฝั่ง เมื่อถึงฝั่งแล้วผู้มีปัญญาก็ไม่แบกแพขึ้นไปด้วย
แตก่ า้ วลงจากแพและเดนิ ขนึ้ ฝง่ั ทง้ิ แพไวต้ รงนน้ั ไมแ่ บกไมห่ าม
ติดตวั ไปด้วย
ทพ่ี ระองคเ์ ปรยี บธรรมเหมอื นแพ กเ็ พอื่ เตอื นเราไมใ่ หย้ ดึ ตดิ
ถอื มน่ั แตใ่ หร้ จู้ กั ใชธ้ รรมใหเ้ กดิ ประโยชนจ์ นกลายเปน็ เนอื้ เปน็ ตวั
ของเราแลว้ เรยี กวา่ มธี รรมเปน็ ลมหายใจ เมอ่ื ถงึ ขน้ั ทล่ี ะกเิ ลสได้
ถึงแม้ไม่แบกธรรมไว้ ก็ไม่มีปัญหา เพราะพึ่งตนเองได้อย่าง
แทจ้ รงิ อกี ทัง้ ยังสามารถบ�ำเพญ็ ประโยชน์ใหแ้ ก่ผ้อู ่ืนได้ด้วย
ก็คงเหมือนกับเทียนอย่างท่ีพูดเมื่อก้ี เทียนมีประโยชน์
เมอ่ื อยใู่ นทมี่ ดื แตเ่ มอื่ พระอาทติ ยข์ น้ึ สอ่ งฟา้ ใหส้ วา่ งไสว เทยี น
กห็ มดหนา้ ท ี่ เรากด็ บั เทยี นได ้ หรอื ถงึ แมไ้ มม่ เี ทยี น กไ็ มม่ อี ะไร
เสยี หาย เพราะสวา่ งเสยี แลว้ เพราะฉะนน้ั ตอนทเี่ ราปฏบิ ตั ธิ รรม
ใหม่ๆ ชีวิตจิตใจยังเหมือนอยู่ในท่ีมืด ก็ต้องใช้เทียนเล่มเล็กๆ
คอยบอกทศิ ทางแกเ่ รา แตเ่ มอื่ เราปฏบิ ตั ธิ รรมจนจติ ใจสวา่ งไสว
ถึงตอนนั้นเทียนก็ไม่มีประโยชน์ ก็อาจจะเก็บเทียนน้ันไว้ให้แก่
ผอู้ นื่ ที่ยงั อย่ใู นความมดื เขาจะไดจ้ ุดเทยี นเพอ่ื ใหแ้ สงสวา่ ง มัน
อาจจะเปน็ แสงสวา่ งนอ้ ยนดิ แตก่ ม็ คี วามหมาย กไ็ ดแ้ ตห่ วงั วา่ เขา
พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 161
จะใช้เทียนน้ันให้เกิดประโยชน์จนกระท่ังสามารถผ่านค่�ำคืนอัน
มืดมิดได้ ถึงแม้ว่าเมื่อฟ้าสว่าง เทียนน้ันจะไม่มีประโยชน์กับ
เขาอกี ตอ่ ไป
ขอใหจ้ ติ ใจของเราเปน็ เสมอื นทอ้ งฟา้ ในขณะทกี่ ำ� ลงั สวา่ ง
เรอื งขน้ึ เรอ่ื ยๆ ดว้ ยแสงเงนิ แสงทอง และอกี ไมน่ านกจ็ ะสวา่ งไสว
เตม็ ทอ้ งฟา้ และพน้ื โลก ขอใหช้ วี ติ ของพวกเราเปน็ อยา่ งนน้ั เพอื่
สามารถให้ความสวา่ ง ไมใ่ ช่ใหค้ วามสว่างแกต่ วั เองเทา่ น้นั แต่
ใหค้ วามสว่างแก่โลกด้วย
ขออนโุ มทนากบั พวกเราทไี่ ดม้ าใชเ้ วลาในการปฏบิ ตั ธิ รรม
ยอมละทง้ิ ความสะดวกสบาย ยอมละทง้ิ งานการและครอบครวั
เพอ่ื มาเรยี นรเู้ ขา้ ใจสจั ธรรม ขอใหอ้ ำ� นาจแหง่ บญุ กศุ ลทเี่ ราไดท้ ำ�
