The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รูปเล่ม การจัดทำแผนการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2020-12-29 04:27:29

รูปเล่ม การจัดทำแผนการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยี

รูปเล่ม การจัดทำแผนการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยี

การจดั ทาแผนการเรยี นรู้โดยใช้ส่อื เทคโนโลยี

เอกสารลาดับท่ี 4/2561
กลุม่ นิเทศตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษา

สานกั งาน กศน.จังหวัดระยอง

คานา

สานักงาน กศน.จงั หวดั ระยอง โดยกลุ่มนเิ ทศตติ ามและประเมินผลการจดั การศึกษา ไดจ้ ดั ทา
เอกสารการจัดทาแผนการเรียนรโู้ ดยใชส้ ื่อเทคโนโลยเี ลม่ นี้ หลังจากท่ีแกนนาผา่ นการอบรมและเข้ารว่ ม
โครงการสมั มนาติดตามผลการจัดการเรยี นการสอนโดยใชส้ ือ่ เทคโนโลยขี องสถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออก
เอกสารเล่มนี้เปน็ การศึกษาเน้ือหาเร่ืองเซลล์ ของหวั ข้อสงิ่ มชี วี ิตและส่ิงแวดลอ้ ม วชิ าวิทยาศาสตร์
รหสั วชิ า พว 31001 จานวน 5 หน่วยกิต ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ด้วยการจัดทาแผนการเรียนรู้
ของกิจกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทนี่ าเทคโนโลยมี าใชเ้ ปน็ สือ่ ในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนของครู
กศน. สาหรบั เทคโนโลยที ่นี ามาใชเ้ ป็นสื่อการเรียนการสอนของเอกสารเลม่ นี้ ได้แก่การใช้ Application ตา่ งๆ
เช่น Google Classroom, Google Drive, Google Form, kahoot it, VivaVideo, YouTube, QR Code,
Line, และ Facebook ฯลฯ สาหรับการใช้สอ่ื การเรียนการสอนรวมท้ังการวดั และประเมินผล สามารถ
จดั ทาไดห้ ลากหลายรปู แบบ เช่น คลปิ วิดีโอเน้อื หา ตลอดจนการสอน และจัดทาแบบทดสอบผ่าน Application
ต่างๆ เพ่ือวัดผลก่อนและหลังเรียน ฯลฯ ครูสามารถเลอื กใช้สือ่ เทคโนโลยใี นการถา่ ยทอดการเรียนรู้ของครู
ทดแทนในเร่ืองท่ีเกีย่ วข้องกับสิ่งท่ไี ม่สามารถมองเหน็ ด้วยตาเปล่า อยู่ไกลไม่สามารถเดินทางไปดูได้ภายใน
ระยะเวลาอันจากดั เปน็ เรอ่ื งท่ีต้องใชเ้ วลานานในการศึกษา หรอื เปน็ เรอ่ื งยากทมี่ ีขนั้ ตอนซบั ซ้อน เปน็ ต้น
นอกจากนี้เพื่อต้องการสื่อสารไปในทิศทางเดียวกันไม่ว่าจะเรยี นที่ไหนกต็ าม ดังน้นั สานกั งาน กศน.จงั หวัดระยอง
โดยกลุ่มนิเทศตติ ามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา จงึ ได้จัดทาเอกสารการจดั ทาแผนการเรียนรูโ้ ดยใชส้ ่ือ
เทคโนโลยีเลม่ นี้ข้ึน

การจดั ทาเอกสารเลม่ นีไ้ ดร้ ับความร่วมมอื จากคณะที่ปรึกษา บุคลากร ของ กศน.อาเภอวังจนั ทร์
กศน. อาเภอที่เก่ยี วข้องในจังหวดั ระยอง และสานกั งาน กศน.จงั หวดั ระยองที่รว่ มเป็นคณะทางาน ตลอดจนให้
ความร่วมมือเป็นพืน้ ท่ที ดลองการใช้เอกสารการจัดทาแผนการเรยี นร้โู ดยใช้สื่อเทคโนโลยีเลม่ นี้ สานกั งาน กศน.
จงั หวัดระยองโดยกล่มุ นิเทศติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา ขอขอบคุณหนว่ ยงาน สถานศกึ ษา และ
บุคคลทเ่ี กีย่ วข้องมา ณ โอกาสนี้ หวงั วา่ เอกสารการจัดทาแผนการเรียนร้โู ดยใชส้ ือ่ เทคโนโลยี จะเป็น
ประโยชน์กบั โครงการพฒั นาบคุ ลากรดา้ นการจดั ทาแผนการเรยี นรู้รายภาคและแผนการสอนของครู ตลอดจน
ครูท่จี ดั กจิ กรรมการเรียนการสอนการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และผู้ทีส่ นใจทว่ั ไป

กลมุ่ นเิ ทศติตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
สานกั งาน กศน.จงั หวดั ระยอง
กนั ยายน 2561

สารบัญ หนา้

1. ความเป็นมา 1
2. ขน้ั ตอนการจัดทาแผนการเรียนรโู้ ดยใชส้ ื่อเทคโนโลยี 3
3. โครงสรา้ งหลักสูตร 4
4. คาอธิบายรายวชิ า 5
5. ตารางวเิ คราะหส์ าระการเรียนรู้ 12
6. ผงั ขอ้ สอบ (Test Blueprint) 19
7. แผนการเรยี นรูร้ ายภาค 20
8. แผนการเรยี นรโู้ ดยใชส้ ื่อเทคโนโลยี (แผนการเรียนรู้ 9 ข้ันตอน) 25

บรรณานกุ รม 32
33
ภาคผนวก 37
1. รายการ Appication 38
2. คุณสมบตั ขิ อง Appication แต่ละชนิด 40
3. แนวทางการใช้ Appication 41
4. แบบทดสอบก่อนและหลังเรยี น 42
5. แบบบนั ทึกการสงั เกตพฤติกรรม 43
6. แบบประเมนิ ผลการทดลองใช้เอกสาร
7. รายชื่อบุคลากรท่ีทาการทดลองใช้เอกสาร
8. สรุปผลการทดลองใช้เอกสารการจัดทาแผนการเรียนรโู้ ดยใชส้ ่อื เทคโนโลยี

การจดั ทาแผนการเรยี นรโู้ ดยใชส้ อ่ื เทคโนโลยี

1. ความเปน็ มา
การศกึ ษาเปน็ เคร่อื งมอื สาคัญในการพฒั นาคน เป็นกลไกหลกั ในการสรา้ งคนและพฒั นาคนใหม้ ีคุณภาพ

เพอ่ื ให้สามารถปรับตวั และดารงชวี ิตอย่รู ่วมกับผูอ้ ่ืนได้อย่างมีความสุข จากกระแสการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ของโลกในศตวรรษที่ 12 รฐั บาลจึงไดก้ าหนดยุทธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ดา้ นการพัฒนาและ
เสริมสร้างศกั ยภาพคนด้วยการยกระดบั การศึกษาและการเรียนรู้ใหม้ คี ณุ ภาพเท่าเทยี มกันและทว่ั ถงึ รวมทัง้ พัฒนา
ศกั ยภาพคนตลอดชีวติ ประเทศไทยเป็นประเทศหน่งึ ท่ีให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษา เพอื่ พัฒนาศักยภาพ
และขดี ความสามารถของคนไทยให้มที ักษะ ความรู้ความสามารถ ทส่ี อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน
และการพัฒนาประเทศ ภายใต้สภาวะแรงกดดนั ภายนอกจากกระแสโลกาภวิ ตั น์ และแรงกดดันภายใน ประเทศท่ี
จะต้องพฒั นาคนเข้าสูย่ คุ ไทยแลนด์ 4.0 ตามนโยบายของรฐั บาล ท่ีมุ่งพฒั นากาลงั คนสู่ระบบเศรษฐกิจแนวใหม่ ที่
ขบั เคล่ือนดว้ ยนวัตกรรม คือใช้เทคโนโลยี ความคดิ สร้างสรรค์ และนวตั กรรมในการขบั เคล่อื นให้ไดร้ ะบบเศรษฐกจิ
ทดี่ ีขึ้น (ดร.สวุ ทิ ย์ เมษอนิ ทรี. อ้างอิงจากwww.drborworn.com) นอกจากนี้จะตอ้ งพฒั นาตามแผนการศึกษา
แหง่ ชาติ พ.ศ.2560-2579 ทเ่ี ร่งดาเนนิ การสนับสนนุ สง่ เสรมิ การพัฒนาคนตลอดช่วงชวี ิต และเพ่ิมโอกาสทาง
การศกึ ษาผา่ นเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพือ่ ให้การศึกษาเหมาะสาหรับคนทกุ เพศและช่วงวยั ตามยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 การ
สรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา (สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. 2560 : หนา้
ง,ฎ,121-123) ให้บคุ ลากรจัดทาระบบเครอื ขา่ ยเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล เพ่อื จดั การศกึ ษาท่ีทันสมยั และเกดิ ประสทิ ธิภาพ
ในการปฏิบตั งิ าน สามารถตอบสนองความต้องการของนักศึกษาแตล่ ะระดับการศกึ ษา กลุ่มผเู้ รียน กล่มุ ผใู้ ชบ้ ริการ
ได้อยา่ งทั่วถึงและเหมาะสม ซ่งึ สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 ของสานักงาน กศน. คือยทุ ธศาสตรด์ ้านการพัฒนา
กาลงั คน การวจิ ยั และนวตั กรรมเพือ่ สรา้ งขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ระดบั ประเทศ (สานักงาน กศน. 2561 :
หน้าผงั มโนทัศน)์ และสอดคล้องกบั พนั ธกจิ ของสานักงาน กศน. ปีงบประมาณ 2561 ที่สง่ เสริมและสนบั สนุนด้าน
การพฒั นาดว้ ยการนาเทคโนโลยที างการศึกษาและเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใชใ้ ห้เกดิ ประสิทธิภาพในการจัดการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหก้ ับประชาชนอยา่ งท่วั ถงึ ตลอดจนการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบ และวิธกี าร
ใหส้ อดคล้องกบั บริบทในปัจจุบัน (สานกั งาน กศน. 2561 : หนา้ 1-2) มุง่ ให้มสี ่ือดจิ ทิ ัลใชใ้ นการพฒั นาการศึกษา
เศรษฐกิจ ชมุ ชน และสงั คม รวมท้งั การสง่ เสรมิ ให้มีอาชีพทนั สมยั มากขนึ้ เพ่ือพฒั นาคนให้ก้าวทันเทคโนโลยี
ตลอดจนพฒั นาคนในจงั หวัดระยองให้สอดคลอ้ งกับการพัฒนาประเทศ ใหส้ มกบั ที่เป็นจังหวดั หน่งึ ในพืน้ ที่ระเบียง
เศรษฐกิจภาคตะวนั ออก (Eastern Economic Corridor : EEC)

การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชส้ ่อื เทคโนโลยีนัน้ เปน็ วิธกี ารหนง่ึ ทนี่ าเทคโนโลยีมาใชใ้ นการจัด
กจิ กรรมการศึกษาให้ก้าวทนั นานาประเทศในอนาคต ซ่งึ สามารถจัดได้หลากหลายรูปแบบ ดังน้ันหน่วยงานและ
สถานศึกษาทเี่ กยี่ วขอ้ งจะต้องพฒั นาระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลการศกึ ษา ใหส้ ามารถใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี น
การสอนท่ีมคี วามยืดหยนุ่ หลากหลาย นักศึกษาและผู้เรียนสามารถเขา้ ไปศึกษาด้วยตนเองไดโ้ ดยไม่จากดั เวลา
สถานท่ี ซง่ึ เปน็ การเรยี นรู้ตลอดชวี ิตท่สี อดคล้องกับการที่การศึกษาเปน็ สงิ่ สาคัญในการสร้างคน เศรษฐกจิ และ
สังคม ขณะนีส้ านักงาน กศน. โดยสถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออก ไดด้ าเนินการพัฒนาแกนนา และอบรมครูเก่ยี วกับ
การจัดทาคลปิ วดิ ีโอสื่อการสอนและการจดั ทาแผนการเรยี นการสอนโดยใช้สอื่ เทโนโลยี เพ่ือให้ครูนาไปประยุกตใ์ ช้
ในการพบกลุ่มนักศึกษาการศึกษาขั้นพื้นฐานและการจัดกจิ กรรม กศน.อืน่ ๆ แต่จากการนเิ ทศติดตามผลการจัด
กจิ กรรมปรากฏวา่ ครูนาไปใช้ได้น้อยมาก ประกอบกบั ปจั จุบนั มี Applicationใหมๆ่ ทนี่ า่ สนใจ และสถานศกึ ษา
ต้องการพัฒนาบุคลากรที่มีการเปล่ยี นตาแหนง่ และรับเข้ามาใหม่ ดงั น้ันสานักงาน กศน. จังหวัดระยอง จงึ มี

RAYONG NFE 1

การจัดทาแผนการเรยี นร้โู ดยใชส้ อ่ื เทคโนโลยี

ความจาเป็นต้องพัฒนาบุคลากรและกระตุ้นให้นาเทคโนโลยไี ปใช้กบั การจดั กิจกรรมการศึกษา ด้วยการมอบหมาย
ให้คณะทางาน จดั ทาเอกสารการจดั ทาแผนการเรียนรู้โดยใชส้ ่อื เทคโนโลยี ใหเ้ ปน็ ตัวอยา่ งแผนการสอนของครู ท่ี
จดั ทาโดยการนาเน้ือหาบางเร่ืองของวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย และศึกษาจากผงั ข้อสอบ
(Test Blueprint) ประกอบการวางแผนสาหรบั จัดทาแผนการเรียนรโู้ ดยใช้สื่อเทคโนโลยี เป็นการเตรยี มความ
พร้อมของครูก่อนดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหก้ ับนกั ศึกษา ซ่ึงสถานศึกษาในสังกดั สามารถนาไป
ปรบั ใชใ้ นการสอนเร่ืองอื่นและวชิ าอนื่ ไดต้ ามความเหมาะสมตอ่ ไป

RAYONG NFE 2

การจดั ทาแผนการเรียนร้โู ดยใชส้ อื่ เทคโนโลยี

2. ขัน้ ตอนการจัดทาแผนการเรยี นรู้โดยใช้สอ่ื เทคโนโลยี
ขัน้ ตอนการจัดทาแผนการเรียนร้โู ดยใช้สอื่ เทคโนโลยี มีดงั นี้
2.1 เลอื กวิชาที่ลงทะเบียน
คดั เลอื กวิชาที่จะจัดทาแผนการเรยี นรู้โดยใช้ส่อื เทคโนโลยี โดยศกึ ษาจากแผนการลงทะเบยี นของ

นักศกึ ษาในภาคเรยี นนัน้ ๆ
2.2 คดั เลือกเรือ่ งทจ่ี ะจดั ทาแผนการเรยี นรู้
คดั เลือกเรื่องทจ่ี ะจัดทาแผนการเรียนรโู้ ดยใช้ส่อื เทคโนโลยี การเลอื กเรื่องน้ัน ควรเป็นเรือ่ งที่มเี นือ้ หา

เหมาะสม ไมเ่ น้นทักษะพสิ ยั
2.3 ศึกษาเนื้อหาจากเร่อื งทเ่ี ลอื ก
ครูมีความจาเป็นทีจ่ ะต้องศกึ ษาเนื้อหาทจี่ ะจดั ทาแผนการสอนอยา่ งละเอียดลว่ งหน้า เพอื่ นาความรู้

และประสบการณท์ ี่มีมาประมวลและออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับเน้ือหา วิธกี ารถา่ ยทอด
ความรู้และกลมุ่ เป้าหมาย

2.4 จดั ทาแผนการเรยี นรู้ 9 ขัน้ ตอน โดยให้สอดคล้องกบั แผนการเรยี นรู้รายภาค
ครสู ามารถระบุกิจกรรมการเรยี นรู้ในแตล่ ะขนั้ ตอนโดยละเอยี ด โดยคานึงถงึ การเลือกใชเ้ ทคโนโลยี

ในการช่วยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในแตล่ ะข้นั ตอน
2.5 ทบทวน วางแผนการใช้ Application ในแต่ละขัน้ ตอน
วางแผนการดาเนนิ การใช้ Application จัดกระบวนการเรียนรู้ต่างๆ ตามท่ีได้กาหนดไว้
2.6 ดาเนินการจัดทา Application ในแต่ละขั้นตอนใหถ้ ูกต้องเหมาะสมตามแผนการเรยี นรู้ 9 ขัน้ ตอน
2.7 การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการเรียนรู้โดยใช้ส่อื เทคโนโลยี
2.8 การวัดและประเมินผล

RAYONG NFE 3

การจดั ทาแผนการเรียนรโู้ ดยใชส้ อ่ื เทคโนโลยี

3. โครงสรา้ งหลักสตู ร

โครงสร้างหลกั สตู รการศึกษาการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

ที่ สาระการเรยี นรู้ ประถมศกึ ษา จานวนหน่วยกิต มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
วิชาบงั คบั วชิ าเลือก วชิ าบงั คบั วิชาเลอื ก
1 ทักษะการเรียนรู้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
2 ความรพู้ ้ืนฐาน 5 วชิ าบังคบั วชิ าเลอื ก 5
3 การประกอบอาชีพ 12 20
4 ทักษะการดาเนินชวี ติ 8 5 8
5 การพัฒนาสังคม 5 16 5
6 8 6
รวม 36 12 5 44 32
6
กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพชวี ิต 48 หนว่ ยกิต 40 16 76 หน่วยกิต
(กพช.) 200 ชัว่ โมง 200 ช่วั โมง
56 หนว่ ยกติ
200 ชว่ั โมง

หมายเหตุ อ้างอิง สานกั งาน กศน. 2555 : หน้า 3

RAYONG NFE 4

การจดั ทาแผนการเรียนรู้โดยใชส้ ่อื เทคโนโลยี

4. คาอธบิ ายรายวิชา (สานกั งาน กศน. 2555 : หน้า 234)
คาอธิบายรายวชิ าวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา พว31001 จานวน 5 หน่วยกติ
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั
มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเห็นคุณค่าเก่ียวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ส่ิงมีชีวิต

ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในท้องถ่ินประเทศและโลก สาร แรง พลังงาน กระบวนการ
เปลีย่ นแปลงของโลก และดาราศาสตร์ มีจติ วิทยาศาสตรแ์ ละนาความรู้ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการดาเนินชวี ติ

ศกึ ษาและฝึกทักษะเก่ียวกบั เรอื่ งตอ่ ไปน้ี
1. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการ

ทางวิทยาศาสตร์ เจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และโครงงานวิทยาศาสตร์
2. ส่ิงมีชวี ติ และสิ่งแวดล้อม
เซลล์ พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ เทคโนโลยีชีวภาพ ทรัพยากรธรรมชาติและ

ส่ิงแวดลอ้ ม
3. สารเพือ่ ชวี ิต
ธาตแุ ละสมบัติของธาตุ กัมมันตภาพรงั สี สมการเคมี และปฏกิ ิริยาเคมี โปรตนี คารโ์ บไฮเดรต และ

ไขมัน ปิโตรเลียม และพอลิเมอร์ สารเคมีกบั ชีวติ และสง่ิ แวดล้อม
4. แรงและพลังงานเพื่อชวี ิต แรง และการเคลือ่ นท่ี
5. ดาราศาสตรเ์ พ่ือชีวติ เทคโนโลยีอวกาศ
6. อาชพี ช่างไฟฟ้า ความรูเ้ กย่ี วกับชา่ งไฟฟ้า การบรหิ ารจดั การและการบรกิ าร โครงงาน

วทิ ยาศาสตรส์ ู่อาชีพ คาศัพท์ทางไฟฟ้า
เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ไปใช้ใน

ชวี ิตประจาวนั มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ คุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมท่เี หมาะสม

การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้
ใหผ้ ู้เรียนศกึ ษา ค้นควา้ สารวจ ตรวจสอบ ทดลอง จาแนก อธบิ าย นาเสนอดว้ ยการจดั

กระบวนการเรยี นรู้ดว้ ยการพบกล่มุ การสอนเสริม การเรียนรู้ด้วยตนเอง การรายงาน การศึกษาจากแหลง่
เรียนรู้ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ และประสบการณจ์ ากผูเ้ รยี น

การวัดและประเมนิ ผล
ประเมนิ จากการสงั เกต การอภปิ ราย การสัมภาษณ์ ทักษะปฏิบตั ิ รายงานการทดลอง การมีส่วนร่วมใน

กจิ กรรมการเรียนรู้ ผลงาน การทดสอบ การประเมิน การนาไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจาวัน

RAYONG NFE 5

การจดั ทาแผนการเรียนรู้โดยใชส้ ือ่ เทคโนโลยี

รายละเอยี ดคาอธิบายรายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา พว31001 จานวน 5 หนว่ ยกติ
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดบั
มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และเห็นคุณค่าเก่ียวกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สิ่งมีชีวิต

ระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ในท้องถ่ินประเทศและโลก สาร แรง พลังงาน กระบวนการ

เปลีย่ นแปลงของโลก และดาราศาสตร์ มีจติ วทิ ยาศาสตร์และนาความรู้ไปใช้ประโยชนใ์ นการดาเนินชีวติ

