The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การติดตามและวิเคราะห์สถานการณ์พื้นที่รายงานสำหรับผู้บริหาร (Executive Summary) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by DPT eBook, 2021-12-17 03:01:33

การติดตามและวิเคราะห์สถานการณ์พื้นที่รายงานสำหรับผู้บริหาร (Executive Summary) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

การติดตามและวิเคราะห์สถานการณ์พื้นที่รายงานสำหรับผู้บริหาร (Executive Summary) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

คำนำ

ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือมีความสำคัญ ทง้ั ในลักษณะทตี่ ้งั ทีม่ คี วามเช่ือมต่อกับพื้นท่ีภาคเหนอื ภาคกลาง และภาค
ตะวันออก และมพี รมแดนต่อเชอ่ื มกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจกั รกมั พชู า ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
มีลักษณะภูมิประเทศป็นพื้นที่ราบสูงอันกว้างขวาง และเป็นพื้นที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ ทั้งในด้านชาติพันธุ์ และแอ่งอารย
ธรรมจากอันยาวนานจากอดีต โดยเป็นพ้ืนทีท่ ี่มีท่ีตั้งของสถานที่สำคัญทางประวัตศิ าสตร์ นอกจากน้ียังมีทรัพยากรที่สำคัญ ท่ี
สามารถเป็นต้นทุนในการส่งเสริมให้เกิดการขยายตัวของสภาพทางเศรษฐกิจในภาคได้อย่างดี ในอนาคตภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือมีแนวโน้มในการพฒั นาทั้งในระดับภูมิภาคและในระดับประเทศ จากกรอบความร่วมมือต่างๆ อาทิ เช่น
โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (Greater Mekong Subregion : GMS) โครงการความ
ร่วมมือระหว่างประเทศ กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม (CLMV) โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศลุ่มแม่น้ำอิระวะดี-
เจ้าพระยา-แม่โขง (Aeyawadee-Chaopraya-Mekong Economic Coorperation : ACMECS) และกรอบความร่วมมือล่มุ
น้ำลา้ นช้าง-แม่น้ำโขง (Lancang-Mekong Cooperation -LMC) เปน็ ตน้ ที่จะเสรมิ สร้างการพฒั นาตะวนั ออกเฉียงเหนอื

อย่างไรก็ตามการเปล่ียนแปลงทีร่ วดเร็วดงั กล่าว นำมาซึ่งการสง่ ผลกระทบใหเ้ กดิ ข้นึ ในพนื้ ที่ ท้งั ความเสอ่ื มโทรมของ
ทรัพยากรในพื้นที่ การบุกรุกพื้นที่ธรรมชาติ การกระจุกตัวของพื้นที่เศรษฐกิจที่ก่อให้กิดปัญหาความแตกต่างเหลื่อมล้ำทาง
สังคมเมอื งกบั พืน้ ที่ชนบท

กรมโยธาธิการและผังเมืองได้ดำเนนิ การวางและจัดทำผังภาคตะวันออกเฉียงเหนอื นับตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2550 เพื่อเป็น
ผังนโยบายการพัฒนาพื้นที่เชิงกายภาพ ชี้นำการใช้พื้นที่กลุ่มจังหวัดและจังหวัด ในด้านการพัฒนาเมืองและชนบท การใช้
ประโยชน์ที่ดิน และโครงสร้างพื้นฐานให้มีความเชื่อมโยงอย่างเป็นระบบ สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม
ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวติ ของประชาชน ซึ่งในห้วงเวลาท่ีผ่านมาเกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำคญั หลายประการ
ทง้ั ปัจจยั สถานการณภ์ ายนอกและภายใน ส่งผลใหส้ ภาพการณ์การพฒั นาพืน้ ที่เปลยี่ นแปลงไปในหลายดา้ น

การติดตามสถานการณ์การพัฒนาพื้นที่ จึงมีความสำคัญต่อการศึกษาสภาพแวดล้อมและปัจจัยการพัฒนาที่
เปลี่ยนแปลงไป โดยมีเป้าหมายเพื่อศึกษา วิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์การพัฒนาด้านต่างๆ ที่ส่งผลต่อการใช้พื้นที่ใน
ปัจจุบัน และเพื่อชี้ให้เห็นถึงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงการพัฒนาพื้นที่ในอนาคต โดยผลของการศึกษาสามารถนำไปทบทวน
การปรับปรุงผงั ภาครวมทัง้ นำไปใช้เปน็ แนวทางในการจดั ทำระบบตดิ ตามสถานการณ์การพัฒนาพนื้ ทรี่ ะดบั ภาคได้ต่อไป

กรมโยธาธิการและผังเมือง
กระทรวงมหาดไทย

สารบญั หนา้

เรื่อง 1-1
บทท่ี 1 : บทนำ 1-1
1.1 หลักการและเหตุผล 1-2
1.2 วตั ถุประสงค์ 1-4
1.3 พน้ื ทโี่ ครงการ 1-5
1.4 ขอบเขตการศึกษา
1.5 ผลทีค่ าดวา่ จะไดร้ บั 2-1
บทท่ี 2 : สถานการณ์ภายนอก นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ และภาค 2-1
2.1 สถานการณ์ภายนอกทสี่ ง่ ผลต่อการพฒั นา 2-6
2-15
2.1.1 สถานการณ์โลก
2.1.2 กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ 2-16
2.1.3 โครงการพัฒนาของประเทศเพือ่ นบา้ นท่ีมีอทิ ธพิ ลต่อการพัฒนาประเทศและ 2-16
2-21
ภาค 2-25
2.2 นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ และแผนงานโครงการทีส่ ำคัญ 2-25
2-28
2.2.1 นโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาระดับประเทศและภาค 2-32
2.2.2 แผนงานโครงการทีส่ ำคญั ต่อการพฒั นาพน้ื ท่ี 2-32
2.3 การวางประเทศ ผังภาค 2-33
2.3.1 ผงั ประเทศไทย พ.ศ. 2600 2-33
2.3.2 ผังภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ พ.ศ. 2600 2-34
2.4 โอกาส ศักยภาพ และขอ้ จำกัดการพัฒนาพ้นื ที่
2.4.1 ด้านเศรษฐกจิ ประชากร สังคม 3-1
2.4.2 ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม และภัยพิบัติ 3-14
2.4.3 ด้านการพฒั นาเมืองและชนบท และการใช้ประโยชน์ที่ดิน 3-20
2.4.4 ดา้ นโครงสร้างพนื้ ฐาน และการคมนาคมขนสง่ และโลจิสติกส์ 3-25
บทที่ 3 : การตดิ ตามสถานการณ์พนื้ ท่ี 3-27
3.1 เศรษฐกิจ 3-33
3.2 ประชากรและสังคมวัฒนธรรม 3-42
3.3 ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม 3-46
3.4 ภยั พิบตั ิ 3-48
3.5 การพฒั นาเมืองและชนบท 3-48
3.6 การใช้ประโยชนท์ ี่ดนิ 3-53
3.7 การคมนาคมขนส่งและโลจสิ ติกส์ 3-57
3.8 ดา้ นสาธารณูปโภคและสาธารณปู การ
3.9 สรปุ ประเดน็ สถานการณแ์ ละแนวโนม้ การเปลีย่ นแปลง
3.9.1 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ทีส่ ง่ ผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงสถานการณ์
3.9.2 สรปุ ประเด็นสถานการณแ์ ละแนวโน้มการเปลยี่ นแปลง
3.10 บรู ณาการผลการวิเคราะห์



สารบญั หน้า

เรอื่ ง 4-1
บทท่ี 4 : สรุปขอ้ เสนอแนะแนวทางการปรบั ปรุงผังภาค 4-10
4.1 ขอ้ เสนอแนะเชงิ กระบวนการและระบบติดตามสถานการณ์พัฒนาพน้ื ทรี่ ะดับภาค 4-12
4-12
4.1.1 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 4-13
4.1.2 ดา้ นการการใช้ประโยชน์ท่ดี ิน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 4-14
4.1.3 ด้านการพัฒนาเมืองและชนบท 4-15
4.1.4 ด้านเศรษฐกจิ และสังคม 4-15
4.1.5 ดา้ นคมนาคมขนสง่ และโครงสร้างพ้นื ฐาน 4-16
4.1.6 ดา้ นการปอ้ งกนั และบรรเทาภัยพิบตั ิ 4-16
4.1.7 ดา้ นการควบคมุ มลภาวะ 4-16
4.1.8 ด้านการพฒั นาพืน้ ที่พัฒนาพเิ ศษ 4-16
4.1.9 ดา้ นการพฒั นาการท่องเท่ยี ว
4.2 ข้อเสนอแนะสู่การปฏิบตั ิ 4-17
4.2.1 การจดั ต้งั องค์กรบรหิ ารและกำกับผงั ภาคองค์กรทเ่ี กีย่ วข้องกบั การวางผังภาค
4-18
และการปฏิบตั ิ
4.2.2 การประสานงานระหวา่ งหน่วยงานวางผังภาคปัญหาการประสานระหวา่ งองค์กร 4-21
4-22
ในการวางผงั ภาค 4-22
4.2.3 ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินการระหวา่ งองค์กรท่ีเก่ียวข้องแนวทางของการ

จัดทำแผนพัฒนาในอนาคต
4.2.4 การบรหิ ารงบประมาณ
4.2.5 การใชก้ ฎหมายท่ีเก่ยี วข้องกฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการพัฒนาพ้นื ที่
4.4 ข้อเสนอแนะอื่นๆ



สารบญั รูปภาพ หนา้
1-2
รูปท่ี 1-3
1.3-1 พ้ืนทภ่ี าคตะวนั ออกเฉยี งเหนือของประเทศไทย 1-6
1.3-2 พ้นื ท่โี ครงการ 2-5
1.5-1 กรอบแนวคิดในศึกษา 2-6
2.1.1-1 เปา้ ประสงค์การพัฒนาทีย่ ่งั ยืน 2-7
2.1.2-1 ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจ 2-8
2.1.2-2 แผนงานของโครงการหน่งึ แถบหนึ่งเสน้ ทาง 2-11
2.1.2.3 ยุทธศาสตรก์ ารเข้าสปู่ ระชาคมอาเซยี น ปี พ.ศ.2558 2-17
2.1.2.4 เส้นทางแนวระเบยี งเศรษฐกจิ 2-18
2.2.1-1 กรอบการพฒั นายุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) 2-19
2.2.1-2 โมเดลประเทศไทย 1.0 ถึง 4.0 2-22
2.2.1-3 กรอบวิสยั ทศั น์และเป้าหมายแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 2-24
2.2.2-1 พนื้ ทก่ี ารพฒั นาเขตเศรษฐกิจพเิ ศษ 2-27
2.2.2-2 สรปุ แผนงานโครงการท่ีสำคัญต่อการพัฒนาพ้นื ที่ 2-31
2.3.1-1 ผงั นโยบายระบบเมืองประเทศไทย พ.ศ. 2600 3-1
2.3.2-1 ผังนโยบายการพฒั นาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ปี พ.ศ. 2600 3-15
3.1.1-1 แสดงสดั ส่วนผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั พ.ศ.2548 – 2558 3-15
3.2-1 แสดงการเปลี่ยนแปลงประชากรวยั เดก็ ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2549-2579 3-61
3.2-2 แสดงการเปลี่ยนแปลงประชากรวยั สงู อายุ ตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2549-2579
3.10-1 แนวคดิ การเชื่อมโยงดา้ นคมนาคมขนส่งและโลจสิ ติกสใ์ นภาคตะวันออก 4-3
4-5
เฉยี งเหนือ 4-8
4.1-1 องค์ประกอบและข้นั ตอนในการวางผังภาค 2600 4-8
4.1-2 ขน้ั ตอนและกระบวนการวางและจดั ทำผังนโยบายระดับภาค 4-9
4.1-3 แนวทางในการตดิ ตามสถานการณก์ ารเปลีย่ นแปลง 4-11
4.1-4 แนวทางในการติดตามสถานการณด์ า้ นเปา้ หมาย ด้านนโยบาย และด้านกลยุทธ์ 4-20
4.1-5 ระบบการตดิ ตามสถานการณ์การพัฒนาพนื้ ที่ระดบั ภาค
4.1-6 กรอบการทำงานเพ่ือเสนอแนะเชงิ นโยบาย
4.2.3-1 โครงสรา้ งคณะกรรมการจัดตั้งองค์กรกลางประสานงานการวางผงั และการนำไป

ปฏบิ ตั ิ





บทที่ 1 : บทนำ

1.1 หลกั การและเหตผุ ล ดังนั้น การติดตามสถานการณ์การพัฒนา
พื้นที่ จึงมีความสำคัญต่อการศึกษาสภาพแวดล้อมและ
การติดตามและวิเคราะห์สถานการณ์การพัฒนา ปัจจัยการพัฒนาที่เปลี่ยนแปลงไป โครงการติดตาม
พน้ื ทร่ี ะดบั ภาค เปน็ การประเมนิ สถานการณ์และแนวโน้ม และวิเคราะห์สถานการณ์การพัฒนาพื้นที่ภาคตะวันออก
การเปล่ยี นแปลงไป เพอื่ ให้ทราบถงึ โอกาสและทศิ ทางการ เฉียงเหนือ มีเป้าหมายเพื่อศึกษา วิเคราะห์ และประเมนิ
พัฒนาพื้นท่ีภาคในอนาคต รวมถึงบริบทการเปลี่ยนแปลง สถานการณ์การพฒั นาดา้ นตา่ งๆ ทสี่ ง่ ผลตอ่ การใช้พน้ื ที่ใน
และแนวทางการเปลี่ยนแปลงการปรับปรุงผังภาค โดย ปจั จบุ นั และเพอ่ื ชใ้ี หเ้ ห็นถงึ แนวโน้มการเปล่ยี นแปลงการ
กรมโยธาธิการและผังเมืองไดด้ ำเนินการวางและจัดทำผัง พัฒนาพน้ื ทีใ่ นอนาคต โดยผลของการศึกษาและวิเคราะห์
ภาค นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 เพื่อเป็นผังนโยบายการ สามารถนำไปทบทวนการปรัปรุงผังภาค รวมทั้งนำไปใช้
พัฒนาพื้นทีเ่ ชงิ กายภาพ ชี้นำการใช้พื้นทีก่ ลุ่มจังหวัดและ เป็นแนวทางในการจัดทำระบบติดตามสถานการณ์การ
จังหวัด ในด้านการพัฒนาเมืองและชนบท การใช้ พฒั นาพ้ืนท่ีระดับภาค
ประโยชน์ที่ดิน และโครงสร้างพื้นฐานให้มีความเชื่อมโยง
อย่างเป็นระบบ สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม 1.2 วตั ถุประสงค์
ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอ้ มและวิถชี ีวติ ของประชาชน
ซ่ึงในหว้ งระยะเวลาท่ีผ่านมาได้เกิดมาตรการเปล่ียนแปลง 1. เพื่อติดตามและวิเคราะห์สถานการณ์การ
ที่สำคัญหลายประการ ทั้งปัจจัยสถานการณ์ภายนอก พัฒนาพื้นที่ ครอบคลุมปัจจัยที่เกี่ยวข้องและสาขา
และภายใน อาทิเช่น ระบบเศรษฐกิจโลก กรอบกติกา การพฒั นาต่างๆ ในพ้ืนท่ีภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
ความร่วมมือระหว่างประเทศ การเข้าสู่ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเขต 2. เพื่อประเมินสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง
เศรษฐกิจพิเศษและสังคมแห่งชาติ การลงทุนพัฒนา การพัฒนาพนื้ ทแ่ี ตล่ ะภาค ที่ส่งผลต่อการพฒั นาเมืองและ
โครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ของประเทศ การพัฒนา ชนบท การใช้ประโยชน์ที่ดิน การคมนาคมขนส่ง และ
เศรษฐกิจพิเศษ การเจริญเติบโตของเมืองในภมู ิภาค เป็น โครงสรา้ งพ้ืนฐาน
ต้น ปัจจัยการพัฒนาต่างๆ จากอดีตจนถึงปัจจจุบัน ได้
ส่งผลให้สภาพการณ์การพัฒนาพื้นที่เปลี่ยนแปลงไปใน 3. เพื่อเป็นแนวทางการปรับปรุงผังภาคและ
หลายด้าน จัดทำระบบตดิ ตามสถานการณก์ ารพัฒนาพ้นื ที่ระดับภาค

1-1

1.3 พ้นื ท่โี ครงการ

รปู ที่ 1.3-1 พ้นื ทภี่ าคตะวนั ออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

1-2

รูปท่ี 1.3-2 พ้นื ที่โครงการ

1-3

1.4 ขอบเขตการศึกษา (1) ศึกษาสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง
ด้านทรพั ยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและการเปลย่ี นแปลง
1. จัดทำกรอบแนวคิด กระบวนการ วิธี สภาพภูมิอากาศ โดยวิเคราะห์ถึงศักยภาพ ปัญหา
การศึกษาและวิเคราะห์ พร้อมระบุแหล่งที่มาของข้อมูล ผลกระทบ และแนวโนม้ การเปลย่ี นแปลง
โดยกำหนดเป้าหมายการศึกษาให้สอดคล้องกับประเด็น
การติดตามสถานการณ์การพัฒนาพื้นที่ภาคอย่างเป็น (2) ศึกษาสถานการณ์ แนวโน้ม สาเหตุ
ระบบ ของการเกดิ ภยั พิบัติ และผลกระทบต่อการตั้งถิ่นฐานและ
การใช้พื้นที่ ตลอดจนแนวทางและมาตรการป้องกันภัย
2. ศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์ภายนอกท่สี ง่ ผล พิบัติ
ต่อการพัฒนาภาค ในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ
ความเชื่อมโยงทางกายภาพและเศรษฐกิจของภาคกับ 3) ด้านการใช้ประโยชน์ที่ดิน ศึกษา
ประเทศเพื่อนบ้าน รวมถึงประเด็นการพัฒนาอื่นๆ โดย สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มการขยายตัว
ช้ีให้เหน็ ถงึ โอกาสและศักยภาพการพัฒนาพ้ืนทแี่ ตล่ ะภาค การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทต่างๆ โดยเปรียบเทียบการ
เปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินพร้อมประเด็นปัญหา
3. ศึกษาวิเคราะห์นโยบาย ยุทธศาสตร์ และ ข้อจำกัด ศักยภาพ และความเหมาะสมของการใช้
แผนพัฒนาประเทศ ตลอดจนแผนงานและโครงการ ประโยชน์ที่ดินแต่ละประเภท
ที่สำคัญ โดยชี้ให้เห็นถึงบทบาทและทิศทางการพัฒนา
พ้ืนทแี่ ต่ละภาค 4) ด้านการพัฒนาเมืองและชนบท ศึกษา
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มการเติบโตของ
4. ศกึ ษาวเิ คราะห์สถานการณ์การเปล่ยี นแปลง เมือง โดยศึกษาการกระจายตัวของเมือง ขนาดเมือง
และแนวโน้มของข้อมูลรายสาขา ที่ส่งผลการพัฒนาพื้นท่ี บทบาทและหน้าที่ของเมือง ความเชื่อมโยงระหว่างเมือง
แต่ละภาค โดยที่มีรายละเอียดข้อมูลทั้งเชิงสถิติและ และชนบท ตลอดจนปญั หาของเมืองและปัจจัยที่ส่งผลต่อ
เชงิ แผนทท่ี ่ที นั สมัยลา่ สุดและใช้ข้อมลู ยอ้ นหลงั ไมน่ ้อยกวา่ การพัฒนาเมอื งและชนบท
10 ปี ทั้งน้ี การศึกษาระดบั พื้นที่(จังหวดั อำเภอ เทศบาล)
และเป้าหมายช่วงเวลาของข้อมูลแต่ละสาขาต้อง 5) ด้านคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์
สอดคล้องกับการวางผังภาค รวมทั้งการจดั ทำแผนท่ีให้อยู่ ศึกษาสถานการณ์ แนวโน้ม ปัญหา และการพัฒนา
ในรปู แบบ GIS และมีมาตราสว่ นท่ใี ชร้ ว่ มกับผงั ภาคได้ โครงข่ายความเชื่อมโยงทั้งภายในและภายนอกประเทศ
ปริมาณการจราจร ศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งและ
1) ดา้ นเศรษฐกจิ ประชากร สังคม โลจิสติกส์ ทั้งทางถนน ทางราง ทางอากาศ ทางน้ำ
(1) ศึกษาสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง ทางทอ่ รวมถึงแผนงานและโครงการทส่ี ำคญั โดยวิเคราะห์
ให้เหน็ ถึงบทบาท และโอกาสในการพัฒนาพนื้ ที่
ดา้ นเศรษฐกิจ ได้แก่ โครงสรา้ งทางเศรษฐกิจการขยายตัว
ในสาขาการผลิตต่างๆ เช่น เกษตรกรรม อุตสาหกกรรม 6) ด้านสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
การท่องเที่ยว การค้าการบริการ และการค้าชายแดน ศึกษาสถานการณ์ แนวโน้ม ความสามารถในการ
การพัฒนาพื้นที่ส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ ภาวะการลงทุน ให้บริการ การกระจายตัว และระดับการให้บริการด้าน
ความเชื่อมโยงของกลุ่มธุรกิจ และกลุ่มอุตสาหกรรม การศึกษา สาธารณสุข การจัดการขยะและของเสีย
การขยายตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยวิเคราะห์ ถึง การพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค เกษตรกรรม
บทบาท ศักยภาพ ข้อจำกัด และปัจจัยสนับสนุนการ อุตสาหกรรม การทอ่ งเท่ียว สถานการณ์ด้านพลงั งานและ
พัฒนาเศรษฐกิจของพน้ื ท่ี พลังงานทดแทน ตลอดจนปัญหาและข้อจำกัดในการ
บริการด้านสาธารณูปโภคและสาธารณูปการที่ส่งผล
(2) ศึกษาสถานการณ์ แนวโน้ม สาเหตุ กระทบตอ่ การพัฒนาพ้นื ที่
และปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านประชากร
ได้แก่ ขนาด การกระจายตัวของประชากร โครงสร้างอายุ 5. บูรณาการผลการวิเคราะห์ข้อมูลและ
ประชากร องค์ประกอบการเปลี่ยนแปลง ภาวะการมีงาน ประเมินสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง ทั้งจากปัจจัย
ทำ การจ้างงาน ประชากรแฝง การย้ายถิ่นฐานของ ภายนอกและภายในที่ส่งผลการพัฒนาเมืองและชนบท
ประชากร สัดส่วนประชากรเมืองและชนบท รวมถึงการ การใช้ประโยชน์ที่ดิน การคมนาคมขนส่งและโครงสร้าง
เปล่ียนแปลงสภาพทางสงั คมทสี่ ำคญั พื้นฐาน ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พร้อมสรุป
ประเดน็ สถานการณ์และแนวโนม้ การเปลยี่ นแปลง รวมทงั้
2) ด้านทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม เสนอแนะแนวทางการปรับปรุงผังภาคให้เหมาะสมกับ
ภยั พิบัติ บริบทการเปลยี่ นแปลง

1-4

1.5 ผลท่คี าดว่าจะไดร้ ับ

1. รายงานการติดตามและวิเคราะห์สถานการณ์
การพัฒนาพื้นที่ระดับภาค ที่แสดงถึงแนวโน้มการ
เปลี่ยนแปลงด้านต่าง ที่ส่งผลต่อการพัฒนาพื้นที่ การ
พัฒนาเมืองและชนบท การใช้ประโยชน์ที่ดิน การ
คมนาคมขนส่งและโครงสร้างพืน้ ฐาน และเป็นแนวทางใน
การทบทวนและปรับปรุงผงั ภาค

2. กระบวนการดำเนินงานและวิธีการศึกษา
วิเคราะห์ สามารถนำไปจัดทำระบบติดตามสถานการณ์
การพัฒนาพนื้ ที่ระดบั ภาคให้มปี ระสทิ ธิภาพ

3. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำข้อมูลการ
ติดตามและวเิ คราะหส์ ถานการณก์ ารพัฒนาพืน้ ที่ในแต่ละ
ด้านไปใช้ประโยชน์ในการศึกษาและเป็นแนวทางในการ
วางแผนพฒั นาพื้นทร่ี ะดับภาค

1-5

ทบทวนผงั ประเทศกบั บทบาทของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ทบทวนการวางผังภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ปี พ.ศ. 2600

ทบทวนบริบทของการพัฒนาประเทศ - วิเคราะห์สถานการณ์การเปลี่ยนแปลง ปัจจัย นโยบายที่สนับสนุน/ ปัญหา ข้อกำจัด ทิศทาง
และแนวโน้มการพัฒนาทสี่ ่งผลกับพื้นที่
ความเช่อื มโยงกบั ภมู ิภาคอน่ื ๆ - ทบทวนเนอื้ หาสาระผงั ภาคในประเดน็ วสิ ยั ทศั น์ เปา้ หมาย นโยบาย
- MEGA TREND - วิเคราะหเ์ ปรยี บเทียบความแตกต่างและความสอดคลอ้ งกบั สถานการณใ์ นปจั จบุ ัน
- กรอบความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ
(ประชาคมอาเซียน/การพัฒนาอยา่ งยง่ั ยนื (SDGs) ฯลฯ ศึกษากฎหมาย กฎระเบยี บที่เกย่ี วข้อง

นโยบายและยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ - กฎหมายท่ีเก่ียวขอ้ งกับพื้นทส่ี งวนรักษา
- ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี - กฎหมายท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การพัฒนาพืน้ ที่
- ไทยแลนด์ 4.0
- แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉ.12
- นโยบายการพฒั นากลมุ่ จงั หวัด/จังหวัด
- เขตเศรษฐกจิ ชายแดน

- โครงการพัฒนาสำคัญขนาดใหญอ่ น่ื ๆ

ศกึ ษาและวเิ คราะหส์ ถานการณ์การเปลยี่ นแปลงและแนวโน้มต่างๆ ที่ส่งผลตอ่ การพฒั นาเชิงพื้นที่

- สภาพพน้ื ทด่ี า้ นกายภาพ และการเปล่ยี นแปลงดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม กรอบแนวทางและ
- โครงสรา้ ง การเปลย่ี นแปลงและแนวโนม้ ด้านเศรษฐกจิ (เศรษฐกจิ ภาพรวม/เกษตรกรรม/อตุ สาหกรรม/การคา้ การ ทิศทางการปรบั ปรุง

บริการ และการทอ่ งเท่ยี ว) ผังภาค
- สถานการณแ์ ละแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงดา้ นประชากร แรงงานและสังคมท่สี ่งผลตอ่ การพัฒนาเมอื ง ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
- สถานการณ์ การเปลย่ี นแปลงและความตอ้ งการการใช้พน้ื ทใ่ี นอนาคต
- ลกั ษณะ ขนาดการกระจายตวั การเปลยี่ นแปลงและแนวโนม้ การพัฒนาเมอื ง กรณีศึกษา
- สถานการณ์ ความตอ้ งการด้านคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์ ต่างประเทศ
- สถานการณ์ ประเดน็ ปญั หา ศกั ยภาพ ขอ้ จำกดั และความต้องการด้านสาธารณปู โภคในอนาคต
- สถานการณก์ ารใหบ้ รกิ าร ปัญหา ศกั ยภาพ แนวโนม้ การเปลยี่ นแปลงและความตอ้ งการด้านสาธารณปู โภคในอนาคต
- สาเหตุ และปจั จยั การเกดิ ภยั พิบตั ิ และสถานการณ์ ประสิทธิภาพ ขีดความสามารถ และแนวทางในการบริหารจัดการ

และบรรเทาสาธารณภยั

- สถานการณป์ จั จบุ ัน ความตอ้ งการ และแนวทางการวางแผนด้านการจดั การทรพั ยากรนำ้ ในอนาคต

รูปท่ี 1.5-1 กรอบแนวคดิ ในศึกษา

1-6



บทที่ 2 : สถานการณ์ภายนอก นโยบาย
และยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ และภาค

ในบทนี้จะรวบรวมเนื้อหาของสถานการณ์และ สื่อสารที่สามารถบรรจุ รับรอง ประมวลผล และแสดงผล
นโยบายการพัฒนาในระดับโลก รวมถึงนโยบายและ ข้อมูลอย่างมหาศาล ทำให้ผู้บริโภคมีความต้องการและมี
แผนการพัฒนาเชิงพื้นที่ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนา พฤติกรรมการบริโภคที่ต้องการความสะดวกสบายและ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อนำมาวเิ คราะห์สถานการณ์ ความเป็นส่วนตัวมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้บุคคลมคี วามเป็น
และทิศทางการพฒั นาภาคท่ีเหมาะสมต่อไป ปัจเจกนิยมมากขึ้น (Individualism) ความต้องการรู้จัก
ตัวตนที่แท้จริงของกนั และกันจะลดลง
2.1 สถานการณ์ภายนอกที่ส่งผลต่อการ
พฒั นา ก า ร แ ย ่ ง ช ิ ง แ ร ง ง า น ที่ ม ี ท ั ก ษ ะ ด ้ า น
เทคโนโลยีระดับสูง แรงงานทักษะต่ำจะไมเ่ ป็นที่ต้องการ
2.1.1 สถานการณ์โลก ของตลาดแรงงาน เพราะจะถูกแทนที่ด้วยการใช้ระบบ
อัตโนมตั ิและหุน่ ยนต์ แรงงานจึงตอ้ งมีการปรับตัว พัฒนา
สถานการณ์โลกที่ส่งผลต่อการพัฒนาพื้นที่เป็น ศักยภาพของตนให้มีทักษะการใช้เทคโนโลยีระดับสูงมาก
หน่งึ ในปจั จัยทกี่ ่อให้เกดิ ความเปล่ยี นแปลงและการพัฒนา ขึ้น ประกอบกับแรงงานของกลุ่มประเทศที่เข้าสู่สังคม
ด้านต่าง ๆ จึงจำเป็นต้องนำมาพิจารณา โดยสถานการณ์ ผู้สูงอายุลดลง จะนำไปสู่การเคลื่อนย้ายแรงงานข้ามชาติ
โลกทเี่ กีย่ วขอ้ งมีรายละเอียดดงั น้ี มากขึ้น ประเทศต่าง ๆ จึงพยายามใช้ประโยชน์จากการ
รวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในการอำนวยความสะดวกในการ
1) บรบิ ทการพัฒนาของโลก เคลื่อนย้ายแรงงานที่มีทักษะสูงเข้ามาทำงานในประเทศ
การวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มากขึ้น

