The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสืออนุสรณ์งานพระราชทางเพลิงศพ ท่านพระครูอุทิตธรรมสาร (วิจิตร์ พุทฺธรกฺขิโต) อดีตเจ้าอาวาสวัดบ้านกลาง อดีตเจ้าคณะตำบลห้วยคต อำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by navapars, 2021-04-22 09:19:12

พุทธรักขิตานุสรณ์

หนังสืออนุสรณ์งานพระราชทางเพลิงศพ ท่านพระครูอุทิตธรรมสาร (วิจิตร์ พุทฺธรกฺขิโต) อดีตเจ้าอาวาสวัดบ้านกลาง อดีตเจ้าคณะตำบลห้วยคต อำเภอห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี

Keywords: พระครูอุทิตธรรม,วิจิตร์ พุทธรักขิโต,อดีตเจ้าอาวาสวัดบ้านกลาง

พุทธรกั ขติ านสุ รณ์

๔๐. เวลาเขา้ ประชมุ ตอ่ หนา้ ผใู้ หญห่ รอื ญาติโยม ไมค่ วรน่งั ทา้ วแขน ก้มหน้า
หรือเอนหลัง

๔๑. ไมค่ วรนงั่ เสมอแถวเดียวกบั ผใู้ หญ่ ควรนัง่ เย้ืองแถวถัดลงมา ถ้าจาเปน็
ต้องนัง่ แถวเดียวกบั ผูใ้ หญ่ ควรนัง่ ทางซ้ายผใู้ หญ่

๔๒. เวลาประชุมหรือไปในงานพธิ ี ควรไปถึงสถานที่กอ่ นผูใ้ หญ่
อยา่ ใหผ้ ้ใู หญ่ไปรอผนู้ อ้ ย ผู้น้อยควรจะไปรอตอ้ นรบั ผู้ใหญ่
จึงจะชอบด้วยระเบยี บ

๔๓. เวลาเข้าหรอื ออก เม่ือเลกิ ประชุมไมค่ วรแยง่ กัน
๔๔. เวลาไปในงานพธิ ี ไมค่ วรลกุ กอ่ นหัวหน้าหรือประธาน
๔๕. การจับตาลปัตรในงานพธิ ีท่ัวไปใช้มอื ขวา ถา้ บังสกุ ลุ ใชม้ ือซ้าย
๔๖. ในงานพธิ เี จรญิ พุทธมนต์ ใหว้ างตาลปัตรขา้ งขวา วางย่ามไวข้ า้ งซา้ ย

ของเราเสมอไป
๔๗. วันโกน ถา้ จะไปงานพธิ ีตอนเช้าไม่ต้องโกนศีรษะ ถ้าจะไปงานพธิ ี

ตอนบ่ายตอ้ งโกนกอ่ นแล้วจึงไป
๔๘. ควรมผี า้ กราบตดิ ยา่ มไปในงานพิธที กุ ครั้ง การใชผ้ ้าเช็ดหน้าหรือผา้ อื่น

รับของท่สี ตรีนามาถวาย เป็นการไมค่ วร
๔๙. ในงานพิธี ถา้ เขาปูผ้าขาวกว้างยาวกว่าอาสนะออกมา ไม่ควรเหยยี บ

ผ้าขาว ควรเดินเขา่ ไปจนถึงอาสนะแลว้ จงึ น่งั
๕๐. เวลาไปในงานพธิ ี ไมค่ วรเหยียบอาสนะแล้วน่ังลงเลยทเี ดยี ว

เป็นกรยิ าไมส่ ภุ าพ ควรคกุ เขา่ นง่ั ลงหนา้ อาสนะแลว้ เดนิ เข่าเข้าไป
๕๑. เวลาจะเปลย่ี นทา่ นง่ั พับเพยี บ ควรนั่งคุกเข่ากอ่ น
๕๒. ให้ช่วยกนั ดแู ลรกั ษาความสะอาดในกุฏิหรือในคณะ
๕๓. อยา่ ท้งิ เศษกระดาษลงทางหน้าต่าง หรือบริเวณวัด

หรือสถานทสี่ าธารณะ
๕๔. ขออานาจคุณพระศรรี ตั นตรัยและบญุ กุศลท่ีบาเพญ็ นี้ จงบนั ดาล

ใหเ้ จรญิ ดว้ ยอายุ วรรณะ สุขะ พละ ปฏภิ าณธนสารสมบัติ
และประสบส่ิงอนั พึงปรารถนาทุกทพิ าราตรีกาลเทอญ

พทุ ธรักขิตานุสรณ์

อปรหิ านยิ ธรรม ๗ ประการ๒๒
๑. ภกิ ษุพึงหวังไดแ้ ตค่ วามเจริญ๒๓อย่างเดียว ไม่มีความเสื่อมเลย

ตราบเทา่ ที่ภิกษยุ ังหมั่นประชุมกนั เนืองนติ ย์ ประชมุ กันมากคร้ัง
๒. ภกิ ษพุ งึ หวังได้แตค่ วามเจรญิ อย่างเดียว ไม่มคี วามเสื่อมเลย

ตราบเท่าท่ภี กิ ษุยงั พรอ้ มเพรยี งกันประชุม พร้อมเพรยี งกนั เลิกประชุม
และพร้อมเพรยี งกันทากจิ ที่สงฆ์จะพงึ ทา
๓. ภกิ ษพุ งึ หวังได้แต่ความเจริญอย่างเดยี ว ไมม่ ีความเสื่อมเลย
ตราบเท่าทภ่ี กิ ษยุ งั ไม่บัญญัตสิ งิ่ ท่ีเรามิไดบ้ ญั ญัติไว้ ไมล่ ม้ ลา้ งสง่ิ ทเี่ รา
ได้บญั ญัติไว้แลว้ ถอื ปฏิบัติมนั่ ตามสกิ ขาบทท่เี ราบญั ญัติไว้แล้ว
๔. ภกิ ษพุ งึ หวังได้แต่ความเจริญอยา่ งเดยี ว ไม่มีความเส่ือมเลย
ตราบเทา่ ทภ่ี กิ ษุยงั สกั การะ เคารพ นับถอื บูชาภกิ ษุผู้เปน็ เถระ
เป็นรัตตญั ญู๒๔ บวชมานาน เปน็ สงั ฆบิดร เป็นสงั ฆปรณิ ายก
และสาคัญถ้อยคาของทา่ นเหลา่ นนั้ ว่าเป็นสิ่งควรรบั ฟงั
๕. ภกิ ษุพงึ หวังไดแ้ ตค่ วามเจริญอย่างเดยี ว ไม่มคี วามเส่อื มเลย ตราบเทา่ ที
ภิกษยุ ังไมต่ กอยู่ในอานาจแหง่ ตัณหาก่อให้เกิดภพใหม่ที่เกดิ ขึน้ แลว้
๖. ภิกษุพึงหวงั ไดแ้ ตค่ วามเจรญิ อยา่ งเดยี ว ไม่มีความเสอื่ มเลย
ตราบเทา่ ที่ภิกษุยังเป็นผูม้ ุ่งหวงั เสนาสนะปา่
๗. ภิกษุพึงหวงั ไดแ้ ต่ความเจรญิ อย่างเดยี ว ไมม่ ีความเสอ่ื มเลย
ตราบเท่าทภ่ี กิ ษยุ ังตัง้ สติไว้ในภายในว่า “ทาอยา่ งไร เพื่อนพรหมจารี
ทั้งหลายผมู้ ีศลี งามท่ยี งั ไม่มา พึงมา ทา่ นท่ีมาแลว้ พึงอยู่อย่างผาสกุ ”

๒๒ ที.ม. (ไทย), ๑๐/๑๓๖.๘๒-๘๓.
๒๓ ความเจรญิ ในทนี่ หี้ มายถึงความเจรญิ ดว้ ยคุณธรรมมีศีลเป็นต้น (ที.ม.อ. (บาล)ี ๒/๑๓๖/๑๒๖)
๒๔ เป็นเถระ ในท่ีน้ีหมายถึงเป็นผู้มีความมั่นคง (ถิรภาวะ) ในพระศาสนา ไม่หวนคืนไปสู่เพศคฤหัสถ์อีก

ประกอบด้วยคุณธรรมที่ให้เป็นพระเถระ คือ ศีลเป็นต้น รัตตัญญู เป็นตาแหน่งเอตทัคคะท่ีพระอัญญา-
โกณฑัญญะได้รับยกย่องจากพระพุทธเจ้ามีความหมายว่ารู้ราตรีนาน คือ บวชรู้แจ้งธรรม และเป็น
พระขณี าสพกอ่ นพระสาวกท้งั หลาย (ที.ม.อ. (บาลี) ๒/๑๓๖/๑๒๖, ที.ม.ฏีกา (บาล)ี ๑๓๖/๑๕๕)

พทุ ธรักขติ านสุ รณ์

อปริหานิยธรรม ๗ (อกี หมวดหน่งึ )๒๕
๑. ภกิ ษุพงึ หวังได้แตค่ วามเจรญิ อยา่ งเดียว ไมม่ คี วามเสื่อมเลย
ตราบเทา่ ท่ีภกิ ษุยังเป็นผู้ไมช่ อบการงาน๒๖ ไม่ยินดกี ารงาน ไม่หมั่น
ประกอบความเป็นผ้ชู อบการงาน
๒. ภิกษุพึงหวงั ได้แตค่ วามเจริญอยา่ งเดียว ไมม่ ีความเสอ่ื มเลย
ตราบเท่าที่ภิกษุยงั เปน็ ผไู้ มช่ อบการพูดคยุ ๒๗ ไมย่ ินดีการพดู คยุ
ไมห่ มั่นประกอบความเปน็ ผู้ชอบการพูดคยุ
๓. ภกิ ษุพึงหวังได้แตค่ วามเจรญิ อย่างเดียว ไม่มีความเสื่อมเลย
ตราบเทา่ ท่ีภิกษุยงั เปน็ ผไู้ มช่ อบการนอนหลบั ไมย่ นิ ดีการนอนหลับ
ไม่หม่ันประกอบความเป็นผชู้ อบการนอนหลับ
๔. ภกิ ษุพึงหวังไดแ้ ตค่ วามเจริญอยา่ งเดียว ไมม่ ีความเสอ่ื มเลย
ตราบเท่าท่ภี ิกษุยังเปน็ ผไู้ ม่ชอบการคลุกคลีด้วยหมู่ ไม่ยินดีการคลุกคลี
ด้วยหมู่ ไมห่ มัน่ ประกอบความเปน็ ผู้ชอบการคลุกคลีด้วยหมู่
๕. ภิกษพุ ึงหวังได้แตค่ วามเจรญิ อยา่ งเดียว ไมม่ คี วามเส่ือมเลย
ตราบเทา่ ทภ่ี กิ ษุยังเป็นผู้ไมม่ คี วามปรารถนาชัว่ ไม่ตกไปส่อู านาจ
ของความปรารถนาช่วั
๖. ภิกษุพึงหวังได้แต่ความเจริญอยา่ งเดียว ไม่มีความเสอ่ื มเลย
ตราบเท่าที่ภิกษุยังไม่มมี ติ รช่ัว สหายช่วั เพอ่ื นชัว่
๗. ภกิ ษพุ งึ หวงั ไดแ้ ต่ความเจรญิ อยา่ งเดียว ไม่มคี วามเสื่อมเลย ตราบเท่าที่
ภกิ ษุยงั ไม่ถึงความหยดุ ชะงกั ในระหว่างเพียงเพราะบรรลุคุณวิเศษ
ชนั้ ตา่

๒๕ ที.ม. (ไทย), ๑๐/๑๓๗/๑๘๓-๑๘๔.
๒๖ ไม่ชอบการงาน ในที่น้ีหมายถึงไม่เพลิดเพลินอยู่ด้วยการทางานทั้งวัน เช่น การทาจีวร การทาผ้ากรองน้า

จนไมม่ ีเวลาบาเพ็ญสมณธรรม ถา้ ทา่ นร้จู ักแบ่งเวลา ถงึ เวลาเรยี นกเ็ ขา้ เรียน ถึงเวลาสวดมนต์ก็สวด ถงึ เวลา
เจรญิ ภาวนากเ็ จรญิ ไมถ่ อื ว่าชอบการงาน (ที.ม.อ. (บาล)ี ๒/๑๓๗/๑๒๘)
๒๗ ไม่ชอบการพูดคุย หมายถึงไม่ชอบพูดคุยเร่ืองนอกธรรมนอกวินัยตลอดท้ังวัน เช่น เรื่องผู้หญิง ถ้าสนทนา
ธรรมเพอ่ื แก้ปัญหา ไม่ถือวา่ ชอบการพดู คยุ (ท.ี ม.อ. (บาล)ี ๒/๑๓๗/๑๒๘)

พุทธรักขติ านุสรณ์

อปรหิ านิยธรรม ๗ (อกี หมวดหน่ึง)๒๘
๑. ภกิ ษุพงึ หวงั ได้แตค่ วามเจริญอยา่ งเดียว ไม่มคี วามเสอ่ื มเลย
ตราบเทา่ ทภี่ ิกษุยงั มีศรทั ธา๒๙
๒. ภิกษพุ ึงหวงั ไดแ้ ต่ความเจริญอยา่ งเดยี ว ไม่มคี วามเส่ือมเลย
ตราบเท่าทภ่ี ิกษุยังมหี ริ ิ
๓. ภกิ ษพุ งึ หวังได้แต่ความเจริญอย่างเดียว ไมม่ คี วามเสื่อมเลย
ตราบเทา่ ที่ภิกษุยังมโี อตตัปปะ
๔. ภิกษุพึงหวงั ไดแ้ ตค่ วามเจริญอย่างเดยี ว ไมม่ ีความเสอ่ื มเลย
ตราบเทา่ ที่ภิกษุยังเป็นพหูสตู ๓๐
๕. ภกิ ษุพงึ หวงั ได้แต่ความเจริญอยา่ งเดยี ว ไมม่ คี วามเสอ่ื มเลย
ตราบเท่าท่ภี ิกษุยงั ปรารภความเพียร๓๑
๖. ภกิ ษุพงึ หวังได้แตค่ วามเจริญอย่างเดยี ว ไมม่ ีความเสื่อมเลย
ตราบเทา่ ทภี่ ิกษุยงั มีสตติ ัง้ ม่นั
๗. ภกิ ษพุ งึ หวงั ได้แตค่ วามเจรญิ อยา่ งเดียว ไม่มคี วามเส่ือมเลย
ตราบเท่าทีภ่ กิ ษุยงั มปี ญั ญา

๒๘ ท.ี ม. (ไทย), ๑๐/๑๓๘/๘๔-๘๕.
๒๙ ศรัทธา แปลว่าความเช่ือ มี ๔ อย่าง คือ (๑) อาคมนียะ (ศรัทธาของพระโพธิสัตว์ ผู้บาเพ็ญเพ่ือพระ

สัพพญั ญุตญาณ) (๒) อธิคมะ (ศรัทธาของพระอริยบุคคล) (๓) ปสาทะ (ศรัทธาในพระพุทธ พระธรรม และ
พระสงฆ์) (๔) โอกัปปนะ (ศรัทธาอย่างมั่นคง) แต่ในที่นี้หมายถึงปสาทะและโอกัปปนะเท่าน้ัน (ที.ม.อ.
(บาลี) ๒/๑๓๘/๑๒๙)
๓๐ พหูสูต แปลวา่ ผู้ฟังมามาก มี ๒ อย่าง คอื (๑) ปรยิ ัตติพหูสูต (แตกฉานในพระไตรปิฎก) (๒) ปฏิเวธพหสู ูต
(บรรลุสัจจะท้ังหลาย) พหสู ตู ในทีน่ ี้ หมายถึงปริยัตติพหสู ตู (ท.ี ม.อ. (บาลี) ๒/๑๓๘/๑๓๐)
๓๑ ปรารภความเพยี ร หมายถึงบาเพ็ญเพียรท้ังทางกายท้ังทางจิต ความเพยี รทางกาย คือ เว้นการคลุกคลีด้วย
หม่คู ณะ เป็นอยโู่ ดดเดีย่ ว ความเพียรทางจติ คอื บรรเทาความฟุ้งซา่ นแหง่ จิต (ท.ี ม.อ. (บาลี) ๒/๑๓๘/๑๓๐)

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

อปรหิ านยิ ธรรม ๗ (อีกหมวดหนึ่ง)๓๒
๑. ภกิ ษพุ ึงหวังไดแ้ ตค่ วามเจรญิ อย่างเดยี ว ไม่มคี วามเสอ่ื มเลย
ตราบเทา่ ที่ภิกษุยังเจริญสติสมั โพชฌงค์ (องค์แห่งการตรัสรคู้ อื
ความระลกึ ได้)
๒. ภิกษพุ งึ หวังไดแ้ ตค่ วามเจรญิ อยา่ งเดียว ไม่มคี วามเสอ่ื มเลย
ตราบเทา่ ทภ่ี ิกษยุ งั เจรญิ ธัมมวจิ ยสัมโพชฌงค์ (องคแ์ หง่ การตรัสรคู้ อื
การเฟน้ ธรรม)
๓. ภิกษุพึงหวังได้แตค่ วามเจริญอย่างเดียว ไมม่ คี วามเส่ือมเลย
ตราบเท่าที่ภิกษุยงั เจรญิ วริ ิยสมั โพชฌงค์ (องคแ์ ห่งการตรสั รคู้ อื
ความเพยี ร)
๔. ภิกษพุ ึงหวังไดแ้ ต่ความเจริญอย่างเดียว ไมม่ ีความเสื่อมเลย
ตราบเทา่ ทีภ่ กิ ษุยงั เจริญปตี ิสัมโพชฌงค์ (องคแ์ หง่ การตรัสรูค้ อื
ความอ่มิ ใจ)
๕. ภิกษพุ ึงหวังไดแ้ ต่ความเจริญอยา่ งเดียว ไม่มีความเสอ่ื มเลย
ตราบเท่าที่ภกิ ษุยังเจรญิ ปสั สัทธสิ ัมโพชฌงค์ (องค์แห่งการตรัสรู้คอื
ความสงบกายสงบใจ)
๖. ภิกษพุ งึ หวงั ได้แตค่ วามเจรญิ อย่างเดียว ไม่มีความเสอ่ื มเลย
ตราบเท่าท่ภี กิ ษุยังเจรญิ สมาธิสัมโพชฌงค์ (องคแ์ ห่งการตรสั ร้คู อื
ความตั้งจิตม่ัน)
๗. ภกิ ษุพึงหวังได้แตค่ วามเจริญอย่างเดียว ไมม่ ีความเส่ือมเลย
ตราบเทา่ ทภี่ ิกษยุ ังเจริญอุเบกขาสัมโพชฌงค์ (องคแ์ หง่ การตรัสรคู้ อื
ความวางใจเป็นกลาง)

๓๒ ท.ี ม. (ไทย), ๑๐/๑๓๙/๘๕-๘๖.

