The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สค21002 ศาสนาและหน้าที่พลเมือง

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookrayong, 2020-06-16 00:40:40

สค21002 ศาสนาและหน้าที่พลเมือง

สค21002 ศาสนาและหน้าที่พลเมือง

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

Keywords: สื่อ กศน.

43

1) การรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย
2) ความเอื้อเฟอเผ่อื แผ
3) ความกตัญกู ดเวที
4) ความชื่อสัตย สจุ ริต
5) การเคารพผอู าวโุ ส
6) การนยิ มใชของไทย
7) การประหยัด

กิจกรรมทา ยบทที่ 2

1. ประเพณไี ทยเปน เคร่อื งแสดงถงึ ความสาํ คญั และลกั ษณะของความเจรญิ ในดา นใด
ก. การดาํ รงรักษาและอนุรกั ษของเดมิ
ข. จติ ใจ สงั คม และความเปน อยบู รรพบุรษุ
ค. วิถีชวี ิตความเปน อยูท้ังในอดีตและปจ จุบนั
ง. การแสดงความกตัญูกตเวที และดํารงรกั ษาประเพณดี ั้งเดมิ

2. ประเพณีการเกิด จดั เปนประเพณีในขอ ใด

ก. สงั คม ข. ประเพณชี มุ ชน

ค. ครอบครวั ง. ประเพณเี ก่ียวกับเทศกาล

3. ขอ ใดเปน วฒั นธรรมไทยผสมผสานกบั วฒั นธรรมสากล

ก. พระบรมมหาราชวัง ข. วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม

ค. พระทีน่ ัง่ อนนั ตสมาคม ง. วดั พระเชตุพนวิมลมงั คลาราม

4. ใครที่แสดงออกถงึ การอนุรักษว ฒั นธรรมไทยระดบั ชาติ
ก. นาํ้ ฝนราํ เซง้ิ ไดส วยกวา เพ่อื น
ข. สมใจชอบรําอวยพร
ค. มะลชิ อบแตง ผา ไหมของชาวอสี าน
ง. สมชายพูดคาํ ควบกลํ้าในภาษาไทยชัดเจน

44

5. “สมใจไปศึกษาภาษาจนี และภาษาพมาเพ่มิ เติมเพอื่ เตรยี มเขา สอู าเซยี นและเธอพูด
ภาษาไทยไดชดั เจน” ขอ ความดังกลาวแสดงถงึ การเลือกรับวัฒนธรรมสากลในขอใด
ก. ดานองคความรแู ละหลกั การ
ข. ดานการศึกษาและความรู
ค. ดานแนวคิด ทฤษฎี ความรแู ละหลกั การ
ง. ดานการประกอบอาชีพ และ ดา นความสัมพันธ

6. การซ้ือสนิ คา OTOP เปนการปลูกฝง คานยิ มในขอใด

ก. ความนยิ มประหยัด ข. คา นยิ มทางวตั ถุ

ค. คา นิยมใชของไทย ง. คานยิ มทางพ้นื ฐาน

7. คานิยมใดสมควรแกไขในสังคมไทย

ก. การเคารพผูอาวโุ ส ข. การใหค วามสําคญั กบั เงนิ

ค. การพ่งึ พาอาศัยรวมมอื กนั ง. การใหความสําคัญกบั ใบปรญิ ญาบัตร

8. คานยิ มในขอใดที่ควรปลกู ฝง ใหเยาวชน
ก. ทาํ ใหเ กดิ ความรับผดิ ชอบชั่วดี ข. ทาํ ใหเกดิ ความซาบซ้งึ
ค. ทําใหเกิดความรักความเขาใจ ง. ทาํ ใหชีวิตและรา งกายอยรู อด

9. วัดหลวงพระบางเปนวฒั นธรรมของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาวดานใด

ก. แตงกาย ข. อาหาร

ค. ประเพณี ง. ภาษา

10. เครื่องมอื หาปลา เชน ลอบ ไซ แห จดั เปนวัฒนธรรมทางใด

ก. ทางวัตถุ ข. ทางสุนทรยี ะ

ค. ทางภาษาและวรรณคดี ง. ทางขนบธรรมเนียมประเพณี

45

บทท่ี 3
รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย

สาระสําคัญ
ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

มีรัฐธรรมนูญซึ่งเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศที่ประชาชนชาวไทยควรมีความรู
ความเขาใจเก่ียวกับความเปนมา หลักการ เจตนารมณ โครงสรางและสาระสําคัญของ
รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย ตลอดจนการศึกษาจดุ เดนของรฐั ธรรมนญู ในสว นที่ เกี่ยวกับ
สิทธิ เสรีภาพและหนาท่ีของประชาชน เพ่ือการปฏิบัติตนไดอยางถูกตองตามท่ี รัฐธรรมนูญ
กําหนด และหลักการสําคัญของประชาธิปไตยและคุณธรรม จริยธรรม คานิยม ในการอยู
รวมกนั อยางสนั ติ สามคั คี ปรองดอง
ผลการเรียนรทู ี่คาดหวงั

1. อธบิ ายความเปนมา หลกั การและเจตนารมณของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั ร
ไทยได

2. มีความรู ความเขา ใจ โครงสรางและบอกสาระสําคญั ของรัฐธรรมนญู
แหงราชอาณาจักรไทย

3. อธิบายจุดเดนของรฐั ธรรมนูญที่เกยี่ วกับสิทธิเสรภี าพหนา ทีข่ องประชาชนได
4. มคี วามรูความเขาใจในหลักการสําคญั ของประชาธิปไตย และมีคุณธรรม จริยธรรม
คา นิยมการอยรู วมกนั อยางสนั ติ สามคั คี ปรองดอง สมานฉันท

ขอบขา ยเน้ือหา

เรอ่ื งท่ี 1 ความเปน มา หลกั การ และเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ
เรื่องท่ี 2 โครงสรางและสาระสําคัญของรฐั ธรรมนูญ
เร่อื งท่ี 3 การปฏริ ูปการเมือง และจุดเดน ของรฐั ธรรมนญู ท่ีเกยี่ วกบั สทิ ธิ เสรีภาพ
และหนาทขี่ อประชาชน
เรอื่ งท่ี 4 หลักการอยูรวมกันตามวิถที างประชาธปิ ไตยบนพน้ื ฐานของคุณธรรมจรยิ ธรรม

46

สอื่ การเรียนรู

1. คอมพิวเตอร อินเทอรเน็ต
2. รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2550
3. บทความตา ง ๆ
4. หนังสือพิมพ

50

เรอื่ งที่ 1 ความเปน มาหลักการเจตนารมณข องรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย

1.1 ความเปน มาของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย

รฐั ธรรมนญู (Constitution) หมายถงึ กฎหมายสูงสดุ ในการจดั การปกครองรฐั

ถา แปลตามคาํ จะหมายถงึ การปกครองรฐั อยา งถูกตองเปน ธรรม (รฐั + ธรรม + มนูญ)
หลวงประดิษฐมนูธรรม (ดร.ปรีดี พนมยงค) ไดอธิบายวา “กฎหมายธรรมนูญการ

ปกครองแผนดิน เปนกฎหมายท่ีบัญญัติถึงระเบียบแหงอํานาจสูงสุดในแผนดินท้ังหลาย และ
วธิ กี ารดําเนินการท่วั ไปแหงอาํ นาจสูงสุดในประเทศ”

ศาสตราจารยหยุด แสงอุทัย อธิบายความหมายวา “กฎหมายที่กําหนดระเบียบแหง
อาํ นาจสูงสุดในรฐั และความสมั พันธร ะหวา งอาํ นาจเหลา น้ีตอ กันและกัน”

ประเทศไทยเริม่ ใชรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ เมื่อเกิดการ
ปฏิวตั โิ ดยคณะราษฎร เพือ่ เปลยี่ นแปลงการปกครองประเทศจากระบอสมบูรณาญาสิทธิราชย
มาเปนระบอบประชาธิปไตย โดยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนพระประมุขท่ีทรงอยูใต
รัฐธรรมนูญ เม่ือวันท่ี 24 มิถุนายน 2475 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว
รัชกาลที่ 7 แหง ราชวงศจกั รี

หลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวทรง
พระราชทานรัฐธรรมนญู ใหแกป วงชนชาวไทยตามทค่ี ณะราษฎรไดนําขึ้นทูลเกลาฯ ถวายใหทรง
ลงพระปรมาภไิ ธย พระองศทรงมพี ระราชประสงคม าแตเดิมแลววาจะพระราชทานรัฐธรรมนูญ
ใหเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศแกประชาชนอยูแลว จึงเปนการสอดคลองกับ
แผนการของคณะราษฎร ประกอบกับพระองศทรงเห็นแกความสงบ เรียบรอยของบานเมือง
และความสุขของประชาชนเปนสําคัญยิ่งกวาการดํารงไวซึ่งพระราช อํานาจของพระองค
รัฐธรรมนูญที่คณะราษฎรไดนําข้ึนทูลเกลาฯถวาย เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยมี 2 ฉบับ คือ
พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามช่ัวคราว พ.ศ. 2475 และรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475

51

1.2 หลกั การและเจตนารมณของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย

จากการศกึ ษาความเปนมาของรัฐธรรมนูญพบวา มีความสัมพันธกับการ เปล่ียนแปลง
การปกครองมาต้ังแตป พ.ศ.2475 และไมว าจะเกิดการปฏิวัติรัฐประหารกคี่ ร้ังก็ตามกระแสการ
เรียกรองใหมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยและเรียกรองใหรัฐธรรมนูญมีความเปน
ประชาธปิ ไตยกเ็ กดิ ขึ้นอยางตอเน่ืองและมวี ิวัฒนาการมาตามลาํ ดบั หากศกึ ษาถงึ มูลเหตุของการ
เรยี กรอ งใหมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองและประกาศใชรฐั ธรรมนญู ในประเทศไทยน้ัน พบวา
การประกาศใชรฐั ธรรมนูญมเี ปา หมายสาํ คัญอยา งนอ ย 2 ประการ คอื

1. เปนหลักประกันในเร่ืองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ซ่ึงผูปกครองจะละเมิด
มไิ ด

2. เปนบทบญั ญัติทก่ี ลาวถึงขอบเขตอาํ นาจหนาทขี่ องผูปกครองและปอ งกนั มิให
ผูป กครองใชอ าํ นาจตามอาํ เภอใจ

ดังน้นั ในการประกาศใชร ฐั ธรรมนญู แตล ะฉบบั คณะผยู กรา งจึงไดเ ขียนหลักการ และ
เจตนารมณในการจดั ทาํ ไวท กุ ครง้ั ซ่งึ หลกั การและเจตนารมณทีค่ ณะผยู กรางเขยี นไวน ั้น ชวยให
คนรุน หลังไดมีความรูความเขาใจในเน้ือหาที่มาของรัฐธรรมนูญแตละฉบับวามีมาอยางไร
รวมทั้งสภาพสงั คมในชวงเวลานนั้ ดวย ซ่งึ ในทนี่ ีจ้ ะขอยกตัวอยางหลักการและ เจตนารมณของ
รัฐธรรมนูญฉบับแรกคือ “พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยามช่ัวคราว
พุทธศกั ราช 2475” และรัฐธรรมนญู ฉบับท่ี 18 คือ รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย
พุทธคกั ราช 2550 ดังน้ี

1. หลักการและเจตนารมณของ รัฐธรรมนูญฉบับแรก คือ “พระราชบัญญัติธรรมนูญ
การปกครองแผน ดินสยามชัว่ คราว พุทธคกั ราช 2475"” สรุปสาระสําคญั คอื

1) ประกาศวาอาํ นาจสงู สุดของประเทศเปนของราษฎร (มาตรา 1) ซึ่งแสดงถึง
การเปลย่ี นแปลงการปกครองจากระบบสมบรู ณาญาสทิ ธิราชยม าเปน ระบอบประชาธิปไตย

2) พระมหากษตั รยิ เ ปน ประมขุ ของประเทศ กิจการสําคัญของรัฐทําในนามของ
พระมหากษัตรยิ 

3) เปนการปกครองแบบสมัชชา โดยกําหนดใหคณะกรรมการราษฎร ซึ่งมี
จํานวน 15 คน ทาํ หนาทีบ่ ริหารราชการแผน ดินดําเนินการใหเปนไปตามวัตถุประสงคของสภา
ผูแ ทนราษฎร

4) เรม่ิ มีรฐั สภาข้นึ เปน ครัง้ แรก โดยกําหนดใหเ ปน สภาเดียว คอื
สภาผูแทนราษฎรซึ่งมีอํานาจสูงสุด กลาวคือตรากฎหมายควบคุมดูแลราชการ กิจการของ

52

ประเทศมีอํานาจถอดถอนหรอื สามารถปลดกรรมการราษฎรและขา ราชการทกุ ระดบั ช้ันได
โดยคณะกรรมการราษฎรไมมีอํานาจที่จะยุบสภาผูแทนราษฎรวินิจฉัยการกระทําของ
พระมหากษตั รยิ 

5) รฐั ธรรมนูญฉบับนี้ ไดกําหนดอายุของผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งและผูมีสิทธิ
สมัครรับเลือกตั้งไว 20 ปบริบูรณเทากัน สวนวิธีการเลือกต้ังเปนการเลือกต้ังทางออมคือให
ราษฎรเลือกผแู ทนตาํ บลแลว ผแู ทนตาํ บลก็เลอื กสมาชิกสภาผแู ทนราษฎรอกี ทอดหนงึ่

6) ศาลมีอํานาจพิจารณาพพิ ากษาคดตี ามกฎหมายแตไ มมีหลักประกนั ความ
อิสระของผูพพิ ากษา

2. หลักการและเจตนารมณของ รัฐธรรมนูญฉบับท่ี 18 คือ รัฐธรรมนูญแหงราช
อาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2550 สรปุ สาระสาํ คัญไดด งั น้ี

1) คมุ ครอง สงเสรมิ ขยายสิทธแิ ละเสรภี าพของประชาชนอยางเต็มท่ี
2) ลดการผกู ขาดอาํ นาจรฐั และเพ่มิ อาํ นาจประชาชน
3) การเมอื งมคี วามโปรง ใส มีคุณธรรม และจริยธรรม
4) ทําใหองคกรตรวจสอบมีความอสิ ระ เขม แข็ง และทํางาน
อยางมีประสิทธภิ าพ

1.3 เจตนารมณข องรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั ไทย พทุ ธศกั ราช 2550

รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 รางข้ึนบนสถานการณที่ตองการ
ใหมีการปรับปรุงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ท่ีกอใหเกิดปญหากับ
ระบบการเมืองหลายประการ โดยยังคงยึดถือโครงการสรางใหญของรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช
2540 ที่วางไวเปนหลักซึ่งหากจะประมวลสภาพปญหาที่เกิดจากการใชบังคับรัฐธรรมนูญมี
องคป ระกอบสําคญั สองสวนกลา วคือ สวนแรกเปนปญหาท่เี กิดจากขอบกพรองที่ตัวรัฐธรรมนูญ
เองกับสวนที่สองคือปญหาทางขอเท็จจริงทางการเมืองท่ีเกิดปรากฎการณพรรคการเมืองท่ี
สามารถคุมเสียงขางมากในรัฐสภาไดอยางเด็ดขาดจนทําใหดุลแหงอํานาจระหวางฝายนิติ
บัญญตั ิและบรหิ ารในการควบคุมตรวจสอบการใชอํานาจของฝายบริหารสูญเสียไป มีลักษณะ
ของเผด็จการรัฐสภา รวมถึงการแทรกแซงการใชอํานาจของศาลและองคกรอิสระตาม
รัฐธรรมนูญท้ังหลาย ไมวาจะเปนศาลรัฐธรรมนูญ และคณะกรรมการการเลือกตั้ง เปนตน
ประกอบกับบุคลิกภาพของผูนําและการใชอํานาจที่ไมชอบธรรมทําใหเจตนารมณของ
รัฐธรรมนญู ฉบบั ประชาชนที่ดีในหลายเรื่องถูกบิดเบือนไปและฝายรัฐบาลก็แสวงหาประโยชน

53

และโอกาสขอ ไดเ ปรียบตาง ๆจากรัฐธรรมนูญมาเปนเครื่องมือ ดังน้ันการจะทําความเขาใจถึง
เจตนารมณของรัฐธรรมนูญฉบับปจจุบันไดอยางถูกตอง จึงมีความจําเปนท่ีตองยอนกลับไป
พจิ ารณาสภาพปญหาท่ีเกิดขึ้นในอดีตจากการใชบังคับรัฐธรรมนูญ 2540 เสียกอน เพ่ือทําให
ทราบความเปนมาและเปน ไปของการแกไขปรับปรุงในรัฐธรรมนญู 2550

1.3.1 ปญหาจากรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 อันนํามาซึ่ง
การรางรัฐธรรมนูญฉบับป พ.ศ. 2550 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
เปนรัฐธรรมนูญฉบับท่ีดีท่ีสุดฉบับหนึ่งของประเทศไทย แตการเปนรัฐธรรมนูญฉบับท่ีดีท่ีสุด
ไมไดหมายความวารฐั ธรรมนญู ฉบับนี้จะไมมขี อ บกพรองเลยดงั จะเห็นไดจากการวิพากษวิจารณ
รัฐธรรมนญู ทีเ่ กิดขน้ึ ตลอดมาตง้ั แตป พ.ศ. 2540-2549 ตลอดถึงการแกไขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญ
ในป พ.ศ. 2548 ซึง่ เปน เคร่ืองบงชี้ใหเห็นถึงความบกพรองของรัฐธรรมนูญโดยปญหาที่เกิดข้ึน
จากรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2540

1.3.2 เจตนารมณทั่วไปที่เปนกรอบในการรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 โดยสภารางรัฐธรรมนูญ การรางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 โดยสภารางรัฐธรรมนูญที่จัดต้ังขึ้นโดยรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
(ฉบับชัว่ คราว) พ.ศ. 2549

1.3.3 เจตนารมณเฉพาะในดานตางๆ ของรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 การจัดทํา
รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2550 มีจดุ มงุ หมายทีจ่ ะนําพาประเทศไปสูการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยท่ีสมบูรณ จัดใหมีการเลือกตั้งแกปญหาและขอบกพรองของ
รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ท่ีกอใหเกิดการผูกขาดอํานาจรัฐและการใชอํานาจอยางไมเปนธรรม
การเมอื งทข่ี าดความโปรงใส ขาดคุณธรรมและจริยธรรมระบบการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ
ทลี่ มเหลว การใชส ทิ ธิและเสรีภาพของประชาชน ไมไ ดร บั การคุมครองและสง เสรมิ อยา งเต็มที่

54

เร่อื งท่ี 2 โครงสรา งและสาระสําคญั ของรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย

โครงสรา งและสาระสําคญั ของรัฐธรรมนูญทั้ง 18 ฉบับ มีวิวัฒนาการมาเปน ลําดบั จาก
การศึกษาพบวา มโี ครงสรางและ สาระสาํ คัญทบ่ี ัญญัตไิ ว ดงั น้ี