ทำให้การพัฒนาและเติบโตทางเศรษฐกจิ เป็นไปอย่างก้าว ผลกระทบบริบทการพัฒนาโลกตอ่ ประเทศและพืน้ ที่
กระโดด ส่งผลให้รูปแบบการผลิต การดำเนินธุรกิจ และ การวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่าง
การใช้ชีวิตของประชาชนเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว
โดยมีแนวโน้มว่าเทคโนโลยีพื้นฐานสี่ด้านคือ เทคโนโลยี ก้าวกระโดดเป็นกุญแจสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
ชีวภาพ นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์ พลังงาน สังคม สิ่งแวดล้อม และเปลี่ยนวิถีชีวิตของคนในสังคมทุก
และสิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร เพศ ทุกวัย แนวโน้มจากการพัฒนาดังกล่าวยังส่งผลต่อ
และดจิ ทิ ลั ประเทศทั้งในมิติเศรษฐกิจ สังคม ทำให้มนุษย์สามารถ
เข้าถึงข้อมูลได้อย่างไร้ขีดจำกัด อินเทอร์เน็ตกลายเป็น
เกิดสาขาอุตสาหกรรมผสมผสานการใช้ ส่วนหนึ่งในวิถีชีวิต ผู้บริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคที่
เทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่ตอบสนองความต้องการในภาค สะดวกสบาย ซึ่งเทคโนโลยีจะส่งผลต่อการยกระดับ
การผลิต การบริการ และพฤติกรรมของผู้บริโภคท่ี คุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น และก่อให้เกิดอุตสาหกรรมและ
เปลี่ยนไปในห้ากลุ่มหลัก ได้แก่ กลุ่มอาหาร เกษตรและ บริการในรูปแบบใหม่ที่ผสมผสานการใช้เทคโนโลยี
เทคโนโลยีชีวภาพ กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และ สมัยใหม่หลากหลายสาขา ทำให้ภาคธุรกิจสามารถสร้าง
เทคโนโลยีทางการแพทย์ กลุ่มเครื่องมืออุปกรณ์อัจฉริยะ โอกาสให้ผู้ประกอบการในการสร้างธุรกิจรูปแบบใหม่ๆ
หุ่นยนต์ และระบบเครื่องกลที่ใช้ระบบอิเลกทรอนิกส์ ขณะเดยี วกันผปู้ ระกอบการขนาดกลางและขนาดยอ่ มอาจ
ควบคุม กลุม่ ดิจิทัล เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่เชื่อมต่อและ เสียโอกาสในการแข่งขันหากปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์
บังคบั อปุ กรณต์ า่ ง ๆ ปัญญาประดิษฐแ์ ละเทคโนโลยสี มอง ไม่ทัน ทำให้เกิดการแย่งชิงแรงงานที่มีทักษะด้าน
กลฝังตัว กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรมและ เทคโนโลยรี ะดบั สงู และมีความสามารถเฉพาะทาง หรือมี
บริการทีม่ มี ูลค่าสูง ทักษะหลายด้าน (Multi-Skills) ในตลาดแรงงานสูงขึ้น
จากความต้องการพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศต่าง ๆ
มนุษย์จะสามารถเข้าถึงข้อมูลและองค์
ความรู้ได้อย่างไร้ขีดจำกัด เทคโนโลยีจะส่งผลต่อการ
ยกระดับคณุ ภาพชวี ิตให้ดีขึ้น เนอ่ื งจากการพัฒนาอุปกรณ์

2-1

แรงงานจึงต้องมีการปรับตัว พัฒนาศักยภาพให้มีทักษะ การเปลี่ยนแปลงของบริบทการพัฒนาในสังคมโลก การ
การใช้เทคโนโลยีระดับสูงมากขน้ึ เปลย่ี นแปลงที่เกดิ จากการรวมตัวของประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน ความพร้อมในการรองรับการเกิดนวัตกรรม
ทั้งนี้สำนักงานคณะกรรมการนโยบาย แบบก้าวกระโดดของทุกภาคส่วน บริบทการเปลี่ยนของ
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ได้จัดทำ บริบทด้านประชากร พลังงาน อาหาร และสิ่งแวดล้อม
นโยบายและแผนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม สถานการณ์ด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ไปจนถึง
แห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2555-2564) ขึ้น โดยมี แรงงานในทกุ ระดบั อกี ดว้ ย
วัตถุประสงค์ในการแก้ไขปัญหาด้านการพัฒนา
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทยที่ 2) แนวโนม้ สงั คมโลก
ยังคงอยู่จากการพัฒนาท่ีผา่ นมา และชี้นําแนวทางในการ การเข้าสสู่ งั คมผ้สู ูงอายุของโลก องค์การ
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของ
หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนที่ควรให้ สหประชาชาติประเมินว่า พ.ศ. 2544-2563 จะเป็น
ความสำคัญอยา่ งตอ่ เน่ืองทงั้ ใน ปจั จบุ นั และในอนาคต ศตวรรษแห่งผูส้ ูงวัยจากการเพิม่ ข้นึ ของประชากรผู้สูงอายุ
โดยสัดส่วนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 12.3 ในปี 2558
เพื่อให้การพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เป็นร้อยละ 13.8 ในปี 2563 ขณะที่วัยแรงงาน (อายุ 25-
และนวัตกรรมมีประสิทธิภาพ สามารถขับเคลื่อนประเทศ 59 ปี)จะเพิ่มข้ึนเล็กน้อยจากร้อยละ 45.4 เป็นร้อยละ
ไทยไปสู่เศรษฐกิจสังคมฐานความรู้และเพิ่มขีดความ 475.7 ในช่วงเวลาเดียวกัน แต่หลังจากปี 2563 วัย
สามารถในการแข่งขันของประเทศ บุคลากรด้าน แรงงานจะลดลงอยา่ งต่อเนือ่ ง สว่ นวัยเดก็ (0-24 ปี) ลดลง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้รับการพัฒนาให้สมดุลทั้ง จากร้อยละ 42.3 เปน็ ร้อยละ 40.8 สำหรับประเทศพัฒนา
ปริมาณและคุณภาพ ลดการพึ่งพิงผลิตภัณฑ์อุปกรณ์และ และที่เข้าสู่สังคมผู้สูงวัยที่สมบูรณ์ เช่น ญี่ปุ่น อเมริกา
เทคโนโลยีจากต่างประเทศ ประชาชนได้รับประโยชน์ และยุโรปในบางประเทศกำลังพัฒนาจะมีระยะเวลา
จากการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา ได้รับการถ่ายทอด เปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรดังกล่าวประมาณ 14 ปี
เทคโนโลยีมีความรอบรู้และความสามารถด้าน สะท้อนถึงระยะเวลาในการเตรียมพร้อมเพื่อรองรับสังคม
วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีและนวตั กรรมเพ่มิ ขน้ึ รเู้ ทา่ ทันการ ผู้สูงวัย นับเป็นโอกาสของประเทศไทยที่จะพัฒนาด้าน
เปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว มีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีและ ธุรกิจ การค้า การลงทุนด้านที่อยู่อาศัย และบริการ
สามารถใช้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมให้เป็น สุขภาพในรูปแบบต่าง ๆ ในการดูแลผู้สูงอายุ เพื่อรองรับ
ประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตของตนเอง และเพื่อให้แผน ความตอ้ งการของผสู้ ูงอายใุ นกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว เช่น
ฉบับนี้สามารถครอบคลมุ ในทุกระดับและได้กำหนดกรอบ ธุรกิจ Nursing Home ธุรกิจด้านโรงแรมและการ
การพัฒนาของนโยบายและแผนฯ ไว้ 5 ประการ คือ ท่องเที่ยวสำหรับผู้สูงอายุ และยังก่อให้เกิดความต้องการ
1) พัฒนางานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อ แรงงานที่ให้บริการในธุรกิจประเภทนี้ อย่างไรก็ตามการ
สนับสนุนการสร้างสังคมคุณภาพที่มีภูมิคุ้มกัน 2) พัฒนา เ ป ็ น ส ั งค ม ผ ู ้ ส ู งว ั ย อา จ เ ป ็ น ภ ั ย ค ุ ก ค า ม ส ำ ค ั ญ เ ช่ น กั น
งานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อสนับสนุน เนื่องจากการลดลงของวัยแรงงาน ซึ่งเป็นกำลังสำคัญใน
การสร้างเศรษฐกิจให้มีคุณภาพ เสถียรภาพโดยมีการ การพัฒนาประเทศ
เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลกและภูมิภาค (Globalization
and Regionalization) 3) พัฒนางานวิทยาศาสตร์ การเกิดความเหล่ือมล้ำในมิติต่าง ๆ อัน
เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง เป็นผลจากความแตกต่างด้านรายได้ ความรู้ ทักษะ การ
สภาพภูมิอากาศ (Climate Change) 4) พัฒนาและผลิต เข้าถึงด้านโครงสร้างพื้นฐานทางเทคโนโลยี ความเหลื่อม
กําลังคนด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพ่ือ ล้ำของทักษะแรงงาน ผู้ประกอบการต่าง ๆ ประเทศไทย
รองรบั การเปลี่ยนแปลงประชากรศาสตร์ (Demographic จึงจำเป็นต้องเร่งสร้างสมรรถนะทางเทคโนโลยีชั้นสูงที่มี
Change) 5) พฒั นาปัจจัยสนับสนนุ ด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน ศักยภาพพัฒนาได้เอง และต่อยอดให้เกิดมูลค่าเพิ่ม และ
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อสนับสนุนการ ในระยะยาวต้องพัฒนาคนเพื่อสั่งสมองค์ความรู้สำหรับ
เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การพัฒนา และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนใน
ระยะยาว
การวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดด ควรมีการคำนึงถึงประเด็น การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและวัฒนธรรม
สำคัญหลายประเด็นที่มีผลต่อการวางแผนนโยบายของ เนื่องจะได้รับอิทธิพลจากกระแสวัฒนธรรมโลก ส่งผลต่อ
ภาคในแต่ละส่วนพ้ืนที่ของประเทศ โดยให้ความสำคัญถึง การเปลีย่ นแปลงวถิ ีชีวติ ทศั นคติ ความเชื่อ ความสัมพันธ์
ระหว่างบคุ คล การเรยี นรู้และการบริโภคในรปู แบบต่าง ๆ

2-2

เกิดการสร้างวัฒนธรรมร่วมสมัย และมีโอกาสสำหรับการ จากความผันผวนในระบบเศรษฐกิจและการเงินโลกใน
สร้างสรรค์สินค้าและบริการ แต่ก็อาจก่อให้เกิดวกิ ฤติทาง เกณฑ์สูง ส่งผลให้ประเทศไทยต้องเผชิญกับความเสี่ยง
วัฒนธรรม ซึ่งจะนำไปสู่การสูญเสียคุณค่าทางวัฒนธรรม สำคญั คือความไมแ่ น่นอนของการปรับเปลย่ี นทิศทางการ
ดงั้ เดิมและพฤติกรรมท่ีไมพ่ ึงประสงคใ์ นสังคมไทย ดำเนินนโยบายการเงนิ ของมหาอำนาจทางเศรษฐกิจ

ผลกระทบแนวโนม้ สังคมโลกตอ่ ประเทศและพ้ืนที่ ตลาดเกิดใหม่มีบทบาทสูงขึ้น ก่อให้เกิด
กระแสวัฒนธรรมโลกที่ผสมผสานกับวัฒนธรรม การเปล่ียนแปลงของภูมิทัศน์เศรษฐกิจ เป็นแหลง่ วัตถุดิบ
แรงงาน และตลาดที่มีกำลังซื้อ ทั้งนี้ภูมิภาคเอเชีย
ท้องถิ่น ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ชีวิตและ จะเป็นศูนย์กลางพลังอำนาจทางเศรษฐกิจโลก การลงทุน
การบรโิ ภค และส่งผลตอ่ การสร้างวฒั นธรรมรว่ มสมัยและ ในภาคการผลิตสูงโดยเฉพาะอุตสาหกรรมอิเลกทรอนิกส์
ในขณะเดียวกันก็เสี่ยงต่อการดำรงรักษาคุณค่าของ ยานยนต์ และชิ้นส่วน และเป็นห่วงโซ่การผลิตท่ีสำคัญ
วัฒนธรรมเดิมไว้ การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและยัง ของโลก ดึงดูดให้ประเทศต่าง ๆ รวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
สามารถยื่นอยู่ในกระแสของวัฒนธรรมโลกได้อย่างลงตัว ในภูมิภาคมากขึ้น ผลักดันให้เกิดการรวมกลุ่มทาง
เหมาะสม เป็นอีกหนึ่งปัจจยั ที่มีความสำคัญในการดำเนิน เศรษฐกิจรูปแบบใหม่ทั่วโลกเพื่อสร้างอำนาจต่อรอง
นโยบายของประเทศในแต่ละภาค ทัง้ ในระดบั การอนุรักษ์ เช่น Tran-Pacific Partnership (TTP) และ Regional
สงวนรักษาให้คงอยู่อย่างดั้งเดิม การเปลี่ยนแปลง Comprehensive Economic Partnership (RCEP) ท ำ
ผสมผสานรับเอาวัฒนธรรมโลกมาเป็นส่วนผสมผสานท่ลี ง ใหร้ ปู แบบการคา้ มคี วามเปน็ เสรแี ละแข่งขนั อยา่ งเขม้ แขง็ ขน้ึ
ตัว ไปจนกระทั่งการเผยแพร่ สนับสนุนวัฒนธรรมไทยให้
เขม้ แข็งจนเป็นทยี่ อมรบั ในระดบั สากล ความแตกต่างเป็น ตลาดการเงินโลกที่ไรพ้ รมแดน ซึ่งเป็นผล
คุณค่าที่สามารถสร้างมูลค่าได้ วัฒนธรรมประจำชาติหรอื จากเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการเงินมีความก้าวหนา้
วัฒนธรรมท้องถิ่น จัดเป็นสิ่งที่มีคุณค่าสูง ควรค่าแก่การ อย่างรวดเร็ว ประกอบกับการเปิดเสรีภาคการเงินใน
อนุรักษ์โดยเฉพาะอย่างยิ่งขนบธรรมเนียมประเพณี อาเซียน ทำให้เกิดการแข่งขันที่รุนแรงขึ้น ซึ่งเป็น
โบราณสถาน โบราณวัตถุ ภาษาวัตถุ ภาษา วรรณกรรม แรงผลักดันให้ภาคการเงินของไทยต้องเร่ งพัฒนา
และภูมิปัญญา ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้เป็น เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการเงินให้ทันต่อการ
แนวนโยบายในการพัฒนาหรือกำหนดเป้าหมายการ เปลีย่ นแปลงท่ีเกิดขึ้น
พัฒนาให้มีความแตกต่างชัดเจนและเป็นเอกลักษณ์ได้ใน
หลายส่วนอย่างดี ทั้งนี้เมื่อพิจารณาโครงสร้างอายุของ การเปิดเสรีมากขึ้นของอาเซียน ในภาค
สังคมไทยที่เริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยแล้ว ภาค การค้าและบริการโดยเฉพาะภาคการเงิน เป็นโอกาส
ตะวันออกเฉียงเหนือมีสัดส่วนผู้มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป สำคัญในการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต ทุน แรงงานอย่าง
เกินกว่าร้อยละ 10 มาตั้งแต่ปี พ.ศ.2549 เป็นต้นมา ซ่ึง เสรี ทำให้ภาคการผลิตสามารถขยายตลาดและพัฒนา
แสดงให้เห็นว่า ปัจจุบันภาคตะวันออกเฉียงเหนือและ ตนเองให้มคี วามเข้มแข็งมากขนึ้ รวมทัง้ ความไดเ้ ปรยี บเชงิ
จังหวัดทั้งหมดภายในพื้นที่ได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ที่ตั้งและโรงสร้างพ้ืนฐาน และโลจสิ ติกส์เป็นตัวขับเคลื่อน
(Aging Society) ไปแล้ว (สังคมที่มีสัดส่วนประชากรอายุ เศรษฐกิจให้เป็นศูนย์กลางทางด้านการค้า การลงทุน
60 ปีขึ้นไปในอัตราเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 10 ขึ้นไป) การเงิน การบริการ และการผลิตภาคอุตสาหกรรม การ
และในอนาคตกำลงั จะกา้ วเข้าสูก่ ารเปลี่ยนผ่านไปสู่สังคม พัฒนาจึงควรคำนึงถึงความได้เปรียบเฉพาะตัวในการวาง
สูงวัยโดยสมบูรณ์ (Aged Society) (สังคมที่มีสัดส่วน ตำแหน่งทางยุทธศาสตร์ของตนเอง ซึ่งไทยต้องผลักดัน
ประชากรอายุ 60 ปขี ้นึ ไปในอตั ราเท่ากบั หรือมากกวา่ ร้อย การลงทนุ มากขนึ้
ละ 20 ขึ้นไป หรือมีสัดส่วนประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไปใน
อัตราเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 14 ขึ้นไป) ซึ่งจะส่งผล รูปแบบการค้าเปลี่ยนแปลงไปสู่การค้า
ต่อการลดลงของแรงงาน ซึ่งประเทศไทยจำเป็นต้องเพิ่ม เสรี การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่หลากหลายขึ้น เพื่อการ
ศักยภาพในการพัฒนาโดยใช้รูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้ ขยายตัวทางการค้าและการลงทุน แต่ในขณะเดียวกันการ
สามารถพัฒนาเทคโนโลยีให้ทันการเปลีย่ นแปลงของโลก แข่งขันก็จะรุนแรงมากขึ้น ประเทศไทยจึงต้องกำหนด
ยทุ ธศาสตร์การแขง่ ขันและความร่วมมือระหวา่ งประเทศที่
3) สถานการณเ์ ศรษฐกิจโลก ชัดเจนทั้งในระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาค และในระดับโลก
แนวโน้มเศรษฐกิจโลก ในระยะ 5 ปี ทั้งนี้ต้องใช้ประโยชน์จากความได้เปรียบเชิงที่ตั้ง การ
ลงทุนเรื่องโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ขนาด
ขา้ งหน้าเศรษฐกจิ ของโลกยงั เตบิ โตได้ชา้ และมีความเสี่ยง ใหญ่ และความเป็นเลิศในหลายอุตสาหกรรมและบริการ

2-3

ผลกระทบสถานการณเ์ ศรษฐกิจโลกตอ่ ประเทศ ขึ้น ทั้งอุทกภัย ภัยแล้ง แผ่นดินไหวและดินโคลนถล่ม
และพ้ืนที่ ส่งผลกระทบต่อภาคการผลิต การพัฒนาอุตสาหกรรม
และการพัฒนาเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ รวมทั้งวิถี
สถานการณ์และแนวโน้มเศรษฐกิจโลก การดำรงชีวติ ของประชาชน
นับเป็นโอกาสของประเทศไทยในการใช้ประโยชน์จาก
ความเชื่อมโยงในอนุภูมิภาคและภูมิภาคให้สนับสนุนการ ปัญหาโลกร้อนและภัยพิบัติทางธรรมชาติ
พัฒนาห่วงโซ่มลู ค่าร่วมกัน ทั้งนี้การเกดิ ตลาดการเงินโลก ต่าง ๆ ที่เกดิ ขน้ึ มแี นวโน้มทวคี วามรนุ แรงและเกิดบ่อยครงั้
ทไี่ รพ้ รมแดนผลกั ดันให้ภาคการเงินของไทยตอ้ งเร่งพัฒนา ขึ้นในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ประชาคมโลกจึงให้
เทคโนโลยี และนวัตกรรมทางการเงินให้ทันต่อการ ความสำคัญกบั เรื่องดังกล่าวมากขึ้นจนนำมาสู่การร่วมกัน
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ตลอดจนการปรับปรุงกฎระเบียบ พิจารณาหาแนวทางแก้ไข นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1990 เป็นตน้
ต่าง ๆ ให้สอดรับกับข้อตกลงระหว่างประเทศ พร้อมกับ มา มกี ารจดั ต้งั กลไกหลกั ภายใต้กรอบสหประชาชาตขิ ึน้ 2
พัฒนาเศรษฐกิจบนฐานความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ กลไก คือ กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ
เทคโนโลยี นวัตกรรม รูปแบบการค้าจึงมีแนวโน้มไปสู่ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ( United Nations
การค้าเสรีเฉพาะกลุ่มมากขึ้น และมีการรวมกลุ่มทาง Framework Convention on Climate Change –
เศรษฐกิจที่หลากหลายขึ้น ประเทศไทยจึงต้องกำหนด UNFCCC) ค.ศ.1992 และพิธีสารเกียวโต ( Kyoto
ยทุ ธศาสตร์การแข่งขันและความร่วมมือระหวา่ งประเทศท่ี Protocol – KP) ค.ศ.1997 ซึ่งประเทศไทยเป็นรัฐภาคี
ชดั เจนขึน้ ของทั้งสองกลไกนี้ด้วย แต่ด้วยสภาวะการณ์ที่
เปล่ยี นแปลงไปอยา่ งรวดเร็ว ทำให้รฐั ภาคกี รอบอนุสัญญา
4) สถานการณส์ ่ิงแวดลอ้ มโลก ฯจำเปน็ ต้องเจรจาความตกลงด้านการเปล่ยี นแปลงสภาพ
การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและภัย ภูมอิ ากาศฉบับใหม่ จนในทสี่ ุดสามารถตกลงกนั ไดร้ ะหวา่ ง
การประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาฯ สมัยที่ 21 (COP21)
ธรรมชาติ ซึ่งจัดขึ้นระหว่างเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม 2558 ที่
การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศจะส่งผล กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส จนเกิดเป็นความตกลงปารีส
ซ่ึงมีสาระสำคญั สรปุ ได้ ดงั น้ี
กระทบซ้ำเติมต่อสถานการณ์ความเสื่อมโทรมของ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มีความรุนแรงมาก (1) ประเทศต่าง ๆ ตั้งเป้าหมายร่วมกันที่
ขึ้นอุณหภูมิของโลกเพิ่มขึ้น ทำให้เกิดความแห้งแล้งเป็น จะรกั ษาการเพิ่มข้นึ ของอณุ หภมู เิ ฉลีย่ ของโลกใหต้ ่ำกว่า 2
ระยะเวลายาวนาน เกิดฝนท้ิงชว่ ง และมีฤดูกาลเปลีย่ นไป องศาเซลเซียส และในขณะเดียวกันกำหนดเป้าหมายท่ี
ส่งผลกระทบต่อความอุดมสมบูรณ์ของดิน ป่าไม้เกิด สูงขึ้นไว้ควบคู่กันให้น้อยลงไปอีกจนถึงต่ำกว่า 1.5 องศา
ความเสื่อมโทรม แหล่งน้ำขาดแคลน ผลผลิตทาง เซลเซียส
การเกษตรลดลง เกิดโรคระบาดในพืชและสัตว์และอาจ
เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษยก์ รณีที่เกิดโรคระบาด (2) ความตกลงน้ีครอบคลุมการดำเนินการ
ใหม่ เกิดความเสี่ยงต่อการสูญเสียความหลากหลายทาง ในประเด็นตา่ ง ๆ อาทิ (1) การลดก๊าซเรอื นกระจก (2) การ
ชวี ภาพ เช่น ระบบนิเวศป่าไม้ ระบบนเิ วศชายฝ่ัง พ้นื ที่ชุ่ม ปรบั ตัวต่อการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (3) การเพมิ่
น้ำ เกิดการกัดเซาะชายฝั่ง และการสูญเสียแนวปะการัง ความสามารถในการฟน้ื ตวั จากผลกระทบของการ
เป็นต้น การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพดังกล่าว เปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (4) ความโปรง่ ใสของการ
ข้างต้น จะส่งผลต่อความมั่นคงด้านอาหาร สุขภาพ ดำเนินการ และ (5) การใหก้ ารสนับสนุนในดา้ นตา่ ง ๆ ซง่ึ
พลังงาน และลดทอนขีดความสามารถในการพึ่งพาตนเอง รวมถงึ ทางการเงนิ โดยรฐั ภาคีตอ้ งมีข้อเสนอการดำเนนิ การ
ของชุมชน ท่เี รียกวา่ nationally determined contribution (NDC)
ของประเทศทกุ ๆ 5 ปี
คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental ประเทศไทยเป็นผู้ปล่อยก๊าซเรือนกระจก
Panel on Climate Change : IPCC 2014) ได้คาดการณ์ ระดับกลาง ประมาณ 350 ลา้ นตันคารบ์ อนไดออกไซด์ต่อ
ว่า อุณหภูมิโลกจะเพิ่มขึ้น 1.1 ถึง 6.4 องศาเซลเซียส ปี คิดเป็นร้อยละ 0.8 ของทั้งหมด หรืออยู่ในลำดับที่ 21
ในชว่ งปี พ.ศ. 2544 - 2643 เน่ืองจากการปล่อยกา๊ ซเรอื น ของโลก ความตกลงดังกล่าวส่งผลกระทบต่อไทยใน ภาค
กระจกสะสมในชั้นบรรยากาศมากเกินกว่าที่เคยเกิดขึ้น พลังงาน ซึง่ รวมถึงการผลติ พลงั งานไปใช้ในภาคอืน่ ๆ เช่น
ทำให้เกิด “ภาวะโลกร้อน” (Global Warming) เกิด การขนส่ง อุตสาหกรรม และครัวเรือน โดยปล่อยรวมกัน
สภาวะอากาศแปรปรวนและสภาพอากาศเลวร้าย ถึงร้อยละ 73 ดังนั้นทิศทางการพัฒนาของภาครัฐจึงให้
บ่อยคร้งั ส่งผลใหภ้ ัยพิบัตทิ างธรรมชาติมคี วามรนุ แรงมาก ความสำคัญกับความมั่นคงทางพลังงาน ด้วยการกระจาย
แหล่งพลังงาน ลดการใช้พลังงานจากฟอสซิล และหันไป