พุทธรักขิตานุสรณ์

อปรหิ านิยธรรม ๗ (อีกหมวดหนงึ่ )๓๓
๑. ภกิ ษุพึงหวงั ไดแ้ ต่ความเจริญอยา่ งเดียว ไมม่ คี วามเสื่อมเลย ตราบเท่า
ที่ภิกษุยังเจริญอนิจจสญั ญา (กาหนดหมายความไม่เท่ียงแหง่ สังขาร)
๒. ภิกษพุ งึ หวงั ไดแ้ ตค่ วามเจริญอยา่ งเดียว ไม่มีความเสือ่ มเลย ตราบเทา่
ที่ภกิ ษุยงั เจริญอนตั ตสญั ญา (กาหนดหมายความเป็นอนัตตาแหง่ ธรรม
ทัง้ ปวง)
๓. ภิกษพุ งึ หวังได้แตค่ วามเจริญอย่างเดยี ว ไมม่ คี วามเสือ่ มเลย ตราบเท่า
ท่ีภกิ ษุยงั เจรญิ อสภุ สญั ญา (กาหนดหมายความไมง่ ามแห่งกาย)
๔. ภิกษุพึงหวังได้แต่ความเจริญอย่างเดียว ไม่มีความเส่ือมเลย ตราบ
เท่าที่ภิกษุยังเจริญอาทีนวสัญญา (กาหนดหมายทุกขโ์ ทษของกายอันมี
ความเจบ็ ไขต้ า่ ง ๆ)
๕. ภิกษุพึงหวังได้แต่ความเจริญอย่างเดียว ไม่มีความเส่ือมเลย ตราบ
เท่าท่ีภิกษุยังเจริญปหานสัญญา (กาหนดหมายเพ่ือละอกุศลวิตกและ
บาปธรรมท้ังหลาย)
๖. ภกิ ษุพึงหวงั ไดแ้ ต่ความเจริญอย่างเดียว ไมม่ คี วามเสื่อมเลย ตราบ
เท่าท่ีภิกษุยังเจรญิ วิราคสญั ญา (กาหนดหมายวิราคะวา่ เป็นธรรม
ละเอยี ดประณีต)
๗. ภิกษุพึงหวังได้แต่ความเจริญอย่างเดียว ไม่มีความเสื่อมเลย ตราบ
เท่าที่ภิกษุยังเจริญนิโรธสัญญา (กาหนดหมายนิโรธว่าเป็นธรรม
ละเอียดประณีต)

๓๓ ที.ม. (ไทย), ๑๐/๑๔๐/๘๖-๘๗.

พทุ ธรกั ขิตานุสรณ์

มรณานสุ สตกิ ถา๓๔
.......................................
บัดน้ี ถงึ วาระแสดงการเจรญิ มรณสติ ในมรณสตินั้น คาวา่ มรณะ ได้แก่
ความขาดแหง่ ชีวติ นิ ทรยี ท์ ่ีเน่ืองอยู่ในภพอันเดียว
ก็ สมุจเฉทมรณะ กล่าวคือความขาดสูญแห่งวัฏทุกข์ของพระอรหันต์
ท้ังหลาย ขณิกมรณะ กล่าวคือความแตกดับช่ัวขณะแห่งสังขารท้ังหลาย และ
สมมติมรณะ ได้ในคาว่า ต้นไม้ตาย โลหะตาย ดังนี้เป็นต้น มรณะท้ัง ๓ อย่าง
นนั้ ไมป่ ระสงค์เอาในมรณสตนิ ้ี
ก็แหละมรณะท่ีประสงคเ์ อานน้ั มี ๒ อย่างคอื กาลมรณะ๑ อกาลมรณะ๑
ในมรณะ ๒ อย่างนั้น กาลมรณะ ย่อมมีด้วยการส้ินบุญ หรือการส้ินอายุ หรือ
ด้วยการสิ้นท้ัง ๒ อย่าง อกาลมรณะ ย่อมมีด้วยอานาจกรรมท่ีเขา
ตัดรอนกรรม
ในมรณะเหล่าน้ัน กม็ รณะใด แม้เมอื่ ความพร้อมมูลแห่งปัจจัยท่ีเป็นเหตุ
สืบต่ออายุยังมีอยู่ ก็ย่อมมีได้ เพราะความท่ีกรรมอันเป็นเหตุต่อปฏิสนธิ มี
วิบากสุกงอมส้ินเชิงแล้ว นี้ชื่อว่ามรณะด้วยการส้ินบุญ มรณะใดย่อมมี
ด้วยการสิ้นอายุ ซึ่งมี ๑๐๐ ปี เป็นกาหนดเหมือนอายุของคนทุกวันน้ี เพราะ
ไมม่ สี มบตั ิ คือ คติ กาล และอาหารเปน็ ตน้ น้ชี อ่ื วา่ มรณะด้วยการสน้ิ อายุ
ส่วนมรณะใดย่อมมีแก่เหล่าสัตว์ผู้มีสันดานอันกรรมท่ีสามารถจะให้
เคลื่อนจากฐานในทันทีเข้ามาตัดรอน เหมือนอย่างทุสิมารและกลาพุราช
เป็นต้น หรือย่อมมีแก่เหล่าสัตว์ผู้มีสันดานขาดไป ด้วยความพยายามมีการนา
ศสั ตรามา (ประหาร) เป็นตน้ ด้วยอานาจกรรมปางกอ่ น นี้ช่ือวา่ อกาลมรณะ
มรณะท้ังหมดน้ัน สงเคราะห์ด้วยความขาดแห่งชีวิตินทรีย์ การระลึกถึง
มรณะ กล่าวคือความขาดแห่งชีวิตินทรีย์ ด้วยประการดังกล่าวมานี้ ช่ือว่า
มรณสติ

๓๔ พระพุทธโฆสเถระ, คมั ภร์วิสทุ ธมิ รรค, แปลและเรยี บเรยี งโดยสมเดจ็ พระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร) และคณะ.

พุทธรกั ขิตานสุ รณ์

วิธีเจริญมรณสติ
อันพระโยคาวจรผู้ประสงค์จะเจริญมรณสติน้ัน ไปในท่ีลับหลีกเร้นอยู่
พึงให้มนสิการเป็นไปโดยแยบคายว่า “มรณ ภวิสฺสติ ชีวิตินฺทฺริย อุปจฺฉิชฺชิสฺสติ
มรณะจักมี ชีวติ นิ ทรียจ์ ักขาด” หรอื ว่า “มรณ มรณ ตาย ตาย” ดังนี้ เพราะว่า
เมื่อพระโยคาวจรยังมนสิการให้เป็นไปโดยไม่แยบคาย เวลาระลึกถึงความตาย
ของคนที่ชอบกันจะเกิดความโศกเศร้า ดุจเวลามารดาผู้บังเกิดเกล้าระลึกถึง
ความตายของบุตรท่ีรักฉะน้ัน เวลาระลึกถึงความตายของคนที่ไม่ชอบกัน จะ
เกิดความปราโมทย์ ดุจคนมีเวรกันระลึกถึงความตายของคนที่มีเวรกันฉะน้ัน
เวลาระลึกถึงความตายของคนที่เป็นกลาง ๆ จะไม่เกิดความสลดใจ ดุจ
สัปเหร่อเห็นซากคนตายฉะนั้น เวลาระลึกถึงความตายของตนจะเกิดความ
สะดุ้งหวาดกลัว ดุจคนท่ีมีชาติขลาดเพราะเห็นเพชฌฆาตผู้เงื้อดาบฉะนั้น
ความเกิดข้ึนแห่งความโศก เป็นต้น แม้ท้ังหมดน้ัน ย่อมมีแก่ผู้ปราศจากสติ
ความสังเวช และญาณ เพราะเหตุนั้น พระโยคาวจรเห็นสัตว์ที่ถูกฆ่าตายและ
ตายเองในท่ีนั้น ๆ แล้ว พึงพิจารณาถึงความตายของหมู่สัตว์ที่ตายไปซึ่งมี
สมบัติท่ีตนเคยเห็นมา ประกอบสติ ความสังเวช และญาณ แล้วยังมนสิการให้
เป็นไปโดยนัยมีอาทิว่า “มรณ ภวิสฺสติ ความตายจักมี” ดังนี้ ด้วยว่าพระ
โยคาวจรเม่ือให้มนสิการเป็นไปอย่างนั้น ช่ือว่าให้เป็นไปโดยแยบคาย อธิบาย
ว่าให้เป็นไปโดยอุบาย จริงอยู่สาหรับพระโยคาวจรบางพวกท่ียังมนสิการให้
เป็นไปอยู่อย่างน้ันน่ันแล นิวรณกิเลสทั้งหลายย่อมระงับลง สติมีมรณะเป็น
อารมณย์ ่อมตง้ั มนั่ กรรมฐานขึ้นถึงอปุ จารทเี ดียวก็เป็นได้

ผ้อู ินทรยี ์อ่อนพึงระลึกโดยอาการ ๘
ส่วนพระโยคาวจรผู้ไม่มีกรรมฐานถึงอุปจารฌานด้วยอาการเพียงเท่าน้ี
พงึ ระลึกถึงความตายโดยอาการ ๘ อยา่ งเหล่านี้ คอื
๑. วธกปจจฺ ปุ ฏฐฺ านโต โดยปรากฏเหมอื นเพชฌฆาต
๒. สมฺปตตฺ ิวปิ ตตฺ โิ ต โดยวบิ ัตจิ ากสมบัติ
๓. อปุ สหรณโต โดยนามาเปรียบเทยี บ
๔. กายพหุสาธารณโต โดยเป็นกายสาธารณะแก่หมู่หนอนจานวนมาก

พุทธรกั ขติ านุสรณ์

๕. อายทุ พุ พฺ ลโต โดยอายุทุพพลภาพ

๖. อนิมิตตฺ โต โดยไม่มเี คร่ืองหมาย

๗. อทธฺ านปรจิ ฺเฉทโต โดยมกี าหนดระยะกาล

๘. ขณปรติ ฺตโต โดยมีขณะเล็กน้อย

อธิบายอาการที่ ๑ วธกปจจฺ ปุ ฏฺฐานโต
บรรดาบทเหล่าน้ัน คาว่า วธกปจฺจุปฏฺฐานโต แปลว่า (มรณะ) โดย
ปรากฏเหมือนเพชฌฆาต พระโยคาวจรพึงระลึกว่า เปรียบเหมือนเพชฌฆาต
คิดจะตัดศีรษะผู้นี้ ถือดาบจ่ออยู่ที่คอยืนประชิดตัวอยู่ฉันใด แม้ความตายก็
ปรากฏฉันนั้นเหมือนกัน เพราะเหตุไร? เพราะ (มรณะ) มาพร้อมกับความเกิด
และเพราะเป็นเคร่ืองบ่นั ทอนชวี ิต อุปมาเหมือนดอกเหด็ หัวงูตูม ๆ ย่อมดันเอา
ฝุ่นติดหัวข้ึนมาด้วยฉันใด สัตว์ท้ังหลายก็ฉันน้ัน ย่อมพาเอาความแกแ่ ละความ
ตายมาเกิดด้วย จริงอย่างนั้น ปฏิสนธิจิตของสัตว์เหล่านั้นก็ถึงความแก่ถัดแต่
เกิดขึ้นทีเดียว แล้วก็แตกดับไปพร้อมกับด้วยขันธ์อันเป็นตัวประกอบ ดังศิลา
ตกจากยอดเขาแตกกระจายไปฉะนั้น (ขณิกมรณะ) ความตายที่มีประจาทุก
ขณะดังกล่าวมาฉะนี้ อันดับแรกมาพร้อมกับความเกิด แต่เพราะสัตว์เกิด
มาแลว้ ตอ้ งตายเปน็ เที่ยงแท้ แม้ความตายท่ปี ระสงค์เอาในมรณสตนิ ี้ ก็จัดว่ามา
พร้อมกับความเกิด เพราะเหตุน้ัน สัตว์นี้ต้ังแต่เวลาท่ีเกิดมาก็เดินบ่ายหน้าสู่
ความตาย มิได้หวนกลับมาเลยแม้สักน้อยเดียว เปรียบดั่งพระอาทิตย์โผล่ข้ึน
มาแล้ว ก็โคจรบ่ายหน้าต่อท่ีตกไปท่าเดียว มิได้กลับมาหาท่ีท่ีโคจรไปแล้วน้ัน ๆ
แม้สักหน่อยหน่ึง หรือมิฉะนั้น เปรยี บเหมอื นสายน้าเล็ก ๆ ทไ่ี หลลงจากภูเขามี
กระแสเชี่ยว มีปกติพัดพาเอาสิ่งพอที่จะพัดไปได้ ย่อมไหลรุดไปท่าเดียว มิได้
หวนกลับแมส้ ักนอ้ ยฉะนนั้ เพราะฉะน้ัน พระอโยฆรกมุ ารโพธสิ ตั วจ์ งึ กลา่ วว่า

“สัตว์อยู่ในครรภ์เพียงคืนเดียวซึ่งเป็นคืนแรก ย่อม
บ่ายหน้าไป (สู่ความตาย) เหมือนเมฆฝนตั้งขึ้นแล้ว ก็ย่อม
เคลื่อนไปเร่อื ยไป ไมห่ วนกลบั มา” ดงั นี้

พทุ ธรักขิตานสุ รณ์

ก็เม่ือสัตว์นั้นบ่ายหน้าไปอยู่อย่างน้ัน ความตายเท่าน้ันย่อมใกล้เข้ามา
เหมือนอย่างความแห้งไปแห่งแม่น้าน้อยท่ีถูกแดดแผดเผาในฤดูร้อน และ
เหมือนอย่างความหล่นแห่งผลไม้ทั้งหลายท่ีมีขั้วอันรสแห่งอาโปธาตุซาบซึม
แล้วในเวลาเช้า ดุจความแตกแห่งภาชนะดินท้ังหลายที่ถูกทุบด้วยไมค้ ้อน และ
ดุจความเหือดหายไปแห่งหยาดน้าค้างทั้งหลายท่ีต้องแสงพระอาทิตย์แผดเผา
ฉะนน้ั เพราะเหตุนน้ั พระผูม้ ีพระภาคเจา้ จึงตรัสวา่

“วันและคืนล่วงไป ชีวิตพลอยดับไปด้วย อายุ
ของสัตว์ค่อยส้ินไปดังนี้ ดังน้าแห่งแม่น้าน้อยค่อยแห้งไป
ฉะนั้น สัตว์ท้ังหลาย ผู้เกิดมาแล้ว ย่อมมีภัยแต่ความตาย
เป็นเท่ียงแท้แน่นอน ดุจผลไมท้ ้ังหลายท่สี ุกแล้ว ย่อมมีภัย
แตค่ วามหล่นในเวลาเช้าฉะน้นั

อนึ่ง เหมือนภาชนะดินท่ีช่างหม้อทาข้ึน ทั้งเล็ก
ทั้งใหญ่ ท้ังสุกทั้งดิบ ทุกอย่างล้วนมีความแตกเป็นท่ีสุด
ฉนั ใด ชีวติ ของสตั วท์ ้งั หลายกเ็ ปน็ ฉนั นัน้

หยาดน้าค้างที่ยอดหญ้า พอพระอาทิตย์ขึ้นมา ก็
เหือดแห้งไปฉันใด อายุของสัตว์ท้ังหลายก็เป็นฉันน้ัน
คุณแม่จ๋า คุณแม่อย่าห้ามผมเลย ความตายมาพร้อมกับ
ความเกิด ประดจุ เพชฌฆาตท่เี ง้อื ดาบ ด้วยประการฉะน้ี”

อน่งึ ความตายนน้ี ัน้ ยอ่ มครา่ เอาชีวติ ถา่ ยเดียว ครัน้ ครา่ เอาไปแล้ว ก็มไิ ด้
ปล่อยให้กลับคืนมา ดุจเพชฌฆาตกวัดแกว่งดาบอยู่ท่ีคอฉะน้ัน เพราะเหตุน้ัน
แม้ความตายจึงช่ือว่าปรากฏดุจเพชฌฆาตเงื้อดาบ เพราะมาพร้อมกับความ
เกิดและเพราะคร่าชีวิตไปดังน้ีแล พระโยคาวจรพึงระลึกถึงความตาย โดย
ปรากฏดจุ เพชฌฆาต ดงั กล่าวมาฉะนี้

พทุ ธรกั ขติ านุสรณ์

อธบิ ายอาการท่ี ๒ สมปฺ ตฺติวิปตฺติโต
คาว่า สมฺปตฺติวปิ ตฺติโต โดยวิบัติจากสมบัติ มอี ธิบายว่า ขึ้นช่ือว่าสมบัติ
ในโลกน้ีจะงดงามอยู่ได้ก็ชั่วเวลาท่ีวิบัติยังไม่ครอบงา แต่ขึ้นชื่อว่าสมบัติที่จะ
ลว่ งพน้ วบิ ัตดิ ารงอยู่ได้หามีไม่ จรงิ อยา่ งน้นั

“แม้พระเจ้าอโศกมหาราช ทรงปกครองแผ่นดิน
ท้ังส้ิน ทรงสละพระราชทรัพย์ ๑๐๐ โกฏิ ทรงเป็นผู้
มีความสุขในบั้นปลาย ถึงความเป็นใหญ่แห่งวัตถุ
เพียงผลมะขามป้อมคร่ึงผลด้วยทั้งเรือนร่างน่ันแล
แม้เมื่อท้าวเธอทรงส้ินบุญแล้ว พระองค์ก็ทรงบ่าย
พระพักตร์ตอ่ มรณะ กต็ อ้ งมาถงึ ซ่งึ ความโศกเศร้า”

อีกนัยหนึ่ง ความไม่มีโรคแม้ท้ังหมดย่อมมคี วามเจ็บไข้เป็นท่ีสุด ความ
เป็นหนุ่มทั้งหมดมีความแก่เป็นที่สุด ชีวิตท้ังหมดมีความตายเป็นที่สุด โลก
สันนิวาสท้ังหมดน้ันแลถูกชาติติดตาม ถูกชราไล่ตาม ถูกพยาธิครอบงา ถูก
มรณะดักสงั หาร เพราะเหตุนนั้ พระผ้มู พี ระภาคเจ้าจงึ ตรสั ว่า

“ภูเขาหินใหญ่อันล้วนแล้วด้วยหินสูงจรดฟ้า
กลิ้งบดมา ท้ัง ๔ ทิศโดยรอบแม้ฉันใด ความแก่ และ
ความตายก็ฉันนั้น ย่อมครอบงาสัตว์ทั้งหลาย คือ
พวกกษัตริย์ พวกพราหมณ์ พวกแพศย์ พวกศูทร
พวกคนจัณฑาลและพวกปุกกุสะ ไม่เว้นใคร ๆ ย่อม
ย่ายีท่ัวไปทั้งหมดเลย ณ ท่ีน้ัน พ้ืนที่สาหรับพลช้าง
ก็ไม่มี สาหรับพลม้าก็ไม่มี สาหรับพลรถก็ไม่มี สาหรับ
พลเดินเท้าก็ไม่มี และใคร ๆ ไม่อาจชนะได้ด้วยมนต์
หรือด้วยทรัพย์ วิบัติคือความตายเป็นท่ีสุดแห่งสมบัติคือ
ชีวิต พระโยคาวจรเมื่อจะกาหนดถึงภาวะท่ีชีวิตมีความ
ตายเป็นที่สุดนั้น พึงระลึกถึงความตายโดยอาการวิบัติ
แห่งสมบัติ ดว้ ยประการฉะนี้”

พุทธรักขติ านสุ รณ์

อธิบายอาการที่ ๓ อุปสหรณโต
คาว่า อุปสหรณโต โดยนามาเปรียบเทียบ ความว่า โดยนาเข้ามา
เปรียบเทียบกับตนพร้อมท้ังคนอื่น ๆ ในข้อนั้นมีอธิบายดังนี้ พระโยคาวจรพึง
ระลึกถึงความตายโดยเปรยี บเทยี บกบั อาการ ๗ คือ
๑. ยสมหตตฺ โต โดยความเป็นผู้มยี ศใหญ่
๒. ปุญญฺ มหตฺตโต โดยความเป็นผมู้ ีบุญมาก
๓. ถามมหตตฺ โต โดยความเป็นผู้มเี รีย่ วแรงมาก
๔. อิทธฺ มิ หตตฺ โต โดยความเป็นผมู้ ีฤทธิม์ าก
๕. ปญญฺ ามหตตฺ โต โดยความเปน็ ผู้มปี ญั ญามาก
๖. ปจฺเจกพทุ ธฺ โต โดยความเปน็ พระปัจเจกพุทธเจา้
๗. สมฺมาสมฺพุทฺธโต โดยความเป็นพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า