2.1 ประมุขแหง รฐั
สวนนี้จะระบุถึงองคพระมหากษัตริยและพระราชอํานาจ ของพระองคการแตงตั้ง

ผสู ําเร็จราชการ และการสบื ราชสนั ตตวิ งศ
2.2 ระบอบการปกครอง

สวนนี้จะระบุรูปแบบของรัฐและลักษณะการปกครองไวกลาวคือประเทศไทยเปนรัฐ
เด่ยี ว และมกี ารปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษตั ริยท รงเปน ประมขุ
2.3 สิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค และหนาที่

สวนนี้รัฐธรรมนูญระบุไวโดยในสวนของสิทธิ เชนสิทธิในการศึกษาสิทธิในการ
รักษาพยาบาล เปนตนในสวนของความเสมอภาค เชนการไมเสือกปฏิบัติอันเนื่องมาจากเช้ือ
ชาติ สีผิว รายได และสภาพรางกาย เปนตนในสวนของหนาท่ี เชนประชาชนมีหนาท่ีตองไป
เลอื กตัง้ มีหนาท่ตี องเสยี ภาษีและมีหนา ทีต่ อ งรกั ษาชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย เปนตน
2.4 แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ

สวนนี้จะระบุแนวนโยบายที่จะทําใหประเทศ มีความมั่นคงมีความเจริญมีสันติสุข และ
ประชาชนมีมาตรฐานการ ครองชีพ และมีคุณภาพชีวิตทีดี เชน การรักษาธรรมชาติการสราง
ความเขม แขง็ ของชมุ ชน กระจายรายไดทเี่ ปนธรรม เปนตน
2.5 อาํ นาจอธปิ ไตย

สวนน้ีจะกาํ หนดสถาบนั ที่ใชอํานาจอธิปไตย ไดแก ฝายบริหารฝายนิติบัญญัติ และฝายตุลา
การ รวมถึงความสัมพนั ธร ะหวา งสถาบัน ท้งั สามสถาบนั
2.6 การตรวจสอบการใชอ าํ นาจรัฐ

สว นนีจ้ ะระบกุ ลไกท่ีใชสําหรับตรวจสอบการทํางานของรัฐเพื่อใหเกิดความโปรงใสและ
ความบริสุทธิ์ยุติธรรม เชนศาล รัฐธรรมนูญ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต
แหง ชาติคณะกรรมการการเลอื กตัง้ เปน ตน

55

เร่ืองที่ 3 การปฏิรูปการเมืองและจุดเดนของรัฐธรรมนูญที่เก่ียวกับสิทธิ เสรีภาพหนาท่ี
ของประชาชน

สิทธแิ ละเสรีภาพ เปน รากฐานสาํ คัญในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย การท่ีจะ
รูวาการปกครองของประเทศใดมีความเปนประชาธิปไตยไดมากนอยเพียงใด ตองดูที่สิทธิ
เสรีภาพของประชาชนในประเทศน้ันๆ เปนสําคัญ ถาประชาชนมีสิทธิเสรีภาพมาก ความเปน
ประชาธปิ ไตยของประเทศน้ันก็มีมากหากสิทธิเสรีภาพของประชาชนถูกจํากัด หรือถูกรีดรอน
โดยผูมีอาํ นาจในการปกครอง ประชาธปิ ไตยกจ็ ะมีไมไดดวยเหตุนก้ี ฎหมาย รฐั ธรรมนูญของไทย
ทกุ ฉบบั จงึ ไดบญั ญตั ิ คมุ ครองสทิ ธิ เสรีภาพของประชาชนไวและมีการบัญญัติเพ่ิมและซัดเจน
ข้ึนเรื่อยๆ จนถึงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซึ่งเปนรัฐธรรมนูญท่ี
ยงั คงมีผลบังคับใชในปจจุบัน ไดบัญญัติไวเร่ืองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนไวอยางซัดเจน
และเปน หมวดหมู ปรากฏอยูในหมวดที่ 3 ดังน้ี

สว นที่ 1 บททั่วไป
สวนที่ 2 ความเสมอภาค
สวนที่ 3 สทิ ธแิ ละเสรภี าพสวนบคุ คล
สว นที่ 4 สทิ ธิในกระบวนการยุตธิ รรม
สวนที่ 5 สทิ ธใิ นทรัพยสิน
สว นที่ 6 สิทธิและเสรภี าพในการประกอบอาชพี
สวนที่ 7 เสรภี าพในการแสดงความคดิ เหน็ ของบุคคลและสอ่ื มวลชน
สวนที่ 8 สิทธิและเสรภี าพในการศกึ ษา

สว นที่ 9 สทิ ธิในการไดรบั บริการสาธารณสขุ และสวัสดิการจากรฐั
สว นที่ 10 สิทธใิ นขอ มลู ขา วสารและการรองเรียน
สวนท่ี 11 เสรภี าพในการชุมนมุ และสมาคม
สว นท่ี 12 สิทธิชุมชน
สวนท่ี 13 สทิ ธพิ ิทกั ษร ัฐธรรมนูญ
ผูเรียนสามารถศึกษารายละเอียดของสิทธิและเสรีภาพไดในเอกสารรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2550 หมวด 3

56

นอกจากจะบัญญัติสิทธิและเสรีภาพของประชาชนไวแลวรัฐธรรมนูญก็ยังไดบัญญัติ
หนาที่ของประชาชนไวเชนกัน ดังตัวอยางหนาที่ของประชาชนชาวไทย ในหมวด 4 ของ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซ่ึงบัญญัตไิ ว ดงน้ี

1. บุคคลมีหนาที่พิทักษรักษาไวซ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการปกครอง
ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ ตามรฐั ธรรมนูญนี้ (มาตรา 70)

2. บุคคลมีหนาที่ปองกันประเทศ รักษาผลประโยชนของชาติ และปฏิบัติตาม
กฎหมาย (มาตรา 71)

3. บุคคลมีหนาที่ไปใชสิทธิเลือกต้ัง บุคคลซ่ึงไปใชสิทธิหรือไมไปใชสิทธิโดยไมแจง
เหตุอนั สมควรที่ทําใหไมอาจไปใชสิทธิได ยอมไดรับสิทธิหรือเสียสิทธิ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
การแจงเหตทุ ท่ี ําใหไมอาจไปเลอื กต้ังและการอาํ นวย ความสะดวก ในการไปเลือกต้ัง ใหเปนไป
ตามทก่ี ฎหมายบัญญตั ิ (มาตรา 72)

4. บุคคลมีหนาท่ีรับราชการทหาร ชวยเหลือในการปองกันและบรรเทาภัยพิบัติ
สาธารณะ เสียภาษีอากร ชวยเหลือราชการ รับการศึกษาอบรม พิทักษ ปกปอง และ
สืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติและภูมิปญญาทองถิ่น และอนุรักษ ทรัพยากร ธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม ท้ังน้ตี ามที่กฎหมายบญั ญัติ (มาตรา 73)

5. บุคคลผูเปนขาราชการ พนักงาน ลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ
รัฐวิสาหกิจ หรือเจาหนาที่อ่ืนของรัฐ มีหนาท่ีดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมาย เพ่ือรักษา
ประโยชนสวนรวมอํานวยความสะดวกและใหบริการแกประชาชนตามหลักธรรมาภิบาลของ
การบริหารกิจการบานเมืองท่ีดีในการปฏิบัติหนาท่ีและในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวของกับ
ประชาชน บคุ คลตามวรรคหน่งึ ตอ งวางตนเปนกลางทางการเมอื ง (มาตรา 74)

เร่ืองที่ 4 หลกั การสําคญั ของประชาธปิ ไตย และคณุ ธรรม จริยธรรม คา นยิ ม ในการอยู
รวมกนั อยางสนั ติ สามัคคี ปรองดอง

1. ความหมายและความสําคญั ของประชาธปิ ไตย
ประชาธิปไตยเปนไดทัง้ รปู แบบการปกครอง

และวิถีการดําเนนิ ชวี ติ ซง่ึ ยึดหลกั ของความเสมอภาค เสรีภาพและศักดิ์ศรีแหงความเปนมนุษย
การปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยถอื วาทุกคนมีสิทธิเสรีภาพเทาเทียมกันและอํานาจอธิปไตย
ตองมาจากปวงชน

57

ระบอบประชาธปิ ไตย หมายถึง ระบอบการปกครองทีอํานาจอธิปไตยเปนของปวงชน
ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ โดยอาศัยหลักการของการแบงแยกอํานาจ และหลักการที่วาดวย
ความถกู ตองแหง กฎหมาย ผูป กครองประเทศที่มาจากการเลือกต้ังของประชาชน เปนเพียงตัว
แทนท่ีไดรบั มอบอํานาจใหใชอ าํ นาจอธิปไตยแทนประชาชน

2. หลกั การสําคญั ของระบอบประชาธิปไตยที่สําคญั
2.1 หลกั อํานาจอธิปไตย เปน ของปวงชนประชาชนแสดงออกซงึ่ การเปน เจา ของโดยใช

อํานาจที่มีตามกระบวนการเลือกต้ังอยางอิสระและท่ัวถึงในการใหไดมาซ่ึงตัวผูปกครองและ
ผูแทนของตนรวมทั้งประชาชนมีอํานาจในการคัดคานและถอดถอนผูปกครองและผูแทนที่
ประชาชนเห็นวามิไดบริหารประเทศ ในทางที่เปนประโยชนตอสังคมสวนรวมเชนมีพฤติกรรม
ร่ํารวยผดิ ปกติ

อํานาจอธปิ ไตย หมายถึง อาํ นาจสงู สดุ ในการปกครองรัฐหรือประเทศ ดังน้ัน ส่ิงอื่นใด
จะมี อํานาจยิ่งกวา หรอื ขดั ตอ อาํ นาจอธิปไตยไมได อํานาจอธิปไตยยอมมีความแตกตางกันไป
ในแตล ะ ระบอบการปกครอง เชน ในระบอบประชาธิปไตย อํานาจอธิปไตยเปนของประชาชน
กลา วคือ ประชาชนคอื ผูมีอาํ นาจสงู สุดในการปกครองประเทศในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช
อาํ นาจอธิปไตย

เปนของพระมหากษตั ริย คือกษตั ริยเปนผมู ีอาํ นาจสูงสดุ ในการปกครองประเทศ
เปน ตน อน่งึ อาํ นาจอธิปไตยน้ีนับเปนองคประกอบสําคัญท่ีสุดของความเปนรัฐ เพราะการที่จะ
เปนรัฐไดนั้น นอกจากจะตองประกอบดวยอาณาเขต ประชากรและรัฐบาลแลวยอมตองมี
อํานาจอธิปไตยดวย กลาวคือ ประเทศน้ันตองเปนประเทศที่สามารถมีอํานาจสูงสุด (อํานาจ
อธปิ ไตย) ในการปกครองตนเองจึงจะ สามารถเรียกวา “รฐั ” ได

58

ในระบอบประชาธิปไตยอาํ นาจอธปิ ไตยเปนอํานาจสงู สดุ ในการปกครองประเทศ
แบงออกเปน 3 สวน ดังนี้

1) อาํ นาจนติ ิบัญญัติ เปนอาํ นาจในการออกกฎหมายและควบคุม
การทํางาน ของรัฐบาลเพื่อประโยชนของประชาชนและประเทศชาติ ประชาชนชาวไทยใช
อํานาจนีโ้ ดยการ เลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไปทําหนาทแ่ี ทนในรัฐสภา

2) อาํ นาจบริหาร เปนอาํ นาจการบริหารราชการแผนดินและการปกครอง
ซึง่ มี คณะรัฐมนตรีหรอื รฐั บาลเปนผูใชอํานาจ และรับผิดชอบในการบริหารราชการแผนดินให
เปนไปตาม นโยบายทแี่ ถลงตอรัฐสภา

3) อํานาจตุลาการ เปน อํานาจในการวินจิ ฉัยตัดสินคดคี วาม ตามกฎหมาย
โดยมศี าลเปน ผูใชอ ํานาจ

2.2 หลักสิทธิเสรีภาพ ประชาชนทุกคนมีความสามารถในการกระทําหรืองดเวนการ
กระทําอยางใดอยางหน่ึงตามท่ีบุคคลตองการ ตราบเทาท่ีการกระทําของเขานั้น ไมไปละเมิด
ลดิ รอนสทิ ธิ เสรีภาพของบคุ คลอนื่ หรอื ละเมดิ ตอ ความสงบเรียบรอยของสงั คมและความม่ันคง
ของประเทศชาติ

2.3 หลักความเสมอภาค การเปดโอกาสใหประชาชนทุกคนสามารถเขาถึงทรัพยากร
และ คุณคาตางๆ ของสังคมท่ีมือยูจํากัดอยางเทาเทียมกัน โดยไม'ถูกกีดกันดวยสาเหตุแหง
ความแตกตางทางชัน้ วรรณะทางสงั คม ชาติพันธุ วัฒนธรรม ความเปนอยู ฐานะทางเศรษฐกิจ
หรือดวยสาเหตอุ ่นื

59

2.4 หลกั ปตริ ัฐและหลกั ปตธิ รรม เปน หลกั การของรัฐทมี่ ีการปกครองโดยกฎหมายหรือ
หลักนติ ิธรรมการใชห ลกั กฎหมายเปน กฎเกณฑก ารอยูร วมกนั เพ่ือความสงบสขุ ของสงั คม
การใหความคมุ ครองสทิ ธชิ น้ั พนื้ ฐานของประชาชนทั้งในเรื่องสิทธิเสรภี าพในทรพั ยสนิ
การแสดงออก การดํารงชีพ ฯลฯ อยา งเสมอหนากนั ผปู กครองไมส ามารถใชอ าํ นาจใดๆ ลิดรอน
เพิกถอนสิทธิเสรีภาพของประชาชนไดและไมสามารถใชอภิสิทธิอยูเหนือกฎหมาย หรือ
เหนอื กวาประชาชนคนอ่นื ๆ ได

2.5 หลกั การเสียงขา งมาก ควบคไู ปกบั การเคารพในสิทธิของเสยี งชางนอย
การตัดสินใจใดๆ ที่สงผลกระทบตอประชาชนหมูมากไมวาจะเปนการเสือกตั้งผูแทนของ
ประชาชนเชา สูระบบการเมือง การตัดสินใจของฝายนิติบัญญัติ ฝายบริหาร หรือฝายตุลาการ
ยอมตองถอื เอาเสยี งชา งมากทมี่ ตี อเรื่อง นั้นๆ เปนเกณฑในการตัดสินทางเลือก โดยถือวาเสียง
ชา งมากเปนตัวแทนที่สะทอ นความตอ งการ และขอเรียกรองของประชาชนหมูมาก หลักการน้ี
ตอ งควบคูไปกับการเคารพและคุมครองสิทธิเสียงขางนอยดวย ทั้งน้ี ก็เพื่อเปนหลักประกันวา
ฝายเสยี งชางมากจะไมใ ชว ิธกี ารพวกมากลากไปตาม ผลประโยชน ความเห็นหรือกระแสความ
นยิ มของพวกตนอยางสุดโตง แตตอ งดําเนินการเพื่อ ประโยชนความเห็นของประชาชนท้ังหมด
เพื่อสรางสังคมที่ประชาชนเสียงชางนอย รวมท้ังชนกลุม นอยผูดอยโอกาสตางๆ สามารถอยู
รวมกันไดอยา งสันตสิ ุขโดยไมมีการเอาเปรียบกันและสรา งความ ขดั แยง ในสังคม

2.6 หลักเหตุผล เปน หลกั การใชเ หตุผลท่ีถกู ตองในการตดั สินหรอื ยตุ ปิ ญ หาในสังคม
ในการอยูรวมกันอยางสันติสามัคคีปรองดอง ผูคนตองรูจักยอมรับพิงความเห็นตาง
และรับฟงเหตุผลของผูอื่นไมดื้อดึงในความคิดเห็นของตนเอง จนคนอ่ืนมองเราเปนคนมี
มจิ ฉาทิฐิ
2.7 หลักประนีประนอม เปนการลดความขัดแยงโดยการผอนหนักผอนเบาใหกัน
รว มมอื กัน เพ่อื เหน็ แกประโยชนข องสว นรวมเปน สาํ คัญ เปนทางสายกลางซ่ึงทงั้ สองฝายจะตอง
ไดและเสียในบางอยางไมไดครบตามท่ีตนปรารถนา จัดเปนวิธีการที่ทําใหทุกฝายสามารถอยู
รวมกนั ตอ ไปไดอยา งสนั ติวิธกี ารในการประนีประนอมอาจใชเทคนิคการเจรจาตอรอง การไกล
เกล่ียโดยผูบังคับบัญชาหรอื บคุ คลทส่ี าม เปน ตนั
2.8 หลักการยอมรับความเห็นตาง หลักการน้ีเพ่ือเปนการอยูรวมกันดวยความสันติ
สามัคคีปรองดอง ไมวาเสียงชางมากหรอื เสยี งขา งนอย ตองทาํ ใจยอมรับความเหน็ ตาง
อนั เปนการหลอมรวมหลักความเสมอภาคหลกั เสรีภาพและหลักประนีประนอม โดยการเคารพ
และคุม ครองสทิ ธิของผอู น่ื ดวย ท้ังน้ีก็เพื่อเปนหลักประกันวา ไมวาเปนฝายเสียงขางมากหรือ
ฝายเสียงขางนอยเปนจะสามารถอยู รวมกันดวยความสันติสามัคคี ปรองดองทุกฝายตอง

60

ยอมรับความเห็นตาง รวมท้ังฝายเสียงขางมากเองก็จะไมใชวิธีการพวกมาก ลากไปตาม
ผลประโยชนห รือความเห็น หรือกระแสความนิยมของพวกตน อยางสุดโตงแตตองดําเนินการ
เพ่ือประโยชนข องประชาชนท้ังหมดหรือทุกฝายเพื่อสรางสังคมที่ประชาชนเสียงขางนอย หรือ
ประชาชนทมี่ ีความเห็นตางจากฝายตน สามารถอยรู วมกนั ไดอยา งสันติ สามัคคีปรองดอง
โดยไมมีการเอาเปรยี บกันและสรางความขดั แยงในสงั คมมากเกินไป

กลาวโดยสรุป วิถีทางประชาธิปไตยอันมี หลักการที่สําคัญ เชน หลักการอํานาจ
อธิปไตย หลักสิทธิเสรีภาพหลักความเสมอภาค หลักนิติรัฐ และหลักนิติธรรม หลักการเสียง
ขางมากหลักเหตุผล หลักประนีประนอม หลักการยอมรับความเห็นตาง ผูเรียนจะตองศึกษา
เพ่อื ใหม ีความรู ความเขาใจ และนํามาประยกุ ตไขในชวี ิตประจําวันเพอื่ การอยรู วมกนั อยา งสันติ

