ทีอ่ ุตสา่ ห์เกดิ กับเขาทัง้ ชาติ ทที่ า่ นเรียกวา่ ขาดท้ังทนุ สญู ทั้งดอก นัน้ กค็ ือผปู้ ระมาท
นอนใจ แบ่งให้แต่กิเลสเป็นเจ้าบ้านครองจิตใจ ไม่มีการป้องกันฝ่าฝืนมันบ้างเลย
มันจึงบังคับเอาแบ่งเอาจนไม่มีอะไรเหลือติดตัวดังกล่าวแล้ว ท่านผู้หมดหน้ีสิน
ความพะรุงพะรังทางใจแล้ว จึงอยู่เป็นสุขทุกๆ อิริยาบถในขันธ์ท่ีก�ำลังครองตัวอยู่
เมอื่ ถงึ เวลาแลว้ กป็ ลอ่ ยวางภาระในขนั ธ์ เหลอื แตค่ วามบรสิ ทุ ธพ์ิ ทุ โธเปน็ สมบตั ทิ งั้ ดวง
นน่ั แล คอื ความสน้ิ ทกุ ขโ์ ดยสนิ้ เชงิ ตลอดกาล ซงึ่ เปน็ ความสน้ิ อยา่ งอศั จรรย์ และเปน็
กาลอนั มคี ณุ คา่ มหาศาล ไมม่ สี งิ่ ใดเสมอเหมอื นในไตรภพ ผดิ กบั ความเปน็ ของสมมตุ ิ
ทง้ั หลายทตี่ า่ งปรารถนาความเกดิ เปน็ สว่ นมากและออกหนา้ ออกตา มไิ ดส้ นใจในทกุ ข์
ทจ่ี ะตดิ ตามมาพร้อมกบั ความเกดิ นัน้ ๆ บ้างเลย ความจรงิ การเกิดกับความทกุ ข์น้นั
แยกกันไมอ่ อก แมไ้ มม่ ากก็จ�ำต้องมจี นได้ นักปราชญ์ท่านจึงกลวั ความเกดิ มากกว่า
ความตาย ผดิ กบั พวกเราทกี่ ลวั ความตายซงึ่ เปน็ ผลมากกวา่ กลวั ความเกดิ ทเี่ ปน็ ตน้ เหตุ
อันเป็นความกลัวท่ีฝืนคติธรรมดาอยู่มาก ทั้งนี้เพราะไม่สนใจติดตามร่องรอยแห่ง
ความจรงิ จงึ ฝนื และเปน็ ทกุ ขก์ นั อยตู่ ลอดมา ถา้ ปราชญท์ า่ นมกี เิ ลสประเภทพาคนให้
หวั เราะเยาะกนั แลว้ ทา่ นคงอดไมไ่ ด้ อาจปลอ่ ยออกมาอยา่ งเตม็ ทส่ี มใจทา่ นทไี่ ดเ้ หน็
คนแทบทว่ั โลกตงั้ หนา้ ตง้ั ตาฝนื ความจรงิ กนั อยา่ งไมม่ องหนา้ มองหลงั เพอ่ื หาหลกั ฐาน
ความจรงิ กนั บา้ งเลย แตท่ า่ นเปน็ ปราชญส์ มชอื่ สมนาม จงึ มไิ ดท้ ำ� แบบโลกๆ ทท่ี ำ� กนั
นอกจากทา่ นเมตตาสงสารและชว่ ยอนุเคราะหส์ ่งั สอน ส่วนที่สดุ วสิ ยั ก็ปล่อยไปดว้ ย
ความหมดหวังจะช่วยได้
หลวงปู่ขาวเป็นผู้ผ่านพ้นภัยพิบัติสารพัดท่ีเคยมีในสงสาร บัดนี้ท่านถึง
สอปุ าทเิ สสนิพพานในสถานทมี่ นี ามว่า “โรงขอด” แหง่ อำ� เภอพร้าว จงั หวดั เชยี งใหม่
ในราวพรรษาท่ี ๑๖ หรือ ๑๗ ผู้เขียนจ�ำไม่ถนัด จ�ำได้แต่เป็นฤดูเร่ิมเก็บเก่ียว
ตอนออกพรรษาแลว้ ใหมๆ่ ทา่ นเลา่ ใหฟ้ งั อยา่ งถงึ ใจในเวลาสนทนาธรรมกนั ซง่ึ เรม่ิ แต่
๒ ทมุ่ ถงึ ๖ ทมุ่ เศษ ไมม่ ใี ครมาเกย่ี วขอ้ งรบกวนใหเ้ สยี เวลาในขณะนนั้ การสนทนา
ธรรมจึงเป็นไปด้วยความราบร่ืนท้ังสองฝ่าย จนถึงจุดสุดท้ายแห่งธรรมซ่ึงเป็นผลท่ี
เกดิ จากการปฏิบัติ โดยเร่มิ สนทนาแตต่ น้ จากแม่ ก. ไก่ ก. กา สระอะ สระอา คือ
การฝึกหัดขั้นเริ่มแรกท่ีคละเคล้าไปด้วยท้ังความล้มลุกคลุกคลาน ท้ังความล้ม
44
ความเหลว ทั้งความดีความเลวสับปนกันไป ทั้งความดีใจเสียใจอันเป็นผลมาจาก
ความเปน็ ลมุ่ ๆ ดอนๆ ของการปฏบิ ตั ทิ เี่ พง่ิ ฝกึ หดั ในเบอ้ื งตน้ จนถงึ สดุ ทา้ ยปลายแดน