2-4

ใช้พลังงานหมุนเวียนมากขึ้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการ (Target) จำนวน 169 ข้อ ซึ่งจะส่งผลกระทบกับการวาง
ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงร้อยละ 20-25 ภายในปี แนวทางการพัฒนาประเทศในอนาคต ที่ต้องเน้นขจัด
ค.ศ. 2030 (พ.ศ. 2573) ความยากจนให้หมดไป ประชาชนมีสุขภาพที่ดี มีระบบ
การศกึ ษา มีความเท่าเทยี มกันทางเพศ สง่ เสรมิ การเตบิ โต
นอกจากนีย้ ังมกี รอบการดำเนนิ งานเซนได ทางเศรษฐกิจแบบยั่งยืน มีระบบโครงสร้างพื้นฐานที่
เพื่อการลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติพ.ศ. 2558 – 2573 รองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ยั่งยืน ลดความไม่เท่า
( Sendai Framework for Disaster Risk Reduction เทียมกนั ท้ังภายในประเทศและระหว่างประเทศ มรี ปู แบบ
2015 – 2030 : SFDRR) ป้องกันไม่ให้เกิดความเส่ียงใหม่ การผลิตและการบริโภคแบบยั่งยืน เตรียมความพร้อมใน
พร้อมทั้งลดความเสี่ยง ที่มีอยู่เดิมตามมาตรการทาง การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สงวนรักษา
เศรษฐกิจ โครงสร้าง กฎหมาย สุขภาพ วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ มี
การศึกษา สภาพแวดล้อม เทคโนโลยี การเมือง และ การจัดการทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน ส่งเสริมให้
มาตรการเชิงสถาบัน (Institutional) ที่มีการบูรณาการ สังคมมีความสุข มีความยุติธรรมและส่งเสริมความเป็น
และลดความเหลื่อมล้ำ ในการป้องกัน รวมถึงความ ห้นุ ส่วนเพ่ือการพัฒนาในระดบั โลกรว่ มกนั
เปราะบางต่อสาธารณภัยลดลงด้วย รวมถึงการเตรียม
ความพร้อมมากขึ้นเพื่อการเผชิญเหตุและฟื้นฟูอันนำไปสู่ ทม่ี า : https://sustainabledevelopment.un.org/
ความสามารถท่ีจะรับมอื และฟื้นคืนกลับได้ในระยะเวลาท่ี
รวดเร็วและมีประสทิ ธภิ าพ รปู ท่ี 2.1.1-1 เปา้ ประสงคก์ ารพัฒนาท่ยี ่ังยนื
ผลกระทบสถานการณส์ ิง่ แวดลอ้ มโลกต่อประเทศ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
(Climate Change) ซึ่งมีแนวโน้มส่งผลกระทบต่อการ และพ้ืนที่
เปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมและกิจกรรมของมนุษย์เพิ่ม สถานการณ์และแนวโน้มปัจจุบันทำให้ประเทศ
มากขึ้น การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศสง่ ผลต่อความเป็นอยู่ ไทยต้องเตรียมพร้อมรับมือ โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลง
วิถีชีวิต และการดำรงชีพ ทั้งนี้การมุ่งลดผลกระทบจาก สภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติมีความผันผวน
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อจังหวัดในภาคนั้น ๆ และรุนแรงมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางน้ำ
ทั้งในเชิงกายภาพและกิจกรรม นับเป็นสิ่งสำคัญที่ต้อง และภาคการผลิตด้านเกษตรกรรม ซึ่งเป็นแหล่งรายได้
คำนึงถึง โดยการปรบั ลดปัจจยั ท่สี ง่ ผลตอ่ การเปล่ยี นแปลง สำคัญที่มีผลต่อการส่งออกสินค้าเกษตรและอาหาร
(Mitigation) และการปรับตัวเพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลง ประเทศไทยจึงจำเป็นต้องพฒั นากลไกการดำเนินงานของ
(Adaptation) ภายใต้แนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน หน่วยงานต่าง ๆ ที่เป็นข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับ
(Sustainable Development) ในเชิงเศรษฐกิจและ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ อาทิ พิธีสารเกียวโต
สงั คมตอ่ ไป (Kyoto Protocal) ซึ่งสนับสนุนการพัฒนาที่สะอาด
(Clean Development Mechanism: CDM) อนุสัญญา
เกิดข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับ ว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภาวะโลกร้อน (Global Biological Diversity : CBD) มุ่งเน้นการอนุรักษ์ความ
Warming) ทำให้เกิดสภาวะอากาศที่แปรปรวนและมี หลากหลายทางชีวภาพ เพ่ือใช้ประโยชน์ความหลากหลาย
ความรุนแรงมากขึ้น ฤดูกาลเปลี่ยนแปลงไป ส่งผลต่อ ทางชีวภาพอย่างยั่งยืน และเพื่อแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้
ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ ทำให้ผลผลิต จากการใช้ทรัพยากรพันธุกรรมอย่างเท่าเทียมและ
ทางการเกษตรลดลง เกิดโรคระบาดในพืชและสัตว์ ซ่ึง ยุติธรรม ตลอดจนวาระการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable
ส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์ด้วย ผลกระทบดังกล่าวจะ Development Goals–SDGs) ซ่งึ จะเป็นแนวทศิ ทางหลกั
ส่งผลต่อความมั่นคงทางอาหาร สุขภาพ พลังงาน และ ในการพฒั นาของโลก
ลดทอนขีดความสามารถในการพึ่งพาตนเองของมนุษย์
ในขณะที่ภาคการเกษตรจะได้รับผลกระทบและเกิดความ
สูญเสีย ซึง่ ส่งผลต่อภาวะความยากจน

วาระการพฒั นาที่ยง่ั ยืน พ.ศ.2573
ประเด็นสำคัญของวาระการพัฒนาทย่ี งั่ ยืน
พ.ศ.2573 คือ การจัดทำเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนใน
กรอบสหประชาชาติ (Sustainable Development
Goals–SDGs) ในช่วงเวลา 15 ปี โดยสหประชาชาติให้
การรับรองแล้วเมือ่ วนั ที่ 10 กันยายน 2557 ประกอบดว้ ย
เป้าประสงค์ (Goal) จำนวน 17 ข้อ และเป้าหมาย

2-5

2.1.2 กรอบความร่วมมอื ระหว่างประเทศ จุดมุ่งหมายเพื่อให้ RCEP เป็นความตกลง
ทมี่ คี ณุ ภาพและทันสมัย บนผลประโยชนร์ ่วมกนั อยา่ งรอบ
นโยบายและยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่าง ด้านในการสนับสนุนการขยายการค้าและการลงทุนใน
ประเทศ เป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเชื่อมโยงกิจกรรม ภูมิภาค รวมทั้งส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ และ
ทางเศรษฐกิจในกลุ่มความร่วมมือต่าง ๆ ซึ่งส่งผลต่อการ การพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน เป็นระบบการค้า
พัฒนาพื้นที่อย่างมาก จำเป็นต้องพิจารณา นโยบายและ เสรีที่ใช้กฎระเบียบเดียวกันของภาคีทั้งหมด 16 ประเทศ
ยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่างประเทศที่สำคัญและ นอกจากนี้ ยังเป็นไปเพื่อเชื่อมโยงเศรษฐกิจของอาเซียน
เกี่ยวข้อง ซึ่งส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในแต่ละภาค เขา้ กับเศรษฐกจิ โลก (Global Supply Chain) ครอบคลุม
โดยมรี ายละเอียดดังต่อไปน้ี ทุกมิติการค้า ทั้งด้านสินค้า บริการ ลงทุน มาตรการ
การค้า และความร่วมมือทางเศรษฐกิจ เกิดการเชื่อมโยง
1) ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจ เครอื ข่ายการผลติ การคา้ และการลงทุน ใหส้ อดคล้องและ
มีความสะดวกทางการคา้ และการลงทุนมากขึ้น
Regional Comprehensive Economic Partnership
(RCEP) เจตนารมณข์ อง RCEP คอื 1) ครอบคลมุ ทกุ
มิติที่กว้างขึ้น เช่น รายการสินค้า จากที่เคยลดรวม 95%
Regional Comprehensive Economic ต้องลดมากกว่า 95% 2) กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า
Partnership (RCEP) คือ ความตกลงพันธมิตรทางการคา้ (Rules of Origin: ROO) มีความจำเป็นจะต้องสะท้อนให้
ระดับภูมิภาค ที่เป็นกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ส ม า ช ิ ก เ ป ็ น Global Supply Chain ใ ห ้ ไ ด ้ 3) ล ด
ระหว่าง ASEAN 10 ประเทศ กับคู่ภาคีที่มีอยู่ 6 ประเทศ กฎระเบียบการค้าและบริการให้มากที่สุด 4) การลงทุน
คือ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และ เปดิ เสรี อำนวยความสะดวก ตอ้ งทำใหเ้ กิดบรรยากาศการ
นวิ ซีแลนด์ การรวมกลมุ่ เศรษฐกิจท่ีเรยี กวา่ RCEP เป็นช่ือ แข่งขันทางการลงทุน การส่งเสริมและคุ้มครองการเปิด
เรียกใหม่ที่หลายคนอาจไม่คุ้น แต่หากบอกว่าเป็นการ เสรีจะต้องมี Capacity Building ผลักดัน FTAs ที่จะ
รวมกลุ่มเศรษฐกิจท่ีเรียกว่า อาเซียนบวก 6 (ASEAN +6) เกิดขึ้นก้าวต่อไปได้ในระดับที่ใกล้เคียงกัน 5) RCEP ต้อง
น่าจะคุ้นชินมากขึ้น เพราะในกระแสการพูดเรื่อง ไกลกว่า ASEAN +1 สิ่งที่จะทำต้องมีประโยชน์ต่อทุก
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic ประเทศ (ประเทศกำลังพัฒนาด้วย) เป็นความตกลง
Community : AEC) มักจะมีการเชื่อมโยงพูดถึงตลาด รวมกลุ่มทางภมู ภิ าค เทยี บเคียงกับกลมุ่ อน่ื ๆ ได้
นอกอาเซียนที่มีขนาดใหญ่ขึ้น กว้างขึ้นอย่าง ASEAN +6
อยู่เสมอ แต่การตื่นตัวเรื่อง RCEP มีมากขึ้นหลังจากการ ผลกระทบของความตกลงหนุ้ ส่วน
ประชุมอาเซยี นซัมมทิ คร้งั ที่ 21 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศ ทางเศรษฐกิจต่อประเทศและพนื้ ท่ี
กัมพูชา เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2555 ผู้นำของทั้ง 16
ประเทศ ได้แสดงเจตนารมณ์ร่วมกันที่จะเจรจาความตก กรอบการเจรจา RCEP ครอบคลุมทุก
ลง RCEP ในต้นปี 2556 และมุ่งหมายให้การเจรจาแล้ว ประเด็นที่ประเทศไทยเคยทำความตกลงไว้แล้วในกรอบ
เสร็จภายในสิ้นปี 2558 โดยความตกลง RCEP พัฒนามา ภูมิภาคและทวิภาคีต่าง ๆ โดยเงื่อนไขที่ผ่อนปรนมากขึ้น
จากความตกลงการค้าเสรีที่อาเซียนมีอยู่แล้ว 5 ฉบับ กับ หรือขจัดมาตรการทางภาษี มาตรการอื่นใดที่ก่อให้เกิด
6 ประเทศ คือ อาเซียน-จีน, อาเซียน-ญี่ปุ่น, อาเซียน- ความเหลื่อมล้ำ ตลอดจนการพัฒนาที่ยั่งยืน แต่ผลการ
เกาหลี, อาเซียน-อินเดีย และอาเซียน-ออสเตรเลีย- ประชุมที่ผ่านมายังไม่สามารถหาข้อสรุปเรื่องรูปแบบการ
นิวซแี ลนด์ เปิดตลาดได้ เนื่องจากระบบหรือกฎหมายที่ดูแลเรื่อง
ทรัพย์สินทางปัญญา และการแข่งขันของประเทศสมาชิก
ท่ีมา : http://www.vijaichina.com 16 ประเทศ ประเทศสมาชิกอาเซียนให้ความสำคัญกับ
RCEP มาก เนื่องจากเป็นความตกลงเขตการค้าเสรีซ้อน
รปู ท่ี 2.1.2-1 ความตกลงหุ้นสว่ นทางเศรษฐกจิ ความตกลงการค้าเสรีเดิมที่มีอยู่แล้ว ดังนั้นผลประโยชน์
สุทธิของไทยจึงขึ้นอยู่กับเงื่อนไขต่าง ๆ ซึ่งส่งผลท้ัง
ทางบวกและทางลบ ดังนั้นจึงควรมีมาตรการรองรับทั้ง
มาตรการทางภาษีและไม่ใชภ่ าษี

2-6

2) โครงการหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (One ผลกระทบของโครงการ OBOR ต่อประเทศและพ้นื ท่ี
Belt , One Road : OBOR) OBOR ประกอบด้วยสองสว่ นหลกั หรือวงแหวน

เป็นความริเริ่มของรัฐบาลจีน ที่มี เศรษฐกิจเส้นทางสายไหมทางบก และเส้นทางสายไหม
วัตถุประสงค์เพื่อรื้อฟื้นเส้นทางสายไหมในอดีต ซึ่ง ทางทะเลแห่งศตวรรษที่ 21 โดยวงแหวนเศรษฐกิจ
เชื่อมโยงทวีปเอเชีย ยุโรป และแอฟริกาเส้นทางสายไหม เส้นทางสายไหมทางบก มีวัตถุประสงค์เพื่อเชื่อมจีนกับ
ประกอบด้วย 2 เส้นทาง คือ เส้นทางทะเล (the ยโุ รปผา่ นทางเอเชียกลางและเอเชยี ตะวันตก ส่วนเส้นทาง
Maritime silk road) และเส้นทางบก (the Silk Road สายไหมทางทะเลจะเชอื่ มจีนกบั ยโุ รปผ่านเส้นทางเดินเรือ
Economic Belt) รัฐบาลปักกิ่งได้ขับเคลื่อนความริเริ่มน้ี ผ่านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียใต้ และแอฟริกา
ผา่ น 3 แผนงาน คือ การพฒั นาโครงสรา้ งพ้นื ฐานเชือ่ มโยง นอกจากสองเส้นทางเชื่อมต่อหลักนี้ ยังรวมถึงการพัฒนา
ระหว่างประเทศ การจัดสรรแหล่งเงินทุน โดยเฉพาะการ โครงข่ายเชือ่ มโยงระหว่างประเทศ และเส้นทางเพ่มิ เตมิ ท่ี
จัดตั้งธนาคารเพื่อการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานแห่ง จะเชื่อมต่อกับ 2 ระเบียงเศรษฐกิจสำคัญ ซึ่งการลงทุน
เอเชีย และกองทุนเส้นทางสายไหม และการสร้างความ ของจีนกับประเทศพฒั นาแล้วตามเส้นทางสายไหมใหม่ มี
ร่วมมือทางเศรษฐกิจ การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม และการ แนวโน้มจะช่วยให้การดำเนินงานตามแผนแม่บทว่าด้วย
พัฒนาความสมั พันธร์ ะหวา่ งประเทศ ความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (Master Plan on
ASEAN Connectivity : MPAC) บรรลุผลสำเรจ็ ไดง้ ่ายขน้ึ
การผลักดันให้เป้าหมายเหล่านี้ประสบ โดยเฉพาะความเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพื้นฐาน ทั้งน้ี
ความสำเร็จ รัฐบาลจีนได้เสนอให้ยกระดับความตกลงเขต อาเซียนได้ประโยชน์จากกลไกความร่วมมอื ท่ีจีนมีบทบาท
การค้าเสรีอาเซียน-จีน เพื่อเปิดเสรีการค้าและการลงทุน อยู่ ซึง่ อาจกระต้นุ ใหใ้ ช้ประโยชน์จากการคา้ เสรีได้มากข้ึน
ระหว่างกันมากขึ้น รัฐบาลจีนยังส่งเสริมให้วิสาหกิจของ นอกจากนี้ประเทศไทยและประเทศในอนุภาคลุ่มน้ำโขง
จีนออกไปลงทุนต่างประเทศ และได้จัดตั้งเขตความ (GMS) ยังใช้ประโยชน์จากระเบียงเศรษฐกิจจีน -
ร่วมมือทางเศรษฐกิจและการค้าในต่างประเทศ คาบสมุทรอินโดจีน (CICPEC) เพื่อเชื่อมโยงการค้าและ
เพื่อรองรบั การลงทุนจากจนี การลงทุนกับเขตเศรษฐกิจพิเศษสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ
(Pearl River) ซึ่งปัจจุบันพัฒนาเป็นโครงการ Pan-Pearl
วิสัยทัศน์ OBOR ระบุว่า โครงการนี้จะใช้ River Delta (PPRD)
สว่ นอุตสาหกรรมทางเศรษฐกิจเปน็ ฐานความรว่ มมือ สว่ น
แผนงานทางทะเลจะเน้น สร้างเส้นทางการคมนาคมท่ี 3) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN
“ราบรื่น มั่นคง และมีประสิทธิภาพ” เชื่อมต่อท่าเรือ Economic Community : AEC)
สำคญั ท่ตี ้ังอยตู่ ลอดเสน้ ทางเป้าหมายของโครงการ OBOR
ภายใต้กรอบนี้ มี 6 ระเบียง เศรษฐกิจสำคัญ 1) จีน- อาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแห่ง
มองโกเลีย-รัสเชยี 2) สะพานเศรษฐกจิ ยเรู เชียใหม่ 3) จีน- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2510 โดย มี
เอเชียกลาง-เอเชียตะวันตก 4) จีน-ปากีสถาน 5) บังคลา สมาชิกจำนวน 10 ประเทศ ได้แก่ บรูไน อินโดนีเซีย
เทศ-จีน-อนิ เดยี -เมยี นมา 6) จีน-คาบสมทุ รอนิ โดจีน มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย กัมพูชา ลาว พม่า และ
เวยี ดนาม โดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่ือสรา้ งสนั ติภาพในภูมิภาค
ท่มี า : https://www.forbesthailand.com อันจะนำไปส่คู วามเจริญกา้ วหน้าทาง เศรษฐกจิ สังคมและ
วฒั นธรรม รวมทัง้ การรวมกลุม่ เพื่อขยายความร่วมมอื และ
รปู ที่ 2.1.2-2 แผนงานของโครงการหนึง่ แถบหนง่ึ การคา้ ระหว่างกันให้มากยิง่ ขนึ้
เส้นทาง
การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน มี
กลไกในการผลักดัน คือ แผนแม่บทการเชื่อมโยงระหว่าง
กันในอาเซียน (ASEAN Connectivity) ทั้ง 3 ด้าน คือ
การเชื่อมโยงทางกายภาพ (Physical Connectivity),
การเชื่อมโยงทางสถาบัน (Institutional Connectivity)
และการเชื่อมโยงประชาชน (People-to-People
Connectivity) เพ่อื สร้างความเช่ือมโยงระหวา่ งกันในด้าน
ต่าง ๆ

2-7

การรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แผนบูรณาการด้านเศรษฐกิจ หรือ AEC
เป็นหนึ่งในสามเสาหลักในการดำเนินการเพื่อให้บรรลุ Blueprint ทำให้เกิดมาตรการที่สง่ ผลต่อประเทศไทยดังนี้
วัตถุประสงค์ของประชาคมอาเซียน นอกจากนี้ยังมี
ประชาคมการเมืองความมั่นคง (APSC) และประชาคม (1) การเปิดเสรกี ารคา้ สินค้า (กรอบ ASEAN
สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC) การรวมกลุ่ม Free Trade Area: AFTA)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ ส่งผลให้อาเซียนมีลักษณะ
เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว มีการซื้อขายสินค้า การ 1) การลดหรือยกเลิกภาษี ยกเลิกภาษี
บริการ การลงทุน และแลกเปลี่ยนแรงงานกันอย่างเสรี สินค้าใน 9 สาขาเรง่ รดั ได้แก่ สาขาเกษตรประมง ไม้ ยาง
ในช่วงแรกอาเซียนได้กำหนดสาขาอุตสาหกรรมที่สำคัญ สิ่งทอ ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
จำนวน 12 สาขาในการเริ่มดำเนนิ การเป็นตลาดและฐาน สุขภาพ 2) การขจัดมาตรการที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff
การผลิตเดียว ได้แก่ เกษตร ประมง ผลิตภัณฑ์ยาง Barriers: NTBs) และ 3) การกำหนดกฎว่าด้วยถิ่นกำเนิด
ผลิตภัณฑ์ไม้ สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม อิเล็กทรอนิกส์ ยาน สินค้า (Rules of Origin: ROO)
ยนต์ การขนส่งทางอากาศ สุขภาพ e-ASEAN การ
ท่องเที่ยว และโลจิสติกส์ รวมทั้งความร่วมมือในสาขา (2) การเปิดเสรีการค้าบริการ (กรอบ ASEAN
อาหาร เกษตรและป่าไม้ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจใน Framework Agreement on Services: AFAS)
ภูมิภาคอาเซียนจะช่วยส่งเสริมการค้าและการลงทุน เพ่ิม
อำนาจการต่อรองและแข่งขันกับประเทศมหาอำนาจ ซ่ึง การเปิดเสรีการค้าบริการ มีเป้าหมาย
จะส่งผลกระทบกับทุกฝ่ าย ทั้งภาคประชาชน คือ ลดอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาดในด้านต่าง ๆ ลง และ
ผู้ประกอบการและผู้ผลิต นักลงทุน ภาคเกษตรกรรม เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นให้กับบุคคล/นิติบุคคลสัญชาติ
รวมถงึ ภาครัฐ อาเซียน 1) สาขาบริการสำคัญ (Priority Integration
Sectors: PIS) 2) สาขาบริการอื่น ( Non-Priority
จากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ สังคมและ Services Sector) ครอบคลุมบริการทุกสาขา นอกเหนือ
วัฒนธรรม การเมอื งและความมัน่ คงของอาเซียน และการ จากสาขาบริการสำคัญ (priority services sectors) และ
เชื่อมโยงภายในภูมิภาคทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐาน การบรกิ ารด้านการเงิน 3) สาขาการบรกิ ารดา้ นการเงิน
กฎระเบียบและประชาชนจะเป็นการเสริมสร้างขีด
ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ ยกระดับคุณภาพ (3) การเปิดเสรีการลงทุน (กรอบ ASEAN
ชีวิตและสวสั ดกิ ารของประชาชนที่ดีขึ้น รวมท้งั สร้างความ Comprehensive Investment Agreement: ACIA)
ร่วมมือในการแก้ไขปัญหาความขดั แยง้ และความมั่นคงใน
รูปแบบต่างๆ เป็นหลักการสำคัญที่นำมาภายใต้วิสัยทัศน์ ลดหรือยกเลิกข้อจำกัดด้านการลงทุน
“ประเทศไทยเป็นสมาชิกทีเ่ ข้มแข็งและสนับสนุนคณุ ภาพ ต่าง ๆ ส่งเสริมการร่วมลงทุนในสาขาอุตสาหกรรมที่มี
ชีวิตที่ดีของประชาชนอาเซียนร่วมกัน” ซึ่งการกำหนด ศักยภาพ และสร้างเครือข่ายด้านการลงทุนของอาเซียน
ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ภายใต้แนวทาง โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะเพิ่มหรือรักษาระดับความสามารถ
การพัฒนา ประกอบด้วย 8 ยทุ ธศาสตร์ ในการดึงดูดต่างประเทศให้มาลงทุนในอาเซียน และการ
ลงทนุ โดยอาเซียนเอง
รูปที่ 2.1.2-3 ยทุ ธศาสตรก์ ารเขา้ สู่ประชาคมอาเซยี น
ปี พ.ศ.2558 (4) การเปิดเสรดี า้ นเงนิ ทนุ เคลอ่ื นยา้ ย
1) ด้านตลาดทุน จะเสริมสร้างความ

แข็งแกร่งในการพัฒนาและการรวมตัวของตลาดทุนใน
อาเซียน โดยสร้างความสอดคล้องในมาตรฐานด้านตลาด
ทุนในอาเซียน 2) ด้านเงินทุน จะเปิดให้มีการเคลื่อนย้าย
เงินทนุ ทเ่ี สรยี ่ิงขนึ้ อย่างค่อยเป็นคอ่ ยไป

(5) การเคลื่อนย้ายแรงงานฝมี ืออยา่ งเสรี
สรา้ งมาตรฐานทีช่ ดั เจนของแรงงานฝีมือ

และอำนวยความสะดวกให้กับแรงงานฝีมือที่มีคุณสมบัติ
ตามมาตรฐานทีก่ ำหนดให้สามารถเคลอ่ื นย้ายไปทำงานใน
กลุ่มประเทศสมาชิกได้ง่ายขึ้น เช่น การจัดทำ ASEAN
Business Card เป็นตน้

(6) การดำเนินงานตามความร่วมมือราย
สาขาอืน่ ๆ

การดำเนินงานตามความร่วมมือราย
สาขาอื่น ๆ ได้แก่ ความร่วมมือด้านเกษตร อาหาร และ

2-8

ป่าไม้ความร่วมมือด้านทรัพย์สินทางปัญญา การพัฒนา ภูมิภาคที่รวมเป็นหนึ่งเดียว และการเปิดตลาดการค้า
ด้านโครงสร้างพื้นฐาน (การคมนาคม เทคโนโลยี ใหม่ๆ เพื่อลดการเป็นคู่แข่งทางเศรษฐกิจภายใน
สารสนเทศพลังงาน) ความร่วมมือด้านเหมืองแร่ พาณิชย์ อนุภูมิภาค พร้อมทั้งสร้างความเข้มแข็งและลดช่องว่าง
อิเล็กทรอนิกส์ ความร่วมมือด้านการเงิน ความร่วมมือ ทางด้านรายไดใ้ นอนภุ ูมิภาคที่มีพ้นื ท่ตี ดิ กัน
ด้านวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และการ
พฒั นาเพอ่ื การรวมกล่มุ ของอาเซยี น (IAI) ภาพรวมของอนุภาคของประชาคม
อาเซียนสามารถเชื่อมโยงกันด้วยโครงข่ายทางหลวงและ
ผลกระทบของ AEC ตอ่ ประเทศและพนื้ ที่ เส้นทางเดินเรือระหว่างประเทศ (Corridor) ที่ทำหน้าที่
การพัฒนาที่อาจส่งผลต่อการวางผังภาคต่อไป เป็นเส้นทางในการพัฒนาเศรษฐกิจ ( Economic
Corridor) ที่ซ้อนทับกับเส้นทางการค้าภายในประเทศ
ในอนาคต ซึ่งเป็นผลมาจากการรวมกลุม่ ประเทศอาเซยี น เส้นทางการค้าระหว่างประเทศ และเส้นทางเปลี่ยน ผ่าน
ของไทย จะต้องคำนึงถึงผลกระทบในด้านต่าง ๆ ที่จะ การค้าระหว่างประเทศ ประกอบด้วยแนวพื้นที่ระเบียง
เกิดขึ้น โดยในประเด็นสำคัญจะเป็นผลมาจากแนว เศรษฐกิจที่สำคัญ 3 แนว คือ แนวเหนือ-ใต้ (North-
นโยบาย กฎ ระเบียบ กติกาความร่วมมือที่มีระหว่างกัน South Economic Corridors : NSEC) แนวตะวันออก-
เป็นสำคญั ซึ่งกรอบกติกาความร่วมมอื ดงั กล่าวจะเป็นสว่ น ตะวนั ตก (East-West Economic Corridor : EWEC และ
ที่มากำหนดแนวทางการดำเนินนโยบายในประเทศและ แนวใต้ (Southern Economic Corridor : SEC)
สง่ ผลตอ่ ภาคในแต่ละส่วนต่อไป แต่เน่อื งจากการรวมกลุ่ม
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เกิดจากการรวมกลุม่ กันของ เมืองประตูการค้าและเขตเศรษฐกิจพิเศษ
ประเทศภายในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงทำให้ ตามแนวระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้ เป็นเส้นทางเชื่อมต่อ
ผลกระทบของการรวมกลุ่มเป็นไปในลักษณะระดับ ระหว่างประเทศไทย กัมพูชา และเวียดนาม แบ่งออกเป็น
ประเทศ ไม่มีการระบุพื้นที่จำเพาะเจาะจงลงไปอย่างเชน่ 4 เส้นทางย่อย คือ 1) เส้นทางตอนเหนือ 2) เส้นทาง
การพัฒนาหรือความร่วมมือในระดับทวิภาคี อย่างไรก็ ตอนกลาง 3) เส้นทางเลียบชายฝั่งทะเลตอนใต้ และ
ตามการพิจารณาผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจ 4) เส้นทางเชื่อมภายในทวีปยุโรป ทั้งนี้เส้นทางย่อยที่มี
อาเซียนในระดับพื้นที่ ภูมิภาคและระดับจังหวัด จะ ความสำคัญในการเป็นพื้นท่ีประตูการค้าระหว่างประเทศ
พิจารณาในจังหวัดที่ติดตามแนวชายแดนในแต่ละภาค ไทย กัมพูชา และเวียดนาม
ของประเทศ ที่เป็นประตู (Gateway) ทางเศรษฐกิจ ท่ี
สง่ เสรมิ การคา้ ชายแดนและการค้าระหว่างประเทศ สง่ ผล (1) เส้นทางแนวระเบียงเศรษฐกิจ
ให้รัฐบาลประกาศเป็นเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ (ระยะท่ี เหนือใต้ (North-South Economic Corridor: NSEC)
1 ประกอบด้วย ตาก สระแก้ว สงขลา ตราด และ นับเป็นเส้นทางสายหลกั ของ GMS Economic Corridors
มุกดาหาร และระยะที่ 2 ประกอบด้วย กาญจนบุรี โดยมุ่งเน้นการเชื่อมโยงกับมณฑลยูนนานของจีนเข้ากับ
เชียงราย นครพนม หนองคายและนราธิวาส) และเขต ภมู ิภาคแหลมทอง ระยะทางประมาณ 1,280 กิโลเมตร
เศรษฐกิจชายแดนที่มีศักยภาพ และเร่งรัดการพัฒนา
โครงสร้างพ้นื ฐานเพอื่ รองรับการพฒั นาดังกลา่ ว • เส้นทางแนวระเบียงย่อยด้าน
ตะวันตก (Western Subcorridor) หรือ R3 เป็นเส้นทาง
4) โครงการพัฒนาความร่วมมือทาง จากคุนหมิง – ผ่าน สปป.ลาวหรือเมียนมา– เชียงราย –
เศรษฐกจิ ในอนภุ มู ิภาคลุ่มนำ้ โขง (Greater Mekong กรุงเทพฯ แยกเป็นเส้นทาง R3A : ไทย - ลาว – จีน และ
Subregion : GMS) เส้นทาง R3B : ไทย – เมียนมา – จีน บนเส้นทางนี้ส่งผล
กระทบโดยตรงกับภาคเหนือ คือจังหวัดเชียงรายที่เป็น
โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ประตูการค้าหลัก รัฐบาลได้จัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
ในอนภุ มู ิภาคลมุ่ น้ำโขง เป็นโครงการความร่วมมอื ระหว่าง พิเศษเชียงรายขึ้น โดยเส้นทาง R3A มีอำเภ อ
ประเทศสมาชิก 6 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ไทย สปป.ลาว เชียงของ อำเภอเชยี งแสน (ไทย) - เมืองหว้ ยทราย (สปป.
เวียดนาม สหภาพเมียนมา และจีนตอนใต้ โดยเน้นการ ลาว) เส้นทาง R3B อำเภอแม่สาย (ไทย) -ท่าขี้เหล็ก
พัฒนาความร่วมมือใน 9 สาขา ได้แก่ การคมนาคมขนสง่ (เมียนมา) เป็นเมืองคู่แฝดทางการค้า และทางภาคใต้ของ
พลังงาน การสื่อสารโทรคมนาคม การท่องเที่ยว การค้า ประเทศไทย มีจังหวัดสงขลา และนราธิวาสเป็นประตู
การลงทุน การเกษตร การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การคา้ หลกั กบั ประเทศมาเลเซีย โดยมีพ้นื ทอี่ ย่ตู รงข้ามกับ
สิ่งแวดล้อม และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่ง ด่านบูกิ๊ตกายูอิตัม (จังโหลน) รัฐเคดาห์ ส่วนด่าน
ก่อให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่ดีขึ้นใน ปาดังเบซาร์อยู่ตรงข้ามรัฐเปอร์ลิสของมาเลเซีย ส่วน
จังหวัดนราธิวาสมีอำเภอตากใบ อำเภอสไุ หงโก-ลก (ไทย)

