The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสืออนุสรณ์งานพระราชทางเพลิงศพ ท่านพระครูอุทิตธรรมสาร (วิจิตร์ พุทฺธรกฺขิโต) อดีตเจ้าอาวาสวัดบ้านกลาง อดีตเจ้าคณะตำบลห้วยคต อำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by navapars, 2021-04-22 09:19:12

พุทธรักขิตานุสรณ์

หนังสืออนุสรณ์งานพระราชทางเพลิงศพ ท่านพระครูอุทิตธรรมสาร (วิจิตร์ พุทฺธรกฺขิโต) อดีตเจ้าอาวาสวัดบ้านกลาง อดีตเจ้าคณะตำบลห้วยคต อำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี

Keywords: พระครูอุทิตธรรม,วิจิตร์ พุทธรักขิโต,อดีตเจ้าอาวาสวัดบ้านกลาง

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

พทุ ธรกั ขติ านุสรณ์
งานออกเมรุพระราชทานเพลงิ ศพ
พระครอู ทุ ิตธรรมสาร (วิจติ ร์ พทุ ฺธรกขฺ ิโต น.ธ. เอก)
อดตี เจา้ อาวาสวดั บา้ นกลาง อดีตเจ้าคณะตาบลหว้ ยคต
ณ เมรุพเิ ศษวัดบ้านกลาง ต.ห้วยคต อ.หว้ ยคต จ.อุทัยธานี
วนั อาทิตย์ที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๖๔

พทุ ธรักขิตานุสรณ์

พุทธรักขติ านสุ รณ์

วตั ถปุ ระสงค์ : ท่ีระลึกงานออกเมรพุ ระราชทานเพลงิ ศพ
พระครูอทุ ติ ธรรมสาร (วิจติ ร์ พทุ ฺธรกฺขิโต น.ธ. เอก)

คณะผู้จัดทาหนังสอื อนสุ รณ์

ประธานท่ีปรกึ ษา : พระราชอุทัยโสภณดร. เจ้าคณะจังหวัดอทุ ัยธานี

ที่ปรึกษา : พระครอู ดุ มวิสทุ ธธิ รรม เจา้ คณะอาเภอห้วยคต

: พระมหาดุสิต ปยิ วณโฺ ณ ป.ธ.๖, พธ.ม.

เจ้าคณะตาบลห้วยคต

: พระฉตั ชะพล อนาวโิ ล เจ้าอาวาสวัดบา้ นกลาง

: นายชูชาติ จอิ ู๋ กานนั ตาบลหว้ ยคต

: นายวันชัย สพุ รรณ์ ไวยาวัจกรวดั บา้ นกลาง

: นายมานะ สมคั ร ผชู้ ว่ ยไวยาวัจกรวัดบา้ นกลาง

บรรณาธกิ าร : พระมหาธรี โชติ ธีรปญโฺ ญ ป.ธ.๙, พธ.ม.

กองบรรณาธกิ าร : แม่ชีทศั นยี ์ อทิ ธิสขุ นนั ท์

: คณุ ณัฏฐส์ ุมน สมสมาน ศศ.ม. (NIDA)

: นายแพทยบ์ ญุ เลศิ สขุ วฒั นาสินทิ ธิ์

: คุณอภญิ ญาณ์ หงษาภรณบี ุตร

: นางสาวกตกิ า กฤตยาตระการ

: นางสาวสมุ าลี ใจบญุ

พิสูจน์อักษร : นางสาวนิตยา เพชรเฉดิ ฉิน

: นางสาวกลุ ธริ ัตน์ บญุ ธรรม

: คุณนวพรรษ จารัสศรี

ออกแบบปกและรปู เลม่

: นางสาววรารตั น์ คาเมือง

: นายชาคริต ศภุ คตุ ตะ

ภาพประกอบ : นายสรุ ตั น์ ศรีดามา

พิมพเ์ ม่ือ : ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ จานวน ๒,๐๐๐ เลม่

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

พุทธรกั ขติ านสุ รณ์

สานกึ ในพระมหากรุณาธคิ ุณ
.......................................

เม่อื ความทราบถึงสมเด็จบรมบพิตรพระราชสมภารเจ้า พระบาทสมเด็จ
พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว องค์อัครศาสนูปถัมภก ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ว่า
พระครูอุทิตธรรมสาร (วิจิตร์ พุทฺธรกฺขิโต น.ธ. เอก) อดีตเจ้าอาวาสวัดบ้าน
กลาง อดีตเจ้าคณะตาบลห้วยคต ได้ถึงแก่มรณภาพลง เม่ือวันอาทิตย์ท่ี ๙
กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๓ (ตรงกบั วนั แรม ๑ ค่า เดือน ๓) เวลา ๑๕.๓๑ น.

นับจากท่ีพระองค์ได้ทรงทราบความ จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดต่อพระ
ครอู ุทติ ธรรมสาร ตามลาดับดงั นี้

วนั จันทร์ท่ี ๑๐ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๓ ได้ทรงพระกรณุ าโปรดพระราชทาน
น้าหลวงสรงศพและหีบเชงิ ชายประกอบศพ

วนั พุธที่ ๑๗ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔ หมายกาหนดการเดิม จะทรงพระ
กรณุ าโปรดพระราชทานหบี เชงิ ชายประกอบศพ

วนั อาทิตย์ที่ ๒๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ หมายกาหนดการเดิม จะทรงพระ
กรุณาโปรดพระราชทานเพลิงศพ พระครูอทุ ติ ธรรมสาร (วิจิตร์ พทุ ธฺ รกขฺ โิ ต)
ณ เมรพุ เิ ศษ วัดบ้านกลาง ตาบลหว้ ยคต อาเภอหว้ ยคต จังหวัดอุทัยธานี

แต่เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควิด-19 ใน
ประเทศไทย ทั้งในกรุงเทพมหานครและส่วนภูมิภาค ยังมีแนวโน้มที่ต้องเฝ้า
ระวัง จึงจาเป็นตอ้ งหลีกเลย่ี งกจิ กรรมทม่ี ผี ู้คนมาร่วมชมุ นมุ กันเปน็ จานวนมาก

ด้วยทรงห่วงใยในความปลอดภัยของพสกนิกร พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวจึงทรงอนุญาตให้มีการเล่ือนงานพระราชทานเพลิงศพพระครูอุทิต
ธรรมสาร ออกไปพลางก่อน จนกว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส
โควิค-19 จะอยใู่ นความควบคมุ อยา่ งเรยี บร้อยและปลอดภัย

บัดน้ี ได้มีหมายรับสั่งที่ ๓๘๘๔ วันพุธ ท่ี ๑๖ มิถุนายน ๒๕๖๔ เชิญ
หีบศพออกต้ังบาเพ็ญกุศล ณ ศาลาการเปรียญ วัดบ้านกลาง ทรงพระกรุณา
โปรดพระราชทานหีบเชิงชายประกอบศพ

พุทธรกั ขติ านสุ รณ์

วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๖๔ ทรงพระกรุณาโปรดพระราชทาน
เพลิงศพ พระครูอุทิตธรรมสาร (วิจิตร์ พุทฺธรกฺขิโต) ณ เมรุพิเศษ วัดบ้าน
กลาง ตาบลห้วยคต อาเภอห้วยคต จงั หวดั ทัยธานี

พระมหากรุณาธิคุณท้ังปวงน้ี นับเป็นเกียรติประวัติแก่พระครูอุทิตธรรม
สารและญาตวิ งศต์ ระกลู ภมู ียา เป็นลน้ พ้นหาทีส่ ดุ มไิ ด้

ด้วยพระมหากรุณาธิคุณคร้ังนี้ หากพระครูอุทิตธรรมสารหยั่งทราบด้วย
ญาณวิถีใด ๆ ในสัมปรายภพ คงจะพึงมคี วามปีตยิ ินดีเป็นท่ีย่งิ และซาบซึ้งเป็นล้น
พ้นในพระมหากรุณาธิคุณ ท่ีได้ทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานเกียรติอันสูงย่ิง
ในวาระสดุ ทา้ ยแหง่ ชีวติ

คณะสงฆ์จงั หวัดอทุ ัยธานี คณะสงฆว์ ัดบ้านกลาง คณะศิษยานุศิษย์ และ
ญาติวงศ์ตระกูลภูมียาของพระครูอุทิตธรรมสาร พร้อมด้วยราษฎรชาววัดบ้าน
กลาง ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาสถวายพระพร ด้วยความสานึกใน
พระมหากรุณาธคิ ณุ อยา่ งหาทสี่ ดุ มไิ ด้

ขอถวายพระพร

(พระราชอุทัยโสภณ)
เจา้ คณะจังหวัดอุทัยธานี
คณะสงฆว์ ัดบ้านกลาง คณะศษิ ยานศุ ิษย์ และตระกูลภูมียา