แห่งจิตแห่งธรรมของแต่ละฝ่าย ผลแห่งการสนทนาจากท่านเป็นท่ีพอใจอย่างย่ิง
เมอ่ื ไดโ้ อกาสจงึ ไดอ้ าราธนานำ� ลงในปฏปิ ทาของพระธดุ งคกรรมฐานสายทา่ นอาจารยม์ นั่
เพอื่ ทา่ นผอู้ า่ นทสี่ นใจใครธ่ รรมจะไดน้ ำ� มาพจิ ารณาไตรต่ รองและคดั เลอื กเอาเทา่ ทคี่ วร
แก่จริตนิสัยของตนๆ ผลอันพึงหวังจากการเลือกเฟ้นคงเป็นความราบรื่นดีงามตาม
ความพยายามของแตล่ ะทา่ น เพราะหลวงปขู่ าวทา่ นเปน็ พระทพ่ี รอ้ มจะยงั ประโยชนใ์ ห้
เกดิ แกโ่ ลกผเู้ ข้าไปเกยี่ วขอ้ งอยู่เสมอ ไม่มีความบกพร่องท้ังมารยาทการแสดงออก
ทางอาการ ทง้ั ความรทู้ างภายในทฝี่ งั เพชรนำ้� หนงึ่ ไวอ้ ยา่ งลกึ ลบั ยากจะคน้ พบไดอ้ ยา่ ง
งา่ ยดาย ถา้ ไมร่ อดตายกไ็ มอ่ าจรไู้ ด้ เฉพาะองคท์ า่ น ผเู้ ขยี นลอบขโมยถวายนามทา่ นวา่
“เพชรนำ้� หนง่ึ ” ในวงกรรมฐานสายทา่ นอาจารยม์ น่ั มาเกอื บ ๓๐ ปแี ลว้ โดยไมก่ ระดาก
อายคนจะหาวา่ บา้ เลย เพราะเกิดจากศรทั ธาของตัวเอง
พ.ศ. ๒๔๘๘-๒๔๘๙ พรรษาน้ที ่านจ�ำที่แม่หนองหาน อ.สนั ทราย จ.เชยี งใหม่
ในพรรษา ทา่ นเมตตาเทศนาอบรมสงั่ สอนศรทั ธาพอสมควร เพราะจติ ทา่ นพน้ ดงหนา
ปา่ ทึบ ออกสแู่ ดนเวิ้งว้างกว้างขวางหาประมาณไมไ่ ด้ จิตเปน็ อวกาศจติ ธรรมเป็น
อวกาศธรรม กลมกลืนเปน็ อันเดียวกนั โดยสมบูรณ์แลว้ ไม่มีอะไรมากดี ขวางลวงใจ
เหมือนแตก่ อ่ น อริ ยิ าบถท้ังส่ีเพอ่ื ธาตเุ พ่อื ขนั ธ์ เพื่อวิหารธรรมในทิฏฐธรรมของจิต
เปน็ ความอยู่สบาย
พอออกพรรษาแล้ว ท�ำให้ท่านระลึกถึงความหลังก่อนท่ีจะออกแสวงธรรม
เพื่อมรรคผลนิพพานด้วยธุดงคกรรมฐานอยู่เสมอ ความหลังปรากฏข้ึนเตือนใจอยู่
บอ่ ยๆ ความปณธิ านทต่ี ง้ั ไวต้ อนบวชทแี รกวา่ จะออกแสวงธรรมเพอ่ื มรรคผลนพิ พาน
ถา่ ยเดียว เมอ่ื ถูกประชาชน ครอู าจารย์ท้ังหลาย คัดคา้ นตา้ นทาน จึงได้ประกาศ
ความจริงใจออกมาให้ทราบวา่ เมอื่ ออกไปแล้ว ถา้ กระผมและอาตมาไม่รเู้ หน็ ธรรม
คอื มรรคผลนพิ พานเตม็ ดวงใจแลว้ จะไมย่ อมกลบั มาใหท้ า่ นทงั้ หลายชห้ี นา้ ตราความ
ลม้ เหลวใสห่ นา้ ผากอยา่ งเดด็ ขาด การกลบั มาจงึ มธี รรมดงั กลา่ วนเ้ี ปน็ เครอ่ื งประกนั ตวั
เต็มอยู่ภายในใจโดยถ่ายเดียว ขอให้ท่านท้ังหลายได้ทราบไว้แต่บัดนี้ นานไปจะ
45
หลงลมื ไปเสยี เวลาเห็นหน้ากลับมา เมอื่ คดิ ตกลงใจเรยี บรอ้ ยแล้ว จงึ ไดร้ ่ำ� ลาศรัทธา
ทง้ั หลายซงึ่ ตา่ งมคี วามอาลยั เสยี ดายไมอ่ ยากใหท้ า่ นจากไป แตค่ วามจำ� เปน็ จำ� ใจบงั คบั
ตามกฎอนจิ จฺ ํ ทตี่ อ้ งมกี ารพลดั พรากจากกนั ทงั้ เปน็ ทงั้ ตาย จงึ ยอมไปตามกฎแหง่ คติ
ธรรมดา ท่านจึงมาชวนหลวงปแู่ หวน สุจณิ โฺ ณ เป็นเพือ่ นเดนิ ทางกลับอีสานด้วยกัน
เพื่อเยี่ยมถ่ินฐานบ้านเดิมและวงศาคณาญาติท่ีได้จากกันไปเป็นเวลา ๒๐ กว่าปี
นบั วา่ เปน็ เวลานานพอประมาณ หากชวี ติ ไมท่ นทาน ทงั้ เขาทงั้ เรากอ็ าจตายไปเสยี กอ่ น