ยสมหตฺตโต อธิบายโดยความเป็นผมู้ ยี ศใหญ่
ถามวา่ พึงเปรยี บเทยี บอย่างไร? แกว้ า่ พงึ เปรียบเทียบอย่างนี้วา่ ขนึ้ ชื่อ
ว่าความตายนี้ตกต้องอย่างไม่ขวยเขินเบื้องบนแม้แห่งท่านผู้มียศใหญ่ คือ มี
บริวารมาก มีทรัพย์และพาหนะพร้อมพรั่ง แม้กระทั่งท้าวมหาสมมต, พระเจ้า
มันธาตุ, พระเจ้ามหาสุทัสสนะและพระเจ้าทัฬหเนมิ ก็เหตุไฉนเล่า ความตาย
จึงจกั ไม่ตกตอ้ ง ณ เบ้ืองบนแหง่ เรา

ท่านผู้มียศใหญ่ท้ังหลาย เป็นท้าวพญาผู้ประเสริฐ
เช่นท้าวมหาสมมตเป็นต้น แม้ท่านเหล่าน้ันยังถึง
ซึ่งอานาจแห่งความตาย จะป่วยกล่าวไปไยในคน
ทั้งหลายเช่นเราเล่า

พึ ง ร ะ ลึ ก ถึ ง ค ว า ม ต า ย โ ด ย ค ว า ม เ ป็ น ผู้ มี ย ศ ใ ห ญ่
ดงั ว่ามานี้ เป็นอนั ดับแรก

ปุญฺญมหตฺตโต อธิบายโดยความเป็นผู้มีบุญมาก
พึงระลึกถึงความตายโดยความเป็นผู้มีบุญมากอย่างไร ? พึงระลึกถึง
ความตายโดยความเป็นผ้มู บี ญุ มากอย่างนี้ว่า

พทุ ธรักขติ านุสรณ์

เศรษฐีเหล่าน้ีคือ โชติกเศรษฐี ชฏิลเศรษฐี
อุคคเศรษฐี เมณฑกเศรษฐี ปุณณกเศรษฐี และ
เศรษฐีอ่ืน ๆ ที่ลือกระฉ่อนว่า เป็นผู้มีบุญมาก
ในโลก ท่านเหล่าน้ันทั้งหมดยังถึงซ่ึงความตาย
จะป่วยกล่าวไปไยถงึ คนท้งั หลายเชน่ เราเลา่

ถามมหตตฺ โต อธิบายโดยความเป็นผ้มู เี รี่ยวแรงมาก
พึงระลึกถึงความตายโดยความเป็นผู้มีเร่ียวแรงมากอย่างไร ? พึงระลึก
ถึงความตายโดยความเป็นผมู้ ีเร่ียวแรงมากอย่างน้ีว่า

พระวาสุเทพ พระพลเทพ พระภีมเสน พระยธุ ฏิ ฐิละ
แม้นักมวยปล้าใหญ่ช่ือว่าหนุระ ก็ไปแล้วสู่อานาจ
แห่งความตาย แต่ท่านเหล่านั้นผู้เล่ืองช่ือในโลกว่า
เป็นผู้มีกาลังเรี่ยวแรงมากถึงอย่างนี้ ทุกท่านก็ถึง
ซึง่ ความตายจะป่วยกลา่ วไปไยในคนทั้งหลายเช่นเราเลา่

อทิ ฺธมิ หตฺตโต อธิบายโดยความเปน็ ผมู้ ีฤทธิ์มาก
พึงระลึกถึงความตายโดยความเป็นผู้มีฤทธิ์มากอย่างไร ? พึงระลึกถึง
ความตายโดยความเป็นผู้มีฤทธมิ์ ากอย่างนว้ี ่า

พระอัครสาวกที่ ๒ เป็นผู้ประเสริฐกว่าบรรดาท่าน
ผู้มีฤทธิ์ท้ังหลาย ได้ยังเวชยันต์ปราสาทให้หว่ันไหว
ด้วยอวัยวะเพียงนิ้วหัวแม่เท้า แม้ท่านก็ยังเข้าปาก
ของความตายอันน่าสะพรึงกลัวไปพร้อมด้วยฤทธิ์
ท้ังหลาย เสมือนมฤคเข้าสู่ปากแห่งราชสีห์ จะป่วยกล่าว
ไปไยในคนท้งั หลายเช่นเราเลา่

ปญฺญามหตฺตโต อธิบายโดยความเป็นผู้มีปัญญามาก
พึงระลึกถึงความตายโดยความเป็นผู้มีปัญญามากอย่างไร ? พึงระลึกถึง
ความตายโดยความเป็นผมู้ ีปัญญามากอย่างนว้ี า่

พุทธรักขติ านุสรณ์

ยกเว้นพระโลกนาถเจ้าเสียแล้ว สัตว์เหล่าใด
เหล่าหน่ึง ท่ีมีอยู่ สัตว์เหล่าน้ันว่าโดยปัญญาย่อมไม่ถึง
เสี้ยวท่ี ๑๖ แห่งพระสารีบุตร พระอัครสาวกที่ ๑ ได้มี
ปัญญามากถึงอย่างนี้ ยังถึงซึ่งอานาจแห่งความตาย
จะปว่ ยกลา่ วไปไยในคนทงั้ หลายเช่นเราเล่า

ปจฺเจกพทุ ธฺ โต อธิบายโดยความเปน็ พระปัจเจกพทุ ธเจ้า
พึงระลึกความตายโดยความเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้าอย่างไร ? พึงระลึก
ถึงความตายโดยความเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้าอย่างน้ีว่า แม้พุทธบุคคล
เหล่านั้นทาการย่ายีศัตรูคือกเิ ลสทั้งปวงด้วยพลังคือปัญญาและวิริยะของตน ๆ
ได้บรรลุปัจเจกสัมโพธิญาณเป็นผู้ตรัสรูเ้ อง มอี าการดงั นอแรด แม้ทา่ นเหลา่ นนั้
ยังไม่พน้ จากความตาย ก็ไฉนเราจักพ้นเลา่

ท่านผู้แสวงหาคุณอันย่ิงใหญ่อาศัยนิมิตน้ัน ๆ
พจิ ารณาอยู่ เป็นพระสยมั ภดู ว้ ยเดชแหง่ ญาณ บรรลุพระ
นิพพานเป็นที่ส้ินอาสวะ มีอุปมาเสมือนนอแรด เพราะ
ท่านอยู่ในความประพฤติโดดเดี่ยว แม้ท่านเหล่าน้ัน ก็
ห า ล่ ว ง พ้ น ค ว า ม ต า ย ไ ป ไ ด้ ไ ม่ จ ะ ป่ ว ย ก ล่ า ว
ไปไยในคนทั้งหลายเช่นเราเล่า พึงระลึกถึงความตาย
โดยความเปน็ พระปัจเจกพทุ ธเจ้า ด้วยอาการอยา่ งนี้

สมฺมาสมพฺ ุทฺธโต อธบิ ายโดยความเปน็ พระสมั มาสัมพุทธเจา้
พึงระลึกถึงความตายโดยความเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอย่างไร?
พึงระลึกถึงความตายโดยความเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอย่างนี้ว่า พระผู้มี
พระภาคเจ้าแม้น้ันใด มีพระรูปกายอันวิจิตรไปด้วยมหาบุรุษลักษณะ ๓๒
ประการ ซึ่งประดับด้วยอนุพยัญชนะ ๘๐ ประการ มีพระธรรมกายอันสาเร็จ
ด้วยพระคุณรัตนะมีสีลขันธ์เป็นต้น อันบริสุทธ์ิด้วยอาการทั้งปวง ทรงถึงฝ่ัง
แห่งความเป็นผู้มียศใหญ่ ความเป็นผู้มีบุญมาก ความเป็นผู้มีกาลังมาก ความ
เป็นผู้มีฤทธิ์มาก และความเป็นผู้มีปัญญามาก หาผู้เสมอมิได้ ไม่มีผู้เทียบเท่า

พทุ ธรักขติ านุสรณ์

ไม่มีผู้เปรียบปาน ไม่มีบุคคลจะเทียมทัน เป็นพระอรหันต์ตรัสรู้เองโดยชอบ
แม้พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นก็ยังทรงรางับดับขันธ์โดยพลัน เพราะการ
ตกลงแห่งหยาดฝนคือมรณะ เปรียบดังกองเพลิงใหญ่ดับไปเพราะฝนตกรด
ฉะนน้ั

อันความตายน่ันใด มาสู่อานาจของพระผู้มี
พระภาคเจ้าผู้แสวงหาคุณอันย่ิงใหญ่ ผู้มีอานุภาพมาก
อย่างน้ี โดยไม่ต้องกลัว โดยไม่ต้องละอาย ไฉนเล่า?
เจ้าความตายน้ีนั้น อันไร้ความอายปราศจากความกลัว
มุ่งแต่จะย่ายีสัตว์ทุกถ้วนหน้า จักไม่มาครอบงาสัตว์
เชน่ เราเล่า

เมื่อพระโยคาวจรนั้น น้อมตนเข้าไปเปรียบเทียบกับคนอ่ื น ซึ่ง
เพียบพร้อมด้วยความเป็นใหญ่ มีความเป็นผู้มียศใหญ่เป็นต้น โดยภาวะคือ
ความเป็นผู้มีความตายเสมอกันอย่างน้ีแล้ว ระลึกไปว่า “ความตายจักมี
แม้แก่เรา ดุจมีแก่สัตว์วิเศษเหล่านั้น” ดังน้ี กรรมฐานย่อมถึงอุปจารแล
พระโยคาวจรระลึกถงึ ความตายโดยนามาเปรียบเทียบ ด้วยประการฉะน้ี

อธิบายอาการที่ ๔ กายพหุสาธารณโต
คาว่า กายพหุสาธารณโต โดยเป็นกายสาธารณะแก่หมู่หนอนจานวน
มาก มีอธิบายว่า กายนี้สาธารณะทั่วไปแก่สัตว์ทุกจาพวก คือ อันดับแรก
ก็เป็นกายทั่วไปแก่หมู่หนอน ๘๐ จาพวก ในหมู่หนอนเหล่าน้ัน จาพวกสัตว์
ท่ีอาศัยผิวหนังก็กัดกินผิวหนัง จาพวกที่อาศยั หนังก็กัดกินหนัง จาพวกที่อาศัย
เนื้อก็กัดกินเน้ือ จาพวกท่ีอาศยั เอ็นก็กัดกินเอ็น จาพวกท่ีอาศัยกระดูกก็กดั กิน
กระดูก จาพวกที่อาศัยเยื่อในกระดูกก็กัดกินเย่ือในกระดูก มันเกิด แก่ ตาย
ถ่ายอุจจาระปัสสาวะอยู่ในกายนั้นเอง และร่างกายก็นับว่าเป็นเรือนคลอด
เป็นโรงพยาบาล เป็นสุสาน เป็นส้วม เป็นรางปัสสาวะของพวกมัน อันว่า
ร่างกายน้ีน้ัน เพราะความกาเริบแห่งหมู่หนอนแมเ้ หล่าน้ัน ก็ถึงซึ่งความตายได้
ประการหน่งึ เปน็ แท้

พุทธรกั ขติ านสุ รณ์

อน่ึง กายน้ีย่อมทั่วไปแก่ปัจจัยแห่งความตาย เฉพาะที่เป็นภายในได้แก่
โรคหลายชนิด และท่ีเป็นภายนอก ได้แก่ งูและแมงป่องเป็นต้น เหมือนอย่าง
ท่ีสาธารณะทั่วไปแก่หมู่หนอน ๘๐ จาพวกฉะน้นั

อน่ึง เปรียบดังอาวุธต่าง ๆ เช่น ลูกศร หอกแทง หอกซัด และก้อนหิน
เป็นต้น อันมาแต่ทิศท้ังปวงตกประดังลงท่ีเป้าที่เขาต้ังไว้ในหนทางใหญ่ ๔
แพร่ง ฉันใด อันตรายทุกอย่างย่อมตกประดังลงแม้ในกาย ก็ฉันนั้น กายนี้นั้น
ยอ่ มถึงความตายเป็นเทย่ี งแทเ้ พราะอันตรายเหล่านั้นตกประดงั ลง

เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ
ในธรรมวินัยน้ี เม่ือกลางวันผ่านไปแล้ว กลางคืนย่างเข้ามา ย่อมพิจารณาเห็น
อย่างนี้ว่า “เหตุแห่งความตายของเรามีมากแล คือ งจู ะพึงกัดเราก็ได้ แมงป่อง
จะพึงต่อยเราก็ได้ หรือตะขาบจะพึงกัดเราก็ได้ เราจะพึงตาย เพราะเหตุนั้น
น่ันจะพึงเป็นอันตรายแก่เรา มิฉะน้ันเราพึงจะพลาดล้มลง หรือภัตรท่ีเรา
บริโภคแล้ว พึงเสียไป น้าดีของเราพึงกาเริบก็ได้ เสมหะของเราพึงกาเริบก็ได้
มิใช่แตเ่ ท่านนั้ ลมมพี ิษดังศสั ตราจะพึงกาเรบิ แกเ่ ราก็ได้ เราจะต้องตาย เพราะ
เหตุน้ัน น่ันจะพึงเป็นอันตรายแกเ่ รา” พระโยคาวจรพึงระลึกถึงความตายโดย
เปน็ กายสาธารณะแก่หมหู่ นอนจานวนมาก ดว้ ยประการฉะนี้

อธิบายอาการท่ี ๕ อายทุ ุพพฺ ลโต
คาว่า อายุทุพฺพลโต อายุทุพพลภาพ อธิบายว่า ธรรมดาว่าอายุนั้นไม่
แข็งแรง อ่อนแอ จริงอย่างนั้น ชีวิตของเหล่าสัตว์เนื่องด้วยลมหายใจออกและ
ลมหายใจเข้า เน่ืองด้วยอิริยาบถ เน่ืองด้วยความเย็นและความร้อน เน่ืองด้วย
มหาภตู และเนอื่ งด้วยอาหาร
ชีวิตน้ีนั้นเมื่อได้ภาวะความเป็นไปสม่าเสมอแห่งลมหายใจออกและลม
หายใจเข้านั่นแหละ จึงเป็นไปได้ แต่เม่ือลมทางจมูกที่ออกไปข้างนอกแล้ว
ไม่กลับเขา้ ไปข้างในก็ดี ทเ่ี ขา้ ไปแลว้ ไม่ออกมาก็ดี บคุ คลย่อมได้ชือ่ ว่าตาย
ชีวิตเม่ือได้ภาวะความเป็นไปสม่าเสมอแม้แห่งอิริยาบถทั้ง ๔ น่ันแหละ
จึงเป็นไปได้ แต่เพราะความที่อิริยาบถใดอิริยาบถหนึ่งเกินประมาณ อายุ
สงั ขารยอ่ มขาด

พุทธรักขิตานสุ รณ์

ชีวิตที่ได้ภาวะความเป็นไปสม่าเสมอแม้แห่งความเย็นและความร้อน
นั่นแหละ จึงเป็นไปได้ แต่เมื่อบุคคลถูกความเย็นเกินก็ดี ถูกความร้อนเกินก็ดี
ครอบงา ยอ่ มวบิ ตั ิ

ชีวิตเมื่อได้ภาวะความเป็นไปสม่าเสมอแม้แห่งมหาภูตรูปนั่นแหละ
จึงเป็นไปได้ แต่เพราะปฐวีธาตุหรืออาโปธาตุเป็นต้น ธาตุใดธาตุหนึ่งกาเริบ
บุคคลแม้สมบูรณ์ด้วยกาลัง ก็ยังเป็นคนมีกายแข็งกระด้างได้หรือมีกาย
เน่าเหม็นเปรอะเป้ือนด้วยอานาจโรคลงแดงเป็นต้น หรือมีความร้อนมาก
เป็นเบ้อื งหนา้ ได้ หรอื มีไขข้อและเสน้ เอ็นขาดไปได้ ย่อมถงึ ความสน้ิ ชีวิต

บุคคลเมื่อได้แม้อาหารหรือคาข้าวในเวลาอันควรนั้นแหละ ชีวิต
จึงเปน็ ไปได้ แตเ่ มือ่ ไม่ได้อาหารย่อมถึงความสิน้ สูญ พระโยคาวจรพงึ ตามระลกึ
ถึงความตายโดยอายเุ ป็นของทพุ พลภาพ ด้วยประการฉะนี้

อธิบายอาการท่ี ๖ อนมิ ิตตฺ โต
คาว่า อนมิ ิตฺตโต โดยไม่มีเคร่ืองหมาย อธบิ ายว่า โดยความไมม่ ีขอบเขต
กาหนด จรงิ อยู่

สภาวธรรม ๕ ประการน้ี คือ ชีวิต ๑ พยาธิ ๑
กาลเวลา ๑ สถานท่ีทอดทิ้งกาย ๑ คติ ๑ ของเหล่าสัตว์
ในชวี โลก ไมม่ เี คร่อื งหมาย ใคร ๆ ร้ไู มไ่ ด้
ในสภาวธรรม ๕ ประการน้ัน ธรรมดาว่าชีวิตชื่อว่าไม่มีเครื่องหมาย
เพราะไม่มีกาหนดว่า จะพึงเป็นอยู่ประมาณเท่าน้ีปี ไม่เกินจากน้ีไปได้ จริงอยู่
สัตว์ท้ังหลายย่อมตายเสียแต่ในเวลาแรกเกิด เป็นกลละ (น้าขุ่น) ก็มี ในเวลา
เปน็ อัมพุทะ (น้าใส) เป็นเปสิ (ชิ้นเนอ้ื ) เป็นฆนะ (แท่ง) อยูใ่ นครรภไ์ ด้ ๑ เดือน
๒ เดือน ๓ เดือน ๔ เดือน ๕ เดือน ๑๐ เดือนกม็ ี ในสมัยท่ีคลอดออกจากท้อง
ก็มี เลยนัน้ ไปยอ่ มตายภายใน ๑๐๐ ปีกม็ ี เกนิ ๑๐๐ ปกี ม็ ีเหมือนกนั
แม้พยาธิเล่า ชื่อว่า ไม่มีเครื่องหมาย เพราะความไม่มีกาหนดว่า สัตว์
ทั้งหลายจะต้องตายด้วยความเจ็บป่วยชนิดนี้เท่านั้น จะไม่ตายด้วยความ
เจ็บป่วยชนิดอ่ืน ด้วยว่าสัตว์ทั้งหลายตายด้วยโรคตาก็มี ตายด้วยโรคหูเป็นต้น
อย่างใดอยา่ งหน่งึ ก็มี

พทุ ธรกั ขิตานุสรณ์

แม้กาลเลา่ ก็ช่ือว่าไม่มีเครอื่ งหมาย เพราะไม่มีกาหนดอย่างนี้ว่า จะตอ้ ง
ตายในเวลาน้ีเท่าน้ัน ไม่ตายในเวลาอ่ืน ด้วยว่าสัตว์ท้ังหลายย่อมตายในเวลา
เชา้ กม็ ี ตายในเวลาเทีย่ งเปน็ ต้น เวลาใดเวลาหนง่ึ ก็มี

แม้สถานที่ทอดท้ิงกายเล่า ก็ช่ือว่าไม่มีเครื่องหมาย เพราะไม่มีกาหนด
อย่างนี้ว่า สัตว์ทั้งหลายเมื่อจะตาย จะต้องทอดท้ิงร่างกายไว้ในท่ีนี้เท่าน้ัน
ไม่ทอดทิ้งไปในที่อ่ืน ด้วยว่าร่างกายของบุคคลผู้เกิดภายในบ้าน ไปตายตกอยู่
ภายนอกบ้านก็มี ร่างกายของผู้เกิดภายนอกบ้าน มาตายตกอยู่ภายในบ้านก็มี
โดยประการนั้น บัณฑิตพึงพรรณนาใหพ้ ิสดารโดยประการเปน็ อันมาก อัตภาพ
ของสตั วท์ ง้ั หลายผ้เู กิดบนบก ไปตายตกอยใู่ นนา้ หรอื อัตภาพของสัตว์ทั้งหลาย
ผเู้ กดิ ในน้า มาตายตกอยู่บนบก ดงั นีเ้ ป็นต้น

