The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแขวงกลั่นปี 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by k.kamonchanok2539, 2022-09-15 07:38:05

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแขวงกลั่นปี 2563

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแขวงกลั่นปี 2563



หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นแขวงกล่ัน พทุ ธศักราช ๒๕๖3
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ความนำ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ตามคำสั่งกระทรวงศกึ ษาธิการที่
สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ท่ี
๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วดั กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคำสั่งให้โรงเรียนดำเนินการใช้หลักสูตรในปี
การศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และ ๔ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา ให้เป็น
หลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรูเ้ ป็นเป้าหมายและกรอบทิศทาง
ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
เพอื่ ให้สอดคล้องกบั นโยบายและเป้าหมายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

โรงเรียนบ้านแขวงกลั่น จึงได้ทำการจัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๖3 ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการ
เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อนำไปใช้ประโยชน์และเป็นกรอบในการวางแผนและพัฒนา
หลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มี
กระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัด
ประเมินผลให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถกำหนดทิศทางในการ
จัดทำหลักสูตรการเรยี นการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจดุ เนน้ โดยมกี รอบแกนกลางเป็นแนวทาง
ทชี่ ัดเจนเพอื่ ตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มีความพรอ้ มในการก้าวส่สู ังคมคุณภาพ มคี วามรู้อย่างแท้จริง
และมีทกั ษะในศตวรรษที่ ๒๑

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในเอกสารนี้ ช่วยทำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในทุกระดับ
เห็นผลคาดหวังท่ีต้องการในการพฒั นาการเรยี นรู้ของผู้เรยี นทช่ี ดั เจนตลอดแนว ซึง่ จะสามารถชว่ ยให้หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่นและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทำให้การจัดทำหลักสู ตรใน
ระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพยิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยให้เกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและ
ประเมินผลการเรยี นรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทยี บโอนระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพฒั นาหลักสูตรในทกุ
ระดับตั้งแต่ระดับชาติจนกระทั่งถึงสถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่
กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งเป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ
และครอบคลมุ ผเู้ รียนทกุ กลุ่มเป้าหมายในระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

การจดั หลกั สูตรการศึกษาข้ันพน้ื ฐานจะประสบความสำเร็จตามเปา้ หมายที่คาดหวังได้ทุกฝา่ ย
ที่เกี่ยวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทำงานอย่างเป็นระบบ
และต่อเนื่อง ในการวางแผน ดำเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนา
เยาวชนของชาติไปสูค่ ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูท้ ก่ี ำหนดไว้



วสิ ัยทัศน์ของโรงเรยี น (Vision)
โรงเรียนบ้านแขวงกลั่น เปน็ สถานศึกษาแห่งการเรียนรู้ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนมี

คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน มีความรับผิดชอบ พัฒนาครูเป็นครูมืออาชีพ ชุมชนมีส่วนร่วมจัดการศึกษา
สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

ในการพฒั นาผู้เรียนตามหลักสตู รโรงเรียนบา้ นแขวงกลัน่ พุทธศกั ราช ๒๕63 ตามหลกั สตู รแกนกลาง
การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ มงุ่ เน้นพฒั นาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งจะช่วย
ใหผ้ ู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ดงั นี้

สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น
หลักสตู รโรงเรยี นบา้ นแขวงกลน่ั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖3 ม่งุ ให้ผ้เู รียนเกดิ สมรรถนะสำคญั ๕ ประการ ดังน้ี
๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา

ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม การเลือกรบั หรือไม่รบั ข้อมูลข่าวสารด้วยหลัก
เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อ
ตนเองและสงั คม

๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพ่อื การตดั สนิ ใจเกยี่ วกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกตค์ วามรมู้ าใชใ้ นการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหา
และมกี าตดั สนิ ใจทม่ี ปี ระสิทธิภาพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบที่เกดิ ข้ึนตอ่ ตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอ้ ม

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม
ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึง
ประสงคท์ ี่สง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อืน่

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และ
มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน
การแก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม



คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์
หลักสูตรโรงเรียนบ้านแขวงกลั่น พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรยี นให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อืน่ ในสังคมได้
อย่างมคี วามสขุ ในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก ดงั น้ี

๑. รักษช์ าติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซอ่ื สัตยส์ ุจริต
๓. มวี นิ ัย
๔. ใฝ่เรยี นรู้
๕. อย่อู ย่างพอเพยี ง
๖. มุง่ มั่นในการทำงาน
๗. รกั ความเปน็ ไทย
๘. มีจิตเป็นสาธารณะ

ค่านยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ ตามนโยบายของ คสช.
๑. มคี วามรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
๒. ซ่อื สตั ย์ เสียสละ อดทน มอี ุดมการณใ์ นส่ิงท่ีดีงามเพ่ือส่วนรวม
๓. กตัญญูตอ่ พ่อแม่ ผปู้ กครอง ครูบาอาจารย์
๔. ใฝ่หาความรู้ หม่นั ศกึ ษาเลา่ เรียนท้ังทางตรง และทางอ้อม
๕. รกั ษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
๖. มศี ีลธรรม รกั ษาความสัตย์ หวงั ดตี ่อผู้อืน่ เผอ่ื แผ่และแบ่งปัน
๗. เขา้ ใจเรยี นรู้การเป็นประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ ที่ถูกต้อง
๘. มรี ะเบียบวินยั เคารพกฎหมาย ผูน้ อ้ ยร้จู ักการเคารพผู้ใหญ่
๙. มสี ติรู้ตัว ร้คู ิด รู้ทำ รู้ปฏบิ ัตติ ามพระราชดำรัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว
๑๐. รูจ้ กั ดำรงตนอยู่โดยใชห้ ลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งตามพระราชดำรัสของพระบาท สมเดจ็ พระ

เจา้ อยหู่ ัว รูจ้ ักอดออมไวใ้ ช้เมื่อยามจำเปน็ มีไวพ้ อกินพอใช้ ถ้าเหลอื ก็แจกจ่ายจำหน่าย และพร้อมที่จะขยาย
กิจการเม่ือมีความพร้อม เมอื่ มภี มู คิ ุ้มกันทดี่ ี

๑๑. มีความเขม้ แข็งทั้งร่างกาย และจติ ใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝา่ ยต่ำ หรอื กเิ ลส มีความละอายเกรง
กลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา

๑๒. คำนึงถึงผลประโยชนข์ องส่วนรวม และของชาตมิ ากกว่าผลประโยชนข์ องตนเอง



โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรียนบ้านแขวงกล่นั

1. โครงสรา้ งเวลาเรยี นหลักสตู รเวลาเรยี นโรงเรียนบ้านแขวงกล่นั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดโครงสร้างเวลาเรียน ดงั น้ี

กลมุ่ สาระการเรียนร้/ู กิจกรรม เวลาเรยี น(ช่วั โมง/ปี)

 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
ประวัติศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑2๐ ๑2๐ ๑2๐
ศิลปะ 8๐ 8๐ 8๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
การงานอาชีพ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
รวมเวลาเรียน (พนื้ ฐาน) 40 40 4๐ 40 4๐ 4๐
 รายวชิ าเพ่มิ เตมิ 100 100 100 ๘๐ ๘๐ ๘๐
๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
ภาษาอังกฤษ (เพิ่มเติม)
หนา้ ทีพ่ ลเมือง ๔๐ ๔๐ ๔๐ - - -
รวมเวลาเรยี น (เพ่ิมเตมิ ) - - - ๔๐ ๔๐ ๔๐
 กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
กิจกรรมแนะแนว ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
กิจกรรมนกั เรียน ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐

- กิจกรรมลกู เสือ/เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
- ชมุ นุม ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
กิจกรรมสาธารณประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐

รวมเวลาเรียนทง้ั หมด ๑,๐๐๐ ชั่วโมง/ปี

โครงสรา้ งหลักสูตรชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ๕
โรงเรียนบ้านแขวงกลัน่
เวลาเรยี น
รหสั กลุ่มสาระการเรียนร้/ู กจิ กรรม (ชม./ป)ี
(๘๔๐)
ท ๑๑๑๐๑ รายวชิ าพ้นื ฐาน ๒๐๐
ค ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๒๐๐
ว ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑ ๑๐๐
ส ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑
ส ๑๑๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๑ ๘๐
พ ๑๑๑๐๑ ประวัตศิ าสตร์ ๑ ๔๐
ศ ๑๑๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๑ ๔๐
ง ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๑ ๔๐
อ ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ 4๐
ภาษาอังกฤษ ๑ ๑0๐
อ ๑๑๑๐๒ ๔๐
รายวชิ าเพ่ิมเติม ๔๐
ภาษาองั กฤษ ๑ (๑๒๐)
๔๐
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น
แนะแนว ๔๐
กิจกรรมนักเรยี น ๓๐

• ลกู เสอื เนตรนารี ๑๐

• ชุมนมุ

กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑

โครงสรา้ งหลกั สูตรช้ันประถมศึกษาปีที่ ๒ ๖
โรงเรียนบ้านแขวงกลั่น
เวลาเรยี น
รหสั กลุ่มสาระการเรยี นรู้/กิจกรรม (ชม./ป)ี
(๘๔๐)
ท ๑๒๑๐๑ รายวชิ าพ้นื ฐาน ๒๐๐
ค ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ๒๐๐
ว ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒ 10๐
ส ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒
ส ๑๒๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๒ ๘๐
พ ๑๒๑๐๑ ประวัติศาสตร์ ๒ ๔๐
ศ ๑๒๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๒ ๔๐
ง ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ ๒ ๔๐
อ ๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๒ ๔๐
ภาษาองั กฤษ ๒ ๑0๐
อ ๑๒๑๐๒ ๔๐
รายวชิ าเพิม่ เติม ๔๐
ภาษาองั กฤษ ๒ (๑๒๐)
๔๐
กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น
แนะแนว ๔๐
กิจกรรมนักเรียน ๓๐

• ลูกเสือ เนตรนารี ๑๐

• ชมุ นมุ

กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑

โครงสรา้ งหลกั สตู รชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๓ ๗
โรงเรยี นบ้านแขวงกลน่ั
เวลาเรยี น
รหัส กลุ่มสาระการเรียนร/ู้ กิจกรรม (ชม./ป)ี
(๘๔๐)
ท ๑๓๑๐๑ รายวิชาพืน้ ฐาน ๒๐๐
ค ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๒๐๐
ว ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓
ส ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๓ ๘๐
ส ๑๓๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ ๘๐
พ ๑๓๑๐๑ ประวัตศิ าสตร์ ๓ ๔๐
ศ ๑๓๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๓ ๔๐
ง ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๓ ๔๐
อ ๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๓ ๔๐
ภาษาอังกฤษ ๓ ๑0๐
อ ๑๓๑๐๒ ๔๐
รายวชิ าเพิม่ เติม ๔๐
ภาษาองั กฤษ ๓ (๑๒๐)
๔๐
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน
แนะแนว ๔๐
กจิ กรรมนักเรียน ๓๐

• ลกู เสอื เนตรนารี ๑๐

• ชุมนมุ

กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๑

โครงสรา้ งหลกั สตู รชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔ ๘
โรงเรียนบ้านแขวงกลน่ั
เวลาเรยี น
รหสั กลุ่มสาระการเรียนร/ู้ กิจกรรม (ชม./ป)ี
(๘๔๐)
ท ๑๔๑๐๑ รายวิชาพื้นฐาน ๑๖๐
ค ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ๑๖๐
ว ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๔ ๑๐๐
ส ๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔
ส ๑๔๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๔ ๘๐
พ ๑๔๑๐๑ ประวัตศิ าสตร์ ๔ ๔๐
ศ ๑๔๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔ ๘๐
ง ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๔ ๘๐
อ ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๔ ๔๐
ภาษาองั กฤษ ๔ ๘๐
ส ๑๑๑๓๔ ๔๐
รายวชิ าเพม่ิ เติม ๔๐
หน้าทีพ่ ลเมือง ๔ (๑๒๐)
๔๐
กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน
แนะแนว ๔๐
กจิ กรรมนักเรียน ๓๐

• ลูกเสอื เนตรนารี ๑๐

• ชุมนมุ

กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๑

โครงสร้างหลกั สูตรช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๕ ๙
โรงเรยี นบ้านแขวงกลัน่
เวลาเรยี น
รหัส กลุม่ สาระการเรยี นรู้/กิจกรรม (ชม./ป)ี
(๘๔๐)
ท ๑๕๑๐๑ รายวชิ าพื้นฐาน ๑๖๐
ค ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๑๖๐
ว ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕
ส ๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕ ๘๐
ส ๑๕๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕ ๘๐
พ ๑๕๑๐๑ ประวัติศาสตร์ ๕ ๔๐
ศ ๑๕๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๕ ๘๐
ง ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๘๐
อ ๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ๕ ๘๐
ภาษาอังกฤษ ๔ ๘๐
ส ๑๑๑๓๕ ๔๐
รายวชิ าเพิม่ เติม ๔๐
หน้าท่ีพลเมือง ๕ (๑๒๐)
๔๐
กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน
แนะแนว ๔๐
กจิ กรรมนกั เรียน ๓๐

• ลกู เสอื เนตรนารี ๑๐

• ชมุ นมุ

กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑

โครงสร้างหลกั สตู รชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ๑๐
โรงเรยี นบา้ นแขวงกลน่ั
เวลาเรยี น
รหสั กลุ่มสาระการเรียนร้/ู กจิ กรรม (ชม./ปี)
(๘๔๐)
ท ๑๖๑๐๑ รายวิชาพนื้ ฐาน ๑๖๐
ค ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ ๑๖๐
ว ๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๖
ส ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๖ ๘๐
ส ๑๖๑๐๒ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๖ ๘๐
พ ๑๖๑๐๑ ประวัตศิ าสตร์ ๖ ๔๐
ศ ๑๖๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๖ ๘๐
ง ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๖ ๘๐
อ ๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๖ ๘๐
ภาษาอังกฤษ ๖ ๘๐
ส ๑๖๒๓๖ ๔๐
รายวชิ าเพ่มิ เติม ๔๐
หน้าท่พี ลเมือง ๖ (๑๒๐)
๔๐
กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน
แนะแนว ๔๐
กิจกรรมนักเรยี น ๓๐