ไม่ได้พบเห็นกันอีก และเป็นโอกาสอันเหมาะสมอย่างย่ิงท่ีจะได้ไปกราบเยี่ยมท่าน
หลวงปู่มน่ั ภูรทิ ตั ตเถระ ในเวลาเดยี วกัน ซง่ึ ระยะนั้นท่านก�ำลังพักพรรษาอย่บู า้ น
หนองผือนาใน อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร ซ่ึงมีพระธุดงคกรรมฐานจ�ำพรรษา
และห้อมล้อมอยู่แถวบริเวณใกล้เคียงกับท่ีท่านจ�ำพรรษาอยู่เป็นจ�ำนวนมาก แต่
หลวงปแู่ หวนทา่ นบอกวา่ ทา่ นยงั ไมก่ ลบั ถา้ ยงั ไมบ่ รรลอุ รหนั ตต์ ามความมงุ่ หวงั อยา่ ง
เตม็ หวั ใจเสยี เมอ่ื ไร ตอ้ งอยบู่ ำ� เพญ็ ใหถ้ งึ อรหตั กอ่ นถงึ จะไปไหนมาไหนจากเชยี งใหม่
ถา้ อยากไป ถา้ ไมอ่ ยากไปกจ็ ะอยเู่ ชยี งใหมต่ อ่ ไปจนตาย ทา่ นเองถา้ ไดบ้ รรลอุ รหตั แลว้
จะน�ำธรรมไปแจกพระแจกชาวบ้าน ผมก็ขอโมทนา แต่อย่าน�ำกิเลสหรือธรรมเมา
ไปแจกเขานะ เพราะกิเลสและธรรมเมามีเกลื่อนแผ่นดินถิ่นท่ีสัตว์โลกอยู่อาศัย
ไม่เคยมีวันบกพร่องขาดแคลน มีธรรมเท่าน้ันบกพร่องขาดแคลนในหัวใจสัตว์โลก
ทุกวันน้ี โลกจึงเดือดร้อนวุ่นวายหาความสงบสุขเย็นกายเย็นใจไม่ได้ ไปที่ไหน
มแี ตค่ นบน่ วา่ ทกุ ขว์ า่ ลำ� บากยากเยน็ เขญ็ ใจใหฟ้ งั แมใ้ นบา้ นในเมอื งทน่ี ยิ มกนั วา่ เจรญิ
กไ็ มพ่ น้ ที่จะไดย้ นิ ค�ำบน่ ทุกข์บ่นยากกนั เวลาท่านไปทางภาคอสี านจงึ นมิ นตน์ ำ� ธรรม
สมบรู ณ์ ธรรมไม่บกพร่องขาดแคลน ธรรมสงบเยน็ ปากเย็นใจ ไมบ่ ่น ไม่เดือดรอ้ น
นอนคราง ไปแจกเขาบา้ ง เขาจะไดโ้ มทนาในการไปเยย่ี มเยยี นญาตขิ องทา่ น ผมเวลาน้ี
กำ� ลงั ตอ่ สกู้ บั ธรรมเมา ยงั ไมส่ รา่ ง ยงั ไมห่ ายเมา นงั่ อยกู่ เ็ มา ยนื อยกู่ เ็ มา เดนิ อยกู่ เ็ มา
นอนอยกู่ เ็ มา นงั่ สมาธิ เดนิ จงกรมภาวนาอยกู่ เ็ มา กเิ ลสตวั พาใหป้ ระมาทมวั เมามนั ยงั
ไมย่ อมลงจากบนบา่ บนหลงั บนคอ บนหวั ใจ เคลอื่ นไหวไปมาในทใ่ี ด มแี ตธ่ รรมเมา
เหลา่ นอ้ี อกท�ำงานเพน่ พา่ นเต็มกาย เตม็ วาจา เต็มหัวใจ เมอื่ ไรจะหายเมายังไมร่ ้ไู ด้
ท่านไปภาคอีสานนิมนต์น�ำ มทนิมฺมทโน ธรรมยังความเมาให้สร่าง วฏฺฏูปจฺเฉโท
ธรรมตดั วัฏจติ ตณฺหกขฺ โย ธรรมสิน้ ตัณหา วิราโค ธรรมสิ้นราคะความกำ� หนัดยินดี
นโิ รโธ ธรรมดบั กเิ ลสทง้ั ปวง นพิ พฺ านํ ความดบั สนทิ แหง่ กเิ ลสสมมตุ ิทง้ั มวล ไปแจก
46
ชาววัดและชาวบ้าน เขาจะได้ดีใจโมทนาสาธุการสมกับท่านจากเขาไปนาน นี่ท่าน
หลวงปแู่ หวนสงั่ หลวงปขู่ าวเวลาทา่ นหลวงปขู่ าวจะกลบั ไปทางภาคอสี าน สำ� หรบั องค์
หลวงปู่แหวนเองท่านไม่ไป ท่านจะอยู่บ�ำเพ็ญให้ได้อรหัตเสียก่อน อยากไปไหน
ทา่ นจึงจะไปหลงั จากสมหวงั ดงั ใจหมายแล้ว ทา่ นจึงนิมนตห์ ลวงปู่ชอบ หลวงปู่บตุ ร
ไปดว้ ย ทั้งสามองคเ์ ดินทางจากเชียงใหม่มงุ่ หนา้ ไปภาคอสี าน และเดนิ ทางไปกราบ
นมัสการหลวงปู่ม่ันท่ีวัดบ้านหนองผือนาใน โดยพักค้างคืนหน่ึงคืน ระหว่างทาง