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ช้วี ัด เนอ้ื หา จานวน
(ชว่ั โมง)

1 1. กระบวนการทาง 1. อธบิ ายธรรมชาตแิ ละ 1. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 15

วิทยาศาสตร์ และ ความสาคัญของวทิ ยาศาสตร์และ 1.1 ความหมายและความสาคัญ

เทคโนโลยี เทคโนโลยี ของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1.1 กระบวนการทาง 2. อธิบายกระบวนการทาง 1.2 กระบวนการทาง

วทิ ยาศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ วิธกี ารทาง วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี วทิ ยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการ 1.2.1 วิธกี ารทาง
ทางวิทยาศาสตร์และเจตคตทิ าง
วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 5 ขัน้
3. นาความรู้ และกระบวนการ 1.2.2 ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ไปใช้แก้ปัญหา
ต่างๆ ทางวทิ ยาศาสตร์ 13 ทักษะ
4. เกดิ เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ 1.2.3 เจตคติทาง
5. มีจติ วิทยาศาสตร์
6. อธบิ ายความหมาย วทิ ยาศาสตร์ 6 ลักษณะ
ความสาคญั และความสมั พนั ธ์ 1.2.4 จิตวิทยาศาสตร์
ของเทคโนโลยตี ่อชวี ิต และสังคม
7. นาความรู้ และเลอื กใช้ 2. เทคโนโลยี
เทคโนโลยีได้อยา่ งเหมาะสม 2.1 ความหมาย และความ
8. มที ักษะในการเลือกใช้วัสดุ
อปุ กรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ และ สาคัญของเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสม
สารเคมีได้ 2.2 ความสมั พนั ธ์ของ

วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยตี อ่
ชวี ิต และสังคม

2.3 ความกา้ วหนา้ ของ
เทคโนโลยใี นปจั จบุ ัน

2.4 เทคโนโลยีกับการประกอบ
อาชพี และการนาเทคโนโลยีไปใช้

ในการดารงชีวติ

2.5 การเลือกใชเ้ ทคโนโลยีที่

เหมาะสมในการประกอบอาชพี กับ

การดารงชีวิต

2.6 เทคโนโลยีพน้ื บา้ น

RAYONG NFE 6

การจัดทาแผนการเรยี นรโู้ ดยใชส้ อ่ื เทคโนโลยี

ที่ หัวเรื่อง ตวั ชว้ี ดั เนอื้ หา จานวน
(ช่วั โมง)

3. การใชว้ ัสดุ อุปกรณส์ ารเคมี

และห้องปฏิบตั ิการทาง

วทิ ยาศาสตร์

2 1.2 โครงงาน 1. อธบิ ายประเภท เลอื กหวั ข้อ 1. ประเภทของโครงงาน 10
20
วทิ ยาศาสตร์ วางแผน วิธที า นาเสนอและ 2. การเลอื กหวั ข้อโครงงาน 20

ประโยชน์ของโครงงาน 3. การวางแผนการกระทาโครงงาน

2. นาความรู้เกย่ี วกบั วิทยาศาสตร์ 4. การนาเสนอโครงงาน

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5. ประโยชน์ของโครงงานเพื่อการ

และโครงงานไปใช้ พฒั นาคุณภาพชีวติ

3. วางแผนการทาโครงงาน

4. ทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์

5. อธบิ ายและบอกแนวได้ในการ

นาผลจากโครงงานไปใช้

6. นาความรเู้ ก่ยี วกับวทิ ยาศาสตร์

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

และโครงงานไปใช้

3 2. สงิ่ มีชีวิตและ 1. อธบิ ายรูปรา่ ง สว่ นประกอบ 1. เซลล์

ส่งิ แวดลอ้ ม ความแตกต่าง ระบบการทางาน 1.1ระบบการทางานของเซลลพ์ ืช

 2.1 เซลล์ การรกั ษาดลุ ยภาพของเซลล์พชื และเซลล์สตั ว์ และการรักษาดลุ ย

และเซลลส์ ตั ว์ ภาพ

2. อธิบายการรักษาดุลยภาพของ 1.2 กลไกและการรักษาดลุ ยภาพ

พืชและสัตว์ มนษุ ย์ และการนา ของพืช สัตว์ และมนุษย์

ความรูไ้ ปใช้ 1.3 การป้องกนั ดแู ลรกั ษา

3. ศึกษา สบื ค้นขอ้ มลู และ ภูมคิ มุ้ กนั ร่างกายและการนา

อธิบายกระบวนการแบง่ เซลล์ ความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั

แบบไมโทซิล และไมโอซิล 2. กระบวนการแบ่งเซลล์

2.1 การแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซิส

2.2 การแบ่งเซลลแ์ บบไมโอซิส

4 2.2 พันธุกรรมและ 1. อธิบายกระบวนการถา่ ยทอด 1. พนั ธุกรรม การถ่ายทอดทาง

ความหลากหลายทาง ทางพันธกุ รรม การแปรผันทาง พันธกุ รรม การแปรผนั ทาง

ชีวภาพ พันธกุ รรม การผ่าเหลา่ และการ พนั ธกุ รรม และการผ่าเหลา่

เกดิ ความหลากหลายทางชีวภาพ 2. ความหลากหลายทางชวี ภาพ

2. อธบิ ายลกั ษณะทางพันธุกรรม 2.1 กระบวนการถา่ ยทอดทาง

ของบุคคล พนั ธกุ รรม

3. อธิบายปจั จัยที่ทาให้ 2.2 การเกิดการผ่าเหล่า

ส่ิงแวดล้อมเกดิ การเปลี่ยนแปลง 2.3 การเกิดความหลากหลาย

ทางชวี ภาพ

RAYONG NFE 7

การจดั ทาแผนการเรียนรโู้ ดยใชส้ อ่ื เทคโนโลยี

ท่ี หัวเร่ือง ตัวชว้ี ดั เนอ้ื หา จานวน
(ช่ัวโมง)
5 2.3 เทคโนโลยี
ชวี ภาพ 3. โรคท่ีเกิดจากการถ่ายทอดทาง

6 2.4 ทรพั ยากร พนั ธุกรรม และการนาไปใชใ้ น
ธรรมชาติและ
ส่ิงแวดล้อม ชวี ิตประจาวนั

4. ชนดิ พนั ธุ์ต่างถ่นิ ทสี่ ง่ ผลกระทบ

ตอ่ ระบบนิเวศและสิ่งแวดลอ้ ม

1. อธิบายเก่ยี วกบั 1.ความหมายและลกั ษณะ 15

เทคโนโลยีชีวภาพ ของเทคโนโลยีชีวภาพ

ประโยชน์ 2. ปจั จัยทม่ี ีผลตอ่

2. อธบิ ายผลของ เทคโนโลยีชีวภาพ

เทคโนโลยีชวี ภาพตอ่ ชวี ิตและ 3. เทคโนโลยชี ีวภาพ

สิง่ แวดล้อม ในชีวติ ประจาวนั

3. อธบิ ายบทบาทของภมู ิปัญญา 4. ภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ เก่ยี วกับ

ทอ้ งถิน่ เกีย่ วกับเทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีชีวภาพ

5. ประโยชนแ์ ละผลกระทบของ

5.1ความหลากหลายทาง

ชวี ภาพ

5.2 ชีวิตและสง่ิ แวดลอ้ ม

อ 1. อธบิ ายกระบวนการ ก 1. กระบวนการเปลยี่ นแปลงแทนที่ 20

เปล่ยี นแปลงแทนที่ของส่ิงมชี ีวติ ของส่ิงมีชวี ิตและสิ่งแวดลอ้ มใน

2 2. อธิบายการใช้ทรัพยากร- ชุมชน

ธรรมชาติ สภาพปญั หา 2 2. การใช้ทรพั ยากรธรรมชาติ
สิง่ แวดล้อมในระดบั ท้องถ่ิน ร ระดบั ท้องถนิ่ ประเทศและ
ระดบั ประเทศและระดับโลก ร ระดับโลก
แ 3. อธบิ ายสาเหตขุ องปญั หา
วางแผน และลงมือปฏบิ ตั ิ 3. ปรากฏการณท์ างธรณีวิทยา ท่มี ี
ผลกระทบต่อชีวติ และสง่ิ แวดล้อม
4 4. ปัญหาและผลกระทบของระบบ
4.4. อธิบายปอ้ งกัน แก้ไข เฝ้าระวัง นิเวศและสภาพส่ิงแวดลอ้ มในชุมชน

อนรุ กั ษ์ และพัฒนา ท้องถนิ่ ประเทศ และโลก

ทรัพยากรธรรมชาติและ 5 5. แนวทางการแก้ไขปัญหา
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สงิ่ แวดล้อม ในชุมชน
5. 5. อธบิ ายปรากฏการณ์ ของ 6.6. การวางแผนพฒั นา
ทรพั ยากรธรรมชาติและ
ธรณวี ิทยาที่มีผลกระทบต่อชวี ิต

และสิง่ แวดลอ้ ม สิ่งแวดล้อม

6.6. อธิบายปรากฏการณ์ สภาวะ 7.7. การปฏบิ ัตติ น หรอื การร่วมมอื กบั
โลกร้อน สาเหตุและผลกระทบ ชมุ ชนในการปอ้ งกนั พฒั นาหรือ
ต่อชีวิตมนุษย์
แกไ้ ขปัญหา ทรัพยากรธรรมชาติ

และสิ่งแวดล้อม

RAYONG NFE 8

การจัดทาแผนการเรยี นรโู้ ดยใชส้ ื่อเทคโนโลยี

ท่ี หัวเรอื่ ง ตวั ชี้วัด เน้ือหา จานวน
(ชัว่ โมง)
7 3. สารเพอื่ ชวี ติ ส 8. ภาวะโลกร้อน สาเหตุและ
3.1 ธาตุ สมบตั ขิ อง 10
ธาตุ และธาตุ ผลกระทบ การปอ้ งกันและแก้ไข
กัมมนั ตรงั สี 15
ปัญหาโลกร้อน
8 3.2 สมการเคมีและ
ปฏกิ ริ ยิ าเคมี 1. อธิบายทฤษฏี โครงสรา้ งและ 1. โครงสร้างอะตอมและทฤษฏี

การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม อะตอม

2. อธิบายสมบตั ิของธาตุตาม 2. การจดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนใน

ตารางธาตุ อะตอม

3. บอกประโยชนข์ องตารางธาตุ 3. การจัดเรยี งธาตุในตารางธาตุ

4. อธิบายคณุ สมบตั ธิ าตุ 4. สมบัติของธาตุตาม

กมั มนั ตรงั สแี ละกมั มนั ตภาพรังสี ตารางธาตุ
5. บอกประโยชน์ และผลกระทบ 5. ประโยชน์ของตารางธาตุ
จากกมั มันตภาพรังสี 6.ความหมายและการเกดิ
กมั มันตภาพรังสี