• ลูกเสอื เนตรนารี ๑๐

• ชุมนุม

กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๑

๑๑

รายวิชาของโรงเรียนบา้ นแขวงกลนั่

กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย จำนวน ๒๐๐ ชว่ั โมง
รายวิชาพืน้ ฐาน จำนวน ๒๐๐ ช่ัวโมง
จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง
ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ จำนวน ๑๖๐ ชวั่ โมง
ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ จำนวน ๑๖๐ ชว่ั โมง
ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔
ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕
ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖

กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง
รายวิชาพื้นฐาน จำนวน ๒๐๐ ชัว่ โมง
จำนวน ๒๐๐ ชวั่ โมง
ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑ จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๒ จำนวน ๑๖๐ ช่ัวโมง
ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๓ จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง
ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๔
ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ จำนวน ๑๐๐ ชว่ั โมง
ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖ จำนวน ๘๐ ช่วั โมง
จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง
**************** จำนวน ๑๐๐ ช่วั โมง
จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง
กลมุ่ สาระการเรยี นวิทยาศาสตร์ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง
รายวิชาพน้ื ฐาน

ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑
ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๒
ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๓
ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๔
ว ๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๕
ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๖

***************

๑๒

รายวิชาของโรงเรียนบ้านแขวงกล่นั

กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

รายวิชาพื้นฐาน

ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๑ จำนวน ๘๐ ช่วั โมง

ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๒ จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง

ส ๑๓๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๓ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง

ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๔ จำนวน ๘๐ ช่ัวโมง

ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๕ จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง

ส ๑๖๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๖ จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ( ประวตั ิศาสตร์ )

รายวิชาพืน้ ฐาน

ส ๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๑ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง

ส ๑๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๒ จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง

ส ๑๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๓ จำนวน ๔๐ ช่วั โมง

ส ๑๔๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔ จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง

ส ๑๕๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๕ จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง

ส ๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๖ จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง

รายวชิ าเพม่ิ เตมิ

ส ๑๑๑๓๔ หนา้ ทพี่ ลเมือง ๔ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง

ส ๑๑๑๓๕ หนา้ ทพี่ ลเมือง ๕ จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง

ส ๑๖๒๓๖ หนา้ ทพี่ ลเมือง ๖ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง

****************

กลุ่มสาระการเรียนร้สู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง
รายวชิ าพน้ื ฐาน จำนวน ๘๐ ช่ัวโมง
จำนวน ๘๐ ช่ัวโมง
พ ๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาฯ ๑ จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง
พ ๑๒๑๐๑ สุขศึกษาฯ ๒ จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง
พ ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาฯ ๓ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง
พ ๑๔๑๐๑ สขุ ศึกษาฯ ๔
พ ๑๕๑๐๑ สุขศกึ ษาฯ ๕
พ ๑๖๑๐๑ สุขศึกษาฯ ๖

****************

๑๓

รายวิชาของโรงเรยี นบ้านแขวงกลัน่

กลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง
รายวิชาพนื้ ฐาน จำนวน ๘๐ ช่ัวโมง
จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง
ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง
ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๒ จำนวน ๘๐ ช่วั โมง
ศ ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๓ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง
ศ ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ ๔
ศ ๑๕๑๐๑ ศลิ ปะ ๕ จำนวน ๒๐ ชั่วโมง
ศ ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๖ จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง
จำนวน ๔๐ ช่วั โมง
**************** จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง
กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง
รายวชิ าพืน้ ฐาน จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง

ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชพี ๑ จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง
ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชีพฯ ๒ จำนวน ๔๐ ช่วั โมง
ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชีพฯ ๓ จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง
ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๔
ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ฯ ๕ จำนวน ๑๒๐ ชั่วโมง
ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชพี ฯ ๖ จำนวน ๑๒๐ ช่ัวโมง
รายวิชาเพ่มิ เตมิ จำนวน ๑๒๐ ชั่วโมง
ง ๑๔๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๔ จำนวน ๘๐ ช่ัวโมง
ง ๑๕๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๕ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง
ง ๑๖๒๐๑ คอมพิวเตอร์ ๖ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง

**************** จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ(อังกฤษ) จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง
รายวชิ าพ้ืนฐาน จำนวน ๔๐ ชั่วโมง

อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑
อ ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒
อ ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓
อ ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๔
อ ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๕
อ ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๖
รายวิชาเพิ่มเติม
อ ๑๑๒๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑
อ ๑๒๒๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒
อ ๑๓๒๐๓ ภาษาองั กฤษ ๑

๑๔

คำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

๑๕

ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน
ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย
เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง

คำอธิบายรายวชิ า
ฝึกอา่ นออกเสียงคำ คำคลอ้ งจอง และขอ้ ความสั้นๆ บอกความหมายของคำและข้อความ ตอบคำถาม

เล่าเรื่องย่อ คาดคะเนเหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอ นำเสนอเรื่องที่อ่าน บอก
ความหมายของเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์สำคัญที่มักพบเห็นในชีวิตประจำวัน มีมารยาทในการอ่าน ฝึกคัด
ลายมือดว้ ยตวั บรรจงเตม็ บรรทดั เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคงา่ ยๆ มมี ารยาทในการเขียน

ฝึกทักษะในการฟัง ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆและปฏิบัติตาม ตอบคำถาม เล่าเรื่อง พูดแสดงความ
คิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู พูดสื่อสารไดต้ ามวัตถุประสงค์ เน้นมารยาทในการฟงั การดูและการ
พูด

ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ
เรยี บเรียงคำเป็นประโยคงา่ ยๆ ต่อคำคล้องจองง่ายๆ

บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก ฝึกท่องจำบท
อาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน
กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม
ตอบคำถาม ใชท้ ักษะการฟงั การดูและการพูด พูดแสดงความคดิ เหน็ กระบวนการสรา้ งความคิดรวบยอด

เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สอื่ สารได้ถูกต้อง รกั การเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของการ
อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งและสามารถนำไปประยกุ ต์ใชก้ ับชวี ติ ประจำวันได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘
ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒

รวม ๒๒ ตัวช้ีวดั

๑๖

ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๒ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง

คำอธิบายรายวชิ า
ฝึกอ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ขอ้ ความ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธบิ ายความหมายของคำและ

ข้อความทีอ่ า่ น ตัง้ คำถาม ตอบคำถาม ระบุใจความสำคญั และรายละเอียด แสดงความคดิ เหน็ และคาดคะเน
เหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน อ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย
และปฏิบตั ิตามคำสงั่ หรอื ขอ้ แนะนำ มมี ารยาทในการอ่าน

ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนเรื่องสั้นๆ ตาม
จนิ ตนาการ มีมารยาทในการเขยี น

ฝึกทักษะการฟัง ฟังคำแนะนำ คำสั่งที่ซับซ้อนและปฏิบัติตาม เล่าเรื่อง บอกสาระสำคัญของเร่อื ง
ตั้งคำถาม ตอบคำถาม พูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์ มี
มารยาทในการฟัง การดูและการพูด

ฝึกทักษะการเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมายของ
คำ เรียบเรียงคำเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการสื่อสาร บอกลักษณะคำคล้องจอง เลือกใช้ภาษาไทย
มาตรฐานและภาษาถนิ่ ไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ

ฝึกจับใจความสำคัญจากเรื่อง ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมสำหรับเด็ก เพื่อ
นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ร้องบทร้องเล่นสำหรับเด็กในทอ้ งถิ่น ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อย
กรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ
อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น
กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด

เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่อื สารไดถ้ ูกตอ้ ง รกั การเรยี นภาษาไทย เหน็ คณุ คา่ ของการ
อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและสามารถนำไปประยกุ ต์ใชก้ ับชีวติ ประจำวนั ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ป.๒/๖, ป.๒/๗
ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕
ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓

รวม ๒๗ ตัวชี้วัด

๑๗

ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๓
กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย
เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง

คำอธบิ ายรายวิชา
ฝึกอ่านออกเสียงคำ ข้อความ เรื่องสั้น ๆ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธิบายความหมายของคำและ

ข้อความที่อา่ น ตั้งคำถาม ตอบคำถามเชงิ เหตุผล ลำดบั เหตกุ ารณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุปความรู้ ขอ้ คิด
จากเร่ืองที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั เลือกอ่านหนงั สือตามความสนใจอยา่ งสมำ่ เสมอและนำเสนอเรื่อง
ทอี่ ่าน อ่านขอ้ เขียนเชิงอธบิ าย และปฏบิ ัตติ ามคำส่ังหรือขอ้ แนะนำ อธบิ ายความหมายของข้อมูลจากแผนภาพ
แผนที่ และแผนภมู ิ มมี ารยาทในการอ่าน

ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย เขียนบันทึกประจำวัน เขียนเรื่องตาม
จินตนาการ มีมารยาทในการเขียน

ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด เล่ารายละเอียด บอกสาระสำคัญ ตั้งคำถาม ตอบคำถาม พดู แสดง
ความคิดเหน็ ความรู้สกึ พดู ส่อื สารไดช้ ัดเจนตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ มมี ารยาทในการฟงั การดแู ละการพดู

ฝึกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ ระบุชนิด หน้าที่ของคำ ใช้
พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ แต่งประโยคง่ายๆ แต่งคำคล้องจองและคำขวัญ เลือกใช้ภาษาไทย
มาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ

ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่านวรรณกรรม เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน รู้จักเพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อม
เดก็ เพ่อื ปลูกฝังความช่นื ชมวัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกบั วรรณคดที ี่อ่าน ทอ่ งจำบทอาขยาน
ตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน
กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสื่อความ กระบวนการ
แก้ปญั หา การฝกึ ปฏิบัติ อธบิ าย บันทกึ การตัง้ คำถาม ตอบคำถาม ใชท้ ักษะการฟัง การดูและการพูด พดู แสดง
ความคิดเห็น กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด

เพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ส่อื สารไดถ้ กู ตอ้ ง รกั การเรยี นภาษาไทย เห็นคุณคา่ ของการ
อนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งและสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้กับชีวติ ประจำวันได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙
ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖
ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔

รวม ๓๑ ตัวชี้วัด

๑๘

คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน

ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ กลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย

ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง

คำอธบิ ายรายวชิ า

ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและสำนวนจาก

เรื่องที่อ่าน อ่านเรื่องสั้น ๆ ตามเวลาที่กำหนดและตอบคำถามจากเรือ่ งที่อ่าน แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเหน็

จากเรอ่ื งท่ีอ่าน คาดคะเนเหตกุ ารณจ์ ากเรื่องท่ีอ่าน โดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรแู้ ละข้อคิดจากเร่ือง

ทอี่ า่ น เพื่อนำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั เลอื กอ่านหนังสอื ทม่ี ีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความ

คิดเหน็ เกย่ี วกับเรอ่ื งท่ีอา่ น มมี ารยาทในการอ่าน ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียน

สื่อสารโดยใช้คำได้ถูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนา

งานเขยี น เขียนยอ่ ความจากเร่ืองส้ัน ๆ เขียนจดหมายถึงเพื่อนและมารดา เขยี นบันทกึ และเขียนรายงานจาก

การศึกษาคน้ ควา้ เขยี นเร่อื งตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน

ฝกึ ทกั ษะการฟงั การดูและการพูด จำแนกข้อเทจ็ จรงิ และขอ้ คิดเห็นเร่ืองที่ฟังและดู พูดสรุปจากการ

ฟงั และดู พดู แสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึกเก่ียวกับเรอ่ื งท่ีฟงั และดู ต้งั คำถามและตอบคำถามเชิง

เหตุผลจากเรอื่ งที่ฟงั และดู พดู รายงานเรื่องหรือประเด็นทศ่ี กึ ษาคน้ ควา้ จากการฟงั การดแู ละการสนทนา มี

มารยาทในการฟัง การดูและการพูด ฝึกเขียนตามหลกั การเขยี น เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำใน

บริบทตา่ ง ๆ ระบชุ นดิ และหน้าท่ขี องคำในประโยค ใช้พจนานุกรมคน้ หาความหมายของคำ แต่งประโยคได้

ถกู ต้องตามหลักภาษา แต่งบทรอ้ ยกรองและคำขวัญ บอกความหมายของสำนวน เปรยี บเทยี บภาษาไทย

มาตรฐานและภาษาถิ่นได้

ระบุข้อคิดจากนิทานพื้นบ้านหรือนิทานคติธรรมอธบิ ายข้อคิดจากการอ่านเพื่อนำไปใชใ้ นชีวิตจริงร้อง

เพลงพื้นบ้านท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการ

อ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุป

ความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความกระบวนการแก้ปญั หา การฝึกปฏิบัติอธิบาย

บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูดพูดแสดงความคิดเห็นกระบวนการสร้าง

ความคิดรวบยอด

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของ

การอนุรักษ์ภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจ

พอเพยี งและสามารถนำไปประยกุ ต์ใชก้ ับชีวิตประจำวนั ได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด

ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘

ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘

ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖

ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗

ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔

รวม ๓๓ ตวั ชวี้ ัด

๑๙

ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง

คำอธบิ ายรายวชิ า
ฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและข้อความท่ี

เป็นการบรรยายและการพรรณนา อธิบายความหมายโดยนยั แยกข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ แสดง
ความคิดเห็น อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนำ และปฏิบัติตาม เลือกอ่านหนังสือที่มีคุณค่าตาม
ความสนใจ มีมารยาทในการอา่ น

ฝึกคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสาร เขียนแผนภาพโครงเรื่อง
แผนภาพความคิด เขียนย่อความ เขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ เขียนแสดงความรู้สึกและความ
คดิ เห็น กรอกแบบรายการตา่ ง ๆ เขยี นเรอ่ื งตามจินตนาการ มมี ารยาทในการเขยี น

ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นและความรู้สึก ตั้งคำถาม ตอบ
คำถาม วิเคราะหค์ วาม พดู รายงาน มีมารยาทในการฟงั การดแู ละการพูด

ระบุชนิดและหน้าที่ของคำในประโยค จำแนกส่วนประกอบของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทย
มาตรฐานและภาษาถน่ิ ใชค้ ำราชาศัพท์ บอกคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย แตง่ บท
ร้อยกรอง ใช้สำนวนไดถ้ ูกต้อง

สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน ระบุความรู้ ข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและ
วรรณกรรมที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ท่องจำบทอาขยาน
ตามที่กำหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน
กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์และสรุปความ กระบวนการคิด
อย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การต้ัง
คำถาม ตอบคำถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิด
รวบยอด

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณค่าของ
การอนุรักษ์ภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจ
พอเพียงและสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้กับชวี ติ ประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔

รวม ๓๓ ตัวชี้วดั

๒๐

คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน

ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๖ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง

คำอธิบายรายวิชา

ฝกึ อ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรอง อธบิ ายความหมายของคำ ประโยคและขอ้ ความท่เี ปน็ โวหาร อ่านเรือ่ ง

สั้นๆอย่างหลากหลาย แยกข้อเท็จจริงและข้อคดิ เห็นจากเรื่องที่อา่ น วิเคราะห์และแสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกับเรือ่ งทีอ่ ่านเพ่อื

นำไปใช้ในการดำเนนิ ชีวิต อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ข้อแนะนำ และปฏิบัติตาม อธิบายความหมายของข้อมูลจากการ

อ่านแผนผัง แผนท่ี แผนภมู แิ ละกราฟ เลือกอ่านหนงั สอื ตามความสนใจและอธิบายคุณคา่ ที่ได้รบั มมี ารยาทในการอ่าน

ฝึกคัดลายมอื ด้วยตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และครง่ึ บรรทดั เขยี นสอื่ สารโดยใชค้ ำไดถ้ ูกตอ้ ง ชัดเจน และเหมาะสม เขียน

แผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใชพ้ ัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ เขียนย่อความจากเรื่องอ่าน เขียนจดส่วนตวั

กรอกแบบรายการต่างๆ เขยี นเรือ่ งตามจินตนาการและสรา้ งสรรค์ มมี ารยาทในการเขียน

ฝึกทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความรู้ ความเข้าใจจุดประสงค์ของเร่ืองทีฟ่ ังและดู ตั้งคำถามและตอบ

คำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟังและดู วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟังและดูสื่อโฆษณาอย่างมีเหตุผล พูดรายงานเรื่อง

หรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟัง การดูและการสนทนา พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือ มีมารยาทในการฟัง

การดูและการพูด

ฝึกวิเคราะห์ชนดิ และหนา้ ที่ของคำในประโยค ใช้คำได้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล รวบรวมและบอกความหมาย

ของคำภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค แต่งบทร้อยกรอง วิเคราะห์เปรียบเทียบสำนวนที่เป็นคำ

พงั เพยและสภุ าษติ

ฝึกแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน เล่านิทานพื้นบ้านท้องถิ่นตนเองและนิทานพื้นบ้านของ

ท้องถิ่นอืน่ อธิบายคุณคา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่านและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจรงิ ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด

และบทร้อย โดยใชก้ ระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวเิ คราะห์

และสรปุ ความ กระบวนการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแกป้ ัญหากระบวนการสงั เกตกระบวนกร

แยกข้อเท็จจริง กระบวนการค้นคว้า กระบวนการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร กระบวนการใช้ทักษะทางภาษา การฝึกปฏิบัติ

อธิบาย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสร้างความคิด

รวบยอด

เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ ส่อื สารได้ถกู ต้อง รักการเรยี นภาษาไทย เห็นคุณคา่ ของการอนุรักษ์ภาษาไทย

และตัวเลขไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้วิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับ

ชีวติ ประจำวันได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด

ท ๑.๑ ป.๖/๑ - ป.๖/๙
ท ๒.๑ ป.๖/๑ - ป.๖/๙
ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖
ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖

รวม ๓๐ ตัวชี้วัด

๒๑

คำอธบิ ายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์

๒๒

ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑ คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์
เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง

คำอธบิ ายรายวิชา
ศึกษา ฝกึ ทกั ษะการคดิ คำนวณ และฝึกการแกป้ ัญหาในสาระตอ่ ไปน้ี
จำนวนนับ 1 ถึง 100 และ 0 การใช้จำนวนบอกปริมาณที่ได้จากการนับ การเขียนและการอ่าน

ตัวเลขฮินดูอารบิก และตัวเลขไทยแสดงจำนวน การนับเพิ่มทีละ 1 ทีละ 2 และการนับลดทีละ 1 การบอก
หลกั
คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลัก การบวก การลบ และโจทย์ปญั หา การเขยี นตัวเลขแสดงจำนวนในรปู กระจาย การ

เปรียบเทียบจำนวน การใช้เครื่องหมาย =  > < การเรียงลำดับจำนวนไม่เกินห้าจำนวน ความหมายของการ
บวก และการใช้เครื่องหมาย + การบวกที่ไม่มีการทด ความหมายของการลบ และการใช้เครื่องหมาย – การ
บวกจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100 การลบจำนวนที่มีตัวตั้งไม่เกิน 100 การลบที่ไม่มีการกระจาย การบวก
ลบ ระคน โจทย์ปัญหาการบวก การลบ โจทย์ปัญหาการบวก ลบ ระคน และการสร้างโจทย์ปัญหาการบวก
การลบ

การเปรียบเทียบความยาว การวัดความยาวโดยใช้หน่วยที่ไม่ใช่หน่วยมาตรฐาน การเปรียบเทียบ
นำ้ หนัก การช่งั โดยใช้หนว่ ยที่ไม่ใช่หนว่ ยมาตรฐาน การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุ การตวงโดยใช้หน่วยที่
ไมใ่ ช่หน่วยมาตรฐาน ชว่ งเวลาในแตล่ ะวนั จำนวนวนั และชอื่ วันในสปั ดาห์

รูปสามเหลี่ยม รูปส่เี หลย่ี ม รูปวงกลม และรูปวงรี
แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 1 ทีละ 2 แบบรูปของจำนวนที่ลดลงทีละ 1 แบบรูปของรูปที่มี
รูปร่าง ขนาด หรือสที ่ีสมั พันธ์กันอย่างใดอยา่ งหน่ึง
โดยใช้ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
รู้จักใช้วิธีการทหี่ ลากหลายในการแกป้ ญั หา
เพ่อื ให้มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ มีทักษะในการคดิ คำนวณ การแก้ปญั หา การใหเ้ หตุผล การสอื่ สาร
สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และสามารถนำไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่าง
สร้างสรรค์ มีระเบียบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเช่ือม่ันในตนเอง สามารถทำงานอย่างเปน็
ระบบ รวมทงั้ เหน็ คณุ คา่ และมเี จตคตทิ ี่ดีตอ่ คณิตศาสตร์
มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด

ค ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ค ๑.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ค ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ค ๓.๑ ป.๑/๑
ค ๔.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
ค ๖.๑ ป.๑ – ๓/๑ – ป.๑ – ๓/๖
รวม ๑๕ ตัวช้ีวดั

๒๓

ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๒ คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง

คำอธิบายรายวชิ า
ศึกษา ฝึกทักษะการคิดคำนวณและฝึกแก้ปัญหา จำนวนนับ ๑ ถึง ๑,๐๐๐ และ ๐ บอกและแสดง

จำนวนสิ่งต่าง ๆ ตามจำนวนที่กำหนด อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับท่ีหลัก ค่า
ของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และเขียนแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจำนวนนับไมเ่ กนิ ๑,๐๐๐ และ ๐
โดยใชเ้ ครอ่ื งหมาย = ≠ > < เรียงลำดบั จำนวนนบั ไม่เกนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ ต้ังแต่ ๓ ถึง ๕ จำนวน และหา
ค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก การลบ การแก้โจทย์ปัญหาการบวก การลบของ
จำนวนนับไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของจำนวน ๑
หลักกบั จำนวนไม่เกิน ๒ หลัก และประโยคสญั ลักษณ์แสดงการหารที่ตวั ตั้งไมเ่ กิน ๒ หลกั ตวั หาร ๑ หลกั โดย
ที่ผลหารมี ๑ หลัก ทั้งหารลงตวั และหารไม่ลงตัว หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับไม่เกนิ
๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ข้นั ตอนของจำนวนนับไมเ่ กิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธี
หาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลาที่มีหนว่ ยเดี่ยวและเป็นหน่วยเดียว วัดและเปรียบเทียบความยาวเป็น
เมตรและเซนติเมตร พร้อมทั้งแสดงวิธีการหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบความยาวที่มีหน่วยเปน็
เมตรและเซนติเมตร วัดและเปรียบเทียบน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด พร้อมทั้งแสดงวิธีการ
หาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกการลบเกีย่ วกับนำ้ หนกั ที่มีหนว่ ยเป็นกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด วัด
และเปรียบเทียบปริมาตรและความจุเป็นลิตร จำแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลี่ยมและวงกลม ใช้
ข้อมูลจากแผนภูมิรปู ภาพในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา เมื่อกำหนดรูป ๑ รูปแทน ๒ หน่วย ๕ หน่วยหรือ
๑๐ หน่วย

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘
ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖
ค ๒.๒ ป.๒/๑
ค ๓.๑ ป.๒/๑
รวม ๑๖ ตัวชี้วัด

๒๔

ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๓ คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง

คำอธบิ ายรายวชิ า
อ่านและเขียน ตัวเลขฮินดอู ารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐

เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณ์ต่าง ๆ บอก อ่านและเขียน
เศษส่วนที่แสดงปริมาณสิ่งต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วนที่กำหนด เปรียบเทียบเศษส่วนที่ตัวเศษ
เท่ากัน โดยที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวก
และการลบของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการ
คูณของจำนวน ๑ หลักกับจำนวนไม่เกิน ๔ หลักและจำนวน ๒ หลักกับจำนวน ๒ หลัก หาค่าของตัวไม่ทราบ
ค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารที่ตวั ตั้งไม่เกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก และหาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ
หารระคนและแสดงวธิ ีการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา ๒ ขั้นตอนของจำนวนนับไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หา
ผลบวกและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกของเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันและผลบวกไม่เกิน ๑
และหาผลลบพร้อมท้ังแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการลบของเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน ระบุจำนวนท่ี
หายไปในแบบรปู ของจำนวนท่เี พิ่มข้นึ หรือลดลงทลี ะเท่า ๆ กัน แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปัญหาเกยี่ วกับเงิน
เวลาและระยะเวลา เลือกใช้เครือ่ งมือความยาวที่เหมาะสม วัดและบอกความยาวของส่ิงต่าง ๆ เปน็ เซนติเมตร
และมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาว
และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับระหว่างเซนติเมตรกับมิลลเิ มตร เมตรกับเซนตเิ มตร กิโลเมตร
กบั เมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลอื กใช้เคร่ืองชง่ั ทเ่ี หมาะสม วัดและบอกนำ้ หนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัม
และกรัม คาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีด เปรียบเทียบน้ำหนักและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์
ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้
เครื่องตวงที่เหมาะสม วัดและเปรียบเทียบปริมาตร ความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนและแสดงวิธีหา
คำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุเป็นลิตรและมิลลิเมตร ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกน
สมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร เขียนแผนภูมิรูปภาพและใชข้ ้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของ
โจทยป์ ัญหา เขียนตารางทางเดียวจากขอ้ มลู ทีเ่ ป็นจำนวนนบั และใชข้ ้อมูลจากตารางทางเดยี วในการหาคำตอบ
ของโจทย์ปญั หา

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ค ๑.๑ ป.๓/๑ - ป.๓/๑๑
ค ๑.๒ ป.๓/๑
ค ๒.๑ ป.๓/๑ - ป.๓/๑๓
ค ๒.๒ ป.๓/๑
ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒

รวม ๒๘ ตัวชว้ี ัด

๒๕

ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๔ คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์
เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง

คำอธิบายรายวิชา
ศกึ ษา ฝึกทักษะการคดิ คำนวณ และฝกึ การแกป้ ัญหาในสาระตอ่ ไปนี้
การเขียนและการอ่านตวั เลขฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนงั สือแสดงจำนวนนับ หลกั และค่าของ

เลขโดดในแตล่ ะหลกั ของจำนวนนับ การใช้ 0 เพ่อื ยึดตำแหน่งของหลัก การบวก ลบ คณู หารจำนวนท่มี หี ลาย
หลักและโจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ และหาร การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย ความหมาย การ
เขียน การอ่านเศษส่วน และทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง การเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับ เศษส่วนที่มีตัว
ส่วนเท่ากัน และทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง การบวก การลบ การคูณจำนวนหนึ่งหลักกับจำนวนที่มากกว่า
สี่หลกั การคูณจำนวนมากกวา่ หน่ึงหลักกับจำนวนมากกวา่ สองหลัก การหารที่ตัวหารไม่เกินสามหลัก การบวก
ลบ คูณ หารระคน การเฉล่ีย โจทยป์ ญั หาการบวก ลบ คณู หาร โจทยป์ ญั หาการบวก ลบ คูณ หารระคน การ
สร้างโจทยป์ ญั หาการบวก ลบ คณู หาร การบวกและการลบเศษสว่ นท่มี ีตัวสว่ นเท่ากัน