บำ� เพญ็ จติ บำ� เพญ็ ธรรมเพอื่ บชู าพระคณุ หลวงปมู นั่ ทา่ น ขณะทำ� ความเพยี รกร็ ำ� พงึ ในใจ
วา่ ปา่ นนห้ี ลวงปมู่ น่ั คงนง่ั ภาวนามองดตู บั ไตไสพ้ งุ ของพวกเราทะลปุ รโุ ปรง่ ไปหมดแลว้
กอ่ นทเี่ ราจะไปถงึ ทา่ น เครอื่ งในในตวั เราคงไมม่ อี ะไรเหลอื ทา่ นหลวงปมู่ น่ั คงขยขี้ ยำ�
ดว้ ยญาณท่านหมดแล้ว
เปน็ ทนี่ า่ อศั จรรยท์ เี่ ปน็ ความจรงิ ตามทคี่ ดิ ไว้ พอไปถงึ ทา่ นกเ็ ทศนากณั ฑใ์ หญ่
เลยว่า กลัวแต่คนอื่นจะเห็นตับไตไส้พุงของตัว แต่ตัวเองไม่สนใจดูตับไตไส้พุง
และจติ ใจของตวั วา่ มนั มอี ะไรอยขู่ า้ งในนนั้ มวั เพลนิ ดเู พลนิ ฝนั เพลนิ คดิ แตภ่ ายนอก
ไม่สนใจคิดเข้าภายในกายในจิตของตัวบ้าง จะหาความฉลาดรอบรู้มาจากไหน
นกั ปฏิบัตเิ รา ผู้ปฏิบตั เิ พอื่ รูห้ ลกั ความจรงิ ตอ้ งดตู ัวดใู จอนั เปน็ มหาเหตกุ ่อเร่อื งต่างๆ
มากกวา่ ดสู ง่ิ ภายนอกหรอื สงิ่ อนื่ ใด และแสดงวธิ รี กั ษาปฏบิ ตั ติ วั ปฏบิ ตั ใิ จ ดว้ ยความ
ระมดั ระวงั ในอริ ยิ าบถตา่ งๆ ดว้ ยความมสี ตแิ ละปญั ญา ระลกึ รไู้ ตรต่ รองในเหตกุ ารณ์
ทม่ี าเกย่ี วขอ้ งกบั ตนดว้ ยความไมป่ ระมาทและชนิ ชากบั สงิ่ ใดในแดนสมมตุ ซิ งึ่ ลว้ นเปน็
แดนแหง่ ทุกขแ์ ละความเกดิ -ตายของสัตวโ์ ลกทั้งมวล
เมื่อพักผ่อนฟังธรรมเครื่องร่ืนเริงจากหลวงปู่ม่ันพอสมควร จึงเข้ากราบลา
หลวงปู่ม่ันออกเท่ียววิเวกกรรมฐานแถวบริเวณใกล้เคียงหลวงปู่มั่นพักอยู่ เช่น
บา้ นโคกมะนาว บา้ นกดุ บาก อ.กดุ บาก จ.สกลนคร บำ� เพญ็ เพยี รอยแู่ ถวๆ นน้ั เปน็ เวลา
หลายเดอื น จงึ เรมิ่ พาพระเณรออกเดินทางกลับไปเยย่ี มบ้านเดิม
เมอื่ ทา่ นกลบั ไปถงึ ปติ ภุ มู ิ คอื สถานทเ่ี กดิ ทอี่ ยเู่ ดมิ ของทา่ น ประชาชน ญาตพิ น่ี อ้ ง
พอทราบว่าทา่ นกลับมาเยยี่ ม ตา่ งก็พากนั ดีใจราวกบั จะเหาะจะบินไปตามๆ กัน และ
พรอ้ มกนั อาราธนาใหท้ า่ นโปรดเมตตาจำ� พรรษาทน่ี นั้ ทา่ นกร็ บั นมิ นต์ และสรา้ งทพี่ กั ขน้ึ
47
จำ� พรรษาที่บา้ นบอ่ ชะเนง เปน็ บา้ นของทา่ นเองหน่ึงพรรษา พอออกพรรษาแล้วก็ลา
ญาตโิ ยมกลบั มาจงั หวดั สกลนครตามเดมิ และทอ่ งเทยี่ วไปตามอำ� เภอตา่ งๆ ทม่ี ปี า่ มเี ขา
เหมาะกบั การบำ� เพญ็ สมณธรรม เชน่ เทยี่ วตามชายเขาภพู าน ภเู หลก็ อ.สวา่ งแดนดนิ
เป็นต้น จำ� พรรษาท่บี ้านหนองหลวงบ้าง ท่ถี ้ำ� เป็ดบ้าง ท่บี า้ นหวายสะนอยบ้าง ท่บี ้าน
ชุมพลบา้ ง ในเขตอำ� เภอสวา่ งแดนดิน จ.สกลนคร ตามอัธยาศัย มพี ระเณรติดตาม
พอประมาณ เพราะท่านห้ามไม่ให้ติดตามไปมาก ไม่สะดวกแก่การพักบ�ำเพ็ญและ
การโคจรบณิ ฑบาต เนอ่ื งจากทา่ นชอบไปพกั ตามหมบู่ า้ นเลก็ ๆ ราว ๕-๖-๗ หลงั คาเรอื น
เทา่ นน้ั เพราะสะดวกแกส่ มณธรรม ไมว่ นุ่ วายดว้ ยฝงู ชนพระเณรเขา้ ๆ ออกๆ ดงั หมบู่ า้ น
