The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแขวงกลั่นปี 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by k.kamonchanok2539, 2022-09-15 07:38:05

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแขวงกลั่นปี 2563

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแขวงกลั่นปี 2563

๑๐๑

คำอธิบายรายวิชากจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น

กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน กิจกรรมแนะแนว
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี ๑ - ๖ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ปี

รู้จักและเข้าใจตนเอง รักและเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ มีเจตคติที่ดีต่อ
การมชี ีวติ ที่ดมี ีคุณภาพ มที กั ษะในการดำเนินชีวิต สามารถปรับตวั ให้ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
รู้จักตนเองในทุกด้าน รู้ความถนัด ความสนใจ และบุคลิกภาพของตนเอง รู้และเข้าใจโลกของงานอาชีพ
อย่างหลากหลาย มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจรติ รู้ข้อมูลอาชีพ สามารถเลือกตนแนวทางในการประกอบอาชีพ
ได้อย่างเหมาะสม มีการเตรียมตัวสู่อาชีพ สามารถวางแผนเพื่อประกอบอาชีพตามที่ตนเองมีความถนัดและ
สนใจ มคี ุณลักษณะพน้ื ฐานทจ่ี ำเป็นในการประกอบอาชีพและพัฒนางานใหป้ ระสบความสำเร็จเพื่อสร้างฐานะ
ทางเศรษฐกิจให้กับตนเอง ครอบครวั ชุมชนและประเทศชาติ

พฒั นาตนเองในด้านการเรียนอยา่ งเต็มศักยภาพ รู้จักแสวงหาความรู้ใฝ่รู้ใฝ่เรยี นให้เป็นคนดีมีความรู้
และทักษะทางวิชาการ รู้จักแสวงหาและใช้ข้อมูลประกอบการวางแผนการเรียนหรือการศึกษาต่อได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ มีวิธีการเรียนรู้ มีทักษะการคิด แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ คิดเป็น ทำเป็น มีคุณธรรม
จริยธรรม เอ้ืออาทรและสมานฉันท์ เพือ่ ดำรงชวี ิตอยูร่ วมกันอยา่ งสงบสุขตามวถิ ชี ีวิตเศรษฐกิจพอเพยี ง

เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ รู้จัก เข้าใจ รักและเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น เกิดการเรียนรู้
สามารถวางแผนการเรียนรู้ อาชีพ รวมทั้งการดำเนินชีวิตและมีทักษะทางสังคม เกิดการเรียนรู้สามารถ
ปรับตัวได้อย่างเหมาะสม อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข พึ่งตนเองได้มีทักษะในการเลือกแนวทาง
การศึกษา การงานและอาชีพ ชีวิตและสังคม มีสุขภาพจิตที่ดีและจิตสำนกึ ในการทำประโยชน์ต่อครอบครัว
สงั คมและประเทศชาตติ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ผลการเรียนรู้
๑. เพอ่ื ให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ รจู้ กั เข้าใจ รกั และเหน็ คุณค่าในตนเองและผอู้ ่ืน
๒. เพ่ือใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ การเรียนรู้ สามารถวางแผนการเรียน การศกึ ษาตอ่ อาชีพ รวมทง้ั การ
ดำเนนิ ชีวิต และมีทกั ษะทางสังคม
๓. เพอ่ื ให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ สามารถปรบั ตวั ได้อย่างเหมาะสม และอยู่รว่ มกบั ผู้อ่นื ได้อยา่ ง
เหมาะสม
๔. สามารถประยุกตใ์ ชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได้

รวม ๔ ผลการเรียนรู้


๑๐๒

กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น คำอธิบายรายวิชากจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี ๑ กิจกรรมนกั เรยี น (เตรยี มลกู เสือสำรองและลกู เสือสำรองดาวดวงท่ี ๑)
เวลา ๔๐ ชัว่ โมง/ปี

เปิดประชุมกอง ดำเนินการตามกระบวนการของลูกเสือและจัดกิจกรรมโดยให้ศึกษา วิเคราะห์
วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู้ โดยเน้นระบบหมู่และปฏิบตั ิกิจกรรมตามคำปฏิญาณและกฎของ
ลูกเสือสำรอง เรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริงใช้สัญลักษณ์สมาชิกลูกเสือสำรองที่มีคว ามเป็นเอกลักษณ์
ร่วมกัน ศึกษาธรรมชาติในชุมชนด้วยความสนใจ ใฝ่รู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สรุปผลการ
ปฏิบัติกจิ กรรม ปิดประชมุ กอง ในเรอ่ื งต่อไปน้ี

๑. เตรียมลูกเสือสำรอง นิยายเมาคลี ประวัติการเริ่มกิจการลูกเสือ การทำความเคารพหมู่
(แกรนด์ฮาวล์) การทำความเคารพเป็นรายบคุ คล การจับมือซ้าย ระเบียบแถว เบื้องต้น คำ
ปฏญิ าณ กฎและคตพิ จนข์ องลกู เสอื สำรอง

๒. ลูกเสือสำรองดาวดวงที่ ๑ อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสำรวจ การค้นหา
ธรรมชาติ ความปลอดภัย บริการ ธงและประเทศต่าง ๆ การฝีมือ กจิ กรรมกลางแจง้ การ
บันเทิง การผูกเงื่อน คำปฏญิ าณและกฎของลกู เสือสำรอง

เพ่อื ใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจในกิจกรรมลูกเสือสำรองดาวดวงที่ ๑ สามารถปฏบิ ัตติ ามคำปฏิญาณ
กฎ และคติพจน์ของลูกเสือสำรอง มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชื่อฟังและพึ่งตนเอง มีความ
ซื่อสัตย์ สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจผู้อื่น รู้จักบำเพ็ญตนเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์ รู้จักทำการฝีมือและฝึกฝนทำกิจกรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม รักษาและ
ส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความมั่นคงของชาติ และสามารถประยุกต์ใช้หลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ผลการเรียนรู้
๑. มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชื่อฟงั และพึง่ พาตนเองได้
๒. มคี วามซ่ือสัตย์ สุจริต มีระเบียบวนิ ัยและเหน็ อกเหน็ ใจผู้อื่น
๓. บำเพ็ญตนเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน์
๔. ทำการฝมี ือและฝึกฝนการทำกิจกรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม
๕. รกั ษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วฒั นธรรมประเพณี ภูมิปญั ญาท้องถิน่ และ ความม่ันคง
๖. อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ มและลดภาวะโลกรอ้ น
๗. สามารถประยุกตใ์ ช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได้

รวม ๗ ผลการเรยี นรู้


๑๐๓

กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น คำอธบิ ายรายวิชากิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน
ชนั้ ประถมศึกษาปีที ๒ กจิ กรรมนักเรียน (ลกู เสือสำรองดาวดวงท่ี ๒)
เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ปี

เปิดประชุมกอง ดำเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมให้ศึกษา วิเคราะห์
วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏิบัติตามคำปฏิญาณ คติพจน์และกฎ
ของลูกเสือสำรอง ศึกษาเรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริงใช้สัญลักษณ์สมาชิกลูกเสือสำรองที่มีความเป็น
เอกลักษณ์ร่วมกัน ศึกษาธรรมชาติในชุมชนด้วยความสนใจใฝ่รู้ตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง สรุปผลและปฏิบัติ
กจิ กรรม ปดิ ประชุมกองในเรื่องตอ่ ไปนี้