ความสัมพันธ์ของหน่วยความยาว หน่วยการชั่ง หน่วยการตวง หน่วยเวลา การหาพื้นที่เป็นตาราง
หน่วยและตารางเซนติเมตร การหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก การบอกเวลาจากหน้าปัดนาฬิกาเป็นนาฬิกา
และนาที การเขียนบอกเวลาโดยใชจ้ ุดและการอ่าน การบอกระยะเวลา การคาดคะเนความยาว น้ำหนัก และ
ปริมาตรหรือความจุ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว การชั่ง การตวง เงิน และเวลา การเขียนบันทึกรายรับ
รายจา่ ย การอ่านและการเขยี นบันทึกกิจกรรมหรอื เหตุการณ์ทีร่ ะบุเวลา และการอา่ นตารางเวลา

ส่วนประกอบของมุม การเขยี นชื่อและสัญลักษณ์แทนมุม ชนิดของมุม เสน้ ขนานและสัญลักษณ์แสดง
การขนาน ส่วนประกอบของรปู วงกลม รูปส่เี หล่ียมมมุ ฉาก รปู สี่เหลย่ี มจัตรุ ัสและรูปส่ีเหล่ยี มผืนผา้
รปู ท่ีมแี กนสมมาตร และการประดิษฐ์ลวดลายโดยใชร้ ปู เรขาคณติ

แบบรูปของจำนวนท่เี พม่ิ ขึ้นหรือลดลงทลี ะเทา่ ๆ กนั แบบรูปของรูปเรขาคณิตและรปู อ่นื ๆ
การเก็บรวบรวมข้อมูลและการจำแนกข้อมูล การอ่านแผนภูมิรูปภาพ แผนภูมิแท่ง การอ่านตาราง
การเขยี นแผนภูมริ ูปภาพ และแผนภมู แิ ทง่
โดยใช้ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปญั หาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
รจู้ ักใช้วธิ กี ารทห่ี ลากหลายในการแกป้ ญั หา
เพ่ือใหม้ ีความรคู้ วามเข้าใจ มที ักษะในการคดิ คำนวณ การแกป้ ัญหา การให้เหตุผล การสือ่ สาร
สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และสามารถนำไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจำวันอย่าง
สร้างสรรค์ มีระเบียบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมัน่ ในตนเอง สามารถทำงานอย่างเปน็
ระบบ รวมทั้งเห็นคณุ ค่าและมีเจตคติที่ดตี ่อคณิตศาสตร์

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ค ๑.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔
ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ค ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕
ค ๓.๒ ป.๔/๑

๒๖

มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั

ค ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒
ค ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓
ค ๖.๑ ป.๔ - ๖/๑, ป.๔ - ๖/๒, ป.๔ - ๖/๓, ป.๔ - ๖/๔, ป.๔ - ๖/๕, ป.๔ - ๖/๖

รวม ๒๙ ตัวช้ีวัด

๒๗

ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕ คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน
ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง

คำอธบิ ายรายวชิ า
เขียนเศษสว่ นที่มีตัวสว่ นเป็นตัวประกอบของ ๑๐ หรอื ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนยิ ม แสดงวิธีหา

คำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้บัญญัตไิ ตรยางศ์ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษส่วนและจำนวนคละ
แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน ๒ ขั้นตอน หาผลคูณของ
ทศนิยม ที่ผลคูณเป็นทศนิยมไม่เกิน ๓ ตำแหน่ง หาผลหารที่ตัวตั้งเป็นจำนวนนับหรือทศนิยมไม่เกิน ๓
ตำแหนง่ และตัวหารเปน็ จำนวนนบั ผลหารเป็นทศนิยมไมเ่ กนิ ๓ ตำแหนง่ แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปัญหา
การบวก การลบ การคณู การหารทศนิยม ๒ ขัน้ ตอน และแสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ปัญหาร้อยละไมเ่ กิน ๒
ขั้นตอน

แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ที่มีการเปลี่ยนหน่วยและเขียนในรูป
ทศนิยม แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะ
ทรงสี่เหลยี่ มมมุ ฉาก ความยาวรอบรูปของรปู สี่เหลย่ี มและพื้นท่ีของรูปสี่เหลี่ยมดา้ นขนานและรูปสี่เหลี่ยมขนม
เปียกปูน สร้างเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงให้ขนานกับเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงที่กำหนดให้ จำแนกรูป
ส่ีเหลี่ยมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สร้างรูปสี่เหลีย่ มชนดิ ต่าง ๆ เมื่อกำหนดความยาวของด้านและขนาด
ของมุมหรอื เม่อื กำหนดความยาวของเส้นทแยงมมุ และบอกลกั ษณะของปริซึม

ใช้ข้อมูลจากกราฟเส้นในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา และเขียนแผนภูมิแท่งจากข้อมูลที่เป็น
จำนวนนบั

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ , ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒
รวม ๑๙ ตัวชี้วัด

๒๘

คำอธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน

ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง

คำอธบิ ายรายวิชา
เปรียบเทียบ เรียงลำดับ เศษส่วนและจำนวนคละจากสถานการณ์ต่าง ๆ เขียนอัตราส่วนแสดงการ

เปรียบเทียบปริมาณ ๒ ปริมาณจากข้อความหรือสถานการณ์ โดยที่ปริมาณแต่ละปริมาณเป็นจำนวนนับ หา
อัตราส่วนที่เท่ากับอัตราสว่ นทีก่ ำหนดให้ หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจำนวนนับไม่เกิน ๓ จำนวน แสดงวิธีหา
คำตอบของโจทย์ปัญหาโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคน
ของเศษส่วนและจำนวนคละ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหาเศษส่วนและจำนวนคละ ๒ – ๓ ขั้นตอน หา
ผลหารของทศนยิ มที่ตัวหารและผลหารเปน็ ทศนิยมไมเ่ กนิ ๓ ตำแหนง่ แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการ
บวก การลบ การคณู การหารทศนิยม ๓ ข้นั ตอน แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหาอตั ราส่วน ปญั หาร้อยละ
๒ – ๓ ขัน้ ตอน แสดงวธิ คี ดิ และหาคำตอบของปัญหาเก่ยี วกบั แบบรูป

แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป์ ญั หาเกยี่ วกับปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิตทิ ปี่ ระกอบด้วยทรงสี่เหล่ียม
มุมฉาก และแสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรปู และพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม ความ
ยาวรอบรูปและพื้นที่ของวงกลม จำแนกรูปสามเหลีย่ มโดยพิจารณาจากสมบตั ิของรูป สร้างรูปสามเหลีย่ มเมื่อ
กำหนดความยาวของด้านและขนาดของมุม บอกลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดต่าง ๆ ระบุรูป
เรขาคณิตสามมติ ิทีป่ ระกอบจากรูปคล่ีและระบรุ ปู คลีข่ องรปู เรขาคณติ สามมิติ

ใชข้ ้อมลู จากแผนภมู ริ ูปวงกลมในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหา

มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั
ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐, ป.๖/๑๑
ค ๑.๒ ป.๖/๑
ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓
ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔
ค ๓.๑ ป.๖/๑
รวม ๒๐ ตวั ชว้ี ัด

๒๙

คำอธบิ ายรายวชิ า
กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยี

๓๐

คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน

ว๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ เวลา ๑๐๐ ชวั่ โมง

ศึกษาการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร ลักษณะ หนาที่และการดูแลรักษาสวนตางๆ ของรางกาย
มนุษย ลักษณะและหนาที่ของสวนตาง ๆ ของสัตวและพืชรอบตัว และสภาพแวดลอม ในบริเวณที่สัตวและพืช
อาศัยอยู ชนิดและสมบัติของวัสดุที่ใชทําวัตถุรอบตัว การเกิดเสียงและ ทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียง ลักษณะ
ของหิน และการมองเห็นดาวบนทองฟาในเวลากลางวันและกลางคืน การแกปญหาโดยการลองผิดลองถูก การ
เปรยี บเทียบ การเขยี นโปรแกรมอยางงายโดยใช ซอฟตแวรหรือสื่อ การใชงานอปุ กรณเทคโนโลยเี บื้องตนการใช
งานซอฟตแวรเบอ้ื งตน

ใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต สํารวจตรวจสอบโดยใชเครื่องมืออยางงาย รวบรวมขอมูล บันทึก
และอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบ เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรข้ัน
พื้นฐานและมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเบื้องตน
สามารถส่ือสารสิ่งที่เรียนรู มีความคิดสรางสรรค สามารถทาํ งาน รวมกับผูอื่น แสดงขั้นตอนการแกปญหาอยางง
ายเขียนโปรแกรมโดยใชส่ือ สราง จัดเก็บและเรยี กใช ไฟลตามวัตถุประสงค

ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต ใช
เทคโนโลยสี ารสนเทศอยางปลอดภัย ปฏบิ ัตติ ามขอตกลงในการใชงาน ดูแลรักษาอุปกรณและใชงาน เทคโนโลยี
สารสนเทศอยางเหมาะสม มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คณุ ธรรม และคานยิ มทเี่ หมาะสม

มาตรฐานและตัวช้ีวัด

ว ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ว ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒

ว ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ว ๒.๓ ป.๑/๑

ว ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ว ๓.๒ ป.๑/๑

ว ๔.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔, ป.๑/๕

รวม ๗ มาตรฐาน ๑๕ ตวั ช้วี ดั

ตวั ช้ีวดั

ว. ๔.๒ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ)

๑. แกป้ ญั หาอย่างง่ายโดยใชก้ ารลองผิดลองถูก การเปรียบเทียบ

๒. แสดงลำดับขนั้ ตอนการทำงานหรอื การแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใชภ้ าพ สญั ลกั ษณ์ หรือข้อความ

๓. เขียนโปรแกรมอยา่ งง่ายโดยใชซ้ อฟต์แวรห์ รือสื่อ

๔. ใช้เทคโนโลยใี นการสรา้ ง จัดเกบ็ เรียกใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์

๕. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลงในการใชค้ อมพวิ เตอรร์ ่วมกัน ดแู ล

รกั ษาอุปกรณเ์ บอื้ งตน้ ใช้งานอย่างเหมาะสม

รวมทั้งหมด ๕ ตัวช้ีวดั

๓๑

คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน

ว๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี

ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๒ เวลา ๑๐๐ ชวั่ โมง

ศึกษาการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร ลักษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิตความจําเปนของ
แสง และนำ้ ตอการเจรญิ เตบิ โตของพืช วัฏจกั รชวี ติ ของพชื ดอก สมบตั กิ ารดูดซับน้ำของวสั ดแุ ละการนําไป
ใชประโยชน สมบัติของวัสดุที่เกิดจากการนําวัสดุมาผสมกัน การเลือกวัสดุมาใชทําวัตถุตามสมบัติของวัสดุ
การนาํ วัสดทุ ่ใี ชแลวกลบั มาใชใหม การเคล่อื นทข่ี องแสง การมองเหน็ วตั ถุ การปองกันอนั ตรายจากการ มอง
วตั ถุในบรเิ วณท่ีมีแสงสวางไมเหมาะสม สวนประกอบและการจําแนกชนดิ ของดิน การใชประโยชนจากดนิ การ
แสดงข้ันตอนการแกปญหา การตรวจหาขอผิดพลาดของโปรแกรม การใชงานซอฟตแวรเบื้องตน การ
จัดการไฟลและโฟลเดอร การใชงานและดูแลรักษาอุปกรณคอมพิวเตอร เทคโนโลยีในชีวติ ประจาํ วัน การ
ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภยั

ใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต จําแนกประเภท รวบรวมขอมูล บันทึก และอธิบายผลการ
สํารวจ ตรวจสอบ เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรขั้นพืน้ ฐานและมีทกั ษะ
การเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเบื้องตน สามารถสื่อสารสิ่งที่
เรยี นรู มีความคดิ สรางสรรค สามารถทาํ งานรวมกับผูอื่น แสดงขั้นตอนการแกปญหาอยางงาย เขยี นโปรแกรม
แบบมเี งื่อนไขโดยใชบัตรคําสัง่ และตรวจหาขอผิดพลาด ใชงานซอฟตแวร สราง จดั หมวดหมูไฟลและโฟลเดอร
ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรในการดํารงชีวติ

ตระหนักถึงความสําคัญของการปกปองขอมูลสวนตัว ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย
ดแู ลรกั ษาอปุ กรณ คอมพวิ เตอร มีจติ วิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานยิ มท่เี หมาะสม

มาตรฐานและตัวชวี้ ดั ว ๑.๓ ป.๒/๑
ว ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ว ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒

รวม ๖ มาตรฐาน ๑๖ ตวั ช้ีวัด

๓๒

คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน

ว๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๓ กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ เวลา ๑๐๐

ชวั่ โมง

ศึกษาการเรียนรู้แบบนักวิทยาศาสตร์ ปัจจัยในการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตของมนุษย์
และสัตว์ วัฏจักรชีวิตของสัตว์ วัตถุประกอบขึ้นจากชิ้นส่วนย่อยซึ่งสามารถแยกออกจากกันและประกอบกัน
เป็นวัตถุ ชิ้นใหม่ได้ การเปลี่ยนแปลงของวัสดุเมื่อทำให้ร้อนขึ้นหรือเย็นลง ผลของแรงที่มีต่อการ
เปลี่ยนแปลง การ เคลื่อนที่ของวัตถุ แรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัส วัสดุที่แม่เหล็กดึงดูดได้ แรงแม่เหล็ก
ขัว้ แม่เหล็ก การเปลีย่ น พลังงานหนงึ่ ไปเป็นอีกพลังงานหนึง่ การทำงานของเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้า แหล่งพลังงาน
ในการผลิตไฟฟ้า การใช้ ไฟฟ้าอย่างประหยัดและปลอดภยั การเกิดกลางวัน กลางคืน การขึ้นและตกของดวง
อาทิตย์ การกำหนด ทิศ ความสำคัญของดวงอาทิตย์ ส่วนประกอบของอากาศ ความสำคัญของอากาศ
ผลกระทบของมลพิษ ทางอากาศ การเกิดลม ประโยชน์และโทษของลม การแสดงขั้นตอนการแก้ปัญหา
โดยใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะ เบื้องต้น การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำโดยใช้บตั รคำสั่งและการตรวจหาขอ้ ผิดพลาด
การใช้อินเทอร์เน็ต และข้อตกลงในการใช้งาน การรวบรวมข้อมูล การประมวลผลข้อมูลเบื้องต้น การน า
เสนอข้อมูล เทคโนโลยี ในงานดา้ นต่าง ๆ ข้อดีและขอ้ เสยี ในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร

ใช้การสืบเสาะหาความรู้ สังเกต รวบรวมข้อมูล จัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล สร้าง
แบบจำลอง และอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ขั้นพื้นฐานและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร เบื้องต้น สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น แสดง
ข้นั ตอนการ แก้ปัญหา เขยี นโปรแกรมแบบวนซ้ำโดยใช้บัตรคำสั่ง ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาความรู้ รวบรวม
ประมวลผล และนำเสนอขอ้ มูลตามวัตถปุ ระสงค์

ตระหนักถึงประโยชน์ของการใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต
ตระหนัก ถึงการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัยและอยู่ในการดูแลของครูหรือผู้ปกครอง มีจิตวิทยาศาสตร์
จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม

มาตรฐานและตัวชีว้ ัด
ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๒.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓
ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔
ว ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕

รวม ๕ มาตรฐาน ๒๕ ตวั ช้ีวัด

๓๓

คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน

ว๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ เวลา ๑๒๐ ชัว่ โมง

ศึกษาการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตรการจําแนกส่งิ มีชวี ิตเปนกลุมพืช กลุมสตั ว และกลุมที่ ไมใช

พชื และสัตว การจําแนกพชื ออกเปนพชื ดอกและพืชไมมีดอก การจําแนกสตั วออกเปนสตั ว มกี ระดูกสันหลังและ

สัตวไมมีกระดูกสันหลัง ลักษณะเฉพาะของสัตวมีกระดูกสันหลังในกลุมปลา กลุมสัตวสะเทินนํ้าสะเทนิ บก

กลุมสัตวเลื้อยคลาน กลุมนก และกลุมสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ำนม หนาท่ีของ ราก ลําตน ใบและดอกของพืชดอก

สมบัติทางกายภาพ ดานความแขง็ สภาพยืดหยุน การนาํ ความรอน และการนาํ ไฟฟาของวสั ดุ การนําสมบัติทาง

กายภาพของวสั ดุไปใชในชวี ติ ประจําวนั สมบตั ขิ องสสาร ทงั้ 3 สถานะ ผลของแรงโนมถวงที่มตี อวัตถุ การวัด

น้ำหนักของวตั ถุ มวลของวตั ถุทมี่ ีผลตอการ เปลยี่ นแปลงการเคล่อื นทข่ี องวตั ถุ และตวั กลางของแสง การข้นึ และ

ตกและรูปรางดวงจันทร และองคประกอบของระบบสุริยะ การใชเหตุผลเชิงตรรกะในการแกปญหา การ

ออกแบบและเขียน โปรแกรมอยางงาย การตรวจหาขอผิดพลาดในโปรแกรม การคนหาขอมูลในอินเทอรเน็ต

และการใช คาํ คน การประเมนิ ความนาเช่ือถือของขอมลู การรวบรวม นาํ เสนอขอมลู และสารสนเทศ

ใชการสืบเสาะหาความรูตั้งคําถาม คาดคะเนคําตอบหรือสรางสมมติฐาน วางแผนและสํารวจ

ตรวจสอบโดยใชเคร่ืองมืออปุ กรณและเทคโนโลยสี ารสนเทศที่เหมาะสม ประเมนิ ความนาเช่ือถือของขอมูล รวบ

รวมขอมูล ประมวลผลอยางงาย วิเคราะหขอมูล วิเคราะหผลและสรางทางเลือกนําเสนอขอมูลลงความคิดเห็น

และสรุปผลการสํารวจตรวจสอบเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและมี

ทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเบือ้ งตน มีความคิดสราง

สรรค สามารถทํางานรวมกับผูอื่น ใชเหตุผลเชิง ตรรกะในการแกปญหา และอธิบายการทํางานหรือคาดการ

ผลลัพธจากปญหาอยางงาย ออกแบบและ เขียนโปรแกรม ตรวจหาขอผิดพลาดจากโปรแกรมของตนเองและผู

อื่น

ตระหนักถึงคุณคาของความรูทางวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี และใชความรูและกระบวนการ ทาง

วิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต สามารถสื่อสารอยางมีมารยาทและรูกาลเทศะ รูจักการปกปองขอมูล สวนตัว มี

จติ วทิ ยาศาสตร จรยิ ธรรม คุณธรรม และคานยิ มท่ีเหมาะสม

มาตรฐานและตวั ชี้วัด

ว ๑.๒ ป.๔/๑ ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป. ๔/๔

ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป. ๔/๔ ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓

ว ๒.๓ ป.๔/๑ ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓

ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป. ๔/๔, ป. ๔/๕

รวม ๗ มาตรฐาน ๒๑ ตวั ชวี้ ดั

ตวั ช้ีวดั

ว. ๔.๒ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ)

๑. ใช้เหตุผลเชงิ ตรรกะในการแกป้ ญั หา การอธิบายการทำงาน การคาดการผลลัพธ์จากปัญหา

อยา่ งง่าย

๒. ออกแบบ และเขยี นโปรแกรมอยา่ งงา่ ย โดยใชซ้ อฟแวรห์ รอื สอ่ื และตรวจหาข้อผดิ พลาดและ

แก้ไข

๓. ใช้อินเตอรเ์ น็ตค้นหาความรู้ และประเมนิ ความนา่ เช่ือถอื ของข้อมลู

๓๔

๔. รวบรวม ประเมิน นำเสนอขอ้ มูลและสารสนเทศ โดยใชซ้ อฟแวรท์ ี่หลากหลายเพือ่ แก้ไขปัญหา
ในชวี ิตประจำวนั

๕. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย เข้าใจสทิ ธิและหนา้ ทขี่ องตน เคารพในสิทธิของผู้อืน่
แจ้งผู้เกย่ี วข้องเมื่อพบขอ้ มูลหรอื บุคคลท่ีไม่เหมาะสม

รวมทั้งหมด ๕ ตัวช้ีวัด

๓๕

คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน

ว๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี

ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ เวลา ๑๒๐ ช่วั โมง

ศกึ ษาการเรยี นรูแบบนักวทิ ยาศาสตรโครงสรางและลักษณะของสิ่งมีชวี ติ ท่เี หมาะสมในแตละ

แหล งที่อยู ความสัมพันธ ระหว างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธ ระหว างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม มีชีวิต

การถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของพืช สัตวและมนุษย การเปลี่ยนสถานะของสสาร การละลายของสาร

ในนาํ้ การเปลย่ี นแปลงทางเคมี การเปลีย่ นแปลงท่ีผันกลับไดและผันกลับไมได แรงลพั ธ แรงเสียดทาน การได

ยินเสียงผานตัวกลาง ลักษณะและการเกิดเสียงสงู เสียงต่ำ เสียงดัง และเสียงคอย ระดับเสียงและมลพิษ ทาง

เสียงความแตกตางของดาวเคราะหและดาวฤกษ์ การใชแผนที่ดาวแบบรูปเสนทางการขึ้นและตก

ของกลุมดาวฤกษบนทองฟาในรอบป ปริมาณน้ําในแตละแหลง ปริมาณน้ำที่มนุษยสามารถนาํ มาใชได การใช

น้ําอยางประหยัดและการอนุรักษน้ำ วัฏจักรน้ำ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำคาง และน้ำคางแข็ง

กระบวนการเกดิ ฝน หมิ ะ และลูกเหบ็ การใชเหตุผลเชงิ ตรรกะในการแกปญหา การเขียนรหัสลําลองเพ่ือแสดง

วิธีแกปญหา การออกแบบ และการเขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไขและการทํางานแบบวนซ้ํา การใชซอฟตแวร

ประมวลผลขอมูล การติดตอสื่อสารผานอินเทอรเน็ต การใชอินเทอรเน็ตคนหาขอมูลและการประเมิน

ความนาเช่อื ถอื ของขอมูล อันตรายจากการใชงานและอาชญากรรมทางอนิ เทอรเน็ต

ใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต รวบรวมขอมูล จัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล สรางแบบ

จําลอง และอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบ เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยา

ศาสตร ขั้นพื้นฐานและทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สื่อสารเบื้องตน สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความคิดสรางสรรค สามารถทํางานรวมกับผูอื่น แสดงวิธีแกป

ญหาโดยใชเหตุผล เชิงตรรกะ ใชรหัสลําลองแสดงวิธีการแกปญหาอยางเปนขั้นตอน ออกแบบ และเขียน

โปรแกรมแบบมีเงือ่ นไข และการทาํ งานแบบวนซ้ำ ตรวจหาขอผดิ พลาดของโปรแกรม ใชซอฟตแวรชวยในการ

แกปญหาใชอินเทอรเน็ตติดตอส่อื สารและคนหาขอมลู แยกแยะขอเทจ็ จรงิ กับขอคิดเห็น ประเมนิ ความ

นาเชือ่ ถือของขอมูล

ตระหนักถึงคุณคาของความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และใชความรูและกระบวนการ

ทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัยและมีมารยาท มีจิตวิทยาศาสตร

จริยธรรม คณุ ธรรม และคานิยมทเี่ หมาะสม

มาตรฐานและตวั ชวี้ ัด
ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕
ว ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕

รวม ๘ มาตรฐาน ๓๒ ตัวชวี้ ัด

๓๖

คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน

ว๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๖ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ เวลา ๑๒๐ ช่ัวโมง

ศึกษาการเรียนรู้แบบนักวิทยาศาสตร์ สารอาหาร การเลือกรับประทานอาหารให้ได้

สารอาหาร ครบถ้วนในสัดส่วนที่เหมาะสมและปลอดภัยต่อสุขภาพ ระบบย่อยอาหาร การแยกสารผสมโดย

การหยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด การรินออก การกรอง และการตกตะกอน แรงไฟฟ้าซึ่งเกิดจาก

วัตถุท่ผี า่ นการ ขัดถู การต่อวงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย การต่อเซลล์ไฟฟา้ แบบอนกุ รมและการนำไปใชป้ ระโยชน์ การ

ต่อหลอดไฟฟ้า แบบอนุกรมและแบบขนานและการนำไปใช้ประโยชน์ การเกิดเงามืดเงามัว ปรากฏการณ์

สุริยุปราคา และจันทรุปราคา เทคโนโลยีอวกาศ กระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร

และวัฏจกั รหิน ลกั ษณะและสมบตั ิของหนิ และแร่ การใชป้ ระโยชนข์ องหนิ และแร่ การเกดิ ซากดึกดำบรรพ์และ

สภาพแวดล้อม ในอดตี ของซากดึกดำบรรพ์ การเกิดลมบก ลมทะเล และมรสมุ ผลของมรสมุ ต่อการเกดิ ฤดูของ

ประเทศไทย ลักษณะและผลกระทบของน้ำท่วม การกัดเซาะชายฝัง่ ดินถล่ม แผ่นดินไหว สึนามิ การเกิดและ

ผลกระทบ ของปรากฏการณ์เรือนกระจก การใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการ

แก้ปัญหา การ ออกแบบ การเขียนโปรแกรมและการตรวจหาข้อผิดพลาด การค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ต

อย่างมี ประสิทธิภาพ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการทำงานรว่ มกนั

ใช้การสืบเสาะหาความรู้ สังเกต รวบรวมข้อมูล จัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล สร้าง

แบบจำลอง และอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะกระบวนการทาง

วิทยาศาสตร์ขั้น พื้นฐานและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สื่อสารเบื้องต้น สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น อธิบายและ

ออกแบบวิธีการ แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ เขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพื่อแก้ปัญหาและตรวจหา

ข้อผิดพลาดของ โปรแกรม ค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตอย่างมีประสิทธิภาพ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทำงาน

ร่วมกนั

ตระหนักถึงคุณค่าของความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และใช้ความรู้และ

กระบวนการ ทางวิทยาศาสตรใ์ นการดำรงชีวิต ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศร่วมกันอย่างปลอดภัย เขา้ ใจสิทธิและ

หนา้ ที่ของตน เคารพในสทิ ธขิ องผอู้ ่นื มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม

มาตรฐานและตวั ชวี้ ดั
ว ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕
ว ๒.๑ ป.๖/๑ ว ๒.๒ ป.๖/๑
ว ๒.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘
ว ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒
ว ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙
ว ๔.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔

รวม ๗ มาตรฐาน ๓๐ ตัวชีว้ ัด

๓๗

คำอธบิ ายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษา

ศาสนาและวฒั นธรรม

๓๘

คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน

ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศึกษา ศาสนาฯ๑ กล่มุ สาระการเรยี นร้สู งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

คำอธิบายรายวชิ า
ศึกษา วิเคราะห์ พุทธประวัติ หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือ แบบอย่างการดำเนินชีวิต และ

ข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด ความหมาย ความสำคัญและ
เคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรม โอวาท ๓ ในหัวข้อ ไม่ทำชั่ว (เบญจศีล) ทำความดี (เบญจธรรม
สังคหวัตถุ 4 กตัญญูกตเวทีต่อพ่อแม่และครอบครวั ) มงคล ๓๘ (ทำตัวดี วา่ ง่าย รบั ใชพ้ อ่ แม่) ทำจิตให้บริสุทธ์ิ
(บริหารจิตและเจริญปัญญา) พุทธศาสนสุภาษิตในเรื่อง ตนแลเป็นที่พึ่งของตน เป็นมิตรในเรือนตน สวดมนต์
และแผเ่ มตตา มีสตทิ ี่เปน็ พื้นฐานของสมาธิ บำเพ็ญประโยชน์ต่อวัด ในพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือ
สวดมนต์ แผ่เมตตา มสี ติ บำเพญ็ ประโยชน์ต่อวัด แสดงตนเปน็ พุทธมามกะหรือศาสนิกชนของศาสนาท่ีตน
นบั ถือ ปฏิบัตใิ นศาสนพิธี พธิ กี รรมและวนั สำคญั ทางศาสนาตามท่ีกำหนดได้ถูกต้อง ประโยชน์และปฏบิ ตั ิตน
เปน็ สมาชกิ ทด่ี ขี องครอบครวั และโรงเรียน