และวดั ใหญๆ่ ท่ีเคยผา่ นมา
หลวงปู่ขาวท่านชอบรักษาไข้ด้วยธรรมโอสถตลอดมา คร้ังหนึ่งท่านพักอยู่
ภูเขาแถบจังหวัดสกลนครซึ่งเป็นที่ชุกชุมด้วยไข้มาลาเรีย หลังจากฉันเสร็จวันน้ัน
ก็เริ่มไข้จับสั่นข้ึนในทันทีทันใด ผ้าห่มกี่ผืนก็มีแต่หนักตัวเปล่าๆ หาความอบอุ่น
ไม่มเี ลย ท่านจึงสง่ั ใหง้ ดการบำ� บัดหนาวทางภายนอก จะบ�ำบัดทางภายในดว้ ยธรรม
ดังทเ่ี คยได้ผลมาแลว้ และส่งั ใหพ้ ระหลีกจากท่านไปใหห้ มด ใหร้ อจนกวา่ มองเห็น
บานประตูกระต๊อบกุฎีเล็กๆ เปิดเมื่อไรค่อยมาหาท่าน เม่ือพระไปกันหมดแล้ว
ทา่ นกเ็ รม่ิ ภาวนาพจิ ารณาทกุ ขเวทนาดงั ทเ่ี คยพจิ ารณามา ทราบวา่ เรม่ิ แตเ่ กา้ นาฬกิ าคอื
สามโมงเชา้ จนถงึ บา่ ยสามโมงจงึ ลงกนั ได้ ไขก้ ส็ รา่ งและหายไปแตบ่ ดั นนั้ จติ กร็ วมลง
ถงึ ฐานและพกั อยรู่ าวสองชวั่ โมงเศษจนรว่ มหกโมงเยน็ จงึ ออกจากทสี่ มาธภิ าวนาดว้ ย
ความเบากายเบาใจ ไมม่ อี ะไรมารบกวนอกี เลย ไขก้ ห็ ายขาด จติ กป็ ราดเปรอ่ื งลอื เลอื่ ง
ในองค์ท่าน และอยู่ด้วยวิหารธรรมเร่ือยมาจนปัจจุบัน ท่านเป็นพระที่อาจหาญ
เฉียบขาดทางความเพียรมาก ยากจะหาผู้เสมอได้องค์หนึ่ง แม้อายุจะก้าวเข้าวัย
ชราภาพแลว้ แตก่ ารท�ำความเพยี รยังเกง่ กลา้ สามารถเสมอมามิได้ลดละ เดนิ จงกรม
แตล่ ะครั้งตง้ั หา้ หกชว่ั โมงจึงหยดุ พัก แมแ้ ตพ่ ระหน่มุ ยงั สู้ทา่ นไม่ได้ นี่แลความเพยี ร
ของปราชญ์ ทา่ นตา่ งกบั พวกเราอยมู่ ากซงึ่ คอยแตจ่ ะควา้ หาหมอนเอาทา่ เดยี ว ประหนงึ่
หมอนเปน็ สงิ่ ประเสรฐิ เลศิ กวา่ มรรคผลนพิ พานเปน็ ไหนๆ คดิ ดแู ลว้ นา่ อบั อายตวั เอง
ที่เกง่ ในทางไม่เป็นสาระ
48
การจำ� พรรษา บางปที า่ นจำ� ทภ่ี เู ขาองคเ์ ดยี วโดยอาศยั ชาวไรเ่ พยี งสองสามครอบครวั
เป็นที่โคจรบิณฑบาต ท่านว่าเป็นความผาสุกเย็นใจอย่างยิ่งในชีวิตของนักบวชเพ่ือ
ปฏบิ ตั ธิ รรม วนั คนื หนงึ่ ๆ เตม็ ไปดว้ ยความเพยี ร ไมม่ ภี ารกจิ การใดๆ เปน็ เครอื่ งกงั วล
เวลาเป็นของตัว ความเพยี รเป็นของตัวทกุ ๆ อริ ิยาบถ จติ ใจกบั ธรรมเป็นของตัวใน
อิริยาบถทั้งปวง ไม่มีอะไรมาแบ่งสันปันส่วนพอให้เบาบางลงไปจากปกติเดิม
วันคืนเดือนปีของนักบวชผู้มีราตรีเดียวไม่ยุ่งเก่ียวกับอะไรน้ีเป็นส่ิงที่มีคุณค่ามาก
จนหาอะไรเทียบมิได้ ท่านวา่ ตอนทา่ นจำ� พรรษาองค์เดียวท่ีภเู ขาแหง่ หนง่ึ เขตจังหวดั
สกลนครกับกาฬสินธุ์ต่อกันซ่ึงอยู่ห่างจากหมู่บ้านราวสามสี่ร้อยเส้น ท่ีน่ันมีสัตว์ป่า
ชุกชุมมาก เช่น เสอื ชา้ ง กระทงิ ววั แดง อีเก้ง หมู กวางต่างๆ เวลากลางคนื
จะได้ยนิ เสียงสัตว์เหล่านี้ร้องกงั วานปา่ และเทยี่ วหากินมาใกลๆ้ บรเิ วณทท่ี า่ นพักอยู่
แทบทกุ คืน บางคร้ังแทบมองเหน็ ตวั มันเพราะมาใกลๆ้ ท่อี ย่ทู ่านมาก ทา่ นเองรู้สกึ
เพลดิ เพลินไปกับสัตวเ์ หล่าน้ีด้วยความเมตตาสงสารเขา