แม้คติเล่า ก็ชื่อว่าไม่มีเคร่ืองหมาย เพราะไม่มีกาหนดอย่างนี้ว่า อันสัตว์
ผู้จุติจากคตินี้แล้ว จะต้องไปบังเกิดในคติน้ี ด้วยว่าสัตว์ทั้งหลายผู้จุติจากเทวโลก
แล้ว ไปบังเกิดในพวกมนุษย์ก็มี ผู้จุติจากมนุษยโลกแล้ว ไปบังเกิดในเทวโลก
เป็นต้น โลกใดโลกหนึ่งก็มี ชาวโลกย่อมหมุนเวียนไปในคติทั้ง ๕ เหมือนโคที่เรา
เทียมไว้ในยนต์ฉะน้ัน ด้วยประการฉะน้ีแล พระโยคาวจรพึงตามระลึกถึง
ความตายโดยไม่มนี มิ ติ เครอื่ งหมาย ดงั กล่าวมาฉะนี้

อธิบายอาการท่ี ๗ อทฺธานปริจฺเฉทโต
คาว่า อทฺธานปริจฺเฉทโต โดยมีกาหนดระยะกาล อธิบายว่า ระยะกาล
แห่งชีวิตของมนุษย์ทั้งหลายในบัดนี้สั้นนัก ผู้ใดเป็นอยู่ได้นาน ผู้น้ันก็เป็นอยู่ได้
เพียง ๑๐๐ ปี หรือเกินนั้นไปก็มีบ้าง แต่เป็นส่วนน้อย เพราะเหตุน้ัน พระผู้มี
พระภาคเจ้าจึงตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย อายุของมนุษย์ท้ังหลายนี้น้อยนัก
พวกเขาจาต้องไปยังสมั ปรายภพ พวกเขาควรทากุศล ควรประพฤตพิ รหมจรรย์
ผู้ท่ีเกิดมาแล้วจะไม่ตายไม่มี ผู้ใดเป็นอยู่ได้นาน ผู้นั้นกเ็ ป็นอยู่ได้เพียง ๑๐๐ ปี
หรือเกินไปก็มีบ้าง แต่เปน็ ส่วนนอ้ ย”

อายุของมนุษย์นี้น้อยนัก สัตบุรุษพึงดูหม่ินอายุน้ัน
เสีย พึงรีบประพฤติความดี ดังคนมีศีรษะถูกไฟไหม้
เพราะความตายจะไม่มาถงึ ยอ่ มไมม่ ี

พทุ ธรกั ขติ านสุ รณ์

ทรงตรัสไว้อีกว่า “ภิกษุท้ังหลาย เร่ืองเคยมีมาแล้ว ได้มีศาสดาชื่อว่า
อรกะ” ดงั น้เี ปน็ ตน้ บณั ฑติ พึงยังพระสูตรทง้ั หมดอันประกอบด้วยอปุ มา ๗ ข้อ
ให้พิสดาร ตรัสไว้อีกสูตรหน่ึงว่า “ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ท่ีเจริญมรณสติอย่างนี้
ว่า “น่าปลื้มใจหนอ ท่ีเราพึงเป็นอยู่ได้ชั่วคืน ๑ และวัน ๑ เราพึงกระทาไว้
ในใจถึงคาสั่งสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้า เราพึงทากิจของบรรพชิต อันเป็น
ประโยชนต์ นมากหนอ” ดังนัน้ ก็ดี

ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้เจริญมรณสติอย่างน้ีว่า “น่าปลื้มใจหนอ ที่เรา
พึงเป็นอยู่ได้ชั่วระยะเวลากลางวัน เราพึงทาไว้ในใจถึงคาสั่งสอนของพระผู้มี
พระภาคเจ้า เราพึงทากิจของบรรพชิต อันเป็นประโยชน์ตนมากหนอ” ดังนั้น
ก็ดี

ภิกษุท้ังหลาย ภิกษุผู้เจริญมรณสติอย่างน้ีว่า “น่าปลื้มใจหนอ ท่ีเรา
พึงเป็นอยู่ได้ชั่วระยะเวลาที่เราบิณฑบาตคร้ังหน่ึง เราพึงทาไว้ในใจถึงคาส่ัง
สอนของพระผู้มีพระภาคเจ้า เราพึงทากิจของบรรพชิต อันเป็นประโยชน์ตน
มากหนอ” ดงั น้นั ก็ดี

ภิกษุท้ังหลาย ภิกษุผู้ท่ีเจริญมรณสติอย่างน้ีว่า “น่าปลื้มใจหนอ ท่ีเรา
พึงเป็นอยู่ได้ช่ัวระยะเวลาท่ีเราเคี้ยวคาข้าว ๔-๕ คาแล้วกลืนกิน เราพึงทาไว้
ในใจถึงคาสั่งสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้า เราพึงทากิจของบรรพชิต อันเป็น
ประโยชน์ตนมากหนอ” ดังนนั้ กด็ ี

ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านี้เราเรียกว่าเป็นผู้ประมาทอยู่ เจริญมรณสติ
ยังชักชา้ เพอื่ ธรรมเป็นท่สี ้นิ ไปแหง่ อาสวะ ดังนก้ี ด็ ี

ภิกษุท้ังหลาย ส่วนภิกษุผู้ท่ีเจริญมรณสติอย่างนี้ว่า “น่าปลื้มใจหนอ
ท่ีเราพึงเป็นอยู่ได้ชั่วระยะเวลาเค้ียวอาหารกลืนลงไปได้คาเดียว เราพึงทาไว้
ในใจถึงคาส่ังสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้า เราพึงทากิจของบรรพชิต อันเป็น
ประโยชนต์ นมากหนอ” ดังนนั้ ก็ดี

ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ที่เจริญมรณสติอย่างน้ีว่า “น่าปล้ืมใจหนอ ท่ีเรา
พึงเป็นอยู่ได้ชั่วระยะเวลาหายใจเข้าแล้วหายใจออก หรือหายใจออกแล้ว
หายใจเข้า เราพึงทาไว้ในใจถึงคาส่ังสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้า เราพึงทากิจ

พุทธรักขิตานุสรณ์

ของบรรพชติ อันเป็นประโยชนต์ นมากหนอ” ดังน้ันกด็ ี
ภิกษุท้ังหลาย ภิกษุเหล่าน้ีเราเรียกว่าเป็นผู้ไม่ประมาทอยู่ พวกเธอ

ยอ่ มเจรญิ มรณสติเขม้ แขง็ เพ่ือธรรมเปน็ ทสี่ ิ้นไปแหง่ อาสวะ” ดังน้ี
ระยะกาลแห่งชีวิตส้ันนัก ไม่น่าไว้วางใจเพียงช่ัวเคี้ยวคาข้าว ๔-๕ คา

อย่างนี้แล พระโยคาวจรพึงตามระลึกถึงความตายโดยมีกาหนดระยะกาล
ดังกลา่ วมาฉะน้ี

อธิบายอาการท่ี ๘ ขณปริตตฺ โต
คาว่า ขณปริตฺตโต โดยมีขณะเล็กน้อย มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้ จริงอยู่
เม่ือว่าโดยปรมัตถ์ ขณะแห่งชีวิตของสัตว์ท้ังหลายน้อยนัก ช่ัวความเป็นไป
แห่งจิตขณะเดียวเท่านั้น เปรียบเหมือนล้อรถแม้เมื่อหมุนไป ก็หมุนด้วยส่วน
แห่งกงส่วนหน่ึงเท่าน้ัน แม้เม่ือหยุดก็หยุดด้วยส่วนแห่งกงส่วนหน่ึงเท่านั้น
ฉันใด ชีวิตของสัตว์ท้งั หลายกเ็ ปน็ ไปช่วั ขณะแหง่ จิตขณะเดียวฉันนนั้ เหมอื นกัน
ในเมื่อจติ นัน้ ดบั แลว้ สตั ว์ก็ถกู เรยี กว่าดบั แลว้ ดังที่พระผู้มพี ระภาคเจ้าตรสั ไว้ว่า
ในขณะแห่งจิตเป็นอดีต สัตว์เป็นแล้ว มิใช่กาลังเป็นอยู่ มิใช่จักเป็น ในขณะ
แห่งจิตเป็นอนาคต สัตว์มิใช่เป็นแล้ว มิใช่กาลังเป็นอยู่ แต่จักเป็น ในขณะ
แห่งจิตเปน็ ปจั จุบนั สัตวม์ ใิ ช่เป็นแล้ว แตก่ าลงั เปน็ อยู่ มิใช่จกั เปน็

ชีวิต อัตภาพ และสุขทุกข์ทั้งมวลล้วนประกอบ
กับจิตดวงเดียว ขณะย่อมเป็นไปโดยรวดเร็ว ขันธ์
ของสัตว์ทั้งที่ตายทั้งท่ียังดารงอยู่ในภพน้ี ครั้นดับแล้ว
ก็เหมือนกัน หมดไปโดยไม่มีความสืบต่อ สัตว์ไม่เกิด
เพราะจิตที่เป็นอนาคต เป็นอยู่เพราะจิตเป็นปัจจุบัน
สัตว์โลกช่ือว่าตายเพราะความดับแห่งจิต แต่เม่ือว่า
โดยปรมัตถ์เป็นบัญญัติ พึงระลึกถึงมรณะโดยมี
ขณะเล็กนอ้ ย ด้วยประการฉะนี้

พทุ ธรกั ขิตานุสรณ์

มรณสตฌิ าน
แม้เม่ือพระโยคาวจรระลึกถึงความตายอยู่ด้วยอาการ ๘ อย่างดังกล่าว
มานี้ อย่างใดอย่างหนึ่ง จิตย่อมจะได้อาเสวนะความส่องเสพด้วยอานาจ
ทาในใจบ่อย ๆ สติมีความตายเป็นอารมณ์ย่อมตั้งม่ัน นิวรณ์ท้ังหลายย่อมสงบ
องค์ฌานย่อมปรากฏ แต่เพราะฌานมีสภาวธรรมเป็นอารมณ์ และเพราะ
อารมณ์เป็นท่ีตั้งแห่งความสลด ฌานจึงไม่ถึงข้ันอัปปนา ถึงเพียงขั้นอุปจาร
เท่านั้น แต่โลกุตตรฌานและอรูปฌานท่ี ๒ ท่ี ๔ ย่อมถึงอัปปนาด้วยภาวนา
พเิ ศษ แมใ้ นเพราะสภาวธรรม ด้วยว่าโลกุตตรฌานย่อมถงึ อัปปนาด้วยอานาจ
แห่งลาดบั ของการทาความบริสุทธ์ิใหเ้ กดิ
อรูปฌานย่อมถึงอัปปนาด้วยอานาจแห่งภาวนาอันเป็นเครื่องก้าวล่วง
อารมณ์ เพราะว่าในอรูปฌานน้ัน ย่อมมีกิจพอท่ีจะก้าวล่วงด้วยดีซ่ึงอารมณ์
แห่งฌานท่ีถึงอัปปนาแล้วน่ันแล แต่ในมรณานุสสติกรรมฐานนี้ไม่มีท้ัง ๒ คือ
ท้ังโลกตุ ตรฌานและอรูปฌาน ฉะนน้ั จึงเป็นเพยี งอุปจารฌานเท่าน้ัน ฌานนนี้ ั้น
ถงึ ซ่งึ อันนับวา่ มรณสติ เพราะเกิดขนึ้ ดว้ ยกาลงั แหง่ มรณสติ

อานสิ งส์การเจริญมรณสติ
ก็แหละภิกษุผู้ประกอบมรณสตินี้อยู่เนือง ๆ ย่อมเป็นผู้ไม่ประมาท ย่อม
ได้สัญญาในอันไม่ยินดีในภพท้ังปวง ย่อมละความห่วงใยในชีวิต เป็นผู้ติเตียน
บาป เป็นผู้ไม่มากไปด้วยความส่ังสมในบริขารทั้งหลาย เป็นผู้ปราศจาก
ความตระหนี่อันเป็นมลทิน แม้อนิจจสัญญาก็ย่อมถึงความช่าชองแก่เธอ
ทุกขสัญญาและอนัตตสัญญาก็ย่อมปรากฏตามกระแสแห่งอนิจจสัญญาน้ัน
นั่นแล เหล่าสัตว์ผู้มิได้เจริญมรณสติ เม่ือถึงคราวจะตายย่อมถึงความกลัว
ความสะดุ้ง ความหลงโดยสาหัส ดุจคนถูกสัตว์ร้าย ยักษ์ งู โจร และเพชฌฆาต
ครอบงา ฉะน้ัน พระโยคาวจรผู้เจริญมรณสติย่อมไม่เป็นเช่นนั้น เป็นผู้
หาความกลัวมิได้ เป็นผู้ไม่มีความหลงทากาละ ผู้เจริญมรณสติถ้าหากเธอมิได้
ดื่มรสอมตธรรมในปัจจุบันชาติ เบ้ืองหน้าแต่กายแตกทาลายไป ก็จะเป็นผู้
มีสุคติเป็นท่ไี ปในเบ้อื งหนา้

พทุ ธรกั ขิตานุสรณ์

เพราะเหตุน้ันแล พระโยคาวจรผู้มีปัญญาดี
พึงบาเพ็ญความไม่ประมาทในมรณสติภาวนา
อันมีอานุภาพย่ิงใหญ่ ดังพรรณนามาน้ี ในกาลทุก
เมอื่ เทอญ

กถามุขอยา่ งพสิ ดารในมรณสติ ยุตเิ พียงเทา่ นี้

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

พุทธรักขิตานุสรณ์

หลวงพอ่ ...ในความทรงจาของผม

หลายท่านอาจสงสัยว่าทาไมผมจึงให้ความเคารพรักศรัทธาหลวงพ่อ
พระครูอุทิตธรรมสารมากมายยิ่งนัก ความจริงไม่เพียงแต่ผมท่ีเคารพศรัทธา
หลวงพ่อ ท้ังโยมพ่อโยมแม่ของผม ชาวบ้าน รวมท้ังลูกศิษย์คนอ่ืน ๆ ท่เี คยพึ่ง
ใบบุญของหลวงพ่อ ทุกคนต่างก็สานึกในบุญคุณของท่านกันถ้วนหน้า จะเห็น
ได้จากแตล่ ะคนเมอื่ มโี อกาส ก็พรอ้ มจะชว่ ยงานหลวงพอ่ ดว้ ยความเตม็ ใจ

สาหรับผมอาจจะโชคดีกว่าคนอ่ืนที่มีโอกาสอยู่ใกล้ชิดและผูกพันกับ
หลวงพ่อตั้งแต่ผมยังเป็นเด็กน้อย จึงมีหลากหลายเรื่องราวท่ีจารึกอยู่ในความ
ทรงจาของผมมาโดยตลอด ผมจึงขอโอกาสถ่ายทอดเรื่องราวความซาบซ้ึงที่
อิ่มเอมอยใู่ นหัวใจ มาบอกเลา่ เปน็ เรอ่ื งสัน้ ๆ ใหท้ ุกทา่ นได้รบั ทราบไว้ ณ ท่ีนี้

๑. ปวดหัวหลวงพอ่ ให้กนิ ยาแกป้ วดท้อง
หลวงพ่อพระครูอุทิตธรรมสารเป็นท่ีเคารพนับถือของโยมพ่อสมพรโยม

แม่สมปองมาก ด้วยในวัยเด็กผมไม่ค่อยแข็งแรง ขี้โรค เจ็บป่วยง่าย เล้ียงยาก
เมื่อผมอายุประมาณ ๑๐ ขวบ โยมพ่อจึงนาผมไปขอพ่ึงใบบุญหลวงพ่อโดย
ฝากให้เป็นลูกศิษย์อาศัยอยู่ท่ีวัดบ้านกลาง ท่านก็เมตตารับผมไว้เป็นลูกศิษย์
ก้นกฏุ ิ อย่มู าวันหนงึ่ ผมเกิดเปน็ ไขร้ ว่ มกับมอี าการปวดหัวอย่างรนุ แรง

ด้วยความเป็นห่วงผม ท่านจึงให้ผมนอนพักรักษาตัวในกุฏิของท่าน และ
ดูแลอย่างใกล้ชิด จัดยาแก้ปวดท้องให้กิน ห่มผ้าให้นอน หลังจากกินยาได้ไม่
นานนัก ผมเกิดอาการอยากผายลม ด้วยความอายและเกรงหลวงพ่อจะรู้ จึง
ค่อย ๆ ผายลมออกมาเบา ๆ แต่มากมาย แม้จะไร้เสียงแต่กลิ่นนั้นคงแรงไม่
น้อย ทาเอาหลวงพ่ออุทานออกมาว่า “เฮ้ย! เอ็งตดหรือไงวะ” ผมนอนเงียบ
เฉยไมต่ อบ หลังจากผมได้ผายลมออกมาแล้วท้องก็โล่ง อาการปวดหวั ของผม
ก็ทุเลาลงจนหาย จึงกลายเป็นเรื่องเล่ากันในหมู่พระ เด็กวัด และญาติโยมที่
ทราบเร่ืองนี้ว่า “เด็กปวดหัว หลวงพ่อให้กินยาแก้ปวดท้องก็หายได้” ท้ังนี้
นับว่าหลวงพ่อมีความรู้พิเศษว่าอาการปวดหัวเนื่องมาจากความผิดปกติของ

พุทธรกั ขติ านสุ รณ์

ระบบลาไส้ภายในท้อง ท่านจึงให้ผมกินยาแก้ปวดท้องเพื่อระบายลมของเสีย
ออกจากลาไส้ จงึ ทาให้หายปวดหวั ได้

๒. นา้ ลา้ งบาตรช่วยชวี ิต
ยามเช้าพระออกบิณฑบาตพร้อมลูกศิษย์ตัวน้อย ๆ ภาพพระอุ้มบาตร

กับลูกศิษย์ห้ิวป่ินโตตัดกับแสงอรุณรุ่งเดินไปบนถนนลูกรังทอดยาวสุดสายตา
เป็นภาพตดิ ตาตรงึ ใจก่อใหเ้ กดิ ความเล่อื มใสของชาวบา้ นผมู้ ารอใสบ่ าตร

กับอีกภาพหน่ึงท่ีได้รับการกล่าวถึงคือลูกศิษย์ดื่มน้าล้างบาตร กล่าวคือ เม่ือ
พระกลับบิณฑบาตมาถึงวัด พวกลูกศษิ ย์จะรับบาตรจากพระเพื่อนาข้าวสุกไป
เทใส่หม้อแล้วนาบาตรไปล้าง พวกเด็ก ๆ นิยมด่ืมน้าล้างบาตรกันทุกคน
โดยเฉพาะน้าล้างบาตรของหลวงพ่อ ชาวบ้านที่เห็นมักจะบอกว่าด่ืมน้าล้าง
บาตรเป็นมงคล