2-9

– บูเก๊ะตา รัฐกลันตัน (มาเลเซีย) เป็นเมืองคู่แฝดทาง โดยประกอบด้วย 3 เส้นทางย่อย (Subcorridor) และ 1
การคา้
เส้นทาง Intercorridor ดงั น้ี
• เส้นทางสายกลาง (Central
Subcorridor) ได้แก่ คุนหมิง - ฮานอย - ไฮฟอง (Hai • Northern Subcorridor เ ร่ิ ม
Phong - เวยี ดนาม) เสน้ ทางในไม่ผา่ นประเทศไทย
จากกรุงเทพฯ – อรัญประเทศ – ปอยเปต – เสียมเรียบ -
• เส้นทางสายตะวันออก
(Eastern Subcorridor) ได้แก่ หนานหนิง -ฮานอย สตึงเตรง็ – รตั นครี ี - Ou Ya dav – PleiKu - Quy Nhon
เส้นทางในไมผ่ า่ นประเทศไทย
รวมระยะทางกว่า 1,150 กิโลเมตร เป็นเส้นทางเชื่อมโยง
(2) แนวระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-
ตะวันตก (East-West Economic Corridor: EWEC) แหล่งท่องเที่ยวสำคัญระดับโลก และแหล่งท่องเที่ยวเชิง
หรือเรียกว่า “เส้นทางหมายเลข 9” (R9) มีระยะทางรวม
กว่า 1,300 กิโลเมตร เชื่อมโยงทะเลจีนใต้กับมหาสมุทร นิเวศ จากกรุงเทพฯ สู่นครวัด และเขาพระวิหารใน
อินเดีย (ทะเลอันดามัน) เริ่มต้นจากท่าเรือดานัง (Da
Nang Port - เวียดนาม) ผ่านลาว - ไทย - ไปท่าเรือเมาะ ราชอาณาจักรกัมพชู า ผา่ นตอนกลางของเวียดนามสู่พ้ืนท่ี
ละแหมง่ หรือเมาะลำไย (Mawlamyine Port – เมียนมา)
ตัดกับเส้นทางแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือใต้ท่ีจังหวดั ตาก ชายฝงั่ เวียดนาม
และพษิ ณโุ ลกโดยเป็นเส้นทางการขนส่งทางทะเลเชือ่ มโยง
ระหว่างทะเลจีนใต้กับมหาสมุทรอินเดีย เป็นเส้นทาง • Central Subcorridor เริ่มจาก
สำคัญที่ผ่านประเทศไทยส่งผลกับภาคเหนือ และ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยภาคเหนือ มีอำเภอแม่สอด กรุงเทพฯ–อรัญประเทศ-ปอยเปต-พนมเปญ–บาเวต–
จังหวัดตาก เป็นประตูการค้าเชื่อมโยงกับเมียนมาและ
เอเชียใต้ ซึ่งมีเมืองแม่สอด – เมืองเมียวดี (เมียนมา) เป็น โฮจมิ นิ ท–์ วุ่งเตา่ ซงึ่ เสน้ ทางนี้เป็นการเชอ่ื มโยงเมืองสำคัญ
เมืองคูแ่ ฝดทางการค้า ทางด้านตะวันตกของประเทศ และ
รัฐบาลได้จัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตากขึ้น ส่วน ทางการค้าของไทย กัมพูชา และเวียดนาม
ทางด้านตะวันออกมีจังหวัดนครพนม (ไทย) – เมืองท่า
แขก (สปป.ลาว) และจังหวักมุกดาหาร - สะหวันนะเขต มีระยะทางรวมกันกว่า 1,005 กิโลเมตร
(สปป.ลาว) เปน็ เมืองคูแ่ ฝดทางการค้า
• Southern Coastal
(3) แนวระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้
(Southern Economic Corridor: SEC) เป็นเส้นทาง Subcorridor เป็นการเชื่อมโยงพื้นที่ Eastern Seaboard
เช่อื มโยงระหวา่ งไทย - ราชอาณาจักรกัมพชู า - เวียดนาม
ของไทยกบั ชายฝ่งั ของราชอาณาจกั รกมั พชู า และเปน็ ส่วน

หนึ่งของเส้นทางชายฝั่งทะเลไทย กัมพูชา และเวียดนาม

(R10) โดยเริ่มจากกรุงเทพฯ–ตราด–เกาะกง–กำปอด–ฮา

เตียน–Ca Mau – Nam Can รวมระยะทาง 970 กิโลเมตร

• Inter- corridor Link เ ป็ น

เส้นทางแนวต้ังผ่านราชอาณาจักรกัมพชู าและลาว โดยจะ

เชื่อมเส้นทาง 3 เส้นหลักก่อนหน้า และปัจจุบันได้ขยาย

แนวเส้นทางไปทางตะวันตก ผ่านด่านพุน้ำร้อน

จังหวัดกาญจนบุรี ไปสิ้นสุดที่เมืองทวายของเมียนมา จึง

ส่งผลกับภาคกลางของประเทศไทย ทำให้รัฐบาลประกาศ

ให้พืน้ ที่บา้ นพุน้ำรอ้ น อำเภอเมือง จังหวดั กาญจนบุรี เป็น

เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ เชื่อมโยงไปยังโครงการท่าเรือ

น้ำลึกและนิคมอุตสาหกรรมทวาย ที่อยู่ห่างจากจังหวัด

กาญจนบรุ ปี ระมาณ 160 กโิ ลเมตร

2-10

ท่ีมา http://www.learningstudio.info/asean-gms-economic-corridors/

รูปที่ 2.1.2-4 เส้นทางแนวระเบียงเศรษฐกจิ

2-11

5) ข้อตกลงความรว่ มมือระหวา่ งประเทศ ร่วมกันในลักษณะ Five Countries One Destination
ลุม่ แม่น้ำอิระวะดี-เจ้าพระยา-แม่โขง รวมทงั้ การจัดทำ ACMECS Single Visa
(Aeyawadee-Chaopraya-Mekong Economic
(6) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มี
Coorperation : ACMECS) วัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของประชาชนและ
ข้อตกลงความร่วมมือระหว่างประเทศลุ่ม สถาบันต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศเพื่อนบ้านเพ่ือ
เตรียมพร้อมสำหรับการแข่งขันในระดับโลก โดยเน้นการ
แม่น้ำอิระวะดี-เจ้าพระยา-แม่โขง เป็นกรอบความร่วมมือ ฝึกอบรมบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถเพื่อสนับสนนุ
ทางเศรษฐกิจในระดับอนุภูมิภาค ร่วมมือของ 5 ประเทศ การดำเนินโครงการในสาขาความร่วมมือต่าง ๆ ของ
คือ ไทย กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา และเวียดนาม จัดตัง้ ACMECS
ขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์จากความแข็งแกร่งและความ
หลากหลาย ของทั้งห้าประเทศสมาชิกเพื่อส่งเสริม (7) การสาธารณสุข มีวัตถุประสงค์เพื่อ
การพัฒนาอย่างสมดุล ภายใต้ความร่วมมือ 8 สาขา ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกันในการป้องกัน และการ
ประกอบดว้ ย สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังโรคระบาดร้ายแรงต่าง ๆ รวมถึง
การแลกเปลย่ี นข้อมูล และการถ่ายทอดความรู้
(1) การค้าและการลงทนุ มวี ัตถุประสงค์
เพื่ออำนวยความสะดวกให้เกิดการเคลื่อนย้ายสินค้า (8) ส่ิงแวดล้อม เพ่ือส่งเสริมและอนุรักษ์
บริการ และเงนิ ทุนระหวา่ งไทยกบั ประเทศเพ่อื นบา้ น ผา่ น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในอนุภูมิภาคอย่าง
การขจัดอุปสรรคทางการค้าและการลงทุนต่าง ๆ รวมท้ัง ยง่ั ยืน
การพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยทั้งในด้านกฎหมาย
และด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่นการจัดตั้ง One-Stop ผลกระทบของ ACMECS ต่อประเทศและพนื้ ที่
Service ตามด่านชายแดน และการจัดตั้ง ACMECS ผลจากความร่วมมอื ทำให้ไทยสามารถเพ่มิ มูลค่า
Business Council เป็นต้น
การนำเข้าและส่งออก เกิดการลงทุนร่วมกันภายใน
(2) เกษตรกรรม เพิ่มประสิทธิภาพใน ประเทศในกลุ่มประเทศสมาชิก รวมถึงการเพิ่มมูลค่า
การผลิตบนพื้นฐานของความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ ผลผลิตทางการเกษตร อุตสาหกรรม และการโยกย้าย
รวมถึงการวิจัยและพัฒนา และการแบ่งปันความรู้และ แรงงาน ซ่ึงภาคกลาง ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคเหนอื
ข้อมูลข่าวสาร ตัวอย่างโครงการสำคัญ เช่น การทำ และภาคใต้ของประเทศไทย เป็นฐานการผลิตด้าน
Contract Farming เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมการเกษตรของประเทศ ซึ่ง
ทำให้ประเทศไทยเป็นตลาดใหญ่ในการนำเข้าและส่งออก
(3) อุตสาหกรรมและพลังงาน มีวัตถุ วัตถุดิบและสินค้าต่างไปยังภูมิภาคตา่ ง ๆ ในไทยและผ่าน
ประสงคเ์ พือ่ เพ่มิ ขีดความสามารถในดา้ นอุตสาหกรรมและ ไปยงั ชายแดนระหวา่ งประเทศ เนือ่ งจากมพี รมแดนติดกับ
พฒั นาพลังงานทดแทน และการอนรุ ักษพ์ ลังงาน ตัวอย่าง หลายประเทศ
โครงการ เชน่ การจัดตง้ั นคิ มอตุ สาหกรรมบริเวณชายแดน
และโครงการสาธิตจัดทำต้นแบบพลังงานชีวภาพใน 6) ความริเริ่มแห่งอ่าวเบงกอลสำหรับ
ประเทศสมาชิก ความร่วมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการและ
เศรษฐกิจ (Bay of Bengal Initiative Multi-Sectoral
(4) การคมนาคม มีวัตถุประสงค์เพื่อ Technical and Economic Cooperation : BIMSTEC)
พฒั นาและใชป้ ระโยชน์การเช่ือมโยงการเส้นทางคมนาคม
ระหวา่ งไทยกับประเทศเพื่อนบ้านเพือ่ อำนวยความสะดวก เป็นกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
ในทางการค้า การลงทนุ การผลติ และการทอ่ งเท่ียว โดย ระหว่างประเทศที่อยู่ในอนุทวีปเอเชียใต้และเอเชีย
เน้นการพัฒนาเส้นทางคมนาคมในส่วยที่ยังขาดหายใน ตะวันออกเฉียงใต้ ซงึ่ เกิดจากนโยบายมองตะวันตก (Look
แนวเขตเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (EWEC) รวมถึง West Policy) ของไทย โดยมีวัตถุประสงค์ให้ไทยเป็น
เสน้ ทางที่เชื่อมตอ่ จากแนวเขตเศรษฐกจิ ดงั กลา่ ว ศูนย์กลางเชื่อมโยงความร่วมมือทางเศรษฐกิจเพ่ือ
เสริมสร้างประโยชน์ร่วมกันทั้งในด้านการค้า การลงทุน
(5) การท่องเที่ยว มีวัตถุประสงค์เพ่ือ เทคโนโลยี คมนาคม การสื่อสาร พลังงาน การท่องเที่ยว
เพิ่มปริมาณนักท่องเที่ยวท้ังระหว่างไทยกับประเทศเพ่อื น และประมง รวมทั้งส่งเสรมิ การให้ความช่วยเหลือระหว่าง
บ้าน และนักท่องเที่ยวจากนอกภูมิภาค โดยรัฐบาล กัน ปัจจุบันมีสมาชิกรวม 7 ประเทศ ได้แก่ บังคลาเทศ
ส่งเสริมให้มีการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวในลักษณะ ภูฏาน อินเดีย เนปาล ศรีลังกา เมียนมาร์ และไทย โดยมี
การเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวของทั้ง 5 ประทศสมาชิก ความร่วมมือใน 14 สาขา ได้แก่ การค้าและการลงทุน

2-12

เทคโนโลยี การคมนาคมขนสง่ พลงั งาน ทอ่ งเที่ยว ประมง 7) ความร่วมมือระหว่างประเทศ กัมพูชา
เกษตร สาธารณสุข การจัดการสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ ลาว พม่า เวยี ดนาม (CLMV)
การต่อต้านการก่อการรา้ ยและอาชญากรรมขา้ มชาติ การ
ลดความยากจน วัฒนธรรม ปฏิสมั พนั ธใ์ นระดับประชาชน CLMV คือประเทศ กัมพูชา ลาว พม่า
และการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ โดยมีนโยบายใน 4 เวียดนาม เป็นประเทศในกลุ่ม ASEAN ที่มีแนวโน้ม
สาขา ไดแ้ ก่ การคมนาคมขนสง่ การคา้ การลงทนุ พลังงาน เศรษฐกิจ โตต่อเนื่องและยังมีแร่ธาตุทรัพยากรอุดม
วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว มรี ายละเอียดดงั น้ี สมบูรณ์ และยังมีค่าจ้างแรงงานไม่สูงนัก กลุ่มประเทศ
CLMV จึงเป็นประเทศที่มีคนสนใจเข้าไปลงทุนการผลิต
(1) การคมนาคมขนส่ง ไทยส่งเสริมการ และการตลาด แต่เนื่องด้วย CLMV นั้นมีพรมแดนติดกับ
พัฒนาความเชื่อมโยงภายใน BIMSTEC และระหว่าง ไทย ทุกประเทศจึงเหมาะมากที่ผู้ประกอบการไทยจะเข้า
BIMSTEC กับภูมิภาคอื่น ๆ และสนับสนุนการดำเนินการ ไปลงทุนหรือหาลูท่ างทางธุรกิจ
ตามการศึกษา BTILS ท่ีจัดทำโดย ADB และการทำงาน
ของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการคมนาคมใน 5 สาขา รวมถึง ประเทศกัมพูชา (C) ภาพรวมของกัมพูชา
การผลกั ดันโครงการท่าเรือนำ้ ลึกทวาย และถนนสามฝ่าย นั้น มีจุดเด่นที่ประชากรเพิ่มขึ้นมากทุกปี และมีกลุ่มที่มี
ระหว่างไทย-เมยี นมาร์-อินเดยี กำลังซื้อสูง และมีอุปสงค์ในการบริโภคสินค้าและบริการ
ทุกประเภทในปริมาณสงู แตย่ งั ไม่สามารถผลติ ได้เพียงพอ
(2) การค้าและการลงทุน ไทยผลักดันการ ต้องนำเข้าหลายอย่าง ซึ่งธุรกจิ ที่ชาวไทยนา่ เข้าไปลงทุนก็
จัดทำ BIMSTEC FTA ให้สำเรจ็ โดยใหม้ ีการลงนามความ มีที่ พนมเปญ พระตะบอง เสียมเรียบ ในส่วนพนมเปญ
ตกลงการค้า สินค้า พร้อมตารางข้อผูกพันภาษีภายในปี เมืองที่มีศักยภาพในการค้าของ SMEs ไทย ได้แก่กรุง
พ.ศ. 2554 พนมเปญ จังหวัดเสียมเรียบ และจังหวัดพระตะบอง ใน
ส่วนของกรุงพนมเปญ สนิ ค้าและบริการทุกอย่าง สามารถ
(3) พลังงาน ไทยผลักดันการเสริมสร้าง ขยายตัวทั้งปัจจุบัน และอนาคต จังหวัดพระตะบอง
ความร่วมมือด้านพลังงานระหว่างประเทศสมาชิก ประเภทสนิ คา้ ทมี่ ีศกั ยภาพ คือ สินคา้ เกษตร เคร่อื งจักรกล
โดยเฉพาะเรื่องพลังงานทดแทน พลังงานชีวภาพ และ เกษตร สินค้าอุปโภคบริโภค บริการท่องเที่ยวและธุรกิจ
พลงั งานนำ้ เกี่ยวเนื่อง ส่วนจังหวัดเสียมเรียบ ประเภทสินค้าที่มี
ศักยภาพ คือการท่องเที่ยวและธุรกิจต่อเนื่อง และกลุ่ม
(4) วัฒนธรรม การท่องเที่ยว และ สินค้าอุปโภคบริโภค ในส่วนจังหวัดพระตะบองที่มี
ปฏิสัมพันธ์ในระดับประชาชน ไทยสนับสนุนการส่งเสริม พรมแดนติดต่อกับไทย การค้าขายชายแดนนี้ ควรวาง
การทอ่ งเทย่ี วเชงิ วฒั นธรรมและศาสนาร่วมกนั ตำแหน่งสินค้าและบริการใหม้ ีภาพลักษณ์ด้านคุณภาพสูง
กว่าสินค้าจากมาเลเซียเล็กน้อย และราคาถูกกว่าสินค้า
ผลกระทบของ BIMSTEC ต่อประเทศและพนื้ ที่ จากเกาหลีใต้
ผ ล จ า ก ค ว า ม ร ่ ว ม ม ื อ จ ะ ช ่ ว ย เ ป ิ ด โ อ ก า ส ใ ห้
ประเทศลาว (L) สำหรับลาว ถือว่าเป็น
ประเทศไทยสามารถขยายความสัมพันธ์กับประเทศใน ประเทศที่มีสังคม วัฒนธรรม ใกล้เคียงกับประเทศไทย
ภูมิภาคเอเชียใต้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อคำนึงถึงการที่ มากที่สุดเมืองที่น่าสนใจ ในการค้า คือ เมืองหลวง
เอเชียใต้เป็นตลาดขนาดใหญ่ มีแหล่งวัตถุดิบ และ เวยี งจันทน์ แขวงหลวงพระบาง และแขวงจำปาสกั สนิ ค้า
ทรพั ยากรทสี่ ำคญั ต่าง ๆ อย่มู าก เชน่ ก๊าซธรรมชาติ และ ที่มีโอกาสทำตลาด ได้แก่ ประเภทสินค้าอุปโภคบริโภค
ศักยภาพในการผลิตไฟฟ้าพลังน้ำ ซึ่งจะเป็นการเพิ่ม โดยเฉพาะ สินค้ากลุ่มทำความสะอาดผ้า กลุ่มสินค้าเพื่อ
โอกาสให้ภาคเกษตรกรรมซึ่งเป็นสาขาการผลิตหลักใน สุขภาพความงาม เครื่องประดับมีดีไซน์ ยากันยุง หรือ
การส่งออกพืชพลังงาน การมีแหล่งพลังงานทดแทนใน ประเภทสนิ คา้ เกษตรและเครอื่ งจักรการเกษตร โดยเฉพาะ
อนาคต รวมถึงส่งผลให้แต่ละภาคของประเทศไทยเป็น เคร่ืองพรวนดนิ และกำจดั วชั พชื ขนาดเลก็ เครอื่ งจกั รแปร
ศูนย์กลางที่เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมขนส่งระหว่าง รูปสินค้าเกษตร กลุ่มสินค้าวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้าง กลุ่ม
ระเบียงเศรษฐกิจแนวเหนือ-ใต้, แนวตะวันออก-ตะวันตก สินค้าอะไหล่ ยานยนต์และรถยนต์ โดยเฉพาะล้อแม็กซ์
และแนวใต้ ที่เชื่อมประเทศในกลุ่มอาเซียน ประเทศ ฟิลม์ กรองแสง GPS เครอื่ งเสยี ง และอู่ซ่อมรถ ในส่วนของ
อินเดีย และประเทศจีนเข้าไว้ด้วยกัน เกิดการขยายตลาด สินคา้ บริการของไทย ท่มี ีศกั ยภาพในแต่ละเมอื งเป้าหมาย
การค้า การพัฒนารูปแบบการลงทุน และการปรับปรุง พบว่าเวียงจันทร์ สินค้าบริการ ที่มีศักยภาพ ได้แก่ ร้าน
ระเบยี บทางการค้าใหเ้ ขา้ สู่ระบบตลาดการค้าเสรที ่ัวโลก

2-13

กาแฟ อซู่ อ่ มรถ รา้ นอาหาร ร้านเสรมิ สวย เมืองหลวงพระ ฯลฯ โดย ต้องวางภาพลักษณ์เป็นสินค้าคุณภาพและ
บาง ได้แก่ ร้านอาหาร นวด-สปา อู่ซ่อมรถ ร้านกาแฟ แข่งขันในตลาดสินค้าระดับกลาง-บน ในส่วนของ
แขวงจำปาสกั ได้แก่ รา้ นอาหาร นวด-สปา โรงแรม อซู่ ่อม อุตสาหกรรม ก่อสร้าง ควรดำเนินการในลักษณะเป็น
รถ โดยช่องทางการ เข้าสู่ตลาดใน ลาว ส่วนใหญ่จะเป็น ผรู้ ับเหมาชว่ ง
การร่วมลงทุน ส่งออกทางออ้ ม และสง่ ออกทางตรง
ผลกระทบของ CLMV ตอ่ ประเทศและพนื้ ที่
ประเทศพม่า (M) หรือเมียนมาร์ เป็น CLMV มีความต้องการสินค้าจากไทยหลาก
ประเทศที่มีประชากรอยู่จำนวนมาก และยังไม่สามารถ
ผลิตปัจจัยสี่ได้เพียงพอ สภาพแวดล้อมทางสังคมและ หลาย ตั้งแต่สินคา้ อุปโภคบรโิ ภคท่ีใช้ในชีวิตประจำวัน ไป
วฒั นธรรม การนบั ถอื ศาสนาพทุ ธ วิถีชีวติ ความเชือ่ คล้าย จนถึงสินค้าวัตถุดิบ และสินค้าทุน ตลาด CLMV เป็น
กับไทย และเป็นจดุ รว่ มสำคัญทีส่ รา้ งโอกาสทางการตลาด ตลาดที่ค่อนขา้ งมีอนาคตสดใสสำหรับธุรกิจไทยในการรกุ
ให้กับสินค้าไทย ซึ่งชาวพม่ามีค่านิยมในการบริโภคสินค้า เปิดตลาด และขยายช่องทางการกระจายสินค้าให้
ที่ยึดติดกับตรา สินค้าโดยเฉพาะตราสินค้าไทยที่ชาวพมา่ กว้างขวางขึ้น โดยอาศัยปัจจัยสนับสนุนหลายด้าน อาทิ
รับรู้และเชื่อมั่นว่าเป็นสินค้าที่มีคุณภาพดี เมืองที่มี ความได้เปรียบเชิงที่ตั้งท่ีมีพรมแดนเชื่อมต่อกันทางบก
ศักยภาพทางการค้าสำหรับ ไทย ได้แก่ เมืองย่างกุ้ง เมือง ผ่านเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจสำคัญ การเปิดเสรีมากข้ึน
เมียวดี และเมืองมณั ฑะเลย์ ซ่ึงโอกาสของสินคา้ ไทยในแต่ ในสาขาการบริการ การลงทุน การเคลื่อนย้ายแรงงานที่มี
ละเมืองเป้าหมาย พบว่า เมืองย่างกุ้ง สินค้าที่มีศักยภาพ ทักษะ และเมื่อรายได้ประชากรในประเทศเพื่อนบ้าน
คือ กลุ่มสินค้าอุปโภคบริโภค กลุ่มสินค้าวัสดุอุปกรณ์ ขยายตัวสงู จะทำให้ความตอ้ งการสนิ คา้ จากไทยเพ่ิมข้นึ
ก่อสร้าง กลุ่มสินค้ายานยนต์และชิ้นส่วนอะไหล่ เมือง
เมยี วดี ไดแ้ ก่ กลมุ่ สนิ ค้า อุปโภคบริโภค กลมุ่ สินค้าเกษตร 8) กรอบความร่วมมือลุ่มน้ำล้านช้าง-
และเครื่องการเกษตร กลุ่มสินค้าวัสดุก่อสร้าง และกลุ่ม แมน่ ้ำโขง (Lancang-Mekong Cooperation -LMC)
สินคา้ ยานยนตแ์ ละ ชิน้ สว่ นอะไหล่ เมอื งมณั ฑะเลย์ สินคา้
ที่มีศักยภาพ ได้แก่ กลุ่มสินค้าเกษตรและเครื่องจักร กรอบความร่วมมือลุม่ น้ำล้านช้าง-แม่น้ำโขง
เกษตร และกลุ่มสนิ ค้าวัสดุก่อสร้าง (Lancang–Mekong Cooperation - LMC) เป็นกรอบ
ความร่วมมือระหว่างจีนกับประเทศในอาเซียนภาคพ้ืน
ประเทศเวียดนาม (V) ประเทศเวียดนาม ทวีป (ไทย เมียนมา ลาว กัมพูชา และเวียดนาม) เป็น
เป็นทั้งแหล่งผลิตและแหล่งตลาดที่สำคัญใน AEC กรอบความร่วมมือที่นายกรัฐมนตรีจีน หลี่ เค่อเฉียง ได้
มีศักยภาพพร้อมครบถ้วนทั้งนโยบายด้านการค้า การ นำเสนอในห้วงระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน – จีน
ลงทุนที่ชัดเจนและบังคับใช้ทั่วประเทศ และสำคัญคน ณ กรุงเนปิดอว์ เมื่อปี 2014 เพื่อร่วมกันพัฒนาพื้นที่ลุ่ม
เวียดนาม มีความรู้สึกที่ดีต่อสินค้าไทย สินค้าไทย แม่น้ำล้านช้าง – แม่น้ำโขงให้เกิดความยั่งยืนลดความ
ที่มีศักยภาพในตลาดเวียดนาม ได้แก่ อุปกรณ์ชิ้นส่วน เหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาระหว่างประเทศในพื้นที่แม่น้ำ
ร ถจ ั กร ย า นย นต์ แ ล ะ อะ ไ ห ล ่ อุ ป กร ณ ์ ต ก แ ต่ ง ล้านช้าง – แม่น้ำโขง และระหว่างพื้นที่แม่น้ำล้านช้าง –
รถจักรยานยนต์ วัสดุก่อสร้าง ธุรกิจซ่อมรถจักรยานยนต์ น้ำโขงกบั พื้นท่ีภมู ิภาคอ่นื ๆ
สินค้าอุปโภคบริโภค เครื่องสำอางค์ รวมถึงการทำ
ธุรกิจท่องเที่ยวแบบ Inbound Tourism และธุรกิจ จีนให้ความสำคญั กับการผลักดันกรอบความ
ต่อเนื่อง เช่น สปา ร้านอาหาร ภัตตาคาร เมืองที่มี ร่วมมือ LMC ไปสู่การปฏิบัติอยา่ งเป็นรูปธรรม เนื่องจาก
ศักยภาพทางเข้าทำการค้าด้วย ได้แก่ นครโฮจิมินห์ กรอบความร่วมมือ LMC จะส่งเสริมการพัฒนาทาง
นครเกิ่นเธอ และนครไฮฟอง โดยเฉพาะ นครไฮฟองนั้น เศรษฐกิจในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของจนี ซึง่ เป็นพ้ืนทท่ี ี่ขาด
บริษัทอสังหาริมทรัพย์ของคนไทยได้รับอนุมัติให้ดำเนิน ทางออกสู่ทะเล และเป็นกรอบความร่วมมือที่จีนได้แผ่
โ คร งการ หมู่บ้านจัดส ร ร ส ำหร ับผ ู้มีร ายไ ด้น้อยซึ่งเริ่ ม อิทธิพลในลักษณะอำนาจละมุน (Soft Power) ผ่านการ
ดำเนินงานในปี 2010 แล้ว การเข้าตลาดของสินค้าทุก สนับสนุนการพัฒนาที่สำคัญ ได้แก่ การพัฒนาความ
ประเภทในประเทศเวียดนาม ควรเริ่มต้นด้วยวิธีการส่ง รว่ มมอื ดา้ นทรัพยากรน้ำ การพฒั นาเสน้ ทางคมนาคม การ
สินค้า (Export) เข้า ไปจำหน่ายโดยผา่ นตัวแทนจำหน่าย สร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างพื้นที่ชายแดน
ที่มีใบอนญุ าตเท่าน้ัน ในส่วนของธรุ กิจบริการสามารถเขา้ การสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพฝีมือแรงงาน การขยาย
ตลาดด้วยการ ลงทุน 100% ร่วมทุนกับบริษัทท้องถิ่น ความร่วมมือด้านการเกษตร การสร้างความร่วมมือ ด้าน
การร่วมมอื ทางธรุ กจิ และการเช่าสถานท่ีพร้อมใบอนุญาต การสาธารณสุข