7. ประโยชนแ์ ละโทษของ

กมั มนั ตภาพรงั สี

8. ผลกระทบของสารกัมมันตรังสี

ตอ่ ส่ิงมชี ีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม

1. อธิบายการเกดิ สมการเคมีและ 1. ความหมายของสมการเคมี

ปฏกิ ิรยิ าเคมี และดุลสมการเคมี ปฏกิ ิริยาเคมี และสัญลกั ษณ์ใน
สมการเคมี
2. อธบิ ายปัจจยั ท่ีมผี ลต่อ 2. การเขยี นและการอา่ นสมการ
ปฏิกริ ยิ าเคมี เคมี
3. อธิบายผลท่ีเกิดจากปฏิกริ ิยา 3. ปัจจัยท่ีมผี ลตอ่ ปฏกิ ริ ิยาเคมี
เคมีต่อชวี ติ และส่ิงแวดล้อม 4. ปฏิกริ ยิ าเคมใี นชีวิตประจาวนั

และผลของปฏกิ ริ ิยาเคมีต่อชีวิต

และส่งิ แวดล้อม

9 3.3 โปรตีน 1. อธิบายสมบัติ ชนิด ประเภท 1. สมบัติ ชนดิ ประเภท การเกดิ 15
คารโ์ บไฮเดรต และ การเกดิ และประโยชน์ของ และประโยชน์ของโปรตนี
ไขมัน โปรตนี 2. สมบัติ ชนดิ ประเภท การเกดิ

2. อธิบายสมบัติ ชนดิ ประเภท และประโยชนข์ องคารโ์ บไฮเดรต

การเกดิ และประโยชนข์ อง 3. สมบัติ ชนดิ ประเภท การเกิด
คาร์โบไฮเดรต และประโยชนข์ องไขมัน

3. อธบิ ายสมบตั ิ ชนิด ประเภท

การเกิด และประโยชนข์ องไขมนั

RAYONG NFE 9

การจดั ทาแผนการเรียนรู้โดยใชส้ อ่ื เทคโนโลยี

ท่ี หวั เรือ่ ง ตัวชว้ี ดั เนือ้ หา จานวน
(ชั่วโมง)
10 3.4 ปโิ ตรเลยี มและ 1. อธิบายหลกั การกลน่ั ลาดับ 1. ปโิ ตรเลียม
พอลเิ มอร์ ส่วน 1.1 การกลน่ั ลาดบั ส่วน 15
2. บอกผลติ ภัณฑ์และประโยชน์ 1.2 ผลิตภณั ฑ์ทไ่ี ด้จากการ
ของผลิตภณั ฑ์ปโิ ตรเลียม
3. อธบิ ายผลกระทบท่ีเกิดจาก กลั่นปิโตรเลยี ม
การใชผ้ ลติ ภัณฑ์ปโิ ตรเลยี มได้ 1.3 ผลกระทบของการใช้
4. อธบิ ายความหมายประเภท
ชนดิ การเกิดและสมบัตขิ อง ปิโตรเลียม
พอลิเมอร์ 2. พอลเิ มอร์
5. อธบิ ายสมบัติการเกิดและ
ผลกระทบทเ่ี กดิ จากการใช้ 2.1 ความหมาย ประเภท ชนิด
พลาสติก ยาง ยางสังเคราะห์ การเกดิ และสมบตั ิของพอลิเมอร์
เสน้ และเส้นใยสังเคราะห์
2.2 พอลิเมอร์ในชีวติ
ประจาวัน

2.2.1 พลาสตกิ
2.2.2 ยางและยาง
สงั เคราะห์
2.2.3 เสน้ ใยธรรมชาติและ
ใยสังเคราะห์
2.3 ผลกระทบของการใช้
โพลเิ มอร์

11 3.5 สารเคมีกบั ชีวติ 1. อธบิ ายความสาคัญและความ 1.ความสาคญั ของสารกับชีวติ และ 10
และส่งิ แวดล้อม จาเป็นทต่ี อ้ งใชส้ ารเคมี สิง่ แวดล้อม
2. อธิบายวิธกี ารใชส้ ารเคมบี าง 2. ความจาเป็นทตี่ ้องใช้สารเคมี
ชนดิ ไดถ้ กู ต้อง 3. การใช้สารเคมีท่ีถูกต้อง
3. อธบิ ายผลกระทบที่เกดิ จาก 4. ผลกระทบทีเ่ กิดจากการใช้
การใช้สารเคมีได้ สารเคมี

12 4. แรงและพลงั งาน 1. อธบิ ายความสัมพันธ์ระหวา่ ง 1. แรงและความสัมพันธร์ ะหว่าง 5-20
เพื่อชวี ิตแรงและการ แรงกับการเคล่อื นที่ในสนามโนม้ แรงกับการเคลื่อนที่ของอนุภาค
เคล่อื นท่ี ถ่วง สนามแม่เหล็ก และ 2. ความสัมพันธร์ ะหวา่ งแรงและ
สนามไฟฟ้า การเคล่ือนทีข่ องอนภุ าคในสนาม
2. ระบแุ ละอธบิ ายการเคล่ือนที่ โน้มถว่ ง สนามแม่เหล็กไปใช้
ของแรงแบบต่างๆ และการ ประโยชนใ์ นชีวิตประจาวัน
นาไปใชป้ ระโยชน์

RAYONG NFE 10

การจดั ทาแผนการเรียนรโู้ ดยใชส้ อ่ื เทคโนโลยี

ที่ หัวเร่อื ง ตัวชีว้ ัด เนื้อหา จานวน
(ช่วั โมง)

13 5. ดาราศาสตรเ์ พ่ือ 1. บอกความหมาย ความสาคัญ 1. ความหมายความสาคญั และ 15

ชีวติ เทคโนโลยอี วกาศ และความเป็นมาของเทคโนโลยี ความเปน็ มาของเทคโนโลยอี วกาศ

อวกาศ 2. ประเภทของเทคโนโลยีอวกาศ

2. อธบิ ายและระบุประเภทของ 2.1 ดาวเทียม

เทคโนโลยีอวกาศ 2.2 ยานสารวจอวกาศ

3. อธบิ ายการนาเทคโนโลยี 2.3 ยานขนส่งอวกาศ

อวกาศมาใช้ประโยชน์ 2.4 สถานที ดลองอวกาศ

4. บอกโครงการสารวจอวกาศท่ี 3. ประโยชนข์ องการใช้เทคโนโลยี

สาคัญในปัจจุบนั อวกาศ

3.1 ปรากฏการณ์บนโลก

3.2 ปรากฏการณใ์ นอวกาศ

4. โครงการสารวจอวกาศทส่ี าคญั

ในปจั จุบัน

14 อาชีพชา่ งไฟฟ้า อธิบาย การออกแบบ วาแผน 1. ประเภทของไฟฟา้ 10

(หมายเหตุ: ทดลอง ทดสอบ ปฏบิ ตั กิ าร เร่ือง 2. วัสดุอปุ กรณ์เคร่ืองมือชา่ งไฟฟ้า

(บรู ณาการใช้เวลา ไฟฟ้าอย่างถูกต้องและปลอดภัย 3. วัสดอุ ปุ กรณท์ ี่ใช้ในวงจรไฟฟา้

การเรียนการสอนใน คิด วเิ คราะห์ เปรียบเทยี บข้อดี 4. กฎของโอห์ม

มาตรฐานการเรียนรู้ ขอ้ เสียของการต่อวงจรไฟฟา้ แบบ 5. การเดนิ สายไฟฟ้าอย่างง่าย

เรื่อง แรงและ อนกุ รม แบบขนาน แบบผสม 6. การใช้เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ อย่างง่าย

พลงั งานเพ่อื ชวี ิตใน ประยกุ ตแ์ ละเลือกใชค้ วามรู้และ 7. ความปลอดภัยและอุบตั เิ หตจุ าก

หัวข้อพลงั งานไฟฟา้ ทักษะอาชีพช่างไฟฟา้ ให้ อาชพี ชา่ งไฟฟ้า

10 ชั่วโมง) เหมาะสมกบั ดา้ นบริหารจัดการ 8. การบริหารจัดการและการ

และการบริการ บรกิ าร

9. โครงงานวทิ ยาศาสตรส์ อู่ าชีพ

10. คาศพั ทท์ างไฟฟา้

หมายเหตุ อ้างอิง สานกั งาน กศน. 2555 : หน้า 236-244

RAYONG NFE 11

5. ตารางวเิ คราะหส์ าระการเรียนรู้ (อา้ งอิง http://sk.nfe.go.th/kssin/VserFiles/Fil
สาระความรพู้ นื้ ฐาน วชิ าวิทยาศาสตร์ รหัสวชิ า พว 310

เนอ้ื หารายวิชา

1. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
1. กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

1.1 ความหมายและความสาคญั ของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1.2 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

1.2.1 วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ 5 ข้ัน
1.2.2 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 13 ทักษะ
1.2.3 เจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ 6 ลักษณะ
1.2.4 จิตวิทยาศาสตร์
2. เทคโนโลยี
2.1 ความหมาย และความสาคัญของเทคโนโลยีท่เี หมาะสม
2.2 ความสมั พันธ์ของวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยตี อ่ ชวี ิต และสังคม
2.3 ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยใี นปจั จุบัน
2.4 เทคโนโลยีกับการประกอบอาชพี และการนาเทคโนโลยีไปใช้ในชวี ิต
2.5 การเลอื กใชเ้ ทคโนโลยที เ่ี หมาะสมในการประกอบอาชีพกับการดารงชีวติ
2.6 เทคโนโลยีพ้ืนบ้าน
3. การใชว้ สั ดุ อุปกรณ์สารเคมี และหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารทางวทิ ยาศาสตร์

การจดั ทาแผนการเรียนรโู้ ดยใชส้ อ่ื เทคโนโลยี

le/science%2031001.doc)

001 (5 หนว่ ยกติ 200 ชัว่ โมง) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

วิเคราะหเ์ นอ้ื หา วธิ กี ารจดั การเรียนรู้ รวมเวลา
ช่ัวโมง
ง่าย ปาน ยาก พบกลมุ่ ตนเอง ชน้ั ทางไกล

กลาง เรียน

 (3)


(3)

 (3) 15
 (6)

RAYONG NFE 12

เนอื้ หารายวชิ า

โครงงานวิทยาศาสตร์
1. โครงงานวิทยาศาสตร์

1.1 ประเภทของโครงงาน
1.2 การเลือกหัวข้อโครงงาน
1.3 การวางแผนการกระทาโครงงาน
1.4 การนาเสนอโครงงาน
1.5 ประโยชนข์ องโครงงานเพื่อการพัฒนาคุณภาพชวี ติ