สาหรับผมนั้น เมื่อรับบาตรจากหลวงพ่อมาแล้วจะล้างสองครั้ง คร้ังแรก
เร่ิมจากเทน้าสะอาดใส่ลงในบาตรแล้วใช้มือท้ังสองจับบาตรให้แน่น จากน้ันจึง
ค่อย ๆ หมุนวนเป็นวงอย่างช้า ๆ แล้วเร็วข้ึนเพื่อเหว่ียงน้าให้หมุนวนในบาตร
พร้อม ๆ กับสายตาของผมที่จับจ้องมองดูข้าวสุกท่ีติดในบาตรค่อย ๆ หลุด
ออกมาตามแรงน้าวน ขณะเดียวกันกลิ่นข้าวสุกท่ีหุงจากข้าวไร่เคล้ากับน้าล้าง
บาตร ก็ลอยมากระทบจมูกช่างหอมหวนชวนดื่มย่ิงนัก ผมจึงค่อย ๆ ผ่อนแรง
หมุนลงแล้วประคองบาตรให้นิ่ง ในที่สุดน้าในบาตรก็หยุดหมุนทาให้เศษข้าว
สุกค่อย ๆ ตกลงไปนอนนิ่งอยู่ก้นบาตร จากนั้นผมจึงยกบาตรข้ึนดื่มน้าใส ๆ
ด้วยความศรัทธาเชื่อว่าเป็นสิริมงคลกับตนเอง ต่อจากน้ันผมจะล้างบาตรครั้ง
สุดท้าย โดยเติมน้าใส่ลงในบาตรใช้มือข้างหนึ่งจับขอบบาตร มืออีกข้างล้าง
ข้าวสุกที่ยังเหลือติดอยู่ภายในบาตรออกจนสะอาดเกล้ียงเกลาดีแล้ว จึงเทน้า
พร้อมข้าวสุกลงบนพ้ืนเพื่อเป็นอาหารของฝูงไก่แจ้ในวัดซึ่งเดินวนรออยู่ใกล้ ๆ
ได้จิกกิน บาตรที่ล้างเรียบร้อยแล้วต้องใช้ผ้าสะอาดเช็ดให้แห้งแล้วนาไปผ่ึง
แดดอกี ทีเพือ่ ใหแ้ ห้งสนิทจริง ๆ จะได้ไมม่ กี ลิน่ อับชน้ื

เม่ือผมถึงคราวเคราะห์ ตอนน้ันผมอายุราว ๑๐ ย่าง ๑๑ ขวบ เหตุเกิด
ที่บ้านเพื่อนผม เม่ือเพื่อนผมแอบนาปืนล่าสัตว์ของพ่อเขามาเล่น โดยหันปาก

พุทธรกั ขิตานสุ รณ์

กระบอกปืนมาทางที่ผมนั่งชันเข่าเอนหลังพิงโอ่งน้าดื่มกาลังถือหนังสืออ่าน
เพลินอยู่ ทันใดน้ันก็ได้ยินเสียงดัง...ปั้ง! ปืนท่ีเพ่ือนถือเล่นอยู่เกิดลั่นข้ึนมา ลูก
กระสนุ ปืนพุ่งตรงเขา้ ใส่ร่างผมทะลเุ ข้าในชายโครงขา้ งขวา ผมรอ้ งขน้ึ ว่า “...มึง
ยิงกู กูจะไปบอกหลวงพ่อ” เมื่อโยมแม่ทราบเรื่องว่าผมถูกปืนล่ันใส่ก็เป็นลม
ล้มพับลงทันที พอฟ้ืนคืนสติขึ้นมาก็รีบพาผมไปโรงพยาบาลประจาจังหวัด
หมอตรวจพบว่ามีลูกกระสุนฝังอยู่ที่ชายโครงข้างขวาหน่ึงลูก ผลจากการตรวจ
หมอคงเห็นว่าไม่เป็นอันตรายจึงไม่ได้ผ่าลูกกระสุนออก ลูกกระสุนนั้นยังคงฝัง
อย่ใู นชายโครงขวาของผมมาจนถึงทุกวนั น้ี

ภายหลังจากที่ผมออกจากโรงพยาบาลแล้ว พระเล่าให้ผมฟังว่า พอ
หลวงพ่อได้ทราบข่าว (คงเป็นเวลาใกล้พลบค่า) ว่าผมถูกปืนล่ันใส่ ท่านต้ังใจ
ไปเย่ียมผมที่บ้านในคืนนั้นทันที ท่านจึงรีบพาพระลูกวัดเดินลัดเลาะไปตาม
เส้นทางผ่านปา่ และคลองหลงั วดั เมอ่ื หลวงพ่อกับพระเดนิ ข้ามคลองไปถึงกลาง
ป่า ได้พบคนเดินสวนทางมาเพื่อแจ้งให้ท่านทราบว่าโยมแม่พาผมไปส่ง
โรงพยาบาลแล้ว ทา่ นจึงพาพระเดินกลับวัด

หลงั จากเหตุการณน์ ัน้ ไดม้ ีการโจษขานกันว่า เพราะผมดมื่ นา้ ล้าง
บาตรของหลวงพ่อ ผมจงึ แคลว้ คลาดปลอดภยั จากอันตรายถงึ ชีวิต

ถึงแม้เรื่องดื่มน้าล้างบาตรจะไม่มีข้อพิสูจน์ได้ว่าท่ีผมแคล้วคลาด
ปลอดภัยจากกระสุนปืนมาได้เป็นเพราะผมดื่มน้าล้างบาตรของหลวงพ่อ
หรือไม่ก็ตาม แต่ถือได้ว่าเป็นความโชคดีในความโชคร้าย หลังจากผ่านพ้น
เหตุการณ์ร้ายน้ันมาได้ และผมปลอดภัยดีแล้ว โยมพ่อโยมแม่จึงตัดสินใจยก
ผมให้เป็นลูกของหลวงพ่อ ท่านก็รับไว้ด้วยความเต็มใจ นับเป็นบุญของผมแท้
ๆ ท่ีท่านเมตตาเอ็นดูผม ด้วยเหตุน้ีทาให้หลวงพ่อกับผมได้ใกล้ชิดผูกพันกัน
มากขึ้น เสมือนพ่อกับลูกท่ีคอยช่วยเหลือเก้ือกูลกัน ห่วงใยกัน นับแต่บัดนั้น
จนถงึ บัดน้ี แม้ทา่ นจะล่วงลับไปแลว้ กต็ าม

๓. อยู่งา่ ย ฉันง่าย

คร้ันหลวงพ่อได้เมตตารับผมไว้เป็นลูกแล้ว ผมจึงได้มาอยู่วัดเต็มตัว ทา

ให้ผมได้เห็นวิถีชีวิตพระอย่างหลวงพ่อได้ชัดเจนขึ้น จากวันเป็นเดือน จาก

พุทธรกั ขติ านสุ รณ์

เดือนเป็นปี หลายปี สิ่งที่ผมเห็นเป็นประจักษ์แก่สายตาทุกวัน คือเรื่องความ
อยูง่ ่ายฉนั งา่ ยของหลวงพอ่ ซ่ึงเปน็ แบบอยา่ งทน่ี ่าทาตาม

ปกติหลวงพ่อจะออกบิณฑบาตเป็นประจา อาหารท่ีชาวบ้านนามาใส่
บาตรก็มักจะเป็นอาหารง่าย ๆ ที่ทากินกันเองในครอบครัว โดยใช้พืชผักสวน
ครัวท่ีปลูกกันเองในครัวเรือนนามาปรุงอาหาร แต่ช่วงฤดูแล้งฝนไม่ตกนาน
หลายเดือน ชาวบ้านจาเป็นต้องหยุดเพาะปลูก และมีชาวบ้านบางส่วนเข้าป่า
เพ่ือหาเก็บพืชผักตามธรรมชาติ ช่วงที่ข้าวปลาอาหารหาได้อยากลาบากเช่นน้ี
เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระของญาติโยม หลวงพ่อก็ใช้วิถีชีวิตเรียบง่ายแบบ
พ่ึงพาตนเอง โดยท่านพาผมเดินเข้าป่าริมคลองหลังวัด เพื่อหาเก็บผักป่าหลาก
ชนิดที่ข้ึนตามธรรมชาติ ส่วนมากเป็นผักป่าท่ีผมไม่เคยรู้มากอ่ นว่าชนิดไหนกิน
ได้บ้าง หลวงพ่อคอยช้ีบอกผมว่า นี่ยอดบวบขม ยอดรังนก ผักละว้าตีเมีย
หน่อกะทือ ดอกกะทือ เป็นต้น ตามด้วยสอนวิธีเก็บผักนามาปรุงอาหาร ท่ีงา่ ย
ที่สุดคือนามาต้มจิ้มน้าพริกกิน ซ่ึงผมก็ถนัดทาน้าพริกท่ีใช้พริกแห้งค่ัวตาให้
ป่นใส่ถ้วย ห่ันหอมแดง บีบมะนาว เติมน้าปลาลงไปก็จะได้น้าพริกเลิศรสแล้ว
มีคร้ังหน่ึงปลากระป๋องตราสามแม่ครัวหนึ่งกระป๋องเล็กผมนามาทาต้มยา เพื่อ
ประหยัดผมจึงใส่น้าไปคร่ึงหม้อเพื่อให้เพียงพอแบ่งกันระหว่างหลวงพ่อกับลูก
ศิษย์ เมือ่ ผมนาต้มยาไปถวาย ท่านทาท่างง ๆ และถามผมว่า “ต้มยาอะไรน้า
เยอะจัง” ท่านถามแค่น้ันแล้วไม่บ่น ไม่ว่า ไม่ตาหนิสักคา ท่านนาเร่ืองน้ีไปพูด
หยอกล้อผมด้วยความเอ็นดูในภายหลังว่า “ต้มยาปลากระป๋องน้าคร่ึงหม้อ”
ทาให้ผู้ฟังเกิดความครื้นเครงกันถ้วนหน้า แม้ผมจะใส่น้าคร่ึงหม้อ แต่หลวงพ่อ
กฉ็ ันได้เยอะนะ ทาให้ผมแอบภูมิใจในฝีมอื ตัวเองเหมอื นกัน แตต่ อนนผี้ มเขา้ ใจ
แล้วว่าเป็นเพราะท่านฉันงา่ ย ไม่ใช่เพราะฝีมือการปรุงของเด็กวัดตัวน้อย ด้วย
เหตุที่ท่านฉันง่ายมาก ๆ ทาให้ผมยังไม่แน่ใจว่า จริง ๆ แล้วหลวงพ่อชอบฉัน
อะไรเป็นพิเศษ แต่เท่าท่ีสังเกตดูท่านจะฉันแป้งข้าวหมากทุกครั้งทโี่ ยมใส่บาตร
หรอื นามาถวายทวี่ ดั

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

กล่าวถึงกุฏิท่ีอยู่ของหลวงพ่อก็เรียบงา่ ยไม่ใหญ่โต เพียงแค่ท่านจัดเป็น
ระเบียบเรียบรอ้ ยสะอาดสะอ้านกเ็ อนกายหลับได้อย่างเป็นสุข ตั้งแต่สมัยที่ยัง
ไม่มีไฟฟ้าใช้ก็อยู่ได้ไม่เดือดร้อน อยู่มาตราบจนมีไฟฟ้าใช้แล้ว ความเป็นอยู่
ของหลวงพ่อกย็ ังคงเรียบงา่ ยเหมอื นเดิม อุปกรณ์เคร่ืองใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ กแ็ ทบ
จะไม่มี งานต่าง ๆ ท่านก็ยังคงทาต่อเน่ืองไม่ได้เว้น ซึ่งถือเป็นการออกกาลังไป
ในตัว

แม้จะมีเสียงร่าลือว่าหลวงพ่อมีความสามารถด้านเครื่องราง ของขลัง
ปลุกเสก เวทมนตร์ แต่ผมก็ไม่เคยเห็นแม้แต่ครั้งเดียวที่ท่านจะนามาใช้ในทาง
พุทธพาณิชย์ เพราะท่านไม่ต้องการเครื่องอุปโภคบริโภคส่ิงฟุ่มเฟือยหรูหราใด
ๆ มาเสริมมาแต่งเกินความจาเป็น ที่สาคัญท่านก็ไม่เคยสอนผมเกี่ยวกับเรื่อง
เครื่องรางของขลัง แต่ท่านเน้นหนักกับผมเร่ืองการศึกษาตามหลักพุทธศาสนา
คือเดนิ สายกลางสู่เสน้ ทางพ้นทุกขต์ ามคาสอนของพระพุทธองค์ ซง่ึ หลวงพ่อได้
ยึดถือปฏบิ ตั เิ รื่อยมา

๔. หลวงพอ่ ก็มีอารมณ์ขัน
ผู้อ่านหรือท่านท่ียังไม่คุ้นเคยกับหลวงพ่อหรือรู้จักท่านเพียงผิวเผิน อาจ

นึกไม่ถึงว่าบางเวลาหลวงพ่อก็มีอารมณ์ขันเหมือนกัน เพราะปกติหลวงพ่อจะ
เปน็ พระท่ีพูดน้อย จนบางคนคิดวา่ ท่านเปน็ พระท่ีดุมีระเบียบมาก เวลาเข้าพบ
อาจจะรู้สึกเกร็ง ๆ บ้าง เม่ือท่านเห็นส่ิงที่ไม่ถูกต้องมักจะปรามด้วยสายตา
หรือท่าทาง หรือไมก่ จ็ ะสอนบอกกันตรง ๆ โดยไมม่ ีการนาไปนนิ ทาลบั หลัง ซึ่ง
นับเป็นข้อดีสาหรับชาวบ้านและลูกศิษย์จะได้มีสติสารวมเป็นพิเศษในเวลาอยู่
กบั หลวงพ่อ ชนิดที่เรียกว่าเปน็ ไปโดยอตั โนมตั ิ

ความจริงหลวงพ่อก็มีช่วงเวลาขา ๆ ที่ชวนให้อมยิ้มได้เหมือนกัน
โดยเฉพาะผมทไี่ ดอ้ ยูใ่ กล้ชิดกบั หลวงพอ่ ตั้งแต่เล็กแต่นอ้ ย จงึ มีโอกาสได้เห็นมุก
ขา ๆ ของหลวงพ่อ ทาให้อยดู่ ว้ ยไม่รู้สกึ อดึ อัด แต่กลับรู้สึกอบอ่นุ ผ่อนคลาย มี
ความสุข มุกสร้างรอยยิ้มของหลวงพ่อไม่ใช่ลักษณะคาพูดตลก แต่เป็นกิริยา

พุทธรักขิตานุสรณ์

หรือคาพูดหยอกเย้าเข้ากับเหตุการณ์ เป็นการสร้างบรรยากาศให้มีความสุขได้
เปน็ อยา่ งดี ผมขอนามาเลา่ เป็นตวั อย่าง ๓-๔ เรื่อง

เม่ือคราวผมทาต้มยาปลากระป๋อง ด้วยเกรงว่าจะไมพ่ อฉันสาหรับหลวง
พ่อกับลูกศิษย์ จึงใส่น้าไปคร่ึงหม้อ ท่านก็นามาพูดหยอกเย้าผมบ่อย ๆ ว่า
“ตม้ ยาปลากระปอ๋ งน้าครึ่งหม้อ” ญาตโิ ยมที่ไดฟ้ งั ก็พลอยนกึ ขาไปดว้ ย

บางวันพอตกค่า หลวงพ่อจะจุดตะเกียงน้ามันกา๊ ด เรียกใช้ผมให้ช่วยคิด
เลขเพื่อทาบัญชีวัดจนดึก แต่ยังไม่ทันจะเสร็จผมก็ชิงหลับไปก่อนที่ข้าง ๆ
หลวงพ่อนั่นเอง ด้วยความเป็นเด็กพอง่วงปุ๊บก็ผล็อยหลับไปอย่างง่ายดาย
หลวงพ่อก็ปล่อยให้ผมนอนไปจนกระทั่งท่านจะจาวัด (เข้านอน) ท่านจึงจะ
ปลุกผม แต่แทนท่ีท่านจะเรียกปลุกธรรมดา ท่านกลับแกล้งใช้ไฟฉายส่องที่ตา
ผม พร้อม ๆ กับใช้มืออีกข้างถ่างเปลือกตาท้ังสองข้างข้ึนเสมือนหมอส่องตา
ตรวจคนไข้ เจอมุกน้ีของหลวงพ่อเข้าไป ผมต้องรีบลุกทั้งง่วง ๆ สะลึมสะลือ
เดินโซซัดโซเซไปตามแสงไฟฉายที่หลวงพ่อส่องทางให้เข้าไปในห้องนอน
พรอ้ มกับไดย้ ินเสยี งหลวงพ่อหัวเราะเบา ๆ ในลาคอตามมาข้างหลัง

ในเร่ืองปวดหัวหลวงพ่อให้กินยาแก้ปวดท้อง ท่านยังคงจากันได้
หลังจากผมทานยาแก้ปวดท้องได้พักหนึ่ง ก็เกิดอาการอยากผายลมอย่างมาก
ในที่สุดก็ผายลมออกมาเป็นชุดใหญ่ เรียกว่ายาวเป็นขบวนรถไฟเลย แมผ้ มจะ
พยายามเกบ็ เสยี งและปล่อยลมออกมาให้แผว่ เบาท่ีสุด ด้วยเกรงว่าหลวงพ่อจะ
รู้ แต่ด้วยกล่ินจึงทาให้ไม่สามารถปิดบังหลวงพ่อได้ แต่ในความคิดผม ผมว่า
กลิน่ กไ็ ม่แรงเท่าไหร่ แต่ท่านแกล้งอทุ านซะดังลนั่ “เฮย้ ! เอง็ ตดหรือไงวะ” เล่น
ทาเอาผมทั้งเขินทั้งขา เลยแกล้งนอนน่ิงเงียบกริบ ทาเป็นไม่รู้ไมช่ ้ีจนนอนหลับ
ไป ผมคิดว่าท่านแกล้งเย้าเพ่ือให้ผมลืมเร่ืองปวดหัว ถ้าชาวบ้านรู้เร่ืองน้ีอาจจะ
เปลยี่ นเรือ่ งแซว “ปวดหวั ให้กินยาแกป้ วดทอ้ ง” เป็น “ผายลมชว่ ยแกป้ วดหวั ”
ซงึ่ ก็อาจจะมสี ่วนจรงิ อยู่บ้าง เพราะนอกจากฤทธย์ิ าแกป้ วดท้องแล้ว ความเขิน
อายบวกความขาทาให้ผมลืมเรือ่ งปวดหวั ไปได้เหมอื นกัน

พุทธรักขิตานุสรณ์

อีกเร่ืองท่ีผมนึกถึงทีไรก็อดขาไม่ได้ หลังจากท่ีหลวงพ่อส่งผมไปเรียน
นกั ธรรมบาลีทีว่ ัดปากคลองมะขามเฒา่ ผมจะกลบั มากราบและพักอยู่กับหลวง
พ่อทุกปี เม่ือปีท่ีผมสอบได้เปรียญธรรมสามประโยค ซ่ึงเป็นสามเณรรูปแรก
ของวัดบ้านกลางท่ีเป็นมหาเปรียญ ผมก็ยังคงกลับไปกราบหลวงพ่อและนอน
พักท่ีวัดเช่นเดิม ปกติหลวงพ่อพอตื่นนอนทุกเช้า ท่านจะไม่พูดและไมท่ ากิจใด
ๆ แตจ่ ะตรงไปลา้ งหนา้ แปรงฟันเป็นลาดับแรกทันที แต่! ในวันท่ีมีลกู ศิษยเ์ ป็น
มหาเปรียญมาพักด้วย เช้ามืดวันนั้นท่านทาส่งิ ที่แตกต่าง พอลุกจากที่นอนแล้ว
ท่านเดินตรงมาจับข้อมือดึงแขนผมให้ลุกจากท่ีนอน พอผมลุกขึ้นยืนได้มั่นคงดี
แล้ว ท่านก็เตะก้นผมเบา ๆ หน่ึงที แล้วจึงค่อยเดินไปล้างหน้าแปรงฟัน เม่ือมี
โอกาสท่านก็จะพูดเล่าเย้าแหย่ผมให้พระและโยมฟังว่า “ฉันได้เตะตูดมหา
แล้ว” ท่านพูดเสมือนจะบอกญาติโยมด้วยความภาคภูมิใจว่าท่านก็มีลูกศิษย์
เป็นมหาได้เหมือนกัน

๕. เรื่องที่ผมดใี จมากและดใี จมากกว่า
ผมมีเร่ืองน่าขันตัวเองที่ไม่เข้าใจหลวงพ่อ เร่ืองมีอยู่ว่าทุกเช้าผมจะเห็น