2-14

ผลกระทบของ LMC ตอ่ ประเทศและพืน้ ท่ี Zone) รัฐบาลลาวร่วมกับภาคเอกชนของจีน อายุ
ประเทศไทยกำลังเผชิญหน้ากับความท้าทายท่ี สัมปทาน 50 ปี ตัง้ อย่ทู เ่ี มืองต้นผึ้ง แขวงบ่อแก้ว ห่างจาก
อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ประมาณ 30 กิโลเมตร
จีนเป็นผู้กำหนดทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจและความ ความคืบหน้าปัจจุบันมีการลงทุนกว่า 40,000 ล้านบาท
มั่นคงซึ่งกรอบความรว่ มมือนี้มีนัยยะทางการเมืองของจีน แล้ว เมื่อเทียบกบั ทางประเทศไทยจะเห็นได้ว่าเขตพัฒนา
ที่มุ่งแข่งขันกับกรอบความร่วมมือ GNS ที่มีประเทศญี่ปนุ่ เศรษฐกิจพิเศษของ สปป.ลาว มีความคืบหน้ามากกว่า
เป็นผู้สนับสนุน โดยจีนเป็นประเทศต้นกำเนิดของแม่น้ำ ของไทย
โขงได้นำปัจจัยน้ีมากำหนดวาระการพัฒนา และควบคุม
การบริหารจัดการแม่นำ้ ล้านช้าง แม่น้ำโขง เช่น โครงการ ส่วนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเขต
สร้างเขื่อน โครงการเดินเรือ โครงการระเบิดแก่ง หาก พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษของ สปป.ลาว ที่มีอิทธิพลต่อ
สามารถทำให้ 5 ประเทศในอาเซียนภาคพื้นทวีปมีการ ประเทศไทย และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แบ่งออกเป็น
รวมกลุ่มกันเป็นเอกภาพ จะทำให้การเจรจากับจีนมี กลุ่มของนครหลวงเวยี งจันทร์มีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
นำ้ หนักมากขึน้ 5 เขต ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับจังหวัดหนองคาย กลุ่มของแขวง
คำม่วนมีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 2 แห่งคือ เขตพัฒนา
2.1.3 โครงการพัฒนาของประเทศเพือ่ นบ้านท่ี เศรษฐกิจพิเศษท่าแขก และเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
มอี ิทธพิ ลต่อการพัฒนาประเทศและภาค พูเขียว ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับจังหวัดนครพนม และเขตพัฒนา
1) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เศรษฐกิจพิเศษสะหวัน-เซโน (แขวงสะหวันนะเขต) ซึ่งอยู่
ตรงขา้ มกบั จังหวดั มกุ ดาหารของประเทศไทย
เป็นประเทศเพอ่ื นบา้ นท่มี ีความใกล้ชิดกับไทย
ทั้งในเชิงประวัติศาสตร์ ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ เชื้อชาติ นอกจากนี้ สปป.ลาว ยังมีโครงการรถไฟ
ศาสนา ภาษา และวัฒนธรรม ดังนั้นพัฒนาการต่าง ๆ ใน ความเร็วสูงสายคุนหมิง – เวียงจันทน์ ที่กำลังดำเนินการ
ลาวจึงส่งผลกระทบต่อไทยและการกำหนดนโยบายของ ก่อสร้างและจะเปิดให้บริการในปี 2565 จึงส่งผลให้
ไทยต่อภูมิภาคอย่างมาก โดยเฉพาะภาคตะวันออก ประเทศไทยดำเนนิ โครงการรถไฟความเร็วสงู กรงุ เทพฯ –
เฉียงเหนือ และภาคเหนือ โดยปลายปี 2554 รัฐบาล หนองคาย เพื่อเชื่อมต่อการคมนาคมขนส่งทางรางให้
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ได้จัดทำแผน ครบถว้ นสมบรู ณอ์ กี ด้วย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ (Special
Economic Zone) และเขตเศรษฐกิจเฉพาะ (Specific 2) ราชอาณาจกั รกมั พูชา
Economic Zone) ในสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชน ข้อมูลถึงสน้ิ ปี 2556 ประเทศกัมพชู ามีเขต
ลาว ระหว่างปี 2554 – 2563 เพื่อเร่งรัดการพัฒนา
เศรษฐกิจตามทิศทางการพัฒนาประเทศของรัฐบาล เศรษฐกิจ ที่ได้รับการอนุมัติจาก สภาเพื่อการพัฒนา
ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 7 กัมพูชา (CDC) และคณะกรรมการเขตเศรษฐกิจพิเศษ
คณะกรรมการแห่งชาติเพื่อคุ้มครองเขตเศรษฐกิจพิเศษ กัมพูชา (CSEZB) จำนวน 25 แห่ง ใน 9 จังหวัด มีการตัง้
และเขตเศรษฐกิจเฉพาะ (กองเลขาสังกัดสำนักงาน โรงงานในเขตอุตสาหกรรมแล้วจำนวน 10 แห่ง ส่วนอีก
นายกรัฐมนตรี) ทำหน้าที่กำกับดูแลและอนุมัติการจัดตั้ง 15 แห่งยังอยู่ระหว่างการพัฒนา หรือยังไม่มีการ
เขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะ รวมท้ัง ดำเนนิ การ
แต่งตั้งคณะบริหารและสภาบริหารเศรษฐกิจของเขต
เศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะ ปัจจุบันมี 11 สำหรับเขตพฒั นาเศรษฐกิจที่มอี ิทธิพลกบั
เขต ตามแผนยุทธศาสตร์ข้างต้น ลาวกำหนดจะจัดตั้งเขต ประเทศไทยมากที่สุดคือ เขตเศรษฐกิจพิเศษปอยเปต-โอ
เศรษฐกิจพิเศษและเขตเศรษฐกิจเฉพาะเพิ่มอีก 30 แห่ง เนียง อยู่ห่างจากชายแดนประมาณ 40 กิโลเมตร
รวมเป็น 41 แห่ง ภายในปี 2563 แยกเป็นเขตเศรษฐกิจ ประกอบด้วยพน้ื ท่เี ขตอุตสาหกรรม เขตการค้า และเขตท่ี
พิเศษ 7 แห่งและเขตเศรษฐกิจเฉพาะด้านการค้า การ อยู่อาศัยโดยพื้นที่เขตอุตสาหกรรมระยะแรก (Export
บริการ และการท่องเที่ยว 29 แห่ง เขตเศรษฐกิจเฉพาะ Processing Zone) มีประมาณ 2,424 ไร่ อุตสาหกรรม
ด้านอุตสาหกรรมแปรรูป 5 แห่ง ซึ่งในจำนวนดังกล่าวอยู่ เป้าหมาย ได้แก่ อุตสาหกรรมแปรรูปเกษตร และ
ในแขวงทม่ี ชี ายแดนติดกับไทยถึง 17 แห่ง อตุ สาหกรรมส่งิ ทอเครื่องนุ่งหม่ และตัดเยบ็ เส้ือผ้า

โดยเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษของ สปป. และพื้นที่ชายแดนจังหวัดเกาะกง มีเขต
ลาวท่ีมีอิทธิพลตอ่ ภาคเหนือไดแ้ ก่ เขตเศรษฐกจิ พิเศษสาม เศรษฐกิจพิเศษ/นิคมอุตสาหกรรมเกาะกง ตั้งห่างจาก
เหลี่ยมทองคำ (Golden Triangle Special Economic ชายแดนไทยบริเวณอำเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด
ประมาณ 2 กิโลเมตร มีพื้นที่ 2,121 ไร่ ห่างจากท่าเรือ
สีหนุวิลล์ของกัมพูชาในระยะ 233 กิโลเมตร มีอิทธิพลต่อ

2-15

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยเป็นส่วนใหญ่ พัฒนาอตุ สาหกรรมและบรกิ ารอย่างย่งั ยนื โดยแบ่งเปน็ 5
ส ำ ห ร ั บ พ ื ้ น ท ี ่ โ ค ร ง ก า ร ก า ร ต ิ ด ต า ม แ ล ะ ว ิ เ ค ร า ะ ห์ รปู แบบ คอื อตุ สาหกรรมชวี ภาพ อุตสาหกรรมและบรกิ าร
สถานการณพ์ ้นื ที่ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ไมค่ อ่ ยมีผลต่อ การแพทย์ครบวงจร อุตสาหกรรมและบรกิ ารดจิ ทิ ัล ข้อมลู
การพัฒนาเท่าท่คี วร และปัญญาประดิษฐ์ อุตสาหกรรมและบริการขนส่งและ
โลจสิ ตกิ ส์ และอตุ สาหกรรมความม่นั คงของประเทศ
2.2 นโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงาน
2.3 สร้างความหลากหลายด้าน
โครงการทส่ี ำคัญ การทอ่ งเท่ยี ว มงุ่ พฒั นาธุรกจิ ด้านการท่องเทีย่ วให้มมี ลู คา่
สูงเพิ่มมากยิ่งขึ้น ด้วยอัตลักษณ์และวัฒนธรรมไทย นำ
2.2.1 นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนา เทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้ามาอำนวยความสะดวกแก่
นักท่องเที่ยวทุกกลุ่ม รวมถึงคนพิการและผู้สูงอายุ การ
ระดับประเทศและภาค ส่งเสริมการท่องเที่ยวพำนักระยะยาว ตลอดจนส่งเสริม
1) ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน ระบบนิเวศ และทรพั ยากรท่ี
เอื้อต่อการเติบโตของการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ โดย
ยุทธศาสตร์ชาติ มีเป้าหมายในการเพ่ิม แบ่งเป็น 5 รูปแบบ คือ ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และ
ศักยภาพการแข่งขันของประเทศ โดยพัฒนาขีด วฒั นธรรม ท่องเที่ยวเชิงธุรกจิ ทอ่ งเทยี่ วเชิงสุขภาพ ความ
ความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ ลดความเหลื่อมล้ำใน งาม และแพทย์แผนไทย และท่องเที่ยวสำราญทางน้ำ
สังคม เพิ่มประสิทธิภาพ และธรรมาภิบาลของภาครัฐ ทอ่ งเท่ียวเชอื่ มโยงภูมิภาค
และเอกชนโดยเน้นการเติบโตบนการรักษาทรัพยากร
ธรรมชาติ และบรรลุวิสัยทศั น์ “ประเทศไทยมีความม่ันคง 2.4 โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย
มั่งคั่งยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตาม เชอ่ื มโลก โครงสร้างพน้ื ฐานเป็นส่ิงจำเป็นสำหรับประเทศ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยยุทธศาสตร์ชาติ ไทยในการก้าวสู่การเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจอาเซียน
ที่จะใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาในระยะ 20 ปี (พ.ศ. โครงสร้างพื้นฐานจะครอบคลุมถึงโครงสร้างพื้นฐานทาง
2561-2580) ประกอบด้วย 6 ยทุ ธศาสตร์ ได้แก่ กายภาพในด้านโครงข่ายคมนาคม พื้นที่และเมือง รวมถึง
เทคโนโลยี ตลอดจนโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
(1) ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง แบ่งเป็น 4 ประเด็น คือ เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมไร้
เป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคง รอยตอ่ สร้างและพฒั นาเขตเศรษฐกิจพเิ ศษ เพิม่ พน้ื ที่และ
ประชาชนมีความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะ เมืองเศรษฐกิจ และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยี
แวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราช สมัยใหม่
อธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับ ตั้งแต่
ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เครื่องมือ (3) ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและ
เทคโนโลยี และระบบฐานขอ้ มลู ขนาดใหญ่ เสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ เพ่อื พัฒนาคนในทุก
มิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ มี
(2) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความ ทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่สาม และอนุรักษ์
สามารถในการแขง่ ขัน เป้าหมายการพัฒนาที่มุ่งเนน้ การ ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเอง
ยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บน ให้เป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกรรม นักคิด
พื้นฐานแนวคิด 3 ประการคือ ต่อยอดอดีต ปรับปัจจุบัน ผ้ปู ระกอบการ เกษตรกรยุคใหม่ โดยมีประเด็นทเี่ กย่ี วข้อง
และสรา้ งคุณคา่ ใหมอ่ นาคต กับการพฒั นาพน้ื ท่ภี าค

2.1 การเกษตรสร้างมูลค่า เน้น 2.1 การพัฒนาศักยภาพคนตลอด
เกษตรคุณภาพสงู และขบั เคลื่อนการเกษตรดว้ ยเทคโนโลยี ช่วงชีวิต มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกช่วงวัย
และนวัตกรรม ที่ให้ความสำคัญกับการเพิ่มผลิตภาพการ ตั้งแต่ช่วงการตัง้ ครรภ์ ปฐมวัย วัยเด็ก วัยรุ่น วัยเรียน วัย
ผลิตทั้งเชิงปริมาณและมูลค่า และความหลากหลายของ ผู้ใหญ่ วัยแรงงาน และวัยผู้สูงอายุ เพื่อสร้างทรัพยากร
สินค้าเกษตร แบง่ เปน็ 5 รปู แบบ คือ เกษตรอัตลักษณ์พ้ืน มนุษยท์ ี่มศี กั ยภาพ มที ักษะความรู้ เปน็ คนดี มวี ินัย เรยี นรู้
ถิ่น เกษตรปลอดภัย เกษตรชีวภาพ เกษตรแปรรูป และ ได้ด้วยตนเองในทุกชว่ งวยั โดยเฉพาะชว่ งวยั แรงงานที่เป็น
เกษตรอจั ฉรยิ ะ ตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ จะต้องยกระดับ
ศกั ยภาพ ทกั ษะ พฒั นาความรู้ แรงงานฝมี อื ความชำนาญ
2.2 อุตสาหกรรมและบริการแห่ง พิเศษแรงงาน ให้เหมาะสมกับงาน เพ่ื อให้เกิด
อนาคต การสรา้ งอตุ สาหกรรมและบรกิ ารแหง่ อนาคตดว้ ย
นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพิ่มบุคลากรที่มีทักษะและ
ความรู้ตามความต้องการของตลาด สร้างระบบนิเวศ
อุตสาหกรรมและบริการที่เหมาะสม และสนับสนุนการ

2-16

ประสิทธิภาพสูงสุด และช่วงวัยสูงอายุที่จะต้องมีการ ท่ีมา : สำนกั งานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ
ส่งเสรมิ ใหม้ ีการทำงานท่ีเหมาะกบั ศักยภาพหลงั เกษียณ มี
การสร้างเสริมสุขภาพ ฟื้นฟูสุขภาพ การป้องกันโรคให้แก่ รปู ที่ 2.2.1-1 กรอบการพัฒนายุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
ผู้สูงอายุ เพื่อเป็นการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศอกี (พ.ศ. 2561-2580)
ทางหนง่ึ
2) ไทยแลนด์ 4.0
2.2 การตระหนักถึงพหุปญั ญาของ ไทยแลนด์ 4.0 เป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบาย
มนุษย์ที่หลากหลาย คือ ผู้ที่ความสามารถหลากหลาย
เช่น ภาษา ตรรกะและคณิตศาสตร์ ด้านทัศนะและมิติ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย หรือ โมเดลพัฒนา
ดนตรี กีฬาและการเคลื่อนไหวของร่างกาย เป็นต้น โดย เศรษฐกิจ ของรัฐบาลภายใต้การนำของพลเอกประยุทธ์
สร้างเสริมศักยภาพของคนเหล่านี้ให้สามารถต่อยอดการ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้าคณะรักษาความ
ประกอบอาชพี ไดอ้ ย่างมั่นคง สงบแห่งชาติ (คสช.) ที่บริหารประเทศบนวิสัยทัศน์
“มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” โดยมีภารกิจสำคัญในการ
(4) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาส ขับเคลื่อนปฏริ ูปประเทศด้านตา่ ง ๆ เพอ่ื ปรับแก้ จดั ระบบ
ความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม เพื่อพัฒนา ปรับทิศทาง และสร้างหนทางพัฒนาประเทศให้เจริญ
ศักยภาพคนให้สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศ สามารถรับมือกับโอกาสและภัยคุกคามแบบใหม่ ๆ ท่ี
และลดความเหลื่อมล้ำในสังคม โดยมีเป้าหมายที่จะ เปล่ียนแปลงอยา่ งเร็วรุนแรงในศตวรรษท่ี 21 ได้
พัฒนาคนให้มีคุณภาพและมีความมั่นคงทั้งทางด้าน
เศรษฐกิจและสังคมมีโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากรอย่าง โมเดลพัฒนาเศรษฐกิจ จะดำเนินการ
ทั่วถึงและเป็นธรรม และมีการพัฒนาสภาพแวดล้อมให้ ป ร ั บ เ ป ล ี ่ ย น โ ค ร งส ร ้ า งเ ศ ร ษ ฐ ก ิ จ เ ด ิ ม ไ ป สู่ เ ศ ร ษ ฐ ก ิ จท่ี
เอื้อตอ่ การมีคุณภาพชวี ติ ที่ดีในสังคมสงู วัย ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (value–based economy)
โดยมีฐานคิดหลัก คือ การขับเคลื่อนประเทศด้วย
(5) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการ ภาคอุตสาหกรรมไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี
เติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม โดยมีกลุ่มเทคโนโลยี
มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพื่อนำไปสู่การบรรลุ และอตุ สาหกรรมเป้าหมาย ดงั น้ี
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติทั้งด้านสังคม
เศรษฐกิจ สงิ่ แวดลอ้ มธรรมาภบิ าล และความเป็นหุ้นส่วน (1) กลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยี
ความร่วมมือระหว่างกัน ทั้งภายในและภายนอกประเทศ ชีวภาพ เช่น สร้างเส้นทางธุรกิจใหม่ (new startups)
อย่างบูรณาการ บนพืน้ ฐานการเตบิ โตรว่ มกัน ไมว่ า่ จะเปน็ ด้านเทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยอี าหาร เปน็ ต้น
ทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิต โดยมี
ประเด็นทเี่ กยี่ วข้องกับการพฒั นาพื้นทภ่ี าค ดังนี้ (2) กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และ
เทคโนโลยีทางการแพทย์ เช่น พัฒนาเทคโนโลยีสุขภาพ
5.1 สร้างการเติบโตอย่างย่ังยืนบน เทคโนโลยกี ารแพทย์ สปา เป็นต้น
สงั คมเศรษฐกิจสเี ขียว
(3) กลุ่มเครื่องมือ อุปกรณ์อัจฉริยะ
5.2 สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบน หุ่นยนต์ และระบบเครื่องกลที่ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์
สงั คมเศรษฐกิจภาคทะเล ควบคมุ เช่น เทคโนโลยีหุน่ ยนต์ เป็นต้น

5.3 พัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท (4) กล่มุ ดจิ ิทลั เทคโนโลยอี ินเตอร์เน็ตที่
เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มุ่งเน้นความเป็น เชื่อมต่อและบังคับอุปกรณ์ต่าง ๆ ปัญญาประดิษฐ์และ
เมืองท่เี ติบโตอย่างต่อเนื่อง เทคโนโลยีสมองกลฝังตัว เช่น เทคโนโลยีด้านการเงิน
อุปกรณ์เชื่อมต่อออนไลน์โดยไม่ต้องใช้คน เทคโนโลยี
5.4 พัฒนาความมั่นคงน้ำ พลังงาน การศกึ ษา อ–ี มารเ์ กต็ เพลส อี–คอมเมริ ์ซ เป็นต้น
และเกษตรทเี่ ปน็ มิตรตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม
(5) กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
(6) ยทุ ธศาสตร์ด้านการปรบั สมดลุ และ วัฒนธรรม และบริการที่มีมูลค่าสูง เช่น เทคโนโลยีการ
พัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มีโดยภาครัฐต้อง
มีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ ต้องพร้อมที่จะ
ปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูล
ขนาดใหญ่ ระบบการทำงานทเ่ี ปน็ ดิจทิ ัลเขา้ มาประยกุ ตใ์ ช้
อยา่ งคุ้มค่า

2-17

ออกแบบ ธุรกิจไลฟ์สไตล์ เทคโนโลยีการท่องเที่ยว การ รูปธรรม ซึ่งแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ได้มีการกำหนด
เพิม่ ประสิทธภิ าพการบริการ เป็นต้น ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไว้ 10 ประการ ซึ่งเป็น
กรอบแนวทางการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะยุทธศาสตร์
รูปที่ 2.2.1-2 โมเดลประเทศไทย 1.0 ถึง 4.0 ท่ี 9 วา่ ด้วยการพัฒนาภาค เมือง และพน้ื ท่เี ศรษฐกิจ ที่
มีกำหนดแนวทางการพัฒนาพื้นที่ภาคเพื่อตอบสนอง
3) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป้าหมายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมตามที่กำหนดไว้
ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) มีสาระสำคญั ดังน้ี

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (1) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนา
เป็นกรอบและแนวทางในการพัฒนาประเทศในแตล่ ะช่วง ศักยภาพทุนมนุษย์
ระยะเวลา 5 ปี โดยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2504 ที่มีการ
ประกาศใช้แผนดังกล่าวเป็นครั้งแรก มาจนถึงปัจจุบัน (2) ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรม
มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติมาแล้วทั้งหมด และลดความเหลื่อมล้ำในสังคม มีประเด็นสำคัญๆ คือ
12 ฉบบั ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติฉบบั ที่ กระจายการให้บริการภาครัฐทั้งด้านการศึกษา
12 (พ.ศ. 2560 – 2564) จะยึดหลัก“ปรัชญาของ สาธารณสุข และสวัสดิการที่มีคุณภาพให้ครอบคลุมและ
เศรษฐกิจพอเพียง” ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ทั่วถงึ
ฉบับก่อนหน้า เพื่อให้การพัฒนาในทุกมิติมีการบูรณาการ
บนทางสายกลาง มีความพอประมาณ มีเหตุผล รวมถึงมี (3) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเขม้ แข็งทาง
ระบบภูมิคุ้มกันที่ดี รวมทั้งต้องมุ่งเน้นให้ “คนเป็น เศรษฐกจิ และแขง่ ขันไดอ้ ย่างยงั่ ยืน
ศูนย์กลางการพัฒนา” สร้างความมั่นคงของชาติ โดย
พัฒนาคนทุกวัยให้เป็น คนดี คนเก่ง มีศักยภาพ และ (4) ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับ
ความคดิ สรา้ งสรรค์ ซึ่งแผนการพัฒนาในช่วง 5 ปี ภายใต้ ส่ิงแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอยา่ งย่ังยืน
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 เป็นการกำหนดเป้าหมาย
นโยบาย ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาท่ีสอดคล้อง (5) ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความมั่นคง
กบั เปน็ ชว่ งเวลา 5 ปแี รกของการขบั เคลื่อนยุทธศาสตร์ แห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและยั่งยืน มี
ชาติ 20 ปี ทเี่ ป็นกรอบการพัฒนาประเทศในระยะยาว ประเด็นสำคัญๆ คือ การส่งเสริมความร่วมมือกับ
ต่างประเทศด้านความมั่นคง เพื่อบูรณาการความร่วมมือ
แผนฉบับนี้ได้กำหน ดยุทธศาสตร์ กับมิตรประเทศเพื่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สังคม
ยุทธศาสตร์การพัฒนา การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่ และการป้องกันภยั คุกคามข้ามชาติ
เศรษฐกิจ ที่มุ่งเน้นการสร้างความเข้มแข็งของฐานการ
ผลิตและบรกิ ารเดมิ และขยายฐานการผลติ และบรกิ ารใหม่ (6) ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ
ที่สร้างรายไดส้ ำหรับประชาชนในภาค การพัฒนาเมืองให้ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลใน
เติบโตอย่างมีคุณภาพ การพัฒนาและฟื้นฟูพื้นที่บริเวณ สังคมไทย
ชายฝั่งทะเลตะวันออกให้รองรับการขยายตัวของ
ภาคอุตสาหกรรมแห่งอนาคตอย่างมีสมดุล และการ (7) ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้าง
บรหิ ารจัดการ พ้นื ที่เศรษฐกจิ ชายแดนใหเ้ จริญเติบโตและ พื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ มุ่งเน้นการขยายขีด
แข่งขันได้อย่างยั่งยืน รวมทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพกลไก ความสามารถและพัฒนาคุณภาพการให้บริการ เพ่ือ
การขบั เคลื่อนการพัฒนาภาคและเมืองใหเ้ กดิ ผลอย่างเป็น รองรับการขยายตัวของเมืองและพ้ืนท่เี ศรษฐกิจหลัก และ
สง่ เสรมิ การพฒั นาคุณภาพชวี ิตของทุกกลมุ่ ในสังคม

(8) ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี วิจยั และนวตั กรรม

(9) ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และ
พื้นที่เศรษฐกิจ ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 นี้มุ่งเน้นการ
พัฒนาและเร่งดำเนินการในประเด็นท้าทาย ได้แก่การ
สร้างความเข้มแข็งของฐานการผลิตและบริการเดิมและ
ขยายฐานการผลิตและบริการใหม่ที่สร้างรายได้สำหรับ
ประชาชนในภาค การพัฒนาเมอื งให้เตบิ โตอยา่ งมีคุณภาพ
การพฒั นาและฟ้ืนฟพู ืน้ ทบี่ รเิ วณชายฝ่ังทะเลตะวันออกให้
รองรบั การขยายตวั ของภาคอตุ สาหกรรมแหง่ อนาคตอยา่ ง
มีสมดุล และการบริหารจดั การพืน้ ที่เศรษฐกิจชายแดนให้
เจริญเติบโตและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ซึ่งมีประเด็น

2-18

สำคัญๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาพื้นที่ภาค คือ การ ชยั ภมู ิ) และกลุ่มจงั หวัดภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ตอนล่าง
พัฒนาภาคเพื่อสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้กระจาย 2 (อบุ ลราชธานี อำนาจเจรญิ ศรสี ะเกษ ยโสธร)
ตัวอย่างทั่วถึง และการพฒั นาเมือง
จากยุทธศาสตร์ในการพัฒนาทั้งภาค
(10) ยุทธศาสตร์ที่ 10 ความร่วมมือ ตะวันออกเฉียงเหนือ และกลุ่มจังหวัดจะส่งผลต่อการ
ระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา ทางการคา้ และการลงทุน พัฒนาพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยสามารถสรุป
ทางเศรษฐกิจ ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาทางสังคม สาระสำคญั ได้ดังน้ี
สิ่งแวดล้อมและความร่วมมือด้านความมั่นคงในมิติตา่ ง ๆ
ในทุกกรอบความร่วมมือท้ังระดับอนุภูมิภาค ภูมิภาค และ (1) กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียง
ระดบั โลก เหนือตอนบน 1 (อุดรธานี หนองคาย เลย หนองบัวลำภู
บึงกาฬ) กำหนดให้เป็นศูนย์กลางการพัฒนาเศรษฐกิจ
โดยแผนฉบับนี้ได้กำหนดยุทธศาสตร์ การท่องเที่ยวเชิงอัตลักษณ์ และการเกษตรปลอดภัย ท่ี
ยุทธศาสตร์การพัฒนา การพัฒนาภาค เมือง และพื้นท่ี เป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อมของอนภุ มู ภิ าคลมุ่ แม่น้าโขง
เศรษฐกิจ ที่มุ่งเน้นการสร้างความเข้มแข็งของฐานการ
ผลติ และบรกิ ารเดิมและขยายฐานการผลติ และบรกิ ารใหม่ (2) กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียง
ที่สร้างรายไดส้ ำหรับประชาชนในภาค การพัฒนาเมืองให้ เหนือตอนบน 2 (สกลนคร นครพนม มุกดาหาร) ส่งเสริม
เติบโตอย่างมีคุณภาพ การพัฒนาและฟื้นฟูพื้นที่บริเวณ การเกษตรด้วยนวัตกรรม ท่องเที่ยว 3 ธรรม เชื่อมโยง
ชายฝั่งทะเลตะวันออกให้รองรับการขยายตัวของ 3 ประเทศ ม่งุ พฒั นาเศรษฐกจิ สู่อาเซียน
ภาคอุตสาหกรรมแห่งอนาคตอย่างมีสมดุล และการ
บรหิ ารจัดการ พ้ืนทเ่ี ศรษฐกจิ ชายแดนให้เจรญิ เติบโตและ (3) กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียง
แข่งขันได้อย่างยั่งยืน รวมทั้งการเพิ่มประสิทธิภาพกลไก เหนือตอนกลาง (ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหาสารคาม
การขับเคลอ่ื นการพัฒนาภาคและเมืองให้เกดิ ผลอย่างเป็น กาฬสินธุ์) เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร
รูปธรรม เชื่อมโยงการบริการ การท่องเที่ยว และโลจิสติกส์ สู่
อนุภูมิภาคลุ่มนำ้ โขง
ทีม่ า: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคม
แห่งชาติ (4) กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียง
เหนือตอนล่าง 1 (นครราชสีมา สุรินทร์ บุรีรัมย์ ชัยภูมิ)
รปู ท่ี 2.2.1-3 กรอบวสิ ัยทศั น์และเป้าหมายแผนพฒั นา เป็นศูนย์กลางเกษตรอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ไหม การ
เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 ทอ่ งเทยี่ วอารยธรรมขอม และการค้าชายแดน

4) ยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาค (5) ก ล ุ ่ ม จ ั ง ห ว ั ด ภ า ค ต ะ ว ั น อ อ ก
ตะวันออกเฉยี งเหนือ พ.ศ. 2561-2564 เฉียงเหนือตอนล่าง 2 (อุบลราชธานี อำนาจเจริญ
ศรีสะเกษ ยโสธร) เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมเกษตรแปร
ยุทธศาสตร์ตามกลุ่มจังหวัดประกอบ รูปและเกษตรอินทรีย์ การเพิ่มมูลค่าการทองเที่ยวเชิง
ด้วยกลุ่มจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทั้งสิ้น คณุ ภาพ การพัฒนาการคา้ ชายแดนให้ไดม้ าตรฐานสากล
5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนบน 1 (อุดรธานี หนองคาย เลย หนองบัวลำภู 5) แผนยุทธศาสตร์การค้ากลุ่มจังหวัด
บึงกาฬ) กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 18 กลุม่ ระยะ 5 ปี
(ส กล นค ร นค ร พนม ม ุ กด า ห า ร ) กล ุ ่ ม จ ั งห วัด
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง (ขอนแก่น ร้อยเอ็ด ก ร ะ ท ร ว ง พ า ณ ิ ช ย ์ ไ ด ้ ร ่ ว ม ก ั บ ส ถ า บั น
มหาสารคาม กาฬสินธุ์) กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก บณั ฑติ พัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) จดั ทำแผนยทุ ธศาสตร์
เฉียงเหนือตอนล่าง 1 (นครราชสีมา สุรินทร์ บุรีรัมย์ การค้ากลุ่มจังหวัด 18 กลุ่มจังหวัด ระยะ 5 ปี (2560 -
2564) และได้มีการเดินสายระดมความคิดเห็นจาก
หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในกลุ่มจังหวัดต่าง ๆ เพ่ือ
ร่วมกันปรับปรุงแผน จนสามารถกำหนดยุทธศาสตร์
ทางการค้าของแต่ละกลุ่มจังหวัดได้แล้ว โดยขณะนี้อยู่
ระหว่างการระดมความคิดเห็นขั้นสุดท้ายในระดับ
ผู้บรหิ ารและหน่วยงานท่เี ก่ียวข้องก่อนทจ่ี ะนำไปปรับปรุง
แผนยุทธศาสตร์การค้ากลุ่มจังหวัดให้ชัดเจน และมอบให้
หนว่ ยงานในสังกดั กระทรวงพาณิชยน์ ำไปปฏิบตั ติ ่อไป

2-19

6) แผนยุทธศาสตร์การจดั การทรัพยากร • การขยายความรับผิดชอบแก่ผู้ผลิต
( Extended Producer Responsibility: EPR) เ ป็ น
ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม หลักการเพิ่มขอบเขตความรับผิดชอบของผู้ผลิตให้
ครอบคลุมในแตล่ ะช่วงของวงจรชวี ติ ผลิตภณั ฑ์
การจัดทำแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม
• การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
พ.ศ. 2560 - 2564 ได้น้อมนำพระราชดำรัสของ ( Resource Decoupling/Resource Efficiency) เ ป็ น

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ หลักการลดอัตราการใช้ทรัพยากรต่อหน่วยกิจกรรมทาง
เศรษฐกจิ
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มาเปน็ แนวทางในการ
• สิทธิมนุษยชน (Human Rights) เป็น
บรหิ ารจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม เพื่อให้ หลักการที่คำนึงถึงสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของความ
เป็นมนุษย์ มคี วามเสมอภาค เป็นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ
ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการใช้ ไม่ว่าจะแตกต่างกัน หรือมีความไม่เท่าเทียมกันทาง
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมอยา่ งรอบคอบ เป็นไป
เศรษฐกิจและสงั คมมากน้อยเพยี งใดกต็ าม
ตามหลักวชิ าการ มเี หตผุ ล มีความพอประมาณ มีความถกู (1) แผน ยุ ทธ ศาสตร์ก ารจั ดการ

ตอ้ ง เหมาะสมและเปน็ ธรรม เพอื่ สร้างภมู ิค้มุ กันให้แกฐ่ าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภาคกลาง ภาค
ตะวันออก และภาคตะวนั ตก พ.ศ. 2560-2564
ทรัพยากรธรรมชาติและรักษาคณุ ภาพสิ่งแวดล้อม โดยมุง่
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การ
ถึงประโยชน์แท้จริงต่อประเทศชาติทั้งในปัจจุบันและ จดั การทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภาคกลาง ภาค

อนาคต โดยมีหลกั สำคญั 10 ข้อดงั นี้ ตะวันออก และภาคตะวันตก พ.ศ. 2560-2564 มีการ
• การพัฒนาที่ยั่งยืน ( Sustainable พิจารณาความเชื่อมโยงนโยบายและแผนการจัดการ
สิ่งแวดล้อมระดับประเทศ นโยบายและแผนการพัฒนา
Development) เป็นหลักการที่ให้ความสำคัญกับการ ของประเทศและในระดับพื้นที่ หลักแนวคิดการจัดการ
สิ่งแวดล้อมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ
พัฒนาประเทศอย่างมีดุลยภาพ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม แนวคิดสากล การสร้างความสมดุลของระบบนิเวศ การ
จัดการสิ่งแวดล้อมเชิงพื้นที่ลุ่มน้ำ การสร้างภูมิคุ้มกันต่อ
และสงิ่ แวดล้อม ความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัย
ธรรมชาติด้วยกลไกการชดเชยตอบแทนคุณค่าของระบบ
• การบริหารจัดการเชิงระบบนิเวศ นเิ วศ เน้นการใชป้ ระโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างมี
ประสิทธิภาพและเป็นธรรมส่งเสริมการมีส่วนร่วม เป็น
( Ecosystem Approach) เ ป ็ นห ล ั กกา ร ที ่ ค ำ นึ งถึง
ความสัมพันธ์เชิงระบบหรือองค์รวม ( Holistic เครื่องมือและกลไกที่สำคัญที่จะขับเคลื่อนให้ประชาชนมี
ความเป็นอยู่ที่ดี มีความสุขภายใต้คุณภาพสิ่งแวดล้อมท่ี
Approach) เหมาะสม บนพื้นฐานของหลักเศรษฐกิจพอเพียง การ
พัฒนาที่ยั่งยืนการบริหารจัดการและชดเชยตอบแทน
• ก า ร ร ะ ว ั งไ ว้ ก ่ อน ( Precautionary คุณค่าระบบนเิ วศ (PES) และส่งเสริมองค์กรปกครองส่วน

Principle) เป็นหลักการจัดการเชิงรุกที่เน้นการป้องกัน ทอ้ งถน่ิ ในการจดั การสงิ่ แวดลอ้ มเชิงรุก และการมสี ่วนรว่ ม
และสร้างภูมปิ ัญญารว่ มกันของภาคสว่ นตา่ ง ๆ ใหเ้ กดิ การ
ผลกระทบล่วงหน้า ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่จะสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี
• ผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย (Polluters Pay ให้กบั พืน้ ท่ีต่อไป

Principle: PPP) เป็นหลักการของการนำเครื่องมือทาง (2) แผน ยุ ทธ ศาสตร์ก ารจั ดการ
เศรษฐศาสตร์มาใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภาค
สิ่งแวดล้อม ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื พ.ศ. 2560–2564

• ผู้ ไ ด ้ ร ั บ ผ ล ป ร ะ โ ย ช น ์ เ ป ็ น ผู้ จ ่ า ย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีประเด็น
(Beneficiaries Pay Principle: BPP) เป็นหลักการการ ที่มีความสำคัญในระดับพื้นที่ซึ่งควรดำเนินการเร่งด่วน
ส่งเสริมความรับผิดชอบ โดยสร้างแรงจูงใจให้ผู้ที่ได้รับ และผลักดันในระดับนโยบาย (Flagship Projects) ให้
ผลประโยชน์เป็นผู้จ่ายค่าตอบแทนให้กับผู้ให้บริการด้าน เกิดผลเป็นรูปธรรม คือ ปัญหาทรัพยากรน้ำ (ปริมาณน้ำ
ระบบนิเวศทั้งที่อยู่ต้นทาง และปลายทาง รวมถึงสร้าง
ความเปน็ ธรรมให้กับผู้เสียประโยชน์

• ความเป็นหุ้นส่วนของรัฐ - เอกชน
(Public - Private Partnership: PPP) เป็นหลักการที่ใช้
สร้างการร่วมรับผดิ ชอบ

• ธรรมาภิบาล (Good Governance)
เป็นหลักการการบริหารจัดการที่ดีที่ทุกหน่วยงานควร
นำมาใช้เป็นแนวทางในการบริหารงาน ทั้งด้านศีลธรรม
คุณธรรม จริยธรรม และความถูกต้องชอบธรรม
ท้งั ปวง

2-20

ไม่เพียงพอต่อการอุปโภค บริโภค และเกษตรกรรม) เขตเศรษฐกิจพิเศษประเทศไทย คือ
รองลงมาคอื ปัญหาทรพั ยากรป่าไม้ (ความขดั แย้งระหว่าง บริเวณพื้นทีท่ ี่คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
การใช้ประโยชน์ที่ดินในการทำเกษตรกรรมและพื้นที่ป่า พิเศษ (กนพ.) กำหนดใหเ้ ป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ซ่งึ
ไม้) และการจัดการขยะมูลฝอย (การขาดสถานที่กำจัด รฐั จะสนบั สนุนโครงสร้างพน้ื ฐาน สิทธปิ ระโยชนก์ ารลงทุน
ปัญหาการกำจดั ขยะมลู ฝอยทีไ่ ม่ถกู สุขาภบิ าล ปญั หาขยะ การบริหารแรงงานตา่ งด้าวแบบไป-กลับ การใหบ้ ริการจุด
มูลฝอยตกคา้ งและปญั หาขยะขา้ มแดน) ซง่ึ ประเด็นปญั หา เดียวเบ็ดเสร็จและการบริการอน่ื ทีจ่ ำเป็น
เร่งด่วนดังกล่าวหน่วยงานในระดบั พื้นทีท่ ี่มีบทบาทสำคัญ
ในการบรู ณาการการดำเนนิ งานตามแผนยุทธศาสตร์ ฯ ให้ การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษบริเวณ
เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ปัญหาและ ชายแดนของประเทศไทย เริม่ จากการผลกั ดนั ของธนาคาร
สภาพแวดล้อมของพื้นที่ของตนเองให้สามารถดำเนินการ พัฒนาเอเชยี (Asian Development Bank: ADB) ภายใต้
จัดทำแผนงาน/โครงการให้เกดิ ผลสัมฤทธ์ิในทางปฏิบัติได้ กลยุทธ์ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากโครงการระเบียง
อย่างเหมาะสมต่อสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่า งเ ป็น เศรษฐกิจ ในปี พ.ศ. 2541 โดยกำหนดการพัฒนาเขต
รูปธรรมต่อไป เศรษฐกิจพิเศษชายแดนใส ่ในแผ นปฏิบัติการเพื่ อการ
เปลี่ยนระเบียงการขนส่ง (Transport Corridors) ให้เป็น
(3) แผนยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากร ระเบียงเศรษฐกิจ (Economic Corridors) มีประกาศ
ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมภาคเหนือ พ.ศ.2560–2564 กำหนดพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตามหลักเกณฑ์
และจัดลำดับความสำคัญของพื้นที่ชายแดนที่มีศักยภาพ
ภาคเหนือมีประเด็นที่มีความสำคัญ และเหมาะสมพัฒนาเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
ในระดับพื้นที่ซึ่งควรดำเนินการเร่งด่วนและผลักดันใน จำนวน 10 จังหวัด โดยแบ่งเป็น 2 ระยะ
ระดับนโยบาย (Flagship Projects) ให้เกิดผลเป็น
รูปธรรม คือ ปัญหาทรัพยากรน้ำ (ปริมาณน้ำไม่เพียงพอ ระยะแรก 5 จงั หวดั ได้แก่ ตาก มุกดาหาร
ต่อการอุปโภค บริโภค และเกษตรกรรม) รองลงมาคือ สระแก้ว ตราด และสงขลา ประกอบด้วย 10 อำเภอ 36
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ (ความขัดแย้งระหว่างการใช้ ตำบล (เรมิ่ ดำเนนิ การไดใ้ นปี 2558)
ประโยชนท์ ี่ดินในการทำเกษตรกรรมและพ้ืนที่ป่าไม้) และ
การจัดการขยะมลู ฝอย (การขาดสถานทีก่ ำจัด ปัญหาการ ระยะที่สอง 5 จังหวัด ได้แก่ หนองคาย
กำจัดขยะมูลฝอยที่ไมถ่ ูกสขุ าภิบาล ปัญหามูลฝอยตกค้าง นราธิวาส เชียงราย นครพนม และกาญจนบุรี ประกอบ
และปญั หาขยะขา้ มแดน) ดว้ ย 12 อำเภอ 55 ตำบล (เรมิ่ ดำเนินการในปี 2559)

(4) แผนย ุ ทธศาสตร ์ การจ ั ดการ กรอบแนวคิดในการพัฒนาเขตเศรษฐกิจ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภาคใต้ พ.ศ. 2560– พิเศษของไทย กนพ. ได้กำหนดแผนการพัฒนาเขต
2564 เศรษฐกิจพิเศษ โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญให้เกิดการ
กระจายความเจริญสู่ภูมิภาคโดยใช้โอกาสจากอาเซียน
ภาคใต้มีประเด็นที่มีความสำคัญใน ลดความเหลื่อมล้ำทางรายได้ ยกระดับคุณภาพชีวิตของ
ระดับพื้นที่ซึ่งควรดำเนินการเร่งด่วนและผลักดันในระดบั ประชาชน และเสริมสร้างความมั่นคงในพื้นท่ีบริเวณ
นโยบาย (Flagship Projects) ให้เกิดผลเป็นรูปธรรม คือ ชายแดน รวมท้งั เพ่ิมความสามารถในการแข่งขนั และการ
ปัญหาการกดั เซาะชายฝง่ั ซ่งึ สอดคล้องกับยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 เชอ่ื มโยงกับประเทศเพ่ือนบา้ น
ของแผน ฯ โดยมีโครงการเร่งด่วนในการจัดการปัญหา 5
โครงการ คือ 1) โครงการศึกษาและจัดระบบกลุ่มหาด ความท้าทายด้านกฎหมายและนโยบาย
(Littoral Cell) 2) โครงการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างที่ส่งผล นโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนทั้ง 10 แห่งของ
กระทบทางลบต่อระบบนิเวศชายฝั่ง 3) โครงการพัฒนา ประเทศไทยโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ หรือ คสช.
กฎหมายควบคุมก่อสร้างชายฝั่งทะเล 4) โครงการ เกิดขึ้นเพือ่ กระตุ้นเศรษฐกจิ ของพืน้ ที่ชายแดนด้อยพัฒนา
ศึกษาวิจัยด้านสมุทรศาสตร์ และ 5) โครงการศึกษา และเพื่อพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนที่อาศัยใน
แนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหากัดเซาะชายฝั่ง ซึ่งทุก บริเวณนั้น แต่ทว่า กระบวนการได้มาและจัดการที่ดินทั้ง
โครงการจะดำเนนิ การแลว้ เสรจ็ ภายในปี พ.ศ. 2563 พื้นที่ป่าและพื้นที่สาธารณะเพื่อใช้ประโยชน์เป็นเขต
เศรษฐกิจพิเศษชายแดนก่อให้เกิดปัญหาความขัดแย้ง
2.2.2 แผนงานโครงการที่สำคัญต่อการพัฒนา ระหว่างชาวบ้านกับรัฐบาล ซึ่งกลไกการตัดสินใจโดยมาก
พน้ื ท่ี เกิดขึ้นจากภาครัฐ ขาดการมีส่วนร่วมของคนท้องถิ่น
สง่ ผลใหเ้ กดิ ความขัดแย้งในพื้นที่ นำไปสูข่ ้อรอ้ งเรียนต่างๆ
1) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (Special และทำให้เกิดความล่าช้าในการพัฒนา ด้วยพัฒนาการ
Economic Zone : SEZ)

2-21

ด้านกฎหมายและกลไกทางนโยบายทีอ่ ำนวยความสะดวก (1) กลุ่มซุปเปอร์คลัสเตอร์ เป็น
ให้เกิดเขตเศรษฐกิจพิเศษ แต่ก็ได้รับการต่อต้านจาก คลัสเตอร์สำหรับกิจการที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงและเป็น
องค์กรภาคประชาสังคม ชุมชน และหน่วยงานท้องถิ่นท่ี อุตสาหกรรมแห่งอนาคต เช่น คลัสเตอร์ยานยนต์และ
ระบุว่า นโยบายที่ประกาศใช้ส่วนใหญ่เอื้อต่อความ ชิ้นส่วน คลัสเตอร์เครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และ
ต้องการของนักลงทุนมากกว่าความต้องการของคนใน อุปกรณ์โทรคมนาคม คลัสเตอร์ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ที่
ท้องถนิ่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยกลุ่มซุปเปอร์คลัสเตอร์ มี
จำนวน 9 จงั หวดั ประกอบดว้ ย จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
รูปท่ี 2.2.2-1 พ้ืนทก่ี ารพัฒนาเขตเศรษฐกจิ พิเศษ ปทุมธานี ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี
นครราชสีมา เชียงใหม่ และภูเก็ต ซึ่งมีการกระจุกตัวของ
2) เขตเศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบคลัสเตอร์ อุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์
ด้านอุตสาหกรรม ปิโตรเคมี ดิจิทัล food innovation medical hub และ
อาจเพ่ิมเติมได้อีก โดยการพฒั นาคลสั เตอร์ทมี่ ศี กั ยภาพใน
นโยบายที่สำคัญประการหนึ่งของรัฐบาล ระยะแรก ประกอบด้วย คลัสเตอร์สิ่งทอ คลัสเตอร์ไอที
ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ คือ การ คลัสเตอร์ยานยนต์และชิ้นส่วน คลัสเตอร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
ส่งเสริมพัฒนาการรวมกลุ่มอุตสาหกรรม (Cluster และอิเล็กทรอนิกส์ คลัสเตอร์ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์
Development) เนื่องจากพิจารณาเห็นว่า “คลัสเตอร์ คลัสเตอร์แปรรูปอาหาร และคลัสเตอร์แปรรูปยางพารา
(Cluster)” เป็นเครื่องมือและกลไกอันสำคัญในการเพ่ิม (ไม่รวมไมย้ าง)
ขีดความสามารถการแข่งขันและการพัฒนาเศรษฐกิจ
อุตสาหกรรมของประเทศ ดังน้นั กรมสง่ เสรมิ อุตสาหกรรม (2) กลุ่มคลัสเตอร์เปา้ หมายอื่น ๆ ได้แก่
กระทรวงอุตสาหกรรม จึงได้รับมอบหมายให้เป็น คลัสเตอร์เกษตรแปรรูป และคลัสเตอร์สิ่งทอและ
หน่วยงานหลัก ที่มีบทบาทในการปฏิบัติและขับเคลือ่ นให้ เครื่องนุ่งห่ม โดยในกลุ่มคลัสเตอร์เป้าหมายอื่น ๆ นี้ จะ
เกิดการสร้างและพัฒนาคลัสเตอร์ ตามบันทึกข้อตกลง ประกอบไปดว้ ย 28 จงั หวดั ได้แก่
ความร่วมมือ (MOU) ลงวันที่ 10 มิถุนายน 2547 ภายใต้
กรอบของคณะกรรมการพัฒนาขีดความสามารถในการ (2.1) กลุ่มคลสั เตอรเ์ กษตรแปรรปู
แข่งขันของประเทศ โดยได้เริ่มดำเนินการส่งเสริมกระตุ้น ซึง่ มจี านวนพ้ืนทีเ่ ปา้ หมาย 19 จงั หวัด ไดแ้ ก่
ให้เกิดพัฒนาการรวมกลุ่มและเชื่อมโยงอุตสาหกรรมมา
อยา่ งตอ่ เนือ่ ง ต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2546 จนถงึ ปจั จุบัน • ภาคเหนือ จำนวน 4
จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง และ
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบ ลำพูน โดยเน้นอุตสาหกรรมการแปรรูปผักผลไม้ และ
คลัสเตอร์ จดั ตัง้ ขนึ้ เพ่ือยกระดับพน้ื ทที่ มี่ ศี ักยภาพและเปน็ สมุนไพร
ฐานการผลิตในอุตสาหกรรมเป้าหมาย เพื่อรองรับกิจการ
ที่ใชเ้ ทคโนโลยีขน้ั สูง และอตุ สาหกรรมแห่งอนาคต โดยจะ • ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
มีการเชื่อมโยงขององค์ประกอบต่าง ๆ ในลักษณะคลัส จำนวน 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น นครราชสีมา
เตอร์ เพื่อให้มีความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้นสำหรับ บุรีรัมย์ และชัยภูมิ โดยเน้นอุตสาหกรรมแปรรูปจากปศุสัตว์
พ้นื ท่ีเป้าหมายในการพัฒนาประกอบดว้ ย มนั สำปะหลงั ออ้ ย และข้าวโพด

• ภาคกลาง จำนวน 4
จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และ
ประจวบคีรีขันธ์ โดยเน้นอุตสาหกรรมแปรรูปจากอ้อย
สบั ปะรด และยางพารา

• ภาคตะวันออก จำนวน 3
จังหวัด ได้แก่ จังหวัดระยอง จันทบุรี และตราด โดยเน้น
อตุ สาหกรรมแปรรูปผลไม้ และยางพารา

• ภาคใต้ จำนวน 4 จังหวัด
ไดแ้ ก่ จงั หวัดชุมพร สุราษฏรธ์ านี กระบี่ และสงขลา โดยเน้น
อุตสาหกรรมแปรรูปปาล์มน้ำมัน อาหารทะเลแปรรูป และ
ยางพารา

(2.2) กลุ่มคลัสเตอร์สิ่งทอและ
เครื่องนุ่งห่ม มีจำนวนพื้นที่เป้าหมาย 9 จังหวัด ได้แก่
กรุงเทพมหานคร จังหวัดกาญจนบุรี นครปฐม ราชบุรี
สมุทรสาคร ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และสระแก้ว
โดยเน้นอุตสาหกรรมผลิตเส้นใยธรรมชาติหรือเส้นใย

2-22

ประดิษฐ์ การผลิตด้ายหรือผ้า การฟอกย้อม/พิมพ์/แต่ง ดำเนินการปรับปรุงระบบอุปกรณ์และโครงสร้างพื้นฐาน
สำเร็จการผลติ เครอื่ งนุ่งห่มและเครอื่ งแตง่ กาย รวมทั้งการ การขนส่งทางราง และพัฒนาระบบรถไฟทางคู่ที่มีความ
ออกแบบและพัฒนาผลติ ภณั ฑเ์ ชงิ สรา้ งสรรค์ พร้อมดำเนินการ 6 สายแรก และเร่งผลักดันให้สามารถ
ดำเนินการก่อสร้างทางคู่ขนาดรางมาตรฐาน (Standard
ภายใต้นโยบายส่งเสริมคลัสเตอร์ Gauge) เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านและสาธารณรัฐ
อุตสาหกรรมของบีโอไอ กิจการที่จะขอรับส่งเสริมการ ประชาชนจีน (จีนตอนใต้) เพื่อให้รถไฟเป็นทางเลือกใหม่
ลงทุนตามมาตรการนี้ ต้องมีองค์ประกอบสำคัญ 3 ส่วน ของการเดินทาง และสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน
ดว้ ยกนั คอื (1) เปน็ กจิ การทีใ่ ช้เทคโนโลยีข้นั สูง (2) ตั้งใน ของประเทศ
พื้นที่ที่กำหนด และ (3) ต้องมีความร่วมมือกับ
สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัยหรือศูนย์ความเป็นเลิศ (2) แผนงานการเพิ่มขีดความสามารถ
(Center of Excellence) ที่อยู่ในพื้นที่เป้าหมาย เพื่อให้ ทางหลวงเพื่อเชื่อมโยงฐานการผลิตที่สำคัญของ
เกิดการพัฒนาบุคลากรซึ่งจะนำไปสู่การยกระดับ ประเทศและเช่อื มโยงกบั ประเทศเพือ่ นบา้ น โดยปรบั ปรงุ
อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง โดยโครงการที่ลงทุน ถนนเช่ือมโยงแหลง่ เกษตรและแหล่งทอ่ งเท่ียว รวมถงึ การ
ในคลัสเตอร์อุตสาหกรรม จะได้รับสิทธิประโยชน์ยกเว้น ปรับปรุงโครงข่ายถนนระหว่างเมืองหลักและเชื่อมเมือง
ภาษีเงินได้นิติบุคคล 3 – 8 ปี และลดหย่อนอีก ร้อยละ หลักกับด่านพรมแดนให้เป็น 4 ช่องจราจร การพัฒนา
50 เป็นเวลา 5 ปี แล้วแต่กรณี และสิทธิประโยชน์อื่น ๆ โครงสร้างพื้นฐานด้านศุลกากร การก่อสร้างทางหลวง
อาทิ การยกเว้นอากรนำเข้าเครื่องจักรและวัตถุดิบ พิเศษระหว่างเมืองในเส้นทางที่มีความจำเป็น ตลอดจน
นอกจากนี้ บีโอไอยังให้ส่งเสริมแก่กิจการสนับสนุนที่จะ ผลักดันการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการขนส่ง
ช่วยพัฒนา คลัสเตอร์ให้มีความเข้มแข็งอีกกว่า 10 ทางถนน เช่น จุดพักรถบรรทุก สถานีขนส่งสินค้า ศูนย์
ประเภทกิจการ อาทิ กิจการขนส่งสินค้าสำหรับเรือ เปลี่ยนถ่ายระหว่างการขนส่งทางรางกับทางถนน เพื่อให้
บรรทุกสินค้า กิจการสนามบินพาณิชย์ กิจการขนส่งทาง เกิดระบบขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ สามารถรองรับ
ราง กิจการศูนย์กระจายสินคา้ ระหว่างประเทศดว้ ยระบบ การค้า การลงทุนที่จะสูงขึ้นจากการเข้าสู่ประชาคม
ท่ีทันสมัย กจิ การวจิ ยั และพัฒนา เปน็ ตน้ อาเซียน

3) แผนพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานด้าน (3) แผนงานการพัฒนาโครงข่ายการ
คมนาคมขนสง่ ของไทย ขนส่งทางน้ำ โดยการพิจารณาความเหมาะสมในการ
พัฒนาท่าเรือลำน้ำและท่าเรือชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทย
แผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม และทะเลอันดามัน เพื่อประโยชน์ในการขนส่งสินค้าทั้ง
ขนส่งของไทย พ.ศ. 2558-2565 มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็น ภายในและระหว่างประเทศ และเป็นการเปิดประตูการ
กรอบทิศทางในการพัฒนาภาคคมนาคมขนส่งของ ขนส่งดา้ นฝั่งทะเลอันดามนั ท่สี ามารถเชื่อมโยงเป็นสะพาน
ประเทศ ในระยะ 8 ปี ซึ่งเป็นกลไกในการขับเคลื่อนการ เศรษฐกจิ กับทา่ เรือฝงั่ อ่าวไทย รวมท้ังเปน็ ทางเลอื กในการ
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม กระตุ้นเศรษฐกิจ การสร้าง ขนส่งที่ประหยัดและเปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ มในพน้ื ทีใ่ หม่
งาน กระจายรายได้ และสร้างความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์สินของประชาชน ซึ่งเป็นปัจจัยที่จะนำไปสู่ (4) แผนงานการเพิ่มขีดความสามารถ
เปา้ หมายการพฒั นาที่สำคัญ คือ การเพ่ิมคุณภาพชวี ติ ของ ในการให้บริการขนส่งทางอากาศ โดยการเร่งผลักดัน
ประชาชน การลดต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP ของประเทศ การพัฒนาท่าอากาศยานหลักที่เป็นประตูการขนส่งของ
และการพฒั นาระบบรางใหเ้ ปน็ โครงข่ายหลักของประเทศ ประเทศ ให้ได้มาตรฐานสากล สามารถรองรับความ
โดยการลงทุนครั้งนี้จะส่งผลให้รายได้ประชากรและ ต้องการของประชาชนผู้เดินทางไปอย่างมีประสิทธิภาพ
เศรษฐกิจไทยขยายตัวเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นปัจจัยสนับสนุนให้ การส่งเสริมการใช้ประโยชน์ท่าอากาศยานในภูมิภาคใหม้ ี
เกิดการขยายตัวของสังคมเมือง รวมทั้งเมืองศูนย์กลาง บทบาทมากขึ้นในกิจกรรมด้านการบินและกิจกรรมท่ี
การค้าและการขนส่ง นอกจากนี้ยังก่อให้เกิดโอกาสทาง เก่ียวเนอ่ื ง รวมท้งั การส่งเสรมิ การพัฒนานิคมอุตสาหกรรม
ธรุ กจิ โดยเฉพาะธรุ กิจก่อสร้างและวัสดกุ ่อสร้างท่ีจะได้รับ การบินของประเทศ และการพิจารณาความเหมาะสมใน
ประโยชนโ์ ดยตรงจากการกอ่ สรา้ งโครงการตา่ ง ๆ การพัฒนาห้วงอากาศของไทยให้สามารถใช้ประโยชน์
ร่วมกันเพื่อความมั่นคงและการพัฒนาเศรษฐกิจได้อย่าง
(1) แผนงานการพัฒนาโครงข่ายรถไฟ เหมาะสม
ระหว่างเมือง การพัฒนาโครงข่ายรถไฟระหว่างเมืองจะ

