The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือโรงเรียนมาตรฐานสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่่ยั่งยืน (5)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by eesd obec, 2019-12-09 03:33:06

คู่มือโรงเรียนมาตรฐานสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่่ยั่งยืน (5)

คู่มือโรงเรียนมาตรฐานสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่่ยั่งยืน (5)

คูมือ

โรงเรียนมาตรฐานส่ิงแวดลอมศึกษาเพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืน

(Environmental Education Sustainable Development School : EESD School)

ZERO WASTE ENERGY

BIO DIVERSITY

ยทุ ธศาสตรดานการสรางการเติบโตบนคณุ ภาพชีวติ ที่เปนมติ รกับสิง่ แวดลอ ม
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน (สพฐ.) กระทรวงศกึ ษาธิการ



Go .... !



คํานํา

มาตรฐานโรงเรียนส่ิงแวดลอมศึกษา ฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพื่อใชเปนแนวทางสําหรับสงเสริมกํากับ
ดูแลติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดําเนินงานโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน
โดยความรวมมือกันระหวางสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพส่ิงแวดลอม โดย
การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) กระทรวงพลังงาน ใหมีแนวปฏิบัติที่ตรงกัน จากการระดม
ความคิดของผูเก่ียวของทุกฝาย โดยนําหลักคิดการพัฒนาสถานศึกษาท้ังระบบ (Whole School
Approach : WSA) การดําเนินงานโครงการส่ิงแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน โครงการโรงเรียน
สีเขียว หองเรียนสีเขียว โครงการ Eco - School โครงการสงเสริมสุขภาพและการนอมนําหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชเปนแนวทางจัดทํามาตรฐานโรงเรียนส่ิงแวดลอมศึกษา ซ่ึงมีองคประกอบ
๔ ดาน ๑๐ มาตรฐาน ๓๑ ตัวชี้วัดโดยมีเปาหมายสูงสุดคือการพัฒนาสูความยั่งยืนใหผูเรียน ครู
ผูบริหารโรงเรียน และผูเก่ียวของ มีความตระหนัก เห็นคุณคาในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอม และมีวิถีชีวิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม อันสงผลตอสภาพแวดลอมท่ีดี ปราศจากมลพิษ
เปนโรงเรียน ชุมชน สังคมแหงความสะอาด สวยงาม ปลอดภัย และเปนผูมีสวนรวมในการลดภาวะ
โลกรอนท้ังทางตรงและทางออมสํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน ขอขอบคุณคณะทํางานทุกทาน ท่ีชวยกันจัดทํามาตรฐานโรงเรียนส่ิงแวดลอมศึกษา
ฉบับน้ี จนสําเร็จลุลวงไปดวยดี และคาดหวังวาเอกสารฉบับน้ีจะเปนประโยชนในการพัฒนาสิ่งแวดลอม
ศึกษา ทั้งในโรงเรียนชุมชนสังคมและประเทศชาติตอไป

สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา



สารบัญ

บทที่ ๑
๔ บทนํา
๔ ความสําคัญในการกําหนดมาตรฐาน
๗ วัตถุประสงค

บทที่ ๒
๘ โรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
๙ หลักการ แนวคิด
๑๐ เปาหมาย
๑๐ มาตรฐานและตัวชี้วัด
๑๑ ๑. มาตรฐานดานการบริหารจัดการ
๑๑ ๒. มาตรฐานดานหลักสูตร

และการจัดการเรียนรู
๑๒ ๓. มาตรฐานดานการมีสวนรวม

และการสรางเครือขาย
๑๒ ๔. มาตรฐานดานผลท่ีเกิดข้ึน

บทที่ ๓

๑๔ มาตรฐานโรงเรียนส่ิงแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
๑๔ คาํ อธบิ ายและระดับคณุ ภาพมาตรฐานโรงเรยี นส่งิ แวดลอ มศึกษา
๑๔ ๑. มาตรฐานดานการบริหารจัดการ
๑๔ มาตรฐานท่ี ๑ สถานศึกษามรี ะบบการบริหารจดั การดานสง่ิ แวดลอมศึกษา

(ขยะ มลพิษ น้ํา พลังงาน อนามัย) ท่ีมีประสิทธิภาพ



๒๐ มาตรฐานที่ ๒ ครแู ละบคุ ลากรในสถานศกึ ษาไดร บั การพฒั นาดา นสงิ่ แวดลอ ม
ศกึ ษาอยางสม่ําเสมอ

๒๓ ๒. มาตรฐานดานหลักสูตรและการจัดการเรียนรู
๒๓ มาตรฐานท่ี ๓ สถานศึกษามีหลักสูตรและจัดการเรียนรูดานส่ิงแวดลอมศึกษาที่

สอดคลองกับบริบทของทองถิ่น
๒๙ มาตรฐานที่ ๔ สถานศึกษามีการสงเสริมการจัดกิจกรรม ดานทรัพยากรธรรมชาติ

พลังงาน สิ่งแวดลอมและ สุขอนามัย(ขยะ มลพิษ น้ํา พลังงาน อนามัย)
๓๓ ๓. มาตรฐานดานการมีสวนรวมและการสรางเครือขาย
๓๓ มาตรฐานท่ี ๕ สถานศึกษามีการสรางเครือขายการมีสวนรวมภายในสถานศึกษา
๓๕ มาตรฐานท่ี ๖ สถานศึกษามีสรางเครือขายการมีสวนรวมจากบุคคล

และหนวยงานภายนอก
๓๘ ๔. มาตรฐานดานผลที่เกิดข้ึน
๓๘ มาตรฐานที่ ๗ สถานศึกษามีสภาพแวดลอมท่ีสวยงาม สะอาด รมร่ืน ปลอดภัย และ

เอ้ือตอการจัดการเรียนรู
๔๑ มาตรฐานที่ ๘ ครูและบุคลากรทางการศึกษาเปนแบบอยางท่ีดีดานการอนุรักษ

สิ่งแวดลอมศึกษา
๔๓ มาตรฐานที่ ๙ ผูเรียนมีพฤติกรรมท่ีรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม
๔๕ มาตรฐานท่ี ๑๐ ชุมชน/เครือขาย มีสภาพแวดลอมท่ีสะอาด สวยงาม ปราศจากขยะ

และมลพิษ

บทที่ ๔

๔๗ การใหคะแนนตัวบงช้ีและสรุปผลรายมาตรฐาน

๕๑ ภาคผนวก
๑๐๑ บรรณานุกรม
๑๐๑ คณะทํางาน



บทที่ ๑

บทนํา

ความจําเปนในการกําหนดมาตรฐาน

แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) ภายใตว สิ ยั ทศั นท ว่ี า
“สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอภาค เปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง”
และไดกําหนดพันธกิจ ขอ ๔ สรางความม่ันคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมทั้ง
สรางภูมิคุมกันเพื่อรองรับผลกระทบการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ
โดยมีวัตถุประสงค ขอ ๔ เพ่ือการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหเพียงพอตอ
การรักษาสมดุลของระบบนิเวศและเปนฐานที่มั่นคงของการพัฒนาประเทศ ที่ใหความสําคัญกับการ
มีสวนรวมของทุกภาคสวน ทั้งในระดับชุมชน ระดับภาคและระดับประเทศ จึงไดกําหนดยุทธศาสตร
การพัฒนาสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตท่ีย่ังยืน ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยใหมีภูมิคุมกันตอ
การเปล่ียนแปลง โดยสรางจิตสํานึกใหคนไทยมีความรับผิดชอบตอสังคม เคารพกฎหมาย หลัก
สิทธิมนุษยชน สรางคานิยมการผลิตและบริโภคท่ีรับผิดชอบตอส่ิงแวดลอม เรียนรูการรองรับการ
เปล่ียนแปลงที่เกิดจากสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ (สรุปสาระสําคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแหงชาติ ฉบับท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) อางถึงใน นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน)

จากความสําคัญดังกลาว สิ่งแวดลอมศึกษา
จึงกําหนดเปนนโยบายสําคัญในการจัดการศึกษา
ทุกระดับเพราะการศึกษาเปนกระบวนการท่ีทําให
คนมีความรูและคุณสมบัติตางๆท่ีชวยใหคนน้ัน
อยูรอดในโลกไดเปนประโยชนตอตนเองครอบครัว
และสังคมสวนรวม (สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี, ๒๕๔๕) ดังน้ันคุณภาพการ
ศึกษาจึงสะทอนถึงคุณภาพของคนท่ีเปนผลิตผล
ของการจัดการศึกษาในดานสง่ิ แวดลอ มกเ็ ชน เดยี วกนั
ประเทศไทยและทกุ ประเทศทว่ั โลก ใหค วามสาํ คญั ใน



การพัฒนาคนเพ่ือส่ิงแวดลอม จึงเกิดการประสานความรวมมือระหวางประเทศในปพ.ศ.๒๕๔๔ –
๒๕๔๗ เปนระยะเวลา ๓ ปที่ประเทศไทยไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาลประเทศเดนมารก
โดย องคกรความชวยเหลือดานส่ิงแวดลอมและการพัฒนาแหงประเทศเดนมารก(DANIDA) ไดทํา
ขอ ตกลงรว มกนั กบั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยความรว มมอื
ของ ๕ NGOs ท่ีรวมพัฒนาโรงเรียนใน ๕ ภูมิภาค คือ มูลนิธิการศึกษาไทย (Thai Education
Foundation : TEF) สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน (Population and Community
Development Association: PDA) องคการกองทุนสัตวปาโลกสากล (World Wide Fund for
Nature: WWF) มูลนิธิโลกสีเขียว(Green World Foundation: GWF) และสถาบันธรรมรัฐเพื่อ
การพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม:ธ.พ.ส.ส.(Good Governance for Social Development and
the environment Institute: GSEI) การดําเนินโครงการสรางความเขมแข็งสิ่งแวดลอมศึกษาใน
ประเทศไทย (Strengthening Environmental Education in Thailand: SEET ) มีวัตถุประสงค
เพื่อสรางความเขมแข็งใหแกการพัฒนาสิ่งแวดลอมศึกษาในประเทศไทย โดยการพัฒนาหลักสูตร
ส่ิงแวดลอมศึกษา และผลิตสื่อการเรียนการสอนใหสอดคลองกับแตละทองถ่ิน เปาหมายเพื่อสงเสริม
สนับสนุนใหผูเรียนเติบโตอยางมีคุณภาพสูการเปนประชากรที่เขมแข็ง (Strong Citizen) ของสังคม
ประชาธิปไตย โดยผูเรียนไดเรียนรูประเด็นปญหาการใชทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน อันเปนความ
ขัดแยงระหวางคนกลุมตางๆ ในชุมชนที่รวมกันใชทรัพยากรธรรมชาติ และสามารถรับรูและวิเคราะห
ประเด็นปญหาส่ิงแวดลอมของชุมชนไดตามสภาพจริงอยางเขาใจในเหตุและผล รวมทั้งเขาใจสภาพ
การเปล่ียนแปลงของปญหาการใชทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน จากอดีตสูปจจุบันและแนวโนมใน
อนาคตจากความรูความเขาใจเหลาน้ีจะชวยใหผูเรียนสามารถสรางสรรคทางเลือกตางๆ ท่ีเปนไปได
ในอนาคต แลวสามารถตัดสินใจเลือกแนวทางแกปญหาไดอยางมีคุณคา โดยทางที่เลือกน้ันไมเพียง
ใหผลในการแกปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในปจจุบันเทานั้น แตจะสงผลกระทบ
อยางสรางสรรคตอความย่ังยืนในการมีและการใชทรัพยากรธรรมชาติของคนรุนตอไปในอนาคตดวย
การสงเสริมและพัฒนาโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาจึงนับเปนกลไกสําคัญในการขับเคล่ือนส่ิงแวดลอม



ศึกษาอยางเปนรูปธรรม ซ่ึงกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมไดมีนโยบายสงเสริมสิ่งแวดลอมศึกษา
ในโรงเรียนข้ึน ในป พ.ศ. ๒๕๔๘ สอดรับการดําเนินการขององคการสหประชาชาติท่ีไดประกาศให
ป พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๕๕ เปนศตวรรษแหงการศึกษาเพ่ือการพัฒนาอยางย่ังยืน (United Nations
Decade of Education for Sustainable Development : DESD) โดยใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอม
ศึกษาเปนเครื่องมือสําคัญในการพัฒนาจิตสํานึก และเจตคติดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ
จัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลา ทุกสถานท่ี มีการประสานความรวมมือกับบิดา มารดา ผูปกครอง
และบุคคลในชุมชนทุกฝาย เพ่ือรวมกันพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ ซึ่งสอดคลองกับแนวทางในการ
สงเสริมพัฒนาบุคลากรในสังกัดของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ไดจัดกิจกรรม
ฝกอบรมเพื่อสรางความเขมแข็งดานส่ิงแวดลอมศึกษาใหกับสถานศึกษาในจังหวัดนํารอง และตนแบบ
สํานักงานสีเขียว มีการติดตามประเมินผลหลังจากการประชุมแลกเปล่ียนในแตละภูมิภาคแตละพื้นท่ี
ซึ่งจากผลการติดตามประเมินผลการดําเนินงานของโรงเรียนท่ีเขารวมโครงการ พบวา โรงเรียนท่ีเขา
รับการอบรม ไดนําความรูท่ีไดรับการอบรม สัมมนา แลกเปล่ียนเรียนรูไปปรับใชตามบริบทของพ้ืนท่ี
ท้ังในระดับ สํานักเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาและสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาได
อยางเหมาะสม ตลอดจนมีการขยายผลสูโรงเรียนเครือขายส่ิงแวดลอมศึกษา เพื่อใหเกิดการพัฒนา
อยางตอเน่ืองและความย่ังยืน

สถานการณป จ จบุ นั โรงเรยี นในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สว นใหญจ ดั การเรยี นรโู ดยบรู ณาการ
สิ่งแวดลอมศึกษาในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มีการจัดการเรียนรู
ที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญตามแนวปฏิรูปการศึกษา ตลอดจนหนวยงานท่ีดําเนินงานดานสิ่งแวดลอมศึกษา
เขามามีบทบาทสงเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมส่ิงแวดลอมศึกษาในโรงเรียนทั้งระดับภูมิภาคและ
ระดับชาติ หนวยงานตางๆ ไดตระหนักถึงความสําคัญของสถานการณปญหาสิ่งแวดลอมท้ังระดับ
ทองถ่ิน ระดับประเทศและระดับโลก จึงมีความจําเปนท่ีจะรวมมือกันปองกันและแกปญหาสิ่งแวดลอม
ท้ังระยะส้ันและระยะยาวอยางไรก็ตามเพ่ือบูรณาการหลักการ แนวคิดดานสิ่งแวดลอมศึกษาของหนวย
งานตางๆ ใหมีแนวปฏิบัติท่ีตรงกัน สํานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน ไดประสานความรวมมือกับกรมสงเสริมคุณภาพส่ิงแวดลอมการไฟฟาฝายผลิต
แหงประเทศไทย (กฟผ.) กระทรวงพลังงาน และกระทรวงสาธารณสุขในการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
จัดทําคูมือมาตรฐานโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาเพ่ือการพัฒนาที่ย่ังยืน เมื่อวันที่ ๑๕-๑๙ พฤศจิกายน
๒๕๕๘ ณ โรงแรมบียอนดสวีทกรุงเทพมหานคร ทั้งน้ีเพ่ือใหไดมาตรฐานโรงเรียนส่ิงแวดลอมศึกษา
ท่ีเปนขอกําหนดคุณลักษณะและคุณภาพที่พึงประสงคที่ตองการใหเกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแหง
มาตรฐานถูกกําหนดขึ้นเพ่ือใชเปนหลักเทียบเคียง สําหรับสงเสริม กํากับดูแลติดตาม ตรวจสอบและ
ประเมินผลการดําเนินงานโรงเรียนส่ิงแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน ซ่ึงประกอบดวยมาตรฐาน



และตัวชี้วัดดานการบริหารจัดการโรงเรียนทั้งระบบ (Whole School Approach: WSA) การจัด
หลักสูตรและการจัดการเรียนรูสิ่งแวดลอมศึกษา การมีสวนรวมและเครือขาย และผลที่เกิดกับนักเรียน
ครู โรงเรียน ตลอดจนชุมชนอันจะสงผลในระยะยาวคือการเรียนรูสิ่งแวดลอมศึกษา เพื่อเตรียมความ
พรอมใหนักเรียนเติบโตข้ึนเปนประชาชน มีความรู ความเขาใจอยางถูกตอง และสรางสรรค ในประเด็น
ปญหาส่ิงแวดลอมของชุมชน มีกระบวนการวิเคราะหอยางสรางสรรค และมีสมรรถนะในการปฏิบัติ
จริง ทั้งในดานการคิด การตัดสินใจ การรวมมือกันปฏิบัติงาน การใชและบํารุงทรัพยากรธรรมชาติ
อยางชาญฉลาดท่ีจะเปนบุคคลแหงการเรียนรู สอดคลองกับการ
จัดการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑

พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรีของไทย
คนปจจุบันไดแถลงนโยบายและจุดยืนดานสิ่งแวดลอมในการ
ประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติ วาดวยการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ สมัยที่ ๒๑(COP๒๑) ในวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน
๒๕๕๘ ที่กรุงปารีส ประเทศฝร่ังเศส ในความรวมมือผลักดัน
ใหการเจราจาเพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจกบรรลุผลอยาง
เปนรูปธรรมและยั่งยืน และยังไดแสดงความกังวลตอผลกระทบ
จากการเปล่ียนแปลงของสภาวะภูมิอากาศ โดยเฉพาะภัยแลงที่
สงผลกระทบตอความม่ันคงทางอาหารและเปนปญหาตอเกษตรกรและมีความกังวลวา ในอนาคตอัน
ใกลน้ี อาจจะเกิดปญหาแยงชิงน้ําและเสนอแนะวาตองทําอุตสาหกรรมสีเขียวเกิดขึ้น เพ่ือเพิ่มรายไดให
กับประชาชนและยังเปนการลดกาซเรือนกระจกดวย นอกจากนี้ยังขอใหประเทศพัฒนาแลวถายทอด
ความรูรวมวิจัยพัฒนาเพื่อลดการปลอยกาซที่ ๒๐-๒๕ % ภายในป ๒๐๓๐ โดยจะมีมาตรการลดการ
ใชเชื้อเพลิงฟอสซิล เพิ่มการใชพลังงานหมุนเวียน ใชแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟา (Power
Development Plan: PDP) ฉบับใหม ลดการขนสงทางถนน เพ่ิมการขนสงระบบราง ขจัดการบุกรุก
ปา ทําแผนจัดการน้ํา และทํา Road map ลดหมอกควัน โดยจะมีการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาใชใหเกิดการพัฒนารูปแบบประชารัฐโดยทุกฝายตองรวมมือกัน

วัตถุประสงค วัตถุประสงค เพื่อใชเปนหลักเทียบเคียง สําหรับ

สงเสริม กํากับดูแลติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการ

ดําเนินงานโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืน

1. เพื่อใชเปนหลักเทียบเคียง สําหรับสงเสริม เกพํา่ือกใชับเดปูแนลแตนิดวทตาางมในตกรารวบจรสิหอาบรและ

ประเมินผลการดําเนินงจาัดนกโารรงเเพรื่อียพนัฒสน่ิงแากวาดรลจอัดมสศ่ิงแึกวษดาลเอพม่ือศกึ าษราพในัฒสนถาานทศี่ยึก่ังษยาืน

2. เพื่อใชเปนแนวทางในการบริหารจัดการเพ่ือพัฒนาการจัดส่ิงแวดลอมศึกษา ๗

บทท่ี ๒

โรงเรียนส่ิงแวดลอมศึกษา
เพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน

แนวคิดส่ิงแวดลอมศึกษา

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนฐานอันสําคัญของการพัฒนาประเทศใหเกิด
ความเจริญกาวหนา นํามาซึ่งความอยูดีกินดีของประชาชนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอม การใชประโยชนและการอนุรักษจึงตองมองใหรอบดาน ตั้งแตระดับทองถิ่นจนถึงระดับโลก
ดังนั้นสํานักงานคณะกรรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมกันกําหนดอนาคตท่ีเราตองการ การพัฒนา
ท่ียั่งยืนใหได จึงจําเปน ตองอาศัยเครื่องมือสําคัญที่นานาประเทศตางใหการยอมรับ คือสิ่งแวดลอม
ศึกษา ซึ่งเปนกระบวนการท่ีสงเสริมใหคน กลุมคน หรือสังคมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจําวัน
โดยคํานึงถึง ความสัมพันธของมิติตาง ๆ ท้ังทางดานเมือง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ตลอดจน
ความสําคัญของการอนุรักษและการพัฒนา

ส่ิงแวดลอมศึกษามีจุดมุงหมายเพื่อสรางความรู ความเขาใจ ปรับเปลี่ยน เจตคติ และพฤติกรรม
ของนักเรียนใหมีความตระหนักในการอนุรักษและพัฒนาส่ิงแวดลอม แตลําพังการจัดการเรียน
การสอนในวิชาตางๆคงไมเพียงพอที่จะบรรลุจุดมุงหมายนี้ไดหรือไมอาจหวังผลที่ยั่งยืนและเปนจริงได
ดังน้ันโรงเรียนจึงตองมีการดําเนินการพัฒนาโรงเรียนท้ังระบบ (Whole School Approach:WSA)
ใหสอดคลองกับหลักการส่ิงแวดลอมศึกษาและใหนักเรียนไดรับความรูและประสบการณการดําเนิน
ชีวิตในเชิงอนุรักษตั้งแตภายในโรงเรียน

ดังนั้นจึงกลาวไดวา ส่ิงแวดลอมศึกษา คือ
กระบวนการใหความรูความเขาใจ เรื่องส่ิงแวดลอม เพ่ือ
นกั เรยี นไดเ กดิ ความตระหนกั เจตคติ มที กั ษะในการปฏบิ ตั ิ
ตนตอส่ิงแวดลอม สามารถเปล่ียนพฤติกรรมในการดํารง
ชวี ติ อยใู นสง่ิ แวดลอ มไดอ ยา งยงั่ ยนื และการใชท กั ษะการ
คดิ วเิ คราะหใ นการตดั สนิ ใจทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพในการจดั การ
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ มไดอ ยา งเหมาะสม



หลักการส่ิงแวดลอมศึกษา

องคก ารสหประชาชาตไิ ดจ ดั ประชมุ เกยี่ วกบั สงิ่ แวดลอ มศกึ ษาในระดบั รฐั บาลนานาชาตขิ น้ึ เปน
คร้ังแรกท่ีเมืองทลิบิซี (Tbilisi) ในอดีตสาธารณรัฐโซเวียตแหงจอรเจีย (Soviet Republic of Georgia)
ในปพ.ศ. ๒๕๒๐ โดยวัตถุประสงค เพื่อกําหนดหลักการของสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อเปนแนวทางปฏิบัติ
ของประเทศตาง ๆ ไวดังน้ี (UNESCO,๑๙๗๗)

๑. พิจารณาส่ิงแวดลอมเปนองครวม คือ ทั้งส่ิงแวดลอมทางธรรมชาติและส่ิงแวดลอมท่ีมนุษย
สรางขึ้น

๒. สิ่งแวดลอมศึกษาเปนกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิต
๓. สิ่งแวดลอมศึกษาเปนการใหการศึกษาที่จัดในลักษณะสหวิทยาการ โดยการบูรณาการ

เนื้อหาสาระจากศาสตรตาง ๆ เขาดวยกัน
๔. ตรวจสอบปญหาส่ิงแวดลอมจากบริบทตาง ๆ ตั้งแตระดับทองถ่ิน ประเทศ ภูมิภาคถึง

ระดับโลก เพื่อวานักเรียนจะไดมีความเขาใจถองแทในสถานการณของสิ่งแวดลอมใน
พ้ืนที่ภูมิศาสตรตาง ๆ
๕. เนนสภาพการณส่ิงแวดลอมปจจุบันพรอมกับพิจารณาสภาพท่ีผานมาดวย
๖. สงเสริมคุณคาและความจําเปนของความรวมมือกันในการปองกันและแกไขปญหา
สิ่งแวดลอมทั้งระดับทองถิ่น ประเทศ และระหวางประเทศ
๗. พิจารณาลักษณะดานส่ิงแวดลอมของการวางแผนเพื่อการพัฒนาและความเจริญกาวหนา
อยางชัดเจนและรอบคอบ
๘. ส่ิงแวดลอมศึกษาชวยใหผูเรียนสามารถแสดงบทบาทในการวางแผนจัดประสบการณ
การเรียนรูและเปดโอกาสใหไดตัดสินใจและยอมรับผลที่เกิดจากการตัดสินใจน้ัน
๙. สิ่งแวดลอมศึกษาทําใหเกิดความตระหนัก ความรู ทักษะในการแกปญหาและการ
กระทําคานิยมที่เกี่ยวกับส่ิงแวดลอมใหกับผูเรียนทุกระดับอายุ และเนนเร่ืองความรูสึกไว
ตอปญหาสิ่งแวดลอมกับชุมชนตนเอง

วัตถุประสงคส่ิงแวดลอมศึกษา

ในการประชุมท่ีทบิลิชิยังไดกลาวถึงวัตถุประสงคของส่ิงแวดลอมศึกษาในดานตาง ๆ ไว
โดยสรุปดังนี้ (UNESCO, ๑๙๗๗ อางถึงใน Palmer and Neal, ๑๙๙๔ : ๑๘)

๑. การตระหนักรับรู เพ่ือใหตระหนักรับรูและมีความรูสึกไวที่จะตอบสนองตอเรื่องเกี่ยวกับ
ส่ิงแวดลอมและเหตุที่กอใหเกิดปญหาทางสิ่งแวดลอม พัฒนาความสามารถในการรับรู



และแยกแยะสิ่งเราตาง ๆ มีการพัฒนาการรับรูนี้ใหดีและกวางขวาง และใชความสามารถ
ใหมนี้ไดในสถานการณหลายรูปแบบ
๒. ความรู เพ่ือใหเขาใจพื้นฐานการทํางานของธรรมชาติ ความสัมพันธระหวางมนุษยกับ
ส่ิงแวดลอม การเกิดปญหาสิ่งแวดลอมและทางแกไข
๓. เจตคติ ทําใหเกิดคานิยมและความรูสึกเก่ียวกับส่ิงแวดลอม และมีแรงจูงใจในการมี
สวนรวมปกปองรักษาและปรับปรุงส่ิงแวดลอม
๔. ทักษะ เพื่อใหเกิดทักษะที่จําเปนในการช้ีปญหาและการดําเนินการตรวจสอบ ตลอด
รวมหาแนวทางแกไขปญหาสิ่งแวดลอม
๕. การมีสวนรวม เพ่ือใหมีประสบการณในการนําความรูและทักษะท่ีไดมาไปใชในการดําเนิน
การหาทางแกไขปญหาส่ิงแวดลอมตางๆ

เปาหมาย

เปาหมายของส่ิงแวดลอมศึกษาเพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน คือ การท่ีบุคลคลและประชาชนมี
สวนรวมที่ปองกันและแกไขปญหาส่ิงแวดลอม รวมทั้งรวมมือกันพัฒนาคุณภาพส่ิงแวดลอม โดยอาศัย
วิธีการอยางสรางสรรค ท้ังน้ีเพ่ือกอใหเกิดซ่ึง ความรู ความเขาใจจนเปนที่ประจักษชัด ในเร่ืองระบบ
นิเวศ ธรรมชาติความสัมพันธระหวางมนุษย สังคม กับสิ่งแวดลอม สาเหตุของปญหาส่ิงแวดลอม
ผลกระทบท่ีเกิดจากการกระทําของคนเรา และการพัฒนาดานตางๆ รวมท้ังแนวทางในการแกไขปญหา

เปาหมายสูงสุดของโรงเรียนส่ิงแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืน คือการพัฒนานักเรียน
ใหเติบโตขึ้นเปน “พลเมือง” ที่ใชชีวิตอยาง “พอเพียง” เพ่ือสังคมและสิ่งแวดลอม “ยั่งยืน”

มาตรฐานโรงเรียนส่ิงแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืน

มาตรฐานโรงเรียนส่ิงแวดลอมศึกษาเพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน หมายถึง ขอกําหนดคุณลักษณะ
ของโรงเรียนท่ีการดําเนินการจัดการเรียนรูส่ิงแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืน ประกอบดวย
ดานการบริหารจัดการ ดานหลักสูตรและการจัดการเรียนรู ดานการมีสวนรวมและการสรางเครือขาย
และ ดานผลท่ีเกิดข้ึนจากการดําเนินงานดานส่ิงแวดลอมศึกษาของโรงเรียน

มาตรฐานและตัวชี้วัดของโรงเรียนส่ิงแวดลอมศึกษา
เพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน

การกาํ หนดมาตรฐานและตวั ชวี้ ดั ของโรงเรยี นสง่ิ แวดลอ มศกึ ษาเพอื่ การพฒั นาทย่ี งั่ ยนื เปน การ
กําหนดมาตรฐาน ในการดําเนินการจัดการเรียนรูส่ิงแวดลอมศึกษาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและ
สงผลตอคุณภาพผูเรียนตามวัตถุประสงคของส่ิงแวดลอมศึกษา จึงกําหนดมาตรฐานและตัวช้ีวัดเพื่อ

๑๐

การดําเนินงานใหบรรลุเปาหมายการจัดการเรียนรูส่ิงแวดลอมศึกษาในโรงเรียนเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน
ในโรงเรียน ดังตอไปน้ี

มาตรฐานดานการบริหารจัดการ (๒ มาตรฐาน ๖ ตัวชี้วัด)

มาตรฐานที่ ๑ สถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอมศึกษา (ขยะ มลพิษ นํ้า
พลังงาน อนามัย ท่ีมีประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัดที่ ๑.๑ มีการกําหนดนโยบาย /วิสัยทัศน /พันธกิจ /เปาประสงค
และแผนงาน/โครงการดานส่ิงแวดลอมศึกษา
(ขยะ มลพิษ นํ้า พลังงาน อนามัย)

ตัวชี้วัดที่ ๑.๒ มีการดําเนินงานตามแผนงานโครงการและนิเทศ
ติดตาม ประเมินผลอยางเปนระบบ

ตัวชี้วัดที่ ๑.๓ มีการสงเสริม สนับสนุน งบประมาณและทรัพยากร
ดานส่ิงแวดลอมศึกษา

ตัวช้ีวัดท่ี ๑.๔ มีการเผยแพรประชาสัมพันธงานดานส่ิงแวดลอมศึกษา

มาตรฐานที่ ๒ ครูและบุคลากรในสถานศึกษาไดรับการพัฒนาดานส่ิงแวดลอมศึกษาอยาง
สมํ่าเสมอ

ตัวช้ีวัดที่ ๒.๑ มีการสงเสริมใหครูและบุคลากรในสถานศึกษาไดรับ
การพัฒนาดานสิ่งแวดลอมศึกษา

ตัวช้ีวัดท่ี ๒.๒ มกี ารกาํ กบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและนเิ ทศการปฏิบัติงาน
ดานสิ่งแวดลอมศึกษาอยางตอเน่ือง

มาตรฐานดานหลกั สตู รและการจดั การเรยี นรู (๒ มาตรฐาน ๕ ตัวช้วี ัด)

มาตรฐานท่ี ๓ สถานศึกษามีหลักสูตรและจัดการเรียนรูดานส่ิงแวดลอมศึกษาที่สอดคลองกับ
บริบทของทองถ่ิน

ตัวช้ีวัดที่ ๓.๑ มีการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา/สาระการเรยี นรทู อ งถนิ่
ดา นสงิ่ แวดลอ มศกึ ษาทส่ี อดคลอ งกับสภาพบริบทของ
ทองถิ่น (ขยะ มลพิษ น้ํา พลังงาน อนามัย)

ตัวช้ีวัดท่ี ๓.๒ มกี ารจดั การเรียนรูต ามหนว ย/แผนการเรยี นรู
ส่ิงแวดลอมศึกษา

ตัวช้ีวัดท่ี ๓.๓ มีสื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู แหลงเรียนรูและ
ภูมิปญญาทองถ่ินอยางหลากหลาย

๑๑

มาตรฐานที่ ๔ สถานศึกษามีการสงเสริมการจัดกิจรรม ดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน
สิ่งแวดลอมและสุขอนามัย (ขยะ มลพิษ นํ้า พลังงาน อนามัย)

ตัวชี้วัดท่ี ๔.๑ มีโครงการ/กิจกรรม ดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน
สิ่งแวดลอม และสุขอนามัย

ตัวช้ีวัดท่ี ๔.๒ มีฐานขอมูลดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน ส่ิงแวดลอม
และสุขอนามัย

มาตรฐานดา นการมสี ว นรว มและการสรางเครอื ขาย (๒ มาตรฐาน ๔ ตัวชีว้ ัด)

มาตรฐานที่ ๕ สถานศึกษามีการสรางเครือขายการมีสวนรวมภายในสถานศึกษา

ตัวชี้วัดที่ ๕.๑ มีการจัดตั้งชุมนุม/ชมรม/สภานักเรียน ที่ดําเนินงาน
ส่ิงแวดลอมศึกษาภายในสถานศึกษา อยางชัดเจน