3. คณุ ธรรม จริยธรรม และคา นยิ มในการเสริมสรางสันติ สามัคคีปรองดองในสงั คมไทย
ความหมายการเสริมสรางความปรองดองในสังคมไทยการเสริมสรางความปรองดองใน

ลงั คมไทย หมายถงึ “การเพมิ่ พนู ใหดีข้นึ หรือมน่ั คงยงิ่ ขน้ึ ดวย ความพรอ มเพรียงกนั หรอื
การเพมิ่ พนู ใหด ขี น้ึ ดว ยการออมซอม ประนีประนอมยอมกันไมแกงแยงกัน ตกลงดวยความไกล
เกล่ีย และตกลงกนั ดว ยความมไี มตรีจติ ของประชาชนคนไทย”

คนไทยสวนใหญลวนมีความรักใคร และสามัคคีกันอยูแลวในทุกถิ่น ดวยความมีจารีต
วฒั นธรรมประเพณี กับความมีศลี ธรรมในสายเลือดและจิตใจสืบทอดตอกันมา การขัดแยงทาง
ความคิดในกลุมคน ยอ มเกิดมไี ดบางเปน เรอื่ งธรรมดา แตถาหากการขัดแยงทางความคิด ไดรับ
การไกลเกลี่ย ไดรับความรู ไดรับขาวสาร หรือไดรับการอธิบายจนเกิดความรูความเขาใจท่ี
ถูกตอง การขัดแยงทางความคิดเหลาน้ันก็จะหมดไปได ไมกอใหเกิดความแตกแยก
ความรนุ แรงใดใด ท้ังทางวาจา และทางกาย เพราะคนไทยเปนชนชาติที่ รักความสงบ รักพวก
พอง และรักแผน ดนิ ถิ่นเกดิ

ดงั นั้นประชาชนควรมีความรูความเขาใจ ในระบอบการปกครอง รวมถึงระบบระเบียบ
วธิ กี ารทาํ งานหรือกลวธิ ขี องพรรคการเมือง และควรไดรับความรู มีความเขาใจ เก่ียวกับกลวิธี
ในการทุจรติ คอรรปั ชน่ั ประพฤตมิ ิชอบ การรบั เงนิ สมนาคุณ หรือกฎหมายท่ีเกี่ยวของกับพรรค
การเมืองและนักการเมืองทุกรปู แบบ รวมถึงความรูเก่ียวกับกฎหมายท่ีสําคัญในชีวิตประจําวัน
และอ่นื ๆ เพือ่ ใหประชาชนเกดิ การเคารพในกฎหมาย ประพฤติปฏิบัติตามกฎเกณฑกติกาหรือ
ตามกฎหมาย ประชาชนทุกหมูเหลา ทุกสาขาอาชีพควรไดรับการพัฒนาทางดานจิตใจใหมี
คุณธรรมทางศาสนา ใหเกิดมี ความรู มีความเขาใจในหลักการหรือหลักคําสอนทางศาสนา

61

อันจะเปนบรรทัดฐานหรือเปนแนวทางใน การประพฤติปฏิบัติตามหนาที่ แหงความเปน
ประชาชนชาวไทย เพื่อใหเ กดิ ความมรี ะเบียบ มวี นิ ยั ทั้งความคิดจิตใจ ในทุกดาน อันจักทําให
การขดั แยงทางความคิดในทุกชมุ ชน ทุกสงั คม ทกุ หนว ยงาน ทุกกลุมบุคคล ลดนอยลงหรือไมมี
การขัดแยงทางความคิดท่ีรุนแรงเกิดข้ึน น่ันยอมแสดงใหเห็นวาคนไทยไดเสริมสรางความ
สามัคคี คือ ไดเพ่ิมพูนใหดีขึ้นหรือม่ันคงย่ิงข้ึน ดวยความพรอมเพียงกัน ออมซอม
ประนีประนอม ยอมกัน ไมแกงแยงกันตามจารีตวัฒนธรรมประเพณี ตามหลักกฎหมาย
ตามหลักศีลธรรม ในศาสนาซ่ึง “การเสริมสรางความสามัคคีของคนไทย” จะสําเร็จได ก็ดวย
คนไทยรว มมอื รว มใจกัน ประพฤติปฏิบตั เิ พอ่ื ประเทศไทย และเพ่อื คนไทย

4. หลักการเสรมิ สรางความปรองดองในสังคมไทย
หลักการสรา งความปรองดอง

1. การสานเสวนาเปนเงอ่ื นไขสาํ คัญสาํ หรับการนาํ ไปสงการสรางความ
ปรองดอง

2. เนนหรือจัดการกบั อารมณและความรสู ึกของคน
3. ความปรองดองเกดิ ขึ้นไดเม่ือความตอ งการของมนุษยไดรบั การตอบสนอง
4. ศาสนาเปนเครื่องมือทีส่ าํ คัญมากในการแกไขความขัดแยง
5. การสรา งความปรองดองจาํ เปน มากทจี่ ะตอ งใชแนวทางทีห่ ลากหลาย
6. การสรา งความปรองดองเนนที่หัวใจ
7. คาํ นงึ ถึงวัฒนธรรมท่หี ลากหลายในกระบวนการสรา งความปรองดอง
8. การใหอภยั มคี วามแตกตา งกนั ออกไปในแตล ะสังคม
9. ความยตุ ิธรรมแบบใดท่เี หมาะสมสําหรับการสรา งความปรองดอง
การเสริมสรางความปรองดอง จึงเปนกระบวนการท่ีชวยปองกันหรือลดปญหาความ
ขัดแยง สรางสันติ ใหคนในสังคมอยูรวมกันอยางสามัคคี บนพื้นฐานของหลักการทาง
ประชาธปิ ไตย และ คณุ ธรรมในการอยูรวมกันในสังคมอยางมีความสุขคุณธรรมพ้ืนฐานในการ
อยรู วมกันอยางสันติ สามัคคี ปรองดองตามหลักการทางประชาธิปไตย
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุต.โต) (2551 : 51, 57)ไดใหความหมายของคําวา
“คุณธรรม” ไวอ ยา งขัดเจนวา หมายถงึ ธรรมท่เี ปนคุณงามความดี สภาพที่เกื้อกูลกัน สวนคําวา
“จริยธรรม” หมายถึง หลักความประพฤติ หลักในการดําเนินชีวิต หรือความประพฤติอัน
ประเสริฐ หรือการดาํ เนนิ ชวี ติ อันประเสริฐ

62

คุณธรรม จริยธรรม เปนเรื่องของระบบคิดท่ียอมรับความเปนจริงของชีวิต การสราง
คุณธรรม จรยิ ธรรม ใหเกิดขนึ้ ได ตองอาศัยการปลูกฝงระบบคิดดังกลาวใหเขาไปอยูในทุกชวง
ชวี ติ ของมนุษย และตองไมเปนหนาที่ของหนวยงานใดหนวยงานหน่ึงอยางหากแตควรเปนทุก
ภาคสว นของสังคมตอ งเขา มามสี ว นรว มในการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมใหเกดิ มีข้นึ ใหได

จะเหน็ ไดวาเรือ่ งของคุณธรรม จรยิ ธรรม เปนการพัฒนาความเปนมนุษยท่ีสมบูรณ
ไมเ พยี งเฉพาะเพือ่ การอยรู วมกันอยางสันติสามัคคีปรองดองเทาน้ัน ยังเปนพื้นฐานของการอยู
รว มกันอยา ง สงบสุขไมแ ตกแยก การอยรู วมกนั ในฐานะสมาชิกในสังคมเดยี วกันจะนํามาซ่ึงการ
อยรู ว มกันอยางสนั ตสิ ุขได

คุณธรรมท่ีนําไปสูการอยูรวมกันอยางสันติ สามัคคี ปรองดอง ตามหลักการทาง
ประชาธปิ ไตย มีดังน้ี

1. คารวธรรม คือ การเคารพซ่ึงกันและกนั
2. สามัคคธี รรม คือ การรวมมือชวยเหลือซึ่งกนั และกนั
3. ปญญาธรรม คือ การใชสตปิ ญญาในการดาํ เนินชีวติ
1. คารวธรรม คอื การเคารพซ่งึ กันและกนั มีพฤตกิ รรมทแี่ สดงออก ดังนี้
1.1 เคารพในสถาบันพระมหากษัตริย ไดแก การแสดงความเคารพเทิดทูน
สถาบนั พระมหากษัตรยิ ในทกุ โอกาส การรว มกิจกรรมตา งๆท่ีจัดเพอ่ื แสดงความจงรักภักดีตอ
สถาบันพระมหากษัตริย ในโอกาสวนั สาํ คัญตา ง ๆ การไปรับเสดจ็ เมือ่ พระมหากษัตริย หรือพระ
บรมวงศานุวงศเสด็จไปในถ่ินที่อยูหรือบริเวณใกลเคียงการปฏิบัติตอสัญลักษณท่ีแสดงถึง
สถาบนั พระมหากษตั รยิ  เชน ธงชาติ พระบรมฉายาลักษณ เพลงสรรเสรญิ พระบารมี ฯลฯ ดวย
ความเคารพ เมื่อไดยินหรือเห็นบุคคลใดแสดงกิริยาวาจาหรือมีการกระทําอันไมสมควรตอ
สถาบันพระมหากษัตรยิ  ตอ งกลา วตักเตือนและหา มไมใหป ฏิบัตเิ ชนน้นั อีก
1.2 เคารพบุคคลที่เกี่ยวของ โดยเฉพาะบิดามารดาซ่ึงเปนผูใหกําเนิด เคารพ
ญาติ ผใู หญ เชน ปู ยา ตา ยาย และผูสูงอายุเคารพครูอาจารย และเพ่ือน ๆ ท้ังทางกายและ
ทางวาจา

1.2.1 ทางกายไดแ กการทักทายการใหเ กยี รติผอู ่นื การแสดงความเคารพ
แกบุคคลซึง่ อาวุโสกวา การใหการตอ นรบั แกบ คุ คล การแสดงความเออ้ื เพ่ือซงึ่ กันและกนั
เปน ตน

63

1.2.2 ทางวาจา ไดแก การพูดใหเหมาะสมกับกาลเทศะ การใชคําพูด
เหมาะสมตามฐานะของบคุ คล การพูดจาสภุ าพ ไมกาวราว สอเสียด การไมพูดในส่ิงที่จะทําให
ผูอ่ืน เกิดความเดือดรอน ไมนําความลับของบุคคลอ่ืนไปเปดเผย ไมพูดนินทาหรือโกหก
หลอกลวง เปนตน

1.3 เคารพสทิ ธิของผอู ่ืน ไดแก การไมลว งละเมดิ สทิ ธขิ องผูอื่น ทั้งทางกายหรือ
วาจา การรูจักเคารพในสิทธิของคนที่มากอนหลัง การเคารพในความเปนเจาของ ส่ิงของ
เครือ่ งใชการรจู กั ขออนญุ าต เมอ่ื ลวงล้ําเขา ไปในทอ่ี ยอู าศัยของบุคคลอนื่ การไมท าํ รายผู,อื่นโดย
เจตนาการไมทําใหผอู น่ื เสอ่ื มเสยี ซ่ือเสยี ง เปนตน

1.4 เคารพในความคิดเห็นของผอู นื่ ไดแก การยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น
เมื่อมีผูพูดเสนอความคิดเห็น ควรฟงดวยความตั้งใจและใครครวญดวยวิจารญาณหากเห็นวา
เปนการ เสนอแนวความคิดท่ีดี มีประโยชนมากกวาความคิดเห็นของตนเองก็ควรยอมรับและ
ปฏบิ ัติตามไมควรยดึ ถือความคดิ เหน็ ของตนวา ถกู เสมอไป

1.5 เคารพในกฎระเบียบของสังคม ไดแก การยึดมั่นในกฎระเบียบของสังคม
เชน วฒั นธรรม ประเพณี กฎเกณฑของสงั คม และกฎหมายของประเทศ

1.6 มีเสรีภาพและใชเสรีภาพในขอบเขตของกฎหมายและขนบธรรมเนียม
ประเพณี

2. สามคั คธี รรม คือ การรว มมือชวยเหลือซ่ึงกนั และกัน มคี วามเอ้อื เฟอเผ่ือแผ ตอกัน
เพื่อใหเ กดิ ประโยชนตอสว นรวม มพี ฤตกิ รรมท่แี สดงออกดงั นี้

2.1 การรูจักประสานประโยชน คํานึงถึงประโยชนของชาตเิ ปน ที่ต้ัง ไดแ ก
ทาํ งานรวมกันอยา งสนั ติวิธีรูจกั ประนีประนอม เสยี สละความสุขสวนตน หรอื หมคู ณะ

2.2 รวมมือกันในการทํางาน หรือทํากิจกรรมอยางหนึ่งอยางใดรวมกัน จะมี
การวางแผนและทาํ งานรวมกนั ดําเนนิ งานตามข้ันตอนชวยเหลอื กนั อยางตั้งใจจรงิ จงั
ไมห ลีกเล่ยี งหรอื เอาเปรยี บผูอ ่ืน

2.3 รับผิดชอบตอหนา ที่ ท่ไี ดรับมอบหมายจากสว นรวมและหนา ที่ตอสังคม
2.4 ความเปน น้ําหนงึ่ ใจเดียวกันของคนในกลุม ในหนว ยงานและสงั คม
3. ปญญาธรรม คอื การใชส ติปญญาในการดาํ เนนิ ชีวิต มพี ฤตกิ รรมท่ีแสดงออก ดงั น้ี
3.1 การไมถือตนเปนใหญ ไดแก การรูจักรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืนการรูจัก
เปน ผูน ําและผตู ามทด่ี ี

64

3.2 เนนการใชปญญา ใชเหตุผลและความถูกตอง ในการตัดสินปญหาทั้งปวง
ไมใ ช เสยี งขางมาก ในการตัดสินปญหาเสมอไป เพราะเสียงขางมากบอกเฉพาะความตองการ
ความคดิ เหน็ ความพึงพอใจ แตไมอาจบอกความจริงความถกู ตองได

3.3 มีความกลาหาญทางจริยธรรม กลาท่จี ะยนื หยดั ในสง่ิ ที่ถูกตอง
3.4 แสวงหาความรู ขาวสารขอมูลอยางมีวิจารญาณ เพื่อเปนขอมูลในการ
ตัดสินใจ

การปฏบิ ตั ิตามคุณธรรมขางตน เม่ือไดป ระพฤติปฏบิ ตั ิ ความสามัคคยี อ มจะเกิดขน้ึ
เม่ือเกิดความสามัคคีขึ้นแลว การงานทุกอยางแมจะยากสักเพียงใด ก็กลายเปนงาย ชีวิตมีแต
ความราบร่นื แมจ ะเกดิ อุปสรรคกส็ ามารถขจัดใหหมดสิน้ ได ดังคํากลาวที่วา “สามัคคีคือพลัง”
เพยี งแตทกุ คนดาํ รงชีวติ บนพนื้ ฐานแหงคุณธรรม ใหทุกคนมีความรัก และชวยเหลือซึ่งกันและ
กนั มคี วามสามัคคีและเสียสละเพื่อสวนรวม การใชหลักธรรมในการสงเสริมความสามัคคีเปน
แนวทางในระยะยาว และเปนการปองกันความแตกสามัคคี ขณะที่การสรางความสามัคคีใน
ระยะสนั้ เปน การทาํ กจิ กรรมตางๆ รวมกนั โดยอาจเริ่มจากกิจกรรมบันเทิงท่ีสามารถดึงกลุมคน
ใหเขารว มไดง าย เชน การเขาคา ยตา งๆ การทาํ กจิ กรรมพัฒนาลังคมและชุมชนรวมกัน การทํา
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีหลากหลาย จากนั้นคอยขยายสูกิจกรรมที่มีความยากขึ้น และ
การสรา งวัฒนธรรมประเพณีในการทํากิจกรรม รวมกันเปนประจําจะชวยสรางวัฒนธรรมการ
ทํางานกลมุ และการสัมพันธก ับสังคมซ่ึงชวยใหเกิดความรักความสามคั คไี ดม ากยงิ่ ข้ึน

คานิยมพน้ื ฐานในการอยูร วมกนั อยา งสมานฉนั ท 12 ประการ
ขอ 1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย
ขอ 2. ซอ่ื สตั ย เสียสละ อดทน
ขอ 3. กตัญูตอ พอแม ผปู กครอง ครบู าอาจารย
ขอ 4. ใฝห าความรู หมั่นศกึ ษาเลาเรียนท้งั ทางตรงและทางออ ม
ขอ 5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม
ขอ 6. มศี ลี ธรรม รักษาความสตั ย หวงั ดตี อ ผอู ื่น เผอ่ื แผและแบงปน
ขอ 7. เขาใจเรียนรูการเปนประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขท่ี
ถกู ตอ ง
ขอ 8. มรี ะเบยี บวินยั เคารพกฎหมาย ผูนอ ยรจู ักเคารพผูใหญ

65

ขอ 9. มีสติรูตัว รูคิด รูทํา รูปฏิบัติ ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระ
เจา อยหู ัว

ขอ 10. รูจักดํารงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดํารัส
ของ พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูห ัว รจู กั อดออมไวใชเม่ือยามจําเปน มีไวพอกินพอใชถาเหลือก็
แจกจาย จาํ หนา ย และขยายกิจการเม่อื มีความพรอมโดยมภี มู คิ ุม กนั ที่ดี

ขอ 11. มีความเขม แขง็ ท้งั รา งกายและจติ ใจไมยอมแพตอ อํานาจฝา ยต่ําหรอื กิเลส
มีความละอายเกรงกลวั ตอบาปตามหลกั ของศาสนา

ขอ 12. คาํ นึงถงึ ผลประโยชนข องสวนรวมและตอชาติมากกวาผลประโยชนของตนเอง
คานิยมพื้นฐานดังกลาวขางตนมีความสําคัญอยางย่ิงท่ีคนไทยจะตองนํามาประพฤติปฏิบัติ
ในชวี ติ ประจําวันอยูเสมอ และเพ่ือใหเกิดความเขาใจยิ่งข้ึนจะขอกลาวในรายละเอียดเพ่ิมเติม
ดังน้ี

1. มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย เปนคุณลักษณะท่ีแสดงถึงรักความเปน
ชาติ ไทย เปน พลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคี เห็นคุณคา ภูมิใจ เชิดชูความเปนไทย ปฏิบัติ
ตนตามหลักศาสนาที่ตนนบั ถอื และแสดงความจงรักภักดีตอสถาบันพระมหากษัตริย

2. ซื่อสัตยเสียสละอดทน เปนคุณลักษณะท่ีแสดงถึงการยึดม่ันในความถูกตอง
ประพฤติตรงตามความเปนจริงตอตนเองและผูอ่ืน ละความเห็นแกตัว รูจักแบงปนชวยเหลือ
สังคมและบุคคลท่ี ควรใหรจู ักควบคุมตนเองเมื่อประสบกับความยากลําบากและส่ิงที่กอใหเกิด
ความเสยี หาย