พุทธรักขิตานุสรณ์

อารมั ภพจน์

..................................
สมเด็จบรมบพิตรพระราชสมภารเจ้า พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
ผู้ทรงพระคณุ อันประเสริฐ ทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานน้าหลวงสรงศพ พร้อม
ด้วยเคร่ืองเกียรติยศประกอบศพ พระครูอุทิตธรรมสาร (วิจิตร์ พุทฺธรกฺขิโต น.ธ.
เอก) เมื่อวันจันทร์ที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ ศาลาธรรมสังเวชวัดบ้านกลาง
ตาบลห้วยคต อาเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี และทรงพระกรุณาโปรด
พระราชทานเพลิงศพพระครูอุทิตธรรมสาร วันอาทิตย์ ที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ.
๒๕๖๔ ณ เมรุพเิ ศษวัดบา้ นกลาง ตาบลหว้ ยคต อาเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี
พระครูอุทิตธรรมสาร อดีตเจ้าอาวาสวัดบ้านกลาง อดีตเจ้าคณะตาบล
หว้ ยคต เปน็ พระเถระผู้ใหญ่ท่ีสาคัญของคณะสงฆต์ าบลห้วยคต อาเภอห้วยคต
จังหวัดอุทัยธานี กล่าวคือท่านเป็นเจ้าอาวาสรูปแรกของวัดบ้านกลาง เป็น
เจ้าคณะตาบลรูปแรกในเขตอาเภอห้วยคต ท่านมีศีลาจารวัตรงดงาม จึงเป็น
ทร่ี ักใครเ่ คารพนบั ถอื บชู าของเหลา่ ศษิ ยานุศษิ ย์ทั้งบรรพชติ และคฤหัสถ์
ตลอดชวี ิตของพระครูอุทิตธรรมสารได้สนองกจิ การงานพระพุทธศาสนา
ด้วยสติปัญญาวิริยะอุตสาหะอย่างเต็มที่ เป็นกาลังสาคัญในการบริหารกิจการ
พระศาสนาและอนุเคราะห์ศิษยานุศิษย์ ได้พัฒนาวัดให้มีความเจริญรุ่งเรือง
ทั้งในด้านศาสนสถาน การปฏิบัติและการเผยแผ่คาสอน ด้วยคุณงามความดี
ที่ท่านได้บาเพ็ญตลอดมา ท่านจึงได้รับพระราชทานตั้งและเลื่อนสมณศักด์ิ
ต้ังแต่พระครูเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชั้นตรี ที่พระครูอุทิตธรรมสาร พระครู
เจา้ คณะตาบล ชนั้ โท ชัน้ เอก ตามลาดบั ในราชทนิ นามเดมิ
พระครูอุทิตธรรมสารอาพาธด้วยโรคเส้นเลือดหัวใจตีบเป็นเวลาหลายปี
คณะสงฆ์และศิษยานุศิษย์วัดบ้านกลางได้นิมนต์ท่านเข้ารับการรักษาผ่าตัด
เปล่ียนเส้นเลือดหัวใจ ๓ เส้น ณ โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันท่ี ๒๘ สิงหาคม
๒๕๕๘ จากน้ันท่านเข้ารับการรักษาตามกาหนดนัดหมายของแพทย์เร่ือยมา
ท้ังที่โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลอุทัยธานี และโรงพยาบาลห้วยคต จนถึง
กาลมรณภาพ เม่ือวนั ที่ ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ (ตรงกบั วันแรม ๑ ค่า เดือน ๓)

พุทธรกั ขติ านสุ รณ์

แม้เราจะทราบกันดีว่าการสิ้นชีวิตเป็นกฎธรรมชาติเป็นวัฏจักรของ
ทกุ ชีวติ แต่เมือ่ พระครอู ทุ ิตธรรมสารละสังขารลง เหล่าศิษยานุศิษยท์ ง้ั บรรพชิต
และคฤหัสถ์ล้วนอดใจหายไม่ได้ อันเน่ืองจากคณุ งามความดนี านัปการของท่าน
ที่ได้บาเพ็ญประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา พุทธศาสนิกชน และบุคคลทั่วไป
ตลอดระยะเวลาอันยาวนาน จึงนับเป็นการสูญเสียคร้ังย่ิงใหญ่ ยังความ
โศกเศรา้ เสียใจ อาลยั อาวรณ์เป็นอย่างย่ิง

ขออนุโมทนาบุญ ขอบคุณ คณะสงฆ์ คณะเจ้าภาพที่ได้สละแรงกาย
แรงใจ และกาลังทรัพย์ร่วมเป็นเจ้าภาพในการบาเพ็ญกุศล ต้ังแต่สวดอภิธรรม
พวงหรีด ภตั ตาหาร เคร่ืองด่ืม จตุปัจจัยไทยธรรม และการจัดพิมพ์หนังสือ “พุทธ
รกั ขิตานุสรณ์” อทุ ิศถวายพระครูอุทิตธรรมสาร หากทา่ นทราบด้วยญาณวิถีทางใด
ทา่ นคงปลมื้ ใจ ช่นื ชมโสมนสั และอนโุ มทนาสาธุการในสว่ นกศุ ลทุกประการ

ที่สุดนี้ เราท้ังหลายคณะศิษยานุศิษย์ทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ์ใน
พระครูอุทิตธรรมสาร ขอตั้งกุศลจิตอธิษฐาน ขออานาจคุณพระศรีรัตนตรัย
และบุญกุศลที่เราท้ังหลายได้ร่วมกันบาเพ็ญให้บังเกิดมี จงเป็นฤทธี
แกด่ วงวญิ ญาณของพระครอู ุทิตธรรมสาร ณ สัมปรายภพนนั้ ๆ

ขอน้อมกราบอาราธนาอมตคุณทั้งหลายของพระครูอุทิตธรรมสาร ได้โปรด
ป้องกันสรรพภัยพิบัติอุปัทวันตราย ดลบันดาลสรรพม่งิ มงคลท้ังหลายให้บังเกิดมี
แก่วัดบ้านกลาง และคณะศิษยานุศิษย์ทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ์ ตลอดกาล
เปน็ นจิ ดว้ ยเทอญ

คณะศิษยานุศษิ ย์วดั บา้ นกลาง

พทุ ธรักขติ านุสรณ์

จากใจผ้เู ขยี น

......................

อทาสิ เม อกาสิ เม ญาติมติ ฺตา สขา จ เม
เปตาน ทกขฺ ณิ ทชฺชา ปุพฺเพ กตมนุสฺสร ฯ๑
เมื่อบุคคลมาระลกึ ถึงอุปการะทีท่ า่ นได้ทาแล้วแกต่ น
ในกาลก่อนวา่ ผู้นี้ได้ใหส้ ิ่งนแี้ ก่เรา ผ้นู ี้ไดท้ าส่ิงน้แี ก่เรา
ผนู้ ้เี ป็นญาติ เป็นมติ ร เป็นเพื่อนเรา ดงั น้ี กค็ วรให้ทักษิณาทานนี้

แก่ท่านที่ละโลกน้ไี ปแล้ว.
คร้ันเม่ือมนุษย์เราต้องจากกันไปไกลแสนไกล ต่างคนต่างคิดมอบสิ่ง
แทนกายสิ่งแทนใจ ให้ได้ระลึกถึงกัน สิ่งแทนกาย ใช้สิ่งของมีคุณค่าชวนมอง
แล้วระลึกถึงผู้ให้ สิ่งแทนใจ ใช้คุณงามความดีชวนให้ระลึกถึงกัน ดังมีคติว่า
“แนะให้ทา นาให้ดู อยู่ให้เหน็ ” เปน็ ประโยชน์ท้งั ทางโลกและทางธรรม
ผู้เขียนได้รวบรวมประวัติพระครูอุทิตธรรมสารกับวัดบ้านกลางไว้
ในหนังสือพุทธรักขิตานุสรณ์เล่มน้ี จึงทาให้ทราบและเข้าใจย่ิงข้ึนว่า หลวงพ่อ
ได้มอบกายถวายชีวิตให้กับพระพุทธศาสนาอย่างแท้จริง แม้ท่านจะพบปัญหา
อุปสรรคมากมายในการก่อร่างสร้างวัดบ้านกลาง แต่ด้วยแรงศรัทธาต่อ
พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ท่านสู้อดทนจนมีโบสถ์ ศาลา และเสนาสนะต่าง
ๆ ไว้เป็นส่ิงแทนกายให้ระลึกถึงได้เป็นที่พึ่งพาอาศัยของพุทธศาสนิกชน
ท้ังหลาย ส่วนคุณงามความดี มีความเคร่งครัดในพระธรรมวินัย ถือมั่นสัจจะ
มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย รักความสะอาด มีการดาเนินชีวิตที่เรียบง่าย
อยา่ งทห่ี ลวงพ่อ แนะให้ทา นาให้ดู อยู่ให้เห็น เป็นสิ่งแทนใจให้ระลกึ ถึงท่าน

๑ ขุ.ขุ. (บาลี), ๒๕/๙/๑๑.