ตัวช้ีวัดที่ ๕.๒ มีการขยายเครือขายชมรม ชุมนุมกิจกรรมสิ่งแวดลอม
ภายในสถานศึกษา

มาตรฐานที่ ๖ สถานศึกษามีสรางเครือขายการมีสวนรวมจากบุคคลและหนวยงานภายนอก

ตัวชี้วัดที่ ๖.๑ จัดกิจกรรมดานส่ิงแวดลอมศึกษาโดยใหภาคีเครือขาย
ที่เก่ียวของมีสวนรวม

ตัวช้ีวัดที่ ๖.๒ มีภาคีเครือขายสนับสนุนการดําเนินงานของสถานศึกษา

มาตรฐานดาน ผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินงานดานส่ิงแวดลอมศึกษา
(๔ มาตรฐาน ๖ ตัวช้ีวัด)

มาตรฐานท่ี ๗ สถานศึกษามีสภาพแวดลอมที่สวยงาม สะอาด รมรื่น ปลอดภัย และเอ้ือตอ
การจัดการเรียนรูสิ่งแวดลอมศึกษา (Green School)

ตัวช้ีวัดที่ ๗.๑ มีสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการจัดการเรียนรูส่ิงแวดลอมศึกษา
ตัวช้ีวัดที่ ๗.๒ มีหองเรียนที่สะอาด สวยงาม เอ้ือตอการจัดการเรียนรู

และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

มาตรฐานท่ี ๘ ครูและบุคลากรทางการศึกษาเปนแบบอยางที่ดีดานการอนุรักษทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ตัวชี้วัดที่ ๘.๑ มีพฤติกรรมที่แสดงถึงความรับผิดชอบตอส่ิงแวดลอมและ
เปนแบบอยางดีแกนักเรียนและชุมชน

๑๒

ตัวช้ีวัดท่ี ๘.๒ มีส่ือ/นวัตกรรม/ผลงานส่ิงแวดลอมศึกษาที่ไดรับการยอมรับ

มาตรฐานที่ ๙ ผูเรียนมีพฤติกรรมที่รับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม

ตัวชี้วัดท่ี ๙.๑ ผูเรียนมีคุณลักษณะตามวัตถุประสงคของส่ิงแวดลอมศึกษา

มาตรฐานที่ ๑๐ ชุมชน/เครือขาย มีสภาพแวดลอมท่ี สะอาด สวยงาม ปราศจากขยะและ
มลพิษ

ตัวชี้วัดที่ ๑๐.๑ สภาพแวดลอมชุมชน/เครือขาย สะอาด สวยงาม
ปราศจากขยะและมลพิษ

คุณลักษณะโรงเรียนสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน

๏ ดานการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นสิ่งแวดลอ มศึกษา

- การบรหิ ารจัดการโรงเรยี นท้งั ระบบ (Whole School Approach : WSA)
- ครูและบคุ ลากรไดร ับการพฒั นาดานส่งิ แวดลอมศกึ ษา

๏ หลักสูตรและการจดั การเรียนรสู ิง่ แวดลอ มศึกษา
- พัฒนาหลกั สูตรและการจดั การเรียนรูส งิ่ แวดลอ มศึกษาทีส่ อดคลอ งกับสภาพ
บรบิ ทของทองถน่ิ
- สง เสริมการจดั กจิ กรรมดา นการอนุรกั ษท รพั ยากรธรรมชาติพลังงาน สิ่งแวดลอม
และการดแู ลสขุ อนามยั (ขยะ มลพิษ นา้ํ พลงั งาน อนามยั มลพิษ)

๏ การมสี ว นรวมและสรา งเครือขาย
- สรา งเครอื ขา ยการมสี วนรว มภายในสถานศึกษา
- สรา งเครือขายการมสี วนรว มจากบคุ คลและหนว ยงานภายนอก

๏ ผลท่เี กิดกับผูเรียน ครู โรงเรยี น
- สถานศกึ ษามีสภาพแวดลอ มท่ีสวยงาม สะอาด รมร่ืน ปลอดภยั
และเอ้ือตอการจดั การเรยี นรสู ่งิ แวดลอ มศึกษา (Green School)
- ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาเปน แบบอยา งทีด่ ีดานการอนุรกั ษ
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ ม
- ผูเรียนมีพฤตกิ รรมที่รับผิดชอบตอ สงิ่ แวดลอ ม
- ชุมชน/เครือขา ยมสี ภาพแวดลอ มสะอาด สวยงาม ปราศจากขยะและมลพิษ

๑๓

บทท่ี ๓

มาตรฐานโรงเรียนสิ่งแวดลอม
ศึกษาเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน

คําอธิบายและระดับคุณภาพมาตรฐานโรงเรียนส่ิงแวดลอมศึกษา

ดานท่ี ๑ ดานการบริหารจัดการ
มาตรฐานที่ ๑ สถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอมศึกษา (ขยะ มลพิษ นํ้า

พลังงาน อนามัย) ท่ีมีประสิทธิภาพ
ตัวช้ีวัดท่ี ๑.๑ มกี ารกาํ หนดนโยบาย /วสิ ยั ทศั น /พนั ธกจิ /เปา ประสงค และแผนงาน/
โครงการดานส่ิงแวดลอมศึกษา (ขยะ มลพิษ น้ํา พลังงาน อนามัย)

คําอธิบาย
สถานศึกษามีการกําหนดนโยบาย /ดานสิ่งแวดลอมศึกษา (ขยะ มลพิษ น้ํา พลังงาน อนามัย)
ที่ชัดเจน จากการวิเคราะหสภาพปจจุบัน ปญหาดานส่ิงแวดลอมของสถานศึกษาและชุมชน กําหนด
วิสัยทัศน /พันธกิจ เปาประสงค และแผนงาน /โครงการ โดยบุคลากรในสถานศึกษา ผูปกครองและ
ชุมชนเขามามีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและแผนงาน /โครงการ
ประเด็นการพิจารณา
๑. มีการวิเคราะหสภาพปจจุบัน ปญหาส่ิงแวดลอมของสถานศึกษาและชุมชน
๒. มีการกาํ หนดนโยบาย /วิสัยทัศน /พันธกิจ /เปาประสงคดา นสิ่งแวดลอมศกึ ษา
๓. กําหนดแผนงาน / โครงการท่ีสอดคลองกับนโยบาย /วิสัยทัศน /พันธกิจ /เปาประสงค
๔. บคุ ลากรในสถานศึกษามสี ว นรวมในการกําหนดนโยบายและแผนงาน/โครงการ
๕. ผูปกครอง ชุมชนมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและแผนงาน/โครงการ

๑๔

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดับคุณภาพ คาํ อธิบายระดับคุณภาพ
๕ - มกี ารวิเคราะหส ภาพปจ จุบนั ปญหาสิ่งแวดลอ มของสถานศึกษาและชุมชน
- มกี ารกําหนดนโยบาย /วสิ ัยทศั น /พันธกิจ /เปา ประสงค ดานส่ิงแวดลอมศึกษา
๔ - มแี ผนงาน/โครงการทีส่ อดคลอ งกับนโยบาย /วิสยั ทัศน /พันธกจิ /เปา ประสงค
๓ - บคุ ลากรในสถานศึกษามีสว นรวมในการกําหนดนโยบายและแผนงาน/โครงการ
๒ - ผูปกครอง ชมุ ชน เขา มามสี ว นรวมในการกําหนดนโยบายและแผนงาน/โครงการ
๑ - มกี ารวเิ คราะหส ภาพปจ จบุ นั ปญหาดา นส่งิ แวดลอมของสถานศกึ ษาและชมุ ชน
- มกี ารกาํ หนดนโยบาย /วสิ ยั ทัศน /พันธกิจ /เปา ประสงค ดานสง่ิ แวดลอมศึกษา
- มีแผนงาน/โครงการที่สอดคลองกับนโยบาย /วิสัยทัศน /พนั ธกิจ /เปา ประสงค
- มบี ุคลากรในสถานศึกษามสี ว นรวมในการกําหนดนโยบายและแผนงาน/โครงการ
- มกี ารวเิ คราะหสภาพปจจบุ ัน ปญหาดา นสง่ิ แวดลอมของสถานศึกษาและชมุ ชน
- มีการกําหนดนโยบาย /วสิ ัยทัศน /พันธกจิ /เปาประสงค ดานสงิ่ แวดลอ มศกึ ษา
- แผนงาน/โครงการทส่ี อดคลอ งกับนโยบาย /วิสยั ทัศน /พนั ธกจิ /เปาประสงค
- มีการวิเคราะหสภาพปจ จุบัน ปญ หาดานสง่ิ แวดลอมของสถานศึกษาและชุมชน
- มกี ารกาํ หนดนโยบาย /วิสยั ทัศน /พันธกิจ /เปา ประสงค ดานสิ่งแวดลอ มศกึ ษา
- มีการวเิ คราะหสภาพปจ จุบัน ปญหาดา นส่งิ แวดลอมของสถานศึกษาและชมุ ชน

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วิธีการเกบ็ รวบรวมขอมูล แหลง ขอ มลู
๑ การสังเกต - สภาพภมู ทิ ัศนของสถานศกึ ษา
- พฤตกิ รรมของผูเรยี น ครู ผูบรหิ าร ผเู ก่ยี วขอ งดา นการดแู ล
๒ การสัมภาษณ/ สอบถาม รกั ษาสิง่ แวดลอ มของสถานศกึ ษา
๓ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รอ งรอย / - ผเู รยี น ครู ผบู รหิ าร ผเู กีย่ วของ
- แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา/แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาํ ป
ขอ มูลเชิงประจักษ - นโยบาย / มาตรการดูแลรักษาสิ่งแวดลอมภายในสถานศกึ ษา
- แผนงาน / โครงการ / กิจกรรมดานสงิ่ แวดลอม
- บนั ทึกการประชมุ รองรอยการมีสวนรวมของผเู ก่ียวขอ ง
- ผลงานนักเรียน
- ภาพถาย

ตวั ช้ีวัดท่ี ๑.๒ มกี ารดําเนินงานตามแผนงาน/โครงการและนเิ ทศ ติดตาม
ประเมนิ ผลอยางเปน ระบบ

๑๕

คําอธิบาย

สถานศึกษามีการดําเนินงาน ตามแผนงาน/โครงการส่ิงแวดลอมศึกษา โดยมีคําสั่งแตงต้ัง
ผูรับผิดชอบ จัดทําคูมือและปฏิทินการดําเนินงานสิ่งแวดลอมศึกษา มีการดําเนินงานตามแผนงาน/
โครงการท่ีโดยเนนการมีสวนรวม นิเทศ ติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามแผนงาน/โครงการ
อยางเปนระบบและรายงานผลการดําเนินงานเมื่อส้ินสุดโครงการ

ประเด็นการพิจารณา

๑. มีคําส่ังแตงต้ังผูรับผิดชอบโครงการงานดานสิ่งแวดลอมศึกษา
๒. มีคูมือและปฏิทินการดําเนินงานดานสิ่งแวดลอมศึกษา
๓. มีการดําเนินงานตามแผนงาน/โครงการท่ีโดยเนนการมีสวนรวม
๔. มีการนิเทศ ติดตามประเมินผลการดําเนินงานอยางเปนระบบ
๕. มีการรายงานผลการดําเนินงานเมื่อส้ินปการศึกษาหรือสิ้นสุดโครงการ

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดับคณุ ภาพ คําอธบิ ายระดับคณุ ภาพ
๕ - มคี าํ สงั่ แตงตัง้ ผรู บั ผดิ ชอบโครงการงานดา นสง่ิ แวดลอ มศึกษา
- มีคมู ือและปฏทิ ินการดาํ เนินงานดานสงิ่ แวดลอ มศึกษา
๔ - มกี ารดําเนนิ งานตามแผนงาน/โครงการโดยเนน การมสี ว นรว ม
๓ - มกี ารนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานตามแผนงาน/โครงการอยางเปนระบบ
๒ - มีการรายงานผลการดาํ เนนิ งานเมอ่ื สิ้นปก ารศกึ ษาหรอื ส้ินสดุ โครงการ
๑ - มคี ําสง่ั แตง ตง้ั ผูรับผดิ ชอบโครงการงานดา นสง่ิ แวดลอ มศกึ ษา
- มีคูมอื และปฏิทินการดําเนนิ งานดานสง่ิ แวดลอมศึกษา
- มกี ารดาํ เนินงานตามแผนงาน/โครงการโดยเนน การมสี วนรวม
- มกี ารนเิ ทศ ติดตาม ประเมินผลการดําเนนิ งานอยา งเปน ระบบ
- มคี ําสัง่ แตง ต้งั ผูร ับผดิ ชอบโครงการงานดา นสงิ่ แวดลอมศึกษา
- มคี มู อื และปฏทิ ินการดําเนินงานดา นสิ่งแวดลอ มศกึ ษา
- มีการดําเนินงานตามแผนงาน/โครงการโดยเนน การมสี วนรว ม
- มคี ําสง่ั แตงตง้ั ผูร บั ผดิ ชอบโครงการงานดา นสิง่ แวดลอ มศึกษา
- มีคูมือและปฏิทินการดาํ เนินงานดานส่งิ แวดลอมศึกษา
- มีคําส่งั แตงตัง้ ผรู ับผิดชอบโครงการงานดา นสิ่งแวดลอ มศกึ ษา

๑๖

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ มูล แหลง ขอ มูล
๑ การสงั เกต - พฤติกรรมของผูบริหาร ครู ผเู ก่ยี วขอ งดานการมีสว นรวมใน
การทาํ กจิ กรรม
๒ การสัมภาษณ/สอบถาม - ผูเรียน ครู ผบู รหิ าร ผูเกีย่ วขอ ง
๓ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รอ งรอย / - แผนงาน / โครงการ / กิจกรรมดานสิ่งแวดลอ ม
ขอ มูลเชงิ ประจักษ - คมู ือและการปฏบิ ตั ิงานตอ เน่ือง
- คาํ สัง่ ผรู ับผิดชอบงาน/คณะกรรมการนเิ ทศติดตาม
- รองรอยการดําเนินงาน / กจิ กรรมดา นสิง่ แวดลอ ม
- บนั ทกึ การนิเทศ
- รายงานโครงการ กิจกรรม ฯลฯ
- บนั ทึกการประชุม
- แผนพบั
- ภาพถาย
- สภาพจรงิ

ตัวช้ีวัดท่ี ๑.๓ มกี ารสง เสรมิ สนบั สนนุ งบประมาณและทรพั ยากรดา นสง่ิ แวดลอ มศกึ ษา

คําอธิบาย

สถานศึกษามีการสงเสริม สนับสนุน งบประมาณและทรัพยากรดานสิ่งแวดลอมศึกษา โดยจัด
ทําแผนงาน/โครงการสงเสริมสนับสนุนการใชงบประมาณ จัดหาแหลงทรัพยากรหรือการระดมทุนเพ่ือ
สนับสนุนการดําเนินงานดานส่ิงแวดลอมศึกษา ติดตามการใชทรัพยากรดานส่ิงแวดลอมศึกษา รายงาน
การใชงบประมาณ และนําขอมูลไปใชในการวางแผนพัฒนางานดานสิ่งแวดลอมศึกษาอยางตอเนื่อง

ประเด็นการพิจารณา

๑. มีแผนงาน/โครงการสงเสริมสนับสนุนงบประมาณดานสิ่งแวดลอมศึกษา
๒. มกี ารจดั สรร/จัดหาแหลงทรัพยากรหรอื การระดมทนุ เพอ่ื สนบั สนุนการดาํ เนินงานดา น

ส่ิงแวดลอมศึกษา
๓. มีการกํากับติดตามการใชทรัพยากรดานส่ิงแวดลอมศึกษา
๔. มีการรายงานการใชงบประมาณดานส่ิงแวดลอมศึกษา
๕. มกี ารนาํ ขอ มลู ไปใชใ นการวางแผนพฒั นางานดา นสงิ่ แวดลอ มศกึ ษาอยางตอเนื่อง