3. กตัญูตอพอแม ผูปกครอง ครูบาอาจารย เปนคุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงการ
รูจักบุญคุณ ปฏิบัติตามคําสั่งสอน แสดงความรัก ความเคารพ ความเอาใจใส รักษาชื่อเสียง
และตอบแทน บญุ คุณของพอแม ผูปกครอง และครูบาอาจารย

4. ใฝหาความรู หม่ันศึกษาเลาเรียนท้ังทางตรงและทางออม เปนคุณลักษณะที่
แสดงออกถึงความต้ังใจ เพียรพยายามในการศึกษาเลาเรียน แสวงหาความรู ท้ังทางตรงและ
ทางออ ม

5. รักษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม เปน การปฏิบัติสืบทอดอนุรักษวัฒนธรรม
และประเพณีไทยอนั ดงี ามดวยความภาคภูมิใจเห็นคณุ คา ความสาํ คญั

6. มศี ลี ธรรม รกั ษาความสตั ย หวังดตี อ ผูอืน่ เผือ่ แผและแบง ปน เปนความประพฤติที่
ควรละเวน และความประพฤติท่ีควรปฏบิ ตั ติ าม

66

7. เขาใจเรยี นรูการเปน ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมุขท่ีถูกตอง
คือ มีความรู ความเขาใจ ประพฤติปฏิบัติตนตามสิทธิและหนาท่ีของตนเอง เคารพสิทธิและ
หนาท่ี ของผูอ่ืน ใชเสรีภาพดวยความรับผิดชอบภายใตขอบเขตของกฎหมาย ตามระบอบ
ประชาธปิ ไตย อันมี พระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ

8. มรี ะเบยี บวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผนู อยรจู กั การเคารพผูใหญ เปน คุณลักษณะท่ี
แสดงออกถงึ การปฏิบตั ิตามขอ ตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบังคบั และกฎหมาย มคี วามเคารพ
และ นอบนอ มตอ ผูใหญ

9. มีสติรูตัว รูคิด รูทํา รูปฏิบัติ ตามพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระ
เจา อยหู ัวเปน การ ประพฤติปฏิบตั ิตนอยา งมีสตริ ตู วั รคู ิด รทู ํา อยา งรอบคอบถกู ตอง เหมาะสม
และนอมนําพระราชดาํ รัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูห วั ฯ มาปฏบิ ตั ิในชวี ติ ประจําวัน

10. รูจกั ดํารงตนอยูโดยใชหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งตามพระราชดํารสั ของ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รูจักอดออมไวใชเม่ือยามจําเปน มีไวพอกินพอใช ถาเหลือก็
แจกจา ย จาํ หนาย และขยายกิจการเม่ือมีความพรอม สามารถดําเนนิ ชีวติ อยางพอประมาณ
มีเหตผุ ลมีภูมีคุมกันในตัวทดี่ ี มคี วามรู มคี ณุ ธรรม และปรับตวั เพือ่ อยูใ นสงั คมไดอยางมคี วามสขุ

11. มคี วามเขม แขง็ ทงั้ รา งกายและจติ ใจ ไมย อมแพตออาํ นาจฝา ยต่ําหรือกเิ ลส
มคี วามละอายเกรงกลัวตอบาปตามหลักของศาสนา เปนการปฏิบัติตนใหมีรางกายสมบูรณ
แข็งแรง ปราศจากโรคภัยและมีจิตใจท่ีเขมแข็ง ไมกระทําความช่ัวใดๆ ยึดม่ันในการทําความดี
ตามหลกั ของศาสนา

12. คาํ นึงถึงผลประโยชนของสว นรวมและตอชาติมากกวาผลประโยชนของตนเอง
ใหความรวมมือ ในกิจกรรมที่เปนประโยชนตอสวนรวม และประเทศชาติ เสียสละประโยชน
สว นตน เพื่อรักษาประโยชนของสวนรวม

5. สถานการณการเมอื งการปกครองในสงั คมไทย

ในวันท่ี 19 กันยายน พ.ศ. 2549 คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ไดยึดอํานาจการปกครองแผนดินและประกาศยกเลิก
รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540

จากนน้ั หัวหนา คณะปฏิรปู การปกครองฯ ไดนําความกราบบังคมทูลถึงเหตุท่ีทําการยึด
อํานาจและประกาศยกเลกิ รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ความจําเปนท่ีตองกําหนดกลไก
การปกครองท่ีเหมาะสมกับสถานการณเพ่ือใชไปพลางกอน และการดําเนินการใหมีการจัดทํา

67

รางรฐั ธรรมนูญข้ึนใหมดว ยการมสี ว นรว มอยา งกวา งขวางจากประชาชนทุกข้ันตอน
วนั ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 จงึ มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหใ ชร ฐั ธรรมนูญแหง

ราชอาณาจักรไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศักราช 2549 (เปนฉบับที่ 17) จนกวาไดประกาศใช
รฐั ธรรมนูญทีจ่ ะไดจ ดั ทํารา งและนาํ ขน้ึ ทลู เกลา ทลู กระหมอมถวาย

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2549 กําหนดใหมีการ
ดาํ เนินการจดั ทํารางรัฐธรรมนูญข้นึ ใหมเ พื่อใชเปน ฉบับถาวร ดว ยการใหประชาชนมีสวนรวมอยาง
กวางขวางทกุ ข้นั ตอน โดยมีกระบวนการในการจดั ทํารา งรฐั ธรรมนญู สรุปไดดงั น้ี

1. ใหม ีสมชั ชาแหงชาติ
1) ประกอบดวยสมาชิกซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งจากผูมีสัญชาติ

ไทยโดยกําเนิด อายไุ มต่ํากวา 18 ป จาํ นวนไมเ กิน 2,000 คน
2) ในการประชุมสมัชชาแหงชาติใหประธานและรองประธานสภานิติบัญญัติ

แหง ชาติทําหนาทปี่ ระธานและรองประธานสมชั ชา
3) มีหนาท่ีคัดเลือกสมาชิกดวยกันเอง เพ่ือจัดทําบัญชีรายชื่อผูสมควรไดรับ

โปรดเกลาฯ แตงตั้งเปนสมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญจํานวน 200 คน จากนั้นสมัชชาแหงชาติ
เปนอันส้ินสดุ ลง

2. ใหมสี ภารา งรฐั ธรรมนญู
1) ประกอบดว ยสมาชกิ 100 คน โดยคณะมนตรีความม่ันคงแหงชาติคัดเลือก

บุคคลจากบญั ชีรายชอื่ สมัชชาแหงชาติคัดเลือก 200 คน ใหเหลือ 100 คน แลวนําความกราบ
บังคมทลู เพอทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ แตงตง้ั เปนสมาชกิ สภารางรัฐธรรมนูญ

2) สภารา งรัฐธรรมนญู แตง ตั้งคณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญขึ้นคณะหน่ึง
ประกอบดว ยผทู รงคุณวุฒิ ซ่งึ เปน หรือมไิ ดเปน สมาชกิ สภารางรัฐธรรมนูญจาํ นวน 35 คน
โดยมาจากการคดั เลือกตามมติของสภารางรัฐธรรมนูญจํานวน 25 คน และตามคําแนะนําของ
ประธานคณะมนตรีความม่ันคงแหง ชาติ 10 คน เพอื่ จดั ทํารา งรัฐธรรมนูญ

3. การพจิ ารณาและเสนอความคิดเห็นเก่ยี วกับรางรัฐธรรมนูญ
เมอ่ื คณะกรรมาธกิ ารยกรางรัฐธรรมนญู จดั ทาํ รา งเสรจ็ แลวใหด ําเนินการดังน้ี

1) จัดทําคําชี้แจงวารางรัฐธรรมนูญนั้น มีความแตกตางจากรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ในเรื่องใด พรอมดวยเหตุผลในการแกไข ไปยังสมาชิก
สภารา งรฐั ธรรมนญู องคก ร และบคุ คลดงั ตอไปน้ี เพ่อื พิจารณาและเสนอความคดิ เหน็

68

(1) คณะมนตรีความมัน่ คงแหงชาติ
(2) สภานิติบัญญตั ิแหงชาติ
(3) คณะรฐั มนตรี
(4) ศาลฎีกา
(5) ศาลปกครองสูงสุด
(6) คณะกรรมการการเลือกตงั้
(7) คณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหงชาติ
(8) ผูวา การตรวจเงินแผน ดนิ
(9) ผูต รวจการแผน ดนิ ของรัฐสภา
(10) คณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแหง ชาติ
(11) สภาท่ีปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
(12) สถาบันอดุ มศึกษา
2) เผยแพรรางรัฐธรรมนูญและเอกสารคําชี้แจงใหประชาชนท่ัวไปทราบ
ตลอดจนสง เสรมิ และจดั ใหมกี ารรบั ฟง ความคิดเห็นจากประชาชนมาประกอบดวย

4. การแกไ ขเพมิ่ เตมิ รา งรัฐธรรมนูญ
เม่อื สมาชกิ สภารา งรัฐธรรมนญู ไดรบั รางรัฐธรรมนูญและเอกสารคําช้ีแจงแลว
หากประสงคจะแปรญัตติแกไขเพิ่มเติมใหกระทําได เมื่อมีสมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญลงช่ือ
รับรองไมนอ ยกวา 1 ใน 10 ของจาํ นวนสมาชิกสภารางรฐั ธรรมนญู ทม่ี ีอยู
เม่ือพนกําหนด 30 วัน นับแตวันสงเอกสารคําชี้แจง ใหคณะกรรมาธิการยกราง
รัฐธรรมนูญพิจารณาความเห็นที่ไดรับมาและแปรญัตติ พรอมท้ังจัดทํารายงานการแกไข
เพม่ิ เตมิ หรอื ไมแกไขเพิ่มเติม พรอมท้ังเหตุผลเผยแพรใหทราบเปนการทั่วไป แลวนําเสนอราง
รฐั ธรรมนญู ตอสภารา งรัฐธรรมนูญ

5. การพจิ ารณาเพื่อใหความเห็นชอบหรือไมเหน็ ชอบรางรฐั ธรรมนญู
สภารา งรัฐธรรมนูญพิจารณา เพื่อใหความเห็นชอบรางรัฐธรรมนูญทั้งฉบับและเฉพาะ
มาตราท่ีสมาชกิ ย่นื คาํ ขอแปรญัตติ หรือทค่ี ณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญ เสนอโดยสมาชิก
สภารางรัฐธรรมนูญจะแปรญัตติแกไขเพิ่มเติมมิได เวนแตกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญ
เห็นชอบหรือสมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญ จํานวนไมนอยกวา 3 ใน 5 เห็นชอบกับการแกไข
เพม่ิ เตมิ นัน้ และใหส ภารางรฐั ธรรมนูญจัดทาํ รางและพิจารณาใหแลว เสร็จภายใน 180 วัน

69

นับแตวันเปดประชุมสภารางรัฐธรรมนูญครั้งแรกเม่ือจัดทํารางรัฐธรรมนูญแลวเสร็จได
ดาํ เนนิ การดงั นี้

1) ใหเ ผยแพรใหประชาชนรับทราบและจัดใหมีการออกเสียงประชามติวาให
ความเห็นชอบหรอื ไมเห็นชอบรา งรฐั ธรรมนูญทั้งฉบับ

2) ใหคณะกรรมาธิการยกรางรัฐธรรมนูญ ดําเนินการยกรางพระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญเฉพาะที่จําเปน เพ่ือประโยชนในการจัดใหมีการเลือกต้ังใหแลวเสร็จภายใน 45
วัน นับแตวันทไ่ี ดร บั รา งจากคณะกรรมาธิการยกรา งรฐั ธรรมนูญ

1. การออกเสยี งประชามติ
การออกเสียงประชามติ โดยประชาชนผูมีสิทธิออกเสียงเลือกต้ัง ตองจัดทําไม

เร็วกวา 15 วนั และไมชากวา 30 วนั นับแตว นั เผยแพรรา งรัฐธรรมนูญดังกลาว และตองกระทํา
ภายในวันเดยี วกันท่ัวราชอาณาจักร

2. การประกาศใชรฐั ธรรมนญู
ถา ประชาชนโดยเสยี งขางมากของผูมาออกเสียง เหน็ ชอบไมนํารางรัฐธรรมนูญฉบับ
ใหมมาบังคับใช ใหประธานสภานิติบัญญัติแหงชาตินํารางรัฐธรรมนูญข้ึนทูลเกลาฯ ถวายเมื่อ
ทรงลงประปรมาภิไธย ใหประกาศใชในราชกจิ จานุเบกษาและใชบ ังคับได

เมื่อมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญ และสภารางรัฐธรรมนูญไดจัดทําราง
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญเฉพาะท่ีจําเปน เพ่ือประโยชนในการจัดใหมีการเลือกต้ัง
เสร็จแลว หรือเมื่อครบกําหนดระยะเวลา 45 วัน นับแตวันท่ีจัดทํารางรัฐธรรมนูญแลวเสร็จ
สดุ แตเ วลาใดจะมาถงึ กอนใหส ภารา งรฐั ธรรมนญู เปน อนั ส้ินสดุ ลง

6. การมีสว นรวมทางการเมอื งการปกครอง
การมีสวนรวมทางการเมืองการปกครองของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย

แบง ออกไดเปน 2 ประเภท คือ
1. การมีสวนรวมทางการเมืองแบบเปน ทางการ
การมีสว นรวมทางการเมืองแบบเปนทางการ เปนการปฏิบัติท่ีกฎหมายใหการ

รับรองใหก ระทําได หรือตอ งกระทาํ วธิ ีการท่ีสําคัญและยอมรับปฏิบัติในระบอบประชาธิปไตย
ไดแ ก

70

1.1 การเลือกตั้ง การเลือกต้ังเปนรูปแบบการมีสวนรวมทางการเมืองที่ชัดเจน
ทสี่ ดุ ทงั้ ในระดับชาติและระดบั ทองถ่นิ ซง่ึ สามารถวดั ระดับและประเมินคา ของพฤติกรรมการมี
สวนรวมทางการเมืองไดแนนอนชดั เจนมากกวา พฤตกิ รรมอนื่ ๆ

1.2 การแสดงความคิดเห็นทางการเมือง การแสดงความคิดเห็นท่ีเกี่ยวของกับ
ผลประโยชนส าธารณะของประชาชน เชน การพดู การอภปิ ราย การเขียน การพิมพ ในระบอบ
ประชาธปิ ไตย การมีสว นรว มโดยการใชส ิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นดวยวิธีการตาง ๆ
มคี วามสําคัญมากเน่ืองจากเปนชองทางการสื่อสารทางการเมืองระหวางประชาชนกับรัฐบาล
ซ่ึงรัฐบาลจะมโี อกาสไดรับรูปญหา ความคิดเห็น ขอเสนอแนะ วิจารณ ทวงติงการทํางานของ
รัฐบาล จากประชาชนผูเปนเจาของประเทศ อันจะเปนประโยชนตอการปรับปรุงการทํางาน
ของรัฐบาลใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขน้ึ

1.3 การจัดตัง้ พรรคการเมอื งการเปนสมาชกิ พรรคการเมอื งของประชาชน
เปนการมีสวนรวมทางการเมือง โดยการรวมกลุมของบุคคลท่ีมีความคิดเห็นทางการเมือง
ตรงกัน และมีความมุงหมายท่ีจะเขาไปทําหนาที่บริหารประเทศใหเปนไปตามอุดมการณของ
พรรค สําหรับประชาชนผูเปนสมาชิกพรรคการเมืองใดในชวงท่ีมีการเลือกต้ัง ยอมสามารถมี
สวนรว มทางการเมืองดว ยการรณรงคหาเสียงชวยพรรคที่ตนสังกัดอยูได

1.4 การรวมตัวเปนกลุมผลประโยชน การท่ีคนมารวมกันดวยมีจุดมุงหมาย
ตรงกัน และใชพลังของกลุมใหมีอิทธิพลตอกระบวนการกําหนดนโยบายของรัฐ เพื่อปกปอง
คุมครองผลประโยชนของกลุมตน เปนสิ่งสําคัญและจําเปนสําหรับการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตย เนือ่ งจากเปนชองทางใหปญ หาความตอ งการและผลประโยชนที่หลากหลายของ
ประชาชน ไดมโี อกาสมารวมเปนกลมุ เปน กอน และสามารถเรยี กรองตอ รฐั บาลไดอ ยา งชดั เจน

2. การมีสว นรว มทางการเมอื งแบบไมเปนทางการ
กฎหมายใหการรับรองใหมีสวนรวมทางการเมืองแบบไมเปนทางการได หรือตอง
กระทาํ วิธกี ารท่สี าํ คัญและยอมรบั ปฏบิ ัติใชก นั ทัว่ ไปในระบอบประชาธปิ ไตย ไดแ ก

2.1 การเดินขบวนหรอื ชมุ นุมประทว ง การเดนิ ขบวน หรอื ชุมนุมประทวง
อยา งสงบ และปราศจากอาวธุ เปน รูปแบบการมสี วนรวมทางการเมอื งอยางหน่งึ โดยประชาชน
รวมตัวกันเพื่อแสดงความไมเห็นดวยกับนโยบายหรือการดําเนินการของรัฐบาล หรือเปนการ
รวมตัวเพื่อเรียกรองตอรัฐบาลในการกําหนดนโยบาย หรือกระทําการอยางใดอยางหนึ่งตาม
ความตอ งการของประชาชนและผชู มุ นุม เชน การเดินขบวนประทวงตอตาน การวางทอกาซที่
อําเภอจะนะ จังหวดั สงขลา เปนตน

71

2.2 การกอ ความวุนวายทางการเมือง เชน การปดถนน การงดใหความรวมมือ
กับรัฐบาล เปนวิธีแสดงออกของประชาชนโดยไมเช่ือฟงอํานาจรัฐ หรือปฏิบัติการที่ละเมิด
กฎหมายโดยอางความบกพรองของรัฐบาลเปนเหตุ วิธีน้ีอาจกอใหเกิดผลกระทบเปนความ
เสียหายตอระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงทางการเมือง การมีสวนรวมรูปแบบนี้ใน
ระยะเริ่มตนอาจยังไมผิด กฎหมาย และระบบการเมืองยินยอมใหกระทําใด เชน การนัดหยุด
งาน แตหากรัฐบาลไมสามารถแกไขเหตกุ ารณได เหตกุ ารณอาจยืดเยื้อลุกลามเปนความวุนวาย
ทางการเมือง เกดิ ความไมสงบข้ึนได อาจมกี ารใชความรุนแรงทํารายรางกายและทรพั ยสนิ
ซ่งึ เปนการกระทําท่ีผดิ กฎหมาย