ลูกเสือสำรองดาวดวงที่ ๒ นิยายเมาคลี ประวัติการเริ่มกิจการลูกเสือ การทำความเคารพหมู่
(แกรนฮาวล์) การทำความเคารพเปน็ รายบุคคล การจับมือซ้าย ระเบียบแถว คำปฏิญาณ กฎ และคติพจน์
ของลูกเสือสำรอง อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสำรวจ การค้นหาธรรมชาติการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรใน
ชุมชนท้องถ่ิน ความปลอดภัย บริการ การผูกเงื่อน ธง และประเทศต่าง ๆ การฝีมือที่ใช้วัสดุเหลือใช้ใน
ทอ้ งถิ่น กจิ กรรมกลางแจ้ง การบันเทิงทีส่ ง่ เสริมสขุ ภาพกายสุขภาพจิตและอนรุ ักษภ์ ูมิปัญญาท้องถิ่น อนุรักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมลดภาวะโลกร้อน

เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือสำรองดาวดวงที่ ๒ สามารถปฏิบัติตามคำปฏิญาณ
กฎและคติพจน์ของลูกเสือสำรอง มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชื่อฟังและพึ่งตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริต
มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจ รู้จักบำเพ็ญเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รู้จักทำการฝีมือและฝึกฝน
ทำกิจกรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ความมั่นคงของชาติ และสามารถประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง

ผลการเรียนรู้
1. มีนสิ ยั ในการสังเกต จดจำ เชอ่ื ฟังและพึ่งตนเองได้
2. มคี วามซ่ือสัตย์ สจุ ริต มีระเบยี บวนิ ยั และเห็นอกเห็นใจผ้อู ืน่
3. บำเพ็ญตนเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์
4. ทำการฝีมือและฝึกฝนทำกิจกรรมตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม
5. รกั ษาและส่งเสรมิ จารีตประเพณี วัฒนธรรม ภมู ิปัญญาท้องถิน่ และความมนั่ คงของชาติ
6. อนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ ม ลดภาวะโลกร้อน สามารถประยุกตใ์ ชห้ ลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งได้

รวม ๖ ผลการเรยี นรู้


๑๐๔

กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น คำอธิบายรายวชิ ากจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที ๓ กจิ กรรมนกั เรียน (ลูกเสอื สำรองดาวดวงท่ี ๓)
เวลา ๔๐ ช่ัวโมง/ปี

เปิดประชุมกอง ดำเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมให้ศึกษา วิเคราะห์
วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรยี นรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏิบัติตามคำปฏิญาณ คติพจน์และกฎ
ของลูกเสือสำรอง ศึกษาเรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริงใช้สัญลักษณ์สมาชิกลูกเสือสำรองที่มีความเป็น
เอกลักษณ์ร่วมกัน ศึกษาธรรมชาติในชุมชนด้วยความสนใจใฝ่รู้ตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง สรุปผลและปฏิบัติ
กจิ กรรม ปดิ ประชมุ กองในเรอ่ื งต่อไปน้ี

ลูกเสือสำรองดาวดวงที่ ๓ นิยายเมาคลี ประวัติการเริ่มกิจการลูกเสือ การทำความเคารพหมู่
(แกรนฮาวล์) การทำความเคารพเป็นรายบุคคล การจับมือซ้าย ระเบียบแถว คำปฏิญาณ กฎ และคติพจน์
ของลูกเสือสำรอง อนามัย ความสามารถเชงิ ทักษะ การสำรวจ การค้นหาธรรมชาติการอนุรักษ์ทรัพยากรใน
ชุมชนท้องถิ่น ความปลอดภัย บริการ การผูกเงื่อน ธง และประเทศต่าง ๆ การฝีมือที่ใช้วัสดุเหลือใช้ใน
ทอ้ งถ่ิน กจิ กรรมกลางแจ้ง การบนั เทงิ ทสี่ ่งเสรมิ สุขภาพกายสุขภาพจิตและอนรุ ักษภ์ ูมิปัญญาท้องถิน่ อนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติสง่ิ แวดลอ้ มลดภาวะโลกร้อน

เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือสำรองดาวดวงที่ ๓ สามารถปฏิบัติตามคำปฏิญาณ กฎ
และคติพจนข์ องลูกเสือสำรอง มีนสิ ัยในการสงั เกต จดจำ เช่ือฟังและพึ่งตนเอง มคี วามซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ มรี ะเบียบ
วินัย และเห็นอกเห็นใจ รู้จักบำเพ็ญเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รู้จักทำการฝีมือและฝึกฝนทำกิจกรรม
ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น อนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ความมั่นคงของชาติ และสามารถประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจ
พอเพียง

ผลการเรยี นรู้
๑. มนี ิสัยในการสังเกต จดจำ เช่อื ฟังและพ่ึงตนเองได้
๒. มีความซ่ือสตั ย์ สจุ รติ มีระเบียบวนิ ัย และเห็นอกเห็นใจผอู้ ่ืน
๓. บำเพ็ญตนเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์
๔. ทำการฝมี ือและฝึกฝนทำกิจกรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม
๕. รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม ภมู ิปัญญาท้องถิ่นและความมน่ั คงของชาติ
๖. อนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ลดภาวะโลกร้อน สามารถประยุกต์ใช้หลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงได้

รวม ๖ ผลการเรยี นรู้


๑๐๕

กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น คำอธบิ ายรายวิชากจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น
ช้ันประถมศึกษาปที ี ๔ กิจกรรมนกั เรยี น (ลูกเสือสามัญ (ลกู เสือตรี) )
เวลา ๔๐ ช่วั โมง/ปี

เปิดประชุมกอง ดำเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมโดยให้ศึกษา วิเคราะห์
วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏิบัติกิจกรรมตามคำปฏิญาณ คติพจน์
และกฎของลูกเสือสามัญ เรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริง ใช้สัญลักษณ์สมาชิกลูกเสือสามัญที่มีความเป็น
เอกลักษณ์ร่วมกัน ศึกษาธรรมชาติในชุมชนด้วยความสนใจ ใฝ่รู้และมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ลดภาวะโลกร้อนและประยุกต์ใช้ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง ความรูเ้ กย่ี วกับกระบวนการลูกเสือ ประวตั ิของ Load Baden Powell พระราชประวัติ
สงั เขปของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั วิวัฒนาการของกระบวนการ ลูกเสอื ไทยและลูกเสือโลก
การทำความเคารพ การแสดงรหัส การจับมือซ้าย กิจกรรมกลางแจ้ง ระเบียบแถวท่ามือเปล่า ท่ามือไม้
พลวง การใช้สญั ญามอื และนกหวดี การตัง้ แถวและการเรียนแถว

เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือสามัญ สามารถปฏิบัติตามคำปฏิญาณ กฎ และคติ
พจน์ของลูกเสือสามัญ มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชื่อฟัง และพึ่งตนเอง มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีระเบียบ
วินัย และเห็นอกเห็นใจผู้อื่น บำเพ็ญตนเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ทำการฝีมือและฝึกฝนการทำ
กิจกรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ความถนัด และความสนใจ รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม
และความมน่ั คง ประโยชนแ์ ละสามารถประยุกต์ใช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ผลการเรยี นรู้
1. มนี ิสัยในการสังเกต จดจำ เช่อื ฟังและพ่ึงตนเองได้
2. มีความซ่ือสตั ยส์ จุ ริต มรี ะเบยี บ วินัยและเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ ื่น
3. บำเพ็ญตนเพอื่ ส่งเสรมิ และสาธารณะประโยชน์
4. ทำการฝมี ือและฝึกฝนทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามความถนัดและความสนใจ
5. รกั ษาและสง่ เสรมิ จารตี ประเพณี วฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น และความมน่ั คงของชาติ
6. อนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม ลดภาวะโลกร้อน
7. สามารถประยุกตใ์ ช้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รวม ๗ ผลการเรียนรู้