ทั้งในระหวา่ งท่บี ำ� เพ็ญประโยชน์ท่าน และบญุ กุศลท่ีไดบ้ �ำเพ็ญ
ในขณะทไี่ ดบ้ ำ� เพญ็ ประโยชนต์ นดว้ ยการเจรญิ กรรมฐาน จงเปน็
พลวปจั จยั ใหพ้ วกเราไมเ่ พยี งเจรญิ ดว้ ยอาย ุ วรรณะ สขุ ะ พละ
เพอ่ื เปน็ กำ� ลงั ในการทำ� ความดยี ง่ิ ๆ ขนึ้ ไปเทา่ นน้ั แตย่ งั เกอ้ื กลู
ใหเ้ ราไดป้ ระพฤตธิ รรมจนเกดิ ปญั ญา สรา้ งความสวา่ งใหแ้ กช่ วี ติ
จติ ใจของตน จนสามารถพาใจใหพ้ น้ จากความทกุ ข์ คอื เขา้ ถงึ
พระนิพพาน อันเป็นที่สงัด ซ่งึ สัตวย์ นิ ดไี ด้โดยยากด้วย เทอญ
พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 163
๑๕
บ ท ส่ ง ท้ า ย
ขอบคุณพวกเราทุกคนที่ได้เลือกที่นี่เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรม
ของพวกเรา โดยเจาะจงไปปฏบิ ตั ธิ รรมทก่ี ฏุ ิ ๑๑ ไดเ้ คยเลา่ ใหฟ้ งั
แลว้ วา่ บรเิ วณนน้ั เปน็ ทสี่ �ำหรบั การอนรุ กั ษฟ์ น้ื ฟปู า่ แตป่ ระโยชน์
คงยังไม่ครบถ้วนถ้าไม่ได้ใช้เพ่ือการฟื้นฟูใจด้วย ที่บริเวณน้ันมี
หนิ กอ้ นใหญอ่ ยกู่ อ้ นหนง่ึ แตก่ อ่ นมขี อ้ ความวา่ “ฟน้ื ฟปู า่ ฟน้ื ฟใู จ”
ก็เพื่อบอกว่าท่ีเราฟื้นฟูป่าน้ัน ไม่ใช่เพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ
อย่างเดยี ว แตเ่ พื่อการฟืน้ ฟูใจเพอ่ื ให้เขา้ ถึงพระธรรมดว้ ย และ
พวกเราก็ได้มาช่วยท�ำให้ประโยชน์ของท่ีน่ันเกิดขึ้นครบถ้วน
เรียกว่าช่วยเติมเต็มอรรถประโยชน์ของกุฏิ ๑๑ ให้เป็นไปทั้ง
164
ทางโลกและทางธรรม ทั้งเพ่ือเก้ือกูลธรรมชาติภายนอกและ
ธรรมชาติภายใน นี่ก็เป็นส่ิงท่ีอยากจะขอบคุณ เพราะไม่ค่อย
มีใครมาใช้ท่ีน่ันส�ำหรับการปฏิบัติธรรม ยกเว้นพระหรือแม่ชีที่
ไปปลีกวิเวกเป็นครั้งคราว แต่ไม่มีการไปปฏิบัติธรรมเป็นกลุ่ม
พวกเราเป็นกลุ่มแรก เชื่อว่าในปีต่อๆ ไป จะมีกลุ่มอื่นเข้ามา
ใชป้ ระโยชนจ์ ากที่นัน่ ดว้ ย
สิ่งที่อาตมาควรจะกล่าวก็ได้กล่าวไปเกือบหมดแล้ว แต่
ยงั มอี กี ประเดน็ หนง่ึ ทอี่ ยากจะขอยำ�้ ซง่ึ กส็ บื เนอ่ื งมาจากกจิ กรรม
เมื่อคืนวาน อาตมาอยากจะเล่าเร่ืองราวในสมัยพุทธกาลอีก
ตอนหน่ึง เมื่อเช้าได้พูดถึงนางพราหมณีที่บรรลุธรรมในขณะที่