3. การมีสวนรวมของประชาชนตามรฐั ธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญฉบบปจจุบัน กําหนดไดร ัฐตองสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของ
ประชาชนในการกําหนดนโยบายการตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจ
สังคมและการเมือง รวมท้ังการจรวจสอบการใชอํานาจรัฐทุกระดับ เจตนารมณที่สําคัญของ
รัฐธรรมนญู ฉบบั นตี้ อ งการใหประชาชนซ่ึงเปนเจาของอํานาจอธิปไตยไดมี โอกาสเขาไปมีสวน
รว มโดยตรง ไดแ ก

3.1 การมีสวนรวมรับรู หมายถึง การใหประชาชนมีสวนรวมในการรับรูใน
กระบวนการบริหารราชการแผนดิน เชน การรับทราบขอมูลขาวสารสาธารณะ ในความ
ครอบครองขององคกรของรัฐทุกประเภทไดรวมรับรูในการทําหนาที่ของสมาชิกสภาผูแทน
ราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา ดวยการเขาไปตรวจสอบบันทึกการลงคะแนนเสียงของสมาชิก
รัฐสภา รวมรับรูในทรัพยของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองได เปนตน การเปดโอกาสให
ประชาชนมีสาวนรวมตามรัฐธรรมนูญน้ันสงผลใหเกิดการตื่นตัวเปนอันมาก เชน การใชสิทธิ
ของผปู กครองเดก็ ผูสมัครสอบเขาเรียนในโรงเรียนสาธิตแหงหน่ึงเพื่อขอดูคะแนนสอบของบุตร
และผูเขา สอบท้งั หมด หรือการแสดงบญั ชีหนี้สนิ ทรัพยส ินของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองและ
ครอบครัว เปนตน

3.2 การมีสว นรวมคิดกับองคกรตาง ๆ หมายถึง การใหประชาชนมีสิทธิแสดง
ความคิดเห็นของตนตามกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน เพ่ือใหไดขอมูลท่ี
กวา งขวางรอบคอบขึ้นในโครงการสาธารณะ แตไมไดผูกมัดการตัดสินใจของรัฐบาลวาจะตอง
เปนไปตามความคิดเห็นของประชาชน เชน กรณีสรางโรงไฟฟาที่บานหินกรูด จังหวัด
ประจวบคีรขี นั ธ การสรางเขื่อนแกงเสอื เตน จังหวัดแพร การวางทอกาซไทย-มาเลเซีย ที่อําเภอ

72

จะนะ จังหวัดสงขลา เปนตน สาํ หรบั การออกกฎหมาย ซึ่งมีหลายฉบับท่ีมีกระบวนการประชา
พิจารณ เชน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พระราชบัญญัติปาชุมชน กฎหมายเก่ียวกับ
การจัดสรรคล่ืนความถี่ที่ใชในการสงวิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน และ วิทยุโทรคมนาคม
เปนตน

3.3 การมีสวนรวมตัดสินใจกับรัฐและเจาหนาที่ของรัฐ หมายถึง การให
ประชาชนท่ีรวมกันเปนชุมชนทองถิ่นดั้งเดิมมีสิทธิอนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญา
ทอ งถ่ิน ศลิ ปวฒั นธรรมของทองถ่ินและของชาติ และมีสวนรวมในการจัดการ การบํารุงรักษา
ลากรใชป ระโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอมอยางสมดุลการท่ีรัฐธรรมนูญให
โอกาสประชาชนมีสวนรวมในการตัดสินใจกับรัฐและเจาหนาท่ีของรัฐเน่ืองจากปญหา
ทรัพยากรธรรมชาติมีจํานวนลดนอยลง สาเหตุการใชและการทําลายท่ีเกิดข้ึนอยางรุนแรง
ขณะทีก่ ารฟน ฟูชดเชย ทดแทน สรางขึ้นใหมไมทันกับความตองการรัฐธรรมนูญ จึงอนุญาตให
ชุมชนเขามาชวยจัดการบํารุงรักษาและใชประโยชนได และเน่ืองจากภาครัฐมีกําลังไมเพียง
พอที่จะจัดการกับความรนุ แรงของปญ หาดงั กลาว จงึ อนญุ าตใหป ระชาชนเขา มามสี วนรวมในการ
ตัดสินใจและกระทําการโดยชุมชนทองถ่นิ ดงั้ เดิม

นอกจากนี้ยังใหสิทธิและโอกาสการมสี วนรวมของประชาชน ในการตัดสินใจใน
กระบวนการทางนิติบัญญัติ ในการพิจารณาออกกฎหมายเก่ียวกับเด็ก สตรี คนชรา หรือผู
พกิ าร หรือทพุ พลภาพโดยใหสภาผแู ทนราษฎรต้ังคณะกรรมการวิสามญั ประดวยผูแทนองคกร
เอกชนที่เก่ียวของกับบุคคลประเภทน้ัน ไดใชสิทธิออกเสียงพิจารณากฎหมายแทน เพื่อสนอง
ปญ หาและความตอ งการที่แทจรงิ ดวยความเปน ธรรม

3.4 การมีสว นรวมตรวจสอบ หมายถึง การใหส ิทธปิ ระชาชนมีสวนรวมในการ
ตรวจสอบการใชอํานาจรฐั สามารถแบง ออกได 3 ประการคือ

3.4.1 การใชสิทธิดวยตนเอง ประชาชนสามารถใชสิทธิสวนตัวของแตละ
บคุ คลตรวจสอบการใชอํานาจรัฐได ไดแก การใชสิทธิทางศาล การใชสิทธิที่จะฟองรองหนวย
ราชการและขาราชการ วา ไดท ําหนาท่ถี ูกตอ งครบถว นหรือไม หากมีการละเลยไมปฏิบัติหนาท่ี
ตามกฎหมาย บุคคลผูมีสวนไดเสีย มีสิทธิขอใหขาราชการลูกจาง หรือเจาหนาท่ีของรัฐ หรือ
ผบู ังคับบัญชาของบุคคลน้นั ชแ้ี จงเหตผุ ลท่ีไมกระทําตามหนาที่ และมสี ิทธิขอใหด ําเนินการตาม
กฎหมาย นอกจากน้ียังรวมถึงการติดตาม ตรวจสอบบัญชีทรัพยสินของผูดํารงตําแหนงทาง
การเมอื งและครอบครัวได

73

3.4.2 การใชส ิทธริ วมเปนกลุม ประชาชนสามารถใชสิทธิรวมเปนกลุม
เพ่ือตรวจสอบอํานาจรัฐในกรณที พ่ี บวาผดู าํ รงตําแหนงทางการเมืองมีพฤติกรรมร่ํารวยผิดปกติ
สอไปในทางทจุ รติ ตอ หนา ที่หรือกระทาํ ผดิ ตอตําแหนง หนาท่ไี ด นอกจากนยี้ งั สามารถรวมตัวกัน
เปน สมาคม สหภาพ สหพันธ องคกรเอกชน หรือหมคู ณะเพอื่ รว มตรวจสอบการใชอาํ นาจรฐั

3.4.3 ใหอ าํ นาจแกป ระชาชนสามารถเขา มามีสวนรวมทางการเมืองโดยตรง
สามารถสรปุ สาระสําคญั ไดดงั น้ี

1) ผูมีสิทธิเลือกต้ังไมนอยกวา 10,000 คน มีสิทธิเขาช่ือรองขอตอ
ประธานรัฐสภาเพอื่ ใหร ฐั สภาพิจารณารา งพระราช บัญญตั ิ (การเขาชอื่ เสนอกฎหมาย)

2) ผมู สี ิทธเิ ลอื กต้ังจํานวนไมน อยกวา 20,000 คน มีสิทธิเขาชื่อรองขอ
ตอประธานวุฒิสภาเพ่ือใหวุฒิสภาถอดถอนบุคคลผูดํารง ตําแหนงทางการเมืองและผูดํารง
ตาํ แหนงระดบั สงู (นายกรัฐมนตรี รฐั มนตรี สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ประธาน
ศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนญู ประธานศาลปกครอง หรืออยั การสงู สุด รวมถงึ ตุลาการศาล
รัฐธรรมนูญ กรรมการการเลือกต้ัง ผูพิพากษาหรือตุลาการ พนักงานอัยการ หรือผูดํารง
ตําแหนงระดับสูง) ดวยเหตุมพี ฤติการณร ่ํารวยผดิ ปกติ

- สอไปในทางทจุ รติ ตอ หนา ท่ี
- สอ วากระทาํ ผิดตอ ตําแหนง หนาทรี่ าชการ
- สอ วากระทําผิดตอตําแหนงหนาท่ีในการยุตธิ รรม
- สอวาจงใจใชอํานาจหนาที่ขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญหรือ
กฎหมาย หรอื ฝาฝน หรอื ไมปฏิบัตติ ามมาตรฐานจริยธรรมอยา งรุนแรง
3) ผูมีสิทธิเลือกตั้งยอมมีสิทธิออกเสียงประชามติ เห็นชอบหรือไม
เหน็ ชอบในกจิ การตามท่จี ดั ใหมีการออกเสยี งประชามติ แบง เปน กรณดี ังตอ ไปนี้
- กรณีที่อาจกระทบถึงประโยชนไดเ สยี ของประเทศชาติหรือประชาชน

- กรณที ี่มีกฎหมายบญั ญตั ใิ หม ีการออกเสียงประชามติ

74

กิจกรรมทายบทท่ี 3

1. ขอ ใดหมายถึงหนาที่ของชาวไทยตามกฎหมายรฐั ธรรมนูญ

ก. การปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย ข. การออกเสียงประชามติ

ค. การเขารวมชุมนมุ โดยสงบ ง. การเขา รว มจัดตงั้ พรรคการเมือง

2. ขอ ใดเปนคณุ ลกั ษณะของพลเมอื งดใี นสงั คมประชาธปิ ไตย
ก. เคารพและปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย ข. เคารพในสิทธิเสรภี าพของบคุ คลอนื่
ค. มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมในการดาํ เนนิ ชีวิต ง. ถกู ทกุ ขอ

3. กฎหมายรัฐธรรมนูญท่ใี ชป จ จบุ ันคือกฎหมายรัฐธรรมนูญฉบบั ใด
ก. รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทยพทุ ธศักราช 2514
ข. รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทยพุทธศกั ราช 2540
ค. รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทยพุทธศกั ราช 2549
ง. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทยพุทธศักราช 2550

4. ประเทศไทยใชก ฎหมายรฐั ธรรมนูญถึงปจ จุบนั (พ.ศ. 2554)กฉ่ี บับ

ก. 16 ฉบบั ข. 17 ฉบับ ค. 18 ฉบับ ง. 19 ฉบับ

5. ขอใดเปน คุณลกั ษณะของพลเมอื งดใี นสังคมประชาธิปไตย
ก. เคารพกฎหมายและปฏบิ ตั ติ ามกฎ ข. เคารพในสิทธิเสรภี าพของบคุ คลอนื่
ค. มีคณุ ธรรมจริยธรรมในการดํารงชีวติ ง. ถูกทกุ ขอ

6. การทํางานรว มกนั ในกระบวนการประชาธปิ ไตยควรปฏบิ ตั อิ ยางไร

ก. ความมีเหตุผล ข. มีสวนรว มในการพฒั นา

ค. การมสี วนรวมในการอนุรกั ษ ง. การมีสว นรวมในพธิ ีกรรมทางศาสนา

7. การทบี่ ุคคลยอ มเสมอภาคกันในทางกฎหมายและไดรบั ความคุม ครองตามกฎหมายเทา

เทียมกันแสดงถงึ หลกั การขอ ใด

ก. สิทธเิ สรีภาพ ข. สิทธิมนุษยชน

ค. ความเปนบคุ คล ง. ศักด์ิศรคี วามเปนมนุษย

75

8. กระบวนการในการจัดทาํ รา งรฐั ธรรมนูญประกอบดวยบุคคลใด

ก. สมัชชาแหงชาติ ข. สภารางรฐั ธรรมนูญ

ค. คณะกรรมาธกิ ารรางรัฐธรรมนูญ ง. ถกู ทกุ ขอ

9. รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ประกาศใชเ มือ่ ใด

ก. 19 สงิ หาคม 2550 ข. 22 สิงหาคม 2550

ค. 27 สงิ หาคม 2550 ง. 1 กันยายน 2550

10. ขอใดคอื การมสี ว นรว มทางการเมอื งแบบไมเปนทางการ

ก. การเลอื กต้งั ข. การประทว ง

ค. การตง้ั พรรคการเมอื ง ง. การแสดงความคิดเหน็ ทางการเมอื ง

76

บทท่ี 4
สถานการณ และการมีสวนรวมทางการเมอื ง การปกครองตามระบอบ

ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตริยทรงเปน ประมขุ

สาระสาํ คญั

การอยูรวมกันในสังคมทีม่ ีความแตกตา งทัง้ ความคดิ อาชพี สถานะทางสังคม และ
สภาพแวดลอม การศกึ ษาเรียนรู การพัฒนาการทางการเมือง และการมสี ว นรวมทางการเมอื ง
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยทรงเปนประมุข เปนสว นหน่ึงท่จี ะ
ทําใหสังคมอยูไดอ ยา งสงบสขุ ตามวถิ ีประชาธปิ ไตย

ผลการเรียนรทู คี่ าดหวงั
1. อธบิ ายสาเหตแุ ละความเปนมาของการปฏิรูปการเมืองหลังการเปลย่ี นแปลง

การปกครอง พ.ศ. 2475 ได
2. อธบิ ายการมสี วนรว มทางการเมอื งและการอยูรวมกันอยางสนั ติในระบอบ

ประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษัตรยิ ท รงเปนประมุขได

ขอบขา ยเนอ้ื หา
เรือ่ งที่ 1 ระบุสถานการณท เ่ี กีย่ วขอ งกับการเมอื งการปกครองตามระบอบ

ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ เปนประมุข
เรือ่ งท่ี 2 การมีสวนรวมทางการเมอื งการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมี

พระมหากษัตริยท รงเปนประมุข

สอ่ื ประกอบการเรยี นรู
1. ซดี ี เหตุการณสาํ คัญการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
2. คอมพวิ เตอร อินเทอรเ นต็
3. บทความทางหนังสอื พิมพ

77

เร่ืองท่ี 1 สถานการณท ีเ่ กีย่ วของกบั การเมอื งการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย
อนั มพี ระมหากษตั ริยเ ปน ประมุข

1. การเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475

เ ห ตุ ก า ร ณ ท่ี ผ า น ม า แ ล ะ วิ วั ฒ น า ก า ร ท า ง ค ว า ม คิ ด ข อ ง ค น ไ ท ย ใ น เ ร่ื อ ง ร ะ บ อ บ
ประชาธิปไตยที่คอยๆ กอตัวและมีพัฒนาการขึ้นมาตามลําดับ และนับจาก กบฏ ร.ศ. 130
เมอ่ื ป พ.ศ. 2445 เวลาผานไปอีก 20 ป จนถึงป พ.ศ. 2475 (วันท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475)
จึงไดเกิดเหตุการณเปลี่ยนแปลงการปกครองคร้ังสําคัญของประเทศไทยข้ึนโดยคณะบุคคลท่ี
เรียกวา “คณะราษฎร” ประกอบดวยทหารและพลเรือน ไดยึดอํานาจการปกครองจาก
พระมหากษตั ริย คือพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่เจ็ดและเปลี่ยนแปลงการ
ปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย เปน ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง
เปนประมุขอยภู ายใตกฎหมายรัฐธรรมนญู

สาเหตุของการเปล่ียนแปลงการปกครอง เมือ่ ป พ.ศ. 2475 มดี ังน้ี
1. คนรนุ ใหมทไ่ี ดร ับจากการศึกษาประเทศตะวันตก ไดรับอิทธิพลของลัทธิเสรีนิยม
และแบบแผนประชาธปิ ไตยของตะวนั ตก จงึ ตอ งการนํามาปรบั ปรงุ ประเทศชาติ
2. เกิดภาวะเศรษฐกจิ ตกตํ่า รฐั บาลไมส ามารถแกไขได
3. ประเทศญ่ีปุนและจีนไดมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองแลวทําใหประชาชน
ตอ งการเห็นการปกครองระบอบประชาธิปไตยภายในบานเมืองเร็วขึน้
4. เกิดความขัดแยงระหวางพระราชวงศกับกลุมที่จะทําการเปลี่ยนแปลงการ
ปกครอง ซง่ึ ไมพอใจทพ่ี ระราชวงศช้ันสงู มอี าํ นาจและดํารงตาํ แหนง เหนือกวา ท้ังในราชการฝาย
ทหารและพลเรอื น ทําใหก ลมุ ผจู ะทําการเปล่ยี นแปลงการปกครอง ไมมโี อกาสมีสวนรวมในการ
แกไ ขปรบั ปรุงบานเมือง

5. พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวไมอาจทรงใชอํานาจสิทธิ์เด็ดขาดในการ
ปกครองทําใหผูทจี่ ะเปลย่ี นแปลงการปกครองรสู ึกวาพระองคตกอยูใตอํานาจ อิทธิพลของพระ
ราชวงศช ้นั สูง โดยเฉพาะอยา งยิ่งเมอื่ พระบรมวงศานุวงศไ ดย ับย้งั พระราชดาํ รทิ ี่จะพระราชทาน
รัฐธรรมนูญ จึงทําใหเกิดความไมพอใจในพระบรมวงศานุวงศและ การปกครองระบอบ
สมบูรณาญาสิทธริ าชยเ พิม่ ขน้ึ

78

2. พฒั นาการทางการเมอื งและการปกครองหลงั การเปล่ยี นแปลงการปกครอง
พ.ศ. 2475
หลังจากการเปล่ียนแปลงการปกครอง ป พ.ศ. 2475 ประเทศไทยไดกาวเขาสูระบอบ

การปกครองแบบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปนประมขุ แตแนวคดิ ความรู
ความเขา ใจในเรื่องการปกครองระบอบประชาธิปไตยยังจํากัดอยูเฉพาะกลุมปญญาชนที่ไดรับ
การศึกษาจากตะวันตกเทานั้น จึงมีความขัดแยงทางความคิดท้ังในกลุมผูปกครองขาราชการ
และประชาชนจนเกิดเปนกบฎ ปฏิวัติและรัฐประหาร สลับกันไปมา (ปญหาทางการเมืองและ
การปกครองของประเทศไทยหลังป พ.ศ. 2475 ท่ีไมมีเสถียรภาพทางการเมืองการเปล่ียน
รัฐบาล หรือผูปกครองประเทศมักไมเปนไปตามกติกา หรือระเบียบแบบแผนโดยสันติวิธี
ตรงกันขามมักเกิดการแยงชิงอํานาจดวยการใชกําลังอยูเนืองๆ ไมวาจะเปนไปในรูปของการ
จลาจล กบฏ ปฏวิ ัตหิ รือรฐั ประหาร) ความหมายของคําเหลานี้เหมือนกันในแงที่วาเปนการใช
กําลังอาวุธยึดอํานาจทางการเมืองแตมีความหมายตางกันในดานผลของการใชกําลังความ
รุนแรงนนั้ กลาวคือ หากการยึดอํานาจคร้ังใดท่ีผูกอการทําการไมสําเร็จจะถูกเรียกวา “กบฏ”
หากการยดึ อํานาจนั้นสาํ เร็จและเปล่ียนเพียงรัฐบาลเรียกวารัฐประหาร นับแตป พ.ศ. 2475
เปนตนมา ประเทศไทยมีการพัฒนาการทางการเมืองและการปกครองโดย เรียงลําดับตาม
ระยะเวลาของเหตกุ ารณส ําคัญๆ ท่เี กดิ ข้นึ ได ดงั น้ี