๑๗

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดบั คุณภาพ คาํ อธบิ ายระดับคณุ ภาพ
๕ - มีแผนงาน/โครงการสงเสริมสนับสนุนงบประมาณดา นสง่ิ แวดลอมศึกษา
- มกี ารจดั สรร/ จดั หาแหลง ทรัพยากรหรอื การระดมทนุ เพ่อื สนับสนนุ การดําเนนิ งานดา น
๔ ส่งิ แวดลอ มศกึ ษา
- มีการกํากบั ติดตามการใชท รพั ยากรดา นสง่ิ แวดลอ มศึกษา
๓ - มีการรายงานการใชงบประมาณดานสิ่งแวดลอ มศกึ ษา
๒ - มีการนําขอมูลไปใชใ นการวางแผนพัฒนางานดานส่ิงแวดลอมศึกษาอยางตอเน่ือง
๑ - มแี ผนงาน/โครงการสงเสรมิ สนับสนุนงบประมาณดานสิง่ แวดลอมศกึ ษา
- มกี ารจัดสรร/ จดั หาแหลงทรัพยากรหรอื การระดมทุนเพือ่ สนบั สนุนการดําเนินงานดาน
สง่ิ แวดลอ มศึกษา
- มีการกาํ กับติดตามการใชทรพั ยากรดา นสิ่งแวดลอ มศกึ ษา
- มกี ารรายงานการใชงบประมาณดานสงิ่ แวดลอมศกึ ษา
- มแี ผนงาน/โครงการสงเสริมสนับสนนุ งบประมาณดานสงิ่ แวดลอ มศึกษา
- มีการจัดสรร/ จัดหาแหลง ทรพั ยากรหรอื การระดมทุนเพอื่ สนับสนุนการดาํ เนินงานดา น
สง่ิ แวดลอมศกึ ษา
- มกี ารกํากบั ติดตามการใชท รพั ยากรดานสง่ิ แวดลอ มศกึ ษา
- มแี ผนงาน/โครงการสงเสรมิ สนับสนนุ งบประมาณดานสิง่ แวดลอมศกึ ษา
- มีการจดั สรร/ จัดหาแหลง ทรพั ยากรหรอื การระดมทุนเพือ่ สนับสนุนการดาํ เนินงานดาน
สิง่ แวดลอ มศกึ ษา
- มีแผนงาน/โครงการสงเสรมิ สนบั สนนุ งบประมาณดานสงิ่ แวดลอมศกึ ษา

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอมูล แหลงขอ มูล
๑ การสัมภาษณ/ สอบถาม - ผเู รยี น ครู ผบู ริหาร ผูเ กย่ี วของ
๒ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รอ งรอย / - แผนงาน/ โครงการ กิจกกรมดานสง่ิ แวดลอ มศึกษา
- ขอ มลู การจัดการแหลง ทรัพยากร / การระดมทุน ภายนอก
ขอ มูลเชิงประจกั ษ และ ภายในเพ่อื สนบั สนุนการดาํ เนนิ งานดานสง่ิ แวดลอม
- รายงานผลการตดิ ตามการใชง บประมาณ
- รอ ยรอยความตอเนื่องของการใชง บประมาณดานสิ่งแวดลอ ม
- หลกั ฐานการใชเงิน (ใบเสรจ็ ใบสาํ คัญรบั เงิน)

ตัวช้ีวัดที่ ๑.๔ มีการเผยแพรประชาสัมพันธงานดานส่ิงแวดลอมศึกษา

๑๘

คําอธิบาย

สถานศึกษามีการเผยแพรประชาสัมพันธงานดานส่ิงแวดลอมศึกษาใหนักเรียน ผูปกครอง
ชุมชน และสาธารณชนไดรับทราบอยางตอเนื่อง โดยจัดทําแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเผยแพร
ประชาสัมพันธงานดานส่ิงแวดลอมศึกษา โดยใชชองทางที่หลากหลาย ติดตามประเมินผล รายงาน
ผล และนําขอมูลมาปรับปรุงพัฒนาการเผยแพรประชาสัมพันธ

ประเด็นการพิจารณา

๑. มแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเผยแพรประชาสัมพนั ธง านดานสงิ่ แวดลอ มศึกษา
๒. มีการเผยแพรประชาสัมพันธโดยใชชองทางที่หลากหลาย
๓. มีการติดตาม ประเมินผลการเผยแพรประชาสัมพันธ
๔. มีการรายงานผลการเผยแพรประชาสัมพันธ
๕. มีการนําขอมูลมาปรับปรุงพัฒนาการเผยแพรประชาสัมพันธ

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดบั คณุ ภาพ คําอธิบายระดับคณุ ภาพ
๕ - มแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเผยแพรป ระชาสมั พนั ธงานดานส่งิ แวดลอมศึกษา
- มกี ารเผยแพรประชาสัมพันธอยางตอเนอื่ งโดยใชช อ งทางทีห่ ลากหลาย
๔ - มกี ารติดตาม ประเมนิ ผลการเผยแพรประชาสมั พนั ธ
- มกี ารรายงานผลการเผยแพรประชาสมั พนั ธ
๓ - มีการนําขอ มลู มาปรบั ปรุงพฒั นาการเผยแพรประชาสมั พันธ
๒ - มีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมเผยแพรประชาสัมพันธง านดา นส่งิ แวดลอ มศึกษา
๑ - มีการเผยแพรป ระชาสัมพนั ธอ ยางตอเนือ่ งโดยใชชองทางทหี่ ลากหลาย
- มีการติดตาม ประเมินผลการเผยแพรประชาสัมพันธ
- มกี ารรายงานผลการเผยแพรป ระชาสมั พนั ธ
- มแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมเผยแพรประชาสัมพนั ธงานดา นสง่ิ แวดลอมศกึ ษา
- มีการเผยแพรประชาสัมพันธอยางตอ เน่อื งโดยใชชองทางทีห่ ลากหลาย
- มกี ารตดิ ตาม ประเมินผลการเผยแพรประชาสมั พนั ธ
- มแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมเผยแพรป ระชาสัมพนั ธง านดานสง่ิ แวดลอ มศึกษา
- มกี ารเผยแพรประชาสมั พันธอยางตอ เน่อื งโดยใชช องทางที่หลากหลาย
- มแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมเผยแพรประชาสัมพันธง านดานสิง่ แวดลอมศกึ ษา

๑๙

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ มูล แหลง ขอ มลู
๑ การสังเกต - ปา ยประชาสัมพนั ธ/เสียงตามสายอน่ื ๆ ท่ีเก่ยี วขอ ง
- พฤตกิ รรมการเผยแพรป ระชาสัมพนั ธผเู รียน ครู ผบู ริหาร
๒ การสมั ภาษณ/ สอบถาม ผเู กี่ยวของ
๓ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รอ งรอย / - ผเู รียน ครู ผบู ริหาร ผเู ก่ยี วของ
ขอมูลเชิงประจกั ษ - มีแผนงาน/โครงการ กจิ กรรมท่เี ก่ยี วของดานสิง่ แวดลอม
- มีรอยรอยหลักปฏิบตั เิ กีย่ วกบั การเผยแพรป ระชาสมั พนั ธ
- รายงานผลการดําเนนิ งานตามแผนงาน/ โครงการ /กจิ กรรม
- ภาพถา ย
- ช้นิ งาน
- เฟสบุค
- ไลน

มาตรฐานที่ ๒ ครูและบุคลากรในสถานศึกษาไดรับการพัฒนาดานส่ิงแวดลอมศึกษาอยาง
สม่ําเสมอ

ตัวช้ีวัดที่ ๒.๑ มีการสงเสริมใหครูและบุคลากรในสถานศึกษาไดรับการ
พัฒนาดานส่ิงแวดลอมศึกษา

คําอธิบาย

สถานศึกษามีการสงเสริมใหครูและบุคลากรในสถานศึกษานําความรูและประสบการณดาน
ส่ิงแวดลอมศึกษาใชในการจัดการเรียนการสอนอยางสม่ําเสมอ โดยจัดทําแผนงาน /โครงการ/กิจกรรม
พัฒนาบุคลากรดานสิ่งแวดลอมศึกษาอบรม สัมมนาใหความรู ศึกษาดูงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาหรือ
สงเสริม สนับสนุนใหบุคลากรเขาอบรมที่หนวยงานอื่นจัดขึ้นติดตามผลการดําเนินงานหลังการพัฒนา
นําไปขยายผลกับบุคลากรในสถานศึกษารายงานผลการปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาและนําขอมูล
หรือผลการปฏิบัติงานไปใชในการวางแผนพัฒนาตอไป

ประเด็นการพิจารณา

๑. ครูและบุคลากรนําความรูและประสบการณดานส่ิงแวดลอมศึกษามาใชในการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน

๒. มีแผนงาน/ โครงการ/กิจกรรมพัฒนาบุคลากรดานส่ิงแวดลอมศึกษา
๓. มีการจัดอบรม สัมมนาใหความรู ศึกษาดูงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาหรือสงเสริม

สนับสนุนใหบุคลากรเขาอบรมท่ีหนวยงานอื่นจัดข้ึน

๒๐

๔. มีการติดตามผลการดําเนินงานหลังการพัฒนา และนําไปขยายผลกับบุคลากรใน
สถานศึกษา

๕. มกี ารรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานของครแู ละบคุ ลากรดา นส่ิงแวดลอ มศกึ ษา
๖. มีการนําขอมูลหรือผลการปฏิบัติงานไปใชในการวางแผนพัฒนาตอไป

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดบั คณุ ภาพ คําอธิบายระดบั คณุ ภาพ
๕ - มกี ารนาํ ความรแู ละประสบการณด า นสงิ่ แวดลอ มมาใชใ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนมี
แผนงาน/ โครงการ/กิจกรรมพัฒนาบุคลากรดา นส่งิ แวดลอมศกึ ษา
๔ - มกี ารจัดอบรม สมั มนาใหความรู ศึกษาดงู านดานส่ิงแวดลอมศกึ ษาหรือสง เสริมสนบั สนุนให
บคุ ลากรเขาอบรมท่ีหนว ยงานอ่ืนจัดขึน้
๓ - มีการตดิ ตามผลการดาํ เนนิ งานหลังการพฒั นา และนําไปขยายผลกบั บคุ ลากรในสถานศึกษา
๒ - มกี ารรายงานผลการปฏิบัติงานของครูและบคุ ลากรดา นส่ิงแวดลอมศกึ ษา
๑ - มกี ารนาํ ขอมลู หรอื ผลการปฏิบัติงานไปใชในการวางแผนพฒั นา
- มกี ารนาํ ความรูแ ละประสบการณด านสิ่งแวดลอ มมาใชใ นการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน
- มีการจัดอบรม สมั มนาใหค วามรู ศกึ ษาดูงานดา นสงิ่ แวดลอ มศกึ ษาหรือสง เสรมิ สนบั สนุนให
บุคลากรเขา อบรมท่หี นว ยงานอื่นจัดข้นึ
- มกี ารตดิ ตามผลการดาํ เนินงานหลังการพฒั นา และนาํ ไปขยายผลกับบคุ ลากรในสถานศึกษา
- มกี ารรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านของครูและบุคลากรดานส่ิงแวดลอ มศึกษา
- มีการนําขอมูลหรือผลการปฏิบัตงิ านไปใชในการวางแผนพัฒนา
- มกี ารนําความรูแ ละประสบการณดา นสิ่งแวดลอ มมาใชใ นการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน
- มีการจัดอบรม สมั มนาใหค วามรู ศึกษาดูงานดานสิ่งแวดลอมศกึ ษาหรอื สงเสริมสนบั สนนุ ให
บคุ ลากรเขาอบรมทหี่ นว ยงานอ่ืนจัดขึน้
- มีการติดตามผลการดาํ เนนิ งานหลังการพัฒนา และนําไปขยายผลกบั บุคลากรในสถานศึกษา
- มกี ารรายงานผลการปฏบิ ัติงานของครูและบุคลากรดานส่งิ แวดลอ มศึกษา
- มกี ารรายงานผลการปฏิบตั งิ านของครูและบุคลากรดา นสงิ่ แวดลอมศกึ ษา
- มกี ารตดิ ตามผลการดาํ เนนิ งานหลงั การพฒั นา และนาํ ไปขยายผลกบั บุคลากรในสถานศกึ ษา
- มกี ารติดตามผลการดําเนินงานหลงั การพัฒนา และนาํ ไปขยายผลกบั บคุ ลากรในสถานศึกษา

๒๑

วิธีการเก็บขอมูล/แหลงขอมูล

วิธกี ารเก็บรวบรวมขอ มูล แหลง ขอมูล
๑ การสัมภาษณ/สอบถาม - ผูเรยี น ครู ผูบ รหิ าร ผูเกี่ยวขอ ง
๒ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รอ งรอย / - แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมดา นส่งิ แวดลอม
ขอมลู เชงิ ประจกั ษ - คาํ สั่งผรู บั ผิดชอบ
- บันทกึ /สรปุ /รายงานผลการพัฒนาดา นสง่ิ แวดลอ ม
- รองรอยการจดั กจิ กรรม เชน คมู อื /แนวทางฯ
- ฯลฯ

ตัวชี้วัดที่ ๒.๒ มีการกํากับ ติดตาม ประเมินผลและนิเทศการปฏิบัติงาน
ดานส่ิงแวดลอมศึกษาอยางตอเนื่อง

คําอธิบาย

สถานศึกษามีการกํากับ ติดตาม ประเมินผลและนิเทศการปฏิบัติงานดานส่ิงแวดลอมศึกษา
อยางตอเน่ือง มีการจัดทําแผนกํากับ ติดตาม ประเมินผลและนิเทศการปฏิบัติงานดานส่ิงแวดลอม
ศึกษาแตงต้ังผูรับผิดชอบ/ จัดทําเคร่ืองมือการนิเทศการปฏิบัติงานดําเนินการนิเทศตามแผนการนิเทศ
รายงานผลการนิเทศใหบุคลากรและผูมีสวนเก่ียวของทราบและนําผลการนิเทศไปวางแผนพัฒนา
บุคลากรอยางตอเนื่อง

ประเด็นการพิจารณา

๑. มแี ผนกํากับ ติดตาม ประเมนิ ผลและนเิ ทศการปฏิบัติงานดา นส่งิ แวดลอมศึกษา
๒. มคี าํ สงั่ แตง ตง้ั ผรู บั ผดิ ชอบ / จดั ทาํ เครอ่ื งมอื การนเิ ทศการปฏบิ ตั งิ านดา นสง่ิ แวดลอ มศกึ ษา
๓. มีการดําเนินการนิเทศตามแผนการนิเทศการปฏิบัติงานดานส่ิงแวดลอมศึกษา
๔. มีการรายงานผลการนิเทศการปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาใหบุคลากรและผูมีสวน

เกี่ยวของทราบ
๕. มีการนําผลการนิเทศดานสิ่งแวดลอมศึกษาไปวางแผนพัฒนาบุคลากรอยางตอเนื่อง

๒๒

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดบั คณุ ภาพ คาํ อธิบายระดับคณุ ภาพ
๕ - มีแผนกํากับ ติดตาม ประเมินผลและนิเทศการปฏิบัติงานดานส่ิงแวดลอมศึกษา
- มีคําสั่งแตงต้ังผูรับผิดชอบ /จัดทําเครื่องมือการนิเทศการปฏิบัติงานดานส่ิงแวดลอมศึกษา
๔ - มีการดําเนินการนิเทศตามแผนการนิเทศการปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอมศึกษา
- มีการรายงานผลการนิเทศการปฏิบัติงานดานส่ิงแวดลอมศึกษาใหบุคลากรและผูมีสวน
๓ เกี่ยวของทราบ
๒ - มีการนําผลการนิเทศดานส่ิงแวดลอมศึกษาไปวางแผนพัฒนาบุคลากรอยางตอเนื่อง
๑ - มแี ผนกํากบั ติดตาม ประเมินผลและนิเทศการปฏิบัติงานดา นสิ่งแวดลอมศึกษา
- มีคําสัง่ แตง ต้ังผรู บั ผิดชอบ /จัดทําเคร่อื งมอื การนเิ ทศการปฏิบัตงิ านดา นสิ่งแวดลอมศกึ ษา
- มีการดําเนินการนเิ ทศตามแผนการนเิ ทศการปฏิบตั งิ านดา นสิ่งแวดลอ มศกึ ษา
- มีการรายงานผลการนเิ ทศการปฏิบัติงานดา นสิง่ แวดลอมศึกษาใหบุคลากรและผมู สี วน
เกยี่ วขอ งทราบ
- มแี ผนกํากบั ติดตาม ประเมนิ ผลและนเิ ทศการปฏิบัตงิ านดานสงิ่ แวดลอ มศกึ ษา
- มีคําสงั่ แตง ต้งั ผรู ับผดิ ชอบ /จัดทําเครอื่ งมือการนิเทศการปฏบิ ัตงิ านดา นสง่ิ แวดลอมศกึ ษา
- มกี ารดําเนนิ การนเิ ทศตามแผนการนเิ ทศการปฏิบัติงานดา นสิ่งแวดลอ มศึกษา
- มีแผนกํากบั ติดตาม ประเมนิ ผลและนเิ ทศการปฏบิ ัติงานดานสิ่งแวดลอ มศึกษา
- มีคาํ สง่ั แตง ต้งั ผูรบั ผิดชอบ /จดั ทําเครือ่ งมือการนเิ ทศการปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอมศกึ ษา
- มีแผนกํากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผลและนิเทศการปฏิบัติงานดานส่งิ แวดลอ มศึกษา

