The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 110สุภาวดี คําสมัย, 2024-02-01 00:55:11

แผนจัดการเรียนรู้เทอม2

แผนการจัดการเรียนรู้2

แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาวสุภาวดี คำ สมัย นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู รหัสนักศึกษา 63040113110 ร า ย วิ ช า ฟิ สิ ก ส์ 2 ร หั ส วิ ช า ว 3 0 2 0 2 โรงเรียนศรีธาตุพิทยาคม สาขาวิทยาศาสตร์ทั่วไปและฟิสิกส์ คณะครุศาสตร์ มหา วิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา ฟิสิกส์ 2 รหัสวิชา ว30202 โดย นางสาวสุภาวดี ค าสมัย นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนศรีธาตุพิทยาคม อ าเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี


คำอธิบายรายวิชา (รายวิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ว30202 รายวิชาฟิสิกส์ 2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 รวม 60 ชั่วโมง จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ จำนวน 1.5 หน่วยกิจ ……………………………………………………………………………………………………………………….……………………. ศึกษาหลักการของกลศาสตร์ในเรื่องสมดุลกล และเงื่อนไขที่ทำให้วัตถุหรือระบบอยู่ในสมดุล กล ศูนย์กลางมวลของวัตถุและผลของศูนย์ถ่วงที่มีต่อเสถียรภาพของวัตถุ งาน พลังงาน ความสัมพันธ์ ระหว่างงานและพลังงานจลน์ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์โน้มถ่วง และความสัมพันธ์ ระหว่างขนาดของแรงที่ใช้ดึงสปริงกับระยะที่สปริงยืดออก แรงอนุรักษ์ กฎการอนุรักษ์พลังงาน กำลัง เครื่องกลอย่างง่าย ประสิทธิภาพและการได้เปรียบเชิงกลของเครื่องกลอย่างง่ายบางชนิด โมเมนตัม การชนกันของวัตถุในหนึ่งมิติ การดล แรงดล และกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม การเคลื่อนที่แบบโพรเจก ไทล์ และการเคลื่อนที่แบบวงกลมในระนาบระดับ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้การสืบค้นข้อมูล การสังเกต วิเคราะห์ เปรียบเทียบ อธิบาย อภิปราย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถใน การตัดสินใจ มีทักษะปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ รวมทั้งทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในด้านการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการคิดและการแก้ปัญหา ด้านการสื่อสาร สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม


ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายสมดุลกลของวัตถุ โมเมนต์ และผลรวมของโมเมนต์ที่มีต่อการหมุน แรงคู่ควบและ ผลของแรงคู่ควบที่มีต่อสมดุลของวัตถุ เขียนแผนภาพของแรงที่กระทำต่อวัตถุอิสระเมื่อวัตถุอยู่ใน สมดุลกล และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งทดลองและอธิบายสมดุลของแรงสามแรง 2. สังเกต และอธิบายสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุเมื่อแรงที่กระทำต่อวัตถุผ่านศูนย์กลางมวล ของวัตถุ และผลของศูนย์ถ่วงที่มีต่อเสถียรภาพของวัตถุ 3. วิเคราะห์ และคำนวณงานของแรงคงตัว จากสมการและพื้นที่ใต้กราฟความสัมพันธ์ ระหว่างแรงกับตำแหน่ง รวมทั้งอธิบาย และคำนวณกำลังเฉลี่ย 4. อธิบาย และคำนวณพลังงานจลน์ พลังงานศักยพลังงานกล ทดลองหาความสัมพันธ์ ระหว่างงานกับพลังงานจลน์ ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์โน้มถ่วงความสัมพันธ์ระหว่าง ขนาดของแรงที่ใช้ดึงสปริงกับระยะที่สปริงยืดออกและความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์ ยืดหยุ่น รวมทั้งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างงานของแรงลัพธ์และพลังงานจลน์ และคำนวณงานที่ เกิดขึ้นจากแรงลัพธ์ 5. อธิบายกฎการอนุรักษ์พลังงานกล รวมทั้งวิเคราะห์ และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับการเคลื่อนที่ของวัตถุในสถานการณ์ต่าง ๆโดยใช้กฎการอนุรักษ์พลังงานกล 6. อธิบายการทำงาน ประสิทธิภาพและการได้เปรียบเชิงกลของเครื่องกลอย่างง่ายบางชนิด โดยใช้ความรู้เรื่องงานและสมดุลกล รวมทั้งคำนวณประสิทธิภาพและการได้เปรียบเชิงกล 7. อธิบาย และคำนวณโมเมนตัมของวัตถุและการดลจากสมการและพื้นที่ใต้กราฟ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงลัพธ์กับเวลา รวมทั้งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงดลกับโมเมนตัม 8. ทดลอง อธิบาย และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการชนของวัตถุในหนึ่งมิติ ทั้งแบบ ยืดหยุ่น ไม่ยืดหยุ่น และการดีดตัวแยกจากกันในหนึ่งมิติซึ่งเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม 9. อธิบาย วิเคราะห์ และคำนวณปริมาณต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ และทดลองการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ 10. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงสู่ศูนย์กลาง รัศมีของการเคลื่อนที่อัตราเร็ว เชิงเส้น อัตราเร็วเชิงมุม และมวลของวัตถุ ในการเคลื่อนที่แบบวงกลมในระนาบระดับ รวมทั้งคำนวณ ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องและประยุกต์ใช้ความรู้การเคลื่อนที่แบบวงกลมในการอธิบายการโคจรของ ดาวเทียม รวมผลการเรียนรู้ทั้งหมด 10 ข้อ


การจัดท าโครงสร้างรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว30202 ชื่อวิชา ฟิสิกส์ 2 จ านวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ จ านวน 1.5 หน่วยกิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียน ที่ 2 หน่วย ที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลาเรียน (ชั่วโมง) หมาย เหตุ 4 สมดุลกล (12 ชวั่โมง) สาระฟิสิกส์ 1. เข้าใจธรรมชาติทาง ฟิสิกส์ ปริมาณและ กระบวนการวัด การ เคลื่อนที่แนวตรง แรงและ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทาน รวมทั้งนำ ความรู้ไปใช้ประโยชน์ สมดุลกล 2 10 ศูนย์กลางมวลและศูนย์ถ่วง 2 คะแนน สมดุลต่อการเลื่อนที่ 2 สมดุลต่อการหมุน 4 สมดุลต่อการหมุน 2 5 งานและพลังงาน (20 ชวั่โมง) สาระฟิสิกส์ 1. เข้าใจธรรมชาติทาง ฟิสิกส์ ปริมาณและ กระบวนการวัด การ เคลื่อนที่แนวตรง แรงและ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทาน รวมทั้งนำ ความรู้ไปใช้ประโยชน์ การเกิดคลื่น 2 15 คะแนน ส่วนประกอบของคลื่น 2 การซ้อนทับของคลื่น 2 สมบัติของคลื่น 4 หน่วย ที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลาเรียน (ชั่วโมง) หมาย เหตุ 6 โมเมนตัมและ การชน (16 ชวั่โมง) สาระฟิสิกส์ 1. เข้าใจธรรมชาติทาง ฟิสิกส์ ปริมาณและ การแทรกสอดของแสง 3 15 คะแนน การเลี้ยวเบนของแสง 3 เกรตติง 3


กระบวนการวัด การ เคลื่อนที่แนวตรง แรงและ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทาน รวมทั้งนำ ความรู้ไปใช้ประโยชน์ 7 การเคลื่อนที่แนว โค้ง (8 ชวั่โมง) สาระฟิสิกส์ 1. เข้าใจธรรมชาติทาง ฟิสิกส์ ปริมาณและ กระบวนการวัด การ เคลื่อนที่แนวตรง แรงและ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทาน รวมทั้งนำ ความรู้ไปใช้ประโยชน์ การสะท้อนของแสง 3 10 คะแนน การหักเหของแสง 3 การสะท้อนกลับหมด 2 การมองเห็นและการเกิดภาพ 2 เลนส์บาง 3 แสงสีและการมองเห็น 3 ปรากฏการณ์เกี่ยวกับแสง 4 รวมทั้งหมด 60 100


แผนจัดการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา ว 30202 ฟิสิกส์ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สมดุลกล เรื่อง สมดุลกล เวลา 2 ชั่วโมง ครูผู้สอน นางสาวสุภาวดี ค าสมัย 1. สาระการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ สาระฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) เข้าใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรง แรงและกฎการ เคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทานสมดุลกล ของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษ์ พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ์ โมเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโค้ง รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายสมดุลกลของวัตถุ โมเมนต และผลรวมของโมเมนตที่มีตอการหมุน แรงคูควบและ ผลของแรงคูควบที่มีตอสมดุลของวัตถุ เขียนแผนภาพของแรงที่กระทําตอวัตถุอิสระเมื่อวัตถุอยูใน สมดุลกล และคํานวณปริมาณตาง ๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งทดลองและอธิบายสมดุลของแรงสามแรง 2. สาระส าคัญ สมดุลกลเป็นสภาพที่วัตถุรักษาสภาพการเคลื่อนที่ ให้คงเดิมคือหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ด้วย ความเร็ว คงตัวหรือหมุนด้วยความเร็วเชิงมุมคงตัว 3. จุประสงค์การเรียนรู้ 3.1 อธิบายความหมายของสมดุลกล สมดุลสถิต และสมดุลจลน์ได้(K) 3.2 ยกตัวอย่างของสมดุลกล สมดุลสถิต และสมดุลจลน์ได้(P) 3.3 ใฝ่เรียนรู้และมีความมุ่งมั่นในการทำงาน (A) 4. สาระการเรียนรู้ วัตถุที่อยูในสมดุลกล หรือเรียกสั้น ๆ วาสมดุล คือ วัตถุที่รักษาสภาพการเคลื่อนที่ใหคงเดิม วัตถุที่อยูในสมดุลสถิต คือ วัตถุที่อยูนิ่งและไมมีการหมุน วัตถุที่อยูในสมดุลจลน คือ วัตถุที่มีการเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัวหรือมีการหมุนดวย อัตราเร็วคงตัว วัตถุที่อยูในสมดุลตอการเลื่อนที่ คือ วัตถุที่หยุดนิ่งหรือมีการเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัว วัตถุที่อยูในสมดุลตอการหมุน (rotational equilibrium) คือ วัตถุที่ไมมีการหมุนหรือหมุน ด้วย อัตราเร็วคงตัว


5. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 1. มุ่งมั่นในการทำงาน 2. ใฝ่เรียนรู้ 6. กิจกรรมการเรียนรู้ (แบบสืบเสาะหาความรู้ 5E) ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างความสนใจ 1.1 ครูให้นักเรียนดูภาพของวัตถุที่มีสภาพการเคลื่อนที่แตกต่างกัน เช่น วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ วัตถุที่อยู่นิ่ง หรือ วัตถุที่กำลังหมุนแต่อยู่นิ่ง โดยแต่ละภาพให้นักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับรูปแบบของ การเคลื่อนที่และแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุ ( เปิดโอกาสให้นักเรียนตอบอย่างอิสระ ไม่คาดหวังคำตอบ ที่ถูกต้อง) 1.2 ครูทบทวนกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎข้อที่ 1 ของนิวตัน วัตถุจะรักษาสภาพอยูนิ่งหรือสภาพเคลื่อนที่อยางสม่ำเสมอ นอกจากจะมีแรงลัพธที่ มีคาไมเทากับศูนย แสดงวาวัตถุพยายามรักษาสภาพเดิมของวัตถุอยูเสมอ ถาอยูนิ่งก็จะอยูนิ่งตลอดถา เคลื่อนที่ก็จะเคลื่อนที่ดวย ความเร็วคงที่ กฎขอนี้จึงเรียกวา " กฎความเฉื่อย " กฎขอที่ 2 ของนิวตัน เมื่อมีแรงลัพธที่มีคาไมเทากับศูนยมากระทําตอวัตถุ จะทําใหวัตถุเกิดความเรงในทิศ เดียวกับแรงลัพธ์ที่มากระทําและขนาดของความเรงนี้จะแปรผันตรงกับขนาดของแรงลัพธ และ แปรผกผันกับมวลของวัตถุ กฎขอที่ 3 ของนิวตัน ทุกแรงกิริยายอมมีแรงปฏิกิริยาขนาดเทากันกระทําในทิศตรงกันขามเสมอ หรือแรง กระทําซึ่งกันและกันของวัตถุสองกอนยอมมีขนาดเทากันแตมีทิศทางตรงกันขาม ขั้นที่ 2 ขั้นส ารวจและค้นหา 2.1 ครูให้นักเรียนสืบค้นความหมายของสมดุลกล ความเร็วเชิงมุม สมดุลสถิต สมดุลจลน์ สมดุลต่อการเลื่อนที่ และสมดุลต่อการหมุน ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 3.1 ครูและนักเรียนรวมกันสรุปวา ขณะวัตถุอยูนิ่ง แรงลัพธที่กระทําตอวัตถุเปนศูนยซึ่งเปนไปตามกฎการเคลื่อนที่ของ นิวตัน สภาพวัตถุที่อยูนิ่งนี้ เรียกวา วัตถุอยูในสมดุลตอการเลื่อนที่และจัดเปนสมดุลสถิต


ขณะวัตถุกําลังเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัว แรงลัพธที่กระทําตอวัตถุเปนศูนย เช่นเดียวกับเมื่อวัตถุหยุดนิ่ง ดังนั้นสภาพที่วัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัวเรียกวา วัตถุสมดุลตอการ เลื่อนที่ และจัดเปนสมดุลจลน ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้ 4.1 ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายจากสถานการณ์ ใบพัดลมที่กำลังหมุนด้วยความเร็วเชิงมุม คงตัวโดยไม่ส่ายไปส่ายมา ว่าอยู่ในสมดุลแบบใด (แนวคำตอบ : ใบพัดลมหมุนด้วยความเร็วเชิงมุมคง ตัวแสดงว่าอยู่ในสมดุลต่อการหมุน) 4.2 ครูให้นักเรียนยกสิ่งรอบตัวมาเป็นตัวอย่าง และให้นักเรียนร่มกันอภิปรายว่าสิ่งนั้นอยู่ใน สมดุลแบบใด ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล 5.1 สังเกตจากการตอบคำถามตรวจสอบความเข้าใจ 4.1 7. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 7.1 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟิสิกส์ 2 สสวท. 7.2 อินเทอร์เน็ต 8. การวัดประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 1) อธิบายความหมายของ สมดุลกล สมดุลสถิต และ สมดุลจลน์ได้(K) - ตรวจคำถามตรวจสอบ ความเข้าใจ 4.1 - คำถามตรวจสอบความ เข้าใจ 4.1 ร้อยละ 60 ขึ้นไป 2) ยกตัวอย่างของสมดุล กล สมดุลสถิต และสมดุล จลน์ได้(P) - ตรวจการตอบคำถาม ในชั้นเรียน - คำถามในชั้นเรียน ระดับ 2 ผ่านเกณฑ์ 3) ใฝ่เรียนรู้และมีความ มุ่งมั่นในการทำงาน (A) - สังเกตพฤตกรรมการ ทำงาน - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับ 2 ผ่านเกณฑ์


ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย 1. ทุกองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับมาตรฐานและผลการเรียนรู้ ◻ เหมาะสม ◻ควรแก้ไข/เพิ่มเติม............................................................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. กิจกรรมการเรียนการสอนเป็นไปตามลำดับขั้นตอน ◻ เหมาะสม ◻ ควรแก้ไข/เพิ่มเติม............................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. สื่อและอุปกรณ์สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนการสอน ◻ เหมาะสม ◻ ควรแก้ไข/เพิ่มเติม............................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..… 4. เวลาที่ใช้ในการสอนในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ◻ เหมาะสม ◻ ควรแก้ไข/เพิ่มเติม............................................................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… 5. การวัดและประเมินผล ◻ เหมาะสม ◻ ควรแก้ไข/เพิ่มเติม............................................................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ลงชื่อ................................................. (นางสาวรัตน์จาณี อรัญเพิ่ม) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ / ผู้ตรวจ ◻ เหมาะสม ◻ ควรแก้ไข/เพิ่มเติม........................................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………………………. (นายทศพล มั่งมีศรี) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ◻อนุญาตให้ใช้จัดการเรียนการสอนได้ ลงชื่อ................................................ (นายสนทยา เจริญพันธ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนศรีธาตุพิทยาคม


แผนจัดการเรียนรูที่ 2 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวิชา ว 30202 ฟสิกส 2 หนวยการเรียนรูที่ 4 สมดุลกล เรื่อง ศูนยกลางมวลและศูนยถวง เวลา 2 ชั่วโมง ครูผูสอน นางสาวสุภาวดี คําสมัย 1. สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู สาระฟสิกส (เพิ่มเติม) เขาใจธรรมชาติทางฟสิกส ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรง แรงและกฎการ เคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโนมถวงสากล แรงเสียดทานสมดุลกล ของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษ พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ โมเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโคง รวมทั้งนำความรูไปใช ประโยชน ผลการเรียนรู 2. สังเกต และอธิบายสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุเมื่อแรงที่กระทําตอวัตถุผานศูนยกลางมวล ของวัตถุ และผลของศูนยถวงที่มีตอเสถียรภาพของวัตถุ 2. สาระสําคัญ ศูนยกลางมวล (center of mass, CM) คือ จุดที่เปรียบเสมือนเปนจุดรวมมวลของวัตถุทั้ง กอน ซึ่งอยูประจําที่แนนอนและไมขึ้นกับสถานที่และอาจไมอยูภายในเนื้อของวัตถุ เชน ศูนยกลาง มวลของวงแหวน ศูนยถวง (center of gravity, CG) คือจุดที่แรงโนมถวงของโลกกระทําตอวัตถุ 3. จุประสงคการเรียนรู 3.1 อธิบายความหมายของศนูยกลางมวลและศูนยถวงของวัตถุได (K) 3.2 สังเกตและอธิบายภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ เมื่อแรงที่กระทำตอวัตถุผานศูนยกลางมวล ของวัตถุได (P) 3.3 ใฝเรียนรูและมีความมุงมั่นในการทำงาน (A) 4. สาระการเรียนรู ศูนยกลางมวล เปนตําแหนงที่เปรียบเสมือนเปนจุดรวมของมวลวัตถุทั้งกอน สําหรับวัตถุแข็ง เกร็งกอนหนึ่ง จะมีศูนยกลางมวลเพียงจุดเดียว ซึ่งอาจอยูภายในหรือภายนอกเนื้อวัตถุก็ได ในกรณีที่ มีแรงกระทําตอวัตถุ ถาแรงลัพธอยูในแนวผานศูนยกลางมวลวัตถุจะเคลื่อนที่โดยไมหมุนศูนยถวง เปน ตําแหนงที่แรงลัพธของแรงดึงดูดของโลกกระทําตอวัตถุ โดยทั่วไปศูนยถวงและศูนยกลางมวลจะอยูที่ ตําแหนงเดียวกัน