พทุ ธรักขติ านุสรณ์

ขอใหพ้ วกเราท้ังหลายรว่ มกนั ให้คามั่นทีจ่ ะรว่ มแรงรว่ มใจกันสานตอ่ งาน
ของหลวงพอ่ ท่ีทาไว้ดีแล้ว ให้คงอยู่และพัฒนาข้ึน ดูแลรักษาวัดบา้ นกลางแห่ง
นี้ให้เจริญก้าวหนา้ สมดังเจตนาของหลวงพ่อ เพือ่ เป็นเครื่องเตือนใจให้ระลึกถึง
หลวงพอ่ ผกู้ อ่ ร่างสร้างมาใหเ้ ปน็ พทุ ธรกั ขิตานุสรณส์ ืบไปตราบนานเท่านาน

ด้วยคุณูปการพร้อมกุศลผลบุญท่ีหลวงพ่อได้บาเพ็ญประโยชน์ไว้
ในพระพุทธศาสนา ต่อพุทธศาสนิกชน และต่อชนต่างศาสนา โปรดช่วยนาพา
ดวงวญิ ญาณของหลวงพอ่ ไปสู่สคุ ติสมั ปรายภพจนจบพระนพิ พานเทอญ

ด้วยความเคารพและอาลยั อยา่ งสุดซ้ึง
พระมหาธรี โชติ ธีรปญฺโญ ป.ธ. ๙

พทุ ธรักขิตานุสรณ์

กาหนดการบาเพญ็ กศุ ลงานออกเมรุพระราชทานเพลิงศพ

พระครอู ทุ ติ ธรรมสาร

(วจิ ิตร์ พทุ ฺธรกขฺ โิ ต น.ธ. เอก)
อดตี เจา้ อาวาสวัดบ้านกลาง อดตี เจา้ คณะตาบลหว้ ยคต

ณ เมรพุ เิ ศษวดั บา้ นกลาง ต.ห้วยคต อ.หว้ ยคต จ.อุทัยธานี
วนั ท่ี ๑๖-๒๑ มิถนุ ายน ๒๕๖๔
......................................................

วนั พธุ ท่ี ๑๖ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔ (ตรงกับวนั ข้นึ ๗ คา่ เดอื น ๘)
เวลา ๑๔.๐๐ น. พระราชอุทยั โสภณ เจ้าคณะจังหวัดอุทัยธานี
ประธานพิธีทอดผ้าไตรบงั สุกลุ
-พระครอู ทุ ัยสตุ กจิ รองเจ้าคณะจงั หวดั อุทัยธานี
พิจารณาผ้าบังสุกุล
เวลา ๑๘.๐๐ น. -พระสงฆ์ ๔ รปู สวดพระอภิธรรม
-ถวายจตปุ จั จัยไทยธรรม ทอดผ้าบังสุกุล
-พระสงฆ์ทง้ั นัน้ อนโุ มทนา

วันที่ ๑๗-๑๙ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔ (ตรงกบั วนั ขึ้น ๘-๑๐ คา่ เดือน ๘)
เวลา ๒๐.๐๐ น. -พระสงฆ์ ๔ รปู สวดพระอภธิ รรม
-ถวายจตุปัจจัยไทยธรรม ทอดผ้าบังสุกลุ
-พระสงฆ์ทง้ั นัน้ อนโุ มทนา

พุทธรกั ขิตานุสรณ์

วันอาทิตย์ที่ ๒๐ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔ (ตรงกบั วันข้นึ ๑๑ คา่ เดือน ๘)
เวลา ๑๐.๐๐ น. -พระสงฆ์ ๑๐ รปู สวดพระพทุ ธมนต์
-ถวายภัตตาหารเพลแดพ่ ระสงฆท์ งั้ นั้น
-ถวายจตปุ จั จยั ไทยธรรม
-พระสงฆ์ท้ังน้ัน พิจารณาบังสุกลุ อนุโมทนา
เวลา ๑๒.๐๐ น. พระราชปริยัตสิ ธุ ี รองเจ้าคณะภาค ๓
เจ้าอาวาสวดั ธรรมามูลวรวหิ าร
แสดงพระธรรมเทศนา
-พระสงฆ์ ๗๒ รปู สวดมาติกา-บงั สกุ ุล
-พธิ เี คลอ่ื นหบี ศพไปยงั เมรุพิเศษ ณ มณฑลพิธี
เวลา ๑๔.๐๐ น. -เชิญหบี ศพเวียนเมรุพเิ ศษ ๓ รอบ
-เชญิ หีบศพขน้ึ ประดษิ ฐานบนจิตกาธาน
-ทอดผา้ ไตรบังสกุ ลุ
เวลา ๑๖.๓๐ น. พิธพี ระราชทานเพลงิ ศพ

วันจนั ทรท์ ่ี ๒๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔ (ตรงกบั วนั ขึ้น ๑๒ คา่ เดอื น ๘)
เวลา ๐๘.๐๐ น. -พิธสี ามหาบ (เก็บอฐั ิ) พระสงฆ์ ๓ รปู
พิจารณาผา้ ไตรบงั สุกุล
เวลา ๑๐.๐๐ น. -พระมหาเถระ ๑๐ รูป เจริญพระพุทธมนต์ ฉลองอัฐิ
-ถวายภัตตาหารเพลแด่พระสงฆท์ ัง้ นน้ั
-พระสงฆ์ท้งั น้นั อนโุ มทนา กรวดนา้ รบั พร

-อบุ าสก อบุ าสิกา และผู้มเี กียรตทิ ุกทา่ นรับประทานอาหาร

-เป็นอันเสรจ็ พิธี

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

พุทธรักขิตานุสรณ์

ขอขมาโทษ๒

......................
คณะศษิ ยานุศิษย์ท้ังบรรพชิตและคฤหัสถ์ ตลอดจนคณะผู้จัดทาหนังสือ
พุทธรักขิตานุสรณ์ ได้เรียบเรียงประวัติของหลวงพ่อพระครูอุทิตธรรมสาร
(วิจิตร์ พุทฺธรกฺขิโต น.ธ.เอก) แม้ผู้เรียบเรียงจะมีคารวจิต ด้วยความตั้งใจจริง
และมีความปรารถนาดี แต่อาจมีถ้อยคาและความบกพรอ่ งลว่ งเกิน ด้วยความ
โง่เขลารู้เท่าไม่ถึงการณ์ ผู้เรียบเรียง จึงขอน้อมคารวะกล่าวคาขมาโทษแด่
หลวงพ่อพระครูอุทติ ธรรมสาร ไว้ดังนี้

คาขอขมาโทษ
อจฺจโย โน ภนฺเต อจฺจคฺคมา,
ยถาพล ยถามฬุ หฺ ยถาอกุสล,
ยวฺ าห ภนเฺ ต กทาจิ กรหจ,ิ
ปมาท วา อาคมมฺ , อโยนิโสมนสิการ วา อาคมฺม, มหาเถเร อคารว
อกริมฺหา, กาเยน วา วาจาย วา มนสา วา, สมมฺ ุขาปิ ปรมมฺ ขุ าปิ, ตสฺส
โน ภนฺเต มหาเถโร อจฺจย อจจฺ ยโต ปฏิคฺคณฺหาตุ, อายตึ สวเรยยฺ าถ.

คาแปล
ข้าแต่หลวงพ่อพระครูอุทิตธรรมสาร (วิจิตร์ พุทฺธรกฺขิโต) ผู้เจริญ
โทษล่วงเกินได้ครอบงาเหล่ากระผมผู้มีความโง่เขลา ลุ่มหลง ไม่ฉลาด หลวงพ่อ
ผ้เู จริญ เหล่ากระผมอาศยั ความประมาทบ้าง อาศยั การไตร่ตรองไม่แยบคายบ้าง
ในบางคร้ังบางคราว อาจได้กระทาส่ิงท่ีไม่เป็นคารวะในหลวงพ่อ ด้วยกายก็ตาม
ด้วยวาจาก็ตาม ด้วยใจก็ตาม ท้ังต่อหน้าและลับหลัง ขอหลวงพ่อโปรดรับ
คาสารภาพผิดของเหล่ากระผม ว่าเป็นการสารภาพผิด เพื่อความสารวมระวัง
ของเหลา่ กระผม ในกาลตอ่ ไป เทอญฯ

๒ นายธนติ ย์ อยู่โพธิ์, “ประวตั ิสมเดจ็ พระวนั รัต (เฮง เขมจารมี หาเถระ ป.๙) วดั มหาธาตยุ วุ ราชรงั สฤษฎ์ิ,”
(๒๕๒๕) : -๑๑-.