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วธิ กี ารเก็บรวบรวมขอมลู แหลงขอมลู
๑ การสัมภาษณ/สอบถาม - ผูเ รยี น ครู ผบู ริหาร ผเู กี่ยวของ
๒ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รอ งรอย / - แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมการนเิ ทศภายในสถานศึกษา
- คาํ ส่ังแตงต้ังผรู บั ผดิ ชอบ/คาํ สงั่ คณะกรรมการนิเทศฯ
ขอ มูลเชงิ ประจักษ - รอ งรอยการดาํ เนินงาน
- สรปุ รายงานนเิ ทศ

ดานท่ี ๒ ดานหลักสูตรและการจัดการเรียนรู

มาตรฐานท่ี ๓ สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนรูดานส่ิงแวดลอมศึกษา
ที่สอดคลองกับบริบทของทองถ่ิน

ตัวช้ีวัดที่ ๓.๑ มีการพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา/สาระการเรยี นรทู อ งถน่ิ ๒๓
ดา นสงิ่ แวดลอ มศกึ ษาทสี่ อดคลอ งกบั สภาพบรบิ ทของทอ งถน่ิ
(ขยะ มลพิษ นํา้ พลงั งาน อนามัย พืชทองถิ่น)

คําอธิบาย

สถานศึกษา มกี ารพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา/สาระการเรียนรูท อ งถ่ินดา นสิง่ แวดลอ มศึกษาท่ี
สอดคลอ งกบั สภาพบรบิ ทของทอ งถน่ิ โดยวเิ คราะหห ลกั สตู รแกนกลางฯมาตรฐาน/ตวั ชว้ี ดั ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั
สงิ่ แวดลอ มในทอ งถน่ิ จดั ทาํ หนว ยการเรยี นรบู รู ณาการสง่ิ แวดลอ มศกึ ษาทกุ กลมุ การเรยี นรตู ามบรบิ ทของ
ทอ งถ่ิน จดั ทาํ แผนการจดั การเรียนรสู ่ิงแวดลอมศึกษาบูรณาการในกลุมสาระการเรียนที่เกย่ี วขอ ง มีการ
ใชและนเิ ทศตดิ ตามประเมินหนวย/แผนการจัดการเรียนรูส่งิ แวดลอมศึกษาของสถานศกึ ษา

ประเด็นการพิจารณา

๑. มกี ารวเิ คราะหห ลกั สตู รแกนกลางฯ มาตรฐาน ตวั ชว้ี ดั ทเี่ กย่ี วขอ งกบั สง่ิ แวดลอ ม
๒. มีการวเิ คราะหสภาพปจจบุ นั ปญหาของชุมชน เช่ือมโยงสูห ลกั สูตรแกนกลางฯ มาตรฐาน

ตัวช้ีวัดที่สอดคลองกับส่ิงแวดลอม
๓. มกี ารจัดทาํ หนว ยการเรยี นรูบูรณาการสงิ่ แวดลอ มศึกษาตามบรบิ ทของทองถน่ิ
๔. มีการจัดทําแผนการจัดการเรียนรูบูรณาการส่ิงแวดลอมศึกษาในกลุมสาระการเรียนรูท่ี

เกี่ยวของ
๕. มีการใชและประเมินหนวย/แผนการจัดการเรียนรูส่ิงแวดลอมศึกษาของสถานศึกษา
๖. มีการนิเทศติดตาม และประเมิณหนวย/แผนการจัดการเรียนรูส่ิงแวดลอมศึกษาของ

สถานศึกษา

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดับคุณภาพ คาํ อธบิ ายระดับคุณภาพ
๕ - มกี ารวเิ คราะหห ลกั สูตรแกนกลางฯ มาตรฐาน ตวั ช้ีวัดทเ่ี กย่ี วของกับส่ิงแวดลอ ม
- มีการวเิ คราะหส ภาพปจจุบัน ปญหาของชมุ ชน เชอื่ มโยงสูหลกั สตู รแกนกลางฯ
๔ มาตรฐาน ตัวช้วี ดั ท่สี อดคลองกบั ส่งิ แวดลอ ม
- มีการจดั ทาํ หนวยการเรียนรูบรู ณาการสิง่ แวดลอมศกึ ษาตามบรบิ ทของทอ งถนิ่
- มกี ารจดั ทําแผนการจัดการเรยี นรูบรู ณาการส่งิ แวดลอมศกึ ษาในกลุมสาระการเรียนรู
ทเ่ี กยี่ วของ
- มกี ารใช และนเิ ทศตดิ ตามประเมนิ ประเมินหนว ย/แผนการจดั การเรียนรสู ่งิ แวดลอ มศกึ ษา
ขอสถานศึกษา
- มีการวเิ คราะหห ลกั สตู รแกนกลางฯ มาตรฐาน ตัวช้ีวัดทีเ่ กี่ยวขอ งกับส่งิ แวดลอ ม
- มีการวเิ คราะหส ภาพปจจุบัน ปญ หาของชุมชน เชอื่ มโยงสหู ลักสตู รแกนกลางฯ มาตรฐาน
ตวั ชว้ี ัดท่สี อดคลองกบั สิ่งแวดลอม
- มกี ารจัดทาํ หนวยการเรยี นรบู รู ณาการสิง่ แวดลอมศึกษาตามบรบิ ทของทอ งถน่ิ
- มกี ารจัดทําแผนการจดั การเรยี นรูบรู ณาการสง่ิ แวดลอ มศกึ ษาในกลมุ สาระการเรยี นรู
ทเ่ี กย่ี วของ

๒๔

ระดับคณุ ภาพ คําอธบิ ายระดับคุณภาพ
๓ - มีการวเิ คราะหห ลกั สตู รแกนกลางฯ มาตรฐาน ตัวช้วี ัดทเ่ี กย่ี วขอ งกบั สงิ่ แวดลอม
- มีการวิเคราะหสภาพปจจุบนั ปญ หาของชุมชน เช่ือมโยงสหู ลักสตู รแกนกลางฯ มาตรฐาน
๒ ตัวชว้ี ดั ท่ีสอดคลอ งกบั ส่ิงแวดลอ ม
๑ - มีการจดั ทาํ หนว ยการเรยี นรูบูรณาการสิง่ แวดลอ มศกึ ษาตามบรบิ ทของทอ งถิ่น
- มกี ารวเิ คราะหห ลกั สูตรแกนกลางฯ มาตรฐาน ตวั ชวี้ ดั ท่เี ก่ียวขอ งกบั ส่งิ แวดลอม
- มกี ารวิเคราะหส ภาพปจจุบนั ปญ หาของชุมชน เชื่อมโยงสหู ลกั สูตรแกนกลางฯ มาตรฐาน
ตวั ชว้ี ดั ท่ีสอดคลอ งกบั สงิ่ แวดลอม
- มีการวเิ คราะหหลกั สตู รแกนกลางฯ มาตรฐาน ตัวชี้วัดที่เกยี่ วของกบั สงิ่ แวดลอ ม

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ มูล แหลงขอมลู
๑. การสัมภาษณ/สอบถาม - ผเู รยี น ครู ผบู รหิ าร ผเู กย่ี วขอ ง
๒ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รอ งรอย / - หลกั สตู รสถานศึกษา /สาระการเรียนรทู ่เี กย่ี วขอ งกับ
ขอ มลู เชิงประจกั ษ สิง่ แวดลอมศกึ ษา
- หนว ยการเรียนรบู ูรณาการสง่ิ แวดลอ มศึกษา
- แผนการจัดการเรียนรดู า นส่งิ แวดลอม
- เครอ่ื งมอื ประเมินหนว ย/แผนการจัดการเรยี นรู
- รายงานการประเมนิ หนวยงาน/แผนการจัดการเรียนรู
- คําสัง่ แตง ตง้ั คณะทาํ งาน
- บนั ทกึ การประชมุ
- รอ งรอยการนเิ ทศติดตาม
- ภาพถา ย

ตัวช้ีวัดท่ี ๓.๒ มีการจัดการเรียนรูตามหนวย/แผนการเรียนรู
สิ่งแวดลอมศึกษา

คําอธิบาย

สถานศึกษามีการจัดการเรียนรูตามหนวย/แผนการเรียนรูสิ่งแวดลอมศึกษา มีการวัดและ
ประเมินผลท่ีหลากหลายสงผลใหผูเรียนบรรลุตามวัตถุประสงคของสิ่งแวดลอมศึกษา ๕ ดาน ประกอบ
ดวยการตระหนักรับรู ความรู เจตคติ ทักษะ การมีสวนรวมสามารถวิเคราะหสถานการณปจจุบัน
แนวโนมท่ีเกิดขึ้นในอนาคต มีสวนรวมในการแกปญหาส่ิงแวดลอมในทองถ่ิน เชื่อมโยงโดยนําหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาไดอยางเหมาะสม

๒๕

ประเด็นการพิจารณา

๑. จัดกิจกรรมการเรียนรูบรรลุวัตถุประสงคของสิ่งแวดลอมศึกษา ครอบคลุมทุกดาน
๒. มีการจัดกิจกรรมใหนักเรียนวิเคราะหสถานการณสิ่งแวดลอมในปจจุบันและ

แนวโนมที่จะเกิดข้ึนในอนาคต
๓. มกี ารจดั กจิ กรรมการเรียนรูใหผ เู รยี นมสี ว นรวมในการแกปญ หาสิง่ แวดลอ มในทอ งถิ่น
๔. จัดกิจกรรมการเรียนรูดานส่ิงแวดลอมศึกษาเช่ือมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงไดอยางเหมาะสม
๕. มีการวัดประเมินผลการเรียนรูดวยวิธีการท่ีหลากหลาย

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดบั คุณภาพ คาํ อธิบายระดับคณุ ภาพ
๕ - จัดกจิ กรรมการเรียนรูบรรลุวตั ถปุ ระสงคข องสิ่งแวดลอ มศกึ ษา ครอบคลมุ ทุกดาน
- มกี ารจดั กิจกรรมใหน ักเรยี นวเิ คราะหส ถานการณป จ จุบนั และแนวโนมทจี่ ะเกดิ ในอนาคต
๔ - มีการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูใหผ เู รียนมีสว นรว มในการแกป ญหาสงิ่ แวดลอมในทองถิ่น
- จดั กิจกรรมการเรยี นรูดานส่งิ แวดลอมศึกษาเช่ือมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมา
๓ ไดอ ยางเหมาะสม
๒ - มีการวัดประเมนิ ผลการเรียนรดู วยวิธีการทห่ี ลากหลาย
๑ - จัดกิจกรรมการเรยี นรบู รรลุวตั ถปุ ระสงคข องสง่ิ แวดลอมศึกษา ครอบคลุมทุกดาน
- มกี ารจัดกจิ กรรมใหน ักเรยี นวิเคราะหส ถานการณปจ จุบนั และแนวโนมทจี่ ะเกิดในอนาคต
- มกี ารจัดกิจกรรมการเรยี นรูใ หผเู รยี นมสี วนรว มในการแกป ญ หาสง่ิ แวดลอมในทองถน่ิ
- จัดกจิ กรรมการเรียนรดู านสงิ่ แวดลอมศึกษาเช่ือมโยงหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมา
ไดอยา งเหมาะสม
- จดั กิจกรรมการเรยี นรูบรรลุวัตถุประสงคข องสง่ิ แวดลอมศึกษา ครอบคลมุ ทกุ ดาน
- มีการจดั กจิ กรรมใหน ักเรียนวเิ คราะหสถานการณป จจบุ ันและแนวโนม ท่จี ะเกดิ ในอนาคต
- มีการจดั กจิ กรรมการเรียนรใู หผเู รยี นมสี วนรว มในการแกปญ หาสง่ิ แวดลอ มในทอ งถ่ิน
- จดั กิจกรรมการเรยี นรูบรรลุวตั ถุประสงคข องสงิ่ แวดลอ มศกึ ษา ครอบคลุมทุกดาน
- มกี ารจัดกจิ กรรมใหน ักเรยี นวิเคราะหสถานการณป จ จบุ นั และแนวโนมทจ่ี ะเกิดในอนาคต
- จัดกิจกรรมการเรยี นรูบรรลุวตั ถปุ ระสงคของสง่ิ แวดลอ มศกึ ษา ครอบคลมุ ทุกดาน

๒๖

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอ มลู แหลง ขอมูล
๑ การสังเกต - การจดั กิจกรรมการเรียนรู
- พฤติกรรมของผูเรียน ครู ผบู รหิ าร ผูเกี่ยวของ
๒ การสมั ภาษณ/สอบถาม - ผูบริหาร ครู นักเรียน ผเู กย่ี วของ
๓ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน - หนวย/แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูด า นส่ิงแวดลอม
รองรอย / ขอมลู เชิงประจักษ - สอื่ เอกสารความรู ใบงาน บัตรกิจกรรมฯลฯ
- เครอื่ งมอื วัดและประเมินผล
- รายงานผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู
- ฯลฯ

ตัวชี้วัดท่ี ๓.๓ มีสื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู แหลงเรียนรูและ
ภูมิปญญาทองถ่ินอยางหลากหลาย

คําอธิบาย

สถานศึกษา มีการจัดทําหรอื จัดหาส่ือ นวตั กรรมการจัดการเรียนรู แหลงเรยี นรแู ละภมู ิปญ ญา
ทอ งถน่ิ อยา งหลากหลายสอดคลอ งกบั จดุ ประสงคแ ละกจิ กรรมการเรยี นรู ใชส อื่ อยา งคมุ คา มกี ารประเมนิ
การใช รายงานผลการใช และมีการนําขอมูลมาปรับปรุงและพัฒนาตลอดท้ังเผยแพร ประชาสัมพันธ
ทั้งภายในและภายนอกโรงเรยี นสถานศกึ ษา

ประเด็นการพิจารณา

๑. จัดทําหรือจัดหาสื่อ/ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู / แหลงการเรียนรู /ภูมิปญญาทอง
ถ่ินอยางหลากหลายสอดคลองกับจุดประสงคและกิจกรรมการเรียนรู

๒. ใชส ื่อ/ นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู แหลงเรยี นรแู ละภูมปิ ญ ญาทองถน่ิ อยางหลากหลาย
๓. มีการประเมิน และรายงานผลการใชส่ือ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู แหลงเรียนรูและ

ภูมิปญญาทองถิ่น
๔. มีการนําขอมูลจากการประเมินมาใชปรับปรุงและพัฒนาสื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียน

รูแหลงเรียนรูและภูมิปญญาทองถ่ิน
๕. มีการเผยแพร ประชาสัมพันธ สื่อ / นวัตกรรมการจัดการเรียนรู / แหลงเรียนรูภายใน

และภายนอกสถานศึกษา

๒๗

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดบั คณุ ภาพ คาํ อธิบายระดบั คุณภาพ
๕ - จัดทาํ หรอื จัดหาส่อื / นวัตกรรมการจดั การเรยี นรู / แหลง การเรยี นรู /ภมู ิปญ ญาทองถ่ิน
อยา งหลากหลายสอดคลอ งกบั จดุ ประสงคและกจิ กรรมการเรยี นรู
๔ - ใชส ื่อ/ นวตั กรรมการจัดการเรียนรู แหลง เรยี นรูแ ละภมู ปิ ญ ญาทอ งถิ่นอยางหลากหลาย
๓ - มกี ารประเมิน และรายงานผลการใชส ่อื นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู แหลงเรียนรแู ละ
๒ ภูมิปญญาทองถิน่
๑ - มีการนําขอมลู จากการประเมนิ มาใชป รับปรงุ และพฒั นาสอื่ นวตั กรรมการจัดการเรียนรู
แหลงเรยี นรแู ละภมู ิปญญาทองถิน่
- มกี ารเผยแพร ประชาสมั พันธ ส่อื / นวัตกรรมการจัดการเรียนรู / แหลงเรียนรูภ ายในและ
ภายนอกสถานศึกษา
- จัดทําหรือจัดหาส่อื / นวตั กรรมการจัดการเรยี นรู / แหลงการเรยี นรู /ภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ
อยา งหลากหลายสอดคลองกบั จุดประสงคแ ละกิจกรรมการเรยี นรู
- ใชส อ่ื / นวตั กรรมการจัดการเรยี นรู แหลงเรยี นรูและภูมปิ ญญาทองถนิ่ อยางหลากหลาย
- มีการประเมิน และรายงานผลการใชส ือ่ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู แหลง เรยี นรแู ละ
ภมู ิปญญาทองถ่ิน
- มกี ารนําขอมูลจากการประเมินมาใชป รบั ปรงุ และพัฒนาสอื่ นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู
แหลงเรียนรูและภมู ปิ ญ ญาทองถ่ิน
- จดั ทําหรือจัดหาสื่อ/ นวตั กรรมการจัดการเรียนรู / แหลงการเรียนรู /ภมู ิปญ ญาทอ งถ่ิน
อยางหลากหลายสอดคลอ งกับจดุ ประสงคแ ละกจิ กรรมการเรียนรู
- ใชส่อื / นวตั กรรมการจดั การเรียนรู แหลงเรียนรแู ละภมู ปิ ญ ญาทอ งถน่ิ อยา งหลากหลาย
- มีการประเมิน และรายงานผลการใชส ื่อ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู แหลงเรยี นรแู ละ
ภูมิปญ ญาทองถนิ่
- จดั ทาํ หรอื จดั หาสอ่ื / นวัตกรรมการจดั การเรยี นรู / แหลงการเรยี นรู /ภูมิปญญาทองถ่นิ
อยา งหลากหลายสอดคลองกบั จุดประสงคแ ละกจิ กรรมการเรียนรู
- ใชส อื่ / นวัตกรรมการจัดการเรยี นรู แหลงเรียนรูแ ละภมู ิปญ ญาทอ งถน่ิ อยา งหลากหลาย
- จัดทําหรอื จดั หาสือ่ / นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู / แหลงการเรยี นรู /ภูมิปญ ญาทองถน่ิ
อยา งหลากหลายสอดคลอ งกับจุดประสงคแ ละกจิ กรรมการเรยี นรู