5. สมรรถนะสําคัญของผูเรียนและคุณลักษณะอันพงึประสงค สมรรถนะสำคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกปญหา 1. มุงมั่นในการทำงาน 2. ใฝเรียนรู 6. กิจกรรมการเรียนรู (แบบสืบเสาะหาความรู 5E) ขั้นที่ 1 ขั้นสรางความสนใจ 1.1 ครูถามนักเรียนวา วัตถุทุกชนิดมีศนูยถวงหรือไม และอยูตําแหนงใด และใหนักเรียนชวย กันตอบคําถามปากเปลา หรือครูสุมถามนักเรียนเปนรายบุคคล (แนวคําตอบ: หากวัตถุหรือระบบอยู ภายใตสนามแรงโนมถวงที่เปนเอกภาพ มักเรียกศูนยกลางมวลวาเปน ศูนยถวง คอืตําแหนงที่วัตถุนั้น ถูกกระทําโดยแรงโนมถวง) 1.2 ครูกระตุนความสนใจของนักเรียนโดยตั้งคําถามวา นักเรียนรูจักหอเอนเมืองปซาหรือไม มีลักษณะอยางไร และทําไมหอเอนเมืองปซาจึงตั้งเอนอยูโดยไมลมลง เปดโอกาสใหนักเรียนตอบได อยางอิสระ ขั้นที่ 2 ขั้นสํารวจและคนหา 2.1 ครูนําขวดเปลามาวางบนโตะหนาชั้นเรียน ในตอนแรกวางวัตถุใหอยูนิ่งโดยไมออกแรง กระทํา ตอมาออกแรงกระทําดานขางของวัตถุซึ่งสูงจากพื้นเปนระยะ h1 โดยที่วัตถุยังคงหยุดนิ่ง เหมือนเดิม จากนั้นครูเลื่อนตําแหนงที่ออกแรงดันกลองใหสูงขึ้นอีก จนกระทั่งกลองเริ่มจะลม สมมติ สูงจากพื้นเปนระยะ h2 ครูถามนักเรียนวาเพราะเหตุใดจึงเปนเชนนั้น 2.2 ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม 4.1 ศูนยกลางมวลกับสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ ในหนังสือ เรียนฟสิกสเพิ่มเติม 2 สสวท. และรวมกันสรุปผลและอภิปรายผล ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงขอสรุป 3.1 ครเูนนให  กับนักเรียนวา การหาศูนยกลางมวลและศูนยถวงนั้นหาไดโดยวิธีที่ตางกันศูนย ถวงหาไดจากการที่ออกแรงตานนํ้าหนักของวัตถุตรงตําแหนงที่พอดีทําใหวัตถุสมดุล แนวแรงที่ตาน น้ำหนักของวัตถุจะผานศูนยถวงพอดี แตการหาศูนยกลางมวลหาไดจากการออกแรงดันวัตถุแลวทําให วัตถุเลื่อนที่โดยไมเกิดการหมุน แนวแรงนี้จะผานศูนยกลางมวล ในสถานการณทั่วไป ศูนยถวง และศูนยกลางมวลของวัตถุเปนจุดเดียวกัน แตมีบางกรณีที่อาจไมเปนจุดเดียวกัน 3.2 ครูและนักเรียนรวมกันสรุปและอภิปรายผลกิจกรรม 4.1 ศูนยกลางมวลกับสภาพการ เคลื่อนที่ของวัตถุ ในหนังสือเรียนฟสิกสเพิ่มเติม 2 สสวท. จนไดขอสรุปดังน้ี


- เมื่อใชดินสอดันขอบหนังสือในแนวดินสอผานประมาณจุดกึ่งกลางของหนังสือจะ พบวาหนังสือมีการเลื่อนที่โดยไมเกิดการหมุน แตถาตําแหนงที่ดันหนังสือมีแนวดินสอไมผานจุด กึ่งกลางของหนังสือ หนังสือจะมีการเลื่อนที่และหมุนไปพรอมกัน - เมื่อขีดเสนบนกระดาษขาวจากตําแหนงที่ใชดินสอดันขอบหนังสือแลวทําให หนังสือเลื่อนที่โดยไมหมุน ไปยังขอบอีกดานของหนังสอืพบวา เส  นแตละเสนมาตัดกันที่จุด ๆ หนึ่งจุด นี้เปนจุดที่เมื่อมีแรงกระทําผานแลวทําใหวัตถุมีการเลื่อนที่เพียงอยางเดียว โดยไมมีการหมุนครูให ความรูเพิ่มเติมวา จุดที่เมื่อมีแรงกระทําผานแลวทําใหวัตถุมีการเลื่อนเพียงอยางเดียวโดยไมมีการหมุน และเปนจุดที่เสมือนมวลของวัตถุทั้งกอนมารวมกัน เรียกวาศูนยกลางมวลของวัตถุซึ่งไมเปลี่ยนตํา แหนงและไมขึ้นกับสถานที่ที่วัตถุนั้นอยู ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู 4.1 ครูใหความรเูพิ่มเติมเรื่องหอเอนเมืองปซาทำไมไมลม โดยใชหลักการทางฟสิกสเรื่อง จุด ศูนยกลางมวลมาอธิบายวา หากลากเสนในแนวดิ่ง ผานจุดศูนยถวงซึ่งเปนจุดที่เสทอนเปนตัวกลาง ของน้ำหนักวัตถุทั้งชิ้น แลวเสนตรงนั้นไมเกินของของฐานที่รองรับน้ำหนักวัตถุ วัตถุก็จะไมลมลงมา ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล 5.1 สังเกตจากการตอบคำถามตรวจสอบความเขาใจ 4.2 7. สื่อการเรียนรูและแหลงการเรียนรู 7.1 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟสิกส 2 สสวท. 7.2 สื่อจากอินเทอรเน็ต 7.3 อุปกรณการทดลอง 4.1 ศูนยกลางมวลกับสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ 8. การวัดประเมินผล จุดประสงคการเรียนรู วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑการประเมิน 1) อธิบายความหมายของ ศูนยกลางมวลและศูนยถวง ของวัตถุได (K) - ตรวจคำถามตรวจสอบ ความเขาใจ 4.2 - คำถามตรวจสอบ ความเขาใจ 4.2 รอยละ 60 ขึ้นไป 2) สังเกตและอธิบายภาพการ เคลื่อนที่ของวัตถุ เมื่อแรงที่ กระทำตอวัตถุผานศูนยกลาง มวลของวัตถุได (P) - ตรวจคำถามทาย กิจกรรม 4.1 - คำถามทายกิจกรรม 4.1 ระดับ 2 ผานเกณฑ 3) ใฝเรียนรูและมีความมุงมั่น ในการทำงาน (A) - สังเกตพฤตกรรมการ ทำงาน - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับ 2 ผานเกณฑ


ความคิดเห็นของหัวหนาสถานศึกษา/ผูที่ไดรับมอบหมาย 1. ทุกองคประกอบของแผนการจัดการเรียนรสูอดคลองกับมาตรฐานและผลการเรียนรู ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. กิจกรรมการเรยีนการสอนเปนไปตามลำดับขั้นตอน ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. สื่อและอุปกรณสอดคลองกับกิจกรรมการเรียนการสอน ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..… 4. เวลาที่ใชในการสอนในแตละแผนการจัดการเรียนรู ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… 5. การวัดและประเมินผล ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ลงชื่อ................................................. (นางสาวรัตนจาณี อรัญเพิ่ม) หัวหนากลุมสาระการเรียนรู / ผูตรวจ ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม........................................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………………………. (นายทศพล มั่งมีศรี) รองผูอำนวยการกลุมบริหารวิชาการ ◻ อนุญาตใหใชจัดการเรียนการสอนได ลงชื่อ................................................ (นายสนทยา เจรญิพันธ) ผูอำนวยการโรงเรียนศรีธาตุพทิยาคม


แผนจัดการเรียนรูที่ 3 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวิชา ว 30202 ฟสิกส 2 หนวยการเรียนรูที่ 4 สมดุลกล เรื่อง สมดุลตอการเลื่อนที่ เวลา 3 ชั่วโมง ครูผูสอน นางสาวสุภาวดี คําสมัย 1. สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู สาระฟสิกส (เพิ่มเติม) เขาใจธรรมชาติทางฟสิกส ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรง แรงและกฎการ เคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโนมถวงสากล แรงเสียดทานสมดุลกล ของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษ พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ โมเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโคง รวมทั้งนำความรูไปใช ประโยชน ผลการเรียนรู 1. อธิบายสมดุลกลของวัตถุ โมเมนต และผลรวมของโมเมนตที่มีตอการหมุน แรงคูควบและ ผลของแรงคูควบที่มีตอสมดุลของวัตถุ เขียนแผนภาพของแรงที่กระทำตอวัตถุอิสระเมื่อวัตถุอยูใน สมดุลกล และคำนวณปริมาณตาง ๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งทดลองและอธิบายสมดุลของแรงสามแรง 2. สาระสําคัญ วัตถุจะสมดุลตอการเลื่อนที่คือหยุดนิ่งหรือ เคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัวเมื่อแรงลัพธที่กระทำ ตอวัตถุเปนศูนย 3. จุประสงคการเรียนรู 3.1 อธิบายสรุปเงื่อนไขที่ทำใหวัตถุอยูในสมดุลตอการเลื่อนที่และอยูนิ่งเมื่อมีแรงสองแรง กระทำตอวัตถุ (K) 3.2 คำนวณปริมาณตาง ๆ ที่เกี่ยวของ เม่อืมีแรงกระทำตอวัตถุแลวทำใหวัตถุอยูในสมดุลตอ การเลื่อนที่และอยูนิ่งได (P) 3.3 ใฝเรียนรูและมีความมุงมั่นในการทำงาน (A) 4. สาระการเรียนรู สมดุลตอการเลื่อนที่ เมื่อวัตถุที่อยูในสภาพสมดุลตอการเลื่อนที่ แรงลัพธที่กระทาํตอวัตถุเปน ศูนย ดังนั้นเมื่อพิจารณาแรงที่กระทําตอวัตถุ แลวทําใหวัตถุสมดุลตอการเลื่อนที่ อาจพิจารณาไดดังนี้ - กรณีที่มีแรงสองแรงกระทํา - กรณีที่มีแรงสามแรงกระทํา