ปที า่ นเขา้ ไปจำ� พรรษาอยอู่ งคเ์ ดยี วในภเู ขาลกู นี้ แตจ่ ำ� ไมแ่ นว่ า่ เปน็ พ.ศ. เทา่ ไร
จ�ำได้แต่เพียงว่าท่านจ�ำพรรษาท่ีน่ันหลังจากท่านอาจารย์มั่นมรณภาพแล้วไม่นานนัก
ท่านว่าในพรรษานั้นเวลาท�ำสมาธิภาวนา ปรากฏว่าท่านอาจารย์มั่นมาเย่ียม และ
แสดงสมั โมทนยี ธรรมใหฟ้ งั เสมอตลอดพรรษา การทำ� ขอ้ วตั รในบรเิ วณทพี่ กั จำ� พรรษา
ตลอดการจดั บรขิ ารตา่ งๆ ไมถ่ กู ตอ้ งประการใด ทา่ นไดต้ กั เตอื นอยเู่ สมอ พรรษานนั้
จึงเป็นเหมือนอยู่กับองค์ท่านอาจารย์ม่ันตลอดเวลา ท่านมาแสดงประเพณีของ
พระธุดงค์ผ้มู งุ่ ต่อความหลดุ พน้ ให้ฟังว่าธุดงควตั รต่างๆ ควรรักษาใหถ้ กู ต้องตามที่
พระพทุ ธองคป์ ระทานไว้ อยา่ ใหเ้ คลอื่ นคลาด และยกธดุ งควตั รสมยั ทที่ า่ นพาหมคู่ ณะ
ปฏิบตั เิ วลามีชวี ิตอยู่ข้ึนแสดงซ้�ำอีก เพื่อความแนใ่ จว่าทผ่ี มพาหมคู่ ณะด�ำเนนิ ตลอด
วันส้นิ อายขุ องผม ก็เป็นธุดงควัตรทีแ่ น่ใจอยแู่ ล้วไม่มีสงสัยจงึ ควรเปน็ ทลี่ งใจ และ
ปฏบิ ตั ติ ามดว้ ยความเอาใจใส่ และอยา่ พงึ เขา้ ใจวา่ ศาสนาเปน็ สมบตั ขิ องพระพทุ ธเจา้
และเปน็ สมบตั ขิ องพระสาวกองคห์ นงึ่ องคใ์ ด แตเ่ ปน็ สมบตั ขิ องผรู้ กั ใครส่ นใจปฏบิ ตั ิ
ทุกๆ คนทมี่ งุ่ ประโยชนจ์ ากศาสนา พระพุทธเจ้า และพระสาวกทงั้ หลาย ท่านไมท่ รง
มีส่วนอะไรกับศาสนาที่ประทานไวส้ ำ� หรบั โลกเลย อยา่ ไปเขา้ ใจวา่ พระองคแ์ ละสาวก
49
ทัง้ หลายจะพลอยมีส่วนดแี ละมวั หมองไปดว้ ย จะปฏิบัติผดิ หรือถูกประการใดกเ็ ปน็
เรอื่ งของเราเปน็ รายๆ ไป มไิ ดเ้ กย่ี วกบั พระพทุ ธเจา้ และสาวกทงั้ หลาย ทา่ นมาปฏบิ ตั ิ
อยทู่ ีน่ ก่ี เ็ ป็นความมุ่งหมายของทา่ นโดยเฉพาะ การปฏบิ ัติผิดหรอื ถูกจงึ เป็นเร่อื งของ
ทา่ นเองโดยเฉพาะเชน่ กนั ฉะนนั้ จงทำ� ความระมดั ระวงั การปฏบิ ตั เิ พอื่ ความอยสู่ บาย
ในทิฏฐธรรม ทา่ นเองก็กำ� ลงั จะเปน็ อาจารยข์ องคนจำ� นวนมาก จงึ ควรทำ� กรุยหมาย
ท่ีถูกต้องดีงามไว้เพื่อเป็นสิริมงคลแก่กุลบุตรสุดท้ายภายหลัง ผู้ด�ำเนินตามจะไม่
ผิดหวัง ความเป็นอาจารย์คนนัน้ ส�ำคัญมาก จึงควรพิจารณาดว้ ยดี อาจารยผ์ ิดเพียง
คนเดยี วอาจพาใหค้ นอน่ื ๆ ผดิ ไปดว้ ยเปน็ จำ� นวนมากมาย อาจารยท์ ำ� ถกู เพยี งคนเดยี ว
ก็สามารถน�ำผู้อ่ืนให้ถูกด้วยไม่มีประมาณเช่นเดียวกัน ท่านควรพิจารณาเกี่ยวกับ
ความเป็นอาจารย์ของคนจ�ำนวนมากให้รอบคอบเพื่อคนอื่นจะมีทางเดินโดยสะดวก
ราบรน่ื ไม่ผดิ พลาด เพราะความยึดเราเป็นอาจารยส์ ง่ั สอน ค�ำว่า “อาจารย”์ ก็คือ
ผู้ฝึกสอนหรืออบรมกิริยาความเคล่ือนไหวที่แสดงออกแต่ละอาการควรให้ผู้อาศัย
ยึดเป็นหลักด�ำเนินได้ ไม่เป็นกิริยาที่แสดงออกจากความผิดพลาดเพราะขาดการ
พิจารณาไตร่ตรองก่อนแสดงออกมา พระพุทธเจ้าท่ีว่าทรงเป็นศาสดาสอนโลกน้ัน