1. พ.ศ. 2476 : การรัฐประหารครั้งท่ี 1
โดย พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนาไดยึดอํานาจจากพระยามโนปกรณนิติธาดา
นายกรฐั มนตรีคนแรกของไทย เมอ่ื วนั ที่ 20 มถิ ุนายน 2476

2. พ.ศ. 2476 : กบฎครงั้ ที่ 1 กบฏวรเดช
ความขัดแยงระหวางคณะราษฎรและกลุมผูนิยมระบอบเกา ในป พ.ศ. 2476 ทําให
พระวรวงศเธอพระองคเจาบวรเดชและพวกกอการกบฏในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2476 เพ่ือตั้ง
รัฐบาลใหม แตถูกฝายรัฐบาลในขณะนั้นปราบได การกบฏครั้งนี้มี ผลกระทบ กระเทือนตอ
พระราชฐานะของพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจา ยูห ัว ทง้ั ๆ ทีท่ รงวางพระองคเ ปน กลางเพราะ
คณะราษฎรเขาใจวาพระองคทรง สนับสนุนการกบฏ ความสัมพันธระหวางรัชกาลที่ 7 และ
คณะราษฎรจึงราวฉาน ย่ิงขึ้น ในตนป พ.ศ. 2477 รัชกาลที่ 7 ไดเสด็จไปรักษาพระเนตรท่ี
ประเทศ สหราชอาณาจักร และทรงสละราชสมบตั เิ ม่ือวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477

79

3. พ.ศ. 2478 : กบฏครงั้ ท่ี 2 กบฏนายสบิ
เกดิ ขึน้ เมื่อวันท่ี 3 สิงหาคม 2478 เม่ือทหารชัน้ ประทวนในกองพนั ตางๆ ซงึ่ มี

สิบเอกสวัสด์ิ มหะมัด เปนหัวหนา ไดรวมกันกอการเพ่ือเปล่ียนแปลงการ ปกครอง โดยจะ
สงั หารนายทหารในกองทัพ และจับพระยาพหลพลพยุหเสนาฯ และหลวงพิบูลสงครามไวเปน
ประกนั แตรฐั บาลสามารถจบั กมุ ผูคดิ กอ การ เอาไวไ ด หัวหนา ฝา ยกบฏถูกประหารชีวิต
โดยการตดั สินของศาลพเิ ศษในระยะตอ มา

4. พ.ศ. 2482 : กบฏคร้งั ที่ 3 กบฏพระยาทรงสุรเดช หรือ กบฏ 18 ศพ
เกิดข้ึนเม่ือวันที่ 29 มกราคม 2482 เน่ืองจากความขัดแยงระหวาง หลวงพิบูล
สงครามกับพระยาทรงสรุ เดช ต้งั แตกอนการเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 การกอกบฏ
คร้ังน้ีเปนความพยายามที่จะลมลางรัฐบาลใน ขณะน้ัน เพื่อเปล่ียนแปลงการปกครองใหกลับ
ไปสรู ะบอบสมบรู ณาญา สิทธิราชย ดังเดิม

5. พ.ศ. 2490 : การรัฐประหารคร้ังที่ 2
เกิดขนึ้ เมือ่ วันท่ี 8 พฤศจิกายน 2490 โดยคณะนายทหารกลุมหนง่ึ มีพลโทผิน ชุณหะวัน
เปนหัวหนา ไดเ ขา ยึดอาํ นาจรฐั บาลท่ีมีพลเรอื ตรถี วลั ย ธํารงนาวาสวัสดิ์ เปนนายกรัฐมนตรีได
สําเรจ็ แลว มอบใหนายควง อภัยวงศ เปน นายกรัฐมนตรี จัดต้ังรัฐบาล ขณะเดียวกันไดแตงตั้งจอม
พล ป. พิบลู สงคราม เปน ผบู ญั ชาการทหาร แหง ประเทศไทย

6. พ.ศ. 2491 : กบฏคร้งั ที่ 4 กบฏเสนาธกิ าร
เกิดข้ึนเมื่อวันที่ 6 เมษายน 2491 คณะนายทหารซึ่งทํารัฐประหาร เม่ือ 8
พฤศจกิ ายน 2490 ไดบ ังคับใหนายควง อภัยวงศ ลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรีแลวมอบ
ใหจ อมพล ป. พิบลู สงคราม เขาดาํ รงตาํ แหนง และนาํ มาสู “กบฏเสนาธิการ” 1 ตุลาคม 2491
ซึ่งพลตรีสมบูรณ ศรานุชิต และพลตรีเนตร เขมะโยธิน เปนหัวหนาคณะและนายทหารกลุมหน่ึง
วางแผน ทจ่ี ะเขา ยดึ อาํ นาจการปกครอง และปรับปรุงกองทัพจากความเสื่อมโทรม แตรัฐบาล
ทราบแผนการ และจับกุมผูคิดกบฏไดสําเร็จ
7. พ.ศ. 2492 : กบฏครั้งที่ 5 กบฏวังหลวง
เกิดข้ึนเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2492 นายปรีดี พนมยงค กับคณะนายทหารเรือ และ
พลเรือนกลมุ หนึง่ ไดนํากําลงั เขา ยึดพระบรมมหาราชวังและต้ังเปนกองบัญชาการ ประกาศถอด
ถอนรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม และนายทหารผูใหญหลายนายพลตรีสฤษด์ิ ธนะรัชต
ไดรับการแตงต้ังเปนผูอํานวยการปราบปราม มีการสูรบกันในพระนครอยางรุนแรงรัฐบาล

80

สามารถปราบฝายกอการกบฏไดสําเร็จ นายปรีดี พนมยงคตองหลบหนีออกนอกประเทศอีก
ครัง้ หนี่ง

8. พ.ศ. 2494 : กบฏครง้ั ท่ี 6 กบฏแมนฮตั ตัน
เกดิ ข้นึ เม่ือวนั ท่ี 29 มิถนุ ายน 2494 เมอื่ นาวาตรีมนัส จารภุ า ผูบังคับการเรือรบหลวง
สโุ ขทยั ใชปน จี้จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม ไปกักขงั ไวในเรอื รบศรอี ยธุ ยา นาวาเอกอานน บุญฑริก
ธาดา หัวหนาผกู อการไดส่ังใหหนวยทหารเรือมุงเขาสูพระนครเพ่ือยึดอํานาจ และประกาศต้ัง
พระยาสารสาสนประพนั ธ เปนนายกรัฐมนตรี เกิดการสรู บกันระหวางทหารเรอื กบั ทหารอากาศ
จอมพล ป. พิบูลสงคราม สามารถหลบหนีออกมาได และฝายรัฐบาลไดปราบปรามฝายกบฏ
จนเปน ผลสําเรจ็

9. พ.ศ. 2494 : การรฐั ประหารคร้งั ที่ 3
เกิดขึน้ เม่อื วันท่ี 29 พฤศจิกายน 2494 เม่อื จอมพล ป. พบิ ูลสงคราม ไดทํารัฐประหาร
ยดึ อาํ นาจตนเอง เนือ่ งจากรัฐบาลไมส ามารถควบคุมเสียงขา งมากในรฐั สภาได

10. พ.ศ. 2497 : กบฏครั้งที่ 7 กบฏสนั ตภิ าพ
เกิดขึ้นในยุคท่ีโลกตกอยูในสภาวะสงครามเย็น และประเทศไทยเปนยุคของอัศวิน
ตํารวจรัฐบาลที่ไดอํานาจมาจากการกระทํารัฐประหารต้ังแตวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490
นับเปนรัฐบาลท่ีดําเนินนโยบายทําสงครามกับฝายคอมมิวนิสตอยางเต็มที่ ดวยการรื้อฟน
กฎหมายคอมมวิ นิสต 2495 และกวาดจบั ผูมีความคิดเห็นแตกตางจากรฐั บาลคร้ังใหญที่รูจักกัน
ในนาม “กบฏสนั ตภิ าพ” ในป พ.ศ. 2497

11. พ.ศ. 2500 : การรัฐประหารคร้ังที่ 4
เกิดข้ึนเม่ือวันท่ี 16 กันยายน 2500 มีจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต เปนหัวหนาคณะ
นาํ กําลังเขา ยึดอาํ นาจของรัฐบาลจอมพล ป. พบิ ูลสงคราม ที่เปน นายกรฐั มนตรี ภายหลังจากเกิด
การเลอื กตัง้ สกปรก และรัฐบาลไดรับการคดั คา นจากประชาชนอยางหนัก หลังการยึดอาํ นาจจอมพล
ป.พบิ ลู สงคราม และพลตํารวจเอกเผา ศรียานนท ตองหลบหนีออกไปนอกประเทศ และต้ังนาย
พจน สารสนิ เปน นายกรฐั มนตรี

12. พ.ศ. 2501 : การรัฐประหารคร้ังที่ 5
เกิดข้นึ เมอ่ื วนั ท่ี 20 ตุลาคม 2501 มีจอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต เปนหัวหนา ไดช่ือวาการ
ปฏวิ ัติเงียบเพราะเปนการยึดอาํ นาจของตนเอง หลงั การรัฐประหาร จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต

81

ไดเขาดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี ประกาศยกเลิก รัฐธรรมนูญยกเลิกพระราชบัญญัติพรรค
การเมืองและใหสภาผูแ ทนราษฎรและ คณะรฐั มนตรีชดุ เดมิ ส้นิ สุดลง

13. พ.ศ. 2516 : การรฐั ประหารครั้งท่ี 6
เกดิ ข้นึ เมือ่ วนั ท่ี 17 พฤศจิกายน 2514 โดยจอมพลถนอม กิตติขจร ซ่ึงดํารง ตําแหนง
นายกรัฐมนตรี ควบรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม และผูบัญชาการ ทหารสูงสุด ทําการ
รัฐประหารตัวเอง ประกาศยเลิกรัฐธรรมนูญ ยุบสภาผูแทนราษฎร และจัดต้ังสภานิติบัญญัติ
แหง ชาติ ขนึ้ ทําหนา ทีฝ่ ายนติ บิ ญั ญตั ิ และใหร า งรัฐธรรมนญู ใหเ สรจ็ ภายในระยะเวลา 3 ป

14. พ.ศ. 2519 : การรฐั ประหารครงั้ ที่ 7
ความต่นื ตวั ทางประชาธปิ ไตยท่ีกําลงั แบง บานตองหยุดชะงักลงอกี ครงั้ เมอ่ื
พลเอกสงดั ชลออยู และคณะนายทหารเขายึดอํานาจ เมือ่ วนั ท่ี 6 ตลุ าคม 2519 เนื่องจากเกิด
การจลาจล และรัฐบาลพลเรอื นในขณะนนั้ ยงั ไมสามารถแกไขปญ หาได หลังการรฐั ประหารได
มอบใหนายธานนิ ทร กรยั วเิ ชียร ดาํ รงตําแหนงนายกรฐั มนตรี

15. พ.ศ. 2520 : กบฏคร้งั ท่ี 8 กบฏ 26 มีนาคม 2520
เกดิ ข้ึนเมื่อวนั ท่ี 26 มีนาคม 2520 นําโดยพลเอกฉลาด หิรัญศิริ และนายทหารกลุมหน่ึง
ไดน ํากาํ ลังทหารจากกองพลท่ี 9 จังหวดั กาญจนบุรี เขายดึ สถานท่ีสําคัญ ฝายทหารของรัฐบาล
พลเรอื น ภายใตก ารนําของ พลเรือเอกสงัด ชลออยู ไดปราบปรามฝายกบฏเปนผลสําเร็จพล
เอกฉลาด หริ ญั ศิริ ถูกประหารชีวิตตามคําสง่ั นายกรัฐมนตรี ซึง่ อาศัยอาํ นาจตามมาตรา 21 ของ
รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2520

16. พ.ศ. 2520 : การรัฐประหารคร้ังที่ 8
เกิดขนึ้ เม่ือวนั ท่ี 20 ตลุ าคม 2520 เมื่อพลเรือเอกสงัด ชลออยู ใหทําการรัฐประหาร
รฐั บาลของนายธานนิ ทร กรยั วิเชียร โดยใหเ หตุผลวา การบริหารงานของรัฐบาลนายธานินทร
กรัยวิเชียร ไมอาจแกไขปญหาสําคัญของประเทศ ไดท้ังในดานเศรษฐกิจ สังคมและ
อตุ สาหกรรม อกี ทงั้ ยังปด ก้นั เสรีภาพทางความคิดเห็นของประชาชน ตลอดจนทาทีของรัฐบาล
ในเหตุการณลอบวางระเบดิ ใกลพ ลับพลาที่ประทบั ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ท่ีจังหวัด
ยะลา และตั้งพลเอกเกรยี งศักดิ์ ชมะนันท เปนนายกรฐั มนตรี

82

17. พ.ศ. 2524 : กบฏครงั้ ที่ 9 กบฏยงั เติรก
เกดิ ข้นึ เมอื่ วันท่ี 1 เมษายน 2524 นําโดยพลเอกสัณห จิตรปฏิมา ดวยการสนับสนุน
ของคณะนายทหารหนมุ โดยการนําของพันเอกมนูญ รูปขจร และ พันเอกประจักษ สวางจิตร
ไดพยายามใชกําลงั ทหารในบงั คับบัญชาเขา ยดึ อาํ นาจปกครองประเทศ ซ่ึงมีพลเอกเปรม ติณสู
ลานนท เปนนายกรัฐมนตรี เน่ืองจาก เกิดความแตกแยกในกองทัพบก แตการปฏิวัติลมเหลว
ฝายกบฏยอมจํานนและถูกควบคุมตัว พลเอกสัณห จิตรปฏิมา สามารถหลบหนีออกไปนอก
ประเทศได ตอมารฐั บาลไดอ อกกฎหมายนิรโทษกรรมแกผูมีสวนเกย่ี วของการกบฏในครงั้ นี้

18. พ.ศ. 2528 : กบฏคร้ังที่ 10 กบฏทหารนอกราชการ
เกิดข้ึนเม่ือวันที่ 9 กันยายน 2528 โดยคณะนายทหารนอกราชการท่ีพยายาม
ยดึ อํานาจจากรฐั บาลของพลเอกเปรม ตณิ สูลานนท แตดําเนนิ การไมส ําเรจ็ ผูก อ การ คอื
พันเอกมนญู รูปขจร และนาวาอากาศโทมนสั รูปขจร ไดล ี้ภัยไปสิงคโปรและเดินทางไปอยูใน
ประเทศเยอรมนีตะวนั ตก

19. พ.ศ. 2534 : การรฐั ประหารครั้งที่ 9
เกิดข้ึนเม่ือวันท่ี 23 กุมภาพันธ 2534 นําโดยพลเอกสุนทร คงสมพงษ ผูบัญชาการ
ทหารสงู สุด หวั หนา คณะรักษาความสงบเรียบรอ ยแหง ชาติ (รสช.) ยดึ อํานาจจากรฐั บาล
พล.อ.ชาตชิ าย ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรีในขณะนน้ั และแตงต้งั นายอานันท ปนยารชนุ
ขึน้ เปนนายกรฐั มนตรี ทวา รัฐบาลท่ีมีอายุเพียง 1 ปของ รสช. ก็ตองประสบกับอุปสรรคในการ
เรียกรองรัฐธรรมนูญท่ีเปนประชาธิปไตยจาก ประชาชน อันนํามาสูการชุมนุมเรียกรองทาง
การเมอื งที่กลายเปนชนวนเหตขุ อง เหตุการณพ ฤษภาทมฬิ ในป 2535 ภายหลังการเลือกต้ังท่ี
พลเอกสุจินดา คราประยรู ข้นึ เปน นายกรัฐมนตรีในเวลาตอมา

20. พ.ศ. 2549 : การรัฐประหารคร้ังที่ 10
เกิดข้ึนเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 นําโดยพลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน ผูบัญชาการ
ทหารบกทาํ การยึดอาํ นาจจากรัฐบาลรกั ษาการของพันตํารวจโททกั ษณิ ชินวัตร เรียกตนเองวา
คณะปฏิรปู การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหา กษัตริยท รงเปน ประมุข

21. ในป พ.ศ. 2557 : การรฐั ประหารครง้ั ท่ี 11
เกิดข้ึนเมื่อวันท่ี 22 พฤษภาคม 2557 เวลา 16.00 น. โดยคณะรักษาความสงบ
แหงชาติ (คศช.) อันมีพลเอกประยุทธ จันทรโอชา เปนหัวหนาคณะโคนรัฐบาลรักษาการ
นิวัฒนธํารง บุญทรงไพศาล นับเปนรัฐประหารคร้ังท่ี 11 ในประวัติศาสตรไทย รัฐประหาร

83

ดังกลาวเกิดข้ึนหลังวิกฤตการณการเมืองซึ่งเริ่มเมื่อเดือนตุลาคม 2556 เพ่ือคัดคานราง
พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ และอิทธิพลของพันตํารวจโทดร.ทักษิณ ชินวัตร ในการ
เมอื งไทย

จากพฒั นาการทางการเมอื งการปกครองทีเ่ กิดขน้ึ ในประเทศไทยหลงั การเปล่ียนแปลง
การปกครอง ป พ.ศ. 2475 มีการเปล่ียนแปลงเกิดขึ้นอยางบอยครั้ง รวมท้ังเปนที่มาของ
รัฐธรรมนูญฉบบั ตา งๆ ดวยจะเหน็ วา มีพัฒนาการในทางท่ีใหสทิ ธแิ ละเสรีภาพแกป ระชาชน
มากข้ึน แมวาบางยุคสมัยจะถูกกลาวหาวาเปนเผด็จการก็ตาม เราก็จะเห็นพัฒนาการทาง
การเมืองในภาคประชาชนที่คอยๆ กอตัวข้ึนในท่ัวทุกภูมิภาคของประเทศ จนคลายกับเปน
ความขัดแยงทางสังคม โดยเฉพาะอยางยิ่งหลังเหตุการณรัฐประหาร พ.ศ. 2549 ไดทําใหเกิด
ความคิดเหน็ ทีแ่ ตกตา งของประชาชนทง้ั ประเทศอยางไมเ คยเกดิ ขน้ึ มากอนจนหลายฝายวิตกวา
จะนาํ ไปสูสงครามการเมือง แตเมื่อมองในดานดจี ะพบวา ในเหตุการณดังกลาวไดก อ ใหเกิดความ
ต่ืนตัวของภาคประชาชน ในดานการเมืองท้ังประเทศอยางท่ีไมเคยมีมากอน ความคิดเห็น
ทางการเมืองตางกันที่เกดิ ขึน้ ในเวลาน้ีเปนเรอ่ื งใหมแ ละยังไมมีความคิดเห็นท่ีตรงกัน ตองอาศัย
ระยะเวลาและการเรียนรูของผูคนทั้งประเทศท่ีจะตองอดทนเรียนรูและอยูรวมกันใหได
ทามกลางความแตกตา งและปรับความคิดเขาหากนั ใหถ ึงจดุ ท่พี อจะยอมรบั กันได