5. สมรรถนะสําคัญของผูเรียนและคุณลักษณะอันพงึประสงค สมรรถนะสำคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกปญหา 1. มุงมั่นในการทำงาน 2. ใฝเรียนรู 6. กิจกรรมการเรียนรู (แบบใชปญหาเปนฐาน PBL) ขั้นที่ 1 กําหนดปญหา 1.1 ครูใชคำถามกระตุนใหนักเรียนคดิเมื่อวัตถุอยูในสมดุลตอการเลื่อนที่วัตถุจะมีแรงกระทำ หรือไม อยางไร (นักเรียนตอบอยางอิสระ) 1.2 แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 4-5 คน ศึกษากรณีที่แรงสามแรงอยูในแนวเดียวกัน และกรณี ที่แรงสามแรงไมอยูในแนวเดียวกันแตอยูในระนาบเดียวกัน (วัตถุอยูในสมดุลการเลื่อนที่และอยูนิ่ง) ขั้นที่ 2 ทําความเขาใจปญหา 2.1 นักเรียนรวมกันอภิปรายภายในกลุมวา วัตถุอยูในสมดุลการเลื่อนที่มีแรงลัพธที่กระทำ เปนศนูย 2.2 . นักเรียนแตละกลุมรวมกันสืบคนหาคำตอบวา ในแตละกรณีมวีิธีการหาแรงลัพธอยางไร ขั้นที่ 3 ดําเนินการศึกษาคนควา 3.1 นักเรียนสืบคนหาคำตอบ กรณีที่แรงสามแรงอยูในแนวเดียวกัน และกรณีที่แรงสามแรง ไมอยูในแนวเดียวกันแตอยูในระนาบเดียวกัน วาแตละกรณมีีการหาแรงลัพธอยางไร 3.1.1 กรณีที่แรงสามแรงอยูในแนวเดียวกัน - จากกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน เมื่อวัตถุอยูนิ่ง ∑ = 0 - ผลรวมที่มีทิศขึ้นมีคาเทากับผลรวมที่มีทิศลง 3.1.2 กรณีที่แรงสามแรงไมอยูในแนวเดียวกันแตอยูในระนาบเดียวกัน - วิธีการเขียนหางตอหัวเวกเตอร จะพบวา หัวเวกเตอรสุดทายจะมาพบหาง ของเวกเตอรแรกพอดี ผลรวมของเวกเตอรทั้งสามเปนศูนย ซึ่งสอดคลองกับกฎการเคลื่อนที่ของนิว ตัน ∑ = 0 - วิธีการแยกแรงเปนองคประกอบตามแกน X และ Y ที่ตั้งฉากกัน เมื่อรวม แรงองคประกอบนั้นในแตละแกน ผลรวมของแรงลัพธจะตองเปนศูนยดวย ∑ ௫ = 0 และ ∑ ௫ = 0


ขั้นที่ 4 สังเคราะหความรู 4.1 นักเรียนศึกษาตัวอยางโจทยรวมกัน ขั้นที่ 5 สรุปและประเมินคาของคําตอบ 5.1 ครูถามคำถามตรวจสอบความเขาใจ - วัตถุที่อยูในสมดุลการเลื่อนที่และอยูนิ่ง มีเงื่อนไขอะไรบาง (แนวคำตอบ : แรงลัพธ เปนศนูยและความเร็วเปนศูนย) - จงใหเหตุผลวา เมื่อมีมวลแขวนที่จุดกึ่งกลางเสนเชือกที่ขึงไวในแนวระดับ เหตุใด เราจึงไมสามารถทำใหเชือกเปนเสนตรงไดโดยไมหยอนเลย (แนวคำตอบ : เพราะจุดแขวนบนเชือกมี น้ำหนักวัตถุดึงลงในแนวดิ่ง หากจุดแขวนอยูนิ่งแสดงวาเปนสมดุลการเลื่อนที่ ซึ่งจะตองมีแรงทิศทาง ขึ้นในแนวดิ่งมาหักลางในแรงลัพธเปนศูนย) 5.2 นักเรียนทำใบงานที่ 1 เรื่อง สมดุลตอการเลื่อนที่ 5.3 นักเรียนสรุปความรูเรื่องสมดุลตอการเลื่อนที่ ในรูปแบบแผนผังตางๆ ที่เขาใจงาย 5.4 ครูสรุปเพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวคิดที่ถูกตอง เรื่อง สมดุลตอการเลื่อนที่ ขั้นที่ 6 นําเสนอและประเมินผลงาน 6.1 ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยใบงานที่1 เรื่อง สมดุลตอการเลื่อนที่ 6.2 สุมนักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอความรูที่ไดเกี่ยวกับเรื่อง สมดุลตอการเลื่อนที่ 7. สื่อการเรียนรูและแหลงการเรียนรู 7.1 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟสิกส 2 สสวท. 7.2 สื่อจากอินเทอรเน็ต 7.3 ใบงานที่ 1 เรื่อง สมดุลตอการเลื่อนที่ 7.4 อินเทอรเน็ต


8. การวัดและประเมินผล จุดประสงคการเรียนรู วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑการประเมิน 1) อธิบายสรุปเงื่อนไขที่ทำให วัตถุอยูในสมดุลตอการเลื่อนที่ และอยูนิ่งเมื่อมีแรงสองแรง กระทำตอวัตถุ (K) - ตรวจคำถาม ตรวจสอบความเขาใจ - คำถามตรวจสอบ ความเขาใจ ระดับ 2 ผานเกณฑ 2) คำนวณปริมาณตาง ๆ ที่ เกี่ยวของ เมื่อมีแรงกระทำตอ วัตถุแลวทำใหวัตถุอยูในสมดุล ตอการเลื่อนที่และอยูนิ่งได (P) - ตรวจใบงานที่ 1 เรื่อง สมดุลตอการ เลื่อนที่ - ใบงานที่ 1 เรื่อง สมดุลตอการเลื่อนที่ รอยละ 60 ขึ้นไป 3) ใฝเรียนรูและมีความมุงมั่นใน การทำงาน (A) - สังเกตพฤติกรรมการ ทำงาน - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับ 2 ผานเกณฑ


ความคิดเห็นของหัวหนาสถานศึกษา/ผูที่ไดรับมอบหมาย 1. ทุกองคประกอบของแผนการจัดการเรียนรสูอดคลองกับมาตรฐานและผลการเรียนรู ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. กิจกรรมการเรยีนการสอนเปนไปตามลำดับขั้นตอน ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. สื่อและอุปกรณสอดคลองกับกิจกรรมการเรียนการสอน ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..… 4. เวลาที่ใชในการสอนในแตละแผนการจัดการเรียนรู ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… 5. การวัดและประเมินผล ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ลงชื่อ................................................. (นางสาวรัตนจาณี อรัญเพิ่ม) หัวหนากลุมสาระการเรียนรู / ผูตรวจ ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม........................................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………………………. (นายทศพล มั่งมีศรี) รองผูอำนวยการกลุมบริหารวิชาการ ◻อนุญาตใหใชจัดการเรยีนการสอนได ลงชื่อ................................................ (นายสนทยา เจรญิพันธ) ผูอำนวยการโรงเรียนศรีธาตุพทิยาคม


แบบสังเกตพฤติกรรม เรื่อง ............................................................... ชั้น ...................... วัน/เดือน/ป ................... เลขที่ พฤติกรรม ชื่อ-สกุล ใฝเรียนรู มุงมั่นใน การทํางาน รวม คะแนน ระดับ คุณภาพ 3 2 1 3 2 1 6 เกณฑการใหคะแนน 3 = ดี 2 = พอใช 1 = ปรับปรุง คะแนนชวง 5-6 คะแนน คะแนนชวง 3-4 คะแนน คะแนนชวง 1-2 คะแนน ลงชื่อ ................................................... ผูประเมิน (นางสาวสุภาวดี คำสมัย)


แผนจัดการเรียนรูที่ 4 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวิชา ว 30202 ฟสิกส 2 หนวยการเรียนรูที่ 4 สมดุลกล เรื่อง สมดุลตอการหมุน เวลา 3 ชั่วโมง ครูผูสอน นางสาวสุภาวดี คําสมัย 1. สาระการเรียรู/ผลการเรียนรู สาระฟสิกส (เพิ่มเติม) เขาใจธรรมชาติทางฟสิกส ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรง แรงและกฎการ เคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโนมถวงสากล แรงเสียดทานสมดุลกล ของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษ พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ โมเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโคง รวมทั้งนำความรูไปใช ประโยชน ผลการเรียนรู 1. อธิบายสมดุลกลของวัตถุ โมเมนต และผลรวมของโมเมนตที่มีตอการหมุน แรงคูควบและ ผลของแรงคูควบที่มีตอสมดุลของวัตถุ เขียนแผนภาพของแรงที่กระทำตอวัตถุอิสระเมื่อวัตถุอยูใน สมดุลกล และคำนวณปริมาณตาง ๆ ที่เกี่ยวของ รวมทั้งทดลองและอธิบายสมดุลของแรงสามแรง 2. สาระสําคัญ วัตถุจะสมดุลต่อการหมุนคือไม่หมุนหรือหมุนดว้ย ความเร็วเชิงมุมคงตัวเมืÉอผลรวมของโมเมนตท์Éี กระทาํต่อวตัถเุป็นศนูย์ 3. จุประสงคการเรียนรู 3.1 อธิบายเกี่ยวกับสมดุลตอการหมุน และโมเมนตของแรงได (K) 3.2 คำนวณปริมาณตาง ๆ ที่เกี่ยวของ เมื่อวัตถุอยูในสมดุลตอการหมุนและโมเมนตของแรงคู ควบและทิศทางการหมนุของวัตถุได (P) 3.3 ใฝเรียนรูและมีความมุงมั่นในการทำงาน (A) 4. สาระการเรียนรู สมดุลตอการหมุน หมายถึง การที่วัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงตัวหรือความเร็วเชิงมุมคงตัว โดยที่ความเร็วเชิงมุมเปนการหมุนของวัตถุรอบแกนที่คงที่ไมมีความเรง หรือ โมเมนตของแรงที่ กระทําตอวัตถุมีคาเปนศนูย โมเมนตของแรงหรือทอรก เมื่อมีแรงกระทําตอวัตถุที่อยูนิ่ง โดยไมผานศูนยกลางมวล วัตถุจะ หมุนรอบศูนยกลางของมวลแตหากวัตถุถูกยึดติดกับแกนหมุน วัตถุนั้น ๆ ก็จะหมุนรอบแกนหมุนโดย การหมุนของวัตถุจะขึ้นอยูกับโมเมนตของแรงหรือทอรก