2. ส่ิงมีชวี ติ และสงิ่ แวดล้อม
1. เซลล์

1.1ระบบการทางานของเซลล์พืชและเซลลส์ ัตว์ และการรักษาดลุ ยภาพ
1.2 กลไกและการรักษาดุลยภาพของพชื สัตว์ และมนุษย์
1.3 การป้องกันดูแลรกั ษาภมู ิคมุ้ กันร่างกายและการนาความร้ไู ปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั
2. กระบวนการแบ่งเซลล์
2.1 การแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซิส
2.2 การแบ่งเซลล์แบบไมโอซสิ

การจัดทาแผนการเรียนร้โู ดยใชส้ ่อื เทคโนโลยี

วิเคราะหเ์ นอ้ื หา พบ วิธีการจัดการเรียนรู้ รวมเวลา
กลุ่ม ชั่วโมง
งา่ ย ปาน ยาก ตนเอง ชั้น ทางไกล
กลาง เรียน

(2)

10
(8)

(4)

(4) 20
น (4) (4)

(4)

RAYONG NFE 13

เนอื้ หารายวชิ า

พันธกุ รรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
1. พันธุกรรม การถ่ายทอดทางพันธุกรรม การแปรผนั ทางพันธกุ รรม และการผา่ เหลา่
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ

2.1 กระบวนการถ่ายทอดทางพนั ธุกรรม
2.2 การเกิดการผา่ เหล่า
2.3 การเกิดความหลากหลายทางชวี ภาพ
3. โรคทเ่ี กิดจากการถา่ ยทอดทางพันธกุ รรม และการนาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั
4. ชนดิ พนั ธ์ตุ า่ งถนิ่ ท่สี ง่ ผลกระทบต่อระบบนเิ วศและสง่ิ แวดล้อม

เทคโนโลยชี ีวภาพ
1. ความหมายและลักษณะของเทคโนโลยีชวี ภาพ
2. ปัจจยั ที่มผี ลต่อเทคโนโลยีชวี ภาพ
3. เทคโนโลยชี ีวภาพในชวี ิตประจาวัน
4. ภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ เก่ียวกับเทคโนโลยีชีวภาพ
5. ประโยชน์และผลกระทบของ

5.1 ความหลากหลายทางชวี ภาพ
5.2 ชีวติ และสงิ่ แวดลอ้ ม

การจดั ทาแผนการเรยี นรู้โดยใชส้ ่ือเทคโนโลยี

วิเคราะห์เนอ้ื หา พบ วธิ ีการจัดการเรยี นรู้ รวมเวลา
กล่มุ ตนเอง ชน้ั เรยี น ทางไกล ชว่ั โมง
งา่ ย ปาน ยาก
กลาง

(4) 20
(4)
(4)

(4)
(4)

15

(3)

(3) (2)
(5)

(2)

RAYONG NFE 14

เนอื้ หารายวิชา

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1. กระบวนการเปล่ียนแปลงแทนที่ของส่งิ มีชีวิตและสง่ิ แวดล้อมในชมุ ชน
2. การใชท้ รพั ยากรธรรมชาติระดบั ท้องถ่นิ ประเทศและระดบั โลก
3. ปรากฏการณท์ างธรณีวทิ ยาท่มี ผี ลกระทบต่อชวี ติ และสงิ่ แวดลอ้ ม
4. ปัญหาและผลกระทบของระบบนเิ วศและสภาพสิง่ แวดล้อมในชุมชน ท้องถิน่ ประเทศ
5. แนวทางการแกไ้ ขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน
6. การวางแผนพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
7. การปฏบิ ัติตน หรือการร่วมมือกบั ชุมชนในการป้องกัน พัฒนาหรอื แก้ไขปญั หา

ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม
8. สภาวะโลกร้อน สาเหตแุ ละผลกระทบ การปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาโลกร้อน
3. สารเพอ่ื ชีวิต
3.1 ธาตุ สมบตั ขิ องธาตุ และธาตุกัมมันตรังสี

1. โครงสรา้ งอะตอมและทฤษฏีอะตอม
2. การจดั เรยี งอิเลก็ ตรอนในอะตอม
3. การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ
4. สมบัตขิ องธาตตุ ามตารางธาตุ
5. ประโยชนข์ องตารางธาตุ
6. ความหมายและการเกิดกัมมันตภาพรงั สี
7. ประโยชนแ์ ละโทษของกัมมนั ตภาพรังสี
8. ผลกระทบของสารกมั มันตภาพรงั สีตอ่ ส่ิงมชี ีวิตและส่งิ แวดล้อม

การจัดทาแผนการเรยี นรู้โดยใชส้ อื่ เทคโนโลยี

วเิ คราะห์เน้ือหา พบ วิธกี ารจดั การเรยี นรู้ รวมเวลา
กลุม่ ชั่วโมง
ง่าย ปาน ยาก ตนเอง สอน ทางไกล
กลาง เสรมิ

ศ และโลก (2) 20
(2)
(2)
(5) (2)
(2)
(2)
(3)

(6)
(4)

10

RAYONG NFE 15

เนอื้ หารายวิชา

3.2 สมการเคมีและปฏกิ ิรยิ าเคมี
1. ความหมายของสมการเคมี ปฏกิ ริ ยิ าเคมี และสัญลักษณ์ในสมการเคมี
2. การเขยี นและการอ่านสมการเคมี
3. ปจั จัยท่ีมผี ลต่อปฏกิ ริ ิยาเคมี
4. ปฏกิ ิริยาเคมใี นชีวิตประจาวัน และผลของปฏิกริ ิยาเคมีต่อชีวติ และสิ่งแวดลอ้ ม

3.3 โปรตนี คารโ์ บไฮเดรต และไขมัน
1. สมบัติ ชนิด ประเภท การเกดิ และประโยชนข์ องโปรตีน
2. สมบัติ ชนดิ ประเภท การเกดิ และประโยชนข์ องคารโ์ บไฮเดรต
3. สมบัติ ชนดิ ประเภท การเกิด และประโยชน์ของไขมนั

การจัดทาแผนการเรยี นรู้โดยใชส้ ื่อเทคโนโลยี

วิเคราะหเ์ นอื้ หา พบ วธิ กี ารจดั การเรียนรู้ รวมเวลา
กลุม่ ชั่วโมง
ง่าย ปาน ยาก ตนเอง สอน ทางไก
กลาง เสริม ล

 (15) 15


 (15) 15

RAYONG NFE 16

เนอ้ื หารายวชิ า

3.4 ปิโตรเลยี ม และพอลเิ มอร์
1. ปิโตรเลยี ม

1.1 การกลน่ั ลาดับส่วน
1.2 ผลติ ภณั ฑท์ ่ีได้ จากการกลน่ั ปิโตรเลียม
1.3 ผลกระทบของการใชป้ ิโตรเลยี ม
2. พอลิเมอร์
2.1 ความหมาย ประเภท ชนิด การเกดิ และสมบัติของพอลเิ มอร์
2.2 พอลิเมอร์ในชีวิตประจาวัน

2.2.1 พลาสติก
2.2.2 ยางและยางสังเคราะห์
2.2.3 เสน้ ใยธรรมชาติและใยสงั เคราะห์
2.3 ผลกระทบของการใชพ้ อลิเมอร์
3. สารเคมกี บั ชวี ติ และสงิ่ แวดล้อม
3.1 ความสาคญั ของสารกับชวี ิตและสิง่ แวดลอ้ ม
3.2 ความจาเปน็ ท่ีต้องใชส้ ารเคมี
3.3 การใชส้ ารเคมีทถ่ี ูกต้อง
3.4 ผลกระทบทเ่ี กดิ จากการใช้สารเคมี
4. แรงและพลังงานเพ่อื ชีวิต แรงและการเคลื่อนท่ี
1. แรงและความสัมพนั ธร์ ะหว่างแรงกบั การเคลื่อนท่ีของอนุภาค
2. ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งแรงและการเคลอ่ื นท่ขี องอนภุ าคในสนามโนม้ ถ่วง สนามแม
ประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวนั

การจดั ทาแผนการเรยี นรู้โดยใชส้ ่ือเทคโนโลยี

วเิ คราะหเ์ นื้อหา พบ วิธกี ารจดั การเรยี นรู้ รวมเวลา
กล่มุ ชว่ั โมง
ง่าย ปาน ยาก ตนเอง สอน นอก
กลาง เสริม สถานท่ี

(15)


มเ่ หลก็ ไปใช้  (10) 10

 (10)
20

(10)

RAYONG NFE 17

เนือ้ หารายวชิ า

5. ดาราศาสตรเ์ พ่อื ชวี ิตเทคโนโลยอี วกาศ
1. ความหมายความสาคัญและความเปน็ มาของเทคโนโลยอี วกาศ
2. ประเภทของเทคโนโลยีอวกาศ

2.1 ดาวเทยี ม
2.2 ยานสารวจอวกาศ
2.3 ยานขนส่งอวกาศ
2.4 สถานีทดลองอวกาศ
3. ประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยอี วกาศ
3.1 ปรากฏการณบ์ นโลก
3.2 ปรากฏการณ์ในอวกาศ
4. โครงการสารวจอวกาศที่สาคัญในปัจจุบัน

การจัดทาแผนการเรียนรูโ้ ดยใชส้ อ่ื เทคโนโลยี

วเิ คราะห์เนื้อหา พบ วธิ กี ารจัดการเรยี นรู้ รวมเวลา
กล่มุ ชั่วโมง
ง่าย ปาน ยาก ตนเอง ช้นั เรยี น นอก
กลาง สถานท่ี

 (1) (1)

 (1) (4)
15
 (1)
 (3) (4)

RAYONG NFE 18

6. ผังข้อสอบ (Test Blueprint)

ผงั ข้อสอบ (Te

วชิ าวิทยาศาสตร์ พว 31001
เรื่อง เซลล์ (สงิ่ มีชวี

มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ สาระตามหลกั สูตร ผลการเรยี นรทู้ ่คี า

2. สิ่งมชี วี ิตและสง่ิ แวดล้อม อธบิ ายเกย่ี วกับการแบ่งเซลล์ พนั ธุกรร
2.1 เซลล์ ทางพันธกุ รรม การผา่ เหลา่ ความหลา
เทคโนโลยชี ีวภาพ การใชป้ ระโยชนแ์ ล
การใช้เทคโนโลยีชวี ภาพตอ่ สังคมและส
2.1.1 อธิบายรปู รา่ ง สว่ นประกอบ ควา
การทางานการรักษาดลุ ยภาพของเซลล
2.1.2 อธิบายการรกั ษาดุลภาพของเซลล
และนาความรไู้ ปใช้ได้
2.1.3 อธิบายขนั้ ตอนของการแบ่งเซลลแ์
ไมโอซสิ และบอกความแตกต่างได้