เรือ่ งท่ี 2 การมสี วนรว มทางการเมอื งการปกครองตามระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มี
พระมหากษตั รยิ เ ปน ประมุข

1. การมีสวนรว มทางการเมือง
การปกครองระบอบประชาธิปไตย มหี ลกั การพ้นื ฐานสําคญั 5 ประการ คอื
1. หลกั การอํานาจอธิปไตยเปนของปวงชน ประชาชนแสดงออกซง่ึ การเปนเจาของ

โดยใชอาํ นาจทีม่ ตี ามกระบวนการเลือกตั้งอยางอิสระและท่ัวถึงในการใหไดมาซ่ึงตัวผูปกครอง
และผแู ทนของตนรวมทัง้ ประชาชนมีอาํ นาจในการคัดคา นและถอดถอนผูปกครองและ ผูแทนที่
ประชาชนเห็นวา มไิ ดบ รหิ ารประเทศในทางทีเ่ ปน ประโยชนตอสังคมสวนรวม เชน มี พฤติกรรม
รา่ํ รวยผิดปกติ หรอื คอรร ัปชนั่ (Corruption)

2. หลกั เสรีภาพ ประชาชนทุกคนมีความสามารถในการกระทําหรอื งดเวนการกระทํา
อยา งใด อยางหนึง่ ตามท่บี คุ คลตองการ ตราบเทาท่ีการกระทําของเขานั้นไมไปละเมิด ลิดรอน
สิทธิเสรีภาพของบุคคลอื่น หรือละเมิดตอความสงบเรียบรอยของสังคมและความมั่นคงของ
ประเทศชาติ

84

3. หลักความเสมอภาค การเปด โอกาสใหประชาชนทกุ คนสามารถเขาถงึ ทรัพยากร
และคณุ คาตา งๆ ของสังคมที่มอี ยูจ าํ กัดอยา งเทาเทียมกัน โดยไมถ ูกกีดกนั ดวยสาเหตแุ หงความ
แตกตางทางชั้นวรรณะ ทางสังคม ชาติพันธุ วฒั นธรรมความเปน อยู ฐานะทางเศรษฐกจิ หรอื
ดวยสาเหตอุ ่ืน

4. หลกั การปกครองโดยกฎหมายหรอื หลกั นติ ธิ รรม การใหค วามคุม ครองสิทธิ
ข้นั พน้ื ฐานของประชาชนทงั้ ใหเ รอ่ื งสทิ ธิเสรีภาพในทรัพยสนิ การแสดงออก การดาํ รงชพี
อยา งเสมอหนากัน โดยผูปกครองไมสามารถใชอาํ นาจใดๆ ลดิ รอนเพิกถอนสทิ ธเิ สรีภาพของ
ประชาชนไดและไมส ามารถใชอ ภสิ ิทธิอ์ ยเู หนือกฎหมาย หรอื เหนือกวา ประชาชนคนอน่ื ๆ ได

5. หลักการเสียงขางมาก (Majority rule) ควบคูไปกับการเคารพในสิทธิของ
เสียงขา งนอ ย (Minority Rights) การตัดสนิ ใจใดๆ ที่สง ผลกระทบตอประชาชนหมมู าก ไมวา
จะเปน การเลือกตง้ั ผูแทนของประชาชนเขาสูระบบการเมือง การตัดสินใจของฝาย นิติบัญญัติ
ฝายบริหารหรือฝายตุลาการ ยอมตองถือเอาเสียงขางมากที่มีตอเรื่องน้ันๆ เปน เกณฑในการ
ตัดสินทางเลือก โดยถือวาเสียงขางมากเปนตัวแทนท่ีสะทอนความตองการขอเรียกรองของ
ประชาชนหมูมาก หลักการน้ีตองควบคูไปกับการเคารพคุมครองสิทธิเสียงขางนอยดวย ท้ังน้ี
เพ่อื เปนหลกั ประกันวาฝายเสียงขางมากจะไมใชวิธีการ “พวกมากลากไป” ตามผลประโยชน
ความเหน็ หรือกระแสความนยิ มของพวกตนอยางสุดโตง แตตองดําเนินการ เพื่อประโยชนของ
ประชาชนท้ังหมดเพื่อสรางสังคมที่ประชาชนเสียงขางนอย รวมท้ังชนกลุมนอย ผูดอยโอกาส
ตางๆ สามารถอยูรวมกันไดอยางสันติสุข โดยไมมีการเอาเปรียบกันและ สรางความขัดแยงใน
สงั คมมากเกินไป

2. การอยูรว มกันอยา งสันติในระบอบประชาธปิ ไตย
จากหลักการของระบอบประชาธิปไตยเห็นไดวาประชาชนตองมีบทบาทและมีสวน

รว มในทางการเมืองมากกวาระบอบเผด็จการ และในระบอบประชาธิปไตยที่ยึดหลักสิทธิและ
เสรีภาพของประชาชนทุกคนอยางเทาเทียมในสังคมท่ีมีขนาดใหญ หากทุกคนยึดแตหลักการ
พ้ืนฐานของระบอบประชาธิปไตยเทานั้น เช่ือวาความวุนวายและไรระเบียบของสังคมยอม
เกิดข้ึนในสังคมไทยแนวคิดของระบอบประชาธิปไตยเปนสิ่งที่เรารับมาจากประเทศทาง
ตะวนั ตก ซึ่งมีขอดใี นเรือ่ งวนิ ัย สิทธิ เสรีภาพและความเสมอภาค สวนวิถีของสังคมไทย ท่ีเปน
สังคมพุทธ มีขอดีในเรื่องความอบอุน การเคารพผูอาวุโส ความกตัญู เปนขอดีที่เราตอง
นาํ มาใชใหถ กู ตอ ง ดังนั้นการจะอยูรว มกันอยา งสนั ติในระบอบประชาธปิ ไตยของ สงั คมไทย

85

คงมใิ ชก ารยึดหลักการพน้ื ฐานของระบอบประชาธปิ ไตยเทา นนั้ แตตองมองรากฐานของคนไทย
ดว ยวา มีวิถีชีวติ อยา งไร

ลกั ษณะที่สําคัญของสงั คมไทย
ประเทศไทยตั้งอยูบนคาบสมุทรอินโดจีนท่ีเรียกวา “สุวรรณภูมิ” มีพ้ืนท่ีประมาณ
513.115 ตารางกิโลเมตร มกี ลมุ ชนชาตไิ ทยและกลมุ ชาติพันธุอ่ืนๆ อีกมากกวา 50 ชาติพันธุ
เชน จีน ลาว มอญ เขมร กูย ฝรั่ง แขก ซาไก ทมิฬ ฯลฯ มาอาศัยอยูในประเทศไทย
มีภาษาไทยเปนของตนเอง มีประวัติศาสตรการตั้งถ่ินฐานที่ยาวนาน ประชากรสวนใหญ
ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม มีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข จนถึงป พ.ศ. 2475 เมื่อเกิด
การเปล่ียนแปลง ระบอบการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบ
ประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข เวลาผานไปเกือบ 80 ป จนถึงปจจุบัน
เม่ือวเิ คราะหล ักษณะ ของสังคมไทยในปจจบุ นั เราจะพบวา ลักษณะสําคัญ ดังน้ี

1. สังคมไทยเปน สงั คมที่เคารพเทิดทนู สถาบนั พระมหากษตั รยิ 
สังคมไทยปกครองโดยพระมหากษัตริยมา ตั้งแตสมัยสุโขทัยท่ีเรียกวา
สมบูรณาญาสิทธริ าชย จนมาถึงการปกครองในระบอบประชาธิปไตยพระมหากษัตริยทรงเปน
ท้ังองคพระประมุข เปนขวัญและกําลังใจใหกับประชาชน และทรงเปนศูนยรวมแหงความ
สามคั คขี องคนในชาติ สถาบนั พระมหากษัตรยิ  จงึ ไดร ับการเคารพเทดิ ทูนอยางสูงในสงั คมไทย
2. สงั คมไทยยดึ ม่ันในพระพุทธศาสนา
วดั มคี วามสมั พันธก บั ชุมชนมาก ในอดีตวัดเปนแหลงการศึกษาของฆารวาสและภิกษุ
สามเณรเปนสถานท่ีอบรมขัดเกลาจิตใจโดยใชธรรมะเปนเครื่องช้ีนําในการดําเนินชีวิต โดยมี
พระภิกษุเปนผูอบรมส่ังสอนพุทธศาสนิกชน ใหเปนคนดีมีศีลธรรม
3. สังคมไทยเปน สงั คมเกษตร
อาชพี เกษตรกรรมเปนอาชพี ท่ีเปน พ้นื ฐานทางเศรษฐกิจ ซ่งึ ปจ จุบนั มกี ารนําเทคโนโลยี
มาใชใ นการเกษตรมากขน้ึ ทาํ ใหมีการพฒั นาเปน เกษตร อุตสาหกรรม จากพ้ืนฐานการมีอาชีพ
เกษตรกรรม ทําใหคนไทยรักความเปนอยูที่เรียบงาย ไมทะเยอทะยานเกินฐานะ มีจิตใจ
ออ นโยน เอือ้ เฟอ เผ่ือแผ

86

4. สงั คมไทยใหก ารเคารพผูอาวุโส
การแสดงความเคารพ การใหเกียรติผูอาวุโส มีผลตอการแสดงออกของคน
ในสังคมดานกิริยาวาจา ความเคารพ และความเกรงใจ ทําใหเด็กๆ หรือผูนอย รูจักออนนอม
ถอมตนตอผูใ หญ
5. สังคมไทยเปนสงั คมระบบเครอื ญาติ
สังคมไทยเปนสังคมท่ีอยูรวมกันเปนครอบครัวขนาดใหญ มีความสัมพันธกันอยาง
ใกลช ดิ ทําใหมคี วามผูกพันและหว งใยในทุกขสขุ ของกันและกัน อุปการะ เก้ือกูลกัน สมาชิกใน
ครอบครัวทกุ คนถอื เปนหนา ทท่ี ่ตี อ งประพฤตปิ ฏิบตั ิตอกัน
6. สังคมไทยมกี ารเปลีย่ นแปลงอยางรวดเร็ว
เนอ่ื งจากมกี ารเปดรับวฒั นธรรมตา งชาตเิ ขามามาก และระบบเศรษฐกิจเปนแบบ
ทนุ นยิ ม โดยเฉพาะเมอื งใหญ เชน กรุงเทพมหานคร เชียงใหม ภูเก็ต เปนตน แตในชนบทจะมี
การเปลี่ยนแปลงชากวา เมืองใหญ ทาํ ใหมขี นบธรรมเนียมประเพณีท่ีดีงามคงอยู

87

กจิ กรรมทา ยบทท่ี 4

คาํ ส่ัง ใหนักศึกษาบรรยายหรืออภิปรายตามหัวขอเรอ่ื ง ดังนี้
1. นายสมศักด์ิ ดงี าม จะตองปฏบิ ัตติ น หรือดาํ รงชีวิตอยางไร จึงจะถือวา เปนพลเมอื ง

ดี ของประเทศที่มีการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท รงเปนประมขุ
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

2. ใหย กตัวอยา ง หลักการ อยรู ว มกันในสังคมอยางสันตสิ ขุ
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

88

บทท่ี 5
หลักสิทธิมนุษยชน

สาระสําคญั
มนษุ ยทุกคนเกิดมามีเกียรติ ศักดิ์ศรีเทาเทียมกัน ยอมจะไดรับความคุมครองจากรัฐ

ตามมาตรฐานเดียวกันกับประเทศอื่นๆ ซ่ึงรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2550 ไดบัญญัติสิทธิมนุษยชนขั้นพ้ืนฐานไว เพื่อปกปองคุมครองประชาชนทุกคนมิใหถูก
ละเมดิ สทิ ธิ และรักษาสิทธขิ องตนได

ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวัง
1. อธิบายทม่ี าของแนวคิดเร่อื งสทิ ธิมนุษยชนได
2. อธิบายหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนสากลได
3. ยกตัวอยา งแนวทางในการคุมครองตนเองและผอู ืน่ ตามหลักสทิ ธมิ นุษยชนได

ขอบขา ยเนอื้ หา
เรือ่ งที่ 1 แนวคิดและหลกั การสิทธิมนุษยชน
เรอื่ งที่ 2 การคุม ครองปกปอ งตนเองและผูอ ืน่ ตามสทิ ธมิ นุษยชน

สอื่ ประกอบการเรยี นรู
1. อินเทอรเน็ต
2. เอกสารสทิ ธมิ นษุ ยชนสากล
3. บทความทางวชิ าการ

89

เรอื่ งท่ี 1 แนวคิดและหลกั การสิทธิมนษุ ยชน

1. ความหมายสิทธิมนุษยชน

คําวา สิทธิมนุษยชน ในอดีตยังไมเปนท่ีแพรหลาย จนกระท่ังมีการกอตั้งองคการ
สหประชาชาติจึงไดถูกนํามาใชอยางแพรหลายทั้งในระดับภูมิภาคและระดับนานาชาติ ซ่ึงกฎ
บัตรสหประชาชาติไดกลาวถึงสิทธิมนุษยชนไวหลายแหง เชน ในอารัมภบท มีขอความที่
กลา วถงึ ความมุงหมายของสหประชาชาติไวว า

“เพ่ือเปนการยืนยันความเช่ือในสิทธิขั้นพื้นฐานของความเปนมนุษย ในศักดิ์ศรีและ
คุณคาของมนุษยชาติ สทิ ธิมนุษยชน เปนสิทธิประจําตวั ของมนษุ ยทกุ คน เพราะมนุษยทุกคนมี
ศักด์ิศรี มีเกียรติศักด์ปิ ระจําตวั สทิ ธมิ นษุ ยชนไมสามารถโอนใหแกกันได แตนักปฏิบัติการสิทธิ
มนุษยชนใหค ําอธิบายวา เราเรียกส่ิงจําเปนสําหรับคนทุกคนท่ีตองไดรับในฐานะที่เปนคน
ซ่ึงทําใหคนๆ น้ันมีชีวติ อยูรอดไดอ ยา งมคี วามเหมาะสมแกค วามเปน คน และสามารถมีการ
พฒั นาตนเองได วา “สิทธิมนษุ ยชน”

เม่ือนําคําทั้งสองมาประกอบกัน ก็สามารถเขาใจไดวา สิทธิมนุษยชน คือ ส่ิงจําเปน
สําหรับคนทุกคนท่ีตองไดรับในฐานะท่ีเปนคน เพ่ือทําใหคนคน นั้นมีชีวิตอยูรอดไดและมีการ
พัฒนา สิทธมิ นุษยชนจึงมี 2 ระดับ (กรมคุมครองสิทธิและเสรีภาพ ,2555)

ระดบั แรก ระดบั ที่สอง

สิทธิท่ีติดตัวคนทุกคนมาแตเกิด ไม สิทธทิ ตี่ อ งไดร ับการรับรองในรูปของ

สามารถถายโอนใหแกกันได อยูเหนือ กฎหมายหรอื ตองไดร ับการคุมครองโดยรฐั บาล

กฎหมายการมีสิทธิเหลาน้ี ไดแก สิทธิใน ไดแก การไดรับสัญชาติ การมีงานทํา การไดรับ

ชีวิตหามฆาหรือทํารายตอชีวิต หาม ความคุมครองแรงงาน ความเสมอภาคของหญิง

การคามนุษย หามทรมานอยางโหดราย ชาย สิทธขิ องเดก็ เยาวชน ผสู ูงอายุ และคนพิการ

คนทุกคนมีสิทธิในความเชื่อทางศาสนา การไดรับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การประกันการ

ทางการเมอื ง มเี สรภี าพในการแสดงความ วา งงานการไดร ับบรกิ ารทางดา นสาธารณสุข

คิดเห็นและแสดงออก หรือการส่ือ การสามารถแสดงออกทางดานวัฒนธรรมอยาง

ความหมายโดยวิธีอ่ืน สิทธิมนุษยชน อิสระ สามารถไดรับความเพลิดเพลินจากศิลปะ

เหลาน้ีไมจําเปนตองมีกฎหมายมารองรับ วัฒนธรรมในกลุมของตน เปนตนสิทธิมนุษยชน

สิทธิเหลาน้ี ก็ดํารงอยูซ่ึงอยางนอยอยูใน ระดบั ท่สี องนต้ี องเขียนรบั รองไวใ นกฎหมายหรือ

มโนธรรมสํานึกถึงบาปบุญคุณโทษท่ีอยูใน รฐั ธรรมนูญหรือแนวนโยบายพนื้ ฐานของรัฐของ

90

ตัวของแตละคน เชน แมไมมีกฎหมาย แตละประเทศ เพอื่ เปน หลักประกันวาคนทุกคน
บัญญัติวา การฆาคนเปนความผิดตาม ท่ีอยูในรัฐนั้นจะไดรับความคุมครองชีวิตความ
กฎหมาย แตคนทุกคนมีสํานึกรูไดเองวา เปนอยูใหมคี วามเหมาะสมแกค วามเปน มนุษย
การฆาคนนั้นเปนส่ิงตองหาม เปนบาป
ในทางศาสนา เปนตน

2. ขอบเขตของสทิ ธมิ นษุ ยชน

เม่อื พดู ถงึ สิทธิมนุษยชน จึงมคี วามหมายกวางกวา “สิทธิ” ตามกฎหมาย นักกฎหมาย
โดยทว่ั ไปมกั อธิบายวา “สทิ ธิ” คือประโยชนท่ีกฎหมายรับรอง ซ่ึงเปนไปตามหลักกฎหมายใน
ขอบเขตท่ีแคบ ในแงท่ีวาคนจะมีสิทธิได ตองมีกฎหมายรับรองไวเทาน้ัน ถากฎหมายไมเขียน
รับรองไวยอ มไมมสี ทิ ธิ หรอื ไมไ ดร บั สิทธิ แตใ นแงของ “สทิ ธิมนุษยชน” นนั้ ขอบเขตของสิทธิ
มนษุ ยชนกวางกวา สงิ่ ท่ีกฎหมายรับรอง ดังกลาวขางตน สิทธิมนุษยชนที่ไดรับการรับรองทั่ว
โลก วา เปน มาตรฐานขน้ั ตํา่ ของการปฏิบตั ติ อ มนษุ ยน ั้น สามารถจําแนกไดครอบคลมุ สิทธิ
5 ประเภท ไดแก (กรมคมุ ครองสทิ ธแิ ละเสรีภาพ ,2555)