หลวงพ่อสูบบุหรี่ก่อนออกบิณฑบาต เม่ือผมเดินตามท่านไปออกสู่ถนน
สาธารณะหนา้ วัดแลว้ ท่านจะหนั หลงั กลับมาสง่ ก้นบุหรี่ท่ีดบั สนิทแล้วให้ผมทุก
คร้ัง ผมก็เข้าใจว่าท่านใช้ผมให้ช่วยโยนก้นบุหร่ีท้ิง เม่ือผมรับก้นบุหร่ีจากมือ
ท่านก็โยนทิ้งทันที เช้าวันหนึ่งขณะท่ีผมเดินตามหลวงพ่อออกไปบิณฑบาต
ตามปกติ วันน้ันท่านไม่ส่งก้นบุหรี่ให้ผมโยนทิ้งเหมือนเช่นเคย แต่ท่านหัน
กลับมาพร้อมกับนาก้นบหุ ร่ีที่ดับสนทิ แล้วยัดใสก่ ระเปา๋ เสื้อของผมแทน ผมเพิ่ง
เข้าใจวันน้ีเองว่าหลวงพ่อต้ังใจให้ผมเก็บก้นบุหร่ีของท่านไว้ตั้งนานแล้ว ผม
รู้สกึ ดใี จมากเหมือนเดก็ ได้รับของขวัญจากผ้ใู หญใ่ จดที ี่เราเคารพ กน้ บุหร่ีนั้นจึง
เปรียบเสมือนของท่ีระลกึ จากหลวงพ่อ ผมจึงเก็บรักษาก้นบหุ ร่นี ั้นไวเ้ ปน็ อยา่ ง
ดี หลังจากวนั นัน้ หลวงพอ่ ก็ไมเ่ คยส่งก้นบหุ รีใ่ หผ้ มโยนทง้ิ อกี เลย

แม้ว่าผมจะดีใจมากแค่ไหนท่ีได้รับก้นบุหร่ีเป็นของท่ีระลึกจากหลวงพ่อ
แต่ก็เทยี บไม่ได้เลยกับความดีใจเม่ือผมไดท้ ราบว่าหลวงพ่อสามารถเลกิ สูบบุหรี่

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

ได้เพียงชั่วข้ามคืน จากความฝันของท่านสู่ความเป็นจริง เรื่องมีอยู่ว่า คืน
หนึ่งหลวงพ่อฝนั เห็นคนรา่ งใหญม่ าพดู ให้เลกิ สบู บุหรี่ เพราะจะทาใหส้ ุขภาพไม่
ดี พอต่ืนข้ึนมา ท่านรีบเขียนจดบันทึกความฝนั ไว้ว่า “จะดูดไปทาไมบุหรี่ คอย
เจ็บ คอยป่วย คอยไข้ เลิกเหอะ” จากน้ันท่านจึงตั้งใจจะเลิกสูบบุหร่ี
อย่างเดด็ ขาด หลวงพ่อไมใ่ ช้วิธีสาบานหรือเปลง่ วาจาว่าจะเลิกสูบบหุ รี่ เพราะ
เกรงว่าจะเสียสัจจะ แต่หลวงพ่อใช้วิธีแยบคายกว่าน้ัน โดยใช้วิธีท้าทาย
เจ้าบุหร่ีตัวร้ายว่า “ถ้าแน่จริง มึงโดดเข้าปากกูสิ ถ้าแน่จริงมึงโดดเข้าปากกู
กูถึงจะดูด” นับแต่นั้นมา หลวงพ่อก็เลิกสูบบุหร่ีได้อย่างเด็ดขาดความฝัน
จึงเป็นความจริง ซ่ึงเป็นเร่ืองท่ีผมกลับดีใจมากกว่าการได้รับก้นบุหรี่เป็น
ของทีร่ ะลึก

๖. หลวงพ่อเก็บถา่ นเผาศพ
นึกถึงสมัยท่ีวัดบ้านกลางมีเพียงศาลาการเปรียญหลังเดียว กับห้องสุขา

อีกหลังหนึ่งซึ่งต้ังห่างกันออกไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ ๒๐ เมตร
บรเิ วณโดยรอบศาลาการเปรยี ญเป็นป่าหญ้าสงู ถึงเขา่ บ้าง ถึงเอวบ้าง หลวงพ่อ
จะพาพระและศิษย์วัดช่วยกันถากถางให้โล่งเตียนอยู่เสมอ สมัยน้ันวัดยังไม่มี
ฌาปนสถาน (เมรุเผาศพ) เมื่อมีชาวบ้านมาขออนุญาตนาศพญาติมาเผาที่วัด
หลวงพ่อจะช้ีบอกพวกญาติให้ถางป่าทุ่งหญ้าข้าง ๆ ให้ห่างศาลาการเปรียญ
ออกไปประมาณ ๑๐-๒๐ เมตร เพื่อใช้เป็นพ้ืนท่ีเผาศพ พวกญาติของผู้ตายจะ
ใช้ไม้ท่อนฟืนวางเรียงสลับกันเป็นช้ันต้ังข้ึนเป็นเชิงตะกอนแทนเมรุเผาศพ ไม้
ท่อนฟืนที่ใช้เผาศพต้องเป็นไม้เน้ือแข็งแห้งสนิทดีไฟจุดติดง่าย และได้ไฟท่ีมี
ความร้อนสูงมากพอเผาศพให้ไหม้หมดได้ ไม้ท่อนฟืนเผาศพนี้เม่ือถูกไฟเผา
ไหม้ทั่วแล้ว จะแปรเปลี่ยนสภาพเป็นถ่าน ถ้าใช้คราดเข่ียถ่านออกมา เอาน้า
ราดรดลงบนถา่ นท่ีไฟกาลงั ลุกไหม้อยจู่ นไฟดับสนทิ เราจะได้ถ่านเนอ้ื ดนี ามาใช้
ประโยชน์หุงต้มในงานครัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ถ้าปล่อยให้ไฟเผาไหม้
เร่ือยไปจากสภาพถ่านก็จะแปรเปล่ียนสภาพเป็นข้ีเถ้าไม่เหลือคุณค่า หา
ประโยชน์จากความเป็นถ่านไมไ่ ด้เลย

พทุ ธรกั ขิตานุสรณ์

สมัยน้ันการเผาศพแต่ละครั้ง จะมีสัปเหร่อและญาติผู้ตายต้องคอยเฝ้าดู
จนกว่าไฟจะเผาไหม้ร่างศพจนหมดพวกเขาจึงกลับบ้านกัน เม่ือหลวงพ่อเห็น
ว่าพวกญาติกลับไปหมดแล้ว แม้จะค่ามืดท่านก็พาผมไปเข่ียเอาถ่านเผาศพ
มาเก็บไว้ใช้เสมอ บางครั้งมีศพกาลังเผาอยู่ท่ีวัด แต่มีอีกศพต้ังอยู่ท่ีบ้านผู้ตาย
หลวงพ่อก็ต้องรับนิมนต์ไปสวดอภิธรรมที่บ้านผู้ตายต่ออีก ก่อนไปท่านจะส่ัง
กาชับผมว่า “เมื่อไฟเผาศพมอดแล้ว แกเอาคราดเข่ียถ่านมาเก็บไว้นะ”
หลวงพ่อท่านมีถ่านเก็บไว้ใช้มากเพียงพอโดยไมต่ ้องตัดไมท้ าลายป่า ไม่ต้องขุด
ดินเผาถ่าน เพียงท่านใช้ความรู้บวกกับความคิดเสมือนเห็นอิฐเป็นทองคา นา
ส่ิงที่คนอื่นมองข้ามคุณค่ามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ เพื่อประหยัด ไม่ขัด
ต่อโลก ไม่ขดั ตอ่ ธรรม

๗. กจิ วตั รของหลวงพ่อ
สมัยก่อนน้ัน วัดบ้านกลางจัดว่าต้ังอยู่ในถ่ินทุรกันดารมีพระสงฆ์ไม่มาก

แต่จะมีพระมากเฉพาะช่วงเข้าพรรษา เพราะลูกหลานชาวบ้านจะนิยมบวช
ตามประเพณีเป็นระยะเวลาส้ัน ๆ คือช่วงเข้าพรรษา และลาสิกขาเมื่อออก
พรรษา พระท่ีจะบวชอยู่หลาย ๆ พรรษานับว่ามีน้อยรูปนัก ดังน้ันเฉพาะช่วง
เข้าพรรษาเท่าน้ันจึงมีพระใหม่หลายรูป บางพรรษาอาจมีถึงสิบกว่ารูป ศิษย์
วัดอีก ๕-๖ คน เมื่อมพี ระและศษิ ย์วัดอยู่รวมกันมากเช่นนี้ หลวงพ่อจะนาพระ
และศิษย์วัดทากิจวัตรประจาวัน เร่ิมจากต่ืนนอนตอนเช้ามืดประมาณตีสาม
ครึง่ ทุกวัน ทาภารกจิ ส่วนตวั พอได้เวลาประมาณตีส่ี (๐๔.๐๐ น.) หลวงพ่อจะ
นาพระสงฆ์และศิษย์วัดทาวัตรสวดมนต์ใช้เวลาประมาณ ๑ ช่ัวโมง จากนั้นให้
พระสงฆ์ท่องจาบทสวดมนต์ต่าง ๆ พร้อมกับการรักษาผ้าครอง (ตามพระวินัย
อุโทสิตสิกขาบท นิฏฺฐิตจีวรสฺมึ ภิกฺขุนา อุพฺภตสฺมึ กถิเน, เอกรตฺตมฺปิ เจ ภิกฺขุ
ตจิ ีวเรน วิปฺปวเสยฺย, อญฺญตฺร ภกิ ขฺ ุสมมฺ ติยา, นสิ ฺสคฺคิย ปาจติ ฺติย. แปลวา่ เมื่อ
จีวรของภิกษุสาเร็จแล้ว เมอ่ื กฐินถูกถอนแล้ว ถ้าภิกษุอยู่ปราศจากไตรจีวรแม้
เพียงราตรีหน่ึง เว้นแต่ภิกษุ (อาพาธ) ผู้ได้รับสมมุติจากสงฆ์ ต้องอาบัตินิส
สัคคิยปาจิตตีย์) พอได้เวลาฟ้าสางก็ให้พระออกบิณฑบาต กลับจากบิณฑบาต
เวลาประมาณเจ็ดโมงกว่า ๆ ฉันเช้าเสร็จให้พระสงฆ์ท่องจาหรือทบทวนบท

พุทธรักขติ านุสรณ์

สวดมนต์จนกว่าจะฉันเพล เวลาบ่ายหลวงพ่อจะนาพระสงฆ์พัฒนาวัดทั้งงาน
ก่อสร้าง ทาความสะอาดบริเวณรอบวัด ตกเวลาเย็นประมาณ ๑๘.๐๐ น.
หลวงพ่อจะนาทาวัตรเย็นพร้อมกับซักซ้อมบทสวดมนต์ท่ีพระท่องจาได้แล้ว
เพ่ือสวดให้ได้ตามทานองนิยม เพ่ือนาไปใช้สวดในงานพิธีต่าง ๆ ด้วยกิจวัตร
เช่นนี้ เป็นท่ีน่าชื่นชมว่าพระสงฆ์หลายรูปและศิษย์วัดหลายคนอยู่ร่วมกันเป็น
เวลานาน ๆ ตลอดเวลาไม่มีการทะเลาะเบาะแวง้ กนั เลย ทุกคนรกั กันชว่ ยเหลือ
กันเป็นอย่างดี

๘. หนา้ ทีศ่ ษิ ยว์ ัด
สมยั ทีว่ ัดบา้ นกลางมีพระภิกษจุ าพรรษาหลายรูป มศี ิษยว์ ัด ๔-๕ คน แม้

หลวงพ่อจะมิไดว้ างหนา้ ที่ศิษยว์ ัดไว้กต็ าม แต่ทา่ นสอนศิษย์วัดวา่ ให้ตน่ื เชา้ สวด
มนต์ทาวัตรเช้าพร้อมกับพระ หิ้วปิ่นโตเดินตามพระไปบิณฑบาต พระจะออก
บิณฑบาต ๓ เส้นทาง คือ สายบ้านกลาง สายบ้านบางกุง้ และสายบ้านร่องบง
ควบกับบา้ นชมุ ตาคลอี ีกดว้ ย (สายน้ีไกลกว่าเพ่อื น) ศิษย์วัดจะไปสายบ้านกลาง
๑ คน เพราะเป็นระยะทางที่ใกล้และมีบ้านญาติโยมไม่ก่ีหลังคาเรือน อีกสอง
สาย สายละ ๒ คน กลับจากบิณฑบาตต้องช่วยกันล้างบาตร จัดต้ังน้าฉันน้าใช้
ถวายพระฉันเชา้ เมื่อพระฉันเสร็จแล้ว ท่านจะจัดแบ่งอาหารเปน็ ๒ สว่ น ส่วน
หนึ่งเก็บไว้ฉันเพล อีกส่วนหนึ่งให้ศิษย์วัดได้กินก่อนไปโรงเรียน ช่วงโรงเรียน
หยุดพักเท่ียงศิษย์วัดจะกลับมากินข้าวเที่ยงท่ีวัดและเก็บล้างถ้วยชามท่ีพระฉัน
ให้สะอาด และต้องกลับไปเรียนให้ทันก่อนบ่ายโมง ช่วงเย็นกลับจากโรงเรียน
ต้องทาการบ้านอ่านหนังสือ ปัดกวาดเช็ดถูศาลาทุกวัน วันโกน (ก่อนวันพระ)
ท้ังพระท้ังศิษย์วัดต้องช่วยกันทาความสะอาดเป็นพิเศษ อย่างที่ปัจจุบันนิยม
เรียกกันว่า Big Cleaning Day ซึ่งไม่น่าเชื่อว่าหลวงพ่อนามาใช้ตั้งหลายสิบปี
แล้ว หลังทาความสะอาดเสร็จ ต้องสวดมนต์ทาวัตรเย็นพร้อมกับพระ และรับ
ใช้พระทุกรูปตามโอกาสท่ีท่านจะเรียกใช้ หลวงพ่อจะเป็นห่วงเรื่องการศึกษา
ของศิษย์วัดมาก ถ้าท่านเห็นใครไม่ทาการบ้าน ไม่อ่านหนังสือ ท่านจะถามว่า
ไมม่ ีการบ้านหรือ บางเวลาท่านก็ปลอ่ ยให้เลน่ ไปตามประสาเดก็ ๆ

พุทธรกั ขิตานุสรณ์

๙. หลวงพอ่ ใหส้ ่งิ ประเสริฐสุด
หลวงพ่อมีบทบาทสาคัญมากในการส่งเสริมการศึกษาของผม สมัยน้ัน

สถานศึกษาอยู่ห่างไกลมาก ไหนจะคา่ เล่าเรยี น คา่ อาหาร คา่ เดนิ ทาง ลว้ นต้อง
ใช้เงินท้ังส้ิน แม้ท่านจะอยู่วัดเล็ก ๆ ในชนบท แต่ก็พยายามหาช่องทางเท่าท่ี
จะเป็นไปได้ให้ผม โดยไม่ต้องรบกวนเงินจากโยมพ่อโยมแม่มากนัก ท่านจึงได้
วางแนวทางการศกึ ษาใหผ้ มบวชเรยี น

เร่ิมจากให้ผมบวชสามเณรในช่วงปิดเทอม ต่อเมื่อผมเรียนจบชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ท่านจึงให้ผมบวชเณรอยู่ท่ีวัดบ้านกลาง เพ่ือเรียนปริยัติ
ธรรมกบั ท่านหนึ่งปีเต็ม ต่อจากนั้นท่านจึงส่งผมไปอยู่วัดปากคลองมะขามเฒ่า
เพ่ือเรียนปริยัติธรรม จนกระทั่งผมสอบได้เปรียญธรรม ๓ ประโยคสมความ
ปรารถนาที่ท่านต้ังใจไว้ เมื่อผมสอบผ่านเปรียญธรรม ๕ ประโยค ท่าน
สนับสนุนให้ผมไปอยู่วัดในกรุงเทพฯ เพื่อเรียนในระดับท่ีสูงข้ึน ส่งผลให้ผม
สาเร็จเปรียญธรรม ๙ ประโยค ท่านก็เมตตาเป็นธุระจัดงานฉลองขึ้นท่ีวัดบ้าน
กลาง พร้อมทั้งนิมนต์พระเถระผู้ใหญ่มาร่วมงานฉลองด้วยหลายรูป ได้แก่
พระราชอุทัยกวี (ประชุม มาเรยฺโย) เจ้าคณะจังหวัดอุทัยธานี พระมงคลชัย
สิทธ์ิ (หลวงปู่สาราญ กาญฺจนาโภ) เจ้าอาวาสวัดปากคลองมะขามเฒ่า รวมทั้ง
ครูบาอาจารย์ที่เคยสอนผม พระครูอุเทศธรรมนิวิฐ (บุญสม สิริทินฺโน) เจ้า
คณะอาเภอบ้านไร่ ซึ่งเป็นพระอปุ ัชฌาย์ของหลวงพ่อ หลวงพ่อทุม่ เทจัดงานน้ี
ดว้ ยความภาคภูมใิ จเพอ่ื แสดงความยนิ ดีกบั ผม

วิสัยทัศน์เรื่องการศึกษาของหลวงพ่อละเอียดรอบคอบ ท่านเข้าใจอย่าง
ลึกซ้ึงว่าความรู้ปริยัติต้องคู่ปฏิบัติจึงจะเกิดประโยชน์สูงสุด ท่านจึงให้
ความสาคัญท้ังปรยิ ตั ิและปฏิบัตมิ าตง้ั แต่แรกเรม่ิ โดยสอนผมนั่งสมาธิฝกึ ภาวนา
พทุ โธต้ังแต่ผมยงั เปน็ เด็กวดั ท่ีสาคญั ท่านสนับสนนุ ใหผ้ มสอนปฏิบตั ิวิปัสสนาที่
วัดบ้านกลาง เมื่อท่านได้เห็นชาวบ้านต้ังใจปฏิบัติ ท่านจึงมีความสุขกับผลงาน
ทท่ี ุ่มเทสง่ เสริมผมมาตลอด ทาให้ผมรูส้ กึ ซาบซ้งึ ในบุญคุณของหลวงพอ่ ย่งิ นัก

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

๑๐. โอกาสตอบแทนคณุ
นอกจากโอกาสทางการศึกษาที่หลวงพ่อให้ผมแล้ว ท่านยังให้โอกาสผม

ได้ร่วมบุญกับท่านสร้าง “ศาลาธรรมสังเวช และ พระพุทธรูป” ถวายวัดบ้าน
กลาง ขอกล่าวถึงเมื่อผมได้รับคาสั่งให้มาอยู่วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ ได้มี
ทานบดีท่านหน่ึงบอกความประสงค์กับผมว่าจะขอเป็นเจ้าภาพถวายผ้ากฐินที่
วัดบ้านกลาง ผมได้ไปปรึกษากับหลวงพ่อว่าควรทาอย่างไรให้ผู้ถวายทานท่าน
น้ีเกิดความปลาบปลื้มใจ หลวงพ่อแนะนาว่าควรเชิญเขามามีส่วนร่วมสร้าง
ศาลาธรรมสังเวช โดยมอบหมายให้ผมมีหน้าท่ีเป็นผู้ประสานงานหลัก เมื่อ
หลวงพ่อให้คาแนะนาอย่างน้ัน ผมจึงเกิดความรู้สึกยินดีว่าผมมีโอกาสท่ีจะได้
ทดแทนบุญคุณท่าน แม้งานน้ีจะเป็นงานใหญ่ท่ีผมไม่เคยทามาก่อน จึงเป็น
งานที่ท้าทายผมมาก ด้วยเหตุที่ผมต้องร่วมกับหลวงพ่อหาทุนทรัพย์ตามที่ช่าง
ประเมินราคาคา่ ก่อสร้างเบื้องต้นไว้ท่ีห้าล้านห้าแสนบาท ผมจึงเริ่มต้นด้วยการ
ปรารภเร่ืองงานบุญน้ีกับเจ้าภาพผู้จะถวายผ้ากฐินนั้น พร้อมด้วยญาติโยมที่
คนุ้ เคยทีม่ ีจิตศรทั ธาต่อพระพทุ ธศาสนาอย่างมัน่ คง

เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้ทาพิธีวางศิลาฤกษ์ศาลาธรรมสังเวช ในระหว่าง
ก่อสร้างก็ได้เห็นความม่ันคงแห่งศรัทธาของผู้ร่วมบุญ เพราะเม่ือปี พ.ศ.
๒๕๕๔ ได้มีฝนตกหนักน้าท่วมถนนหนทางในหลายพื้นที่ และแม้ขณะท่ีผมได้
ไปฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานอ ยู่ที่ประเทศพ ม่าโดย ยังไม่มีกาหนดกลับ
ประเทศไทย แต่ญาติโยมผู้รับปากไว้ว่าจะช่วยผมสร้าง ยังคงนาปัจจัยมาถวาย
หลวงพอ่ อย่างต่อเนอ่ื งมิไดข้ าด

คร้ันสร้างศาลาธรรมสังเวชเสร็จเรียบร้อยแล้ว หลวงพ่อได้เรียกผมมา
ปรึกษาเรื่องสร้างพระประธานเพ่ือประดิษฐานประจาศาลาธรรมสังเวช
ผมจึงขออนุญาตหลวงพ่อให้หล่อพระประธานขึ้นมาใหม่ท้ังองค์ แม้ท่านจะ
ทกั ท้วงว่า “แพงนะ มหา” แต่ผมก็กราบเรยี นอย่างแขง็ ขนั ว่า “ราคาเทา่ ไร ผม
ก็จะหล่อครับ” และผมขอให้ญาติโยมชาววัดบ้านกลางได้ร่วมบริจาคทรัพย์
สร้างพระประธานองค์น้ีด้วย หลวงพ่อคงเป็นห่วงญาติโยมจึงเปรยกับผมว่า
“เขาจะมีตังค์กันหรือ” ผมเรียนท่านว่า “หนึ่งบาทผมก็รับครับ เพราะผม

พุทธรักขิตานุสรณ์

ต้องการให้ชาววัดบ้านกลางเป็นเจ้าของพระประธานองค์น้ี” เม่ือท่านตอบตก
ลงแล้ว ผมได้บอกกล่าวญาติโยมกรุงเทพมหานครพร้อมด้วยศิษยานุศิษย์
ร่วมกันบริจาคทรัพย์หล่อพระประธานขนาดหน้าตัก ๕๙ นิ้ว พร้อมติดตั้งตู้
กระจก ผ้ามา่ น จดั พธิ ีเบกิ เนตรเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๖๑

ผมได้รับโอกาสจากหลวงพ่อคร้ังน้ีนับเป็นโอกาสที่ดีที่สุดที่ผมได้ตอบ
แทนคณุ หลวงพ่อ ตอบแทนคณุ วดั บา้ นกลาง และตอบแทนคุณพระพทุ ธศาสนา

๑๑. หลวงพอ่ วดั กาลังใจ
เร่ืองราวเกิดขึ้นเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ผมได้กราบลาหลวงพ่อไปฝึกปฏิบัติ

วิปัสสนากรรมฐาน ณ สานักงุยเตาอูกรรมฐาน ประเทศพม่า แม้ท่านจะ
ทักท้วงผมเสมือนหย่ังเชิงดูความมน่ั คงแห่งจิตใจของผม โดยแกล้งขู่ผมว่า “ไป
ปฏิบัติท่ีพม่า เขาไปตายกันนะ ไปแล้วไม่ได้กลับ” ด้วยความท่ีหลวงพ่อเป็น
พระเด็ดเดี่ยว มอบกายถวายชีวิตเพ่ือพระพุทธศาสนา ที่ท่านพูดกับผมอย่าง
นั้น อาจเป็นการตรวจสอบปณิธานความตั้งใจและวัดกาลังใจในการจะไปฝึก
ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานที่พม่า ซ่ึงผมก็ได้ยืนยันกับท่านอย่างหนักแน่นว่า
ต้องการไปพม่า โดยยังไม่มีกาหนดกลับประเทศไทย เม่ือหลวงพ่อเห็นความ
ต้ังใจแน่วแน่ของผม ท่านจึงเมตตาให้คาแนะนาส่ังสอนว่า “ขณะปฏิบัติเมื่อ
พบส่ิงที่น่ากลัว ให้ท่านนึกถึงพระพุทธเจ้า มอบกายถวายชีวิตกับ
พระพุทธเจ้าเลยนะ” ประโยคนี้นับเป็นพลังที่หลวงพ่อให้กับผม กาลังใจท่ี
เข้มแข็ง ยอ่ มนาพาให้กา้ วข้ามอุปสรรค มุ่งไปสู่ความสาเรจ็ ได้โดยงา่ ย

๑๒. หลวงพ่อทาไวใ้ หค้ นร่นุ หลงั
ภายหลังการผ่าตัดเปลี่ยนเส้นเลือดหัวใจ สุขภาพร่างกายของหลวงพ่อมี

ภาวะแทรกซ้อนเป็นระยะ หนักบ้าง เบาบ้าง เมื่อมีอาการผิดปกติท่านจะเรียก
กรรมการวัดให้พาไปโรงพยาบาล บางครั้งอาการกาเริบเวลาประมาณเที่ยงคืน
หรือตีหน่ึง ท่านก็เรียกกรรมการวัดบ้านกลางผู้ที่คุ้นเคยกับท่านให้มารับรู้
รับทราบว่า ทรัพย์สินส่วนนี้ของวัด ทรัพย์สินส่วนนี้โยมถวายท่านเป็นส่วนตัว
ถ้าฉันตายอย่าเอาทรัพย์สินของวดั มาจัดงานศพฉันนะ ฉันเตรียมเงินจัดงานศพ

พุทธรกั ขิตานุสรณ์

ฉันไว้เรียบร้อยแล้ว แม้ท่านไม่ได้เขียนเป็นพินัยกรรมเก่ียวกับทรัพย์ของวัดไว้
แต่ก็มีหลักฐานด้วยการจดบันทึก (บัญชีของท่าน) และด้วยการช้ีบอก
คณะกรรมการวัดให้รับทราบไว้

เมื่อหลวงพ่อมรณภาพลง ฝ่ายคณะสงฆ์นาโดยพระครูอุดมวิสุทธิธรรม
เจา้ คณะอาเภอหว้ ยคตเป็นประธาน ฝ่ายฆราวาสนาโดยผอู้ านวยการสานักงาน
พระพุทธศาสนาแห่งชาติจังหวัดอุทัยธานีเป็นประธาน พร้อมด้วย
คณะกรรมการวัดบ้านกลาง ได้ทาการเปิดสารวจทรัพย์สินของวัด พบว่าหลวง
พ่อได้ทาบัญชีทรัพย์สินของวัดไว้อย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย ทาให้การจัดการ
เรื่องทรัพย์สินของวัดเป็นไปด้วยความราบรื่นถูกต้องไม่มีข้อกังขา เหล่าคณะ
สงฆ์และคณะกรรมการจึงรู้สึกเลื่อมใสและช่ืนชมในความซื่อตรงของหลวงพ่อ
กันอยา่ งทัว่ หน้า ขณะเดียวกันผู้ได้ทราบข่าวนี้ต่างก็พากนั เลอ่ื มใสและอาลยั รัก
หลวงพ่อมากยงิ่ ข้ึน

๑๓. หลวงพอ่ สอนให้เดินสูเ่ ส้นทางพ้นทกุ ข์
การฝึกตนของหลวงพ่อ ท่านได้ฝึกปฏิบัติจนสามารถพึ่งตนเองได้ ดัง

พุทธศาสนสุภาษิตท่ีว่า “อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา”
แปลว่า “ตนแล เป็นท่ีพ่ึงของตน คนอ่ืนใครเล่า จะเป็นที่พึ่งได้” ในคราวท่ี
หลวงพ่ออาพาธหนักถึงข้ันต้องผ่าตัดเปล่ียนเส้นเลือดหัวใจ ๓ เส้น ณ
โรงพยาบาลศิริราช เม่ือวันท่ี ๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ภายหลังการผ่าตัด
ท่านมาพักฟ้ืนอยู่กับผมที่คณะ ๒๔ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏ์หลายวัน เพ่ือ
รอไปพบแพทย์ตามนัด ผมจึงได้มีโอกาสดูแลท่านอย่างใกล้ชิดอีกครั้ง ผม
สังเกตเห็นท่านดูแลตัวเองอย่างดีเยี่ยม ไม่บ่น ไม่พูด อดทน อดกลั้น ไม่แสดง
ความทุกข์ทรมานให้เห็น ท้ังเรื่องถ่ายหนักถ่ายเบา ท่านช่วยเหลือตนเองตลอด
ในยามค่าคืนท่านก็ไม่เคยปลุกเรียกผมที่นอนจาวัดอยู่ข้าง ๆ ท่านแม้สักครั้ง
เดียว บางวันท่านยังเล่าเรื่องการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน
๔ ให้ผมฟัง (ดูเรื่อง “หลวงพ่อเล่า เราบันทึก” ในเล่มนี้) ด้วยหลวงพ่อผ่าน

พทุ ธรกั ขิตานุสรณ์

การฝึกกรรมฐานจนได้ผลเป็นอย่างดี แม้ท่านจะอาพาธหนัก แต่ดูท่านยังคง
สงบสมกับเป็นศษิ ยพ์ ระพทุ ธเจ้าที่รู้ทุกขแ์ ตไ่ มเ่ ป็นทกุ ข์

เม่ือหลวงพ่อได้ประจักษ์แจ้งด้วยตัวท่านเองถึงประโยชน์ของการปฎิบัติ
ธรรม ท่านจึงสนบั สนนุ ให้ผมจัดสอนวปิ ัสสนากรรมฐานที่วดั บา้ นกลาง ระหว่าง
วันท่ี ๑๒-๑๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ และ พ.ศ. ๒๕๖๒ แม้หลวงพ่อ
จะเป็นพระที่พูดน้อยก็ตาม แต่เมื่อท่านได้ให้โอวาทธรรมวันปฐมนิเทศ
(พิมพ์ในเล่มนี้ทั้งหมด) ซ่ึงเป็นประโยชน์แก่ผู้ให้โอกาสตัวเองได้มาเรียนรู้ทาง
พ้นทุกข์ จากทุกขเวทนาอย่างรุนแรงที่หลวงพ่อประสบอยู่ ท่านจึงได้กล่าวถึง
วิธีพ้นทุกข์ไว้ว่า “ถ้าเราเอาชนะมันได้นะ การเจ็บปวดจะไม่เกิดเลย
ทุกขเวทนาทุกอย่าง สังขารจะไม่เกิดเลย การเจ็บปวดจะไม่เกิดเลย ถ้าเราไม่
เอาชนะไดน้ ะ มนั ทรมานมาก ๆ”

ท้ังน้ีในวันปัจฉิมนิเทศ ท่านยังได้กล่าวช่ืนชมทั้งผู้สอน และ ผู้ปฏิบัติ
ธรรม ด้วยว่าสอนถูก สอนตรง ปฏิบัติได้ถูก ปฏิบัติได้ตรง จึงเห็นการพัฒนา
ของผู้ปฏิบัติได้อย่างชัดเจน ประกอบกับน้าเสียงสีหน้าแววตาของท่านที่ฉาย
ออกมาด้วยความปลาบปล้ืมยินดี ย่ิงทาให้ผมปล้ืมปีติและมีกาลังใจที่จะมุ่งม่ัน
เผยแผ่พระธรรมคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้าด้วยการสอนวิปัสสนากรรมฐาน
ต่อไป หลวงพ่อได้กล่าวทิ้งท้ายไว้ก่อนจบอีกตอนหน่ึงว่า “อาตมาฝากมหา
ด้วย ให้โยมทุกคนช่วยดูแลมหาด้วย” คากล่าวนี้ดังคาฝากฝังบุตรท่ีท่านเคย
เล้ียงดูมา แต่อีกนัยหน่ึงท่านได้แสดงถึงความปรารถนาดีต่อผู้ปฏิบัติธรรม
อีกทั้งท่านยังกาชับผมให้เปิดโอกาสแก่ผู้สนใจใฝ่ปฏิบัติธรรมไว้ว่า “จัดครั้ง
ต่อไปให้รับทุกคนที่มาสมัครปฏิบัติธรรม เขาจะมา ๑-๒-๓ วัน ก็รับเขาให้เข้า
ปฏบิ ตั เิ ถอะ” ผมไดใ้ หค้ าม่นั สัญญากับหลวงพอ่ ไว้วา่ “ผมจะจัดปฏบิ ัติวิปัสสนา
กรรมฐานที่วัดบ้านกลางเพ่ือถวายหลวงพ่อ ๓ ปี และผมกไ็ ด้ทาสาเร็จแล้วเม่ือ
ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ตามที่ได้ให้สญั ญาไว้กับหลวงพอ่ ของผม

พระมหาธรี โชติ ธรี ปญโฺ ญ ป.ธ.๙

พทุ ธรักขิตานสุ รณ์

คาไวอ้ าลยั

การที่พระครูอุทิตธรรมสาร (วิจิตร์ พุทฺธรกฺขิโต) ได้มรณภาพ เมื่อวันที่
๙ กมุ ภาพันธ์ พุทธศกั ราช ๒๕๖๓ นามาซ่ึงความเสียใจและอาลัยถึง ซึ่งท่าน
เป็นพระท่ีมีคุณูปการต่อพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะในวัดบ้านกลาง และ
คณะสงฆ์จงั หวดั อทุ ัยธานี จะหาพระอยา่ งน้ีไดย้ ากอยา่ งย่งิ

อาตมาได้รู้จักกับพระครูอุทิตธรรมสารมาเป็นเวลานาน ได้ทางาน
คณะสงฆ์ร่วมกันในจังหวัดอุทัยธานี ท่านเป็นพระที่มีน้าใจ มีเมตตากรุณา
ต่อพระภิกษุ สามเณร ตลอดจนพุทธบริษัท ญาติโยมทุกท่านท่ีได้พบปะ
ปราศรัยกับท่าน พระครูอุทิตธรรมสารได้ทาคุณูปการต่อวัดและพระศาสนา
จนท่านได้รับตาแหน่งเจ้าอาวาสวัดบ้านกลางเป็นรูปแรก ท่านได้ปฏิบัติงาน
การคณะสงฆ์ในหน้าที่ต่าง ๆ ที่ได้รับมอบหมายมา ด้วยความเรียบร้อย ดีงาม
และมีประสิทธิภาพ อีกท้ังได้บาเพ็ญประโยชน์แก่งานพระพุทธศาสนา ท่าน
มปี ระวตั ิการทางานดา้ นปกครองดงั นี้

พ.ศ. ๒๕๒๗ ได้รับแตง่ ตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ เจา้ อาวาสวัดบา้ นกลาง
อาเภอห้วยคต จงั หวดั อทุ ยั ธานี

พ.ศ. ๒๕๓๖ ไดร้ ับพระราชทานต้ังเปน็ พระครสู ญั ญาบัตร
ในราชทินนามที่ “พระครูอทุ ิตธรรมสาร”

พ.ศ. ๒๕๓๗ ไดร้ บั แตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองเจา้ คณะตาบลหว้ ยคต
อาเภอห้วยคต จังหวดั อทุ ัยธานี

พ.ศ. ๒๕๓๙ ไดร้ ับแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหนง่ เจา้ คณะตาบลห้วยคต
อาเภอห้วยคต จังหวัดอุทยั ธานี

จากผลงานของพระครู ทาให้ท่านเป็นท่ีรักเคารพนับถือของคณะสงฆ์
และประชาชนทัว่ ไปเปน็ อยา่ งมาก

พุทธรักขติ านสุ รณ์

ถึงกระนั้น ส่ิงใดในโลก เมื่อเกิดและเจริญขึ้น มีความดีคุณูปการ แต่
ท่ีสุดก็เดินเข้ามาหามฤตยูทั้งหมด เพราะมฤตยูมีอานาจเหนือกว่า แมโ้ ลกคือ
มวลมนุษย์ก็มีคติเช่นน้ัน พระครูอุทิตธรรมสารก็เป็นผู้หน่ึงท่ีถูกมฤตยูมานา
ชีวติ ให้สญู จากโลกนไี้ ป ตา่ งพากนั เศรา้ โศกและเสยี ดายเป็นอันมาก

เมื่ออาตมาได้ทราบว่าพระครูอุทิตธรรมสารได้มรณภาพ เม่ือวันท่ี ๙
กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๓ ทาให้รู้สึกเสียดาย เพราะได้ขาดพระผู้มี
คุณูปการท่ีสาคัญไป แต่มาย้อนนึกได้ว่าเกิดมาแล้วก็ต้องตายไป เป็นของ
ธรรมดา จึงทาให้มีจิตใจสบายข้ึน จึงน้อมจิตขออานาจคุณพระศรีรัตนตรัย
และคุณงามความดีคุณูปการต่าง ๆ ที่พระครูอุทิตธรรมสารกระทาไว้นั้น จง
เป็นพลวปจั จัยสนบั สนุนให้ท่านได้ถึงซ่ึงพระนพิ พานเทอญ

(พระราชอทุ ยั โสภณ)
เจา้ คณะจังหวัดอทุ ัยธานี
เจ้าอาวาสวัดหนองขนุ ชาติ อ.หนองฉาง จ.อทุ ัยธานี

พุทธรกั ขิตานุสรณ์

คาไว้อาลัย

เนื่องในโอกาสงานพระราชทานเพลิงศพพระครูอุทิตธรรมสาร อดีต
เจ้าคณะตาบลห้วยคต อดีตเจ้าอาวาสวัดบ้านกลาง ซึ่งได้ถึงแก่มรณภาพ
ด้วยโรคประจาตัว เมื่อวันท่ี ๙ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๓ ณ โรงพยาบาล
ห้วยคต จังหวัดอุทัยธานี ยังความโศกเศร้าเสียใจอาลัยอาวรณ์ให้เกิดแก่
คณะสงฆ์อาเภอห้วยคต ตลอดจนถึงคณะศิษยานุศิษย์ผู้ท่ีมีความเคารพนับถือ
และศรัทธาญาติโยมพุทธศาสนิกชนทง้ั หลาย

พระครูอุทิตธรรมสารนับเป็นปูชนียบุคคล เป็นพระเถระผู้ใหญ่ที่ควร
เคารพนับถือกราบไหว้บูชา เป็นที่พ่ึงของพระสงฆ์และสามเณรในวัดบ้านกลาง
ตลอดจนคณะสงฆ์ในเขตอาเภอห้วยคต โดยเฉพาะด้านการปกครองน้ัน ท่าน
ก็ได้รับตาแหน่งเจ้าอาวาสวัดบ้านกลางและเจ้าคณะผู้ปกครองในตาแหน่ง
เจ้าคณะตาบลห้วยคต ซึ่งในช่วงแรกเขตอาเภอห้วยคตมเี ขตปกครองคณะสงฆ์
เพียงแห่งเดียว ทั้งอาเภอจึงมีท่านเป็นผู้ปกครองคณะสงฆ์ทั้งหมด ท่านเป็นผู้มี
จิตใจเสียสละในการทางานให้แก่คณะสงฆ์ตามท่ีพระเถระผู้บังคับบัญชา
ไดม้ อบหมาย นับเป็นคุณธรรมทนี่ ่ายกย่องสรรเสริญเป็นอย่างย่ิง

ส่วนในด้านการเผยแผ่น้ัน ท่านเป็นพระนักปฏิบัติและเทศนาอบรม
ส่ังสอนคณะศรัทธาญาติโยมพุทธบริษัทให้ประพฤติดี ปฏิบัติชอบตาม
หลักธรรมคาสอนท่ีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ตลอดชีวิต
ของทา่ น