หมายเหตุ สานักงาน กศน. ม.ป.ป. : หน้า 24

การจดั ทาแผนการเรยี นรโู้ ดยใชส้ อ่ื เทคโนโลยี

est Blueprint)

1 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
วิตและส่ิงแวดลอ้ ม)

จานวนขอ้ พฤตกิ รรมการวดั

าดหวัง ทตี่ อ้ งการ ร-ู้ จา เขา้ ใจ นาไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมนิ คา่

รม และการถ่ายทอด 4
ากหลายทางชวี ภาพ
ละผลกระทบที่เกดิ จาก 11
สิ่งแวดลอ้ มได้ ข้อ 9 ขอ้ 10
ามแตกต่าง ระบบ
ล์พชื และเซลลส์ ตั ว์ได้ 11
ลพ์ ืช เซลลส์ ัตว์ มนุษย์ ข้อ 11 ขอ้ 12

แบบไมโทซสิ และ

RAYONG NFE 19

7. แผนการเรียนรรู้ ายภาค

แผนการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ พ
เรื่อง เซลล์ (สง่ิ มีช

แผนพบกลุ่ม / เร

มาตรฐานที่ 2.2 มคี วามรู้ความเขา้ ใจและทักษะพื้นฐานเกย่ี วกบั คณติ ศาสตร์ วิทยา
มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ และเหน็ คุณค่าเกยี่ วกับกระบว

ส่งิ แวดล้อม ในท้องถ่นิ ประเทศและโลก สาร แรง พลังงาน กระบวนการเปลย่ี นแปลงของโล

รายวชิ า/หัว ตวั ช้วี ัด เน้อื หา ผลการเรยี น รปู แบบ

เรื่อง ทีค่ าดหวงั การเรยี

2. สิ่งมีชวี ิต 1. อธิบายรูปร่าง 1. เซลล์ อธบิ ายเกีย่ วกบั การ พบกล

และ สว่ นประกอบ 1.1ระบบการทางาน แบ่งเซลล์ พนั ธุกรรม ( 4 ชม
สงิ่ แวดลอ้ ม ความแตกต่าง ของเซลล์พชื และเซลล์ และถา่ ยทอดทาง
2.1 เซลล์ ระบบการทางาน สัตว์ และการรักษา พนั ธุกรรม

การรักษาดุลยภาพ ดลุ ยภาพ การผา่ เหล่า

ของเซลล์พชื และ 1.2 กลไกและการ ความหลากหลายทาง

เซลลส์ ัตว์ รกั ษาดุลยภาพของพืช ชีวภาพ

2. อธบิ ายการ สตั ว์ และมนุษย์ เทคโนโลยชี วี ภาพ

รักษาดุลยภาพของ 1.3 การปอ้ งกันดูแล การใช้ประโยชน์และ

พืช รกั ษาภูมิคุ้มกนั ร่างกาย ผลกระทบทีเ่ กดิ

สัตว์ และมนษุ ย์ และการนาความรไู้ ปใช้ จากการใช้
และการนาความรู้ ในชวี ติ ประจาวัน เทคโนโลยีชีวภาพ
ไปใช้ 2. กระบวนการแบ่ง ต่อสังคมและ

3. ศึกษา สบื ค้น เซลล์ สิง่ แวดลอ้ มได้
ขอ้ มูล และอธิบาย 2.1 การแบ่งเซลล์
กระบวนการแบ่ง แบบไมโทซสิ

การจัดทาแผนการเรียนรูโ้ ดยใชส้ ่ือเทคโนโลยี

พว 31001 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ชวี ิตและสง่ิ แวดล้อม)

รยี นรู้ด้วยตนเอง

าศาสตร์ และเทคโนโลยี (สานกั งาน กศน. 2555 : หนา้ 200-201)
วนการทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ส่ิงมีชีวิต ระบบนิเวศทรัพยากรธรรมชาติและ

ลก และดาราศาสตร์ มจี ิตวิทยาศาสตร์และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชวี ิต

บ การจัดกระบวนการเรียนรู้ สอ่ื /แหล่ง การวดั และ

ยน เรยี นรู้ ประเมนิ ผล

ลุ่ม ข้นั ที่ 1 เตรียมความพร้อม

ม.) 1. ทบทวนเนอื้ หาความสาคัญและความจาเปน็ ท่ี

ควรเรยี นร้เู ก่ยี วกบั เร่อื งเซลล์

2. สือ่ แบบเรียนวชิ าวิทยาศาสตร์

3. ส่ือชดุ กาแฟดิฟ (ซองกาแฟดฟิ แก้วใส และนา้

รอ้ น)

ข้นั ที่ 2 อนุ่ เคร่อื ง ( 20 นาที) Google
1. ลงชือ่ เขา้ ชนั้ เรยี น (Link) Form

2. ครกู ล่าวทักทาย และบอกหัวข้อท่จี ะจัดการ

เรยี นรู้ ในชว่ั โมงน้ี ว่าคอื เรอ่ื งเซลล์

3. ทดสอบก่อนเรยี น (Kahoot) -แบบทดสอบ
4. ครูสาธติ การทากาแฟดิฟ ให้นกั ศึกษาได้เห็น กอ่ นเรยี น

วิธกี ารและผลลพั ธ์ โดยเริ่มตน้ จาก การนาซองกาแฟดิฟ

ใส่แก้วใส และใสน่ า้ ร้อนลงไปในซองกาแฟที่อยูภ่ ายใน

RAYONG NFE 20

รายวิชา/หัว ตัวชี้วดั เนื้อหา ผลการเรยี น รูปแบบ
เร่ือง ทค่ี าดหวัง การเรยี
เซลลแ์ บบไมโทซิล 2.2 การแบง่ เซลล์
และ ไมโอซลิ แบบไมโอซิส

การจัดทาแผนการเรียนรู้โดยใชส้ ่อื เทคโนโลยี

บ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ สอ่ื /แหลง่ การวัดและ

ยน เรียนรู้ ประเมนิ ผล

แก้ว จะทาใหเ้ กิดปรากฎการณ์เห็นเปน็ น้าสีดาออกมาจาก

ซองกาแฟ

ขั้นที่ 3 เรือ่ งรายบุคคล ( 55 นาที)

1. ครูตงั้ ประเดน็ คาถาม เรือ่ ง การเปลยี่ นสีของ

นา้ ร้อนจากการเทผา่ นซองกาแฟดิฟ และให้นักศึกษาละ

สรุปแต่ละประเดน็ คาตอบของนกั ศึกษา

2. ครอู ธบิ ายเพ่มิ เติมเร่ืองโครงสร้างและหนา้ ที่

ของเซลล์ -การสงั เกต

3. ครใู หน้ กั ศึกษาดูคลิปวดิ โี อ เรอ่ื ง โครงสรา้ ง You tupe

และหนา้ ทีข่ องเซลส์ (QR Code)

4. ครสู อบถามความเข้าใจจากการดูคลปิ วิดีโอ -การสงั เกต

5. ครูให้นักศึกษาดรู ปู ภาพ จานวน 2 รูป ดงั นี้ QR Code

(QR Code)

รูปที่ 1 รปู ภาพของคนทีม่ ีสขุ ภาพดี

รปู ท่ี 2 รปู ของบุคคลทส่ี ุขภาพไมด่ ี

6. ครตู ง้ั ประเดน็ คาถาม เรอ่ื ง ทาไมบุคคล

ทงั้ สองภาพ จึงมีสุขภาพที่แตกตา่ งกัน ครูคอยดูนกั ศึกษา

วา่ เขา้ ใจมากนอ้ ยเพยี งใด โดยครอู ธิบายเพ่ิมเตมิ และตอบ

คาถาม พร้อมทง้ั สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาแตล่ ะคน

7. ครอู ธบิ ายเพ่ิมเตมิ ถงึ การได้รับความเจบ็ ป่วย

RAYONG NFE 21

รายวิชา/หัว ตวั ชี้วดั เนื้อหา ผลการเรยี น รปู แบบ
เร่ือง ท่ีคาดหวัง การเรีย

การจดั ทาแผนการเรยี นรูโ้ ดยใชส้ อ่ื เทคโนโลยี

บ การจัดกระบวนการเรียนรู้ สอ่ื /แหลง่ การวัดและ
ยน เรยี นรู้ ประเมินผล

ของร่างกายจากการทางานที่ผดิ ปกติของเซลส์ -การสังเกต

ข้นั ท่ี 4 รวมพลชว่ ยกนั สร้างสรรค์ผลงาน ( 50 นาที) -โปรแกรม -การสงั เกต
1. ครแู บ่งกลุ่มนักศึกษาจานวน 40 คน ออกเป็น Super -การสงั เกต
Soom
4 กลุ่มๆ ละ 10 คน (ซปุ เปอร์สุ่ม)
กลุ่มท่ี 1 เร่อื ง กลไกและการรักษาสมดุลของ -ใบความรู้

เซลล์พืชและเซลลส์ ัตว์
กลุ่มท่ี 2 เรื่อง การป้องกันดูแลรกั ษาภูมคิ ุม้ กัน

ร่างกาย
กลุ่มที่ 3 เรอ่ื ง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซสิ
กลุ่มที่ 4 เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซสิ
2. ครูแจกใบความร้ใู ห้แต่ละกลมุ่ ตามหัวข้อท่ีได้

แบง่ เอาไวข้ ้างตน้ แลว้ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษาข้อมลู ท่ีได้เพื่อ
นาเสนอให้เพื่อนรว่ มชัน้ เรียนกลมุ่ อน่ื ไดร้ บั ฟัง โดยใช้วิธี
เวยี นฐานความรู้ (Google doc)

ขน้ั ที่ 5 สอ่ื สารวธิ ี ( 50 นาที)
นกั ศึกษาแตล่ ะกลมุ่ เขา้ เรยี นรู้ตามฐาน 4 ฐาน

ฐานละ 5 นาที แบ่งเป็น 2 ชุด คอื ชุดละสองรอบ
หมุนเวียนกนั )

RAYONG NFE 22

รายวิชา/หัว ตวั ชี้วดั เนื้อหา ผลการเรยี น รปู แบบ
เร่ือง ท่ีคาดหวัง การเรีย

การจัดทาแผนการเรียนรโู้ ดยใชส้ ่อื เทคโนโลยี

บ การจดั กระบวนการเรียนรู้ สอ่ื /แหลง่ การวดั และ
ประเมินผล
ยน เรียนรู้

ขัน้ ที่ 6 มากมีวิชาการ ( 30 นาที)