โมเมนตของแรงคูควบ เมื่อมีแรงคูควบกระทําตอวัตถุ วัตถุจะเกิดการหมุนโดยแรงคูควบ คือ แรงที่มีขนาดเทากัน 2 แรงที่กระทําตอวัตถุ โดยขนานกันและมีทิศทางตรงกันขาม 5. สมรรถนะสําคัญของผูเรียนและคุณลักษณะอันพงึประสงค สมรรถนะสำคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกปญหา 1. มุงมั่นในการทำงาน 2. ใฝเรียนรู 6. กิจกรรมการเรียนรู (แบบใชปญหาเปนฐาน PBL) ขั้นที่ 1 กําหนดปญหา 1.1 ครูใชคำถามกระตุนใหนักเรียนคิด เมื่อวัตถุอยูในสมดุลตอการหมุนวัตถุมีแรงกระทำ หรือไม อยางไร (นักเรียนตอบอยางอิสระ) 1.2 แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 4-5 คน ศึกษาเง่อืนไขที่ทำใหวัตถุอยูในสมดุลตอการหมุน ขั้นที่ 2 ทําความเขาใจปญหา 2.1 นักเรียนรวมกันอภิปรายภายในกลุมวา วัตถุอยูในสมดุลตอการหมุน มีแรงกระทำตอวัตถุ โดยผลรวมของโมเมนตของแรงทวนเข็มนาิกาเทากับโมเมนตของแรงตามเข็มนาิกา 2.2 . นักเรียนแตละกลุมรวมกันสืบคนหาคำตอบวา เงื่อนไขใดที่ทำใหวัตถุอยูในสมดุลตอการ หมุน ขั้นที่ 3 ดําเนินการศึกษาคนควา 3.1 นักเรียนสืบคนหาคำตอบ เง่อืนไขที่ทำใหวัตถุอยูในสมดุลตอการหมุน 3.1.1 โมเมนตของแรง มีคาเทากับ ผลคณูระหวางขนาดของแรงกับระยะทางจากจุด หมุนไปตั้งฉากกับแนวแรง 3.1.2 โมเมนตของแรงที่ทำใหวัตถุหมุนตามเข็มนาิกา เรียกสั้น ๆ วา โมเมนตตาม สวนโมเมนตของแรงที่ทำใหวัตถุหมุนทวนเข็มนาิกา เรียกสั้นๆวา โมเมนตทวน - ผลรวมของโมเมนตทวนเข็มนาิกามีคาเทากับผลรวมของโมเมนตตาม เข็มนาิกา ∑ ตาม = ∑ ทวน 3.1.3 เงื่อนไขที่ทำใหวัตถุอยูในสมดุลตอการหมุน ∑ = 0


ขั้นที่ 4 สังเคราะหความรู 4.1 นักเรียนศึกษาตัวอยางโจทยรวมกัน - ขอสังเกต ในขณะที่วัตถุอยูในสมดุลตอการหมุน ผลรวมของโมเมนตของรงรอบ จุดหมุนใดๆ จะมีคาเทากับศูนยเสมอ ในการแกโจทยปญหา ราจะเลือกจุดหมุนที่สะดวกในการ แกปญหา เชน จุดหมุนที่มีแนวแรงผานจุดนั้นหลายแรง 4.2 นักเรียนศึกษาโมเมนตของแรงคูควบ ขั้นที่ 5 สรุปและประเมินคาของคําตอบ 5.1 ครูถามคำถามตรวจสอบความเขาใจ - วัตถุที่อยูในสมดุลตอการหมุน ตองมีเงื่อนไขอะไรบาง (แนวคำตอบ : โมเมนตรวม ของทุกแรงที่กระทำรอบจุดหมุนใด ๆ เทากับศูนย หรือผลรวมของโมเมนตทวนเข็มนาิกาเทากับ ผลรวมของโมเมนตทวนเข็มนาิกา) - โมเมนตของแรงและโมเมนตของแรงคควบตางกันหรือไม อยางไร (แนวคำตอบ : แตกตางกัน เนื่องจาก โมนเมนตของแรงเปนผลคูณระหวางขนาดของแรงกับระยะทางจากจุดหมุนไป ตั้งฉากกับแนวแรง แตโมเมนตของแรงคูควบเปนผลคูณระหวางขนาดของแรงใดแรงหนึ่งกับระยะทาง ตั้งฉากระหวางแนวแรงทั้งสอง) 5.2 นักเรียนทำใบงานที่ 2 เรื่อง สมดุลตอการหมุน 5.3 นักเรียนสรุปความรูเรื่องสมดุลตอการหมุน ในรูปแบบแผนผังตางๆที่เขาใจงาย 5.4 ครูสรุปเพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวคิดที่ถูกตอง เรื่อง สมดุลตอการหมุน ขั้นที่ 6 นําเสนอและประเมินผลงาน 6.1 ครูและนักเรียนรวมกันเฉลยใบงานที่2 เร่อืง สมดุลตอการหมุน 6.2 สุมนักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอความรูที่ไดเกี่ยวกับเรื่อง สมดุลตอการหมุน 7. สื่อการเรียนรูและแหลงการเรียนรู 7.1 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟสิกส 2 สสวท. 7.2 สื่อจากอินเทอรเน็ต 7.3 ใบงานที่ 2 เรื่อง สมดุลตอการหมุน 7.4 อินเทอรเน็ต


8. การวัดและประเมินผล จุดประสงคการเรียนรู วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑการประเมิน 1) อธิบายเกี่ยวกับสมดุลตอการ หมุน และโมเมนตของแรงได (K) - ตรวจคำถาม ตรวจสอบความเขาใจ - คำถามตรวจสอบ ความเขาใจ ระดับ 2 ผานเกณฑ 2) คำนวณปริมาณตาง ๆ ที่ เกี่ยวของ เมื่อวัตถุอยูในสมดุล ตอการหมุนและโมเมนตของ แรงคูควบและทิศทางการหมุน ของวัตถุได (P) - ตรวจใบงานที่ 2 เรื่อง สมดุลตอการ หมุน - ใบงานที่ 2 เรื่อง สมดุลตอการหมุน รอยละ 60 ขึ้นไป 3) ใฝเรียนรูและมีความมุงมั่นใน การทำงาน (A) - สังเกตพฤติกรรมการ ทำงาน - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับ 2 ผานเกณฑ


ความคิดเห็นของหัวหนาสถานศึกษา/ผูที่ไดรับมอบหมาย 1. ทุกองคประกอบของแผนการจัดการเรียนรสูอดคลองกับมาตรฐานและผลการเรียนรู ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. กิจกรรมการเรยีนการสอนเปนไปตามลำดับขั้นตอน ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. สื่อและอุปกรณสอดคลองกับกิจกรรมการเรียนการสอน ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..… 4. เวลาที่ใชในการสอนในแตละแผนการจัดการเรียนรู ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… 5. การวัดและประเมินผล ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ลงชื่อ................................................. (นางสาวรัตนจาณี อรัญเพิ่ม) หัวหนากลุมสาระการเรียนรู / ผูตรวจ ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม........................................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………………………. (นายทศพล มั่งมีศรี) รองผูอำนวยการกลุมบริหารวิชาการ ◻อนุญาตใหใชจัดการเรยีนการสอนได ลงชื่อ................................................ (นายสนทยา เจรญิพันธ) ผูอำนวยการโรงเรียนศรีธาตุพทิยาคม


แบบสังเกตพฤติกรรม เรื่อง ............................................................... ชั้น ...................... วัน/เดือน/ป ................... เลขที่ พฤติกรรม ชื่อ-สกุล ใฝเรียนรู มุงมั่นใน การทํางาน รวม คะแนน ระดับ คุณภาพ 3 2 1 3 2 1 6 เกณฑการใหคะแนน 3 = ดี 2 = พอใช 1 = ปรับปรุง คะแนนชวง 5-6 คะแนน คะแนนชวง 3-4 คะแนน คะแนนชวง 1-2 คะแนน ลงชื่อ ................................................... ผูประเมิน (นางสาวสุภาวดี คำสมัย)