2-23

รปู ที่ 2.2.2-2 สรปุ แผนงานโครงการที่สำคญั ต่อการพฒั นาพ้นื ท่ี

2-24

2.3 การวางประเทศ ผงั ภาค 2) นโยบายรายสาขาทสี่ ำคญั ดงั ต่อไปน้ี

2.3.1 ผังประเทศไทย พ.ศ. 2600 (1) นโยบายการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ

ผงั ประเทศไทย พ.ศ.2600 (Thailand National พืน้ ท่ชี มุ ชน
Spatial Development Plan) มีวสิ ัยทศั นใ์ ห้ “ประเทศไทย ▪ กำหนดขอบเขตเมืองให้ชัดเจน
เป็นประเทศชั้นนำของโลกในด้านการเกษตร อุตสาหกรรม เพื่อควบคุมการขยายตวั ของพื้นทีเ่ มืองโดยใช้แนวกันชนสี
การเกษตร และเทคโนโลยีด้านอาหาร การบริการด้าน เขียวและเน้นการใช้ประโยชน์ที่ดินในเมืองให้เต็ม
สุขภาพและการท่องเที่ยว ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ประสิทธิภาพทำเมอื งให้กระชบั จัดหาท่โี ลง่ ว่างและพืน้ ทส่ี ี
ท่ามกลางสิ่งแวดล้อมที่น่าอยู่ ประเทศชาติมั่นคงและมีการ เขียวภายในเมืองเพื่อเสริมสร้างคุณภาพชวี ิตและความน่า
พฒั นาทีย่ ่ังยืน” เอน็ ดูของเมอื ง
พื้นที่อุตสาหกรรม
1) ยุทธศาสตร์การพัฒนาพ้ืนท่ี ▪ ส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรม
ที่สร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ โดยกำหนดพื้นที่
(1) ยุทธศาสตร์การกระจายความเจริญ อุตสาหกรรมหลัก เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมพื้นฐานสำคัญ
เชื่อมโยงการผลิตภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรม
และฟื้นฟูบูรณะศูนย์กลางเดิม กระจายความเจริญและ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ที่สนับสนุน
กิจกรรมทางเศรษฐกิจไปยังเมืองบริวาร และเมืองใน ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ โดยมุ่งเน้นการ
ภูมิภาค เพื่อสร้างความสมดุลของระบบเมืองและการใช้ สรา้ งความเปน็ มิตรกบั ส่ิงแวดล้อม
ที่ดินในขณะเดียวกัน ต้องมีการบูรณะฟ้ืนฟศู ูนย์กลางเดิม พ้ืนทเ่ี กษตรกรรม
พร้อมทั้งการปรับปรุงคุณภาพของสภาพแวดล้อมให้ดี ▪ พัฒนาการใช้พื้นที่เกษตรกรรม
ย่ิงขนึ้ ชั้นดีให้เป็นแหล่งผลิตอาหารที่สำคัญของภูมิภาคและ
ส่งเสริมการเป็นครัวโลก โดยส่งเสริมการวิจัยและ
(2) ยุทธศาสตร์กลุ่มเมือง พัฒนากลุ่ม พัฒนาการเกษตรและการแปรรปู เพอ่ื เพิ่มคุณภาพผลผลติ
พนื้ ท่สี งวนและอนุรกั ษ์
จงั หวดั /กลุ่มเมือง และชมุ ชนอย่างเปน็ ระบบ โดยจดั ลำดบั ▪ สงวน อนุรักษ์ ฟื้นฟูพื้นที่
ความสำคัญของเมืองตามศักยภาพและบทบาทหนา้ ท่ี เพื่อ ทรัพยากรธรรมชาติ ป่าอนุรักษ์และพื้นที่ป่าต้นน้ำลำธาร
เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการสาธารณูปโภคและ เพื่อป้องกันการเสื่อมสภาพอันเกิดจากการใช้ประโยชน์
สาธารณูปการ ทดี่ นิ ผิดประเภท
▪ กำหนดเขตและมาตรการการ
(3) ยุทธศาสตร์เมืองเพื่อการสร้างสรรค์ อนุรักษ์และพื้นที่ชุ่มน้ำอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝั่ง รวมทั้งทรัพยากรป่าชายเลนให้คงสภาพสมบูรณ์
พัฒนาเมืองเพื่อเอื้ออำนวยให้เกิดการสร้างสรรค์และ อยา่ งย่งั ยืน
นวัตกรรมสำหรับการพัฒนาผลผลิตด้านต่าง ๆ ทั้งด้าน ▪ บริหารจัดการและแก้ไขปัญหา
เกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการบริการ ที่ส่งเสริมให้ ทรพั ยากรน้ำแบบบูรณาการทม่ี ีประสทิ ธิภาพและยัง่ ยนื
ประเทศสามารถพึ่งพาตนเองให้สามารถเป็นหนึ่งในผู้นำ
ของโลกได้ในอนาคต พัฒนาเมืองท่สี นบั สนุนให้เกดิ ความรู้ (2) นโยบายการพัฒนาเมืองและชนบท
และการเพิ่มมูลค่าทางด้านเศรษฐกิจ โดยมีความพร้อม
ของโครงสร้างพื้นฐานและระบบสารสนเทศเมืองเพื่อการ ▪ กระจายความเจริญจากกรุงเทพ
สร้างสรรค์ มหานครและปริมณฑลสูภ่ าคต่าง ๆ โดยสร้างความสมดลุ
ของการพัฒนาเมืองเพื่อลดปัญหาเมืองโตเดี่ยวของ
(4) ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่สมดุลและ กรงุ เทพมหานครและสง่ เสรมิ ศักยภาพของเมืองศูนย์กลาง
ในภาคต่าง ๆ ให้มีขีดความสามารถในการรองรับการ
ยั่งยืน สร้างความสมดุลระหว่างการพัฒนากับอนุรักษ์ ขยายตวั ทางเศรษฐกจิ และประชากร
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กำหนดการใช้
ประโยชน์ที่ดินประเภทต่าง ๆ ให้กระจายอย่างเหมาะสม ▪ สง่ เสริมการพฒั นาเมืองอย่างเป็น
ตามศกั ยภาพของพื้นที่ ระบบ โดยจัดลำดับความสำคัญของเมืองตามองค์ประกอบ

(5) ยุทธศาสตร์เมืองและชนบทพอเพยี ง

ประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาพื้นท่ี
เมืองและชนบทให้เกิดความสมดุล ให้มีความเชื่อมโยง
เกอ้ื กูลซ่งึ กนั และกัน มีการบริการสาธารณะที่เพียงพอและ
ทวั่ ถงึ

2-25

บทบาทหน้าที่ และศักยภาพของเมือง พัฒนาเมืองและการ ประหยดั ปลอดภัย สะดวกสบายและทว่ั ถึง โดยสนบั สนุน
เชอื่ มโยงของเมอื งโดยใช้ระบบกลุม่ เมอื ง กา ร ขนส ่ งต ่ อเนื่ องห ลา ยร ูป แ บบ ( Multimodal
Transport) และพฒั นาระบบโลจิสตกิ สใ์ ห้ทันสมัย
▪ พัฒนากรุงเทพมหานครเป็น
ศูนย์กลางของภูมิภาคและเป็นเมืองระดับโลก ให้เกิดการ ▪ ส่งเสริมให้ไทยเป็นศูนย์กลาง
พัฒนาเกือ้ กูลอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ การคมนาคมขนสง่ ของอาเซียน จนี ตอนใต้และทวปี เอเชีย

▪ ส่งเสริมและพัฒนาเมืองน่าอยู่ ▪ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน
โดยพัฒนาเมืองและชนบทให้มีความสมดุลระหว่างการ ดา้ นต่าง ๆ ให้ดขี น้ึ และสร้างความมั่นคงทางด้านพลงั งาน
พัฒนาเศรษฐกิจและสงั คม กบั การพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของ
ประชาชน ▪ พัฒนาประเทศไทยให้เป็น
ศูนย์กลางพลงั งานของภมู ภิ าค
(3) นโยบายการคมนาคมขนส่ง
▪ พัฒนาพลังงานทดแทนอย่าง
▪ พัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง ยงั่ ยืนและเปน็ ผู้นำทางเทคโนโลยีทีท่ ันสมัยในภูมิภาค
ให้สมบูรณ์ทุกระบบมีประสิทธิภาพได้มาตรฐานสากล

2-26

ทีม่ า : ผงั ประเทศไทย พ.ศ. 2600 , กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง กระทรวงมหาดไทย

รูปท่ี 2.3.1-1 ผงั นโยบายระบบเมืองประเทศไทย พ.ศ. 2600

2-27

2.3.2 ผังภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ พ.ศ. 2600 การติดตามสถานการณ์พื้นที่เปรียบเทียบกับผังภาค
2600
การวางผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นผัง
แม่บทการพัฒนาพื้นที่เชิงกายภาพ ที่บูรณาการในสาขา กรอบแนวคิดในการพัฒนาภาคตะวันออก
ต่างๆ อย่างเป็นองค์รวม เพื่อใช้เป็นกรอบนโยบายและทิศ เฉียงเหนือ ถูกวางไว้ให้ตอบสนองตอ่ แนวคิดในการพัฒนา
ทางการพัฒนาพื้นที่ให้กับจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ซึ่ง ประเทศ และสัมพันธ์เชื่อมโยงกับภาคอื่น ๆ โดยยึดถือ
กระบวนการวางผังภาคคำนึงถึงศักยภาพ โอกาสการพัฒนา แนวทางการพัฒนาขับเคลื่อนยุทธศาสตร์บนฐานของการ
พื้นที่ และสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน เพ่ือ มสี ่วนรว่ มของทุกภาคส่วน
นำไปกำหนดวิสัยทัศน์และนโยบายการพัฒนาพื้นที่ อันจะ
นำไปสูก่ ารพัฒนาเมืองและชนบทอย่างสมดลุ และย่งั ยืน 1) การติดตามด้านวิสัยทัศน์ของผังภาค
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื 2600
ผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้วางวิสัยทัศน์
“ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นศูนย์กลางการเกษตร การ ผ ั ง ภ า ค ต ะ ว ั น อ อ ก เ ฉ ี ย ง เ ห น ื อ ใ ห้
ผลิตอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร การคมนาคมขนส่ง ความสำคัญกับคุณภาพชีวิต โดยเน้นสิ่งที่ต้องการในการ
การค้าการลงทุน และการท่องเที่ยวของอินโดจีน ที่มีความ ดำเนินชีวิต สถานภาพทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
สมดุลของการพัฒนา” พัฒนาให้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและค่านิยมของสังคม คือ
เป็นศูนย์กลางการเกษตร การผลิตอุตสาหกรรมแปรรูป การมีการศึกษา เพิ่มพูนความรู้ ความสามารถในการ
การเกษตร โดยใช้เทคโนโลยีชั้นสูง เพื่อการส่งออก รวมทั้ง ประกอบวิชาชีพ เพิ่มโอกาสในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
เป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ง การค้า การลงทุน และ และสังคม สร้างความเสมอภาคและเท่าเทียม ภาค
การท่องเที่ยวของอินโดจีน โดยมีทรัพยากรธรรมชาติและ ตะวันออกเฉียงเหนือได้กำหนดวิสัยทัศน์เป็นลำดับขึ้น
ทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ การใช้ทุนทางวัฒนธรรม เพื่อให้การจัดทำแผนทั้งระยะสั้น ระยะกลาง และระยะ
ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ เพ่ือการพัฒนาท่ีสมดลุ และยั่งยนื ยาวมีเป้าหมายที่ชัดเจน โดยเป็นผลจากการวิเคราะห์
ปัจจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ การปรึกษาหารือ
สำหรับยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นท่ี ภาค หน่วยงาน ผู้แทนองค์กรและประชาชน
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ประกอบดว้ ย
วิสยั ทัศนใ์ นการพฒั นาระยะ 5 ปี ระหว่าง
1) ยุทธศาสตร์การกระจายความเจริญ เน้น พ.ศ. 2551-2555
ส่งเสริมการพัฒนาเมืองศูนย์กลางหลัก และกระจายความ
เจริญไปยังเมืองรองอย่างทั่วถึง และให้มีการพัฒนาอย่าง วิสัยทัศน์ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้
เกื้อกูลกัน เพื่อส่งเสริมความเข้มแข็ง และสร้างความสมดุล วางไว้ให้รับกับผังประเทศ โดยกำหนดให้ภาค
ระหว่างเมืองกับชนบท ตะวันออกเฉียงเหนือเป็นประตูการเช่อื มโยงการท่องเท่ียว
ในอินโดจีน เป็นฐานรองรับเครือข่ายอุตสาหกรรม เป็น
2) ยทุ ธศาสตร์การสรา้ งการพัฒนาทสี่ มดุลและ ฐานการผลิตสินคา้ และเป็นศูนย์กลางการศึกษาวิจัยและ
ยั่งยืน เน้นการพัฒนาและบริหารจัดการการใช้ประโยชน์ พัฒนา และการแปรรูปสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม
จากทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับกิจกรรม พาณิชยกรรม ซึ่งเป็นไปในทางเดียวกันกับผังประเทศ ท่ี
ทางเศรษฐกิจ การพัฒนาเมือง การใช้ประโยชน์ที่ดิน และ มุ่งเน้นพัฒนาประเทศไทยเป็นประตูการค้า (Gateway)
การคมนาคมขนส่ง และศูนย์กลางในการผลิตและสง่ ออก รวมทั้งเป็นประเทศ
อุตสาหกรรมแปรรปู การเกษตร
3) ยุทธศาสตร์ส่งเสริมเทคโนโลยี ที่สามารถ
นำมาวางผัง กำหนดการใช้ประโยชน์พื้นที่ให้เป็นไปอย่างมี วิสัยทัศน์ในการพัฒนาระยะ 15 ปี
ประสทิ ธิภาพมากข้นึ มคี วามรวดเร็วและสมบูรณ์ ระหว่าง พ.ศ. 2551-2565

4) ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบเมืองกลุม่ เมือง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกำหนดบทบาท
และเครือข่ายการพัฒนา เป็นการเชื่อมโยงระหว่างเมือง และวิสัยทัศน์ที่สอดรับกับผังประเทศ โดยให้ภาค
ศูนย์กลางระดับต่าง ๆ กับพื้นที่ชนบทโดยรอบในลักษณะ ต ะ ว ั น อ อ ก เ ฉ ี ย ง เ ห น ื อ เ ป ็ น พ ื ้ น ท ี ่ พ ั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต
การพัฒนาร่วมกนั อุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร และเป็นศูนย์กลางการ
คมนาคม การค้า และการลงทุน รวมทั้งการท่องเที่ยว
5) ยุทธศาสตร์การพัฒนาภายใต้ปรัชญา ชายแดนของอินโดจีน ซึ่งสอดรับกับผังประเทศที่ต้องการ
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของ ให้เกิดอุตสาหกรรมการผลิตและการบริการบนฐาน
ความพอดี และมีการปรับตัวอยา่ งเหมาะสมกับสถานการณ์ ทรพั ยากร รวมทัง้ เปน็ แหล่งอาหารชน้ั นำของโลก และเป็น
ศูนย์กลางสขุ ภาพและการท่องเท่ียวในระดบั ทวีป
ความเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดลอ้ ม

2-28

วิสัยทัศน์ในการพัฒนาระยะ 30 ปี มาประยุกต์ให้ในการดำรงชีวิตอย่างเหมาะสม ซึ่งทำให้
ระหวา่ ง พ.ศ. 2551-2580 วิสัยทัศน์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ได้วางไว้ต้องมีการ
ทบทวนบางส่วน และใหส้ อดคลอ้ งกับสถานการณโ์ ลกและ
ผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กำหนดให้ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่ส่งผลกระทบเศรษฐกิจและ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นพื้นที่ที่มีความพร้อม สังคมของพื้นที่ เพื่อปรับเปลี่ยนให้มีความเหมาะสมมาก
ทางด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม การค้าและบริการทีค่ รบ ยงิ่ ขนึ้
ครัน และพัฒนาการศึกษาวจิ ัยเทคโนโลยีการเกษตร เพื่อ
เ ป ็ น ผ ู ้ น ำ ใ น ด ้ า น เ ท ค โ น โ ล ย ี ก า ร เ ก ษ ต ร ใ น อ ิ น โ ด จี น 2) การติดตามด้านผังนโยบายการพัฒนา
สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของผังประเทศที่กำหนดไว้ให้ พืน้ ทภ่ี าค
ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว เป็นศูนย์กลางการ
ส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมและบริการ เป็นศูนย์กลาง การวางกรอบนโยบายการพัฒนาผังภาค
บริการและการท่องเที่ยว และเป็นสังคมอุดมความรู้ที่มี ตะวันออกเฉียงเหนือ จะพิจารณาจากการขยายตัวของ
นวัตกรรมของตนเองอย่างตอ่ เน่อื ง ประชากร การพัฒนาระบบเมืองและชุมชน การพัฒนา
เศรษฐกิจ และการใช้ประโยชน์ที่ดิน มุ่งเน้นการพัฒนาไป
วิสัยทัศน์ในการพัฒนาระยะ 50 ปี ในอนาคต การใช้ศักยภาพที่ได้เปรียบด้านที่ตั้ง การเป็น
ระหวา่ ง พ.ศ. 2551-2600 ประตสู ู่อนิ โดจีน ขนาดพืน้ ท่ีท่มี ีขนาดกว้างใหญ่ แหล่งผลิต
เกษตรกรรม และอุตสาหกรรมการแปรรูปเกษตรกรรม
กำหนดใหภ้ าคตะวนั ออกเฉียงเหนือมีความ โดยใช้เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อการส่งออก และการพัฒนา
สมดุลของการพัฒนาที่มีทรัพยากรธรรมชาติและ ศักยภาพของระบบโครงสร้างพื้นฐานและการคมนาคม
ประชากรที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี เพื่อเสริมสร้างขีด ขนส่งที่เกิดขึ้น การเชื่อมโยงภาคเหนือตอนล่างและพื้นที่
ความสามารถในการแขง่ ขัน โดยใช้ทุนทางวัฒนธรรม ภูมิ ชายฝั่งทะเลตะวันออก เพื่อเป็นประตูและแกนเชื่อมโยง
ปัญญา เพื่อการพฒั นาอย่างยั่งยืน สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ การค้าและการลงทุน อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและ
ของผังประเทศที่ต้องการให้ประเทศไทยเป็นชั้นนำของ บริการ และเป็นแหล่งอารยธรรม และแหล่งธรรมชาติ
โลกในดา้ นการเกษตร อตุ สาหกรรมการเกษตร การบริการ ทางการท่องเที่ยวที่สำคญั ของอินโดจีน รองรับการเติบโต
ด้านสุขภาพและท่องเที่ยว ประชาชนมีสุขภาพท่ีดี ด้านโลจิสติกส์ ภาคการค้าและการขนส่ง เพื่อเพิ่มขีด
ท่ามกลางส่งิ แวดล้อมที่นา่ อยู่ และมกี ารพัฒนาท่ยี ั่งยืน ความสามารถในการแขง่ ขัน โดยใช้ทุนทางวัฒนธรรม ภูมิ
ปัญญาไทย และภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อการพัฒนาอย่าง
ทั้งนี้จะพบว่าผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ยัง่ ยนื ทำใหป้ ระชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีมาตรฐานสงู
มีการนำเอากรอบวิสัยทัศน์มาเป็นประเด็นสำคัญตั้งต้น
เพื่อเป็นส่วนสำคัญในการกำหนดวิสัยทัศน์และบทบาท การจัดทำผังกลยุทธ์ภาคตะวันออก
ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้นแต่ละระยะได้อย่าง เฉียงเหนือ เป็นการบูรณาการทางความคิดของแผนและ
ชัดเจน และง่ายต่อความเข้าใจ สามารถเห็นความ นโยบายด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง แปลงไปสู่กลยุทธ์ในการ
สอดคล้องต่อเนื่องในแต่ละระยะได้อย่างชัดเจนช่วงเวลา พัฒนาพื้นที่ เพื่อให้เกิดเป็นภาพโครงการและแผนพัฒนา
นั้นๆ อย่างดี โดยภาพรวมในระยะ 50 ปีข้างหน้าภาค ทก่ี ระจายตัวลงสพู่ ้นื ท่ไี ด้อย่างชัดเจน ตอบรับกบั วิสัยทัศน์
ตะวันออกเฉียงเหนือจะเป็นภาคที่สามารถให้บริการ และยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
ประชาชนได้อย่างสมบูรณ์และเท่าเทียมกัน ทั้งด้านการ
บริการ การพักผ่อนหย่อนใจ การศึกษา สาธารณสขุ และ ทั้งนี้จะเห็นได้ว่าผลผลิตในผังภาค
ความปลอดภยั รวมทงั้ สนบั สนนุ Economic Linkage กับ ตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเป็นส่วนของแผน หรือข้อมูลที่
กลุ่มประเทศอินโดจีน โดยประชาชนจะมีรายได้สูงขึ้น มี เกิดขึ้นในพื้นที่ ทั้งมาตรการ ผังพัฒนาพื้นที่ ฐานข้อมูล
ความเป็นอยู่ที่สะดวกสบายและปลอดภัย สร้างความ และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจริงเป็นรูปธรรม เช่น การ
เข้มแข็งให้ชีวิตและครอบครัวของประชาชนในภาค ให้ เพิ่มขึ้นของป่าไม้ แหล่งท่องเที่ยว การพัฒนาแหล่งเก็บ
โอกาสในด้านการทำงานและการดำเนินชีวิตที่ดีขึ้น มี น้ำ เป็นต้น รวมทั้งความคาดหวังในเชิงภาพอนาคต
อาหารสมบูรณ์ สิ่งแวดล้อมที่ดี ถูกสุขลักษณะ ปราศจาก (Subjective) เช่น การขยายตัวของชุมชนอย่างมีแบบ
มลพิษและอบายมุข ที่จะทำลายสิ่งแวดล้อมและความสุข แผน ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขอย่างเสมอภาค
ของประชาชน ตลอดจนขจัดความยากจนของประชาชน เท่าเทียม ซึ่งต้องอาศัยเครื่องมือในการตรวจสอบและ
เป็นผ้นู ำทางความคิดใหม่ เทคโนโลยใี หม่ มคี วามกา้ วหน้า พัฒนาต่อไป
ทางสังคม สร้างผลผลิตทางด้านอุตสาหกรรมคู่กับ
การเกษตร และนำเอาศิลปวัฒนธรรมที่ดีของบรรพบุรุษ สำหรับมาตรการของผังภาคตะวันออก
เฉียงเหนือจะเป็นกลไกและเครือ่ งมือที่ช่วยให้กลยทุ ธ์และ
เป้าหมายตา่ งๆ ทไ่ี ด้วางไว้ของผังภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
สัมฤทธิ์ผล โดยมาตรการของผังภาคตะวันออกเฉียงเหนอื

2-29

ส่วนใหญ่จะเป็นการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนา ซึ่งเป็น ให้เพียงพอกับความต้องการของตลาด การสร้างแรงจูงใจ
มาตรการเชิงบวกที่ช่วยให้เกิดการพัฒนาที่เป็นไปตาม ให้แก่ผู้ประกอบการรายใหม่ที่จะเลือกเข้ามาลงทุน ตั้ง
เป้าหมายทั้งสิ้น โดนมีการระบุครอบคลุมไปใน โรงงานขนาดกลางและขนาดใหญ่ในภาคตะวันออก
รายละเอยี ดในดา้ นต่าง ๆ อย่างครบถ้วน เฉียงเหนือ โดยการประชาสัมพันธ์ช้ีให้ผูป้ ระกอบการเหน็
ถึงประโยชน์ของการลงทุนตั้งโรงงานในพื้นที่นิคมหรือ
โ ด ย ม า ต ร ก า ร ใ น เ ชิ ง บ ว ก ใ น ผ ั ง ภ า ค ศูนย์อุตสาหกรรมที่ได้จัดเตรียมไว้ และการเพิ่มศักยภาพ
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ประกอบด้วย ดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุขในพน้ื ทีห่ ่างไกล

การพัฒนา ทั้งพัฒนาและปรับปรุง การให้เงื่อนไขพิเศษ ในเรื่องกฎหมาย
โครงสร้างพื้นฐานการเกษตร เช่น แหล่งน้ำ การ เกี่ยวกับการผ่านแดนเพื่ออำนวยความสะดวกในการ
ชลประทาน และปรับปรุงดิน ให้สามารถนำไปใช้ ท่องเที่ยวไปยังประเทศเพื่อนบ้าน กฎหมายเกี่ยวกับการ
ประโยชนเ์ พื่อการเกษตรได้เต็มที่และอย่างย่ังยนื จะทำให้ รักษาความปลอดภัยในชีวิตของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย
เกษตรกรผลิตสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนา และชาวต่างชาติกฎหมายการอนรุ กั ษ์พนื้ ท่ที อ่ งเท่ียวท่ีเป็น
พน้ื ท่ีเกษตรกรรมตามสภาพพน้ื ทแี่ ละประเภทดนิ เช่น ดนิ ธรรมชาติและเป็นโบราณสถานและโบราณวัตถุ การ
เค็ม ดินเปรี้ยว ดินที่มีการชะล้างพังทลาย การพัฒนาเปน็ สนบั สนนุ ให้ศนู ยร์ าชการ ศูนยก์ ารค้า โรงแรมขนาดใหญ่ท่ี
ลุ่มน้ำเพื่อเพิ่มผลผลิตและรายได้แก่เกษตรกรในพื้นท่ี ใช้ไฟฟ้าและความเย็นสร้างโรงไฟฟ้าที่ผลิตไฟฟ้าและน้ำ
เฉพาะที่มีปัญหา การปรับปรุงบำรุงดินตามสภาพพื้นที่ เยน็
และประเภทดิน โดยส่งเสริมการใช้ปุ๋ยธรรมชาติ และ
สนับสนุนการผลิตแบบชีวอินทรีย์เพื่อเพิ่มความอุดม สำหรับมาตรการควบคุม ในการกำหนด
สมบูรณ์ของดินในระยะยาว การพัฒนากิจกรรมเพื่อ เขตและวางมาตรการฟื้นฟแู ละคุ้มครองปอ้ งกันพ้ืนท่ชี มุ่ นำ้
ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางหลักในเมืองศูนย์กลางหลัก (Wet Land) ที่มคี วามหลากหลายทางชวี ภาพอยา่ งจริงจัง
ระดับภาคเพื่อกระจายความเจริญ และพัฒนาเมือง เพื่อให้เป็นแหล่งขยายพันธุ์โดยธรรมชาติของสัตว์บกและ
ศนู ย์กลางหลกั ระดับจังหวัดและอำเภอภายในภาค รองรับ สัตว์น้ำ การกำหนดพื้นที่ต้นน้ำลำธารให้เป็นเขตพื้นที่
ความเจริญจากภาค และการพัฒนาระบบประปา โดยใช้ สงวนและอนุรักษ์ ห้ามการพัฒนาการใช้ประโยชน์ที่ดิน
น้ำจากแหล่งเก็บกักน้ำที่มีศักยภาพสูงไปยังชุมชนเมือง ด้านอื่น ๆ โดยไม่ให้มีการดำเนินกิจกรรมใด ๆที่ส่งผล
ชุมชนชนบทและภาคอุตสาหกรรม กระทบต่อพื้นที่ ทั้งนี้มาตรการต่าง ๆ ที่กำหนดขึ้น จะมี
รายละเอียดและวิธีการที่เหมาะสม แตกต่างกันไปตาม
การเอื้อและอำนวยความสะดวก ในการ ประเดน็ ปลกี ยอ่ ยในแตล่ ะเรื่องอยา่ งเหมาะสม
ผลิตและพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานในภาคการผลิตต่าง ๆ

2-30

ทมี่ า: กรมโยธาธิการและผังเมือง

รูปที่ 2.3.2-1 ผังนโยบายการพัฒนาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ปี พ.ศ. 2600

2-31

2.4 โอกาส ศักยภาพ และขอ้ จำกัดการ หลายๆ ด้าน ทั้งด้านทักษะฝีมือแรงงาน ด้านภาษา
(ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน) ความรู้ เทคโนโลยีและ
พัฒนาพืน้ ที่ นวตั กรรม ทต่ี ้องไดร้ ับการพฒั นาอยา่ งเร่งดว่ น