ศึกษา วิเคราะห์ ความสามารถและความดแี ละผลจากการกระทำของตนเอง ผู้อ่นื โครงสรา้ ง บทบาท

หน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว โรงเรียน บทบาท สิทธิ หน้าที่ของตนเองในครอบครัวและโรงเรียน มีส่วนร่วม

ในการตัดสินใจ และทำกิจกรรมในครอบครัวและโรงเรียนตามกระบวนการประชาธิปไตย สินค้าและบริการท่ี

ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวันไม่เกินตัวและประโยชน์ของการออม การใช้

ทรัพยากรในชีวิตประจำวันอย่างประหยัด ความจำเป็นของการทำงานที่สุจริต แยกแยะสิ่งต่าง ๆ รอบตัวที่

เกดิ ขึ้นเองตามธรรมชาติ และทม่ี นุษยส์ รา้ งขึ้น ความสัมพนั ธข์ องตำแหนง่ ระยะ ทศิ ของสิง่ ตา่ ง ๆ รอบตัว ทิศ

หลักใชแ้ ผนผงั ง่าย ๆ ในการแสดงตำแหน่งของสิ่งต่าง ในห้องเรยี น การเปล่ยี นแปลงของอากาศในรอบวัน ส่ิง

ต่างๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่

รอบตัว การจดั ระเบยี บส่ิงแวดล้อมที่บ้านและช้นั เรยี น

โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม

กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชญิ สถานการณ์และแกป้ ัญหา

เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซ่อื สัตย์สจุ รติ มวี นิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ มคี วามรับผิดชอบ

รกั ความเปน็ ไทย มีจติ สาธารณะ สามารถดำเนนิ ชวี ติ อย่างสันตสิ ุขในสังคมไทยและสังคมโลก

มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั
ส ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔
ส ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ส ๒.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓
ส ๓.๒ ป.๑/๑

๓๙

มาตรฐาน/ตัวช้วี ดั
ส ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ส ๕.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓

รวม ๒๔ ตัวชี้วดั

๔๐

คำอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน

ส ๑๒๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาฯ ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

คำอธิบายรายวชิ า
สังเกต ศึกษาค้นควา้ การรวบรวมข้อมูล อภปิ ราย ความหมาย ความสำคัญ องค์ประกอบเบ้ืองต้นของ

ศาสนา ประวัติศาสนา ศาสดาของศาสนา คัมภีร์ และการใช้ภาษาของศาสนา รวบรวมหลักจริยธรรม การ
บำเพ็ญประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน และชุมชน หลักปฏิบัติการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข ศาสนพิธี และ
พิธีกรรมในวันสำคัญของศาสนา การบริหารจิต การเจริญปัญญาเบื้องต้น การทำความดีของบุคคลใน
ครอบครัว และโรงเรียน การปฏิบัติตนตามคำแนะนำเกี่ยวกับศีลธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม การเป็น
พลเมืองดี ในสังคมประชาธิปไตย การยอมรับ การเคารพสิทธิ และหน้าที่ของตนเอง เป็นสมาชิกที่ดีของ
ครอบครัว สิทธิของบุคคลที่พึงได้รับการคุ้มครอง การขัดเกลาของสังคม ค่านิยม ความเชื่อ ประเพณี
วัฒนธรรม และภูมิปัญญาของท้องถิ่น ความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัว บทบาทหน้าที่ของตนเอง การ
แก้ปัญหาความขัดแย้ง ข้อตกลง กฎ กติกา ระเบียบในโรงเรียน ความหมาย และความสำคัญของรัฐธรรมนูญ
ประโยชน์ของรายรับ–รายจ่ายของครอบครัว ตัดสินใจเลือกอย่างเหมาะสม เศรษฐกิจพอเพียง อาชีพของ
ชุมชน การซื้อขาย แลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ ประโยชน์ของธนาคาร ภาษีที่เก่ียวข้องในชีวิตประจำวัน
ลักษณะทางกายภาพ องค์ประกอบของแผนผังแผนท่ี ตำแหน่ง ระยะทิศทาง ทรัพยากรธรรมชาติรู้คุณคา่ ของ
ธรรมชาติ การสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมทางสังคม การเปรียบเทียบประชากรกับสิ่งแวดล้อม การฝึกสังเกตส่ิง
ตา่ งๆรอบตวั โดยใช้กระบวนการสังคม กระบวนการสืบค้น กระบวนการกลมุ่ กระบวนการแก้ปญั หา

เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิต
สาธารณะ สามารถดำเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ส ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗
ส ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ส ๒.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔
ส ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒
ส ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓
ส ๕.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔

รวม ๒๘ ตัวชว้ี ัด

๔๑

คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน

ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนาฯ ๓ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

คำอธิบายรายวชิ า
สังเกต ศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูล อภิปราย แสดงความคิดเห็น สรุปใจความสำคัญความห มาย

ความสำคัญ องค์ประกอบของศาสนา ประโยชน์ ประวัติศาสดาของศาสนา ภาษา ที่ใช้ในคัมภีร์ของศาสนาที่
ตนนับถือ หลักจริยธรรมในการพัฒนาตน การบำเพ็ญประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน วิธีปฏิบัติ
เกี่ยวกับ ศาสนพิธี พิธีกรรมในวันสำคัญของศาสนา การบริหารจิต การเจริญปัญญา สติ สัมปชัญญะ ความ
รำลกึ ได้ ความรตู้ วั ช่นื ชมการทำความดีของบุคคลในครอบครัว และโรงเรียน ศลี ธรรม จริยธรรม ค่านิยมท่ีดี
งาม การเป็นพลเมืองดีในสังคม ประชาธิปไตย การเคารพสิทธิและหน้าที่ของ ตนเอง บทบาทสิทธิ เสรีภาพ
หน้าที่ สถานภาพ สิทธิของบุคคลที่พึงได้รับการคุ้มครอง การขัดเกลาของสังคม ค่านิยม ความเชื่อ ประเพณี
การอนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญา ของท้องถิ่น การสร้างความดี การแก้ปัญหาความขัดแย้ง กฎ กติกา
ระเบียบในชุมชน ความสำคัญของกฎหมายรัฐธรรมนูญ รายรับ–รายจ่าย ผลประโยชน์ที่ผู้บริโภคได้รับการ
ตัดสินใจเลือกอย่างเหมาะสม ระบบเศรษฐกิจพอเพียง อาชีพในชุมชนการแลกเปลี่ยน สินค้าและบริการ
ความสำคัญของธนาคาร ภาษีทเ่ี กยี่ วข้องในชวี ติ ประจำวนั องค์ประกอบทางกายภาพ ลกั ษณะ ความเก่ียวข้อง
แผนผัง แผนที่ ตำแหน่ง ระยะทิศทาง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติ การพึ่งพาอาศัยกัน
ส่ิงแวดล้อมทางสังคม การอนุรักษ์ การใช้พลังงาน การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม การรู้จักสังเกตสิ่งต่างๆรอบตัว
โดยใช้กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และ
แก้ปญั หา

เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิต
สาธารณะ สามารถดำเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้อย่าง
ถกู ต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวชว้ี ดั
ส ๑.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖ , ป.๓/๗
ส ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔
ส ๒.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๓.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๓.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๕.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓
ส ๕.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖
รวม ๓๑ ตัวชีว้ ดั

๔๒

คำอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน

ส ๑๔๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาฯ ๔ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

คำอธิบายรายวชิ า
สังเกต ศึกษาคน้ คว้า อภปิ ราย ซักถาม แสดงความคิดเห็น รวบรวมข้อมลู สืบค้น ขอ้ มลู สรุปใจความ

สำคัญเกย่ี วกบั ความสำคญั ทางศาสนา และศาสดาของศาสนาพทุ ธ คมั ภรี ท์ างศาสนาที่ตนนบั ถอื หลักธรรมของ
ศาสนา การบริหารจิตและเจริญปัญญา ชื่นชมการทำความดีของบุคลากรในสังคม แปลความหมายในคัมภีร์
ศาสนาที่ตนนับถือ เสนอแนวทางการกระทำของตนเองและผู้อื่นในฐานะพลเมืองดีของสังคม สิทธิเด็ก เพ่ือ
ป้องกันตัวเองและสังคม เปรียบเทียบความแตกต่างของวัฒนธรรมในท้องถิ่นการยอมรับคณุ ค่าของกันและกนั
การรวมกลุ่มทั้งภาครัฐและเอกชน ชื่นชมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
การรวมกลุ่มภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนาท้องถิ่น อำนาจอธิปไตย ปฏิบัติตามกฎหมายในชีวิตประจำวัน
วิเคราะห์ ผู้ผลิต ผู้บริโภค วิธีการของเศรษฐกิจ การหารายได้ การออม การลงทุน ผลผลิตทางด้านเศรษฐกิจ
การตลาด การธนาคาร สถาบันการเงินอื่น ๆ ภาษีที่เกี่ยวขอ้ งในชีวิตประจำวัน การพึ่งพา การแข่งขันทางดา้ น
เศรษฐกิจ ปรากฏการณต์ ่าง ๆ แผนท่ีและเคร่อื งมือทางภูมิศาสตร์ ความแตกตา่ งของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
โดยใช้กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และ
แกป้ ัญหา

เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิต
สาธารณะ สามารถดำเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันไ ด้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด
ส ๑.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕ , ป.๔/๖ , ป.๔/๗, ป.๔/๘
ส ๑.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ส ๒.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓ , ป.๔/๔ , ป.๔/๕
ส ๒.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ส ๓.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ส ๓.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒
ส ๕.๑ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓
ส ๕.๒ ป.๔/๑ , ป.๔/๒ , ป.๔/๓

รวม ๓๐ ตัวช้วี ดั

๔๓

คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน

ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนาฯ ๕ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

คำอธิบายรายวิชา

สังเกต ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ อภิปราย สนทนาซักถาม แสดงความคิดเห็น รวบรวมข้อมูล สืบค้น

ข้อมูล สรุปใจความสำคัญเกี่ยวกับเรือ่ งราวพื้นฐานเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ความสำคัญของศาสนา ศาสดา และ

คัมภีร์ทางศาสนาที่ตนนับถือ หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อเข้าใจในการพัฒนาตนและ

สังคม ความหมาย การบริหารจิต และเจริญปัญญา ชื่นชมการทำความดีของตนเองและบุคคลในสังคม และ

แนวปฏิบัติในการชื่นชม การทำความดีของบุคคลสำคัญกลุ่มเพื่อน ประโยชน์ของการบริหารจิตและเจริญ

ปัญญาของศาสนาที่ตนนับถือ กระบวนการประชาธิปไตยในการทำงานร่วมกันในครอบครัว โรงเรียน

ชุมชน การปฏิบัติตน ตามสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพในฐานะพลเมืองดีของประเทศ การดำเนินชีวิต ความแตกต่าง

ของวัฒนธรรมในกลุ่มคนในภูมิภาค การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

โครงสร้างการปกครองประเทศ ซึ่งมีทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น เพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์

ระหว่าง คนกับการปกครองประเทศ ความสำคัญในกฎหมายในชีวิตประจำวัน หน้าที่ของผู้ผลิต และผู้บริโภค

ความหมายของระบบสินเชื่อ ผลดีผลเสียต่อภาวะ การเงิน การเลือกของผู้บริโภค ผลกระทบต่อทรัพยากรที่มี

อยู่ ระบบสหกรณ์ การบริหารทางด้านเศรษฐกิจ บทบาทการใช้เงินในท้องถิ่นการบริการต่างๆ ของธนาคาร

และสถาบันการเงินในต่างประเทศ ผู้บริโภค ผู้ยืมและนักธุรกิจ การจัดหาแหล่งรายได้ของรัฐ ความ

เชี่ยวชาญ ชำนาญด้านจำนวนปริมาณสินค้ารวมทั้งที่ผลิตการซื้อมาทางเศรษฐกิจ การใช้แผนที่ในท้องถิ่น

ต่างๆ ลักษณะความแตกต่าง ผลกระทบของสิ่งแวดล้อมทางสังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิตในภูมิภาคต่าง ๆ ของ

ไทยกับสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ผลกระทบจากการกระทำของมนุษย์ที่มีต่อสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์

ทรัพยากรธรรมชาติ และรักษาสมดุลในระบบนิเวศน์ โดยใช้กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคราะห์

กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชญิ สถานการณ์และแกป้ ัญหา

เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิต

สาธารณะ สามารถดำเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิด

ประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้อย่าง

ถกู ตอ้ งเหมาะสม

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั

ส ๑.๑ ป.๕/๑ - ป.๕/๗

ส ๑.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓

ส ๒.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓ , ป. ๕/๔

ส ๒.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓

ส.๓.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓

ส ๓.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒

ส ๕.๑ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓

ส ๕.๒ ป.๕/๑ , ป.๕/๒ , ป.๕/๓

รวม ๒๘ ตัวชี้วัด

๔๔

ส ๑๖๑๐๑ สังคมศกึ ษา ศาสนาฯ ๖ คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

คำอธิบายรายวชิ า
สังเกต ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ อภิปราย สนทนา ซักถาม แสดงความคิดเห็น รวบรวมข้อมูลสืบค้น