เป็นอุบาสิกา ในสมัยพุทธกาลมีหญิงสาวคนหน่ึงซ่ึงบังเอิญได้
ฟงั ธรรมจากพระพทุ ธเจา้ เรอื่ งมรณสต ิ จากนน้ั เธอกไ็ ดไ้ ปปฏบิ ตั ิ
ดว้ ยตวั เอง ตอนนนั้ กอ็ ายปุ ระมาณสกั ๑๒-๑๓ ป ี เปน็ ลกู ของ
ชา่ งหกู ทอผา้ สามปตี อ่ มา พระพทุ ธเจา้ ไดเ้ สดจ็ กลบั ไปทน่ี นั่ อกี
เธอกต็ งั้ ใจจะไปฟงั ธรรม แตเ่ ผอญิ พอ่ สง่ั ใหเ้ ธออยกู่ รอดา้ ยใหเ้ สรจ็
แล้วเอาไปให้พ่อท่ีโรงทอผ้า เธอจึงไม่ได้ไปฟังธรรมตั้งแต่เน่ินๆ
แต่พอกรอด้ายเสร็จ ก่อนจะไปโรงทอผ้า เธอก็แวะไปฟังธรรม
ตอนนนั้ พระพทุ ธองคฉ์ นั ภตั ตาหารเสรจ็ แลว้ แตแ่ ทนทจี่ ะแสดงธรรม
พระองคท์ รงนง่ิ อย ู่ ผคู้ นกแ็ ปลกใจวา่ ทำ� ไมพระองคไ์ มแ่ สดงธรรม
เสยี ท ี จนกระทงั่ ลกู สาวชา่ งหกู มาถงึ ทป่ี ระทบั พระองคจ์ งึ แสดง
ธรรม ทจี่ รงิ จะเรยี กวา่ แสดงธรรมกไ็ มถ่ กู เรยี กวา่ สนทนามากกวา่
พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 165
พระองคท์ รงถามเธอวา่ “เธอมาจากไหน” หญงิ สาวตอบวา่ “ไม่
ทราบค่ะ” ทรงถามต่อว่า “เธอจะไปไหน” หญิงสาวตอบว่า
“ไม่ทราบค่ะ” พระพุทธเจ้าทรงถามต่อ “เธอไม่ทราบหรือ”
หญงิ สาวตอบวา่ “ทราบคะ่ ” ทนี พี้ ระพทุ ธเจา้ ถามวา่ “เธอทราบ
หรอื ” เธอกลับตอบว่า “ไมท่ ราบคะ่ ”
ชาวบ้านท่ีอยู่ในเหตุการณ์ไม่พอใจเพราะคิดว่าหญิงสาว
พูดเล่นล้ินกับพระพุทธเจ้า จึงต่อว่าเธอ แต่พระพุทธเจ้าตรัส
ห้าม เพราะทรงรู้ว่าลูกสาวช่างหูกคนน้ีมีปัญญา จึงถามเธอว่า
“เมอ่ื กเ้ี ราถามวา่ เธอมาจากไหน ทำ� ไมเธอตอบวา่ ไมท่ ราบ” เธอ
ก็ตอบว่า “ข้าพระพุทธเจ้าทราบดีว่ามาจากเรือนนายช่างหูก
แตไ่ มท่ ราบวา่ ก่อนจะเกดิ ในชาตินี้ ข้าพระพทุ ธเจ้ามาจากไหน”
และที่เธอตอบว่าไม่ทราบ ก็เพราะไม่ทราบว่าหากตายแล้ว
จะไปเกิดในท่ีใดเมอื่ พระองคต์ รสั ถามวา่ เธอไมท่ ราบหรอื เธอ
อธบิ ายวา่ “ขา้ พระพทุ ธเจ้าตอบว่าทราบก็เพราะทราบว่าตนเอง
จะต้องตายอย่างแน่นอน ส่วนที่ตอบว่าไม่ทราบ ก็เพราะ
ข้าพระพทุ ธเจา้ ไม่ทราบว่า จะตายวันใด เวลาใด”
พอเธอกล่าวจบ พระพุทธองค์ก็ทรงกล่าวสาธุการ หลัง
จากนน้ั พระพทุ ธองคก์ แ็ สดงธรรม เมอื่ แสดงธรรมจบเธอกบ็ รรลุ
เป็นพระโสดาบัน จากน้ันเธอก็ไปโรงทอผ้าเพราะพ่อรออยู่ที่น่ัน