มิได้เป็นศาสดาเพียงเวลาแสดงธรรมให้พุทธบริษัทฟังเท่านั้น แต่ทรงเป็นศาสดา
ของโลกอยู่ทุกอิริยาบถ ทรงสีหไสยาสน์คือนอนตะแคงข้างขวาก็ดี ประทับน่ังก็ดี
ประทับยนื กด็ ี เสด็จไปในท่ตี า่ งๆ แม้ท่ีสดุ เสด็จภายในวดั กด็ ี ลว้ นเปน็ ศาสดาประจ�ำ
พระอาการอยทู่ กุ ๆ อริ ยิ าบถ พระองคไ์ มท่ รงทำ� ใหผ้ ดิ พลาดจากความเปน็ ศาสดาเลย
ผมู้ สี ตปิ ญั ญาชอบวนิ จิ ฉยั ไตรต่ รองอยแู่ ลว้ ยอ่ มยดึ เปน็ คตติ วั อยา่ งเครอื่ งพรำ่� สอนตน
ไดท้ กุ ๆ พระอาการทที่ รงเคลอื่ นไหว อยา่ เขา้ ใจวา่ พระองคจ์ ะทรงปลอ่ ยปละมรรยาท
เหมอื นโลกท้ังหลายที่ชอบท�ำกิรยิ าต่างๆ จากคนๆ เดยี วในสถานทต่ี ่างๆ อยทู่ ห่ี นึง่
ประพฤติตวั อยา่ งหนึง่ ไปอยู่ท่หี นึง่ ประพฤตติ ัวอีกอยา่ งหนึง่ ไปอยูใ่ นที่อีกแหง่ หนึง่
แสดงกิริยาอาการอย่างหนึ่ง เป็นลักษณะเปรตผีทั้งเป็นคนดีทั้งเป็นคนช่ัวท่ัวทุกทิศ
ไม่มีประมาณให้พอยึดเป็นหลักได้ทั้งตัวเองและผู้อื่น ส่วนพระพุทธเจ้ามิได้เป็น
อย่างโลกดงั กล่าวมา แตท่ รงเปน็ ศาสดาอยทู่ ุกพระอริ ยิ าบถตลอดวนั นพิ พาน แต่ละ
พระอาการท่แี สดงออกทรงมศี าสดาประจ�ำมไิ ดบ้ กพรอ่ งเลย ใครจะยดึ เป็นสรณะคือ
50
หลักพ่ึงพิงเพ่ือด�ำเนินตามเมื่อไรก็ได้เมื่อนั้น โดยไม่เลือกว่าเป็นพระอิริยาบถหรือ
พระอาการใด จงึ สมพระนามวา่ เปน็ ศาสดาของโลกทงั้ สาม แมข้ ณะจะเสดจ็ นพิ พานกท็ รง
สีหไสยาสน์นิพพาน มิได้นอนท้ึงเนื้อท้ึงตัวกลัวความตายร่ายมนต์บ่นเพ้อไปต่างๆ
ดังท่ีโลกเป็นกันมาประจ�ำแผ่นดิน แต่ทรงสีหไสยาสน์นิพพาน ส่วนพระทัยก็ทรง
ทำ� หนา้ ทนี่ พิ พานอยา่ งองอาจกลา้ หาญ ราวกบั จะทรงพระชนมอ์ ยกู่ บั โลกตง้ั กปั ตงั้ กลั ป์
ความจริงคือทรงประกาศความเป็นศาสดาของโลกในวาระสุดท้ายด้วยการเข้าฌาน
และนิโรธสมาบัติ ทรงถอยเข้าถอยออกจนควรแก่กาลแล้วจึงเสด็จปรินิพพานไป
แบบศาสดาโดยสมบรู ณ์ ไมท่ รงเยอ่ื ใยกบั สงิ่ ใดๆ ในสามภพ นน่ั แล ศาสดาของโลก
ท้ังสามท่านทรงท�ำตัวอย่างเป็นแบบฉบับของโลกตลอดมาแต่ขณะตรัสรู้จนวันเสด็จ
ปรินิพพาน ไม่ทรงลดละพระอาการใดๆ จากความเป็นศาสดาให้เป็นกิริยาอย่าง
คนสามญั ธรรมดาท�ำกัน ทรงปฏิบตั ิหนา้ ทโ่ี ดยสมบรู ณจ์ นวาระสุดทา้ ย
จงึ ควรนอ้ มนำ� ตวั อยา่ งของศาสดามาปฏบิ ตั ดิ ำ� เนนิ แมไ้ มส่ มบรู ณต์ ามแบบศาสดา
ทกุ ๆ กระเบยี ด แตก่ ย็ งั อยใู่ นเกณฑข์ องลกู ศษิ ยท์ มี่ คี รสู งั่ สอนบา้ ง ไมเ่ ควง้ ควา้ งเหมอื น
เรือที่ลอยล�ำอยู่กลางทะเลซ่ึงมีพายุจัดไม่ได้ทอดสมอ การปฏิบัติของนักบวชท่ีไม่มี
หลักยึดอย่างถูกต้องตายตัวนั้น ย่อมไม่มีจุดหมายว่าจะถึงฝั่งแห่งความปลอดภัย
หรอื จะเป็นอันตรายด้วยภัยตา่ งๆ ไมม่ อี ะไรเป็นเครอื่ งตัดสินได้เช่นเดียวกบั เรอื ไมม่ ี
หางเสอื บงั คบั ยอ่ มไมส่ ามารถแลน่ ไปถงึ ทหี่ มายได้ และยงั อาจลอยไปตามกระแสนำ�้