ครูและนักศึกษาร่วมกันสรปุ องคค์ วามรูท้ ี่ไดร้ ับ

จากการเรียนรูต้ ามฐาน Google

drive

ข้ันท่ี 7 สบื สานรายคน ( 20 นาท)ี

1. เปดิ โอกาสให้ซักถามในประเดน็ ที่สนใจหรือยงั

ไมเ่ ขา้ ใจ และให้นักศึกษาแต่ละคนทาใบงานเปน็ การบ้าน

สง่ ในสัปดาห์ถดั ไป (Google drive)

2. ครมู อบหมายให้นักศกึ ษาไปเรียนรเู้ พมิ่ เติม

ด้วยตนเอง (กรต.) ในหวั ขอ้ ตามแบบเรียน

3. ทดสอบหลงั เรียน (Google form)

ขั้นที่ 8 สรปุ ผล กศน. (10 นาท)ี
ดา้ นความรู้
1. ประเมนิ จากการตอบคาถามระหวา่ งเรยี น
2. ประเมินจากใบงาน
ดา้ นทักษะ
1. สงั เกตจากการมสี ว่ นร่วม
2. สังเกตจากการนาเสนอผลงานกลมุ่

RAYONG NFE 23

รายวิชา/หัว ตวั ชี้วดั เนื้อหา ผลการเรยี น รปู แบบ
เร่ือง ท่ีคาดหวัง การเรีย

การจัดทาแผนการเรยี นรโู้ ดยใชส้ ื่อเทคโนโลยี

บ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ สอ่ื /แหล่ง การวัดและ
ยน เรยี นรู้ ประเมนิ ผล

ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมและคา่ นิยม 1. การสงั เกต
สงั เกตการทางานกลมุ่ จากด้านตา่ งๆ ดังน้ี 2. แบบบนั ทึก
ความรว่ มมอื การแสดงความคิดเหน็ การยอมรับความ หลงั เรยี น
คดิ เหน็ การชว่ ยเหลอื สมาชกิ ความรบั ผิดชอบ

ขัน้ ที่ 9 วจิ ัยยอ่ ชนั้ เรียน (5 นาที)
บนั ทึกผลหลงั การจดั กจิ กรรมในช้นั เรยี น

RAYONG NFE 24

การจัดทาแผนการเรยี นรู้โดยใชส้ ่อื เทคโนโลยี

8. แผนการเรยี นรโู้ ดยใชส้ ่อื เทคโนโลยี
แผนการเรยี นรู้ 9 ข้ันตอน เรอื่ ง เซลล์ จานวน 4 ชวั่ โมง (การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง : กรต. 16 ชวั่ โมง)
ขนั้ ท่ี 1 เตรียมความพร้อม
1. ทบทวนเน้ือหาความสาคัญและความจาเปน็ ท่ีควรเรียนรูเ้ กีย่ วกบั เรื่องเซลล์
2. สื่อแบบเรยี นวชิ าวิทยาศาสตร์
3. สื่อชดุ กาแฟดิฟ (ซองกาแฟดิฟ แกว้ ใส และน้ารอ้ น)
4. กระดาษปรู๊ฟ
5. ปากกาเคมีหลากสี
6. แบบสังเกตพฤติกรรม

ขนั้ ท่ี 2 อ่นุ เครอ่ื ง ( 20 นาท)ี
1. ลงชอ่ื เข้าชนั้ เรยี นดว้ ย QR Code ประจาตัวนกั ศึกษา (ครตู อ้ งเตรยี มกอ่ นการสอน) (Link)

2. ครกู ลา่ วทักทาย และบอกหัวขอ้ ทีจ่ ะจัดการเรยี นรู้ ในชั่วโมงนี้ ว่าคอื เรื่องเซลล์
3. ทดสอบก่อนเรยี น (Kahoot)

4. ครูสาธติ การทากาแฟดิฟ ใหน้ ักศึกษาได้เหน็ วิธีการและผลลพั ธ์ โดยเร่มิ ตน้ จากการนาซองกาแฟดิฟใส่ ลง
ในแก้วใส หลังจากนนั้ ใสน่ า้ ร้อนลงไปในซองกาแฟท่ีวางอยู่ภายในแกว้ จะทาให้น้าร้อนที่มีลักษณะขาวใส เปลย่ี นเป็น
สีดา ตามสีของกาแฟ พร้อมทั้งใหน้ ักศึกษาสังเกตลกั ษณะของนา้ สีดาทผ่ี ่านออกมาจากถุงกาแฟดฟิ น้ันวา่ เปน็ อยา่ งไร

RAYONG NFE 25

การจดั ทาแผนการเรียนร้โู ดยใชส้ ่ือเทคโนโลยี

ขั้นที่ 3 เร่ืองรายบุคคล ( 55 นาที)
1. ครตู ้ังประเดน็ คาถาม เร่ือง การเปล่ยี นสีของนา้ ร้อนปกติ กับสีน้ารอ้ นจากการเทน้าร้อนผ่านซองกาแฟดฟิ
และให้นกั ศึกษาสังเกตลักษณะของน้าสดี าท่ีออกมาจากถุงกาแฟดิฟว่ามีลักษณะใส หรอื ขุ่น ให้นักศกึ ษาตอบคาถาม
พรอ้ มทงั้ สงั เกตพฤติกรรมของนกั ศึกษาแต่ละคนวา่ เขา้ ใจมากน้อยเพยี งใด โดยครูอธบิ ายเพมิ่ เติมและสรปุ แตล่ ะ
ประเด็นคาตอบของนักศึกษา
2. ครูอธิบายเพ่ิมเติม เร่อื ง โครงสรา้ งและหนา้ ที่ของเซลล์ โดยครูอธิบายโครงสรา้ ง ส่วนประกอบ และหนา้ ท่ี
ของเซลลใ์ ห้นักศึกษาฟงั พร้อมกนั ทง้ั ช้ันเรียน
3. ครใู หน้ กั ศึกษาดูคลปิ วดิ ีโอ เรอื่ ง โครงสร้างและหน้าทขี่ องเซลส์ ความยาว 8.23 นาที (QR Code)

ทมี่ า : นางเอเดยี น คุณาสทิ ธ.ิ์ จาก https://youtu.be/yz_UQloUrNs
4. ครูสอบถามความเข้าใจของนักศึกษาจากการดูคลปิ วิดีโอ พร้อมทง้ั เลือ่ นภาพจากคลิปวิดโี อใหน้ ักศึกษาได้
เหน็ ได้ชัดเจนอีกครั้ง
5. ครูให้นกั ศึกษาดูรปู ภาพ จานวน 2 รูป ดงั น้ี (QR Code)

รปู ท่ี 1 รูปภาพของคนทีม่ ีสุขภาพดี
รปู ที่ 2 รูปของบุคคลที่สุขภาพไม่ดี

RAYONG NFE 26

การจัดทาแผนการเรยี นรูโ้ ดยใชส้ อ่ื เทคโนโลยี

6. ครูตงั้ ประเด็นคาถามว่า นักศึกษาเห็นความแตกต่างของรูปภาพบุคคลดงั กลา่ วหรือไม่ ถ้ามคี วามแตกต่าง
กนั อยา่ งไร ด้วยการให้นักศึกษาร่วมกันอธบิ ายถงึ ลักษณะความแตกตา่ งของบุคคลในภาพ โดยสอบถามนกั ศึกษา
ประมาณ 2 – 3 คน ใหเ้ หน็ เป็นตัวอย่าง จนสามารถสรปุ ประเด็นไดว้ ่า สาเหตุท่ีทาใหภ้ าพของบคุ คลทง้ั สองมี
ความแตกต่างกัน น่ันคอื เปน็ เพราะความเจ็บป่วยของร่างกาย

7. ครอู ธิบายเพิม่ เติมถึงการได้รับความเจบ็ ป่วยของรา่ งกาย ทเี่ กิดจากการทางานผดิ ปกตขิ องเซลล์ ให้
นักศกึ ษาไดเ้ ขา้ ใจ

ขนั้ ที่ 4 รวมพลชว่ ยกนั สรา้ งสรรค์ผลงาน ( 50 นาท)ี
1. ครูแบ่งกลุ่มนักศึกษาจานวน 40 คน ออกเปน็ 4 กลมุ่ ๆ ละ 10 คน ดว้ ยการใช้สอ่ื เทคโนโลยใี นการ
แบง่ กลุ่มแบบอัตโนมัติ ส่อื เทคโนโลยที ่ีใช้ได้แก่ โปรแกรมซุปเปอรส์ ุ่ม
2. ครแู จกใบความรอู้ อนไลน์ใหแ้ ต่ละกลมุ่ ตามหัวข้อทไี่ ด้แบ่งไว้แลว้ ข้างต้น และใหส้ มาชิกแตล่ ะกลมุ่ ศึกษา
ข้อมูลท่ีได้รับเพ่ือนาเสนอให้เพอ่ื นรว่ มชน้ั เรียนกลมุ่ อ่ืนได้รับฟัง โดยใช้วธิ ีเวียนฐานความรู้ (Google doc)

กลุ่มท่ี 1 เร่ือง กลไกและการรักษาสมดุลของเซลล์พืชและเซลลส์ ตั ว์

กลุ่มที่ 2 เรื่อง การป้องกันดูแลรักษาภูมคิ มุ้ กันร่างกาย

กลุ่มท่ี 3 เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส

RAYONG NFE 27

การจัดทาแผนการเรียนรโู้ ดยใชส้ ือ่ เทคโนโลยี

กลมุ่ ที่ 4 เรอื่ ง การแบ่งเซลลแ์ บบไมโอซิส

ขั้นที่ 5 สื่อสารวิธี ( 50 นาที)
นกั ศึกษาแต่ละกลุ่มเข้าเรียนรู้ตามฐาน จานวน 4 ฐาน ฐานละ 5 นาที สมาชิกในแต่ละกล่มุ จะต้องแบง่ เป็น 2
ชุด การเรยี นรตู้ ามฐานนน้ั แบง่ ออกเป็นสองรอบ ในรอบแรกนัน้ ชดุ ที่ 1 จะเข้าฐานความรกู้ ลุม่ อน่ื ๆ โดยใช้เวลาศกึ ษา
ฐานละ 5 นาที ส่วนชุดท่ี 2 จะต้องเปน็ วทิ ยากรประจาฐาน โดยเร่ิมฐานของตนเองก่อน เมือ่ สนิ้ สุดรอบแรกแล้ว เร่ิม
รอบท่สี อง โดยให้สมาชกิ ในกลุ่มทั้งสองชดุ สลับบทบาทกัน ดังน้ี ชดุ ที่ 1 เปล่ียนมาเป็นวิทยากรประจาฐาน ส่วนชดุ ท่ี 2
เขา้ ฐานอ่นื ๆ เพื่อเรยี นรู้