ข้อมูลความสำคัญหลักธรรมพระรัตนตรัย ไตรสิกขา หลักธรรมโอวาท ๓ การทำความดีของบุคคลในประเทศ
การสวดมนต์ แผ่เมตตาของศาสนาที่ตนนับถือ สรุปใจความสำคัญเกี่ยวกับพุทธประวัติตั้งแต่ปลงอายุสังขา ร
จนถึงสังเวชนียสถาน ประวัติศาสดา ข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า ศาสนิกชนตัวอย่าง ศาสนพิธี
สถานที่ในศาสนสถาน ศาสนิกชนทีด่ ี ประโยชน์ของการเขา้ ร่วมในศาสนพธิ ี พิธีกรรม กิจกรรมในวันสำคัญทาง
ศาสนา การบริหารจิตและเจริญปัญญาวันสำคัญทางศาสนา การกระทำที่แสดงถึงคุณลักษณะของการเป็น
พลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตย สิทธิเด็กที่พึงได้รับการคุ้มครองตามสิทธิมนุษยชน บทบาทหน้าที่ความ
รับผิดชอบของตนเอง บรรทัดฐานทางสังคมและวัฒนธรรม สัญลักษณ์ เอกลักษณ์ ค่านิยม
ประเพณี วัฒนธรรมในท้องถิ่น อำนาจอธิปไตยและการมีส่วนร่วมในการปกครองระบอบประชาธิปไตย
กฎหมายในชีวิตประจำวัน การเลือกใช้ทรัพยากรที่มีผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม การเพิ่มรายได้เงินออมจาก
การลงทุน สิทธิและการคุ้มครองผู้บริโภค เศรษฐกิจพอเพียง ระบบสหกรณ์ การบริหาร ด้านการผลิต และ
การพึ่งพาทางเศรษฐกิจ บทบาทการใช้เงินและการบริการด้านการเงินต่างประเทศ การจัดเก็บภาษี การกู้ยืม
เงินจากต่างประเทศ แผนที่ชนิดต่างๆ การกระทำที่ส่งผลดีและผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมทางสังคม วัฒนธรรม
รวมทั้งผลกระทบจากการที่มนุษย์เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมในด้านบวกและด้านลบ การกระทำที่มีส่วนช่วย
แก้ปัญหา และเสริมสภาพแวดล้อมในท้องถิ่น โดยใช้กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคราะห์
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ละแก้ปญั หา

เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิต
สาธารณะ สามารถดำเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด
ส ๑.๑ ป.๖/๑ - ป.๖/๙
ส ๑.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓ , ป.๖/๔
ส ๒.๑ ป.๖/๑ - ป.๖/๕
ส ๒.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓
ส ๓.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓
ส ๓.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒
ส ๕.๑ ป.๖/๑ , ป.๖/๒
ส ๕.๒ ป.๖/๑ , ป.๖/๒ , ป.๖/๓
รวม ๓๑ ตัวช้ีวัด

๔๕

คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน

ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง

คำอธบิ ายรายวิชา

ศึกษาและใช้ปฏิทินในการบอกวัน เดือน ปี ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ซึ่งมีทั้งระบบสุริยคติและจันทรคติ

คำที่แสดงช่วงเวลาเพื่อใช้เล่าเหตุการณ์ปัจจุบัน วันนี้ เดือนนี้ ตอนเช้า ตอนกลางวัน ตอนเย็น ตอนค่ำ และ

เรยี งลำดบั เหตุการณใ์ นชวี ิตประจำวันตามวันเวลาที่เกิดขน้ึ โดยใช้ทักษะการสังเกต การบอกเล่า การเชื่อมโยง

เพื่อให้สามารถใช้เวลาตามปฏิทินแสดงเหตุการณ์ในปัจจุบันและใช้คำแสดงช่วงเวลาเรียงลำดับเหตุการณ์ที่

เกิดขนึ้ ได้

รู้วิธีสืบค้นประวัติความเป็นมาของตนเองและครอบครัวอย่างง่ายๆโดยสอบถามผู้เกี่ยวข้องและการ

บอกเล่าเรื่องราวที่สืบค้นได้ โดยใช้ทักษะการสอบถาม การรวบรวมข้อมูล การสรุปความ การเล่าเรื่อง เพื่อฝึก

ทักษะพื้นฐานของวิธีการทางประวัติศาสตร์ในการสืบค้นเรื่องราวจากแหล่งข้อมูล(เช่นบุคคล)และบอกเล่า

ข้อเท็จจรงิ ท่ีคน้ พบไดอ้ ย่างน่าสนใจ

ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมสิ่งของเครื่องใช้หรือการดำเนินชีวิตของตนเองในสมัย

ปัจจบุ ัน กบั สมัยของพ่อแม่ ปยู่ ่า ตายายท่ีเปน็ รูปธรรมและใกล้ตวั ผ้เู รียน เตารีด (การรดี ผ้าด้วยเตาถ่านกับเตา

ไฟฟ้า) หม้อหงุ ข้าว (การหุงข้าวทเ่ี ช็ดนำ้ ด้วยฟนื หรือถา่ นกับหม้อหุงข้าวไฟฟ้า) เกวยี นกับรถยนต์ (การเดินทาง)

ถนน บ้านเรือน การใช้ควายไถนากับรถไถนา รวมทั้งเหตุการณ์สำคัญของครอบครัวที่เกิดขึ้นในอดีตที่มี

ผลกระทบต่อตนเองในปัจจุบัน ( การย้ายบ้าน การย้ายโรงเรียน การเลื่อนชั้นเรียน การได้รับรางวัล การ

สูญเสียบุคคลสำคัญของครอบครัว) โดยใช้ทกั ษะการสงั เกต การใช้เหตผุ ล การเปรียบเทยี บ การแยกแยะ การ

ยกตัวอย่าง และการบอกเล่า เพื่อให้เข้าใจการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลาและความสำคัญของอดีตที่มีต่อ

ปัจจบุ นั และอนาคต สามารถปรับตัวให้เข้ากบั วิถีชีวิตปจั จบุ ันได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

ศกึ ษาความหมายและความสำคัญของสัญลักษณ์ของชาติไทย ไดแ้ ก่ ธงชาติ เพลงชาติ เพลงสรรเสริญ

พระบารมี ภาษาไทย อกั ษรไทย มารยาทไทย อาหารไทย การแต่งกายแบบไทย วัฒนธรรมและขนบธรรมเนยี ม

ประเพณีไทย และการปฏิบัติตนได้ถูกต้องตามกาลเทศะ รวมทั้งรู้จักสถานที่สำคัญซึ่งเป็นแหล่งวัฒนธรรมใน

ชุมชน ศาสนสถาน ตลาด พิพิธภัณฑ์ และสิ่งที่เป็นความภาคภูมิใจในท้องถิ่น ที่ใกล้ตัวผู้เรียนและเห็นเป็น

รูปธรรม โดยใช้ทักษะการสังเกต การแสดงความคิดเหน็ อยา่ งมีเหตุผล การอธิบาย การปฏิบัติตนอย่างถูกตอ้ ง

เพื่อก่อให้เกิดความรักและความภาคภูมิใจในความเป็นไทย ท้องถิ่น และประเทศชาติ ภูมิใจในสถาบันชาติ

ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ตระหนักและเห็นคุณค่าทจ่ี ะธำรงรักษาและสบื ทอดต่อไป

มาตรฐานการเรียนรู้/ระดบั ชั้น/ตัวช้วี ดั

ส ๔.๑ ป ๑/๑ , ป ๑/๒ , ป ๑/๓

ส ๔.๒ ป ๑/๑ , ป ๑/๒

ส ๔.๓ ป ๑/๑ , ป ๑/๒ , ป ๑/๓

รวม ๘ ตัวช้ีวัด

๔๖

ส ๑๒๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๒ คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ กลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๔๐ ช่ัวโมง

คำอธิบายรายวิชา
รู้จักวันเวลาตามระบบสุริยคติและจันทรคติที่ปรากฏในปฏิทินที่แสดงเหตุการณ์สำคัญในอดีตและ

ปัจจบุ นั รวมทงั้ การใชค้ ำทีแ่ สดงช่วงเวลาในอดีต ปจั จุบัน และอนาคต วนั นี้ เม่อื วานนี้ พรงุ่ นี้, เดือนน้ี เดือน
ก่อน เดือนหน้า, ปีนี้ ปีก่อน ปีหน้า ในการอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น โดยใช้ทักษะการสังเกต การสอบถาม
เชื่อมโยง เรียงลำดับ การเล่าเรื่อง การรวบรวมข้อมูล การอธิบาย เพื่อให้สามารถใช้วันเวลาเรียงลำดับ
เหตกุ ารณ์สำคญั ได้ถกู ตอ้ ง ว่าเหตุการณ์ใดเกิดกอ่ น เหตกุ ารณใ์ ดเกิดหลัง

รู้วิธีสืบค้นเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนในครอบครัวโดยใช้หลักฐานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ภาพถ่าย สูติบัตร
ทะเบียนบ้าน เคร่อื งมือเครือ่ งใช้ มาอธิบายเรื่องราวต่าง ๆ และวิธสี บื ค้นข้อมูลในชุมชนอยา่ งง่าย ๆ ในเร่ือง
เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตของคนในชุมชนในด้านต่างๆ จากอดีตถึงปัจจุบัน ทางด้านการประกอบ
อาชีพ การแต่งกาย การสื่อสาร ขนบธรรมเนียมประเพณีในชุมชน เข้าใจสาเหตุและผลกระทบของการ
เปลีย่ นแปลงทีม่ ตี ่อวถิ ีชีวติ ของคนในชุมชน สามารถเรยี งลำดับเหตุการณ์ที่สบื ค้นไดโ้ ดยใชเ้ ส้นเวลา ฝึกทักษะ
การสอบถาม การสังเกต การวิเคราะห์ การอธิบายอย่างมีเหตุมีผล ทำผังความคิดและการจัดนิทรรศการ
เพอ่ื ให้เขา้ ใจวธิ ีการทางประวัติศาสตร์ใน เร่อื งเก่ยี วกับการใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์สืบคน้ เร่ืองราวในอดีต
และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามกาลเวลา อย่างต่อเนื่อง มีความเข้าใจชุมชนที่มีความแตกต่างและ
สามารถปรบั ตวั อยู่ในชวี ิตประจำวนั ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ

ศึกษา สืบค้นประวัติและผลงานของบุคคลที่ทำประโยชน์ต่อท้องถิ่นหรือประเทศชาติ ในด้านการ
สร้างสรรคว์ ัฒนธรรม /การสร้างความเจรญิ รงุ่ เรอื งและความม่ันคงโดยสังเขป รวมท้งั วฒั นธรรมไทย ประเพณี
ไทย และภมู ิปัญญาไทยที่ภาคภูมิใจและควรอนุรักษ์ไว้ การทำความเคารพแบบไทย ประเพณไี ทย ศิลปะไทย
ดนตรีไทย โดยใช้ทักษะการสบื ค้นการสังเกต การอ่าน การรวบรวมขอ้ มูล การวิเคราะห์ การใช้เหตุผล การ
อธบิ าย และการนำเสนอ เพ่อื ให้เหน็ คุณคา่ และแบบอย่างการกระทำความดขี องบรรพบรุ ษุ ท่ีไดส้ รา้ งประโยชน์
ให้ทอ้ งถ่ินและประเทศ เกดิ ความรัก และความภาคภมู ใิ จในความเปน็ ไทย วฒั นธรรมไทย ภมู ปิ ญั ญาไทย และ
ธำรงความเป็นไทย

มาตรฐานการเรยี นร้/ู ระดบั ช้ัน/ตัวช้ีวัด
ส ๔.๑ ป ๒/๑ , ป ๒/๒
ส ๔.๒ ป ๒/๑ , ป ๒/๒
ส ๔.๓ ป ๒/๑ , ป ๒/๒
รวม ๖ ตัวช้ีวดั

๔๗

ส ๑๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๓ คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ กลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๔๐ ชั่วโมง

คำอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาความหมายและที่มาของศักราชที่ปรากฏในปฏิทิน ได้แก่ พุทธศักราช คริสต์ศักราช

(ถ้าเป็นชาวมุสลิม ให้ศึกษาฮิจเราะห์ศักราชด้วย) วิธีการเทียบคริสต์ศักราชกับพุทธศักราช และใช้ศักราชใน
การบันทึกเหตุการณ์สำคัญที่เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว ปีเกิดของผู้เรียน เหตุการณ์สำคัญของตนเอง
และครอบครัว โดยใช้ทักษะการเปรียบเทียบ การคำนวณ การเชื่อมโยง การอธิบาย เพื่อให้มีพื้นฐานใน
การศึกษาเอกสารท่ีแสดงเหตุการณ์ตามกาลเวลา สามารถเรียง ลำดับเหตุการณ์ไดถ้ ูกต้อง ว่าเหตุการณ์ใดเกิด
กอ่ น เหตุการณใ์ ดเกดิ หลงั อันเป็นทักษะทจี่ ำเปน็ ในการศึกษาประวตั ศิ าสตร์

รู้วิธีสืบค้นเหตุการณ์สำคัญของโรงเรยี นและชุมชนโดยใช้หลักฐานและแหล่งข้อมูลที่เก่ยี วข้อง รูปภาพ
แผนผังโรงเรียน แผนท่ีชุมชน ห้องสมดุ โรงเรยี น แหล่งโบราณคดี – ประวตั ศิ าสตรใ์ นท้องถ่นิ สามารถใช้เสน้
เวลา (Timeline) ลำดับเหตกุ ารณ์ที่เกิดขึ้นในโรงเรยี นและชุมชน โดยใช้ทักษะการสำรวจ การสงั เกต การ
สอบถาม การอ่าน การฟงั การเล่าเรอ่ื ง การสรปุ ความ เพ่อื ฝึกทักษะพื้นฐานของวธิ ีการทางประวัติศาสตร์
ในการสืบค้นเรื่องราวรอบตัวอย่างง่าย ๆ โดยการใช้หลักฐานและแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง สามารถนำเสนอ
เร่อื งราวทีค่ น้ พบไดต้ ามลำดบั เวลา

ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชน ปัจจัยที่ทำให้เกิดวัฒนธรรมและ
ประเพณีในชุมชน ซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยทางภูมิศาสตร์( ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากร) และปัจจัยทาง
สังคม (ความเจริญทางเทคโนโลยี เชื้อชาติ ศาสนา ความเชื่อ การคมนาคม ความปลอดภัย ) ศึกษาและ
เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่าง ของขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของชุมชนตนเอง
และชุมชนใกล้เคียง ในเรื่องความเชื่อและการนบั ถอื ศาสนา อาหาร ภาษาถิ่น การแต่งกาย โดยใช้ทกั ษะการ
อ่าน การสอบถาม การสังเกต การสำรวจ การฟัง การสรปุ ความ เพอื่ ใหเ้ กิดความเข้าใจและภมู ิใจในชุมชนของ
ตนเอง ยอมรับความแตกต่างทางวฒั นธรรม เขา้ ใจพัฒนาการของชุมชน สามารถดำเนินชวี ิตอยู่ร่วมกนั ในสังคม
ได้อย่างสันตสิ ุข รว่ มอนุรกั ษ์สบื สานขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมไทย

ศึกษาพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ โดยสังเขปของพระมหากษัตริย์ผู้สถาปนาอาณาจักร
สุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ ตามลำดับ ได้แก่ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ สมเด็จพระรามาธิบ ดีที่ ๑
(พระเจ้าอู่ทอง) สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช ศึกษา
พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าหัวอยู่ภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนาง
เจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถโดยสังเขป และศึกษาวีรกรรมของบรรพบุรุษไทยที่มีส่วนปกป้องประเทศชาติ
ได้แก่ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ท้าวเทพกระษัตรี – ท้าวศรีสุนทร ชาวบ้านบางระจัน พระยาพิชัยดาบหัก
ท้าวสุรนารี เป็นต้น โดยใช้ทักษะการอ่าน และสอบถาม การฟัง การสรุปความ การเขียน การเล่าเรื่อง เพื่อให้
เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย เกิดความรัก ความภูมิใจและเห็นแบบอย่างการเสียสละเพื่อชาติ และธำรง
ความเปน็ ไทย

มาตรฐานการเรยี นรู้/ระดับช้ัน/ตัวชี้วัด
ส ๔.๑ ป ๓/๑, ป ๓/๒, ป ๓/๓
ส ๔.๒ ป ๓/๑, ป ๓/๒
ส ๔.๓ ป ๓/๑, ป ๓/๒, ป ๓/๓
รวม ๘ ตัวชว้ี ัด

๔๘

ส ๑๔๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๔ คำอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๔ กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๔๐ ชั่วโมง

คำอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาความหมาย วิธีการนับ และการใช้ช่วงเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ เกณฑ์

การแบ่งยุคสมัยในทางประวัติศาสตร์ของมนุษยชาตทิ ี่แบ่งเป็นสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยประวัตศิ าสตร์
รวมท้ังช่วงสมัยในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทย สมัยกอ่ นสุโขทยั สมัยสโุ ขทัย สมัยอยธุ ยา สมยั ธนบุรี และสมัย
รัตนโกสนิ ทร์ ตวั อย่างการใชช้ ว่ งเวลาในเอกสารต่าง ๆ โดยใช้ทกั ษะการอา่ น การสำรวจ การวิเคราะห์ การ
คำนวณ เพื่อให้ใช้ช่วงเวลาในการบอกเล่าเรื่องราวได้ถูกต้อง และเข้าใจเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามช่วงเวลาท่ี
ปรากฏในเอกสารทางประวตั ศิ าสตร์

ศกึ ษาลกั ษณะสำคัญ และเกณฑ์การจำแนกหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท่ใี ช้ในการศึกษาความเป็นมา
ของท้องถิ่น อย่างง่าย ๆ ตัวอย่างของหลักฐานที่พบในท้องถิ่นทั้ง หลักฐานชั้นต้นกับชั้นรอง หลักฐานที่เป็น
ลายลักษณ์อักษร กับไม่เป็น ลายลักษณ์อักษร โดยใช้ทักษะการสำรวจ การวิเคราะห์ การตรวจสอบข้อมูล
การจำแนก การตีความ เพ่ือฝึกทักษะการสืบค้นข้อมลู ด้วยวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์

ใช้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาปัจจัย การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของมนุษยชาติใน
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์ในดินแดนไทยโดยสังเขป การก่อตั้งอาณาจักรโบราณใน
ดินแดนไทย ได้แก่ ทวารวดี ศรีวิชัย ตามพรลิงค์ เป็นต้น โดยใช้ทักษะการสำรวจ การวิเคราะห์ การตีความ
การสรปุ ความ เพื่อใหเ้ ข้าใจพัฒนาการของมนษุ ยชาตทิ ่ีมกี ารเปล่ียนแปลงอยา่ งต่อเน่ืองจากอดีตจนถงึ ปัจจบุ นั

ศึกษาประวัติศาสตร์เป็นมาของชาติไทยในสมัยสุโขทัยโดยสังเขป ในเรื่องเกี่ยวกับการสถาปนา
อาณาจักร พัฒนาการทางการเมอื งการปกครอง เศรษฐกิจ ประวัติและผลงานของบคุ คลสำคัญ ได้แก่ พ่อ
ขุนศรีอินทราทิตย์ พ่อขุนรามคำแหงมหาราช พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลิไทย) และภูมิปัญญาไทยใน
สมัยสุโขทัยที่น่าภาคภมู ิใจ ซึ่งเป็นผลใหอ้ ุทยานประวัติศาสตร์ในสุโขทัยและศรีสัชนาลัยได้รับการยกย่องเป็น
มรดกโลก โดยใช้ทักษะการอ่าน การสำรวจ การสืบค้น การวิเคราะห์การตีความ เพื่อเข้าใจความเป็นมา
ของชาตไิ ทยในสมยั สุโขทัย รวมท้ังวัฒนธรรมไทย ภูมิปญั ญาไทย และบุคคลสำคัญในสมัยสุโขทยั เกิดความ
รักและความภูมใิ จในความเป็นไทย ตระหนักถึงความพากเพยี รพยายามของบรรพบุรุษไทยทีไ่ ด้ปกปอ้ ง และ
สร้างสรรคค์ วามเจริญให้บ้านเมือง ตกทอดเปน็ มรดกทางวัฒนธรรมสบื ตอ่ ถงึ ปจั จุบัน

มาตรฐานการเรียนรู/้ ระดบั ชั้น/ตัวชวี้ ัด
ส ๔.๑ ป ๔/๑, ป ๔/๒, ป ๔/๓
ส ๔.๒ ป ๔/๑, ป ๔/๒
ส ๔.๓ ป ๔/๑, ป ๔/๒, ป ๔/๓
รวม ๘ ตัวชี้วัด

๔๙

ส ๑๕๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๕ คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน
ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๕ กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

สืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานหลากหลาย ด้วยการตั้งประเด็นคำถามทาง
ประวัติศาสตร์ที่เก่ียวข้องกับท้องถิ่น ความเป็นมาของชื่อหมู่บ้าน ชื่อตำบล ชื่อถนน ความเป็นมาของ
สถานที่สำคัญ ความเป็นมาของขนบธรรมเนียมประเพณีในท้องถิ่น รู้จักแหล่งข้อมูลหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ที่อยูใ่ นท้องถิ่น สามารถรวบรวมข้อมูลจากหลกั ฐานที่เก่ียวขอ้ ง รู้จักวเิ คราะหต์ รวจสอบข้อมูล
อย่างง่ายๆ เข้าใจความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงที่ปรากฏในข้อมูลจากหลักฐานต่าง ๆ
แยกแยะความคิดเห็นกับข้อเท็จจริงที่อยู่ในข้อมูลได้ โดยใช้ทกั ษะการสังเกต การสอบถาม การสำรวจ การ
เปรียบเทียบ การวิเคราะห์ การเชื่อมโยง และการสังเคราะห์อย่างง่าย ๆ เพื่อฝึกฝนทักษะวิธีการทาง
ประวัติศาสตร์วิเคราะห์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นอย่างเป็นระบบ สามารถใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ

ศึกษาการเข้ามาและอิทธิพลของอารยธรรมอินเดีย และจีน ในดินแดนไทยและภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้โดยสังเขป ได้แก่ การปกครอง การนับถือศาสนา ความเชื่อ วัฒนธรรม ประเพณี ภาษา
อาหาร และการแต่งกาย ศึกษาอิทธิพลของวฒั นธรรมต่างชาติ ทั้งตะวันตกและตะวันออกที่มีต่อสังคมไทย
ในปัจจุบันโดยสังเขป โดยใช้ทักษะการอ่าน การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์
การเชอื่ มโยง เพ่อื ใหเ้ กิดความเข้าใจในวัฒนธรรมไทยในสังคมปัจจุบัน และวฒั นธรรมของประเทศเพ่ือนบ้าน
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีทั้งความคล้ายคลึงและความแตกต่าง เพื่อให้เกิดการยอมรับในความ
แตกตา่ งทางวัฒนธรรมและอย่รู ว่ มกันได้อยา่ งสันตสิ ุข

ศึกษาพัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา และธนบุรี ในเรื่องเกี่ยวกับการสถาปนาอาณาจักร ปัจจัยที่
ส่งเสริมความเจริญรุง่ เรืองทางเศรษฐกจิ และการปกครอง พฒั นาการทางการเมืองการปกครอง และเศรษฐกิจ
โดยสงั เขป ประวตั แิ ละผลงานบุคคลสำคญั ในสมยั อยธุ ยาและธนบรุ ี ได้แก่ สมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี ๑ สมเดจ็
พระบรมไตรโลกนาถ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนารายณม์ หาราช ชาวบ้านบางระจนั สมเด็จ
พระเจา้ ตากสนิ มหาราช และภมู ปิ ัญญาไทยในสมยั อยุธยา และธนบรุ ี ทน่ี ่าภาคภมู ใิ จ ควรค่าแกก่ ารอนุรักษ์ไว้
ซึ่งเป็นผลให้พระนครศรีอยุธยาได้รับการยกย่องเป็นมรดกโลก ได้แก่ ทางด้าน ศิลปกรรม วรรณกรรม และ
การค้า โดยใชท้ ักษะการอ่าน การสืบค้นข้อมลู การเชอ่ื มโยง การวเิ คราะห์ การอธบิ าย การสรุปความ การ
เรียงความ เพื่อให้เกิดความรักและภาคภูมิใจในความเป็นชาติไทย ตระหนักและเห็นความสำคัญที่จะธำรง
รกั ษาความเป็นไทยสืบตอ่ ไป

มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั
ส ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓
ส ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒
ส ๔.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป ๕/๓, ป.๕/๔
รวม ๙ ตัวชี้วัด

๕๐

ส ๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร๖์ คำอธบิ ายรายวชิ าพ้ืนฐาน
ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
เวลา ๔๐ ชั่วโมง

คำอธบิ ายรายวิชา
ศึกษาความหมายและความสำคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างง่าย ๆ และใช้วิธีการทาง

ประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราว หรือเหตุการณ์สำคัญตามลำดับขั้นตอนอย่างเป็นระบบ ได้แก่ การตั้ ง
ประเด็นศึกษาเรื่องราวที่ตนสนใจ การสำรวจแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานที่
หลากหลาย การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของข้อมูล การตีความ การเรียบเรียงและนำเสนอความรู้ที่ค้นพบ
ได้อย่างน่าสนใจ โดยใช้ทักษะ การสำรวจ การอ่าน การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การ
อธิบาย การสรุปความ การเขียนเรียงความ การจัดทำโครงงานและการจัดนิทรรศการ เพื่อฝึ กทักษะการ
สบื คน้ เหตกุ ารณ์สำคญั ด้วยวิธีการทางประวตั ศิ าสตร์

ศึกษาสภาพสงั คม เศรษฐกิจ การเมืองของประเทศเพื่อนบา้ นในปัจจบุ ันโดยสังเขป เชื่อมโยง และ
เปรยี บเทียบกับประเทศไทย ศึกษาความเป็นมา และความสัมพนั ธ์ของกล่มุ อาเซยี นโดยสงั เขป โดยใช้ทักษะ
การอ่าน การสำรวจ การเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ เพ่ือให้เข้าใจพัฒนาการของประเทศเพื่อนบ้านที่มี
ความสัมพันธ์กับประเทศไทย เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศ ยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรม
และอยรู่ ว่ มกันได้อยา่ งสนั ติสขุ

ศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชาติไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ ในเรื่องเกี่ยวกับการสถาปนา
อาณาจักร ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครอง พัฒนาการทางด้านต่าง ๆ
โดยสงั เขป ผลงานของบคุ คลสำคัญ ไดแ้ ก่ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระบวร
ราชเจา้ มหาสุรสงิ หนาท พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัว และภมู ปิ ญั ญาไทยที่สำคญั ทน่ี า่ ภาคภูมิใจ
ควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้ โดยใช้ทักษะการอ่าน การสืบค้นข้อมูล การเชื่อมโยง การวิเคราะห์ เพื่อให้เกิด
ความรักและภาคภมู ิใจในความเป็นชาติไทย ตระหนักถึงความพากเพียรพยายามของ บรรพบุรุษท่ีได้ปกป้อง
และสร้างสรรคค์ วามเจริญใหบ้ ้านเมอื งตกทอดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมสืบตอ่ ถึงปัจจุบนั

มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ระดับชั้น/ตัวชวี้ ดั
ส ๔.๑ ป ๖/๑, ป ๖/๒
ส ๔.๒ ป ๖/๑, ป ๖/๒
ส ๔.๓ ป ๖/๑, ป ๖/๒, ป ๖/๓, ป ๖/๔
รวม ๘ ตวั ชี้วดั


Click to View FlipBook Version