แผนจัดการเรียนรูที่ 5 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวิชา ว 30202 ฟสิกส 2 หนวยการเรียนรูที่ 4 สมดุลกล เรื่อง เสถียรภาพของวัตถุ เวลา 3 ชั่วโมง ครูผูสอน นางสาวสุภาวดี คําสมัย 1. สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู สาระฟสิกส (เพิ่มเติม) เขาใจธรรมชาติทางฟสิกส ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรง แรงและกฎการ เคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโนมถวงสากล แรงเสียดทานสมดุลกล ของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษ พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ โมเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโคง รวมทั้งนำความรูไปใช ประโยชน ผลการเรียนรู 2. สังเกต และอธิบายสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุเมื่อแรงที่กระทําตอวัตถุผานศูนยกลางมวล ของวัตถุ และผลของศูนยถวงที่มีตอเสถียรภาพของวัตถุ 2. สาระสําคัญ วัตถุที่อยูในสนามโนมถวงสม่ำเสมอศูนยกลางมวล และศูนยถวงอยูที่ตำแหนงเดียวกัน ศูนย ถวงของ วัตถุมีผลตอเสถียรภาพของวัตถุ 3. จุประสงคการเรียนรู 3.1 อธิบายสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุเมื่อไดรับแรงไดK) 3.2 นำความเขาใจเกี่ยวกับศูนยถวงของวัตถุไปอธิบายเสถียรภาพของวัตถุตางๆใน ชีวิตประจำวัน (P) 3.3 ใฝเรียนรูและมีความมุงมั่นในการทำงาน (A) 4. สาระการเรียนรู สมดุลเสถียร คือ สมดุลของวัตถุท่เีมื่อออกแรงกระทําใหวัตถุเอียงจากเดิม แลวศูนยกลางมวล ของวัตถุเปลี่ยนตําแหนงอยูในระดับที่สูงขึ้น พลังงานศักยของวัตถุมากขึ้น เมื่อหยุดออกแรงกระทํา วัตถุสามารถกลับมาอยูในลักษณะเดิม 5. สมรรถนะสําคัญของผูเรียนและคุณลักษณะอันพงึประสงค สมรรถนะสำคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 1. มุงมั่นในการทำงาน 2. ใฝเรียนรู


6. กิจกรรมการเรียนรู (แบบใชปญหาเปนฐาน PBL) ขั้นที่ 1 กําหนดปญหา 1.1 ครูใหนักเรียนพิจารณารูป การใชนิ้วผลักแจกันที่วางตัวในลักษณะที่ตางกันบนพื้นระดับ วามีลักษณะอยางไร (นักเรียนตอบอยางอิสระ) 1.2 แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 4-5 คน ศึกษา การสมดุลที่เสถียรภาพตางกันขึ้นกับอะไรบาง ขั้นที่ 2 ทําความเขาใจปญหา 2.1 นักเรียนรวมกันอภิปรายรูป การใชนิ้วผลักแจกันที่วางตัวในลักษณะที่ตางกันบนพื้น ระดับ 2.2 . นักเรียนแตละกลุมรวมกันสืบคนหาคำตอบวา การสมดุลที่เสถียรภาพตางกันขึ้นกับ อะไรบาง ขั้นที่ 3 ดําเนินการศึกษาคนควา 3.1 นักเรียนศึกษา รูปการผลักกลองและแนวของแรงโนมถวงที่กระทำกับศนูยถวงของวัตถุ ขั้นที่ 4 สังเคราะหความรู 4.1 นักเรียนศึกษารวมกันเกี่ยวกับตัวอยางเสถียรภาพของวัตถุที่พบในชีวิตประจำวัน - ตุกตาลมลุก - รถแขง - รถบัสโดยสารแบบมี 2 ชั้น - รถบรรทุกผลผลิตทางการเกษตร ขั้นที่ 5 สรุปและประเมินคาของคําตอบ 5.1 ครูถามคำถามนักเรียน - เสถียรภาพของวัตถุ ขึ้นกับอะไรบาง (แนวคำตอบ : รูปทรงของวัตถุ ความสูงของ ศูนยถวง และความกวางของฐาน) - เพราะเหตุใดชองเก็บสัมภาระของรถบัสจึงอยูของลางของตัวรถ (แนวคำตอบ : เพื่อรักษาใหศูนยถวงของรถบัสอยูต่ำ) 5.2 นักเรียนสรุปความรูเรื่อง เสถียรภาพของวัตถุ ในรูปแบบแผนผังตางๆที่เขาใจงาย 5.3 ครูสรุปเพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวคิดที่ถูกตอง เรื่อง เสถียรภาพของวัตถุ ขั้นที่ 6 นําเสนอและประเมินผลงาน 6.1 สุมนักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอความรูที่ไดเกี่ยวกับเรื่อง เสถียรภาพของวัตถุ 7. สื่อการเรียนรูและแหลงการเรียนรู 7.1 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟสิกส 2 สสวท. 7.2 สื่อจากอินเทอรเน็ต


8. การวัดและประเมินผล จุดประสงคการเรียนรู วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑการประเมิน 1) อธิบายสภาพการเคลื่อนที่ ของวัตถุเมื่อไดรับแรงได K) - ตรวจคำถามในชั้น เรียน - คำถามในชั้นเรียน ระดับ 2 ผานเกณฑ 2) นำความเขาใจเกี่ยวกับศูนย ถ  ว ง ข อ ง ว ั ต ถ ุ ไ ป อ ธ ิ บ า ย เสถียรภาพของวัตถุตางๆใน ชีวิตประจำวัน (P) - ตรวจคำถาม ตรวจสอบความเขาใจ 4.5 - คำถามตรวจสอบ ความเขาใจ 4.5 รอยละ 60 ขึ้นไป 3) ใฝเรียนรูและมีความมุงมั่นใน การทำงาน (A) - สังเกตพฤติกรรมการ ทำงาน - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับ 2 ผานเกณฑ


ความคิดเห็นของหัวหนาสถานศึกษา/ผูที่ไดรับมอบหมาย 1. ทุกองคประกอบของแผนการจัดการเรียนรสูอดคลองกับมาตรฐานและผลการเรียนรู ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. กิจกรรมการเรยีนการสอนเปนไปตามลำดับขั้นตอน ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. สื่อและอุปกรณสอดคลองกับกิจกรรมการเรียนการสอน ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..… 4. เวลาที่ใชในการสอนในแตละแผนการจัดการเรียนรู ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… 5. การวัดและประเมินผล ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ลงชื่อ................................................. (นางสาวรัตนจาณี อรัญเพิ่ม) หัวหนากลุมสาระการเรียนรู / ผูตรวจ ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม........................................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………………………. (นายทศพล มั่งมีศรี) รองผูอำนวยการกลุมบริหารวิชาการ ◻อนุญาตใหใชจัดการเรยีนการสอนได ลงชื่อ................................................ (นายสนทยา เจรญิพันธ) ผูอำนวยการโรงเรียนศรีธาตุพทิยาคม


แบบสังเกตพฤติกรรม เรื่อง ............................................................... ชั้น ...................... วัน/เดือน/ป ................... เลขที่ พฤติกรรม ชื่อ-สกุล ใฝเรียนรู มุงมั่นใน การทํางาน รวม คะแนน ระดับ คุณภาพ 3 2 1 3 2 1 6 เกณฑการใหคะแนน 3 = ดี 2 = พอใช 1 = ปรับปรุง คะแนนชวง 5-6 คะแนน คะแนนชวง 3-4 คะแนน คะแนนชวง 1-2 คะแนน ลงชื่อ ................................................... ผูประเมิน (นางสาวสุภาวดี คำสมัย)


แผนจัดการเรียนรูที่ 6 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวิชา ว 30202 ฟสิกส 2 หนวยการเรียนรูที่ 5 งานและพลังงาน เรื่อง งานเนื่องจากแรงคงตัว เวลา 3 ชั่วโมง ครูผูสอน นางสาวสุภาวดี คําสมัย 1. สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู สาระฟสิกส (เพิ่มเติม) เขาใจธรรมชาติทางฟสิกส ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรง แรงและกฎการ เคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโนมถวงสากล แรงเสียดทานสมดุลกล ของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษ พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ โมเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโคง รวมทั้งนำความรูไปใช ประโยชน ผลการเรียนรู 3. วิเคราะห และคำนวณงานของแรงคงตัว จากสมการและพื้นที่ใตกราฟความสัมพันธ ระหวางแรงกับตำแหนง รวมทั้งอธิบายและคำนวณกำลังเฉลี่ย 2. สาระสําคัญ งานของแรงที่กระทำตอวัตถุหาไดจากผลคูณของ ขนาดของแรงและขนาดของการกระจัดกับ โคไซน ของมุมระหวางแรงกับการกระจัด ตามสมการ W = F∆xcosӨ หรือหางานไดจากพื้นที่ ใต กราฟระหวางแรงในแนวการเคลื่อนที่กับตำแหนง โดยแรงที่กระทำอาจเปนแรงคงตัวหรือไมคงตัว ก็ ได งานที่ทำไดในหนึ่งหนวยเวลา เรียกวา กำลังเฉลี่ย ดังสมการ = ∆ 3. จุประสงคการเรียนรู 3.1 บอกความหมายของงานในวิชาฟสิกสได (K) 3.2 คำนวณงานของแรงคงตัวจากสมการได (P) 3.3 ใฝเรียนรูและมีความมุงมั่นในการทำงาน (A) 4. สาระการเรียนรู งานเนื่องจากแรงคงตัวที่มีทิศเดียวกับการกระจัดหาไดจาก W = F∆x งานเนื่องจากแรงคงตัวที่ไมมีทิศเดียวกับการกระจัดหาไดจาก W = F∆xcosӨ


5. สมรรถนะสําคัญของผูเรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค สมรรถนะสำคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคดิ3. ความสามารถในการแกปญหา 1. มุงมั่นในการทำงาน 2. ใฝเรียนรู 6. กิจกรรมการเรียนรู(แบบสืบเสาะหาความรู5E) ขั้นที่ 1 ขั้นสรางความสนใจ 1.1 ครูถามนักเรียนวา งาน คืออะไรในความคิดของนักเรียน (เปดโอกาสใหนักเรียนตอบ อยางอสิระ ไมคาดหวังคำตอบที่ถกูตอง) 1.2 ครูถามนักเรียนวางานในทางฟสิกสกับ งานในชีวิต เหมือนกันหรือไม (ไมเหมือนกัน) ขั้นที่ 2 ขั้นสํารวจและคนหา 2.1 ครูใหนักเรียนดูรูปตอ ไปนี้รูปหนึ่งเปนการทำกิจกรรมที่ออกแรงแลวเกิดงาน อีกรูปหนึ่ง เปนการทำกิจกรรมที่ออกแรงแลวไมเกิดงาน แลวตั้งคำถามกระตุนใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อ ทบทวนเกี่ยวกับงานและพลังงานที่นักเรียรเคยเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนตน โดยปดโอกาสให นกัเรียนตอบอยางอิสระ ไมคาดหวังคำตอบที่ถูกตอง จากรูป อาจพิจารณาไดวา รูปทุกรูปมีงานเกิดขึ้น ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับวา นักเรียนพิจารณา ลักษณะอะไรยกตัวอยางเชน รูปผูหญิงนั่งพิมพค ียบอรด ถาพิจารณาน้ิวที่กดปุมบนคียบอรด ถือวา มี งานเกิดขึ้นเพราะมีแรงท่นีิ้วกดทำใหปุมมีการเคลื่อนที่แตถาพจิารณาท่ตีัวผูหญิงที่นั่งอยูกับที่จะถือวา ไมเกิดงาน เพราะไมมีการเคลื่อนที่ หรือ อีกตัวอยางหนึ่งคือ คนขับรถ ถาพิจารณามือที่ใชหมุน พวงมาลัย จะถือวามีงานเกิดขึ้นแตถาพิจารณาตัวคนขับ ถือวา ไมมีงานเกิดขึ้นเนื่องจากแรงโนมถวง เพราะ คนขับรถไมไดม ีการเคลื่อนที่ขึ้นหรือลง ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงขอสรุป 3.1 ครูอธิบายเกี่ยวกับการหาคาของงานในกรณีแรงที่กระทำตอวัตถุมีทิศทางเดียวกับการ กระจดัตามรายละเอียดในหนังสือเรียนจนสรุปไดสมการ W = F∆x ตามหนังสือเรียน


- โดยครูเนนวา สมการ W = F∆x ใชกับกรณีที่ทิศทางของแรง และการกระจัด อยู ในทิศทางเดยีวกัน ไมวาจะเปนการเคลื่อนที่บนพื้นระดับหรอืพื้นเอียง 3.2 ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับการดึงกลองดวยเชือก แลวใหนักเรียนอภิปรายรวมกันวา งานของ แรงดังกลาวแตกตางจากกรณีท่ผีานมาอยางไร จนสรุปไดสมการ W = F∆xcosӨ 3.3 ครูอธิบายตัวอยางในหนังสือเรยีน ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู 4.1 ครูอภิปรายเกี่ยวกับ งานเนื่องจากแรงดึงดูดของโลกบรเิวณใกลผิวโลก จนสรุปไดวา งาน เนื่องจากแรงดงึดูดของโลกบริเวณใกลผิวโลกมีคาขึ้นกับผลตางของระดับความสูงในแนวดิ่งระหวางจุด ตนกับจุดปลาย ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล 5.1 สังเกตจากการตอบคำถามตรวจสอบความเขาใจ 5.2 ตรวจแบบฝกหัด 5.1 7. สื่อการเรียนรูและแหลงการเรียนรู 7.1 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟสิกส 2 สสวท. 7.2 สื่อจากอินเทอรเน็ต 8. การวัดและประเมินผล จุดประสงคการเรียนรู วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑการประเมิน 1) บอกความหมายของงานใน วิชาฟสิกสได (K) - ตรวจคำถาม ตรวจสอบความเขาใจ - คำถามตรวจสอบ ความเขาใจ ระดับ 2 ผานเกณฑ 2) คำนวณงานของแรงคงตัว จากสมการได (P) - ตรวจแบบฝกหัด 5.1 - แบบฝกหัด 5.1 รอยละ 60 ขึ้นไป 3) ใฝเรียนรูและมีความมุงมั่นใน การทำงาน (A) - สังเกตพฤติกรรมการ ทำงาน - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับ 2 ผานเกณฑ


ความคิดเห็นของหัวหนาสถานศึกษา/ผูที่ไดรับมอบหมาย 1. ทุกองคประกอบของแผนการจัดการเรียนรสูอดคลองกับมาตรฐานและผลการเรียนรู ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. กิจกรรมการเรยีนการสอนเปนไปตามลำดับขั้นตอน ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. สื่อและอุปกรณสอดคลองกับกิจกรรมการเรียนการสอน ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..… 4. เวลาที่ใชในการสอนในแตละแผนการจัดการเรียนรู ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… 5. การวัดและประเมินผล ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ลงชื่อ................................................. (นางสาวรัตนจาณี อรัญเพิ่ม) หัวหนากลุมสาระการเรียนรู / ผูตรวจ ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม........................................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………………………. (นายทศพล มั่งมีศรี) รองผูอำนวยการกลุมบริหารวิชาการ ◻อนุญาตใหใชจัดการเรยีนการสอนได ลงชื่อ................................................ (นายสนทยา เจรญิพันธ) ผูอำนวยการโรงเรียนศรีธาตุพทิยาคม


แบบสังเกตพฤติกรรม เรื่อง ............................................................... ชั้น ...................... วัน/เดือน/ป ................... เลขที่ พฤติกรรม ชื่อ-สกุล ใฝเรียนรู มุงมันใน การทํางาน รวม คะแนน ระดับ คุณภาพ 3 2 1 3 2 1 6 เกณฑการใหคะแนน 3 = ดี 2 = พอใช 1 = ปรับปรุง คะแนนชวง 5-6 คะแนน คะแนนชวง 3-4 คะแนน คะแนนชวง 1-2 คะแนน ลงชื่อ ................................................... ผูประเมิน (นางสาวสุภาวดี คำสมัย)


แผนจัดการเรียนรูที่ 7 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวิชา ว 30202 ฟสิกส 2 หนวยการเรียนรูที่ 5 งานและพลังงาน เรื่อง งานเนื่องจากแรงไมคงตัว เวลา 2 ชั่วโมง ครูผูสอน นางสาวสุภาวดี คําสมัย 1. สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู สาระฟสิกส (เพิ่มเติม) เขาใจธรรมชาติทางฟสิกส ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรง แรงและกฎการ เคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโนมถวงสากล แรงเสียดทานสมดุลกล ของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษ พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ โมเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโคง รวมทั้งนำความรูไปใช ประโยชน ผลการเรียนรู 3. วิเคราะห และคำนวณงานของแรงคงตัว จากสมการและพื้นที่ใตกราฟความสัมพันธ ระหวางแรงกับตำแหนง รวมทั้งอธิบายและคำนวณกำลังเฉลี่ย 2. สาระสําคัญ งานของแรงที่กระทำตอวัตถุหาไดจากผลคูณของ ขนาดของแรงและขนาดของการกระจัดกับ โคไซน ของมุมระหวางแรงกับการกระจัด ตามสมการ W = F∆xcosӨ หรือหางานไดจากพื้นที่ ใต กราฟระหวางแรงในแนวการเคลื่อนที่กับตำแหนง โดยแรงที่กระทำอาจเปนแรงคงตัวหรือไมคงตัว ก็ ได งานที่ทำไดในหนึ่งหนวยเวลา เรียกวา กำลังเฉลี่ย ดังสมการ = ∆ 3. จุประสงคการเรียนรู 3.1 บอกความหมายของงานในวิชาฟสิกสได (K) 3.2 คำนวณงานของแรงไมคงตัวจากพื้นที่ใตกราฟระหวางแรงกับตำแหนง ได (P) 3.3 ใฝเรียนรูและมีความมุงมั่นในการทำงาน (A) 4. สาระการเรียนรู งานเนื่องจากแรงคงตัวที่มีทิศเดียวกับการกระจัดหาไดจาก W = F∆x งานเนื่องจากแรงคงตัวที่ไมมีทิศเดียวกับการกระจัดหาไดจาก W = F∆xcosӨ