แตพ่ อไปถงึ พอ่ หลบั อย ู่ กเ็ ลยทำ� งานของเธอตอ่ บงั เอญิ ดา้ ยหลอด
166
ท่ีเธอสอดเข้าไปนั้นกระทบปลายฟืมมีเสียงดัง พ่อเธอต่ืนข้ึน
ตกใจกก็ ระชากปลายหกู กลบั มา เลยพงุ่ เขา้ ใสห่ นา้ อกของเธอ ถงึ
แกค่ วามตายในทนั ที
เรื่องน้ีน่าสนใจส่วนหน่ึงก็ตรงท่ี พระพุทธเจ้าถามว่าเธอ
ไมท่ ราบหรอื เธอตอบวา่ ทราบ คอื ทราบวา่ จะตอ้ งตายแน ่ แต่
ไมท่ ราบวา่ จะตายเม่อื ไหร่ หลงั จากนัน้ ไมถ่ งึ ชว่ั โมง เธอก็มีเหตุ
ใหต้ อ้ งสน้ิ ลม เรอื่ งนแี้ สดงใหเ้ หน็ ถงึ ความไมจ่ รี งั ของชวี ติ ชวี ติ นี้
สามารถพลิกผันได้เร็วเหลือเกิน คนเราสามารถตายได้ทุกขณะ
แตจ่ ะเรยี กวา่ เธอโชคดกี ไ็ ด ้ ทจ่ี รงิ ๆ ไมใ่ ชโ่ ชคหรอก แตช่ าวบา้ น
เรยี กวา่ โชคด ี กค็ อื วา่ เธอบรรลธุ รรมเปน็ พระโสดาบนั กอ่ นจะเสยี
ชีวติ ชีวติ แม้แสนส้ัน แตก่ ไ็ ม่ไดเ้ ป็นชวี ติ ทสี่ ญู เปล่า
นกี่ เ็ ปน็ เรอื่ งทอี่ ยากจะฝากไวใ้ หพ้ วกเราพจิ ารณา อยา่ งทไ่ี ด้
พูดไว้ว่าชีวิตของเรานี้เต็มไปด้วยความไม่แน่นอน ความตาย
อาจจะมาประชิดตัวอย่างที่เรานึกไม่ถึงเลยก็ได้ เพราะฉะน้ันก็
ขอให้เร่งท�ำความเพียร การเจริญมรณสติเป็นสิ่งท่ีช่วยได้
อย่างลูกสาวช่างหูกคนนี้ เธอเจริญมรณสติอยู่ประจ�ำ ท�ำให้
สามารถเขา้ ใจธรรมของพระพทุ ธเจา้ ได ้ พระองคถ์ ามเพยี งไมก่ ค่ี ำ�
นางก็เข้าใจเพราะได้เจริญมรณสติอยู่เป็นประจ�ำ และท�ำให้
ไม่รั้งรอที่จะท�ำความเพียร โดยท่ีความเพียรน้ันก็ไม่สูญเปล่า
เพราะพอได้ฟังพระพุทธเจ้าแสดงธรรม ปัญญาของเธอก็สว่าง
พ ร ะ ไ พ ศ า ล วิ ส า โ ล 167
โพลง บรรลุธรรมเปน็ พระโสดาบนั
อยากจะฝากให้พวกเราตระหนักเสมอว่าชีวิตเรานั้นอาจ
จะสนั้ กไ็ ด ้ เราไมท่ ราบวา่ ชวี ติ เราตอนนถี้ า้ เปรยี บเปน็ ดวงอาทติ ย์
จะเปน็ อาทติ ยย์ ามเทยี่ ง หรอื อาทติ ยห์ ลงั เทย่ี ง หรอื อาทติ ยย์ าม
เยน็ เราไมร่ หู้ รอก มนั ไมเ่ กย่ี วกบั อาย ุ อยา่ งธดิ าชา่ งหกู อายแุ ค่
๑๕-๑๖ แมเ้ ปน็ วยั รนุ่ แตใ่ นความเปน็ จรงิ ชวี ติ ของเธอเปรยี บได้
กับอาทิตย์ใกล้ลับขอบฟ้าแล้ว เพราะฉะนั้นก็ขอให้เราต้ังอยู่ใน