สารบัญ พุทธรักขติ านสุ รณ์
หมายรับสงั่
สานกึ ในพระมหากรณุ าธิคณุ (ก)
อารมั ภพจน์ (ง)
จากใจผู้เขียน (จ)
กาหนดการบาเพญ็ กุศลงานออกเมรุพระราชทานเพลงิ ศพ (ฉ)
ขอขมาโทษ (ช)
วัดบา้ นกลาง (ซ)

ประวตั วิ ดั บา้ นกลาง : โดยพระครูอุทิตธรรมสาร ๑
ท่ีมาของชอ่ื “วดั บ้านกลาง” ๒

ที่ตั้งวัด ๒

อาณาเขตวัด

ศาสนสถาน

ศาสนวัตถุ

ลาดับเจา้ อาวาส

คาบอกเลา่ ...การสรา้ งวัดบา้ นกลาง

ชวี ประวัติ พระครูอทุ ิตธรรมสาร
๑. ชาติภูมิ
๒. การศกึ ษาในปฐมวยั
๓. ชีวิตใตร้ ม่ ผ้ากาสาวพัสตร์
๔. ศกึ ษาพระปรยิ ตั ิธรรม
๕. งานการคณะสงฆ์
๖. งานการศกึ ษา
๗. งานสง่ เสริมการศกึ ษา
๘. หนา้ ที่การงานพิเศษ
๙. งานเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา
๑๐. งานสาธารณูปการ

พุทธรักขิตานสุ รณ์

๑๑. บญุ บารมีและความสามารถของหลวงพอ่
๑๒. งานสาธารณสงเคราะห์
๑๓. สมณศกั ดิ์
๑๔. ทีด่ นิ ของพอ่
๑๕. หลวงพ่อใชธ้ รรมะชนะทุกข์
๑๖. หลวงพอ่ มีรา่ งกายเสมอื นเกวียนเก่า
โอวาทธรรม ของหลวงพ่อพระครูอุทิตธรรมสาร
หลวงพ่อเล่า เราบนั ทึก
กฎระเบยี บปฏบิ ตั ิของวดั บ้านกลาง โดยพระครูอทุ ิตธรรมสาร
คาแนะนาเกย่ี วกบั อาจาระ โดยพระครอู ทุ ิตธรรมสาร
อปริหานิยธรรม ๗ ประการ (ธรรมทที่ าใหไ้ ม่เส่ือม)
มรณานสุ สติกถา (การระลึกถงึ ความตาย)
หลวงพอ่ ...ในความทรงจาของผม
๑. ปวดหวั หลวงพอ่ ให้กินยาแกป้ วดท้อง
๒. นา้ ลา้ งบาตรช่วยชวี ิต
๓. อยูง่ า่ ย ฉนั งา่ ย
๔. หลวงพ่อกม็ ีอารมณ์ขนั
๕. เร่ืองทผี่ มดใี จมากและดีใจมากกวา่
๖. หลวงพอ่ เก็บถา่ นเผาศพ
๗. กจิ วตั รของหลวงพอ่
๘. หน้าทศ่ี ิษย์วัด
๙. หลวงพอ่ ใหส้ งิ่ ประเสรฐิ สุด
๑๐. โอกาสตอบแทนคณุ
๑๑. หลวงพ่อวัดกาลงั ใจ
๑๒. หลวงพ่อทาไวใ้ หค้ นรุน่ หลงั
๑๓. หลวงพ่อสอนให้เดนิ สู่เส้นทางพน้ ทกุ ข์
คาไวอ้ าลยั

พทุ ธรักขิตานสุ รณ์

วัดบ้านกลาง ภาพถ่ายมุมสูง

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

พทุ ธรักขิตานสุ รณ์

ประวตั ิวัดบา้ นกลาง : โดยพระครูอทุ ิตธรรมสาร

พทุ ธรกั ขติ านุสรณ์

ทีม่ าของชื่อ “วัดบา้ นกลาง”
หลวงพ่อพระครูอุทติ ธรรมสารเล่าให้ลูกศิษย์ฟงั เกยี่ วกับที่มาของชือ่ วัด

ว่า สถานที่ต้ังวัดมีลักษณะเป็นที่ราบสูงอันกว้างใหญ่ หากเรายืนอยู่ในบริเวณ
วัดแล้วมองออกไปให้สุดสายตา จะเห็นภูมิประเทศที่โอบล้อมไปด้วยภูเขา
น้อยใหญ่ต้ังเรียงรายเป็นทิวแถวทอดยาวโดยรอบ เสมือนว่าวัดแห่งนี้ต้ังอยู่
ท่ามกลางแนวเทือกเขา หลวงพ่อเคยมีแนวคิดจะต้ังชื่อวัดแห่งนี้ว่า “วัด
มชั ฌิมาวาส” ซึ่งมีความหมายท่ีสอดคลอ้ งกับชื่อชุมชนบ้านกลาง หน่วยงานที่
เกี่ยวข้องกับการขอต้ังวัดภายในจังหวัดอุทัยธานีได้ให้ชื่อวัดว่า “วัดบ้าน
กลาง” เม่ือได้ช่ือวัดมาแล้ว หลวงพ่อจึงส่งชื่อนี้ไปที่กรมการศาสนา
กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศต้ังเป็นวัดขึ้นในพระพุทธศาสนามีนามว่า
“วัดบา้ นกลาง” เมื่อวนั ที่ ๒๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๖ นับแตบ่ ัดนน้ั เป็นตน้ มา

ท่ตี ้ังวดั
“วัดบ้านกลาง”๓ เป็นวัดราษฎร์๔ สังกดั คณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่

๕๕ บ้านกลาง หมู่ท่ี ๔ ตาบลห้วยคต อาเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี มีท่ีดิน
ตง้ั วัด ๑๘ ไร่ ๑ งาน ๗๕ ตารางวา ตามเอกสารสิทธิ์ น.ส. ๓ เลขที่ ๒๑๖

อาณาเขตวดั
ทิศเหนือ จดทด่ี ินสว่ นบุคคล (ทีด่ ินนายบญุ รอด)
ทศิ ใต้ จดท่ดี ินส่วนบคุ คล (ทด่ี ินนางชมุ เรยี ง)
ทิศตะวนั ออก จดทางเกวยี น
ทศิ ตะวันตก จดทีด่ ินสว่ นบคุ คล (ทด่ี ินนายบุญรอด และลาห้วย
สาธารณะ)

๓ กองพุทธศาสนสถาน สานกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ. ประวัตวิ ัดทว่ั ราชอาณาจักร เล่ม ๗,
พิมพ์ครง้ั ที่ ๑ หนา้ ๓๐๑-๓๐๒.

๔ วดั ราษฎร์ ได้แก่ วัดทไ่ี ดร้ บั พระราชทานทว่ี ิสงุ คามสีมา แต่มิไดเ้ ขา้ บญั ชเี ปน็ พระอารามหลวง. พจนานกุ รม
ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ หน้า ๑๐๕๙.

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

ศาสนสถาน

๑. กฏุ สิ งฆ์ อาคารไม้ ๒ หลัง หลังละ ๖ หอ้ ง กวา้ ง ๕.๕๐

เมตร ยาว ๑๓ เมตร สรา้ งเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๔

๒. หอสวดมนต์ อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก กว้าง ๑๒.๕๐ เมตร

ยาว ๒๕ เมตร สร้างเมอื่ พ.ศ. ๒๕๓๐

๓. หอกระจายข่าวพรอ้ มเคร่ืองขยายเสยี ง

สูง ๑๐ เมตร สร้างเม่อื พ.ศ. ๒๕๓๔

๑)หอสวดมนต์ ๒)กฏุ ิสงฆ์ ๓)หอกระจายข่าวขา่ ว

๔. ฌาปนสถาน (เมร)ุ กว้าง ๔ เมตร ยาว ๘ เมตร

สรา้ งเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๖

๕. อโุ บสถ อาคารคอนกรตี เสรมิ เหล็ก กวา้ ง ๒๐ เมตร

ยาว ๕๐ เมตร สร้างเมอื่ พ.ศ. ๒๕๓๙

๖. ศาลาพักรอ้ น อาคารเรือนไมพ้ ้นื คอนกรตี กวา้ ง ๕.๕ เมตร

ยาว ๓๑ เมตร สร้างเม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๙

๗. ถนนคอนกรีตเสริมเหล็กในลานวดั สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๙

๘. ศาลาธรรมสงั เวช อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก กว้าง ๒๐ เมตร

ยาว ๒๘ เมตร สร้างเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๕๑

๙. ห้องนา้ ห้องสุขา ๒๖ ห้อง อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก กว้าง ๘ เมตร