แม้ในด้านอื่น ๆ ท่านก็ได้บาเพ็ญสิ่งท่ีเป็นสาธารณประโยชน์ไว้อีก
มากมาย สุดท่ีจะพรรณนาให้หมดสิ้นในท่ีนี้ได้ ดังจะขอยกศาสนสุภาษิตขึ้นมา
กล่าวอ้างบทหน่ึงว่า “อชฺเชว กิจฺจมาตปฺปํ โก ชญฺญา มรณ สุเว น หิ โน
สงฺครนฺเตน มหาเสเนน มจฺจุนา” ความว่า “ควรรีบทาความเพียรเสียในวันนี้
ใครเลยจะรู้ความตายจะมีมาในวันพรุ่งนี้ เพราะไม่มีใครเลยที่ผลัดเพี้ยน
ตอ่ มจั จรุ าชผูม้ เี สนาใหญ่ได้”

พทุ ธรักขิตานสุ รณ์

พระครอู ุทติ ธรรมสารจากโลกนี้ไปก็เพียงรา่ งกาย สว่ นช่อื เสียง เกยี รติยศ
คุณธรรมทง้ั หลายของทา่ น ก็จะสถิตอยู่ในจิตใจของพุทธศาสนิกชนทัง้ บรรพชิต
และคฤหัสถ์ตลอดไป ดังศาสนสุภาษิตที่ว่า “รูปํ ชีรติ มจฺจาน นามโคตฺต
น ชีรติ” ความว่า “รูปคือร่างกายย่อมย่อยยับแตกสลายไป ส่วนชื่อเสียง
เกยี รตคิ ุณนน้ั หายอ่ ยยบั ไปด้วยไม่”

ขออานาจกุศลผลบุญทั้งหลายและการประพฤติดี ปฏิบัติชอบ ที่ท่านได้
บาเพ็ญมาตลอดในเพศบรรพชิต จงเป็นพลวปัจจัยอานวยอิฏฐวิบากสุขสมบัติ
ในสคุ ติสมั ปรายภพตลอดไป

(พระครูอดุ มวิสทุ ธิธรรม)
เจ้าคณะอาเภอห้วยคต
เจา้ อาวาสวดั สามัคคีรังสรรค์ อ.หนองฉาง จ.อทุ ัยธานี

พุทธรกั ขติ านุสรณ์

คาไวอ้ าลัย แด.่ ..พระครูอุทิตธรรมสาร

พระปัจฉิมพุทโธวาทของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตรัสว่า
หนฺททานิ ภิกฺขเว อามนฺตยามิ โว วยธมฺมา สงฺขารา อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราขอเตือนเธอทั้งหลายว่า สังขารทั้งหลายมีความเส่ือม
สลายไปเป็นธรรมดา เธอทัง้ หลายจงยังกจิ ให้ถึงพรอ้ มด้วยความไมป่ ระมาทเถิด

พระปัจฉิมพุทโธวาทน้ี เป็นอมตธรรมอันล้าค่า แม้จะมีใจความย่อ
และส้ันเพียง ๓ ประโยคเท่านั้น แต่ก็สามารถครอบคลุมศาสนธรรมคาส่ังสอน
ทง้ั หมดไวอ้ ยา่ งน่าอศั จรรยย์ ่งิ

ประโยคแรก ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย เราขอเตือนเธอท้ังหลาย เป็น
พระพทุ ธดารสั เตอื นพุทธบรษิ ทั มภี กิ ษเุ ป็นประธาน ซง่ึ ประชุมกันอยู่ ณ สถานท่ี
นนั้ ใหค้ อยฟัง

ประโยคที่ ๒ สังขารมีความเสื่อมสลายไปเป็นธรรมดา เป็นการตรัสถึง
สัจธรรม คือทุกส่ิงทุกอย่างในโลกเป็นไปตามกฎของธรรมชาติ เส่ือมไปไม่จีรัง
ยั่งยืน เปล่ียนแปรสลายส้ินไป เป็นการทรงเตือนให้ทราบถึงความเป็นจริง
ของสิง่ ทง้ั มวลอนั ไดน้ ามวา่ ..สังขาร

ประโยคที่ ๓ เธอทั้งหลายจงยังกิจให้ถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาทเถิด
เป็นการทรงเตือนให้รีบปฏิบัติธรรมคืออัปปมาทธรรม ได้แก่ ให้มีสติรอบคอบ
ไม่พึงเผลอสติ โดยใจความว่าจงทากิจอันเป็นประโยชน์ส่วนตน และท่ี
เปน็ ประโยชนส์ ว่ นรวมใหถ้ งึ พรอ้ มอยา่ งมีสติ คือดว้ ยความไมป่ ระมาท

พทุ ธรักขิตานสุ รณ์

ท่านพระครูอุทิตธรรมสาร อดีตเจ้าคณะตาบลห้วยคต อดีตเจ้าอาวาส
วัดบ้านกลาง เป็นพระเถระผู้มีศีลาจารวัตรเรียบร้อยงดงาม เป็นท่ีเคารพ
ของศิษยานุศิษย์ทั้งหลาย และเพ่ือนสหธรรมิกผู้คุ้นเคยกับท่าน ท่านเป็นผู้
ท่ีเป่ียมด้วยเมตตา และถึงพร้อมด้วยความกตัญญูกตเวทิตาธรรม ท่านได้ทา
คุณประโยชน์และสร้างผลงานเป็นท่ีประจักษ์แก่วัดบ้านกลาง สนับสนุนงาน
การทานบุ ารงุ พระพทุ ธศาสนาอย่างกว้างขวางและตอ่ เน่ือง สดุ ท่ีจะประมาณได้

การจากไปของท่านพระครู ถึงแม้จะเป็นไปตามวัฏสงสาร แต่ก็นามา
ซ่ึงความอาลัยเป็นอย่างย่ิง ด้วยคุณงามความดีท่ีท่านได้กระทาไว้ ขอจงเป็น
พลังปัจจัยเก้ือหนุนน้อมนาให้ดวงวิญญาณของท่านจงประสบแต่ความสุข
ในสมั ปรายภพตามสมควรแก่อตั ภาพตลอดกาลนานดว้ ยเทอญ

พระครูอุเทศวสิ าลธรรม
เจา้ คณะตาบลสุขฤทัย
เจา้ อาวาสวัดหนองยาง อ.ห้วยคต จ.อทุ ัยธานี

พุทธรกั ขิตานสุ รณ์

คาไว้อาลยั

นับจากปี พ.ศ. ๒๕๔๑ จนถึงปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๖๓ รวมระยะเวลา
ประมาณ ๒๐ กว่าปี ที่ได้รู้จักหลวงพ่อพระครูอุทิตธรรมสาร กล่าวได้ว่าท่าน
เป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในตาบลห้วยคตจนไปถึงทั้งอาเภอก็ว่าได้ เพราะ
ท่านได้สร้างความเล่ือมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา ความร่วมมือร่วมใจ
ของประชาชนให้เกิดขึ้น โดยเฉพาะการเผยแผ่พระพุทธศาสนาอันเป็นหน้าที่
สาคัญของพระสงฆ์ ท่านก็ทามาโดยตลอด ทั้งการแสดงธรรม จัดกิจกรรมต่าง
ๆ การทาหนังสือธรรมะแจก และการเอาตนเองเป็นแบบอย่าง โดยทาให้ดูให้
เห็นเป็นแบบให้เรียนรู้ เป็นพระท่ีรอบคอบสุขุม ละเอียดถ่ีถ้วน มีระเบียบ ตรง
ไป ตรงมา เอาความถูกต้องถูกธรรมเป็นสาคัญ ท่านปฏิบัติตนอยู่ในพระธรรม
วินัยอย่างเคร่งครัด ไม่เคยมีเร่ืองเสื่อมเสียเกิดขึ้น หลวงพ่ออุทิศตนทา
คณุ ประโยชน์แก่พระพทุ ธศาสนาและสังคมสว่ นรวมมาโดยตลอด

การละสังขารของท่านถือเป็นการสูญเสียบคุ คลสาคญั ทางระพทุ ธศาสนา
อีกท่านหนึ่ง เมื่อถึงเวลาก็เป็นไปตามสัจธรรมคาสอนของพระพุทธองค์ แต่
สิ่งที่ยังคงอยู่คือคุณงามความดีและคาส่ังสอนตลอดจนแบบอย่างท่ีดี เชื่อว่า
ส่ิงเหล่านี้ถูกจารึกไว้ในจิตใจของผู้คนที่เคารพนับถือตลอดจนศิษยานุศิษย์
ตลอดไป

ท้ายนี้ขอให้บุญบารมีที่หลวงพ่อบาเพ็ญมาตลอดจงดลบันดาลให้
ดวงวิญญาณทา่ นสู่สคุ ติภพและเข้าสนู่ พิ พานในอนาคตกาลดว้ ยเทอญฯ

พระครูอุทติ สารโสภณ

เจ้าคณะตาบลทองหลาง
เจา้ อาวาสวดั สมอทอง อ.ห้วยคต จ.อุทยั ธานี

พุทธรกั ขติ านสุ รณ์

ระลกึ ถึงคณุ และอทุ ศิ บญุ กุศลให้หลวงพ่อเบมิ้

หลายสิบปีที่รู้จักหลวงพ่อเบิ้ม (พระครูอุทิตธรรมสาร) ตั้งแต่เมื่อครั้งอยู่
วัดเขาวงษ์พรหมจรรย์ จนถึงปัจจุบัน หลวงพ่อเป็นพระดีมีเมตตา
พูดตรงไปตรงมาไม่อ้อมค้อม ข้อคิดคติธรรมที่ได้จากหลวงพ่อ คือ ความอดทน
ความประหยัด ความพอดีพอเพียง เรียบง่าย ความมีระเบียบเรียบร้อยในทุก ๆ
เรื่อง ซ่ึงสังเกตได้จากส่ิงของภายในวัด จัดเก็บไว้เป็นอย่างดี เป็นแบบอย่าง
ให้แก่ผูพ้ บเหน็ ได้มาก และอกี หลาย ๆ อยา่ ง

สรรพสิ่งต้ังอยู่บนความไม่เที่ยง ไม่แน่นอน ชีวิตของหลวงพ่อเช่นกัน
ท่านป่วยต้องเข้าออกโรงพยาบาลอยู่บ่อยคร้ัง แต่หลวงพ่อก็ไม่ประมาทในชีวิต
ได้มีการเตรียมการต่าง ๆ ไว้อย่างเรียบร้อย ไม่ว่าจะเป็นเงินค่าทาศพ บัญชีต่าง
ๆ ของวัด และทรัพยส์ งิ่ ของทุกอย่างภายในวัด

เมื่อวาระสุดท้ายของหลวงพ่อมาถึง ส่ิงท่ีลูกศิษย์ลูกหลานจะพึงกระทา
ได้ คอื การไดท้ าบญุ อุทิศให้ เพ่ือเป็นเหตุเป็นปจั จยั ให้หลวงพ่อไดไ้ ปสภู่ พภูมทิ ี่ดี
ที่เรียกว่าสุคติภพ ด้วยอานาจคุณศีลคุณธรรม คุณงามความดีท้ังหลาย
ท่ีหลวงพ่อเบ้ิมได้สั่งสมมา และที่กระผมได้ส่ังสมมา จงส่งผลดลสนองให้
หลวงพ่อเบ้มิ (พระครูอุทิตธรรมสาร) สู่สุคติภพ ในสัมปรายภพ มีความสงบสุข
ในภพน้ัน ๆ ดว้ ยเถิด

ดว้ ยความเคารพอย่างสูงย่งิ

พระมหาดสุ ติ ปิยวณโฺ ณ

เจ้าคณะตาบลห้วยคต
เจ้าอาวาสวัดหนองจอก อ.หว้ ยคต จ.อทุ ยั ธานี

พุทธรักขิตานุสรณ์

คาไวอ้ าลัย

หลวงพ่อเปรียบประดุจผู้จุดประกายไฟทางธรรมะแก่ผม คร้ังแรกท่ีได้
ศึกษาธรรมะอย่างจริงจัง ก็ตอนเรียนเพ่ือจะสอบนักธรรมตรี ตอนนั้น
เป็นฆราวาส ท่านหลวงพ่อกรุณาส่งช่ือเป็นสามเณรให้มีสิทธิสอบ ก็บวช
เป็นสามเณรไปสอบ พอสอบเสร็จก็สึกจากสามเณรมาประกอบอาชีพเลี้ยง
ครอบครัว ทาอย่างนี้จนจบนักธรรมเอก โดยก่อนสอบจะอ่านหนังสือ ๘ เท่ียว
เกอื บทุกวิชา ท่านหลวงพ่อใหโ้ อกาสทางธรรม ซึ่งในสว่ นตัวของผมมนั มีค่ามาก
ไปประกอบอาชีพเล้ียงครอบครัวอยู่ระยะหน่ึง จึงกลับมาบวชพระอยู่จาพรรษา
ที่วัดโฆสิตาราม (บ้านแค) ๓ พรรษา พอพรรษาท่ี ๔ ได้มาอยู่ยังวัดบ้านกลาง
ปีน้ันท่านหลวงพ่อต้องไปผ่าตัดเปล่ียนเส้นเลือดหัวใจ ท่านหลวงพ่อได้
มอบหมายให้เป็นรักษาการเจ้าอาวาสดูแลวัดและพระภิกษุผู้มาบวชใหม่ จึงได้
มีโอกาสรับใช้ท่านทางานช่วยเหลือท่าน พรรษาน้ันมีพระท้ังหมดรวมท่าน
หลวงพ่อด้วย ๘ รูป นี้เป็นโอกาสครั้งที่ ๒ ที่หลวงพ่อท่านได้ให้ประสบการณ์
ในการทางานที่ได้ดูแลวัด ดูแลงานพระศาสนา ได้มีโอกาสสอนธรรมศึกษา
นักเรียน สอนธรรมชั้นตรีพระภิกษุสงฆ์ ได้นาโยมทาวัตรสวดมนต์ น่ังสมาธิ
เดนิ จงกรม

หลังจากท่านหลวงพ่อหายดีแล้ว ก็ได้ขออนุญาตท่านไปอบรม
พระไตรปิฎก เดินธุดงค์ ก่อนจะไปเดินธุดงค์ และจาพรรษาท่ีแดนพระพุทธภมู ิ
๒ พรรษา ได้มากราบท่านขออนุญาตท่านทุกคร้ังในฐานะท่ีท่านเป็นครูบา
อาจารย์ ต้องมารายงานให้ท่านทราบ หลังจากกลับจากอินเดียมา ขออนุญาต
ท่านไปอยู่วัดป่าผาก ท่านไม่เห็นด้วย แต่ก็มิได้คัดค้าน ตอนหลังท่านให้ผู้ใหญ่
วิเชียร เพ็งสอน มานิมนต์ไปอยู่วัดชุมทหารได้ ๑ เดือน ท่านหลวงพ่อก็ได้
มรณภาพลง จึงต้องกลับมาช่วยเหลืองานวัดบ้านกลางอีกคร้ัง มาตอบแทน
บุญคุณของท่าน ที่ได้ช่วยแนะนาสั่งสอน ให้สติ โดยเฉพาะความอดทน
หลวงพอ่ ทา่ นสอนใหร้ จู้ ักความอดทนไดด้ ีมาก

พทุ ธรกั ขิตานสุ รณ์

ในวาระโอกาสที่พระเดชพระคุณหลวงพ่อ ซ่ึงเป็นปูชนียบุคคล

ได้ละสังขารจากไป ในใจของคณะศิษยานุศิษย์ จะระลึกถึงคาส่ังสอน

ของพระคณุ ทา่ นและนามาปฏบิ ตั ิ ดว้ ยความเคารพและบูชาอย่างย่งิ ตลอดไป

ถงึ สงู เยี่ยมเทียมฟา้ อย่าดูถกู ครเู คยปลูกวชิ าแตห่ นหลงั

ศิษย์ไรค้ รูอยไู่ ดไ้ มจ่ รี งั อย่าโอหัง บงั อาจ ประมาทครู

พระอธกิ ารฉัตชะพล อนาวิโล
เจ้าอาวาสวัดบ้านกลาง อ.หว้ ยคต จ.อุทยั ธานี

พุทธรักขติ านุสรณ์

คาไวอ้ าลยั

ด้วยความอาลัยจากญาติและหลาน หลวงอา (พระครูอุทิตธรรมสาร)
ได้เป็นร่มโพธ์ิร่มไทรเป็นที่พึ่งทางจิตใจของญาติพี่น้องและลูกศิษย์ทั้งชาว
หมู่บ้านบ้านกลางรวมถึงบุคคลจากทั่วสารทิศ เพราะเป็นพระท่ีได้ทาหน้าที่
ในฐานะบรรพชิตในบวรพระพุทธศาสนาอย่างเต็มท่ี และไม่มีข้อขาดตก
บกพร่องแต่ประการใด ท่านเป็นผู้สร้างท้ังในด้านวัตถุ ที่อยู่อาศัย และการ
บารุงส่งเสริมเก่ียวกับทางศาสนาได้อย่างไม่ขาดตกบกพร่อง อีกท้ังเป็นพระ
ที่ไม่เคยใช้ทรัพย์ส่วนรวมมาใช้เพ่ือประโยชน์ส่วนตน หลวงอามีจิตใจที่
อ่อนน้อม เอ้ืออาทรแก่ชาวบ้านอยู่เสมอ ในส่วนข้อวัตรปฏิบัติท่านจะเป็นพระ
ท่ีสารวม พูดน้อย และไม่เคยด่าว่าใครรุนแรง ท่านใช้วาจาสุภาพและอดทนสูง
มาก แม้ยามเจ็บไข้ได้ป่วยจะรุนแรงและทรมานขนาดไหน ท่านไม่เคยบ่น
จนวาระสุดท้ายท่านได้จัดการทุกอย่างไว้เรียบร้อย เสมอื นท่านจะรู้ล่วงหน้าว่า
จะต้องเปน็ อย่างไร ดังเชน่ บทกลอนน้ี

พุทธรักขิตานสุ รณ์

ไมม่ ีแล้วดวงแก้วท่พี ่ึงหวัง ไม่มีแลว้ พลงั ท่ีสง่ ให้
ไมม่ ีแล้วความรกั กาลงั ใจ ไม่มีแลว้ ความหว่ งใยเคยใหก้ ัน
ไม่มแี ลว้ สายตาอันผูกจิต เหลือเพียงนดิ เศษเสย้ี วแห่งความหลัง
อันหลานนจ้ี ะอยู่อย่างทรงพลงั ตามความหวังท่หี ลวงตาคอยเฝา้ มอง
วนั น้หี ลานออ่ นแอมากเหลอื นัก แม้แต่พกั ตร์ยงั หม่นปนเศรา้ หมอง
ในวันน้ีแมแ้ ตก่ ายไดเ้ พียงมอง หลานหลวงตาคนสดุ ทอ้ งนองนา้ ตา
เหลอื บไปเห็นรอยบาทอันสูงสง่ ทมี่ ่ันคงสง่ เสรมิ เติมให้หลาน
ดว้ ยหัตถะบาทาพาช่นื บาน ถึงดวงมานทาได้เพียงร่าลา
หันไปมองกฏุ จิ ิตแสนเศร้า หลวงตาฉนั ไงเลา่ เฝา้ มองหา
ในวันน้ีเหลือเพียงคาสอนหลวงตา ลูกหลานขา้ พงึ จาไวใ้ ห้เดนิ ตาม
อันกนู ้ีเรยี นจบแค่ ป. ๔ หมายชวี ีเพียงจติ ใหพ้ ึ่งหวัง
กอู ยู่มา ๔๗ ปีมพี ลัง สมดงั หวงั ตงั้ นามวา่ วัดบ้านกลาง

นางสาวภสั สภร โฉมศรี และครอบครวั
ในนามตระกูล “ภูมียา”


Click to View FlipBook Version