ความไมป่ ระมาท และเรง่ ทำ� ความเพยี ร ซงึ่ ไมจ่ ำ� เปน็ วา่ ตอ้ งมา
ทวี่ ดั หรอื ตอ้ งปลกี ตวั มาปฏบิ ตั ธิ รรม เราสามารถทำ� ความเพยี ร
ได ้ ในขณะทเ่ี ราอยบู่ า้ น อยทู่ ก่ี รงุ เทพฯ อยใู่ นทที่ ำ� งาน เพยี งแต่
เราต้องวางจิตวางใจให้เป็น ถ้าเราวางจิตวางใจเป็นก็จะเกิด
อานสิ งสม์ ากมาย
พรที่ควรจะให้ก็ได้ให้ไปแล้ว แต่ก็อยากจะให้ซ�้ำอีกคร้ัง
หน่ึงว่าขอให้บุญกุศลท่ีพวกเราได้บ�ำเพ็ญจงเป็นพลวปัจจัยให้
ไมเ่ พยี งแตเ่ จรญิ ดว้ ยอาย ุ วรรณะ สขุ ะ พละ อนั เปน็ สง่ิ ทชี่ าวโลก
ปรารถนาเท่านั้น แต่ขอให้เราได้เข้าถึงซ่ึงอริยทรัพย์ คือทรัพย์
อันประเสริฐท่ีช่วยท�ำให้เกิดจิตใจที่สงบ และเกิดปัญญาท่ีสว่าง
จนสามารถพาเราออกจากทุกข ์ เขา้ ถงึ ความสุขเกษมศานต ิ์ มี
พระนพิ พานเปน็ ทหี่ มายด้วยกนั ทุกคน เทอญ
ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ อบุ ตั ขิ น้ึ มาได้
กเ็ พราะวา่ พระองคท์ วนกระแสนี้
แทนทจ่ี ะปลอ่ ยใจไหลไปตาม
กระแสแห่งสงั สารวฏั
กไ็ ปตามกระแสแหง่ วิวัฒน์
ท�ำให้เขา้ ถึงวมิ ตุ ต ิ และนพิ พาน
หลุดพน้ จากวฏั ฏสงสาร
อนั เปน็ หนทางไปสคู่ วามพน้ ทกุ ขอ์ ยา่ งแทจ้ รงิ
พวกเราไดร้ วมกลมุ่ กนั เปน็ ชมรมกลั ยาณธรรม กลั ยาณธรรม
หมายถงึ ธรรมทดี่ งี ามกไ็ ด้ หรอื จะหมายถงึ ธรรมของกลั ยาณมติ ร
ก็ได้ ถือว่าเป็นปัจจัยที่เกื้อกูลมากส�ำหรับการปฏิบัติ พวกเรา
ใชเ้ วลา ๔-๕ วนั มาปฏบิ ตั ถิ งึ ทนี่ ซ่ี ง่ึ เปน็ ทไี่ กล การเดนิ ทางกใ็ ชเ้ วลา
หลายช่ัวโมงกว่าจะมาถึง และเม่ือมาถึงแล้วก็นอนกลางดิน กิน
กลางทราย คนทั่วไปมองว่าเรามาล�ำบาก แต่พวกเราก็มีความ
พึงพอใจท่ีได้มาใช้ชีวิตแบบน้ี และได้ใช้โอกาสน้ีในการปฏิบัติ
หลงั จากทไี่ ดบ้ ำ� เพญ็ ประโยชนใ์ หก้ บั ผอู้ นื่ หรอื สว่ นรวมมามากแลว้
กไ็ ดม้ าปลกี ตวั บำ� เพญ็ ประโยชนต์ น เปน็ การใชโ้ อกาสทม่ี อี ยอู่ ยา่ ง
เต็มท่ีเพื่อให้เกิดความเจริญงอกงามภายใน ซึ่งแน่นอนว่าเม่ือเรา
มีความเจริญงอกงามภายใน หรือได้บรรลุประโยชน์ตนอย่าง
พรง่ั พรอ้ มแลว้ กส็ ามารถทจี่ ะไปบำ� เพญ็ ประโยชนท์ า่ นไดม้ ากมาย
ยง่ิ ข้ึน
www.visalo.org
www.kanlayanatam.com