1) สทิ ธิพลเมือง ไดแก สิทธิในชวี ิตและรางกาย เสรีภาพและความม่ันคงในชีวิต ไมถูก
ทรมานไมถ ูกทํารายหรอื ฆา สิทธใิ นกระบวนการยุติธรรม ไดแก สิทธิในความเสมอภาคตอหนา
กฎหมายสิทธิที่จะไดรับการปกปองจากการจับกุมหรือคุมขังโดยมิชอบสิทธิท่ีจะไดรับการ
พจิ ารณาคดีในศาลอยางยุติธรรม โดยผูพิพากษาที่มีอิสระ สิทธิในการไดรับสัญชาติ เสรีภาพ
ของศาสนิกชนในการเชื่อถอื และปฏบิ ัตติ ามความเชอื่ ถือ

2) สิทธิทางการเมือง ไดแก สิทธิในการเลือกวิถีชีวิตของตนเองทั้งทางการเมือง
เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม รวมถึงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เสรีภาพในการแสดง
ความคดิ เหน็ และการแสดงออก สิทธิการมีสวนรวมกับรัฐในการดําเนินกิจการท่ีเปนประโยชน
สาธารณะ เสรีภาพในการชมุ นมุ โดยสงบ เสรีภาพในการรวมกลุม สทิ ธใิ นการเลอื กตั้งอยางเสรี

3) สิทธิทางเศรษฐกิจ ไดแก สิทธิในการมีงานทํา ไดเลือกงานอยางอิสระและไดรับ
คาจา งอยางเปนธรรม สิทธิในการเปนเจาของทรัพยสิน การไดรับมาตรฐานการครองชีพอยาง
พอเพียง

91

4) สิทธิทางสังคม ไดแก สิทธใิ นการไดร บั การศึกษา สิทธิในการไดรับหลักประกันดาน
สุขภาพแมและเด็กตองไดรับการดูแลเปนพิเศษ ไดรับการพัฒนาบุคลิกภาพอยางเต็มที่ ไดรับ
ความมัน่ คงทางสังคม มีเสรีภาพในการเลอื กคูครองและสรา งครอบครัว

5) สทิ ธิทางวฒั นธรรม ไดแก การมเี สรภี าพในการใชภ าษาหรอื ส่อื ความหมายในภาษา
ทองถิ่นตนมีเสรีภาพในการแตงกายตามวัฒนธรรม การปฏิบัติกิจตามวัฒนธรรม ประเพณี
ทอ งถนิ่ ของตน การปฏิบัติตามความเชื่อทางศาสนา การพักผอนหยอนใจดานการแสดงศิลปะ
วฒั นธรรม บนั เทงิ ไดโ ดยไมมีใครมาบังคบั

3. หลักการของสิทธิมนษุ ยชน

ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน นอกจากระบุขอบเขตของสิทธิมนุษยชนวา
ครอบคลุมสิทธิอะไรแลว ตัวปฏิญญาฯ เองยังไดนําเสนอหลักการสําคัญของสิทธิมนุษยชนไว
ดวย หลักการนี้ถือเปนสาระสําคัญท่ีใชอางอิงความเปนสากลของสิทธิมนุษยชน และใชเปน
เครื่องมือช้ีวัดวา สังคมใดมีการเคารพและปฏิบัติตามหลักการสิทธิมนุษยชนหรือไม สําหรับ
หลักการสําคัญของสิทธิมนุษยชน ประกอบดว ย

1) เปน สทิ ธิธรรมชาติติดตัวมนุษยมาแตเกดิ (Natural Rights) หมายความวา มนุษย
ทกุ คนมศี ักดศ์ิ รปี ระจาํ าตัวตง้ั แตเกดิ มาเปนมนุษย ศกั ดิศ์ รคี วามเปนมนุษย (Human Dignity)
นี้ไมม ใี ครมอบใหเ ปน สิง่ ท่ธี รรมชาตไิ ดกําหนดขึ้นในมนุษยท กุ คน

ศักดศ์ิ รคี วามเปน มนุษย หมายถงึ

(1) ศักด์ศิ รีความเปนมนุษย คือ คุณคา ของคนในฐานะทเี่ ขาเปน มนษุ ย

(2) การใหคณุ คา ของมนุษย แบงเปน 2 ประเภท

ก. คุณคาท่ีถูกกําหนดข้ึนโดยสังคม เปนการใหคุณคาของมนุษยใน
ฐานะการดาํ รงตาํ แหนง ทางสงั คม ซึ่งมคี วามแตกตางกันขึ้นอยูกับการมีอํานาจหรือการ
ยึดครองทรัพยากรของสงั คม

ข. คุณคาท่ีถูกกําหนดขึ้นโดยธรรมชาติ เปนการใหคุณคาของมนุษยใน
ฐานะท่ีเปนมนุษย ซ่งึ มคี วามเทา เทยี มกัน ไมแบง แยก

92

(3) การกําหนดคณุ คาที่แตกตางกันนํามาซ่ึงการลดทอนคุณคาความเปนมนุษย
ผคู นในสังคมโดยทั่วไปมักใหคณุ คา ทางสังคม เชน ฐานะตาํ แหนง หรือเงนิ ตรามากกวา ซึ่งการให
คุณคาแบบนี้นามาซ่ึงการเลือกปฏิบัติ จึงตองปรับวิธีคิดและเนนใหมีการปฏิบัติ โดยการให
คุณคา ของความเปน คนในฐานะความเปน มนษุ ย ไมใชใ หค ุณคา คนตามสถานภาพทางเศรษฐกิจ
และสังคม

2) สิทธิมนุษยชนเปนสากลและไมสามารถถายโอนกันได (Universality &
Inalienability) หมายความวา สิทธิมนุษยชนนั้นเปนของคนทุกคน ไมมีพรมแดน คนทุกคนมี
สิทธิมนษุ ยชนตางๆ ดงั ทก่ี ลาวมานี้เชน เดียวกัน เพราะโดยหลักการแลวถือวา คนทุกคนยอมถือ
วาเปนคน ไมวาอยูที่ไหนในโลก ไมวาจะมีเชื้อชาติสัญชาติ เหลากําเนิดใดก็ตาม ยอมมีสิทธิ
มนุษยชนประจําตัวทุกคนไป จงึ เรียกไดว า สทิ ธิมนษุ ยชนเปน ของคนทกุ คนไมวาคนๆ น้นั
จะยากจนหรือรํา่ รวย เปน คนพกิ ารเปนเด็ก เปน ผูห ญิง

สวนทีก่ ลา ววาสิทธิมนุษยชนไมสามารถถายโอนใหแกกันได หมายความวา ในเม่ือสิทธิ
มนุษยชนเปนสิทธิประจําตัวของมนุษย มนุษยแตละคนยอมไมสามารถมอบอํานาจ หรือสิทธิ
มนุษยชนของตนใหแกผ ใู ดไดไมม ีการครอบครองสิทธิแทนกนั แตกตางจากการครอบครองที่ดิน
หรือทรัพยสิน เพราะสิทธิมนุษยชนเปนเร่ืองที่ธรรมชาติกําหนดข้ึน เปนหลักการที่ทุกคนตอง
ปฏิบัติ แตหากจะถามวาในเม่ือสิทธิมนุษยชนเปนของคนทุกคนเชนน้ีแลว สามารถมีสิทธิ
มนษุ ยชนเฉพาะกลมุ ไดห รอื ไม ในทางสากลไดมีการจดั หมวดหมูและกลมุ ของสิทธมิ นุษยชนเปน
สิทธิของกลุมเฉพาะและสิทธิตามประเด็นปญหา เชน สิทธิสตรี สิทธิเด็ก สิทธิในกระบวนการ
ยุติธรรม สทิ ธผิ ตู ิดเชือ้ เอชไอวี เอดส สิทธขิ องผลู ีภ้ ัย เปน ตน

3) สิทธมิ นุษยชนไมสามารถแยกเปน สว นๆ วาสทิ ธิใดมคี วามสาํ คญั กวาอกี สทิ ธหิ น่ึง

(Indivisibility) กลาวคือ สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ไมสามารถแบงแยกวามี
ความสําคัญกวาสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม สิทธิทั้งสองประการนี้ตางมี
ความสําคัญเทาเทียมกัน ดังนั้นรัฐบาลใดจะมาอางวาตองพัฒนาประเทศใหประชาชนมีความ
เปนอยูทางเศรษฐกิจ หรือตองแกปญหาปากทองกอน แลวจึงคอยใหประชาชนมีสวนรวม
ทางการเมอื ง ยอ มขดั ตอหลักการน้ี

93

4) ความเสมอภาคและหามการเลือกปฏิบัติ (Equality and Non-Discrimination)
การเลือกปฏิบัติเปนปญหาที่เกิดข้ึนมานานในทุกสังคม และถือเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน
เพราะเหตุวา ในฐานะทเี่ ราเกดิ มาเปนคน ตองไดรับการปฏบิ ตั อิ ยางเทา เทียมกนั ไมวาจะเปนคน
จน คนรวย คนพิการ เด็ก หรือผูสูงอายุ คนปวยหรือมีสุขภาพดี ความเสมอภาคไมใชการไดรับ
เทากัน เชน การที่นักเรียนทุกคนท่ีทําผิดระเบียบจะตองถูกเฆ่ียน 3 ที เทาๆ กัน อยางน้ีไมถือวา
เปน ความเสมอภาค

ความเสมอภาค คอื การท่ที ุกคนควรไดรับจากสว นท่ีควรได ในฐานะเปนคน เชน
การแจกของผูประสบภัยนาทวม ทุกคนจะไดรับของแจกขั้นพื้นฐาน เชน ไดรับขาวสาร
อาหารแหง ยาปอ งกนั เทา เปอ ย แตหากมีครอบครัวหนึ่ง มีคนปวยท่ีตองการยาเปนพิเศษ หรือ
บางครอบครัวมเี ดก็ ออน ตอ งไดรับนมผงเพ่ิมสําหรบั เด็ก ทางราชการสามารถเพิม่ ยา และนมผง
ใหแกครอบครัวเหลาน้ัน นี่คือความเสมอภาคที่ไดรับ เพราะทุกคนในครอบครัวไดรับแจก
สิ่งจาํ เปน เพือ่ การยังชพี แลว

หลักความเสมอภาค คือ ตองมีการเปรียบเทียบกับของ 2 ส่ิง หรือ 2 เรื่อง และดูวา
อะไรคือสาระสําคัญของเรื่องน้ัน หากสาระสําคัญของประเด็นไดรับการพิจารณาแลว ถือวามี
ความเสมอภาคกนั เชน การทร่ี ฐั จดั เกบ็ ภาษเี งินไดบุคคลไมเทากัน คนท่ีมีรายไดมากก็เสียภาษี
มาก คนที่มีรายไดนอยก็เสียภาษีนอย คนที่มีรายไดไมถึงเกณฑท่ีกําหนดก็ไมตองเสียภาษี
แตการมีรายไดมากหรือนอยเปนสาระสําคัญของการเก็บภาษี ซึ่งเปนธรรมสําหรับประชาชน
การเลอื กปฏิบัตินั้น เปนเหตุใหเกิดความไมเสมอภาค เชน การรักษาพยาบาล หรือการเขาถึง
บรกิ ารสาธารณะของรัฐเปนไปไมท ัว่ ถึง และไมเ ทา เทยี มกนั เพราะมีความแตกตางของบุคคลใน
เร่ืองเช้ือชาติ เชน หากมีแรงงานขามชาติชาวกัมพูชาหรือพมามารักษา เจาหนาที่มักไมอยาก
ใหบ ริการทีด่ ี หรือไมยอมรับรักษาผูมีเช้ือเอชไอวี หรือผูปวยเอดส เปนตนหลักการเร่ืองความ
เสมอภาคและหา มการเลือกปฏบิ ตั ิ ในสังคมไทยนัน้ ปรากฏอยูใ นรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักร
ไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 30 ที่วา การเลือกปฏิบัติเพราะเหตุแหงความแตกตางตามที่
รัฐธรรมนูญกําหนดไว ไมอาจกระทาได ซ่ึงมาตรา 30 ของรัฐธรรมนูญฉบับใหมนี้ มีขอความ
ใกลเ คยี งกบั บทบญั ญตั ขิ องมาตราเดยี วกนั ตามรฐั ธรรมนูญ ป พ.ศ. 2540

94

5) การมีสวนรวมและการเปนสวนหน่ึงของสิทธิน้ัน (Participation & Inclusion)
หมายความวา ประชาชนแตละคนและกลุมของประชาชนหรือประชาสังคมยอมมีสวนรวม
อยางแข็งขันในการเขา ถึงและไดร บั ประโยชนจ ากสทิ ธพิ ลเมอื ง สิทธิทางการเมือง และสิทธิทาง
เศรษฐกจิ สังคมและวฒั นธรรม

6) ตรวจสอบไดและใชหลักนิติธรรม (Accountability & The Rule of Law)
หมายถงึ รฐั และองคกรท่มี หี นาที่ในการกอใหเกิดสทิ ธมิ นุษยชน ตองมีหนาทตี่ อบคําถามใหไดวา
สิทธมิ นุษยชนไดรบั การปฏบิ ัตใิ หเกิดผลจรงิ ในประเทศของตน สว นสทิ ธใิ ดยังไมไดดําเนินการให
เปนไปตามหลักการสากลก็ตองอธิบายตอสังคมไดวา จะมีขั้นตอนดําเนินการอยางไร
โดยเฉพาะรัฐตองมีมาตรการปกครองประเทศโดยใชหลักนิติธรรมหรือปกครองโดยอาศัย
หลักการที่ใชกฎหมายอยางเที่ยงธรรม ประชาชนเขาถึงกระบวนการยุติธรรมไดโดยงายมี
กระบวนการไมซับซอนเปนไปตามหลักกฎหมายและมีความเทาเทียมกันเมื่ออยูตอหนา
กฎหมาย ไมมีใครอยเู หนอื กฎหมายได

4. ความหมายระหวา งสทิ ธมิ นษุ ยชนและสทิ ธิเสรีภาพ

เน่ืองจากมีหลายคนเกิดขอสงสัยวา “สิทธิมนุษยชน” กับ “สิทธิเสรีภาพ” มีความ
เหมอื น หรือความแตกตางกันหรือไม อยา งไร จึงอาจสรปุ ไดว า

“สทิ ธิมนษุ ยชน (Human Rights)” หมายความถึง สิทธิท่ีมีตามธรรมชาติ ซึ่งติดตัว
มนุษยมาตั้งแตเกิด โดยมีความเปนสากลและมีการรับรองไวในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิ
มนุษยชน หรือ กติกา อนุสัญญา ขอตกลงตางๆ ระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชน ท่ีทุก
ประเทศทัว่ โลกใหก ารรบั รอง

“สิทธเิ สรีภาพ” (Rights and Liberties) หมายความถึง สิทธิท่ีมีการบัญญัติรับรอง
ไวในกฎหมายของแตละรัฐ วาประชาชนจะมีสิทธิและเสรีภาพในเรื่องใดมากนอย แคไหน
เพียงใด ขนึ้ อยกู ับบรบิ ทสงั คมของประเทศน้ันๆ

“สิทธิเสรีภาพ” (Rights and Liberties) ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. ๒๕๕๒ ไดบ ัญญัติไวเ ปน ๒ คํา คอื

“สิทธิ” หมายถึง อํานาจอันชอบธรรม บุคคลมีสิทธิและหนาที่ตามรัฐธรรมนูญ และ
อํานาจทจี่ ะกระทาํ การใด ๆ ไดอ ยา งอิสระ โดยไดร ับการรบั รองจากกฎหมาย

95

“เสรภี าพ” หมายถึง ความสามารถที่จะกระทําการใดๆ ไดตามที่ตนปรารถนาโดยไมมี
อุปสรรคขดั ขวาง เชน เสรีภาพในการพูด เสรีภาพในการนับถือศาสนา ความมีสิทธิที่จะทําจะ
พดู ไดโดยไมละเมดิ สิทธิของผูอ่ืนดังนั้นจะเห็นวา “สิทธิมนุษยชน” เปนเร่ืองตั้งแตเกิดจนตาย
เปนสิทธิตามธรรมชาติที่ทั่วโลกใหการรับรอง แตถาเม่ือใดมีกฎหมายบัญญัติในเร่ืองใด
เพือ่ รับรองสทิ ธแิ ละเสรีภาพไวเปนการเฉพาะซึ่งกฎหมายน้ันอาจมีผลทําใหเปนการจํากัดสิทธิ
บางประการ ทั้งน้ีเพื่อความสงบสุขของสังคม อยางไรก็ตามหากกฎหมายใดท่ีมีการจํากัดหรือ
ละเมิดสิทธมิ นุษยชน หรอื ลดิ รอนสทิ ธิเสรภี าพ อาจมกี ารพิจารณาแกไข หรือยกเลกิ กฎหมายน้นั
กไ็ ด

เรอ่ื งท่ี 2 การคมุ ครองปกปอ งตนเองและผอู นื่ ตามหลักสิทธิมนษุ ยชน

หากจะกลา วถึงการคุม ครองตนเองและผูอ่นื ตามหลกั สิทธิมนุษยชน คาํ ถามคือ
การคุมครองสิทธิมนษุ ยชนควรเรม่ิ จากทไี่ หน หากเราจะหาคําตอบจากกวางไปหาแคบ ไดแก
รัฐบาล สังคม สถานที่ทํางาน ครอบครัว และปจเจกบุคคล หากเราจะหาคําตอบจากแคบ
ขยายไปกวาง ก็ตองเร่ิมจาก ปจเจกบุคคล ครอบครัว สถานท่ีทํางาน สังคม และรัฐบาล
หมายความวา การสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนควรเริ่มตนกับทุกๆภาคสวนโดยเฉพาะ
อยางย่งิ การปลูกฝง มโนธรรมสํานึกในแตละปจ เจกชน

เสรภี าพทีม่ นษุ ยทุกคนตองไดร บั เพื่อใหไ ดรบั สทิ ธิตา งๆตามหลกั การพนื้ ฐานของสิทธิ
มนุษยชน คือ

1. เสรีภาพในการแสดงออก
2. เสรีภาพในความเชื่อ
3. เสรภี าพจากความหวาดกลัว และอสิ รภาพท่ีพึงปรารถนา
สาเหตุทมี่ นษุ ยตองไดรับความคมุ ครองสิทธมิ นษุ ยชน เกดิ จาก
1. มนุษยทุกคนเกดิ มาแลว ยอ มมสี ทิ ธิในตวั เอง
2. มนษุ ยเ ปน สตั วสังคม
3. มนษุ ยมีเกียรตภิ ูมทิ ่ีเกดิ มาเปน มนษุ ย
4. มนุษยทุกคนเกิดมามีฐานะไมเทา เทียมกัน


Click to View FlipBook Version