๑๐๖

กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น คำอธิบายรายวชิ ากจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี ๕ กิจกรรมนักเรยี น ( กิจกรรมลกู เสอื สามญั (ลูกเสือโท) )
เวลา ๔๐ ชัว่ โมง/ปี

เปิดประชุมกองดำเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมโดยให้ศึกษา วิเคราะห์
วางแผน ปฏบิ ัติกจิ กรรมตามฐานการเรยี นรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏบิ ัติกจิ กรรมตามคำปฏิญาณ คติพจน์
และกฎของลูกเสือสามัญ เรียนรู้จากคิดและปฏิบัติจริง ใช้สัญลักษณ์สมาชิกลูกเสือสามัญที่มีความเป็น
เอกลักษณ์ร่วมกัน ศึกษาธรรมชาติในชุมชนด้วยความสนใจ ใฝ่รู้ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ลดภาวะโลกร้อนและการประยุกต์ใช้ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง โดยใช้ทักษะในทางวิชาลูกเสือ การรู้จักดูแลตนเอง การช่วยเหลอื ผู้อืน่ การเดินทางไปยัง
สถานทตี่ า่ ง ๆ ทำงานอดิเรก และเรือ่ งที่สนใจ

เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือสามัญ สามารถปฏิบัติตามคำปฏิญาณ กฎ และคติ
พจน์ของลูกเสือสามัญ มีนิสยั ในการสังเกต จดจำ เชื่อฟัง และพึ่งตนเอง มีความซื่อสตั ย์ สุจริต มีระเบียบ
วินัย และเห็นอกเห็นใจผู้อื่น บำเพ็ญตนเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ทำการฝีมือและฝึกฝนการทำ
กจิ กรรมต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ความถนดั และความสนใจ รกั ษาและสง่ เสริมจารตี ประเพณี วัฒนธรรม
และความมัน่ คง ประโยชน์และสามารถประยุกต์ใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการเรียนรู้
1. มนี สิ ยั ในการสังเกต จดจำ เชือ่ ฟังและพึ่งตนเองได้
2. มีความซ่ือสตั ย์สุจริต มีระเบียบ วนิ ยั และเหน็ อกเหน็ ใจผอู้ ื่น
3. บำเพญ็ ตนเพอื่ ส่งเสรมิ และสาธารณะประโยชน์
4. ทำการฝีมือและฝึกฝนทำกิจกรรมต่าง ๆ ตามความถนดั และความสนใจ
5. รักษาและสง่ เสรมิ จารตี ประเพณี วฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น และความมัน่ คงของชาติ
6. อนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ลดภาวะโลกร้อน
7. สามารถประยุกต์ใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รวม ๗ ผลการเรยี นรู้


๑๐๗

กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน คำอธิบายรายวชิ ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ชนั้ ประถมศึกษาปีที ๖ กิจกรรมนกั เรียน ( กจิ กรรมลกู เสอื สามัญ (ลกู เสือเอก) )
เวลา ๔๐ ช่วั โมง/ปี

เปดิ ประชมุ กองดำเนนิ การตามกระบวนการของลูกเสือ และจดั กจิ กรรมโดยให้ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน
ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรยี นรู้ โดยเน้นระบบหมู่ และปฏิบัติตามคำปฏิญาณ คติพจน์ และกฎของลูกเสอื
สามัญ วชิ าการของลูกเสือ ระเบยี บแถว การพึ่งตนเอง การผจญภยั การใช้สญั ลกั ษณ์ สมาชิกลูกเสือสามัญ
ที่มีความเป็นเอกลักษณ์ร่วมกัน เรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริง ศึกษาธรรมชาติ วัฒนธรรมประเพณี ภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นด้วยความสนใจ ใฝ่รู้ และประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการปฏิบัติกิจกรรม
เพ่ือการอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละลดภาวะโลกร้อน

เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในกิจกรรมลูกเสือสามัญ สามารถปฏิบัติตามคำปฏิญาณ กฎ และคติพจน์
ของลูกเสือสามัญ มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชื่อฟัง และพึ่งตนเอง มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีระเบียบวนิ ัย
และเห็นอกเห็นใจผู้อื่น บำเพ็ญตนเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ทำการฝีมือและฝึกฝนการทำกิจกรรม
ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ความถนัด และความสนใจ รักษาและส่งเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและ
ความมนั่ คง ประโยชน์และสามารถประยกุ ตใ์ ช้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ผลการเรยี นรู้
1. มนี สิ ัยในการสังเกต จดจำ เชอื่ ฟังและพึ่งตนเองได้
2. มีความซื่อสัตยส์ ุจรติ มรี ะเบียบ วนิ ัยและเหน็ อกเห็นใจผูอ้ ื่น
3. บำเพญ็ ตนเพือ่ ส่งเสรมิ และสาธารณะประโยชน์
4. ทำการฝมี ือและฝึกฝนทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามความถนดั และความสนใจ
5. รกั ษาและสง่ เสรมิ จารตี ประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปญั ญาท้องถิ่น และความมน่ั คงของชาติ
6. อนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ลดภาวะโลกร้อน
7. สามารถประยุกต์ใช้ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

รวม ๗ ผลการเรียนรู้


๑๐๘

กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น คำอธบิ ายรายวิชากจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น
ชั้นประถมศกึ ษาปีที ๑ - ๖ กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์
เวลา ๑๐ ชวั่ โมง/ปี

ฝึกปฏิบัติกิจกรรมด้วยความสมัครใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย ฝึกการทำงานที่สอดคล้องกับชีวิต
จริง ตลอดจนสะท้อนความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ สำรวจและใช้ข้อมูลประกอบการวางแผนอย่างเปน็
ระบบ เน้นทักษะการคิดวิเคราะห์ และใช้ความคิดสร้างสรรค์ การบริการด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อ
ตนเองและส่วนรวม เสริมสร้างความมีน้ำใจ เอื้ออาทร ความเป็นพลเมืองดีและความรับผิดชอบต่อตนเอง
ครอบครวั และสังคม คดิ ออกแบบกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ในลักษณะอาสาสมัคร จิตอาสา เพอื่ แสดงความ
รบั ผิดชอบตอ่ สังคมตามแนวทางวิถชี วี ติ เศรษฐกจิ พอเพยี ง

เพื่อให้ผู้เรียนบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน ชุมชน สังคมและประเทศชาติ
สามารถออกแบบการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ตามความถนัดและความ
สนใจในลักษณะอาสาสมัคร พัฒนาศักยภาพตนเองในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ได้
อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์จนเกิดคุณธรรม จริยธรรม ตามคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ มีจิตสาธารณะและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และสามารถประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงได้

ผลการเรยี นรู้
1. บำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัว โรงเรียน ชมุ ชน สังคมและประเทศชาติ
2. ออกแบบการจดั กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์อยา่ งสรา้ งสรรค์ ตามความถนัดและ
ความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัคร
3. สามารถพฒั นาศักยภาพในการจัดกิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ได้อยา่ งมี
ประสิทธิภาพ
4. ปฏิบัติกจิ การเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชนจ์ นเกดิ คุณธรรม จรยิ ธรรมตามคณุ ลักษณะอนั
พงึ ประสงค์
5. สามารถประยุกต์ใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้

รวม ๕ ผลการเรียนรู้


๑๐๙

กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น คำอธบิ ายรายวชิ ากจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี ๑ - ๖ กจิ กรรมนักเรยี น (กจิ กรรมชุมนมุ )
เวลา ๓๐ ชัว่ โมง/ปี

ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตามความสนใจ ความถนดั และความต้องการ เพือ่ พัฒนาความรู้ ความสามารถด้าน
การคิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์ให้เกดิ ประสบการณ์ทั้งด้านวชิ าการ และพื้นฐานอาชีพ ทกั ษะชวี ิตและสังคมตาม
ศักยภาพอย่างรอบด้าน เพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีความสามารถในการสื่อสาร มีทักษะการคิด
แก้ปัญหา ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี พัฒนาทักษะในการทำงานและการอยู่ร่วมกับผู้อื่น ในสังคมได้
อย่างมีความสุข รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการ
ทำงานรกั ความเปน็ ไทย มีจติ สาธารณะ

เพื่อให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด และความต้องการของตน ได้พัฒนา
ความรู้ ความสามารถด้านการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ให้เกิดประสบการณ์ทั้งทักษะทางวิชาการ ทักษะ
อาชีพ ทักษะชวี ติ และสังคมตามศักยภาพ ใชเ้ วลาว่างใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อตนเองและส่วนรวม คิดเป็น ทำได้
ทำงานรว่ มกับผอู้ ื่นไดต้ ามวิถีประชาธปิ ไตย และประยุกตห์ ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงได้อย่างเหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. ปฏบิ ัติกจิ กรรมตามความสนใจ ความถนดั และความต้องการของตน
2. มีความรู้ ความสามารถด้านการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะหใ์ ห้เกดิ ประสบการณ์ ท้งั ทางวิชาการ
และวชิ าชพี ตามศักยภาพ
3. ใช้เวลาว่างให้เกดประโยชน์ต่อตนเองและสว่ นรวม
4. มงุ่ ม่นั ในการทำงานและทำงานรว่ มกับผู้อื่นได้ตามวิถีประชาธปิ ไตย
5. ประยกุ ต์ใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเหมาะสม

รวม ๕ ผลการเรียนรู้


๑๑๐

คำอธบิ ายรายวิชา
กิจกรรมชมุ นุม


๑๑๑

กจิ กรรมชุมนุมภาษาไทย คำอธิบายรายวชิ ากจิ กรรมชุมนมุ
ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๑ - ๖

หลักการและเหตผุ ล
ประเทศไทยมีภาษาไทยเปน็ ภาษาประจำชาติ อันเป็นเอกลักษณ์ทสี่ ำคัญอยา่ งหนึ่งของชาติ สมควรจะ

ไดร้ ับการทำนุบำรุงส่งเสริม และอนรุ กั ษ์ไว้ใหย้ ง่ั ยืนตลอดไป
ทั้งนี้ในยุคปัจจุบันวิชาการและเทคโนโลยีต่าง ๆ ได้ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วเกิดเทคนิคใหม่ ๆ ในการ

ติดต่อสือ่ สาร ท่ีมงุ่ เนน้ ความสะดวกรวดเรว็ สง่ ผลใหภ้ าษาไทยซึ่งเปน็ สื่อกลางสำคญั ในการติดต่อและผูกพันต่อ
การดำรงชีวิตประจำวันของคนไทยได้รับผลกระทบ ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน ทำให้ภาษาไทยเกิดการ
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างน่าวิตกเป็นอย่างยิ่ง สภาพการณ์เช่นนี้หากไม่เร่งรีบหาทางแก้ไขและป้องกันเสยี
แต่เนิ่นๆ การใช้ภาษาไทยของเราก็จะยิ่งเสื่อมลง จะส่งผลเสียหายต่อเอกลักษณ์และคุณค่าของภาษาไทยเป็น
ทวีคูณ อ่านและเข้าใจความหมายของคำ ประโยค ข้อความและจัดทำแบบฝึกเป็นรูปเล่ม จัดทำพจนานุกรม
ฉบับจิ๋ว ศึกษา ค้นคว้าเกีย่ วกับ ข่าว บทความจากสิ่งตีพิมพ์ประเภทต่างๆ และประดิษฐ์ที่คั่นหนงั สือประเภท
ตา่ งๆ

เพื่อให้สมาชิกมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักค้นคว้า และแก้ปัญหาในการทำงานอย่างมีระบบ
เพื่อให้สมาชิกเป็นผู้มีระเบียบวินัยเพื่อให้สมาชิกมีความเข้าใจและเลื่อมใสการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขเพื่อให้สมาชิกมีความรับผดิ ชอบต่อการปฏิบัติหนา้ ทีแ่ ละสิทธิภายในขอบเขต
ของกฎหมายเพ่อื ใหส้ มาชิกมีความสงบซาบซงึ้ ในคุณค่า ดำรงไวแ้ ละส่งเสริมเอกลกั ษณ์วฒั นธรรมอันดีงามของ
ชาติไทยเพื่อให้สมาชิกเกิดความรักและสามัคคีในหมู่คณะเพื่อให้สมาชิกได้รับการส่งเสริมก ารพัฒนาทาง
ร่างกาย จิตใจ และรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์เพื่อให้สมาชิกรู้จักบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม และสร้าง
เสริมความมั่นคงของชาติเพื่อให้สมาชิกมีคุณธรรมและจรยิ ธรรม เพื่อให้สมาชิกพัฒนาตนเองตามวตั ถุประสงค์
ของการจัดการศึกษา สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
สามารถนำไปประยุกต์ใชก้ ับชวี ิตประจำวนั ได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม

ผลการเรียนรู้
๑. ปฏบิ ัติกิจกรรมตามความสนใจ ความถนดั และความต้องการของตน
๒. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว รอ้ ยกรองได้อยา่ งถกู ต้องตามอักขระวธิ ี
๓. เขยี น ได้ถูกตอ้ งตามหลักภาษาไทย
๔. ใชเ้ วลาวา่ งให้เกดิ ประโยชนต์ อ่ ตนเองและส่วนรวม
๕. นกั เรียนมคี วามตระหนักและเหน็ คณุ ค่าของภาษาไทย ในฐานะภาษาประจำชาติ
๖.นักเรยี นสามารถเปน็ ตัวแทนเขา้ รว่ มแข่งขนั กจิ กรรมทางคณิตศาสตร์

รวม ๕ ผลการเรยี นรู้


๑๑๒

กจิ กรรมชมุ นมุ คณิตศาสตร์ คำอธบิ ายรายวชิ ากจิ กรรมชุมนมุ
ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ - ๖

หลกั การและเหตุผล
คณิตศาสตร์เปน็ วิชาทม่ี ีความเก่ียวข้องกบั ส่ิงท่ีอย่รู อบตัวและชีวติ ของเรา คณิตศาสตร์สามารถอธิบาย

สิ่งต่างๆ นานาที่อยู่รอบตัวเราได้ ถึงแม้ว่าคนส่วนใหญ่จะมองคณิตศาสตร์นั้น ยาก ซับซ้อน น่าเวียนหัว
ทำใหเ้ กดิ ความเครยี ด และความวิตกกงั วลในการเรียน

ชุมนุมนี้จึงจดั ขน้ึ มาเพ่อื ใหน้ กั เรียนในชมุ นุมได้มองเห็นมุมมองอีกดา้ นหนึ่งของคณิตศาสตร์ โดยการ
รวบรวมด้านสนุกสนานของคณิตศาสตร์ ตลอดจนเกร็ดน่ารู้ต่างๆ มากมาย รวมถึงเกร็ดแปลกๆ เกี่ยวกับตัว
เลขที่อาจจะทำใหน้ ักเรียนเกิดหลงรักตวั เลขขึ้นมาก็ได้ และนำความรู้ไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์โดยในหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกต์ในกบั ชวี ิตประจำวันได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม

ผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวงั
๑. เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นมองเหน็ ความสำคัญของคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวนั
๒. เพื่อใหน้ ักเรยี นมีความรคู้ วามเข้าใจ มีความสุขและความสนุกสนานในการเขา้ รว่ ม กิจกรรม ในวิชา
คณติ ศาสตร์
๓. เพ่ือใหน้ กั เรียนไดป้ ฏิบตั กิ ิจกรรมตามทีต่ นเองถนัดและสนใจ
๔. เพอ่ื ส่งเสริมนักเรยี นให้มีทศั นคติท่ีดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
๕. เพื่อใหน้ ักเรยี นสามารถนำความรูไ้ ปปรับใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้เป็น และได้ใชเ้ วลาวา่ งให้เป็น
ประโยชน์
๖. นักเรียนสามารถเป็นตัวแทนเข้าร่วมแขง่ ขันกจิ กรรมทางคณติ ศาสตร์

รวมท้ังหมด ๖ ผลการเรียนรู้


๑๑๓

คำอธบิ ายรายวชิ ากิจกรรมชุมนมุ

กิจกรรมชุมนุมสรา้ งสรรคด์ ้วยลลี ามือ ระดับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ - ๖

หลักการและเหตุผล
รู้จักชื่อ และบอกลักษณะของเส้นต่าง ๆ ซึ่งมาประกอบเป็นพยัญชนะ ตัวเลขและเป็นภาพต่างๆ ที่ใช้

ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทางด้าน ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา
สามารถนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้

เพือ่ ใหส้ มาชิกมีความคดิ ริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ ร้จู ักค้นควา้ และแกป้ ญั หาในการทำงานอย่างมรี ะบบ เพ่ือให้
สมาชิกเป็นผู้มีระเบียบวินัยเพื่อให้สมาชิกมีความเข้าใจและเลื่อมใสการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์เป็นประมุขเพื่อให้สมาชิกมีความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติหน้าที่และสิทธิภายในขอบเขตของ
กฎหมายเพือ่ ใหส้ มาชกิ มคี วามสงบซาบซง้ึ ในคุณคา่ ดำรงไวแ้ ละสง่ เสริมเอกลักษณ์วัฒนธรรมอันดีงามของชาติ
ไทยเพื่อให้สมาชิกเกิดความรักและสามัคคีในหมู่คณะเพื่อให้สมาชิกได้รับการส่งเสริมการพัฒนาทางร่างกาย
จิตใจ และรู้จักใช้เวลาว่างให้เปน็ ประโยชน์เพื่อให้สมาชิกรู้จักบำเพ็ญประโยชน์ต่อสงั คม และสร้างเสริมความ
มัน่ คงของชาตเิ พอื่ ใหส้ มาชิกมีคุณธรรมและจรยิ ธรรม เพอื่ ใหส้ มาชกิ พฒั นาตนเองตามวตั ถุประสงค์ของการจัด
การศึกษา สามารถนำความร้ไู ปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถนำไป
ประยุกต์ใชก้ บั ชีวิตประจำวนั ได้อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
๑. ปฏิบตั ิกิจกรรมตามความสนใจ ความถนดั และความต้องการของตน
๒. มีความรู้ ความสามารถดา้ นการคิดวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ใหเ้ กดิ ประสบการณ์ ทง้ั ทางวิชาการ
และ วชิ าชีพตามศักยภาพ
๓. ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชนต์ อ่ ตนเองและสว่ นรวม
๔. มุ่งมั่นในการทำงานและทำงานรว่ มกับผู้อ่ืนได้ตามวถิ ปี ระชาธิปไตย
๕. ประยุกตใ์ ช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

รวม ๕ ผลการเรยี นรู้


๑๑๔

คำอธบิ ายรายวชิ ากิจกรรมชุมนมุ

กิจกรรมชุมนมุ นาฏศิลป์(ฟ้อนรำ) ระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ - ๖

หลักการและเหตุผล
ฝึกท่ารำเบ้ืองต้นนาฏศลิ ป์ไทย ฝึกการแสดงนาฏศลิ ป์ไทยและนาฏศิลป์พน้ื เมือง 4 ภาค เหนือ กลาง

อีสาน ใต้

ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวัง
๑. เพอ่ื ฝึกทักษะการรำเบื้องต้นนาฏศลิ ปไ์ ทย
๒. เพอ่ื ฝึกความมั่นใจ และกลา้ แสดงออกหน้าสาธารณชน
๓. เพอื่ ปลูกฝังและอนรุ กั ษศ์ ลิ ปวัฒนธรรมไทยพ้นื บ้าน

รวมทั้งหมด ๓ ผลการเรียนรู้


๑๑๕

กิจกรรมชุมนุมรักการอ่าน คำอธิบายรายวชิ ากิจกรรมชุมนุม
ระดับชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ - ๖

หลกั การและเหตุผล
อ่านและเข้าใจความหมายของคำ ประโยค ข้อความและจัดทำแบบฝกึ เป็นรูปเล่ม จัดทำพจนานุกรม

ฉบับจิ๋ว ศึกษา ค้นคว้าเกีย่ วกับ ข่าว บทความจากสิ่งตีพิมพ์ประเภทต่างๆ และประดิษฐ์ที่คั่นหนงั สือประเภท
ต่างๆ

เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและเห็นคุณค่าเกี่ยวกับการจัดทำแบบฝึกเป็นรูปเล่ม จัดทำพจนานุกรม
ฉบบั จ๋วิ และประดิษฐ์ที่คน่ั หนงั สอื ประเภทตา่ งๆ สามารถนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้

เพื่อให้สมาชิกมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักค้นคว้า และแก้ปัญหาในการทำงานอย่างมีระบบ
เพื่อให้สมาชิกเป็นผู้มีระเบียบวินัยเพื่อให้สมาชิกมีความเข้าใจและเลื่อมใสการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์เปน็ ประมุขเพื่อให้สมาชิกมีความรับผดิ ชอบต่อการปฏิบัติหนา้ ที่และสิทธภิ ายในขอบเขต
ของกฎหมายเพอื่ ใหส้ มาชิกมีความสงบซาบซงึ้ ในคุณคา่ ดำรงไว้และสง่ เสริมเอกลักษณว์ ฒั นธรรมอันดีงามของ
ชาติไทยเพื่อให้สมาชิกเกิดความรักและสามัคคีในหมู่คณะเพื่อให้สมาชิกได้รับการส่งเสริมการพัฒนาทาง
ร่างกาย จิตใจ และรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์เพื่อให้สมาชิกรู้จักบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม และสร้าง
เสริมความมั่นคงของชาติเพือ่ ใหส้ มาชิกมคี ุณธรรมและจรยิ ธรรม เพื่อให้สมาชิกพัฒนาตนเองตามวัตถุประสงค์
ของการจัดการศึกษา สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ
สามารถนำไปประยุกต์ใชก้ บั ชวี ิตประจำวันได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม

ผลการเรียนรู้
๗. ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตามความสนใจ ความถนดั และความต้องการของตน
๘. มคี วามรู้ ความสามารถดา้ นการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะหใ์ หเ้ กิดประสบการณ์ ทง้ั ทางวิชาการ
และวิชาชพี ตามศักยภาพ
๙. ใชเ้ วลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อตนเองและสว่ นรวม
๑๐. มงุ่ ม่ันในการทำงานและทำงานร่วมกับผ้อู ่นื ได้ตามวถิ ีประชาธปิ ไตย
๑๑. ประยุกต์ใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

รวม ๕ ผลการเรียนรู้


๑๑๖

การวัดและประเมิลผลและเกณฑ์การจบหลกั สูตร

หลักสูตรโรงเรียนบ้านแขวงกลั่น พุทธศักราช ๒๕๖1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กำหนดเกณฑ์สำหรบั การจบการศึกษาเปน็ ๒ ระดับ คือ ระดบั ประถมศกึ ษา ดงั น้ี

เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลการเรยี น
๑. การตัดสิน การใหร้ ะดับและการรายงานผลการเรียน
๑.๑ การตัดสนิ ผลการเรยี น
ในการตดั สินผลการเรยี นของกลมุ่ สาระการเรียนรู้ การอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขยี น

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียนนน้ั ผู้สอนต้องคำนงึ ถึงการพัฒนาผ้เู รยี นแตล่ ะคนเปน็
หลกั และต้องเก็บข้อมลู ของผู้เรยี นทุกด้านอย่างสม่ำเสมอและต่อเน่ืองในแตล่ ะภาคเรียน รวมทั้งสอนซ่อมเสริม
ผเู้ รียนให้พฒั นาจนเต็มตามศักยภาพ

ระดับประถมศกึ ษา
(๑) ผูเ้ รียนตอ้ งมเี วลาเรียนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด
(๒) ผเู้ รยี นต้องไดร้ ับการประเมนิ ทกุ ตวั ชี้วัด และผา่ นตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากำหนด
(๓) ผเู้ รยี นต้องไดร้ บั การตัดสินผลการเรยี นทกุ รายวิชา
(๔) ผเู้ รียนตอ้ งได้รับการประเมิน และมผี ลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากำหนด
ในการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น
การพจิ ารณาเลื่อนชัน้ ถา้ ผูเ้ รยี นมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่า
สามารถพฒั นาและสอนซ่อมเสริมได้ ใหอ้ ยใู่ นดุลพนิ จิ ของสถานศึกษาที่จะผ่อนผันให้เลือ่ นชน้ั ได้ แตห่ ากผู้เรียน
ไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมาก และมีแนวโนม้ ว่าจะเป็นปญั หาต่อการเรียนในระดับชั้นทีส่ ูงขึน้ สถานศึกษาอาจต้ัง
คณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ำชั้นได้ ทั้งนี้ให้คำนึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของผู้เรียนเป็น
สำคญั
๑.๒ การใหร้ ะดบั ผลการเรยี น
ระดับประถมศกึ ษา ในการตัดสนิ เพ่ือใหร้ ะดับผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษาสามารถให้ระดับ
ผลการเรียนหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน เป็นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ และ
ระบบทใี่ ชค้ ำสำคญั สะท้อนมาตรฐาน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี น และคุณลักษณะอันพึงประสงคน์ ั้น ให้ระดับผล การ
ประเมินเปน็ ดีเยยี่ ม ดี และผา่ น
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ
กิจกรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด และให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นผ่าน และ
ไมผ่ า่ น
๑.๓ การรายงานผลการเรยี น
การรายงานผลการเรียนเปน็ การส่ือสารใหผ้ ปู้ กครองและผู้เรยี นทราบความก้าวหนา้ ในการเรียนรู้
ของผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทำเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะๆ
หรืออย่างน้อยภาคเรยี นละ ๑ คร้งั
การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเปน็ ระดบั คุณภาพการปฏิบตั ขิ องผู้เรยี นที่สะทอ้ น
มาตรฐานการเรยี นรูก้ ลุ่มสาระการเรยี นรู้


๑๑๗

๒. เกณฑ์การจบการศกึ ษา
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน กำหนดเกณฑก์ ลางสำหรบั การจบการศึกษาเป็น ๑ ระดับ คอื
ระดบั ประถมศึกษา
๒.๑ เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา
๑) ผู้เรยี นเรียนรายวิชาพน้ื ฐานจำนวน ๕,๐๔๐ ช่ัวโมง และรายวิชาเพ่มิ เติมจำนวน ๒๔๐ ชว่ั โมง
๒) ผเู้ รียนมีผลการประเมนิ รายวชิ าพื้นฐานผา่ นทุกรายวชิ า
๓) ผูเ้ รียนมผี ลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน ระดบั “ผา่ น” ข้ึนไป
๔) ผ้เู รียนมผี ลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั “ผ่าน” ขึน้ ไป
๕) ผู้เรยี นเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน และมีผลการประเมิน “ผ่าน” ทุกกิจกรรม
สำหรับการจบการศึกษาสำหรบั กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสำหรับผู้มี
ความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสำหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย ให้
คณะกรรมการของสถานศึกษา เขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา และผ้ทู ่ีเกี่ยวข้อง ดำเนนิ การวดั และประเมินผล การเรียนรู้
ตามหลักเกณฑ์ในแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ

เอกสารหลกั ฐานการศึกษา
เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสำคัญที่บันทึกผลการเรียน ข้อมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง

กบั พฒั นาการของผู้เรียนในดา้ นตา่ ง ๆ แบ่งออกเปน็ ๒ ประเภท ดังนี้
๑. เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาทกี่ ระทรวงศึกษาธกิ ารกำหนด
๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของ

ผูเ้ รยี นตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูลและออกเอกสารนี้
ให้ผู้เรียนเปน็ รายบุคคล เมื่อผเู้ รยี นจบการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา (ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖)

๑.๓ แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา เป็นเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตรโดยบันทึกรายช่ือ
และข้อมูลของผู้จบการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๖)

๒. เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาท่สี ถานศึกษากำหนด
เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลสำคัญ เกี่ยวกับ
ผู้เรียน เช่น แบบรายงานประจำตัวนักเรียน แบบบันทึกผลการเรียนประจำรายวชิ า ระเบียนสะสม ใบรับรอง
ผลการเรยี น และ เอกสารอืน่ ๆ ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการนำเอกสารไปใช้

การเทยี บโอนผลการเรียน
สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่างๆได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การ

เปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจาก
ต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จาก
แหล่งการเรียนร้อู นื่ ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบนั ศาสนา สถาบันการฝึกอบรมอาชพี การจดั การศกึ ษาโดย
ครอบครัว

การเทียบโอนผลการเรียนควรดำเนินการในชว่ งก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรอื ต้นภาคเรยี นแรก ที่
สถานศกึ ษารบั ผู้ขอเทยี บโอนเป็นผู้เรยี น ทัง้ น้ี ผ้เู รียนที่ไดร้ บั การเทียบโอนผลการเรียนตอ้ งศึกษาต่อเน่ืองใน


๑๑๘

สถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรยี น โดยสถานศึกษาท่ีรบั ผเู้ รยี นจาก
การเทยี บโอนควรกำหนดรายวิชา/จำนวนหนว่ ยกติ ท่จี ะรับเทยี บโอนตามความเหมาะสม

การพิจารณาการเทียบโอน สามารถดำเนินการได้ ดงั น้ี
๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่นๆ ที่ให้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถของ
ผเู้ รียน
๒. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนโดยการทดสอบดว้ ยวธิ กี ารต่างๆ ท้ังภาคความรู้และ
ภาคปฏบิ ัติ
๓. พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏิบัตใิ นสภาพจริง
การเทียบโอนผลการเรยี นให้เป็นไปตาม ประกาศ หรือ แนวปฏิบตั ิ ของกระทรวงศึกษาธิการ

การจัดการเรียนรู้
การจดั การเรียนรูเ้ ป็นกระบวนการสำคัญในการนำหลักสูตรสู่การปฏิบตั ิ หลักสตู รแกนกลางการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
เป็นเปา้ หมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน

ในการพฒั นาผู้เรียนให้มีคุณสมบัตติ ามเป้าหมายหลักสตู ร ผูส้ อนพยายามคัดสรร กระบวนการเรียนรู้
จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผ้เู รียนเรียนรผู้ ่านสาระท่ีกำหนดไว้ในหลักสูตร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมท้ังปลูกฝัง
เสริมสรา้ งคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ พัฒนาทกั ษะตา่ งๆ อนั เป็นสมรรถนะสำคญั ใหผ้ เู้ รียนบรรลตุ ามเปา้ หมาย