ยาว ๒๘ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๙

พทุ ธรักขติ านุสรณ์

อโุ บสถ

ศาลาธรรมสังเวช

ห้องนา้ หอ้ งสุขา ๒๖ ห้อง ฌาปนสถาน (เมร)ุ

พุทธรักขิตานุสรณ์

ศาสนวัตถุ
๑. พระประธานประจาอุโบสถ
ปางมารวชิ ยั ขนาดหนา้ ตกั กวา้ ง ๗๐ นิ้ว สงู ๙๐ นิ้ว
๒. พระประธานประจาศาลาการเปรยี ญ (พระพุทธทปี ังกร)
ปางมารวิชยั ขนาดหนา้ ตักกว้าง ๔๐ นิ้ว สูง ๕๐ นิ้ว
๓. พระประธานประจาศาลาธรรมสังเวช (พระพทุ ธรักขิตมหามงคล)
ปางสมาธิ ขนาดหน้าตกั กว้าง ๕๙ นิ้ว สูง ๘๐ นิ้ว

พระประธานประจ้าอุโบสถ พระพุทธทปี ังกร

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

พระพทุ ธรกั ขติ มหามงคล

ลาดับเจา้ อาวาส

๑. พระครอู ุทิตธรรมสาร (วจิ ติ ร์ พทุ ธฺ รกขฺ โิ ต) น.ธ. เอก, ป.บส

ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๖-๒๕๖๓

๒. พระอธกิ ารฉตั ชะพล อนาวโิ ล น.ธ. เอก

ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๖๓ - ปจั จุบัน

พุทธรักขติ านสุ รณ์

คาบอกเล่า...การสรา้ งวัดบ้านกลาง

จากคาบอกเล่าของผู้หลักผู้ใหญ่ ผู้เฒ่าผู้แก่ ถึงความเป็นมาของวัดบ้าน
กลางนั้น ต้องอาศัยความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกันของท้ังพระท้ังโยมร่วมด้วย
ช่วยกันฟันฝ่าอุปสรรคนานัปการกว่าจะได้มาซึ่งวัดท่ีสมบูรณ์นามว่า “วัดบ้าน
กลาง” ซงึ่ เปน็ ศนู ย์รวมจติ ใจของชาวบ้านทกุ คนในชมุ ชนตราบจนทกุ วนั นี้

กว่าครึ่งศตวรรษได้ก่อเกิดชุมชนเล็ก ๆ บนท่ีราบสูงท่ามกลางสภาพ
พ้ืนที่อันโอบล้อมไปด้วยเทือกเขาน้อยใหญ่ ดุจดังพื้นท่ีท่ีถูกโอบกอดด้วย
ขุนเขา เดิมพื้นที่แห่งนี้เป็นท่ีป่าเส่ือมโทรม ต่อมาทางราชการได้จัดสรรเป็น
ที่ดินทากินให้แก่ประชาชน จึงมีผู้คนจากถิ่นอ่ืนย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐานเป็นชุมชน
เล็ก ๆ ค่อย ๆ บุกเบิกพัฒนาท่ีดินทากิน จากที่รกร้างกลายเป็นพ้ืนที่เพาะปลูก
พชื ไร่เขยี วชอมุ่ กอ่ ใหเ้ กิดความเจรญิ พรอ้ ม ๆ กับชมุ ชนท่ีขยายใหญ่ข้นึ

ชาวบ้านนิยมทาเกษตรกรรม คือ ปลูกพืชไร่ในเชิงพาณิชยกรรม ได้แก่
ข้าวโพด มันสาปะหลัง และอ้อย เป็นต้น นอกจากพืชเศรษฐกิจแล้วยังนิยม
ปลูก “ข้าวไร่” ซ่ึงปลูกง่ายงอกงามดีในท่ีดอน โดยอาศัยเพียงน้าฝนที่ตกตาม
ฤดกู าลกเ็ พยี งพอทีจ่ ะได้ข้าวซงึ่ เปน็ อาหารหลักเกบ็ ไวบ้ รโิ ภคในครัวเรือน

พอถึงฤดูทานา ชาวบ้านมักนิยมทาบุญให้แม่โพสพ นอกจากนี้กย็ ังมีงาน
บุญประเพณีตามเทศกาลต่าง ๆ เช่น วันข้ึนปีใหม่ วันสงกรานต์ ทาบุญให้
บรรพบุรุษ งานทาบุญประจาปีของโรงเรียนบ้านกลาง ซึ่งในยุคนั้นยังไม่มีวัด
เป็นสถานที่จัดงานบุญของชาวบ้าน จึงจาเป็นต้องใช้โรงเรียนบ้านกลางเป็น
สถานที่จัดงานบุญทุกครั้ง เพราะเป็นศูนย์กลางของชุมชน โดยอาศัยนิมนต์
พระสงฆ์มาทาบญุ เป็นคราว ๆ ไป

ความยากลาบากของแต่ละงานบุญ คือเร่ืองรับส่งพระสงฆ์ เพราะผู้นา
งานบุญต้องเดินทางไกลไปรับพระสงฆ์จากวัดเขาวงษ์พรหมจรรย์ ซ่ึงเป็นวัด
ใหญ่มีพระสงฆ์พานักอยู่เป็นจานวนมาก โดยได้รับความเมตตาจากหลวงพ่อ
เบ้ิม (พระวิจิตร์ พุทฺธรกฺขิโต) ช่วยรับเปน็ ธุระในการนิมนต์พระสงฆ์และรับเป็น

พุทธรักขติ านสุ รณ์

ประธานสงฆ์ทุกงานบุญด้วยดีเสมอมา แม้วัดเขาวงษ์พรหมจรรย์จะเป็นวัดที่
ใกล้ชุมชนท่ีสุดแล้ว แต่ยังจัดว่าอยู่ห่างไกลถึงยี่สิบกว่ากิโลเมตร บางท่านอาจ
คิดในใจว่าแค่ย่ีสิบกว่ากิโลเมตร “ไกลซะที่ไหน” แต่ต้องนึกถึงภาพย้อนไปใน
อดีต (ราว ๕๐ ปีที่แล้ว) เส้นทางที่ใช้น้ันเป็นเส้นทางเกวียนเต็มไปด้วยความ
ขรุขระเป็นหลุมเป็นบ่อ คดเค้ียวไปตามลาห้วย โดยเฉพาะในฤดูร้อนการ
เดินทางมักเต็มไปด้วยฝุ่น ยิ่งกว่านั้นในฤดูฝนการเดินทางย่ิงลาบากมากข้ึน
ต้องใช้เวลาเดินทางมากย่ิงข้ึน เพราะหนทางจะเฉอะแฉะและล่ืนมาก ถ้าไม่
ระมัดระวังให้ดีก็จะเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย ๆ การนิมนต์พระเช่นน้ีเป็นไปอย่าง
ตอ่ เน่ืองหลายปี จึงนา่ ช่ืนชมทงั้ โยมทไ่ี ปรบั และพระท่ียอมรับนมิ นตม์ า

แม้อุปสรรคจากการเดินทางจะมีมากมายถึงขนาดนี้ ก็มิอาจหยุดยั้ง
ความต้ังใจท่ีประกอบด้วยกุศลจิตคิดจะทาบุญของชาวบ้านได้ แต่ยิ่งกลับเป็น
การจุดประกายความคิดหมายม่ันว่าจาเป็นต้องมีวัดประจาหมู่บ้านของเราทุก
คนให้จงได้ เพราะไมเ่ พียงแต่งานบุญตามเทศกาลเท่าน้ัน แต่ยังได้รับอานิสงส์
ไปถึงการฟังเทศน์ฟงั ธรรม ทาบุญวนั พระ ใส่บาตรยามเช้า ล้วนเป็นบุญกุศลท่ี
ชาวบ้านปรารถนา แถมพ่วงด้วยอีกหน่ึงประโยชน์สาคัญที่มองข้ามไม่ได้เลย
คือ งานฌาปนกิจ

เม่ือเห็นพ้องต้องกันถึงประโยชน์ของการมีวัดเป็นของชุมชน ขั้นตอน
ต่อไปคือต้องคิดว่าจะทาอย่างไรให้มีวัดตามประสงค์ เพราะการสร้างวัดไม่ใช่
เร่ืองง่าย ๆ โดยเฉพาะในถิ่นทุรกันดาร ทุนรอนก็มีไม่มาก จึงต้องมีการรวม
กาลงั ความคดิ ของผู้นาชุมชนและชาวบ้านมาปรกึ ษาหารือกันถึงประเด็นต่าง ๆ
เช่น

๑. การนมิ นต์พระภิกษผุ ู้เป่ียมด้วยคณุ ธรรมความสามารถรูปใดมาช่วย
๒. ปจั จยั ที่ใช้ในการสรา้ งวัดไม่ใช่นอ้ ย ๆ
๓. เรอ่ื งระยะเวลาการก่อสรา้ ง

พุทธรกั ขติ านสุ รณ์

ยังอดหว่ันใจกันไม่ได้ว่าจะเอาเวลาที่ไหนมาช่วยกันสร้างวัด เน่ืองด้วย
ชาวบ้านไม่ได้มีฐานะร่ารวย จะว่าจ้างช่างแพง ๆ ก็คงไม่ไหว ก็ต้องอาศัย
แรงงานชาวบ้านมาช่วยกัน แต่ก็จะติดเร่อื งเวลา ลาพังงานทาไรท่ านาเพื่อเลี้ยง
ปากเลี้ยงท้องก็แทบจะไม่มีเวลาแล้ว จึงยากท่ีจะสละเวลามาช่วยงานได้อย่าง
เตม็ ที่ แล้วปัญหาเหล่านี้จะแกไ้ ขอย่างไร ต้องติดตามตอ่ ไป