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วิธีการเก็บรวบรวมขอ มลู แหลง ขอ มูล
๑ การสงั เกต - การจดั กิจกรรมการเรยี น/หองเรยี น
- พฤติกรรมการเรียนของผูเรยี นของครู อน่ื ๆ ที่เกีย่ วของ
๒ การสัมภาษณ/สอบถาม - ผเู รยี น ครู ผบู รหิ าร ผเู ก่ียวของ

๒๘

วิธีการเก็บรวบรวมขอ มลู แหลงขอมูล

๓ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รองรอย - หนวย/แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูดา นสิ่งแวดลอม
ขอมูลเชงิ ประจักษ - ทะเบียนสื่อ แหลงเรียนรู ภูมปิ ญญาทอ งถ่นิ
- เอกสารความรู ใบงาน บัตรกิจกรรม
- เคร่อื งมอื ประเมนิ ผลการใชส อ่ื แหลงเรยี นรู
- รายงานผลการใชส ื่อ แหลง เรียนรู ภูมิปญญาทองถ่ิน
- หลกั ฐาน/รอยรอยการใช/ส่อื และพัฒนาแหลง เรียนรู ฯลฯ

มาตรฐานท่ี ๔ สถานศึกษามีการสงเสริมการจัดกิจรรม ดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน
ส่ิงแวดลอมและสุขอนามัย(ขยะ มลพิษ นํ้า พลังงาน อนามัย)

ตัวช้ีวัดที่ ๔.๑ มีแผนงานโครงการ/กิจกรรม ดานทรัพยากรธรรมชาติ
พลงั งาน สิ่งแวดลอมและสุขอนามัย

คําอธิบาย

สถานศึกษามีการจัดทําแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน
สิ่งแวดลอม และสุขอนามัย ที่สอดคลองกับวัตถุประสงคของสิ่งแวดลอมศึกษา ตามหลักองค ๔ แหง
การจัดการศึกษา (พุทธิศึกษา จริยศึกษา หัตถศึกษาและพลศึกษา) โดยการมีสวนรวมของครู บุคลากร
ทางการศึกษา นักเรียนและชุมชน

ประเด็นการพิจารณา

๑. แผนงาน / โครงการ / กจิ กรรม ดา นทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งาน สง่ิ แวดลอมและ
สุขอนามัย

๒. มีการดําเนินงานตามแผนงาน / โครงการ / กิจกรรมท่ีสงเสริมใหผูเรียนไดแสดงออก
ตามศักยภาพของตนเอง

๓. จัดกิจกรรม ดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน ส่ิงแวดลอม และสุขอนามัย ครอบคลุม
ตามหลักองค ๔ แหงการจัดการศึกษา

๔. การมีสวนรวมของครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียนและชุมชน
๕. มีการประเมินผลและรายงานผลการจัดกิจกรรมดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน

สิ่งแวดลอม และสุขอนามัยใหผูเกี่ยวของทราบ

๒๙

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดับคุณภาพ คาํ อธิบายระดับคณุ ภาพ
๕ - แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม ดา นทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงาน สงิ่ แวดลอมและ
สุขอนามัย
๔ - มีการดําเนนิ งานตามแผนงาน / โครงการ / กจิ กรรมที่สงเสรมิ ใหผเู รยี นไดแ สดงออกตาม
๓ ศักยภาพของตนเอง
๒ - จัดกิจกรรม ดา นทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งาน สิ่งแวดลอ ม และสขุ อนามยั ครอบคลุมตาม
๑ หลกั องค ๔ แหง การจัดการศึกษา
- การมีสวนรว มของครู บุคลากรทางการศึกษา นกั เรยี นและชุมชน
- มีการประเมินผลและรายงานผลการจัดกจิ กรรมดา นทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงาน
สิง่ แวดลอ ม และสขุ อนามัยใหผเู ก่ียวขอ งทราบ
- แผนงาน / โครงการ / กจิ กรรม ดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน สิ่งแวดลอ มและ
สขุ อนามยั
- มกี ารดาํ เนนิ งานตามแผนงาน / โครงการ / กจิ กรรมทส่ี งเสริมใหผเู รยี นไดแ สดงออก
ตามศักยภาพของตนเอง
- จัดกิจกรรม ดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน สิ่งแวดลอ ม และสุขอนามัย ครอบคลมุ
ตามหลกั องค ๔ แหง การจดั การศึกษา
- การมสี วนรว มของครู บุคลากรทางการศึกษา นกั เรียนและชุมชน
- แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม ดานทรพั ยากรธรรมชาติ พลงั งาน สิง่ แวดลอ มและ
สขุ อนามยั
- มีการดาํ เนนิ งานตามแผนงาน / โครงการ / กิจกรรมที่สงเสริมใหผูเ รียนไดแ สดงออก
ตามศักยภาพของตนเอง
- จัดกิจกรรม ดานทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงาน ส่งิ แวดลอ ม และสขุ อนามยั ครอบคลมุ
ตามหลกั องค ๔ แหง การจดั การศึกษา
- แผนงาน / โครงการ / กิจกรรม ดานทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งาน ส่ิงแวดลอมและ
สุขอนามัย
- มกี ารดาํ เนนิ งานตามแผนงาน / โครงการ / กจิ กรรมที่สงเสรมิ ใหผ ูเ รียนไดแ สดงออก
ตามศักยภาพของตนเอง
- แผนงาน / โครงการ / กจิ กรรม ดานทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงาน สิ่งแวดลอมและ
สขุ อนามยั

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วิธกี ารเก็บรวบรวมขอมูล แหลงขอ มูล
๑ การสัมภาษณ/สอบถาม - ผเู รยี น ครู ผบู ริหาร ผเู กยี่ วของ

๓๐

วิธีการเกบ็ รวบรวมขอมูล แหลง ขอมลู

๒ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รอ งรอย - โครงการ/กจิ กรรมการเรยี นรูดา นส่ิงแวดลอ มศกึ ษา
ขอ มลู เชิงประจกั ษ - คาํ สงั่ /บนั ทึกการประชุมผูเ กีย่ วของ
- เคร่อื งมอื ประเมนิ ผลการจดั กิจกรรม
- ภาพกจิ กรรม/ผลงานนักเรียน
- รายงานผลการจัดกจิ กรรม
- ฯลฯ

ตวั ชี้วดั ที่ ๔.๒ มีฐานขอ มูลดานทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งานสิ่งแวดลอม
และสขุ อนามยั

คําอธิบาย

สถานศึกษามีขอมูลสารสนเทศดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน สิ่งแวดลอมและสุขอนามัย
นําไปวางแผนพัฒนาผูเรียน จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดรวบรวม วิเคราะห เปรียบเทียบวางแผนสรุป และ
แกปญหาดานสิ่งแวดลอมอยางเปนระบบ

ประเด็นการพิจารณา

๑. มขี อมูลสารสนเทศดานทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งาน สง่ิ แวดลอมและสขุ อนามยั
๒. นําขอมูลสารสนเทศดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน ส่ิงแวดลอมและสุขอนามัยไป

วางแผนพัฒนาผูเรียน
๓. จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดรวบรวม ขอมูลดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน

ส่ิงแวดลอมและสุขอนามัย
๔. จัดกิจกรรมใหผูเรียน วิเคราะห เปรียบเทียบ และสรุปโดยใชขอมูลดาน

ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน ส่ิงแวดลอมและสุขอนามัย
๕. จัดกิจกรรมใหผูเรียนวางแผนแกปญหาสิ่งแวดลอมศึกษา และสุขอนามัย

โดยใชขอมูลสารสนเทศดานทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน สิ่งแวดลอมและ
สุขอนามัยอยางเปนระบบ

๓๑

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดับคณุ ภาพ คําอธิบายระดบั คณุ ภาพ
๕ - มขี อ มูลสารสนเทศดานทรพั ยากรธรรมชาติ พลงั งาน สิ่งแวดลอ มและสขุ อนามัย
- นาํ ขอมูลสารสนเทศดา นทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งาน สิง่ แวดลอ มและสขุ อนามยั
๔ ไปวางแผนพัฒนาผเู รียน
- จัดกิจกรรมใหผเู รยี นไดร วบรวม ขอ มลู ดา นทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน สิ่งแวดลอ ม
๓ และสุขอนามยั
๒ - จัดกจิ กรรมใหผูเรียน วิเคราะห เปรยี บเทียบ และสรปุ โดยใชขอมลู ดา นทรัพยากรธรรมชาติ
๑ พลงั งาน สงิ่ แวดลอ มและสขุ อนามยั
- จดั กจิ กรรมใหผเู รียนวางแผนแกปญหาโดยใชขอมลู สารสนเทศดา นทรัพยากรธรรมชาติ
พลงั งาน ส่งิ แวดลอ มและสุขอนามัยอยางเปนระบบ
- มีขอ มูลสารสนเทศดานทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงาน สง่ิ แวดลอ มและสขุ อนามัย
- นาํ ขอ มูลสารสนเทศดา นทรพั ยากรธรรมชาติ พลงั งาน ส่ิงแวดลอมและสขุ อนามยั
ไปวางแผนพัฒนาผูเ รียน
- จัดกจิ กรรมใหผ เู รยี นไดร วบรวม ขอ มูลดานทรพั ยากรธรรมชาติ พลงั งาน สิง่ แวดลอม
และสขุ อนามยั
- จัดกิจกรรมใหผ เู รียน วเิ คราะห เปรียบเทียบ และสรปุ โดยใชขอมลู ดานทรัพยากรธรรมชาติ
พลงั งาน ส่ิงแวดลอมและสุขอนามยั
- มีขอมลู สารสนเทศดานทรพั ยากรธรรมชาติ พลงั งาน สง่ิ แวดลอมและสุขอนามยั
- นาํ ขอ มลู สารสนเทศดา นทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน ส่ิงแวดลอมและสุขอนามัย
ไปวางแผนพฒั นาผเู รียน
- จัดกิจกรรมใหผเู รียนไดรวบรวม ขอมลู ดา นทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงาน สง่ิ แวดลอม
และสขุ อนามยั
- มขี อ มลู สารสนเทศดา นทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน สิง่ แวดลอ มและสขุ อนามัย
- นาํ ขอ มลู สารสนเทศดา นทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน ส่งิ แวดลอมและสุขอนามยั
ไปวางแผนพัฒนาผเู รยี น
- มีขอ มลู สารสนเทศดานทรพั ยากรธรรมชาติ พลังงาน ส่งิ แวดลอมและสุขอนามยั

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ มูล แหลงขอ มลู
๑ การสัมภาษณ/ สอบถาม - ผูเรยี น ครู ผบู รหิ าร ผูเ ก่ียวขอ ง
๒ การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน รอ งรอย - ขอ มูลสารสนเทศดา นส่งิ แวดลอมฯลฯ
ขอมลู เชิงประจักษ - ภาพกจิ กรรม/ผลงานนกั เรียน
- รายงานผลการจดั กจิ กรรมโดยใชฐานขอ มูล
๓๒ - ผลงาน/ชิน้ งาน
- ภาพถาย

ดานท่ี ๓ การมีสวนรวมและการสรางเครือขาย

มาตรฐานท่ี ๕ สถานศึกษามีการสรางเครือขายการมีสวนรวมภายในสถานศึกษา

ตวั ช้วี ดั ท่ี ๕.๑ มกี ารจดั ตัง้ ชุมนมุ /ชมรม/สภานักเรียน ทดี่ ําเนินงานดา น
สิ่งแวดลอ มศึกษาภายในสถานศกึ ษาอยา งชัดเจน

คําอธิบาย

สถานศึกษามีการสรางเครือขายการมีสวนรวมภายในสถานศึกษา โดยจัดต้ังชุมนุม/ชมรม/
สภานักเรียน ที่ดําเนินงานดานส่ิงแวดลอมศึกษาภายในสถานศึกษาอยางชัดเจนแกนนําและสมาชิก
มีสวนรวมในการวางแผน จัดกิจกรรม และมีผูรับผิดชอบชัดเจนมีการประชุมกรรมการอยางนอย
ภาคเรียนละ ๒ คร้ัง มีการประชุมสรุปรายงานผลการดําเนินงาน

ประเด็นการพิจารณา

๑. จดั ต้ังชมุ นุม/ชมรม/สภานกั เรยี น ทด่ี าํ เนินงานดา นส่งิ แวดลอมศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา
ชัดเจน

๒. การมีสวนรวมของแกนนําและสมาชิก
๓. มีการจัดกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมศึกษาอยางนอย ภาคเรียนละ ๒ คร้ัง
๔. มรี ายงานการประชุมสรุปรายงานผลการดําเนินงานในแตละกิจกรรม
๕. มกี ารเผยแพรข ยายผลการจัดกจิ กรรมดา นสง่ิ แวดลอมศกึ ษาภายในสถานศึกษา

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดบั คุณภาพ คาํ อธบิ ายระดบั คณุ ภาพ
๕ - จัดตัง้ ชมุ นมุ /ชมรม/สภานักเรียน ท่ีดาํ เนินงานดา นสิ่งแวดลอ มศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา
ชดั เจน
๔ - การมีสว นรว มของแกนนาํ และสมาชิก
- มีการจดั กิจกรรมดานส่ิงแวดลอมศึกษาอยา งนอ ย ภาคเรียนละ ๒ คร้ัง
- มรี ายงานการประชมุ สรปุ รายงานผลการดาํ เนินงานในแตล ะกิจกรรม
- มีการเผยแพรขยายผลการจดั กิจกรรมดา นสงิ่ แวดลอมศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา
- จดั ตั้งชมุ นมุ /ชมรม/สภานกั เรยี น ทด่ี ําเนินงานดาน ส่งิ แวดลอ มศึกษาภายในสถานศกึ ษา
ชัดเจน
- การมีสวนรว มของแกนนําและสมาชกิ
- มกี ารจัดกจิ กรรมดา นสิ่งแวดลอ มศึกษาอยา งนอย ภาคเรยี นละ ๒ ครงั้
- มีรายงานการประชมุ สรุปรายงานผลการดําเนินงานในแตละกจิ กรรม

๓๓

ระดับคณุ ภาพ คาํ อธิบายระดับคุณภาพ
๓ - จัดตัง้ ชุมนมุ /ชมรม/สภานักเรียน ที่ดําเนินงานดานสงิ่ แวดลอ มศึกษาภายในสถานศึกษา
ชดั เจน
๒ - การมีสว นรว มของแกนนําและสมาชกิ
๑ - มีการจดั กจิ กรรมดานส่ิงแวดลอมศกึ ษาอยา งนอ ย ภาคเรยี นละ ๒ ครัง้
- จัดต้งั ชุมนุม/ชมรม/สภานกั เรยี น ทดี่ าํ เนินงานดา นสงิ่ แวดลอ มศึกษาภายในสถานศกึ ษา
ชดั เจน
- การมีสว นรวมของแกนนําและสมาชกิ
- จดั ต้ังชมุ นุม/ชมรม/สภานกั เรียน ที่ดําเนนิ งานดานสงิ่ แวดลอ มศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา
ชัดเจน

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วธิ ีการเก็บรวบรวมขอ มลู แหลงขอมลู
๑ การสังเกต - การมสี วนรว มของผบู รหิ าร/คร/ู นกั เรยี น/ผูเกี่ยวขอ ง
๒ การสมั ภาษณ/สอบถาม - ผเู รยี น ครู ผบู รหิ าร ผูเก่ยี วขอ ง
๓ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รอ งรอย - ชมรม ชุมนมุ
ขอ มูลเชงิ ประจักษ - ระเบียบกตกิ าดา นสง่ิ แวดลอม
- เอกสารความรู
- ใบงาน
- บัตรกจิ กรรม
- เครอ่ื งมอื ประเมนิ ผลงานกจิ กรรม
- ภาพกจิ กรรม
- รายงานผลการจัดกจิ กรรมชมุ นมุ ชมรม
- คาํ สงั่
- บนั ทึกการประชุม ผลงาน ชนิ้ งาน