๑. หลักการจดั การเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้เพือ่ ให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามทีก่ ำหนดไว้ในหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมี
ความสำคัญที่สุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ยึดประโยชน์ที่เกิดกับผู้เรียน
กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คำนึงถึง
ความแตกต่างระหว่างบุคคลและพฒั นาการทางสมองเนน้ ให้ความสำคญั ทง้ั ความรู้ และคุณธรรม
๒. กระบวนการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เป็น
เครื่องมือที่จะนำพาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่จำเป็นสำหรับผู้เรียน อาทิ
กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม
กระบวนการเผชิญสถานการณแ์ ละแกป้ ัญหา กระบวนการเรยี นรจู้ ากประสบการณจ์ ริง กระบวนการปฏบิ ตั ิ ลง
มือทำจรงิ กระบวนการจดั การ กระบวนการวจิ ัย กระบวนการเรยี นรู้การเรียนรขู้ องตนเอง กระบวนการพฒั นา
ลกั ษณะนสิ ยั
กระบวนการเหล่านี้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝน พัฒนา เพราะจะ
สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดังนั้น ผู้สอน จึงจำเป็นต้องศึกษาทำ
ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ


๑๑๙

๓. การออกแบบการจัดการเรียนรู้
ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสำคัญของ
ผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึงพิจารณาออกแบบการ
จัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรียน
ไดพ้ ฒั นาเต็มตามศักยภาพและบรรลุตามเปา้ หมายที่กำหนด
๔. บทบาทของผ้สู อนและผ้เู รยี น
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลักสูตร ทั้งผู้สอนและผู้เรียนควรมี
บทบาท ดังนี้

๔.๑ บทบาทของผู้สอน
๑) ศึกษาวเิ คราะหผ์ ูเ้ รียนเป็นรายบุคคล แล้วนำข้อมลู มาใช้ในการวางแผนการจดั การเรียนรู้

ที่ท้าทายความสามารถของผู้เรียน
๒) กำหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะกระบวนการ ที่

เป็นความคิดรวบยอด หลกั การ และความสมั พันธ์ รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ

พฒั นาการทางสมอง เพอื่ นำผู้เรยี นไปสู่เปา้ หมาย
๔) จดั บรรยากาศท่เี ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ และดแู ลชว่ ยเหลือผเู้ รียนใหเ้ กิดการเรียนรู้
๕) จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นำภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีท่ี

เหมาะสมมาประยุกต์ใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน
๖) ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติของ
วชิ า

และระดบั พัฒนาการของผูเ้ รียน
๗) วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งปรับปรุงการ

จัดการเรียนการสอนของตนเอง
๔.๒ บทบาทของผู้เรยี น
๑) กำหนดเป้าหมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรียนรขู้ องตนเอง
๒) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหลง่ การเรยี นรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อความรู้ ตั้งคำถาม คิดหา

คำตอบหรอื หาแนวทางแก้ปญั หาดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ
๓) ลงมอื ปฏบิ ัติจรงิ สรุปสง่ิ ทไ่ี ด้เรยี นรดู้ ้วยตนเอง และนำความร้ไู ปประยุกตใ์ ช้ในสถานการณ์

ตา่ งๆ
๔) มีปฏสิ ัมพันธ์ ทำงาน ทำกิจกรรมร่วมกบั กลุม่ และครู
๕) ประเมนิ และพัฒนากระบวนการเรยี นรขู้ องตนเองอย่างตอ่ เนื่อง

สือ่ การเรียนรู้

สื่อการเรียนรู้เป็นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้
ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อการเรียนรู้มี
หลากหลายประเภท ทั้งส่ือธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือข่าย การเรียนรู้ต่างๆ ที่มีในท้องถ่ิน
การเลอื กใชส้ อื่ ควรเลือกให้มีความเหมาะสมกับระดบั พฒั นาการ และลีลาการเรยี นรู้ทห่ี ลากหลายของผเู้ รียน

การจัดหาสื่อการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทำและพัฒนาข้ึนเอง หรือปรับปรุงเลือกใช้อย่าง
มีคณุ ภาพจากสื่อตา่ งๆ ทมี่ อี ยู่รอบตัวเพอื่ นำมาใชป้ ระกอบในการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถส่งเสริมและสื่อสารให้


๑๒๐

ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้อย่าง
แท้จริง สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและผู้มีหน้าที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควร
ดำเนนิ การดงั นี้

๑. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่าย
การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปลี่ยน
ประสบการณก์ ารเรียนรู้ ระหวา่ งสถานศึกษา ทอ้ งถ่นิ ชมุ ชน สงั คมโลก

๒. จัดทำและจัดหาสื่อการเรียนรู้สำหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสริมความรู้ให้ผู้สอน รวมทั้ง
จัดหาสิง่ ทมี่ ีอยใู่ นท้องถน่ิ มาประยุกตใ์ ชเ้ ป็นสอื่ การเรียนรู้

๓. เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้อง กับวิธีการ
เรยี นรู้ ธรรมชาตขิ องสาระการเรียนรู้ และความแตกต่างระหว่างบคุ คลของผ้เู รยี น

๔. ประเมินคณุ ภาพของสอ่ื การเรียนรู้ทเ่ี ลือกใช้อยา่ งเปน็ ระบบ
๕. ศึกษาคน้ ควา้ วิจัย เพือ่ พัฒนาส่ือการเรียนรู้ใหส้ อดคลอ้ งกับกระบวนการเรียนรู้ของผเู้ รียน
๖. จัดให้มีการกำกับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับสื่อและการใช้ส่ือ
การเรียนรูเ้ ป็นระยะๆ และสม่ำเสมอ
ในการจัดทำ การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ที่ใช้ในสถานศึกษา ควรคำนึงถึง
หลักการสำคัญของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การออกแบบ
กิจกรรมการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน เนื้อหามีความถูกต้องและทันสมัย ไม่กระทบความมั่นคง
ของชาติ ไม่ขดั ตอ่ ศีลธรรม มีการใชภ้ าษาท่ีถกู ตอ้ ง รปู แบบการนำเสนอทเี่ ข้าใจงา่ ย และน่าสนใจ

การวดั และประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพืน้ ฐานสองประการ คือ การประเมนิ

เพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ประสบผลสำเรจ็
นั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อน
สมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้เรียนซ่ึงเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการ
เรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเปน็ ระดับชัน้ เรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นทีก่ ารศึกษา และระดับชาติ การ
วัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลและ
สารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็น
ประโยชนต์ อ่ การส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นเกดิ การพฒั นาและเรยี นร้อู ยา่ งเต็มตามศกั ยภาพ

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา
ระดบั เขตพ้นื ที่การศกึ ษา และระดบั ชาติ มีรายละเอยี ด ดงั นี้

๑. การประเมินระดับช้นั เรยี น เปน็ การวดั และประเมนิ ผลท่ีอยู่ในกระบวนการจัดการเรยี นรู้ ผู้สอน
ดำเนินการเป็นปกติและสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่างหลากหลาย เช่น
การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟ้มสะสม
งาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมินตนเอง เพื่อน
ประเมนิ เพ่ือน ผ้ปู กครองร่วมประเมนิ ในกรณที ี่ไม่ผ่านตวั ชวี้ ดั ใหม้ ีการสอนซ่อมเสรมิ

การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้
อันเปน็ ผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งท่จี ะตอ้ งได้รับการพัฒนา
ปรับปรงุ และส่งเสริมในดา้ นใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลใหผ้ ู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วย ท้ังนี้
โดยสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชวี้ ดั