2.4.1 ด้านเศรษฐกจิ ประชากร สังคม 2) ประชากร สงั คม วฒั นธรรม
โครงสร้างประชากรโลกเริ่มมีการ
แรงขับเคลื่อนจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ทำให้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ งจะมีความพร้อมด้าน เปลี่ยนแปลงเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เนื่องจากแนวโน้มอัตรา
ระบบคมนาคมพื้นฐานที่จะรองรับการพัฒนาจาก การเกิดและอัตราการตายที่ลดลงต่อเนื่อง ในขณะท่ี
กรุงเทพฯ และปริมณฑล และภาคอ่ืน ๆ ของประเทศไทย ประชากรโดยเฉลี่ยมีอายุยืนยาวขึ้นส่งผลให้ประชากรใน
ตลอดจนเศรษฐกิจอาเซียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จาก วัยสูงอายุมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในขณะที่
สถานการณ์ดังกล่าวส่งผลต่อแนวโน้มด้านเศรษฐกิจที่ ประชากรในวัยเด็กและวัยแรงงานกลับปรับตัวลดลง
สำคญั ดงั นี้ ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในช่วง
หลังจากปี พ.ศ. 2563 โดยจะมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
1) เศรษฐกจิ จากร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด ทั้งนี้สัดส่วนของ
ภายใต้แนวโน้มการเปลี่ยนผ่านอำนาจ กำลังแรงงานของไทยเริ่มลดลง ส่งผลกระทบศักยภาพการ
ผลิตของประเทศ และในขณะเดียวกันก็ทำให้ภาระในการ
และความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจมายังประเทศในภูมิภาค ดูแลผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นซึ่งจะส่งผลกระทบต่อความเสี่ยงอัน
เอเชียเพ่มิ ขึน้ รวมทัง้ การรวมตวั เปน็ ศนู ยก์ ลางทางการเงิน เกดิ จากภาระทางการคลังในระยะตอ่ ไป
ในภูมิภาคต่าง ๆ ในช่วงที่ผ่านมา ตลอดจนกรอบความ
รวมมือระหว่างประเทศทั้ง ASEAN, GMS, ACMECS, นอกจากนี้ การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของ
BIMSTEC, โครงการ OBOR ของจีน ก่อให้เกิดความ ไทยอาจส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพแรงงาน อัตราการ
เชื่อมโยงที่เพิ่มขึ้นนี้จะส่งผลให้ประเทศไทยมีโอกาสทาง เติบโตทางเศรษฐกิจ เสถียรภาพด้านการคลังของภาครัฐ
การค้าและการตลาดกบั ประเทศภายใต้ข้อตกลงที่เพิ่มขึ้น และที่สำคัญ ความมั่นคงทางอาหารของไทยในอนาคต
กล่าวคือ การเปิดเสรีทางการค้า การลงทุน การบริการ เนื่องจากแรงงานผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในกำลังแรงงานมาก
และการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ จะเป็นการสร้างโอกาส ขึ้นอย่างชัดเจนทั้งในภาคการเกษตรและภาคการผลิตอื่น
ในหลายมติ แิ กป่ ระเทศไทยและในระดบั ภมู ภิ าคทั้งในเรื่อง ๆ หน่วยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งควรเตรียมรบั มือกับปัญหาดงั กลา่ ว
ของประชากรที่มีจำนวนมากขึ้น ตลาดที่มีขนาดใหญ่ เมด็ โดยเน้นพัฒนาเทคนิคการเกษตรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
เงินลงทุนที่มีเพิ่มมากขึ้น และระบบเศรษฐกิจจะมีการ การผลิต ควบคู่ไปกับการปรับปรุงและบังคับใช้กฎหมาย
ขยายตัว ด้วยบริบทของแต่ละภาคประตูการค้าระหว่าง คุ้มครองพื้นที่ทำการเกษตร และสอดประสานความ
ประเทศ โดย ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื เป็นประตูการคา้ ร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐในการดำเนินนโยบาย
กับ สปป.ลาว และเวียดนาม ในแนวแกนตะวันออกผ่าน ด้านการเกษตรภายใต้แผนงานและกรอบยุทธศาสตรท์ ี่แต่
เส้นทาง EWEC ภายใต้ความร่วมมือทางเศรษฐกิจใน ละหน่วยงานรับผิดชอบในปัจจุบนั
อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือมี
บทบาททางเศรษฐกิจเป็นฐานการผลิตข้าวหอมมะลิเพื่อ การลงทุนระยะยาวจากภาครัฐ การ
การส่งออก สามารถแปรรูปผลผลติ และสง่ ออกผ่านท่าเรือ ลงทุนภาคเอกชนที่มีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่องตาม
น้ำลึกดานัง ของเวียดนามได้ ส่วนด้านแนวแกนเหนือ-ใต้ แรงกระตุ้นจากการรวมตัวเป็น AEC เป็นปัจจัยที่สะท้อน
จะเป็นประตูการค้าชายแดนกับ สปป.ลาว ผ่านจังหวัด ศักยภาพการสร้างรายได้ในอนาคตของประชากรในภาค
หนองคาย และในอนาคตอันใกล้เมื่อจีนก่อสร้างรถไฟ เน่อื งจากการขยายตัวของการลงทนุ จะสรา้ งปรากฏการณ์
ความเร็วสูงเสร็จแล้ว จะส่งผลให้มีศักยภาพเชื่อมโยงกับ ด้านการจ้างงาน ตั้งแต่แรงงานในภาคการผลิต ปัญญาชน
จีนตอนใต้ได้ทั้งการเดินทางและการขนส่งสินค้า นักวิชาการ ตลอดจนผู้บริหารระดับสูง นอกจากนี้ การมี
นอกจากน้ภี าคตะวันออกเฉยี งเหนือยังมีศักยภาพด้านการ งานทำและรายได้ที่อาจปรับตัวสูงขึ้นของประชาชนใน
ท่องเท่ียวเมอื งชายแดนดว้ ย พื้นที่ ซึ่งเป็นบริบทการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ
สังคมในระดบั ภูมิภาคส่งผลให้ภูมิภาคใต้แห่งนีเ้ ขา้ สู่สังคม
อย่างไรก็ตาม หากมีการการเปิดใช้ เมือง (Urbanization) ซึ่งจะปรับเปลี่ยนสังคม วิถีชีวิต
รถไฟความเร็วสูงจากจีน นอกจากเป็นโอกาสในการ ตลอดจนอัตลักษณ์ด้านการบริโภคของคนในพื้นที่เป็น
เชอื่ มตอ่ แลว้ ยงั เป็นอปุ สรรคสำคญั ทางการคา้ ทจี่ ะมสี ินคา้ อยา่ งมาก รวมถงึ การแพร่ขยายของวัฒนธรรมภมู ภิ าคและ
และบริการจากจีนไหลเข้ามาในประเทศไทยเป็นจำนวน โลก ทำให้เกิดการเรียนรู้/แลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมที่
มาก ซึ่งต้องมีการเตรียมความพร้อมในการรับมือใน

2-32

แตกต่าง เกิดการผสมผสานเป็นวัฒนธรรมใหม่ หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นภาคที่มี
วัฒนธรรมย่อย แต่การแพร่ขยายของวัฒนธรรมดังกล่าว ความอุดมสมบูรณ์ของฐานทรัพยากรค่อนข้างน้อย
ผนวกกับการพัฒนาไปสู่ความเป็นเมือง ทำให้เกิดการ เนื่องจากลักษณะทางภมู ิศาสตร์ไม่เอ้ืออำนวย โดยเฉพาะ
เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตแบบสังคมชนบทไปเป็นวิถีชีวิตแบบ ปัญหาด้านทรัพยากรน้ำ ที่มีความจำเป็นในการดำรงชีวติ
เมือง ความผูกพันทางสังคมจากฐานประเพณีและ รวมถึงเพื่อการเกษตร ดังนั้นควรมีทิศทางการบริหาร
วัฒนธรรมเริ่มอ่อนแอ และมีบทบาทในการสร้างความ จัดการน้ำ คือ การจัดการทั้งระบบลุ่มน้ำ โดยมีประเด็น
เข้มแขง็ ของชมุ ชนลดลง คนรุ่นใหมร่ ับวัฒนธรรมตะวันตก สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดสรรน้ำเพื่อรองรับการขยายตัว
ที่นิยมการสร้างอัตลักษณ์ส่วนตัวมากขึ้น ส่งผลต่อ ของภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่เดิมและพื้นที่เขตเศรษฐกิจ
วฒั นธรรมทบี่ ่งบอกความเป็นไทยเร่มิ เส่ือมถอย รวมถึงวิถี การค้าชายแดน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดหาน้ำในพื้นที่
ชีวิตแบบบริโภคนิยม ส่งผลให้เกิดการใช้จ่ายฟุ่มเฟือย เกษตรกรรมท่มี คี วามต้องการใช้น้ำทงั้ เพ่อื เพม่ิ ผลผลิตและ
ขาดการออม เกิดภาวะหนี้สิน และจากการรวมกลุ่มทาง การผลิตนอกฤดู รวมทั้งการทำเกษตรพื้นฐานเพื่อการ
เศรษฐกิจที่เป็นผลจากบริบทภูมิภาคอาเซียนและโลก ทำ ดำรงชีพ (2) การขยายแหล่งน้ำและระบบชลประทานให้
ให้เกิดการย้ายถิ่นของแรงงานข้ามชาติทั้งแรงงานที่มีฝีมือ เต็มศักยภาพจะทำให้สามารถบรรลุเป้าหมายการเป็น
และไร้ฝีมือ เพื่อทดแทนกำลังแรงงานในประเทศที่เป็น แหล่งผลติ อาหารทส่ี ำคญั ของประเทศ
สังคมผู้สูงอายุซึ่งการเคลื่อนย้ายแรงงาน อาจทำให้เกิด
ปัญหา เช่น ความไม่ปลอดภัยจากการย้ายฐานยาเสพติด สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพ
มาชายแดน โรคติดต่อ การลักลอบสินค้าหนีภาษี เป็นต้น ภูมิอากาศโลกส่งผลต่อรอบการเกิดภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ
พร้อมกนั นี้ควรแกไ้ ขปัญหาความไม่สงบในจงั หวดั ชายแดน ที่บ่อยครั้งขึ้น ซึ่งส่งผลต่อความจำเป็นต่อการป้องกันและ
ภาคใต้ตามแนวทางสันติวิธีและการตระหนักในคุณค่า แก้ไขภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งจะส่งผลต่อการ
ความหลากหลายทางวฒั นธรรม กำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินสำหรับพื้นที่เมือง พื้นที่
อุตสาหกรรม และพื้นที่เกษตรกรรม โดยเฉพาะภัยแล้ง
2.4.2 ด้านทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และภัยน้ำทว่ ม ซ่งึ เป็นปญั หาทีย่ าวนานมาต้ังแต่อดตี แนว
ทางการแก้ไข คอื การสร้างพื้นทีร่ องรบั น้ำ การอนรุ ักษ์ป่า
และภัยพบิ ัติ ต้นน้ำลำธาร พื้นที่ชุ่มน้ำ การคืนพื้นที่น้ำท่วมให้กลับสู่
ธรรมชาติ การกำหนดพื้นทหี่ า้ มพัฒนาใด ๆ ทกี่ ีดขวางทาง
ถึงแม้ว่าทิศทางการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม น้ำหลาก และหากจำเป็นต้องก่อสร้างควรจัดทำระบบ
และเกษตรกรรมในอนาคตจะใช้เทคโนโลยีเป็นตัว พ้นื ที่ปดิ ลอ้ มชมุ ชนในเมืองหลักหรอื สรา้ งคลองผันน้ำ การ
ขับเคลื่อนการผลติ แต่อย่างไรกต็ ามยังมีความจำเป็นต้อง ปรับปรุงเส้นทางคมนาคมทางบกต่าง ๆ ที่ก่อสร้างขึ้นกีด
วางแผนการบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรที่เหมาะสม ขวางทางไหลของน้ำ และเป็นต้นเหตุประการหนึ่งของ
พร้อมกับการรักษาและฟื้นฟูทรัพยากรทางธรรมชาติ ซ่ึง อุทกภัยพื้นที่เศรษฐกิจสำคัญ รวมถึงการเตรียมพื้นที่กัก
จากเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืนมีเป้าหมายในการ เก็บน้ำ และเตรียมแก้ปัญหาดินเคม็ เพื่อลดผลกระทบตอ่
ปฏิบัติการอย่างเร่งด่วนเพื่อต่อสู่กับการเปลี่ยนแปลง ภาคเกษตรกรรม
สภาพภมู ิอากาศและผลกระทบท่ีเกดิ ข้นึ การอนรุ ักษ์และ
ใชป้ ระโยชนจ์ ากมหาสมุทร ทะเล และทรัพยากรทางทะเล 2.4.3 ด้านการพัฒนาเมืองและชนบท และการ
อย่างยั่งยืน การปกป้องฟื้นฟู และสนับสนุนการใช้ระบบ ใชป้ ระโยชนท์ ่ีดิน
นิเวศบนบกอย่างยั่งยืน การจัดการป่าไม้และต่อสู้กับการ 1) การพฒั นาเมืองและชนบท
กลายสภาพเป็นทะเลทราย หยุดการสูญเสียความ
หลากหลายทางชีวภาพ มุ่งเน้นการอนุรักษ์พื้นที่ จากนโยบายประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ทรัพยากรชาติไมว่ ่าจะเปน็ ทรัพยากรปา่ ไม้ ทรพั ยากรพ้นื ที่ และแผนพัฒนาต่าง ๆ โดยเฉพาะยุทธศาสตร์การพัฒนา
ชุ่มน้ำ ทรัพยากรแร่และทรัพยากรธรณี ทรัพยากรชายฝงั่ ภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ที่มุ่งเน้นให้พัฒนา
ทะเล ทรัพยากรดินและการใช้ที่ดิน ทรัพยากรน้ำ การ สภาพแวดล้อมเมืองศูนย์กลางจังหวัดให้เป็นเมืองน่าอยู่
รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมโดยการควบคุม ป้องกันและ เพิม่ ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการเมือง การพัฒนาพื้นท่ี
ขจัดปัญหาภาวะมลพิษอย่างน้อยอยู่ในระดับมาตรฐาน เศรษฐกิจชายฝั่งทะเลตะวันออก พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ
กำหนดพื้นที่ควบคุมมลพิษและพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม ชายแดน การเพิ่มพื้นที่เมืองเศรษฐกิจ การกระจาย
และการพฒั นาพ้ืนที่สีเขียวในเขตเมือง ศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี
ส่งผลให้เกิดการพัฒนาบทบาทและศักยภาพเมือง

2-33

ศูนย์กลางหลักและรองที่ตั้งอยู่จากกิจกรรมทางการค้า ที่ปลอดภัยและยั่งยืน เพื่อการบริโภคและการส่งออกสู่
บริการ และการขนส่งระหว่างประเทศ โดยมีทิศทางการ ชายแดนของประเทศและนานาชาติ
พัฒนาเมืองและชนบทจำแนกตามบทบาทของเมืองได้
ดังนี้ (3) การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภท
เกษตรกรรม จะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในกลุ่มจังหวัดที่เป็น
(1) การพัฒนาเมืองศูนย์กลางหลักของ พื้นที่ยุทธศาสตรด์ า้ นการเกษตรกรรม ได้แก่ แหล่งเกษตร
จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัด แปรรูป และประมง แหล่งการทำประมงและเพาะเลี้ยง
นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี และอุบลราชธานี จะมี สตั วน์ ้ำบรเิ วณชายฝัง่ อา่ วไทย
การเปลี่ยนแปลงระดับบทบาทจากเดิมที่มีความสำคัญใน
ระดับภาคเป็นระดับระหว่างประเทศ โดยการเพิ่มความ 2.4.4 ดา้ นโครงสร้างพนื้ ฐาน และการคมนาคม
หนาแน่นในพื้นที่ศูนย์กลางเมืองของจังหวัด โดยเฉพาะ ขนสง่ และโลจิสติกส์
เขตเทศบาลนครและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยรอบ 1) การคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์
เพอ่ื รองรบั การขยายตัวของประชากร และกิจกรรมต่าง ๆ
ทั้งด้านการบริหารปกครอง การค้าและการบริการ การ ผลจากการการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
คมนาคม การศึกษา และการสาธารณสุขของจังหวัด และการคมนาคมขนส่งตามกรอบความร่วมมือระหว่าง
ประเทศในอาเซียนและด้วยศักยภาพด้านตำแหน่งที่ตั้ง
(2) การพฒั นาเมืองใหม่บริเวณชายแดน ทางภูมิศาสตร์ ทำให้ภาคเหนือมีบทบาทเป็นศูนย์กลาง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดหนองคาย การเชื่อมโยงไปยังจีนตอนใต้และเชื่อมต่อไปยังกลุ่ม
นครพนม สกลนคร และอุบลราชธานี เพื่อรองรับแรงงาน ประเทศในเอเชียใต้ ทำให้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมี
ทั้งจากภูมิภาคอื่นและประเทศเพื่อนบ้านที่จะเข้ามาใน บทบาทเป็นศูนย์กลางการเชื่อมโยงไปยังกลุ่มประเทศใน
จงั หวดั มากข้นึ รวมถึงประชากรแฝงทอี่ าจเพมิ่ ขึ้นตามการ อาเซียนและเอเชีย กล่าวคือ อยู่ในแนวระเบียงเศรษฐกิจ
ขยายตัวของเศรษฐกจิ ตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor)
ซึ่งเป็นแนวระเบียงเศรษฐกิจที่เชื่อมโยงเมือง เมืองดานัง
(3) การพัฒนาเมอื งศูนย์กลางรอง จะถกู และท่าเรือน้ำลึกที่เป็นประตูการค้าชายฝั่งทะเลของ
พัฒนาเป็นเมืองที่มีความโดดเด่นด้านอุตสาหกรรม ประเทศเวียดนามกับเมืองท่ามะละแหม่งของเมียนมา ทำ
ท่องเที่ยวและบริการ ส่งผลให้แหล่งท่องเที่ยว และส่ิง ให้ภาคกลางมีบทบาทเป็นศูนย์กลางการเชื่อมโยงไปยัง
อำนวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว จะถูกพัฒนาขึ้น เมียนมาตอนใตแ้ ละเชื่อมตอ่ ทางทะเลที่ทวาย และภาคใต้
เป็นจำนวนมาก ทำให้ท้องถิ่นจำเป็นต้องวางแผนรองรับ มีบทบาทศูนย์กลางด้านโลจิสติกส์ของภูมิภาคและ
การขยายตัวของเมืองควบคู่ไปด้วยเพื่อลดผลกระทบท่ี เชื่อมโยงเอเชียใต้ ตะวันออกกลาง ทวีปยุโรป และทวีป
เกิดขึ้น อาทิ การรุกล้ำพื้นที่ป่า พื้นที่เกษตร ปริมาณขยะ อเมริกา โดยการขนส่งทางน้ำ ทั้งยังเป็นการสร้างโอกาส
และสิ่งปฏิกูลที่เพิ่มมากขึ้น ความเพียงพอของบริการ ให้ชายฝัง่ อ่าวไทยตอนลา่ งเป็นศนู ย์กลางในกจิ กรรมขนส่ง
พ้นื ฐาน เป็นต้น ทะเลที่มศี ักยภาพ

(4) การพัฒนาเมืองศูนย์กลางที่มี เมื่อพิจารณาจากยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
บทบาทพิเศษ เช่น จงั หวดั บุรรี ัมยท์ ่ีเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิง ซึ่งมีประเด็นที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาเรื่องการเชื่อมโยง
กีฬา ภเู กต็ เป็นเมืองทอ่ งเท่ียวทางทะเลระดับโลก เป็นต้น โครงข่ายไร้รอยต่อ สร้างเส้นทางเขตเศรษฐกิจพิเศษ และ
ซึ่งต้องได้รับการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสม โครงการลงทุนด้านการคมนาคมขนส่ง จากยุทธศาสตร์
สำหรับกิจกรรมดังกล่าว รวมถึงมาตรการด้านการใช้ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ ซ่ึง
ประโยชน์ที่ดินที่เหมาะสมไม่กระทบกับลักษณะความ มุ่งเน้นการเชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมไร้รอยต่อ มีการ
เปน็ อตั ลักษณข์ องพื้นที่ ลงทุนโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่งเกิดข้ึน
จำนวนมาก อาทิ โครงการกอ่ สร้างทางหลวงพเิ ศษระหวา่ ง
2) การใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ เมือง โครงการก่อสร้างโครงข่ายทางรถไฟทางคู่ โครงการ
(1) การใช้ประโยชน์ท่ีดนิ ประเภทชุมชน รถไฟความเร็วสูง เพื่อรองรับโอกาสที่จะสามารถขยาย
ตลาดอตุ สาหกรรม และการทอ่ งเทย่ี ว
และสิ่งปลูกสร้าง จะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในทุกเมือง ทำให้มี
การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นที่ฐานเพื่อเชื่อมโยงเส้นทาง
คมนาคมขนส่ง ส่งผลให้มีการขยายตวั ของพ้ืนที่ชุมชนและ
สิ่งปลูกสร้างในแนวโครงการพื้นฐานด้านการคมนาคม
ขนส่งหลัก สัดส่วนการเพิ่มขึ้นมากหรือน้อยขึ้นกับการ
พัฒนาลงทุนด้านอุตสาหกรรมและคลังสนิ คา้

(2) การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภท
อุตสาหกรรมและคลังสินค้า จะมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในกลุ่ม
พื้นที่ที่กำหนดให้มีการลงทุน การพัฒนาเพื่ออุตสาหกรรม

2-34

2) สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
การที่ประเทศไทยเข้าสู่การเป็นประชาคม

อาเซียน และการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษในแต่ละภาค
ของประเทศที่มีศักยภาพในด้านการค้าชายแดน ซึ่งเป็น
หนง่ึ ในการบรรลเุ ป้าหมายตามวสิ ยั ทัศน์ไทยแลนด์ 4.0 จะ
ส่งผลให้ไทยจะเชื่อมโยงกับประชาคมโลกมากยิ่งขึ้น
ดังนั้นทิศทางการพัฒนาประเทศจึงเร่งพัฒนาความ
สามารถในการแข่งขัน ซึ่งในช่วง 3 ปีที่ผ่านมาภาครัฐได้
ลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานเพิ่มขึ้นจำนวนมากในด้าน
คมนาคมขนส่งและดา้ นพลังงาน เพื่อรองรบั ความต้องการ
ใช้งานที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต รวมถึงการสร้างสภาพ
แวดล้อมที่ทำให้เกิดนวัตกรรมและธุรกิจใหม่ๆ โดยเปิด
โอกาสให้เอกชนเข้ามาร่วมลงทุนในรูปแบบ PPP (Public
Private Partnership) ระหว่างภาครัฐและภาคธรุ กิจมาก
ข้นึ เพอ่ื ใหท้ ันต่อการขยายตัวในภาคอตุ สาหกรรม ในส่วน
สาธารณูปโภคและสาธารณูปการที่จำเป็นต้องเร่งพัฒนา
ได้แก่ ด้านการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศและด้าน
การศึกษา เนื่องจากเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นต่อ
วิสัยทัศน์ไทยแลนด์ 4.0 ที่สนับสนุนให้เกิดนวัตกรรมใน
ประเทศมากข้ึน

2-35



บทที่ 3 : การติดตามสถานการณ์พ้ืนท่ี

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นภาคหนึ่งใน นครราช ีสมามลู คา่ เปน็ ลำดับที่ 1 จาก 4 ภูมิภาค คือ ภาคกลาง ภาคใต้
ประเทศไทยที่มีความสำคัญ ทั้งในลักษณะที่ตั้ง ที่มีความ ขอนแ ่กนและภาคเหนือของประเทศไทย
เชือ่ มต่อกบั พื้นทภ่ี าคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก
ของประเทศ และรวมถึงการเชื่อมต่อกับประเทศเพื่อน ุอบลราชธา ีนเมื่อพิจารณามูลค่าโครงสร้างทางเศรษฐกิจของ
บ้านทางฝั่งตะวันออกของประเทศ ทั้งประเทศที่มี ุอดรธา ีนภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ในระดับจังหวดั พบว่า จังหวดั ทม่ี ี
พรมแดนเชื่อมต่อกัน เช่น สาธารณรัฐประชาธิปไตย ุบรี ัรมย์มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมมากทีส่ ุด คือ นครราชสีมา โดยมี
ประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา และประเทศท่ี สุรินทร์มูลคา่ 264,964 ล้านบาท หรอื คิดเป็นรอ้ ยละ 19.95 ของ
สามารถเชอ่ื มต่อกันโดยใช้ประเทศเพอ่ื นบา้ นทีม่ อี าณาเขต ร้อยเ ็อดผลิตภัณฑ์มวลรวมภาค รองลงมา ใน 3 ลำดับแรก ได้แก่
ติดกันเป็นทางผ่าน เช่น สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ศ ีรสะเกษขอนแก่น (ร้อยละ 14.10) อุบลราชธานี (ร้อยละ 8.48)
เปน็ ตน้ ัชย ูภ ิมและ อุดรธานี (ร้อยละ 7.44) ตามลำดับ จะเห็นได้ว่า
จังหวัดอันเป็นที่ตั้งของเมืองหลักของภาค เป็นจังหวัดที่มี
พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือครอบคลุม มหาสารคามส่วนแบ่งใน ผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคในลำดับแรกๆ ซ่ึง
จังหวัดทั้ง 20 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ กาฬ ิสนธุ์สะท้อนใหเ้ ห็นถงึ ความสำคัญเชิงเศรษฐกจิ ของจังหวดั หลกั
สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ สกลนครไดเ้ ป็นอยา่ งดี
อำนาจเจริญ บึงกาฬ หนองบัวลำภู ขอนแก่น อุดรธานี เลย
เลย หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม25
นครพนม และมุกดาหาร โดยการติดตามสถานการณ์ หนองคาย2558
พ ั ฒ น า พ ื ้ น ท ี ่ ภ า ค ต ะ ว ั น อ อ ก เ ฉ ี ย ง เ ห น ื อ ส า ม า ร ถ ส รุ ป ยโสธร
ประเดน็ ต่าง ๆ ไดด้ งั นี้ ุมกดาหาร20 2548
ึบงกาฬ15
3.1 เศรษฐกจิ 10
หนอง ับวลา ูภ5
โครงสร้างเศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อานาจเจ ิรญ0
ของประเทศไทย ในปี พ.ศ.2558 มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวล
รวมภาค ณ ราคาประจำปี เท่ากับ 1,327,918 ล้านบาท รูปที่ 3.1-1 แสดงสดั สว่ นผลิตภัณฑม์ วลรวมจังหวัด
โดยแบ่งออกเป็นภาคการผลิต 3 ส่วน พบว่า ภาคการค้า พ.ศ.2548 – 2558
และบริการมีส่วนแบ่งใน ผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคมากที่สุด
ที่ร้อยละ 55.07 (731,304 ล้านบาท) รองลงมา คือ มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาค (GRP) สาขาการ
ภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 24.15 (320,695 ล้านบาท) ผลิตด้านเกษตรกรรม การล่าสัตว์และการป่าไม้ และการ
และภาคเกษตรกรรม ร้อยละ 20.78 (275,920 ล้านบาท) ประมง (GRP) ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีมูลค่า
ตามลำดบั รวมกันคิดเป็นร้อยละ 16.02 ของภาคตะวันออก
เฉียงเหนือทั้งหมด และร้อยละ 23.06 ของมูลค่า
สำหรับการเปลย่ี นแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ ผลติ ภัณฑ์มวลรวม สาขาการผลิตด้านเกษตรกรรม การล่า
ในอนุกรมเวลาช่วง 10 ปี ระหว่าง ปี พ.ศ.2548 – 2558 สัตว์และการป่าไม้ และการประมง (GDP) ประเทศไทย
พบว่า ลำดับของโครงสร้างทางเศรษฐกิจยังไม่มีการ โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีการใช้ที่ดินเพื่อทำ
เปลี่ยนแปลง กล่าวคือ การผลิตในภาคการค้าและบริการ การเกษตรในปี พ.ศ.2558 ทั้งสิ้นจำนวน 72,453,961.24
ยังคงมีส่วนแบ่งใน ผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคมากที่สุด ไร่ โดยพื้นที่เกษตรกรรมส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัด
เช่นเดียวกับการวิเคราะห์ในอนุกรมเวลาช่วง 20 ปี นครราชสีมา จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดอุดรธานี
ระหว่างปี พ.ศ.2538 – 2558 ก็ได้ผลเช่นเดียวกัน ดังน้ัน
จึงสามารถสรุปการวิเคราะห์ไดอ้ ยา่ งชดั เจนว่า ภาคการค้า
และบริการยังคงเป็นฐานการผลิตขนาดใหญ่ของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ เมื่อพิจารณามูลค่าโครงสร้างทาง
เศรษฐกิจของภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปรียบเทียบกับ
ภูมภิ าคอื่นในประเทศจะพบวา่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมี

3-1


Click to View FlipBook Version