ตวั ชวี้ ัดที่ ๕.๒ มกี ารขยายเครือขา ยชมรม ชมุ นมุ กจิ กรรมส่ิงแวดลอมภายใน
สถานศกึ ษา

คําอธิบาย
สถานศึกษามีการขยายเครือขายชมรม ชุมนุม สภานักเรียน ดานส่ิงแวดลอมศึกษา
ประเด็นการพิจารณา
๑. รอยละของผูเรียนที่เขารวมกิจกรรมชมรม ชุมนุม สภานักเรียน ดานส่ิงแวดลอมศึกษา

๓๔

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดบั คุณภาพ คาํ อธบิ ายระดบั คณุ ภาพ
๕ จาํ นวนนกั เรยี นทเี่ ขารวมกจิ กรรมสิง่ แวดลอ มของชุมนมุ /ชมรม/สภานักเรียน
๔ รอ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป ของนกั เรยี นทงั้ หมด
๓ จาํ นวนนกั เรยี นท่เี ขา รว มกิจกรรมสง่ิ แวดลอมของชุมนุม/ชมรม/สภานักเรียน
๒ ระหวางรอยละ ๖๐ - ๗๙ ของนกั เรียนทง้ั หมด
๑ จาํ นวนนักเรยี นทเ่ี ขา รว มกจิ กรรมส่ิงแวดลอมของชุมนุม/ชมรม/สภานักเรยี น
ระหวางรอ ยละ ๔๐ - ๕๙ ของนักเรียนท้ังหมด
จํานวนนกั เรียนท่ีเขารวมกิจกรรมสิ่งแวดลอ มของชุมนุม/ชมรม/สภานักเรียน
ระหวา งรอยละ ๒๐ - ๓๙ ของนักเรยี นทั้งหมด
จาํ นวนนกั เรยี นทเ่ี ขา รว มกิจกรรมสง่ิ แวดลอมของชมุ นุม/ชมรม/สภานกั เรียน
นอ ยกวารอ ยละ ๒๐ ของนกั เรยี นทงั้ หมด

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอมลู แหลง ขอ มูล
๑ การสงั เกต - พฤตกิ รรมของผเู รยี น ครู ผูเกย่ี วของ
๒ การสมั ภาษณ/ สอบถาม - ผูเรยี น ครู ผบู ริหาร ผเู กยี่ วขอ ง
๓ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รอ งรอย - ชมรม ชมุ นมุ
ขอ มลู เชิงประจักษ - ระเบยี บ กฎ กติกาชมรม/ชมุ ชนดานส่งิ แวดลอ ม
- ภาพกจิ กรรม/ผลงานนักเรยี น
- รายงานผลการจดั กจิ กรรมชมุ นมุ ชมรม
- ฯลฯ

มาตรฐานท่ี ๖ สถานศกึ ษามกี ารสรา งเครอื ขา ยการมสี ว นรว มจากบคุ คลและหนว ยงานภายนอก

ตัวช้ีวัดท่ี ๖.๑ จัดกิจกรรมดานส่ิงแวดลอมศึกษาโดยใหภาคีเครือขายท่ี
เกี่ยวของมีสวนรวม

คําอธิบาย

สถานศึกษามีการสรางเครือขายการมีสวนรวมจากบุคคลและหนวยงานภายนอก โดยจัด
กิจกรรมดานสิ่งแวดลอมศึกษาภาคีเครือขายมีสวนรวมอยางสม่ําเสมอและตอเน่ือง พรอมทั้งเผยแพร
ประชาสัมพันธ ดวยวิธีการท่ีหลากหลาย

๓๕

ประเด็นการพิจารณา

๑. ผูปกครอง ชุมชน และเครือขาย มีสวนรวม ในการจัดกิจกรรมดานส่ิงแวดลอม
๒. จัดกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมของสถานศึกษาอยางสมํ่าเสมอและตอเนื่อง
๓. มีการเผยแพร ประชาสัมพันธ ดวยวิธีการที่หลากหลาย

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดับคุณภาพ คาํ อธิบายระดับคุณภาพ
๕ - ผปู กครอง ชมุ ชน และเครือขาย มสี วนรว มในการจัดกจิ กรรมดานสิ่งแวดลอมอยา งสมํ่าเสมอ
และตอ เนือ่ งและมีการเผยแพร ประชาสมั พนั ธ ดวยวิธีการท่หี ลากหลาย
๔ - ผปู กครอง ชมุ ชน และเครือขาย มสี ว นรว มในการจัดกจิ กรรมดา นสิ่งแวดลอ มอยางสมํา่ เสมอ
๓ และตอ เนื่อง
๒ - ผปู กครอง ชมุ ชน และเครือขา ย มีสวนรว มในการจัดกิจกรรมดา นส่ิงแวดลอ มอยา งสมา่ํ เสมอ
๑ - ผูปกครอง ชมุ ชน และเครือขาย มสี ว นรว ม ในการจัดกจิ กรรมดานสิง่ แวดลอ ม
- ผูปกครอง ชุมชน มีสวนรวม ในการจดั กิจกรรมดานสิ่งแวดลอ ม

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ มลู แหลงขอมูล
๑ การสังเกต - พฤตกิ รรมของผเู รียน ครู ผูบริหารผเู กี่ยวของ
๒ การสมั ภาษณ/สอบถาม - ผูเ รยี น ครู ผบู ริหาร ผูเกี่ยวของ
๓ การตรวจสอบเอกสาร หลักฐาน - ทะเบยี นเครอื ขายผปู กครอง ชมุ ชน
รองรอย /ขอ มลู เชงิ ประจกั ษ - ระเบยี บ กฎ กติกาดานสิง่ แวดลอมของเครอื ขาย
- บนั ทกึ การประชุมเครือขาย
- เครอ่ื งมอื ประเมนิ ผลการจดั กิจกรรม
- ภาพกิจกรรม/ผลงาน
- รายงานผลการจัดกจิ กรรมดานส่งิ แวดลอม
- ฯลฯ

ตัวช้ีวัดท่ี ๖.๒ มีภาคีเครือขายสนับสนุนการดําเนินงานของสถานศึกษา

คําอธิบาย

สถานศกึ ษา ไดร บั การสนบั สนนุ จากภาคเี ครอื ขา ย (งบประมาณ/แรงงาน/บคุ ลากร/วสั ดอุ ปุ กรณ)
ดานสิ่งแวดลอมของสถานศึกษาอยางสมํ่าเสมอและ พรอมท้ังเผยแพร ประชาสัมพันธ ดวยวิธีการที่
หลากหลาย
๓๖

ประเด็นการพิจารณา

๑. ผูป กครอง ชุมชน และเครือขา ย ใหการสนบั สนุน (งบประมาณ/แรงงาน/บุคลากร/วัสดุ /
อปุ กรณ)

๒. การดําเนินงานดานส่ิงแวดลอมของสถานศึกษาอยางสมํ่าเสมอและตอเน่ือง
๓. มีการเผยแพร ประชาสัมพันธ การสนับสนุนของภาคีเครือขายดวยวิธีการท่ีหลากหลาย

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดบั คุณภาพ คําอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ
๕ - ผูปกครอง ชมุ ชน และเครอื ขาย ใหการสนบั สนุน (งบประมาณ/แรงงาน/บคุ ลากร/วสั ดุ

๔ อปุ กรณ) การดําเนินงานดา นสงิ่ แวดลอ มของสถานศึกษาอยา งสมํา่ เสมอและตอเน่อื ง
๓ พรอมทงั้ เผยแพร ประชาสัมพันธ ดวยวธิ ีการท่ีหลากหลาย
๒ - ผปู กครอง ชมุ ชน และเครอื ขาย ใหการสนบั สนนุ (งบประมาณ/แรงงาน/บุคลากร/วสั ดุ
๑ อปุ กรณ) การดําเนนิ งานดานสิ่งแวดลอ มของสถานศกึ ษาอยา งสมํ่าเสมอ
- ปกครอง ชุมชน และเครอื ขาย ใหการสนับสนุน (งบประมาณ/แรงงาน/บคุ ลากร/วสั ดุ
อปุ กรณ) การดาํ เนนิ งานดา นสงิ่ แวดลอมของสถานศึกษา
- ผูปกครองและชมุ ชนใหก ารสนับสนุน (งบประมาณ/แรงงาน/บุคลากร/วสั ดุอุปกรณ)
การดําเนนิ งานดา นส่ิงแวดลอ มของสถานศกึ ษา
- ผปู กครองใหการสนับสนุน (งบประมาณ/แรงงาน/บคุ ลากร/วัสดอุ ปุ กรณ) การดําเนนิ งาน
ดา นส่ิงแวดลอ มของสถานศกึ ษา

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอ มลู แหลงขอมลู
๑ การสงั เกต - พฤติกรรมของ ผเู รียน ครู ผบู ริหาร ผเู กย่ี วของ
๒ การสมั ภาษณ/สอบถาม - ผูเรยี น ครู ผบู รหิ าร ผเู กี่ยวขอ ง
๓ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รอ งรอย / - ทะเบยี นเครือขายผูปกครอง ชมุ ชน
ขอมลู เชิงประจกั ษ - ระเบียบ กฎ กติกาดา นสงิ่ แวดลอ มของเครือขาย
- บนั ทกึ การประชมุ เครือขา ย/การรับบริจาค
- ภาพกจิ กรรมการระดมทุน
- รายงานผลการจดั กิจกรรมดานสง่ิ แวดลอม
- ฯลฯ

๓๗

ดานท่ี ๔ ผลท่ีเกิดข้ึนการดําเนินงานดานสิ่งแวดลอมศึกษา

มาตรฐานท่ี ๗ สถานศกึ ษามีสภาพแวดลอ มที่สวยงาม สะอาด รมรนื่ ปลอดภยั และเอื้อตอ
การจัดการเรยี นรสู ่ิงแวดลอมศกึ ษา (Green School)

ตัวช้ีวัดท่ี ๗.๑ มสี ภาพแวดลอ มทเ่ี ออื้ ตอ การจดั การเรยี นรสู ง่ิ แวดลอ มศกึ ษา

คําอธิบาย

สถานศึกษาจัดสภาพแวดลอมใหเหมาะสมเอื้อตอการจัดการเรียนรูหรือจัดกิจกรรมการเรียน
รูดานส่ิงแวดลอมศึกษา สะอาดปราศจากขยะ(Zero Waste) ใชพลังงานอยางประหยัดและคุมคา
เลือกใชผลิตภัณฑท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม มีระบบสุขาภิบาลที่ดี มีภูมิทัศนท่ีสวยงาม สะอาด รมรื่น
ปลอดภัย ปราศจากมลพิษ ครู นักเรียน และบุคลากรใสใจและใหความสําคัญกับการอนุรักษส่ิงแวดลอม

ประเด็นการพิจารณา

๑. จัดสภาพแวดลอมใหเหมาะสมเอ้ือตอการจัดการเรียนรู หรือจัดกิจกรรมการเรียนรูดาน
ส่ิงแวดลอมศึกษา

๒. สะอาดปราศจากขยะ(Zero Waste)/มีการคัดแยกขยะในสถานศึกษา
๓. ใชพลังงานอยา งประหยดั และคุมคา เลือกใชผ ลิตภัณฑที่เปน มติ รกับสิ่งแวดลอม
๔. มีระบบสุขาภิบาลที่ดี มีภูมิทัศนที่สวยงาม สะอาด รมร่ืน ปลอดภัย ปราศจากมลพิษ

ทางอากาศ
๕. ครู นักเรียน และบุคลากรใสใจและใหความสําคัญกับการอนุรักษส่ิงแวดลอม

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดับคณุ ภาพ คําอธิบายระดบั คุณภาพ
๕ - จัดสภาพแวดลอมใหเหมาะสมเออ้ื ตอการจดั การเรียนรู หรือจัดกจิ กรรมการเรยี นรู
ดา นส่งิ แวดลอมศกึ ษา
๔ - สะอาดปราศจากขยะ(Zero Waste)/มกี ารคดั แยกขยะในสถานศึกษา
- ใชพ ลงั งานอยา งประหยัดและคมุ คา เลือกใชผลิตภณั ฑท ่เี ปน มิตรกับสิง่ แวดลอม
- มีระบบสขุ าภบิ าลท่ดี ี มีภูมทิ ศั นทส่ี วยงาม สะอาด รมร่ืน ปลอดภยั ปราศจากมลพิษ
- ครู นักเรยี น และบคุ ลากรใสใ จและใหค วามสาํ คัญกบั การอนุรักษส่ิงแวดลอ ม
- จดั สภาพแวดลอมใหเหมาะสมเอือ้ ตอการจัดการเรยี นรู หรอื จดั กจิ กรรมการเรียนรู
ดา นสิง่ แวดลอ มศกึ ษา
- สะอาดปราศจากขยะ(Zero Waste)/มีการคัดแยกขยะในสถานศกึ ษา
- ใชพลังงานอยางประหยัดและคมุ คา เลอื กใชผลิตภัณฑท่เี ปน มติ รกบั ส่ิงแวดลอ ม
- มรี ะบบสุขาภิบาลทีด่ ี มภี มู ิทัศนท สี่ วยงาม สะอาด รมรนื่ ปลอดภัย ปราศจากมลพษิ

๓๘

ระดับคณุ ภาพ คําอธิบายระดับคุณภาพ
๓ - จัดสภาพแวดลอ มใหเหมาะสมเอือ้ ตอการจัดการเรียนรู หรือจัดกิจกรรมการเรยี นรู
ดานสงิ่ แวดลอมศึกษา
๒ - สะอาดปราศจากขยะ (Zero Waste) / มกี ารคดั แยกขยะในสถานศกึ ษา
๑ - ใชพ ลังงานอยางประหยัดและคุมคา เลอื กใชผลติ ภณั ฑทเี่ ปน มิตรกับส่ิงแวดลอม
- จัดสภาพแวดลอ มใหเ หมาะสมเอ้ือตอ การจดั การเรียนรู หรอื จัดกิจกรรมการเรียนรู
ดา นส่ิงแวดลอมศึกษา
- สะอาดปราศจากขยะ (Zero Waste) / มีการคดั แยกขยะในสถานศกึ ษา
- จดั สภาพแวดลอมใหเ หมาะสมเอือ้ ตอ การจัดการเรียนรู หรือจัดกจิ กรรมการเรยี นรู
ดานสงิ่ แวดลอ มศกึ ษา

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอมูล แหลง ขอมูล
๑ การสงั เกต - สภาพแวดลอมในสถานศกึ ษา
- พฤติกรรมของผูเ รียน ครู ผบู รหิ าร ผูเกยี่ วขอ ง
๒ การสมั ภาษณ/ สอบถาม - ผเู รียน ครู ผบู ริหาร ผเู กย่ี วของ
๓ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน - ธนาคารขยะ/ การคดั แยกขยะ
รอ งรอย/ขอ มลู เชิงประจกั ษ - กจิ กรรม ๑ A ๕ R
- การเลือกใชผ ลติ ภัณฑประหยัดพลังงาน
- ระบบสุขาภิบาลในโรงเรยี น
- ผลงานนักเรียน
- โล เกียรตบิ ัตร ประกาศเกยี รติคุณ
- ฯลฯ

ตัวชี้วัดท่ี ๗.๒ มีหองเรียนท่ีสะอาด สวยงาม เอื้อตอการจัดการเรียนรู
และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

คําอธิบาย

สถานศึกษาจัดใหมีหองเรียนที่สะอาด สวยงาม เอื้อตอการจัดการเรียนรูและเปนมิตรกับ
ส่ิงแวดลอม หองเรียนปราศจากขยะ (Zero Waste) ใชพลังงานอยางประหยัดและคุมคา เลือกใช
ผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม ครู นักเรียนในหองเรียนใสใจและใหความสําคัญกับการอนุรักษ
ส่ิงแวดลอม

๓๙

ประเด็นการพิจารณา

๑. หองเรียนสะอาด สวยงาม เอื้อตอการจัดการเรียนรู
๒. ใชผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม
๓. หองเรียนปราศจากขยะ (Zero Waste)
๔. ใชพลังงานอยางประหยัดและคุมคา
๕. ครู นักเรียนในหองเรียนใสใจและใหความสําคัญกับการอนุรักษสิ่งแวดลอม