๑๒๑

๒. การประเมนิ ระดับสถานศกึ ษา เปน็ การประเมินท่สี ถานศึกษาดำเนินการเพื่อตัดสนิ ผล การเรียน
ของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์
และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศกึ ษา ของสถานศึกษา ว่าส่งผลต่อ
การเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนำผลการเรียนของ
ผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและ
สารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการ
จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการ
รายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ผู้ปกครองและชมุ ชน

๓. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่
การศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรตู้ ามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน เพอื่ ใช้เป็นข้อมลู พื้นฐานในการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดำเนินการโดยประเมิน
คุณภาพผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทำและดำเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษา หรือด้ วย
ความรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานตน้ สงั กัด ในการดำเนินการจัดสอบ นอกจากนย้ี งั ไดจ้ ากการตรวจสอบทบทวนข้อมูล
จากการประเมินระดบั สถานศกึ ษาในเขตพน้ื ท่ีการศึกษา

๔. การประเมนิ ระดับชาติ เปน็ การประเมินคณุ ภาพผเู้ รียนในระดบั ชาติตามมาตรฐานการเรยี นร้ตู าม
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน สถานศึกษาตอ้ งจัดให้ผเู้ รยี นทกุ คนทีเ่ รยี น ในชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๖ เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นขอ้ มูลในการเทยี บเคียงคุณภาพ
การศึกษาในระดับตา่ ง ๆ เพ่ือนำไปใช้ในการวางแผนยกระดับคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา ตลอดจนเป็นข้อมูล
สนับสนนุ การตดั สนิ ใจในระดับนโยบายของประเทศ

ขอ้ มูลการประเมินในระดับตา่ งๆ ขา้ งตน้ เปน็ ประโยชนต์ อ่ สถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลอื ปรับปรุงแก้ไข
ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่างบุคคลที่จำแนก
ตามสภาพปญั หาและความต้องการ ได้แก่ กลุม่ ผูเ้ รียนทว่ั ไป กล่มุ ผู้เรียนที่มีความสามารถพเิ ศษ กล่มุ ผ้เู รียนท่มี ี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ กลุ่มผู้เรียนที่มีปัญหาด้านวินัยและพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่ม
ผ้เู รยี นทมี่ ปี ญั หาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพกิ ารทางรา่ งกายและสตปิ ัญญา เปน็ ตน้ ขอ้ มูลจากการประเมิน
จึงเป็นหัวใจของสถานศึกษาในการดำเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที ปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้รับการ
พัฒนาและประสบความสำเรจ็ ในการเรยี น

สถานศึกษาในฐานะผู้รบั ผดิ ชอบจัดการศึกษา จะตอ้ งจดั ทำระเบยี บวา่ ด้วยการวัดและประเมินผลการ
เรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็นข้อกำหนดของหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน เพือ่ ให้บคุ ลากรทีเ่ กี่ยวข้องทกุ ฝา่ ยถือปฏิบัตริ ่วมกัน


๑๒๒

การบรหิ ารจัดการหลักสตู ร
ในระบบการศึกษาที่มีการกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นและสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตร

นั้น หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในแต่ละระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ ระดับท้องถิ่น จนถึงระดับสถานศึกษา มี
บทบาทหน้าที่ และความรบั ผดิ ชอบในการพัฒนา สนับสนุน ส่งเสริม การใชแ้ ละพัฒนาหลกั สตู รให้เปน็ ไปอย่าง
มปี ระสิทธิภาพ เพอื่ ใหก้ ารดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรยี นการสอนของสถานศึกษา
มีประสิทธิภาพสูงสุด อันจะส่งผลให้การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ใน
ระดับชาติ

ระดับทอ้ งถิน่ ไดแ้ ก่ สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษา หนว่ ยงานตน้ สังกดั อื่น ๆ เป็นหนว่ ยงานที่มีบทบาท
ในการขบั เคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา เปน็ ตัวกลางทจี่ ะเช่ือมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่กำหนดในระดับชาติให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของทอ้ งถิ่น เพื่อนำไปสู่การจัดทำหลักสูตรของ
สถานศึกษา ส่งเสริมการใช้และพัฒนาหลักสูตรในระดับสถานศึกษา ให้ประสบความสำเร็จ โดยมีภารกิจ
สำคัญ คือ กำหนดเป้าหมายและจดุ เน้นการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น ในระดบั ท้องถ่ินโดยพจิ ารณาให้สอดคล้อง
กับสิ่งที่เป็นความต้องการในระดับชาติ พัฒนาสาระ การเรียนรู้ท้องถิ่น ประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับ
ทอ้ งถิน่ รวมทั้งเพิม่ พนู คณุ ภาพการใชห้ ลกั สูตรด้วยการวิจยั และพฒั นา การพัฒนาบคุ ลากร สนับสนนุ สง่ เสริม
ติดตามผล ประเมินผล วิเคราะห์ และรายงานผลคุณภาพของผเู้ รยี น

สถานศึกษามีหน้าที่สำคัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนและดำเนินการใช้หลักสูตร
การเพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและพัฒนา การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรจัดทำระเบียบ
การวัดและประเมินผล ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาต้องพิจารณาให้สอดคล้อง กับหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน และรายละเอียดที่เขตพื้นที่การศึกษา หรือหน่วยงาน สังกัดอื่นๆ ในระดับท้องถิ่นได้
จัดทำเพ่มิ เติม รวมทัง้ สถานศึกษาสามารถเพม่ิ เตมิ ในสว่ นทีเ่ กี่ยวกบั สภาพปญั หาในชมุ ชนและสังคม ภมู ปิ ญั ญา
ทอ้ งถิน่ และความตอ้ งการของผ้เู รียน โดยทกุ ภาคสว่ นเข้ามามีสว่ นรว่ มในการพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษา


ภาคผนวก


ประกาศโรงเรยี นบา้ นแขวงกล่นั
เร่อื ง การใชห้ ลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นแขวงกล่ัน พุทธศักราช ๒๕๖3
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
…………………………………..
ด้วยโรงเรียนบ้านแขวงกลั่น ได้ดำเนินการปรับหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนให้สอดคล้องกับ
กระทรวงศึกษาธิการ โดย สสวท. ได้ดำเนนิ การจดั ทำมาตรฐานและตัวช้ีวัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
และกลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ และสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ไดด้ ำเนินการจัดทำ
สาระภูมศิ าสตรใ์ นกล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) และ
การยกเลิกมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชีว้ ดั สาระท่ี ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี และสาระท่ี ๓ เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๖๑ และเปลี่ยนชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ จึงประกาศใช้หลักสูตร
สถานศึกษาโรงเรียนบ้านแขวงกล่ัน ดงั นี้
๑. หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแขวงกลั่น พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ให้ใช้หลักสูตรเล่มน้ีดงั น้ี
- ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ ใช้ในชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ และ ๔
- ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ใช้ในชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑,๒,๔ และ๕
- ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ใช้ในทกุ ช้นั ปี
๒. หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านแขวงกลั่น พุทธศักราช ๒๕๖3 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ใหใ้ ช้หลักสูตรเลม่ นด้ี ังน้ี
- ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ใชใ้ นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๒,๓,๕ และ๖
- ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ใช้ในช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๓ และ๖
ทั้งน้ี หลักสูตรโรงเรียนบ้านแขวงกลั่นได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
เมื่อวันที่ ๑๒ เดือน กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๖3 จึงประกาศใหใ้ ชห้ ลกั สตู รโรงเรยี นตั้งแตบ่ ดั นี้เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๓ เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖3

( นายนิรัติ รุ่งวัฒนภากุล ) ( นางสมพักร์ สันติพงศศ์ ักด์ิ )
ประธานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นแขวงกล่นั


Click to View FlipBook Version