ขั้นท่ี 6 มากมีวชิ าการ ( 30 นาท)ี
ครูและนกั ศึกษารว่ มกนั สรุปองคค์ วามรู้ที่ไดร้ บั จากการเรยี นรูต้ ามฐาน

ข้นั ที่ 7 สืบสานรายคน ( 20 นาท)ี
1. มอบหมายให้นักศึกษาแต่ละคนจัดทาใบงาน (Google doc) โดยดาวนโ์ หลดเอกสารด้วยตนเอง
แล้วนามาส่งในการเรยี นคร้ังถัดไป พร้อมเปดิ โอกาสให้ซักถามในประเดน็ ทสี่ นใจหรอื ยังไมเ่ ขา้ ใจ

2. ครูมอบหมายใหน้ ักศึกษาไปเรียนรูเ้ พมิ่ เติมด้วยตนเอง (กรต.) ในหัวข้อตามแบบเรยี น
3. ทดสอบหลังเรียน (Google form)

RAYONG NFE 28

การจัดทาแผนการเรยี นรูโ้ ดยใชส้ ่อื เทคโนโลยี

ข้ันที่ 8 สรุปผล กศน. ( 10 นาท)ี รวมถึงการให้สรุปรายงานเปน็ เอกสาร
ด้านความรู้
1. ประเมนิ จากการตอบคาถามระหวา่ งเรยี น
2. ประเมนิ จากใบงาน
ดา้ นทักษะ
1. สังเกตจากการมสี ่วนร่วม
2. สังเกตจากการนาเสนอผลงานกล่มุ
ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยม
สังเกตจากการทางานกลุม่ ดังน้ี คือ ภาวะผู้นาผ้ตู าม ความรับผดิ ชอบ การมีสว่ นรว่ ม และการแสดง
ความคิดเห็น ตลอดจนการช่วยเหลือซึง่ กนั และกัน
ขัน้ ที่ 9 วจิ ยั ย่อชั้นเรยี น ( 5 นาท)ี
บนั ทึกผลหลังการจัดกิจกรรมในชัน้ เรียน (บนั ทึกหลังสอน)

RAYONG NFE 29

การจัดทาแผนการเรยี นรโู้ ดยใชส้ ่อื เทคโนโลยี

บรรณานกุ รม

คณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ, สานักงาน. เอกสารโครงการระเบียงเศรษฐกิจภาค
ตะวันออก (Eastern Economic corridor : EEC) อ้างองิ จาก http://www.nesdb.go.
Th/ Ewt dl link.php?nid=6382. (สบื ค้นเม่อื : 25 พฤษภาคม 2561)

ณัฐสิมา ไลไธสง. ระบบภูมคิ ุ้มกนั รา่ งกาย. อา้ งอิงจาก http://ketmaneenutsima.wordpress.com.
(สืบคน้ เมอ่ื : 25 พฤษภาคม 2561)

โรจน์รวี ชยั รัตน์. การแบง่ เซลล.์ อ้างอิงจาก http://www.ipecp.ac.th/ipecp/cgi-binn/BP1/
Program/chapter5/p2_1.html. (สบื ค้นเมือ่ : 25 พฤษภาคม 2561)

เลขาธกิ ารสภาการศึกษา, สานักงาน. แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2560-2579. กรุงเทพฯ : บรษิ ัท
พรกิ หวานกราฟฟิค จากัด, 2560. 226 หน้า.

วรเดช จติ รเจริญ, ผูเ้ รยี บเรยี ง. หนงั สือสาระความรูพ้ นื้ ฐาน รายวิชาวิทยาศาสตร์ ระดบั มธั ยมศึกษา
ตอนปลาย รหัส พว๓๑๐๐๑. กรงุ เทพฯ : บริษทั หนอนหนังสือ สตารเ์ นต็ เวริ ค์ จากดั , 2559.
359 หน้า.

ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย, สานักงาน. นโยบายและจดุ เนน้ การดาเนนิ งาน
สานักงาน กศน. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัทพริกหวาน กราฟฟคิ จากัด, 2561. 28 หน้า.

ส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย, สานักงาน. หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สาระการเรยี นรู้ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2554).
กรงุ เทพฯ : สานักงานกิจการโรงพมิ พ์องค์การสงเคราะหท์ หารผา่ นศึก., 2555. 451 หน้า.

สวุ ิทย์ เมษอนิ ทร,ี ดร. (2560) ประเทศไทย 4.0”สรา้ งเศรษฐกจิ อ้างอิงจาก http://www.drborworn.
Com. (สบื คน้ เมื่อ : 25 พฤษภาคม 2561)

http://sk.nfe.go.th/kssin/VserFiles/File/science%2031001.doc
Nnnattanicha. การรักษาดุลยภาพของเซลล์. อา้ งอิงจาก http://nnnattanichawordpress.com.

(สืบคน้ เม่อื : 25 พฤษภาคม 2561)

RAYONG NFE 30

การจดั ทาแผนการเรยี นรูโ้ ดยใชส้ อื่ เทคโนโลยี

ภาคผนวก

RAYONG NFE 31

การจดั ทาแผนการเรียนรู้โดยใชส้ อ่ื เทคโนโลยี

รายการ Application
1. Google Classroom
2. Google Drive
3. Google Form
4. Google Sheet
5. Google Slides
6. Google Site
7. kahoot it
8. VivaVideo
9. YouTube
10. QR Code
11. Line
12. Facebook

RAYONG NFE 32

การจัดทาแผนการเรียนร้โู ดยใชส้ อื่ เทคโนโลยี

คณุ สมบัตขิ อง Application แต่ละชนดิ
คณุ สมบัติของ Application ต่างๆ มดี งั น้ี
1. Google Classroom
Google Classroom คือ Application ท่ีรวมเอาบริการของ Google ทมี่ อี ยแู่ ลว้ เชน่ Drive, Docs,

Gmail หรือ Sheet เข้ามารวมไว้ด้วยกัน และสามารถนาเสนอออกมาเป็นระบบเดียวแบบครบวงจร เพ่อื ใช้เป็น
เครอื่ งมือให้ครผู ้สู อนสามารถใชป้ ระโยชนใ์ นการสัง่ งานและเก็บรวบรวมผลงานต่างๆ ของนักศกึ ษา อีกทั้งยังจะช่วยให้
นกั ศึกษาสามารถสง่ งานไดท้ ันที ผ่านทางออนไลน์ในขณะท่ีครผู ู้สอนเองกส็ ามารถตรวจงานตามที่ไดม้ อบหมาย พร้อม
ใหข้ ้อเสนอแนะแบบเรยี ลไทม์ไดอ้ ีกดว้ ย โดยครูผูส้ อนสามารถสร้างหน้าห้องเรียนขึน้ มา และสามารถเพิ่ม-ลด
นักศกึ ษาของตนเข้าไปได้ หรือจะใชว้ ธิ กี ารสง่ รหสั เพ่ือใหน้ ักศกึ ษาสามารถเข้าสู่ห้องเรียนได้ด้วยตวั เองกไ็ ด้

2. Google Drive
Google Drive เปน็ บริการหน่ึงของ Google ไว้ใหเ้ ราฝากไฟลต์ า่ งๆ ฟรที ่ี Sever ของ Google โดยที่

เราส่งไฟล์ไปเกบ็ หรือ โหลดไฟล์มาใช้ผ่านอนิ เตอรเ์ น็ต ข้อดี คือทาให้เราสามารถเปิดไฟลง์ านไดจ้ ากทุกๆที่ ขอให้มี
อินเตอรเ์ น็ต ซึง่ มใี ห้ใช้ฟรถี ึง 15 GB สามารถสรา้ งโฟลเ์ ดอร์เพ่ือแบง่ แยกข้อมูลใหเ้ ป็นหมวดหมูไ่ ด้ และเรายงั สามารถ
แชร์ (Share) ข้อมูลและโพลเ์ ดอร์เราให้คนอน่ื โหลดได้ ซ่งึ เราก็สามารถใชไ้ ดท้ ้งั ในมือถือสมาร์ทโฟน
(iOS และ Android) และคอมพวิ เตอร์

3. Google Form
Google Form เปน็ สว่ นหน่ึงของการบริการในกล่มุ Google Docs ทช่ี ว่ ยใหเ้ ราสร้างแบบสอบถาม

ออนไลน์ หรือใชส้ าหรบั รวบรวมขอ้ มลู ไดอ้ ย่างรวดเร็ว โดยทไี่ มต่ ้องเสียค่าใชจ้ า่ ย สาหรับการใช้งาน Google Form
ผูใ้ ชส้ ามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้หลากหลายรูปแบบ อาทิ เช่น การทาแบบฟอร์มสารวจความคดิ เห็น การทา
แบบฟอร์มสารวจความพึงพอใจ การทาแบบฟอรม์ ลงทะเบียน และการลงคะแนนเสยี ง เป็นต้น

ทงั้ น้กี ารใช้งาน Google Form น้นั ผใู้ ช้งานคือผทู้ ส่ี รา้ งแบบฟอร์มซง่ึ จะต้องมีบัญชีของ Gmail หรือ
Account ของ Google เสยี ก่อน ผู้ใช้งานสามารถเข้าใช้งานสรา้ งแบบฟอรม์ ผ่าน Web Browser ได้เลย โดยท่ี
ไมต่ ้องตดิ ตงั้ โปรแกรมใดๆ ท้งั สนิ้

4. สเปรดชีต (spreadsheet)
สเปรดชีต (spreadsheet) คือ แผน่ งานท่มี ลี กั ษณะเป็นชอ่ งตารางสี่เหล่ียม ใชส้ าหรบั การจัดเรยี งข้อมูล

และคานวณเปน็ หลัก โปรแกรมสเปรดชตี (spreadsheet) ทเ่ี ปน็ ทนี่ ิยมมีอยมู่ ากมาย แต่สเปรดชีต(spreadsheet)
ออนไลนข์ อง Google เป็น Application หน่ึงทม่ี ีการใชง้ านได้โดยไม่เสยี ค่าใช้จ่าย ผู้ใช้สามารถสร้างสเปรดชตี
(spreadsheet) ไดอ้ ยา่ งงา่ ยดาย ไมว่ ่าจะเป็นขอ้ มลู ผลการเรียนของนักศกึ ษา บัญชรี ายจ่าย เปน็ ต้น ซง่ึ สามารถสร้าง
แผนภมู เิ พอื่ นาเสนอข้อมลู รวมไปถึงฟอร์มหรอื แบบสอบถามออนไลน์สาหรบั เก็บข้อมูล ทัง้ ยงั สามารถแบ่งปนั ให้ผู้อ่ืน
ได้แก้ไขและทางานรว่ มกันในสเปรตชตี (spreadsheet) ของตนได้

RAYONG NFE 33


Click to View FlipBook Version