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดับคณุ ภาพ คําอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ
๕ - หอ งเรยี นสะอาด สวยงาม เอื้อตอ การจดั การเรยี นรู
- ใชผลิตภณั ฑท เี่ ปน มติ รกบั สิง่ แวดลอ ม
๔ - หองเรยี นปราศจากขยะ (Zero Waste)
- ใชพ ลงั งานอยางประหยดั และคุม คา เชน ปดสวติ ชไฟฟาทุกครั้งหลังเลกิ ใช
๓ ถอดปลกั๊ ไฟฟาทกุ ครงั้ ทเ่ี ลิกใชงาน ใชผลิตภัณฑฉ ลากเบอร ๕
๒ - ครู นกั เรียนในหองเรียนใสใจและใหความสําคัญกับการอนรุ กั ษส่งิ แวดลอ ม
๑ - หองเรียนสะอาด สวยงาม เออ้ื ตอการจัดการเรยี นรู
- ใชผลิตภัณฑทีเ่ ปน มิตรกบั ส่งิ แวดลอ ม
- หอ งเรียนปราศจากขยะ (Zero Waste)
- ใชพลงั งานอยา งประหยดั และคุมคาเชน ปดสวิตชไ ฟฟา ทกุ ครง้ั หลงั เลกิ ใช
ถอดปล๊กั ไฟฟาออกทกุ ครั้งทเี่ ลิกใชง าน ใชผ ลิตภัณฑฉ ลากเบอร ๕
- หอ งเรยี นทสี่ ะอาด สวยงาม เอื้อตอ การจดั การเรียนรู
- ใชผ ลติ ภัณฑท ่ีเปน มติ รกับส่ิงแวดลอม
- ใชพ ลงั งานอยา งประหยัดและคุมคา เชน ปด สวติ ชไฟฟา ทกุ ครงั้ หลงั เลิกใช
ถอดปลั๊กไฟฟา ออกทุกครัง้ ทเี่ ลกิ ใชงาน ใชผ ลิตภณั ฑฉ ลากเบอร ๕
- หองเรียนท่สี ะอาด สวยงาม เออ้ื ตอ การจดั การเรยี นรู
- ใชผ ลติ ภณั ฑท ีเ่ ปนมติ รกบั ส่ิงแวดลอม
- หองเรียนท่สี ะอาด สวยงาม เออ้ื ตอการจดั การเรยี นรู

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ มลู แหลงขอมลู
๑ การสังเกต - สภาพแวดลอ มของหองเรยี น/หอ งปฏบิ ัตกิ าร
- พฤตกิ รรมของ ผูเรียน ครู ผบู ริหาร ผูเกีย่ วของ
๒ การสัมภาษณ/สอบถาม - ผูเรียน ครู ผูบริหาร ผเู กี่ยวของ

๔๐

วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ มลู แหลงขอ มูล
๓ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รอ งรอย / - ธนาคารขยะ /การคดั แยกขยะ
ขอ มูลเชิงประจกั ษ - กจิ กรรม ๑ A ๕ R
- การเลือกใชผลิตภัณฑป ระหยัดพลงั งาน
- ฯลฯ

มาตรฐานที่ ๘ ครูและบุคลากรทางการศึกษาเปนแบบอยางที่ดีดานการอนุรักษสิ่งแวดลอม

ตัวชี้วัดท่ี ๘.๑ มีพฤติกรรมที่แสดงถึงความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและ
เปนแบบอยางดีแกนักเรียน และชุมชน

คําอธิบาย

ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู ความตระหนัก พฤติกรรม เจตคติมีสวนรวม และเปน
แบบอยางท่ีดีใหแกผูเรียน มีวิถีชีวิตเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม อาทิ การใชน้ําใชไฟฟา พลังงานเช้ือเพลิง
อยางประหยัด และรูคุณคา ใชผลิตภัณฑท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ใชผลิตภัณฑท่ีมีสัญลักษณชวยรักษา
สิ่งแวดลอม

ประเด็นการพิจารณา

๑. มีความรู ความตระหนัก พฤติกรรม เจตคติท่ีดีตอการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
พลังงาน และส่ิงแวดลอม

๒. มีสวนรวม และเปนแบบอยางท่ีดีใหแกผูเรียนและชุมชน
๓. เปนผูนําการดําเนินงานดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน และส่ิงแวดลอม

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดับคุณภาพ คําอธิบายระดับคุณภาพ
๕ - เปน ผูน าํ ท่ีดใี นการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ พลงั งาน และสิง่ แวดลอมทดี่ ีใหแ กผ ูเ รยี น
และชุมชน
๔ - เปนแบบอยางในการดําเนนิ งานดา นการอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาติ พลังงาน
๓ และสิง่ แวดลอม
๒ - มสี วนรวมในการอนรุ กั ษและแกป ญหาเกีย่ วกับสิง่ แวดลอ ม
๑ - มีพฤติกรรมทด่ี ที แ่ี สดงถงึ ความรบั ผิดชอบตอ สิง่ แวดลอม
- มีความตระหนกั เจตคติที่ดีตอ การอนรุ ักษส ่ิงแวดลอม

๔๑

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอมูล แหลง ขอมูล
๑ การสงั เกต - สภาพแวดลอ มในสถานศกึ ษา / หองเรยี น / หอ งพกั ครู
บานพักครู
๒ การสมั ภาษณ/สอบถาม -พฤตกิ รรมของครู ผบู รหิ าร ผูเ กี่ยวขอ ง
๓ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รอ งรอย / - ผเู รียน ครู ผบู ริหาร ผูเก่ยี วของ
ขอมลู เชิงประจักษ - การคดั แยกขยะ
- การใชผลติ ภัณฑที่เปนมติ รกบั สิ่งแวดลอม
- กจิ กรรม ๑ A ๕ R
- การเลือกใชผ ลติ ภัณฑประหยดั พลังงานฯลฯ
- โล เกยี รติบัตร ประกาศเกยี รตคิ ณุ
- ฯลฯ

ตัวช้ีวัดท่ี ๘.๒ มีส่ือ/นวัตกรรม/ผลงานดานส่ิงแวดลอมศึกษา ท่ีไดรับการยอมรับ

คําอธิบาย

ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีส่ือ /นวัตกรรม /ผลงานดานสิ่งแวดลอมศึกษานําไปใช มีการ
ประเมินการใช การพัฒนาส่ือ /นวัตกรรม /ผลงานดานสิ่งแวดลอมศึกษา เผยแพรประชาสัมพันธ และ
ไดรับการยอมรับ

ประเด็นการพิจารณา

๑. มีการจัดหา หรือสรางส่ือ/นวัตกรรม/ผลงานดานสิ่งแวดลอมศึกษา
๒. มีการนําส่ือ/นวัตกรรม/ผลงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาไปใช
๓. มีการประเมินผลการใชส่ือ/นวัตกรรม/ผลงานดานส่ิงแวดลอม
๔. มีการพัฒนา ปรับปรุงสื่อ/นวัตกรรมเปนระบบตอเน่ือง
๕. มีการรายงานการใชสื่อ/นวัตกรรม/ผลงานดานสิ่งแวดลอมศึกษา เผยแพรท้ังภายใน

และภายนอกสถานศึกษา

๔๒

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดับคณุ ภาพ คาํ อธบิ ายระดบั คณุ ภาพ
๕ - มกี ารจัดหา หรอื สรางส่อื /นวตั กรรม/ผลงานดานสิง่ แวดลอมศกึ ษา
- มกี ารนําสื่อ/นวตั กรรม/ผลงานดานส่ิงแวดลอมศึกษาไปใช
๔ - มกี ารประเมนิ ผลการใชส ่อื /นวัตกรรม/ผลงานดา นส่ิงแวดลอ ม
๓ - มีการพัฒนา ปรบั ปรุงส่ือ/นวัตกรรมเปน ระบบตอ เนอื่ ง
๒ - มกี ารรายงานการใชสือ่ /นวัตกรรม/ผลงานดานส่งิ แวดลอมศกึ ษา เผยแพรท ัง้ ภายใน
๑ และภายนอกสถานศกึ ษา
- มีการจดั หา หรือสรา งส่ือ/นวัตกรรม/ผลงานดา นสง่ิ แวดลอ มศึกษา
- มกี ารนําสอื่ /นวัตกรรม/ผลงานดา นสง่ิ แวดลอ มศกึ ษาไปใช
- มกี ารประเมนิ ผลการใชส่ือ/นวัตกรรม/ผลงานดา นสิง่ แวดลอ ม
- มีการพัฒนา ปรบั ปรงุ สอื่ /นวตั กรรมเปนระบบตอเน่อื ง
- มีการจดั หา หรอื สรา งส่อื /นวตั กรรม/ผลงานดา นส่งิ แวดลอ มศกึ ษา
- มีการนาํ ส่ือ/นวตั กรรม/ผลงานดานสิ่งแวดลอมศึกษาไปใช
- มีการประเมนิ ผลการใชส ื่อ/นวตั กรรม/ผลงานดานส่งิ แวดลอม
- มกี ารจดั หา หรือสรา งสอื่ /นวตั กรรม/ผลงานดา นส่งิ แวดลอ มศกึ ษา
- มีการนาํ สื่อ/นวตั กรรม/ผลงานดานสงิ่ แวดลอ มศึกษาไปใช
- มีการสรางสื่อ/นวตั กรรม/ผลงานดา นสิ่งแวดลอมศกึ ษา

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วิธีการเกบ็ รวบรวมขอ มลู แหลง ขอมลู
๑ การสงั เกต - การใชสื่อ/ นวตั กรรมผลงานดา นสงิ่ แวดลอมศึกษา
- สภาพแวดลอมของหอ งเรยี น/หองปฏบิ ตั กิ าร ฯลฯ
๒ การสมั ภาษณ/สอบถาม - พฤติกรรมของผูเรียน ครู ผูบ ริหาร ผูเก่ียวของ
๓ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รอ งรอย / - ผเู รียน ครู ผบู ริหาร ผเู กย่ี วของ
ขอมูลเชิงประจักษ - ชนิ้ งาน/ผลงาน
- เอกสารท่เี กย่ี วของ
- ภาพถา ย

มาตรฐานท่ี ๙ ผูเรียนมีพฤติกรรมท่ีรับผิดชอบตอส่ิงแวดลอม
ตัวชี้วัดท่ี ๙.๑ ผเู รียนมคี ณุ ลกั ษณะตามวตั ถุประสงคข องส่ิงแวดลอ มศกึ ษา

๔๓

คําอธิบายตัวชี้วัด

ผูเรียนมีคุณลักษณะ ๕ ดาน ของสิ่งแวดลอมศึกษา ประกอบดวย ความตระหนักรับรู ความ
รู ทักษะ เจตคติ และการมีสวนรวมมีวิถีชีวิตเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม อาทิ การใชน้ํา ใชไฟฟา พลังงาน
เช้ือเพลง อยางประหยัดและรูคุณคาใชผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม ใชผลิตภัณฑท่ีมีสัญลักษณ
ชวยรักษาสิ่งแวดลอม

ประเด็นการพิจารณา

๑. มีความตระหนัก และมีเจตคติที่ดีตอการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน และ
สิ่งแวดลอมศึกษา

๒. มีสวนรวม และเปนแบบอยางท่ีดีใหแกผูเรียนและชุมชน
๓. เปน ผนู าํ ดาํ เนนิ งานดา นการอนรุ กั ษท รพั ยากรธรรมชาติ พลงั งาน และสงิ่ แวดลอ ม

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดับคุณภาพ คาํ อธบิ ายระดบั คณุ ภาพ
๕ เปนผูนําในการดําเนินงานดา นการอนรุ กั ษทรพั ยากรธรรมชาติ พลงั งาน และสงิ่ แวดลอม
๔ เปน แบบอยางทด่ี ีใหแ กผ เู รยี นและชุมชน
๓ มีสวนรวมในการอนรุ กั ษและแกป ญหาเกย่ี วกบั สง่ิ แวดลอม
๒ มีพฤติกรรมท่ีดีทแ่ี สดงถงึ ความรบั ผิดชอบตอ ส่ิงแวดลอม
๑ มีความตระหนกั เจตคตทิ ่ดี ตี อการอนุรักษสงิ่ แวดลอม

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล/แหลงขอมูล

วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล แหลง ขอมลู
๑ การสงั เกต - พฤตกิ รรมของ ผูเรยี น ครู ผบู ริหาร ผเู กย่ี วขอ ง
๒ การสัมภาษณ/สอบถาม - ผูเรียน ครู ผูบ ริหาร ผเู ก่ียวของ
๓ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รอ งรอย / - การคัดแยกขยะ
ขอมูลเชิงประจกั ษ - การใชผ ลติ ภณั ฑท ี่เปนมิตรกบั สงิ่ แวดลอ ม
- กจิ กรรม ๑ A ๕ R
- การเลือกใชผ ลิตภัณฑประหยัดพลังงานฯลฯ
- โล เกยี รตบิ ัตร ประกาศเกยี รตคิ ณุ
- ฯลฯ

๔๔

มาตรฐานที่ ๑๐ ชุมชน/เครือขาย มีสภาพแวดลอมท่ี สะอาด สวยงาม ปราศจากขยะและ
มลพิษ

ตัวช้ีวัดท่ี ๑๐.๑ สภาพแวดลอมชุมชน/เครือขาย สะอาด สวยงาม
ปราศจากขยะและมลพิษ

คําอธิบาย

ชุมชน/เครือขาย (เชน หนวยงานภาครัฐ โรงเรียน ศาสนสถาน หนวยงานภาคเอกชน องคกร
ปกครองสวนทองถิ่น) สะอาด สวยงาม ปราศจากขยะ (Zero Waste) ใชพลังงานอยางประหยัดและ
คุมคา เลือกใชผลิตภัณฑท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม มีระบบสุขาภิบาลท่ีดี มีภูมิทัศนท่ีสวยงาม สะอาด
รมรื่น ปลอดภัย ปราศจากมลพิษบุคลากรในชุมชน / วิถีชีวิตเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

ประเด็นการพิจารณา

๑. มีสภาพแวดลอมสะอาด สวยงาม
๒. ปราศจากขยะ (Zero Waste) มีการคัดแยกขยะ
๓. ใชพ ลังงานอยา งประหยดั และคมุ คา เลือกใชผ ลติ ภณั ฑทเี่ ปนมิตรกบั สงิ่ แวดลอม
๔. มีระบบสุขาภิบาลที่ดี ปราศจากมลพิษ
๕. มีวิถีชีวิตเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม

เกณฑการใหระดับคุณภาพ

ระดับคุณภาพ คําอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ
๕ - มีสภาพแวดลอมสะอาด สวยงาม
- ปราศจากขยะ (Zero Waste) มีการคดั แยกขยะ
๔ - ใชพลงั งานอยางประหยัดและคมุ คา เลอื กใชผลิตภัณฑทเี่ ปน มติ รกับสงิ่ แวดลอม
๓ - มีระบบสุขาภิบาลทดี่ ี ปราศจากมลพษิ
- มีวถิ ชี วี ิตเปน มติ รกับสง่ิ แวดลอ ม
- มสี ภาพแวดลอ มสะอาด สวยงาม
- ปราศจากขยะ (Zero Waste) มีการคดั แยกขยะ
- ใชพลงั งานอยา งประหยดั และคุม คา เลือกใชผลติ ภัณฑที่เปน มติ รกบั สิ่งแวดลอม
- มีระบบสุขาภิบาลที่ดี ปราศจากมลพิษ
- มสี ภาพแวดลอ มสะอาด สวยงาม
- ปราศจากขยะ (Zero Waste) มกี ารคดั แยกขยะ
- ใชพลงั งานอยา งประหยัดและคมุ คา เลอื กใชผลติ ภัณฑท่เี ปนมิตรกบั สิง่ แวดลอม

๔๕

ระดบั คุณภาพ คําอธิบายระดับคณุ ภาพ
๒ - มีสภาพแวดลอ มสะอาด สวยงาม
๑ - ปราศจากขยะ (Zero Waste) มีการคัดแยกขยะ
- มีสภาพแวดลอ มสะอาด สวยงาม

วิธีการเก็บขอมูล/แหลงขอมูล

วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอมูล แหลงขอมูล
๑ การสังเกต สภาพแวดลอ มของชุมชน
พฤติกรรมของผเู รยี น ครู ผูบ รหิ าร ผูเ กีย่ วของ
๒ การสัมภาษณ/สอบถาม ผเู รียน ครู ผูบ ริหาร ผเู ก่ยี วขอ ง
๓ การตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน รอ งรอย / - การคดั แยกขยะ
ขอมลู เชงิ ประจกั ษ - การใชผ ลติ ภณั ฑทเี่ ปนมติ รกบั สงิ่ แวดลอ ม
- กจิ กรรม ๑ A ๕ R
- การเลอื กใชผ ลิตภณั ฑป ระหยดั พลังงาน
- ฯลฯ

๔๖


Click to View FlipBook Version