กลับมาท่ีเร่ืองของคุณสมบัติพระ คือ เคร่งในศีลในธรรม อยู่ในวินัยสงฆ์
อยู่ง่าย ฉันง่าย ไม่เคยมีเร่ืองเส่ือมเสียให้ผู้คนติฉินนินทา มีบุคลิกผู้นา และมี
ความรู้ความเข้าใจวิถีความเป็นอยู่ของชาวบ้าน ฟังดูคุณสมบัติของพระท่ี
ต้องการ บางคนอาจคิดว่าจะไปหาพระที่ไหน แต่เรื่องน้ีกลับตัดสินใจไม่ยาก
ทุกคนตอบเป็นเสียงเดียวกัน “อาจารย์เบิ้ม” (ขณะน้ันท่านยังเป็นพระหนุ่ม)
เพราะเห็นได้จากจริยวัตรของท่านที่มาร่วมบุญหลายคร้ังหลายปี และยังช่วย
เป็นธรุ ะนมิ นตพ์ ระรปู อืน่ ใหม้ ารว่ มงานบญุ ดว้ ย เรอื่ งเลอื กพระจงึ ไม่ใชเ่ รอื่ งยาก
แต่ท่ีลุ้นกนั ตัวโกง่ คือหลวงพ่อเบ้ิมจะตอบรับนิมนต์มาช่วยสร้างวัดกับชาวบ้าน
หรือไม่ ในท่ีสุดท่านก็ตอบรับยินดีมาช่วยสร้างวัด จึงนับเป็นบุญของชาวบ้าน
แท้ ๆ ประโยคน้ีมิได้กล่าวเกินเลยไปแม้แต่น้อย แค่ได้ทราบว่าหัวขบวนเป็น
ใคร ความม่ันใจก็มาเตม็ เปี่ยม ฝนั ของชาวบา้ นทีจ่ ะมวี ดั คงเป็นจรงิ แนแ่ ท้แลว้

หลวงพ่อและชาวบ้านได้ร่วมกันหาพื้นท่ีเพ่ือสร้างวัด โดยเลือกได้ทาเลท่ี
ดีมาก อยู่ท่ามกลางธรรมชาติอันสงบร่มรื่นรายล้อมด้วยพื้นที่เพาะปลูกของ
ชาวบ้านซ่ึงงอกงามน่ามองย่ิงนัก และเมื่อฤดูเก็บเก่ียวผ่านพ้นไป ก็จะเห็น
ความงามอีกรูปแบบหน่ึง คือเห็นทิวทัศน์โดยรอบเป็นแนวทิวเขาท่ีเรียงราย
โอบล้อมผืนแผ่นดินท่ีคนทั่วไปเรียกกันว่า “บ้านกลาง(ภูเขา)” ซึ่งเป็นท่ีตั้งวัด
บ้านกลางในปัจจุบันนี้ หลวงพ่อเคยกล่าวกบั ลูกศิษย์ถึงสถานที่ต้ังวัดแห่งน้ีว่า
เป็นสถานทส่ี งบสนั โดษเหมาะแกก่ ารบาเพญ็ สมณธรรมมาก

พทุ ธรกั ขติ านสุ รณ์

ภาพจติ รกรรมวัดบ้านกลาง (ยุคแรกเริม่ )
ภาพวาดโดย : นายชาตชิ าย ค้าเมือง

ในท่ีสุดชาวบ้านท้ัง ๔ หมู่ อันได้แก่ หมู่ ๔ บ้านกลาง หมู่ ๖ บ้านบางกุ้ง
หมู่ ๘ บ้านร่องบง และหมู่ ๙ บ้านหนองพรมหน่อ ก็ได้รวบรวมปัจจัยโดยมี
หลวงพอ่ ประสานงานกับเหลา่ ศษิ ยานุศิษย์ รว่ มบุญกันเพื่อซอื้ ที่ดนิ

เม่ือรวบรวมปัจจัยได้เพียงพอท่ีจะชาระค่าท่ีดินแล้ว หลวงพ่อจึงได้
มอบหมายตัวแทนพระสงฆ์และชาวบ้านไปดาเนินการร่วมกับกรมท่ีดิน จน
ไดร้ บั หนงั สือรับรองการทาประโยชน์ น.ส.๓ เลขที่ ๒๑๖ มาเปน็ ท่ีเรยี บรอ้ ย

การสร้างวัดไม่ใช่จะมาเนรมิตกันง่าย ๆ โดยเฉพาะเม่ือได้พระรอบคอบ
อย่างหลวงพ่อ การดาเนินการจึงค่อยเป็นค่อยไปไม่เร่งรีบจนเกินศักยภาพ แต่
ก็ไมช่ ้าแบบปล่อยเวลาให้เปล่าประโยชน์ ทา่ นใหเ้ ริ่มลงมือก่อสร้างกุฏทิ ่ีพกั สงฆ์
เป็นส่ิงแรก ซึ่งได้ดาเนินการไปพร้อมกบั การเดินเรื่องรับโอนที่ดิน เพ่ือจะได้มีที่
พานักจาพรรษาโดยเร็ว ลักษณะท่ีพักจึงเป็นแบบเรียบงา่ ยเป็นเรือนไม้ เสาเก้า
ตน้ หลังคามุงแฝก มรี ะเบยี งสาหรับทาอาหาร และนอกชานสาหรบั ทาบญุ

พทุ ธรกั ขติ านสุ รณ์

ในช่วงเร่ิมต้นการสร้างวัดแห่งน้ี หลวงพ่อจะอยู่เฉพาะช่วงเข้าพรรษา
หลังออกพรรษาท่านก็กลับไปวัดเขาวงษ์พรหมจรรย์ เพ่ือศึกษาธรรมะท่ีจะนา
ความรู้มาใช้สอนเป็นท่ีพึ่งพาแก่เหล่าลูกศิษย์ของท่าน ดังคาประพันธ์ที่หลวง
พ่อนามาเขียนไวท้ ่ีตบู้ รจิ าคของวัดบ้านกลางวา่

วัดจะดี มีหลักฐาน เพราะบ้านชว่ ย
บ้านจะสวย เพราะมีวัด ดดั นสิ ยั
บ้านกับวดั ผลัดกนั ชว่ ย ยง่ิ อวยชัย
ถ้าขัดกนั กบ็ รรลัย ทงั้ สองทาง

ก่อนถึงวันเข้าพรรษา ชาวบ้านจะพร้อมใจกันแต่งขบวนแห่ไปรับหลวง
พ่อกลับมาอยู่จาพรรษา ด้วยเหตุท่ีท่านเป็นพระท่ีรับผิดชอบ มุ่งม่ัน รักษา
สัจจะวาจา ประกอบกับท่านยังอยู่ในวัยหนุ่มที่สมบูรณ์ด้วยพละกาลังบวกกับ
ความสามารถอันโดดเด่นด้านงานช่าง จึงเกดิ ความคืบหน้าของงานก่อสร้างวัด
มาตามลาดับ มีการพัฒนาจากอาคารหลังคามุงแฝก ปรับเปลี่ยนมาเป็นอาคาร
เรือนไม้สองช้ัน มีหลังคาจั่วคู่และใต้ถุนโล่ง ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นศาลา
อเนกประสงค์ชั้นเดียว พื้นติดดินพร้อมท่ีพักสงฆ์อยู่ภายในอาคาร ต่อจากนั้นก็
สร้างกุฏิสงฆ์ ๒ หลงั ขนาบคหู่ อสวดมนต์อยา่ งทเี่ ห็นในปจั จบุ ัน

กล่าวถึงวิธีการสร้างและพัฒนาวัดบ้านกลางของหลวงพ่อ ท่านจะทา
อย่างมีระเบียบแบบแผนซึ่งขึ้นกับกาลและโอกาสที่เหมาะสมจะสร้างส่ิงใด
ก่อนหลัง การก่อสร้างศาสนสถานส่ิงใด หลวงพ่อจะใส่ใจทุกปัจจัยท่ีเก่ียวข้อง
เสมอ เช่น กาลงั แรงงาน ทุนทรพั ย์ จะไมเ่ รง่ งานจนเกนิ ศกั ยภาพของชมุ ชน แต่
ค่อย ๆ ขยับขยายงานออกไปโดยไม่ทิ้งขว้างวัสดุท่ีรื้อถอนออกจากอาคารหลัง
เก่า และได้นาวัสดุเหล่าน้ันกลับมาใช้ประโยชน์กับอาคารหลังใหม่ให้คุ้มค่า
ที่สุด จะสังเกตเห็นได้จากที่ท่านไม่เคยติดค้างค่าก่อสร้าง เพราะเกรงว่าการ
สร้างวดั แทนท่ีจะเปน็ สขุ กลบั นาทกุ ข์มาให้เพราะการเป็นหนี้