5. สมรรถนะสําคัญของผูเรียนและคุณลักษณะอันพงึประสงค สมรรถนะสำคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกปญหา 1. มุงมั่นในการทำงาน 2. ใฝเรียนรู 6. กิจกรรมการเรียนรู (แบบสืบเสาะหาความรู 5E) ขั้นที่ 1 ขั้นสรางความสนใจ 1.1 ครูถามนักเรียนวา จากชั่วโมงเรียนที่ผานมา เปนกรณีเฉพาะแรงคงตงัตัวเทานั้น แตถ าใน กรณีแรงไมคงตัว จะหางานของแรงนั้นไดอยางไร (นักเรียนตอบอยางอิสระ) ขั้นที่ 2 ขั้นสํารวจและคนหา 2.1 ครูใหนักเรียนศึกษากรณีงานของแรงไมคงตัวแตมีคาเปลี่ยนแปลงอยางสม่ำเสมอ กับ งานของแรงไมคงตัวและมีคาเปลี่ยนแปลงไมสม่ำเสมอ อภิปรายรวมกันจนไดขอสรุปวา ในกรณีงานที่ ไมคงตัวสามารถคำนวณคาไดจากการหาพื้นท่ใีตกราฟ ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงขอสรุป 3.1 ครอูภิปรายเพิ่มเติมวากรณีที่ออกแรงผลักหรือดึงกลองไปบนพื้นลื่น ถานำขนาดของแรง คงตัวที่ผลักหรือดึงและตำแหนงที่วัตถุเคลื่อนที่มาเขียนกราฟ จะไดกราฟมีลักษณะดังรูป 5.5 ใน หนังสือเรียน โดยการหางานของแรงสามารถหาไดจากพื้นที่ใตกราฟ ซึ่งพื้นที่ไดกราฟ หมายถึงพื้นที่ ระหวางเสนกราฟกับแกน x ซึ่งรวมทั้ง กรณีท่กีราฟอยูใตแกน x ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู 4.1 ครูอภิปรายเกี่ยวกับ งานของแรงไมคงตัวแตมีคาเปลี่ยนแปลงอยางสม่ำเสมอ เมื่อเขียน กราฟระหวางขนาดของแรงกับตำแหนง จะไดกราฟดังรูป 5.6 ในหนังสือเรียน และการหางานและ แรงไมคงตัวที่มีคาเปลี่ยนแปลงอยางสม่ำเสมอสามารถหาไดจากพื้นที่ใตกราฟ โดยพิจารณาในขนาด ของแรงเปนขนาดของแรงเฉลี่ย 4.2 ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปงานเนื่องจากแรงคงตัวและแรงไมคงตัว ดังนี้ เมื่อมี แรงคงตัว กระทำตอวัตถุใหเคลื่อนที่ในแนวตรงไดการกระจัด ถาแรงและการกระจัดมีทิศทางเดียวกัน จะทำใหเกิดงานของแรง ซึ่งอาจมีคาของงานเปนบวก ศูนย หรือลบ ขึ้นอยูกับมุม งานเปนปริมาณส เกลาร มีหนวยเปนนิวตัน.เมตร หรือจูล อาจหาคาของงานไดจากพื้นที่ใตกราฟระหวางแรงกับตำแหนง ทั้งในกรณีแรงคงตัวและแรงไมคงตัว ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล 5.1 ครูใหนักเรียนตอบคำถามตรวจสอบความเขาใจและทำแบบฝกหัดในหนังสือเรียน


7. สื่อการเรียนรูและแหลงการเรียนรู 7.1 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ฟสิกส 2 สสวท. 7.2 สื่อจากอินเทอรเน็ต 8. การวัดและประเมินผล จุดประสงคการเรียนรู วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑการประเมิน 1) บอกความหมายของงานใน วิชาฟสิกสได (K) - ตรวจคำถาม ตรวจสอบความเขาใจ - คำถามตรวจสอบ ความเขาใจ ระดับ 2 ผานเกณฑ 2) คำนวณงานของแรงคงตัว จากสมการได (P) - ตรวจแบบฝกหัด - แบบฝกหัด รอยละ 60 ขึ้นไป 3) ใฝเรียนรูและมีความมุงมั่นใน การทำงาน (A) - สังเกตพฤติกรรมการ ทำงาน - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับ 2 ผานเกณฑ


ความคิดเห็นของหัวหนาสถานศึกษา/ผูที่ไดรับมอบหมาย 1. ทุกองคประกอบของแผนการจัดการเรียนรสูอดคลองกับมาตรฐานและผลการเรียนรู ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. กิจกรรมการเรยีนการสอนเปนไปตามลำดับขั้นตอน ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. สื่อและอุปกรณสอดคลองกับกิจกรรมการเรียนการสอน ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………..… 4. เวลาที่ใชในการสอนในแตละแผนการจัดการเรียนรู ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… 5. การวัดและประเมินผล ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม............................................................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ลงชื่อ................................................. (นางสาวรัตนจาณี อรัญเพิ่ม) หัวหนากลุมสาระการเรียนรู / ผูตรวจ ◻ เหมาะสม ◻ ควรแกไข/เพิ่มเติม........................................................................................ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ……………………………………………………. (นายทศพล มั่งมีศรี) รองผูอำนวยการกลุมบริหารวิชาการ ◻อนุญาตใหใชจัดการเรยีนการสอนได ลงชื่อ................................................ (นายสนทยา เจรญิพันธ) ผูอำนวยการโรงเรียนศรีธาตุพทิยาคม


แบบสังเกตพฤติกรรม เรื่อง ............................................................... ชั้น ...................... วัน/เดือน/ป ................... เลขที่ พฤติกรรม ชื่อ-สกุล ใฝเรียนรู มุงมันใน การทํางาน รวม คะแนน ระดับ คุณภาพ 3 2 1 3 2 1 6 เกณฑการใหคะแนน 3 = ดี 2 = พอใช 1 = ปรับปรุง คะแนนชวง 5-6 คะแนน คะแนนชวง 3-4 คะแนน คะแนนชวง 1-2 คะแนน ลงชื่อ ................................................... ผูประเมิน (นางสาวสุภาวดี คำสมัย)


แผนจัดการเรียนรูที่ 8 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รายวิชา ว 30202 ฟสิกส 2 หนวยการเรียนรูที่ 5 งานและพลังงาน เรื่อง กําลัง เวลา 3 ชั่วโมง ครูผูสอน นางสาวสุภาวดี คําสมัย 1. สาระการเรียนรู/ผลการเรียนรู สาระฟสิกส (เพิ่มเติม) เขาใจธรรมชาติทางฟสิกส ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรง แรงและกฎการ เคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโนมถวงสากล แรงเสียดทานสมดุลกล ของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษ พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ โมเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโคง รวมทั้งนำความรูไปใช ประโยชน ผลการเรียนรู 3. วิเคราะห และคำนวณงานของแรงคงตัว จากสมการและพื้นที่ใตกราฟความสัมพันธ ระหวางแรงกับตำแหนง รวมทั้งอธิบายและคำนวณกำลังเฉลี่ย 2. สาระสําคัญ กำลัง หมายถึง อัตราการทำงานหรืองานที่ทำไดในหนึ่งหนวยเวลา หรือ P=W/t คากำลังใน ชวงเวลาสั้นๆ เปนกำลัง ณ ขณะนั้น แตการทำงานมักไมสม่ำเสมอดังนั้นกำลังจึงไมสม่ำเสมอดวย จึง หากำลังไดในรูปของกำลังเฉลี่ย และคา 1 กำลังมาเทากับ 745.6 วัตต 3. จุประสงคการเรียนรู 3.1 บอกความหมายของกำลังและความสัมพันธระหวางกำลังกับงานได (K) 3.2 คำนวณปริมาณที่เกี่ยวของกับกำลังได (P) 3.3 ใฝเรียนรูและมีความมุงมั่นในการทำงาน (A) 4. สาระการเรียนรู กำลัง หมายถึง อัตราการทำงานหรืองานที่ทำไดในหนึ่งหนวยเวลา มีหนวยเปน วัตต หนวยที่ นิยมใชอีกหนวยหนึ่ง คือ แรงมา ซึ่งมีคาเทากับ 746 วัตต งานที่ทำไดในหนึ่งหนวยเวลา เรียกวา กำลังเฉลี่ย ดังสมการ Pୟ୴ = ௐ ∆௧


5. สมรรถนะสําคัญของผูเรียนและคุณลักษณะอันพงึประสงค สมรรถนะสำคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกปญหา 1. มุงมั่นในการทำงาน 2. ใฝเรียนรู 6. กิจกรรมการเรียนรู (แบบสืบเสาะหาความรู 5E) ขั้นที่ 1 ขั้นสรางความสนใจ 1.1 ครูยกสถานการณืที่มีการทำงานไดปริมาณเทากันแตใชเวลาตางกัน ใหนักเรียนอภิปราย รวมกันถึงการทำงานเทียบกับเวลา 1.2 ครูถามนักเรียนวาความเร็วมีผลตอกำลังหรือไม (แนวคำตอบ : ความเร็วมีผลตอกำลัง เพราะจากสมการ = ∆/∆ จะไดวา P=Fv ดังนั้น ความเร็วจะแปรผันตรงกับกำลัง ถา วัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็วที่มากขึ้น กำลังของวัตถุหรือระบบก็จะเพิ่มขึ้นตาม) ขั้นที่ 2 ขั้นสํารวจและคนหา 2.1 ครูสมุนักเรียน 3 คน พรอมบอกขอมูลของแตละคนใหทราบ กำหนดใหนกเรียนแตละคน ยกของจากพื้นขึ้นวางบนชั้นวางของ ใหระยะจากพื้นถึงชั้นวางของ 2 เมตร - นักเรียนคนที่ 1 ออกแรง 250 นิวตัน ในเวลา 10 วินาที - นักเรียนคนที่ 2 ออกแรง 150 นิวตัน ในเวลา 10 วินาที - นักเรียนคนที่ 3 ออกแรง 200 นิวตัน ในเวลา 5 วินาที (แนวคำตอบ : นักเรียนคนที่ 3 มีกำลังมากที่สุด) 2.2 ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวาทำไมนักเรียนคนที่ 3 จึงมีกำลังมากที่สุด (แนวคำตอบ : ใชการเปรียบเทียบงานที่ไดกับเวลาที่ใช) ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงขอสรุป 3.1 ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายจากกิจกรรมขางตน จนไดขอสรุปวา งานที่ทำไดในหนึ่ง หนวยเวลา เรียกวา กำลังเฉลี่ย ดังสมการ Pୟ୴ = ௐ ∆௧ 3.2 ครูอธิบายเพิ่มเติมวา กำลังคืออัตราการทำงาน หรืองานที่ทำไดในหนึ่งหนวยเวลา มี หนวยเปนวัตตหนวยที่นิยมใชอีกหนวย คอืแรงมา ซึ่งมีคาเทากับ 746 วัตต ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู 4.1 ครูใหความรเูพิ่มเตมิวา หนวยของกำลังนอกจากหนวยวัตตแลวยังมีหนวย จูลตอวินาที 4.2 ครูใหนักเรียนศึกษาประวัติของ เจมส วัตต นอกเวลาเรียน


Click to View FlipBook Version