พทุ ธรกั ขิตานุสรณ์

หลวงพ่อได้เชิญชวนชาวชุมชนทั้งส่ีหมู่บ้านให้มีส่วนร่วมในการ
ก่อสร้างศาสนสถานต่าง ๆ นอกจากจะประหยัดแล้ว ยังมีข้อดีท่ีชาวบ้านมา
ชว่ ยกันคนละไม้คนละมือเป็นการสร้างความสามัคคี และทีส่ าคัญมคี วามผกู พัน
กบั วัดทีช่ ่วยกนั สรา้ ง

ตัวอย่างการสร้างศาลาอเนกประสงค์ บางส่วนจ้างช่างมาทา บางส่วน
ท่านทาด้วยตนเอง เมื่อถึงคราวเข้าพรรษาท่านได้นาพระสงฆท์ ่ีอยู่จาพรรษาขุด
ดนิ ถมพน้ื นอกจากนใ้ี นชว่ งพลบค่าก็จะมชี าวบา้ นมาชว่ ย โดยหลวงพ่อจะใช้วิธี
ติดตะเกียงเจ้าพายุให้แสงสว่าง ทาให้ชาวบ้านไม่ต้องเสียเวลาทางานในไร่นา
ช่วงเวลากลางวัน จึงนับเป็นความห่วงใยของหลวงพ่อที่มีต่อชาวบ้าน
ขณะเดียวกันงานพัฒนาวัดก็มิได้สะดุดหยุดลง ยังคงดาเนินไปได้อย่างต่อเนื่อง
นับเป็นการตอบโจทย์เร่ืองไม่มีเวลาของชาวบ้านได้อย่างดี ครั้นถึงเวลางานท่ี
ต้องการความต่อเนื่องทันการ เช่น งานเทพื้นคอนกรีต หลวงพ่อจะระดม
ชาวบ้านมาช่วยกันจานวนมากหลายสิบคน ทาให้งานเสร็จเรียบร้อยในเวลาไม่
นาน

เน่ืองด้วยหลวงพ่อมีฝีมือด้านช่าง ซ่ึงเร่ืองน้ีสร้างความประหลาดใจ
ให้กับลูกศิษย์ไม่น้อย ด้วยเหตุท่านจบการศึกษาประถม ๔ แต่กลับมี
ความสามารถเรื่องก่อสร้างอย่างไม่น่าเชื่อ เช่น งานก่ออิฐ โบกปูน หลวงพ่อ
กับพระลูกวัด และลูกศิษย์จะช่วยกันลงมือทาในบางส่วน ลูกศิษย์ลูกหาก็
พลอยได้ความรู้และพัฒนาฝีมือไปด้วย ยงิ่ ศิษยานุศษิ ย์และชาวบ้านไดค้ ลุกคลี
ร่วมงานใกล้ชิดกับหลวงพ่อ ก็ยิ่งเห็นศักยภาพของท่าน ท้ังเรื่องเงินและเวลา
สามารถรบั มอื ได้อย่างราบรื่น

จากความเพียรพยามของหลวงพ่อและชาวบ้านในการพัฒนาสานักสงฆ์
ให้เป็นวัดก็ก้าวหน้าสัมฤทธ์ิผล เม่ือกรมการศาสนากระทรวงศึกษาธิการเห็น
ควรอนุมัติออกประกาศให้ต้ัง “สานักสงฆ์ของชาวบ้านกลาง”น้ี จดทะเบียน
เป็นวัดในบวรพระพุทธศาสนามีนามว่า “วัดบ้านกลาง” สังกัดคณะสงฆ์

พุทธรกั ขติ านุสรณ์

มหานิกาย ต้ังแต่วันท่ี ๒๗ ตุลาคม ๒๕๒๖ เป็นต้นมา และในปีถัดมามหาเถร

สมาคมได้พิจารณาแต่งตั้งหลวงพ่อเบ้ิม “พระวิจิตร์ พุทฺธรกฺขิโต น.ธ.เอก” ให้

ดารงตาแหน่งเจ้าอาวาสวัดบ้านกลางเมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๗

การดารงตาแหน่งเจ้าอาวาสวัดบ้านกลาง นามาซ่ึงการพัฒนาวัดอย่าง

ต่อเนื่องทาให้งานรุดหน้าต่อไป จนได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่

๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๙ ต่อมาจึงมีการสร้างโบสถ์ ในท่ีสุดงานสร้างวัดบ้าน

กลางก็สาเร็จลุล่วงสมบูรณ์พร้อมให้กุลบุตรได้บวชเรียนในพระพุทธศาสนา

เพ่ือนาหลักธรรมคาสอนของพระพุทธองค์มาถ่ายทอดสู่พุทธศาสนิกชนและ

บุคคลผู้สนใจใคร่ศึกษา ได้น้อมนาพระธรรมคาสอนมาประพฤติปฏิบัติในการ

ดารงชีวิตให้มีศีลมีธรรมรักษาตนตลอดไป แม้หลวงพ่อจะเป็นพระพูดน้อยแต่

การสอนด้วยวิธี “แนะให้ทา นาให้ดู อยู่ให้เห็น” เป็นสิ่งที่ศิษยานุศิษย์ที่มี

ปัญญาจะเข้าถึงได้ เมื่อมองผ่านผลงานการสร้างศาสนสถานที่ท่านสร้างเท่าที่

จาเป็นและหมั่นบารุงรักษา โดยยึดหลักประโยชน์สูง ประหยัดสุด แข็งแรง

ทนทาน สวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อยดูสบายตา พาให้ร่มเย็นเป็นสุขกาย

สุขใจ ในสภาพแวดล้อมท่ีรม่ รน่ื ด้วยรม่ ไม้รม่ ธรรม

เยน็ เงาพฤกษม์ ่งิ ไม้ สุขสบาย

เยน็ ญาติสขุ สาราย กว่าไม้

เยน็ ครยู ง่ิ พนั ฉาย กษัตรยิ ์ยงิ่ ครนู า

เย็นร่มพระเจา้ ให้ ร่มฟา้ ดินบน

(สมเดจ็ ฯ กรมพระยาเดชาดศิ ร)

ไม่ว่าจะเกดิ อะไรข้ึน สาเร็จหรอื ล้มเหลว หลวงพ่อและชาวบ้านไม่เคย
ปล่อยมือจากกนั ความสาเร็จของวัดบา้ นกลาง ไมใ่ ช่เพราะโชคช่วย แตเ่ ป็น
เพราะความมุง่ มัน่ ตง้ั ใจจรงิ ของหลวงพอ่ พระครอู ทุ ติ ธรรมสาร ศิษยานุศิษย์
และชาวบา้ นทั้งสหี่ มู่ จึงมีวัดบ้านกลาง ณ วันนี้

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

พุทธรักขติ านุสรณ์

ชวี ประวตั ิ พระครอู ทุ ิตธรรมสาร
(วิจติ ร์ พทุ ธฺ รกฺขโิ ต น.ธ.เอก)

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

พุทธรกั ขติ านสุ รณ์

ชวี ประวัติ
พระครูอทุ ติ ธรรมสาร (วจิ ติ ร์ พทุ ฺรกขฺ ิโต น.ธ.เอก)
อดตี เจา้ อาวาสวดั บา้ นกลาง อดีตเจา้ คณะตาบลหว้ ยคต

..................................
๑. ชาติภมู ิ

พระครูอุทิตธรรมสาร มีนามเดิมว่า วิจิตร์ ภูมียา เกิดวันพฤหัสบดี ที่
๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๔๙๑ ตรงกับวันขึ้น ๑๑ ค่า เดือน ๑๒ ปีชวด ณ
บา้ นเลขท่ี ๕๙ หมู่ ๑ ตาบลวงั หนิ อาเภอบา้ นไร่ จงั หวดั อทุ ัยธานี
บิดาชอื่ นายบาน มารดาช่อื นางทิพย์ นามสกุล ภมู ยี า

พอ่ บาน ภูมียา แม่ทพิ ย์ ภมู ยี า

มพี น่ี อ้ ง ๕ คน คอื

๑. นายเฮยี ง ภมู ยี า มชี วี ติ อยู่
เสียชีวิตแล้ว
๒. นางสมจติ ร มะลิสา เสียชีวติ แล้ว
มรณภาพ
๓. นายสมคิด ภูมยี า มีชวี ติ อยู่

๔. พระครูอุทิตธรรมสาร (วจิ ิตร์ พุทธฺ รกฺขโิ ต)

๕. น.ส.สมพาน ภมู ยี า

๒. การศึกษาในปฐมวัย
เมื่อวัยเด็กได้ศึกษาท่ีโรงเรียนวัดเขาวงษ์พรหมจรรย์ ต.วังหิน อ.บ้านไร่

จ.อทุ ยั ธานี สาเรจ็ การศกึ ษาชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๐๓

พทุ ธรักขติ านุสรณ์

๓. ชีวติ ใตร้ ่มผา้ กาสาวพสั ตร์
หลวงพ่ออุปสมบทเมื่ออายุ ๒๑ ปี วันเสาร์ท่ี ๑๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๒

ตรงกับวันขึ้น ๔ ค่า เดือน ๖ ปีระกา ณ พัทธสีมาวัดเขาวงษ์พรหมจรรย์
ต.วังหิน อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี ได้รับฉายาว่า “พุทฺธรกฺขิโต” แปลว่า ผู้รักษา
คาสอนของพระพุทธเจ้า (มีนยั วา่ ผ้ปู ฏบิ ตั ิตามคาสอนของพระพทุ ธเจา้ )

พระครูอเุ ทศธรรมนวิ ฐิ เจา้ อาวาสวัดบ้านไร่ อ.บ้านไร่ จ.อุทัยธานี
เป็นพระอุปชั ฌาย์

พระใบฎกี าบุญกอง ยตุ ฺติโก (พระครูอทุ ิศพรหมจรรย)์ เจา้ อาวาส
วัดเขาวงษพ์ รหมจรรย์ ต.วังหนิ อ.บา้ นไร่
จ.อุทยั ธานี เป็นพระกรรมวาจาจารย์

พระสาเนียง อินทฺ โก วดั เขาวงษพ์ รหมจรรย์ ต.วงั หนิ อ.บ้านไร่
จ.อทุ ัยธานี เปน็ พระอนุสาวนาจารย์

พระครูอเุ ทศธรรมนวิ ฐิ พระครอู ุทิศพรหมจรรย์
พระอปุ ัชฌาย์ พระกรรมวาจาจารย์

พทุ ธรักขิตานสุ รณ์

หนังสอื สทุ ธิของ
พระครอู ุทติ ธรรมสาร (วิจิตร์ พุทฺธรกฺขิโต)

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

พทุ ธรกั ขติ านสุ รณ์

๔. ศึกษาพระปรยิ ตั ธิ รรม

หลวงพ่อได้ศึกษาพระปริยัติธรรมตามหลักสูตรท่ีคณะสงฆ์กาหนดและ

สอบผ่านไดต้ ามลาดับดังน้ี

พ.ศ. ๒๕๑๓ สอบไดน้ ักธรรมชั้นตรี ณ สานกั ศาสนศึกษา

วดั เขาวงษพ์ รหมจรรย์ อ.บา้ นไร่ จ.อุทยั ธานี

พ.ศ. ๒๕๑๔ สอบได้นักธรรมช้ันโท ณ สานักศาสนศกึ ษา

วดั อินทราราม อ.สรรพยา จ.ชัยนาท

พ.ศ. ๒๕๑๕ สอบไดน้ กั ธรรมชั้นเอก ณ สานกั ศาสนศกึ ษา

วดั พระบรมธาตุ อ.เมอื ง จ.กาแพงเพชร

พ.ศ. ๒๕๕๑ สาเรจ็ การศกึ ษาระดับประกาศนยี บัตรการบรหิ าร

กิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ-

ราชวิทยาลยั วทิ ยาลัยสงฆ์นครสวรรค์ หน่วยวิทยบรกิ าร

วัดหนองขนุ ชาติ จ.อุทยั ธานี

พทุ ธรักขติ านุสรณ์

๕. งานการคณะสงฆ์
ด้วยผลงานการก่อสร้างศาสนสถานไว้ในพระพุทธศาสนาอันเป็นท่ี

ประจักษ์แล้ว ทางมหาเถรสมาคมจึงพิจารณาแต่งต้ังหลวงพ่อให้ดารงตาแหน่ง
เจ้าอาวาสวัดบ้านกลาง ตั้งแต่วันท่ี ๑๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๗๕ ซึ่งในขณะน้ัน
ทา่ นมอี ายุ ๓๖ ปี ๑๕ พรรษา ท่านเป็นเจา้ อาวาสรูปแรก ของวดั บ้านกลาง

๕ พระราชบญั ญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕, ข้อ ๒๓ แหง่ กฎมหาสมาคม ฉบบั ท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๕๐๖).

พุทธรกั ขิตานสุ รณ์

เมื่อหลวงพ่อได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดบ้านกลางแล้ว ท่านได้ปฏบิ ัติ
หน้าที่ด้วยความเมตตา อบรมส่ังสอนพระภิกษุสามเณรท่ีอยู่ในการปกครอง
ให้ดารงตนอยู่ในพระธรรมวนิ ัยด้วยความเรยี บรอ้ ย

๕.๑ ระเบียบการปกครองพระภิกษุสามเณรของวัดบ้านกลาง หลวง
พอ่ ไดต้ งั้ กฎระเบียบปกครองพระภกิ ษุสามเณรของวดั บ้านกลางไว้วา่ พระภกิ ษุ
สามเณรต้องประพฤติปฏิบัติตามพระธรรมวินัย พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ กฎ
มหาเถรสมาคม คาสั่ง พระบัญชาของสมเด็จพระสังฆราช และระเบียบต่าง ๆ
ของคณะสงฆ์ท่ีสั่งโดยชอบตามพระธรรมวินัยและกฎหมายบ้านเมือง ที่สาคัญ
คือพระภิกษุสามเณรท่ีอาศัยอยู่ในวัดต้องดารงตนอยู่ในหลักอปริหานิยธรรม๖
๗ ประการ

๕.๒ กฎระเบียบปฏิบัติของวัดบ้านกลาง ให้พระภิกษุสามเณรทุกรูปท่ี
อยู่ในวัดบ้านกลางต้องประพฤติปฏิบัติตามกฎระเบียบปฏิบัติของวัด และต้อง
มอี าจาระ๗เป็นท่นี า่ เล่อื มใสศรทั ธาของชาวบ้าน

๕.๓ กิจวัตรประจาวัน หลวงพอ่ จะนาพระภิกษุสามเณร ทาวตั รสวดมนต์
เช้า-เย็นทุกวัน และภายในพรรษาให้สวดพระปาติโมกข์ทุกก่ึงเดือน เว้นแต่มีกิจ
จาเป็นที่ท่านไมส่ ามารถนาพระภกิ ษุสามเณรทากิจวัตรประจาวันได้ด้วยตนเอง
แตท่ า่ นยงั กาชบั ทัง้ พระและเณรใหท้ ากิจวตั รเป็นปกติมิใหล้ ะเว้น

หน้าที่สาคัญที่ขาดมิได้ของหลวงพ่อคือการบริหารจัดการความสะอาด
บริเวณวัด จัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ของสงฆ์ทุกชนิดภายในวัดอย่างเป็นระเบียบ
เรียบร้อย ตามคติท่ีว่า “หยบิ ใช้ก็ง่าย หายก็รู้ ดูก็งามตา” จนเป็นที่ประจักษ์
แจ้งแก่คณะสงฆ์ พระภิกษุสามเณรและชาวบ้านท่ัวไปที่มาเยี่ยมเยือนวัดบ้าน
กลาง

๖ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), ปัจจุบันสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ให้ความหมายอปริหานิยธรรม
ไว้ว่า “ธรรมอันไม่เป็นท่ีตั้งแห่งความเสื่อม เป็นไปเพ่ือความเจริญฝ่ายเดียว สาหรับหมู่ชน หรือผู้บริหาร
บ้านเมอื ง. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบบั ประมวลธรรม พมิ พร์ วมเลม่ ๓ ภาค (๒๕๕๒) : ๒๘๙/๒๑๑.

๗ บนั ทกึ ของหลวงพอ่ พระครอู ทุ ิตธรรมสาร (วิจิตร์ พุทธฺ รกฺขิโต).กฎระเบยี บปฏิบัตขิ องวัดบา้ นกลาง
และคาแนะนาเกย่ี วกบั อาจาระ. ดใู นเล่มน.้ี

พทุ ธรกั ขติ านสุ รณ์

๕.๔ ปฏิบัติหน้าท่ีเจ้าคณะตาบล ทางมหาเถรสมาคมได้พิจารณาเห็น
ว่าหลวงพ่อมีความรู้ความสามารถในการปกครองคณะสงฆ์ จึงแต่งตั้งให้เป็น
รองเจ้าคณะตาบลห้วยคต๘ เม่ือวันที่ ๑๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๗ เพื่อให้ท่าน
รับภารธรุ ะของพระพุทธศาสนาด้านการปกครองคณะสงฆใ์ หก้ ว้างออกไป

๘ พระราชบญั ญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ แกไ้ ขเพ่มิ เติมโดยพระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆ์ (ฉบบั ที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕, ข้อ ๒๔ แห่งกฎมหาสมาคม ฉบบั ที่ ๑๖ (พ.ศ. ๒๕๓๕).


Click to View FlipBook Version