และเปน็ อนั ตรายไดอ้ ยา่ งงา่ ยดาย ฉะนน้ั หลกั ธรรมวนิ ยั มธี ดุ งควตั รเปน็ ตน้ คอื หางเสอื
ของการปฏิบตั ิเพอ่ื ให้ถึงทีป่ ลอดภยั จงยดึ ใหม้ ัน่ คง อย่าโยกคลอนหวั่นไหว ผคู้ อย
ด�ำเนนิ ตามซงึ่ มีจ�ำนวนมากท่ยี ึดเราเปน็ เยยี่ งอย่างจะเหลวไหลไปตาม ธดุ งควตั รคือ
ปฏปิ ทาอนั ตรงแนว่ ไปสจู่ ดุ หมายโดยไมม่ ปี ฏปิ ทาใดเสมอเหมอื น ขอแตผ่ ปู้ ฏบิ ตั จิ งใช้
สตปิ ญั ญา ศรทั ธา ความเพยี รพยายามดำ� เนนิ ตามเถดิ ธรรมทมี่ งุ่ หวงั ยอ่ มอยใู่ นวสิ ยั
ของธดุ งค์ทป่ี ระทานไวจ้ ะพาใหเ้ ข้าถงึ อย่างไมม่ ีปญั หาแลอปุ สรรคกีดขวางได้ เพราะ
ธดุ งควตั รเปน็ ทางเดยี วทพี่ าใหพ้ น้ ทกุ ขไ์ มเ่ ปน็ อยา่ งอนื่ จงึ ไมค่ วรทำ� ความเคลอื บแคลง
สงสัย และธรรมนี้เป็นท่ีรวมปฏิปทาเคร่ืองด�ำเนินเข้าสู่ความดับทุกข์ทั้งหลายด้วย
พระท่ีมีความรักชอบในธุดงควัตรคือผู้มีความรักชอบและจงรักภักดีต่อพระศาสดา
51
ผเู้ ปน็ บรมครู พระผมู้ ธี ดุ งควตั รเปน็ เครอื่ งดำ� เนนิ คอื ผมู้ ฝี ง่ั มฝี ามศี าสดาเปน็ สรณะใน
อริ ยิ าบถทงั้ ปวง อยทู่ ใี่ ดไปทใ่ี ดมธี รรมคอยคมุ้ ครองรกั ษาแทนศาสดา ไมว่ า้ เหวเ่ รร่ อ่ น
คลอนแคลน มีหลักใจเป็นหลักธรรม มหี ลกั ธรรมเปน็ ดวงใจ หายใจเข้าหายใจออก
เปน็ ธรรม และกลมกลนื เปน็ อนั หนงึ่ อนั เดยี วกนั กบั ใจ ผนู้ คี้ อื ผมู้ รี าตรเี ดยี วอยกู่ บั ธรรม
ไม่หว่ันไหวเอนเอียง ส�ำหรับท่านเองไม่มีอะไรวิตกก็จริง แต่ผู้เก่ียวเนื่องกับท่านมี
มากมาย จงึ ควรเปน็ หว่ งหมคู่ ณะและประชาชนทค่ี อยเดนิ ตามหลงั บา้ ง เขาจะไดม้ คี วาม
อบอุ่นในปฏิปทาที่ยึดจากท่านไปเป็นเคร่ืองด�ำเนินว่าเป็นความถูกต้องแม่นย�ำ ไม่มี
ผดิ พลาดดังน้ี ทา่ นสอนผม
ทา่ นเลา่ วา่ เพยี งนอนตนื่ ผดิ เวลาบา้ งเลก็ นอ้ ย ทา่ นพระอาจารยม์ นั่ ยงั มาเตอื นวา่
อย่าเช่ือตัวเองยิ่งกว่าธรรม ตัวเองคือวัฏฏะ ธาตุขันธ์เป็นผลของวัฏฏะมาด้ังเดิม
ควรอนุโลมให้เขาเท่าที่อนุโลมได้ อย่าปล่อยตามขันธ์จนเกินไป ผิดวิสัยของพระ
ทเี่ ปน็ เพศไมน่ ง่ิ นอนใจ การหลบั นอนของนกั ปราชญ์ ทา่ นเพยี งเพอ่ื บรรเทาธาตขุ นั ธไ์ ป
ชว่ั ระยะเทา่ นนั้ ไมไ่ ดห้ วงั ความสขุ ความสำ� ราญอะไรจากการระงบั ความออ่ นเพลยี ทาง
ธาตขุ นั ธน์ น้ั เลย พระนอนตามแบบพระจรงิ ๆ ตอ้ งระวงั ตวั เพอ่ื จะตน่ื เหมอื นแมเ่ นอ้ื นอน
ซงึ่ มสี ตริ ะวงั ตวั ดกี วา่ ปกตเิ วลาเทย่ี วหากนิ คำ� วา่ จำ� วดั กค็ อื ความระวงั ตง้ั สตหิ มายใจ
จะลุกตามเวลาท่ีก�ำหนดไว้ตอนก่อนนอน มิได้นอนแบบขายทอดตลาดดังสินค้าท่ี
หมดราคาแลว้ ตามแต่ลกู ค้าจะให้ในราคาเท่าไรตามความชอบใจของตน พระท่ีนอน
ปลอ่ ยตวั ตามใจชอบ มใิ ชพ่ ระศากยบตุ รพทุ ธบรษิ ทั ผรู้ กั ษาศาสนาใหเ้ จรญิ ในตนและ
ผู้อ่ืน แต่เป็นพระประเภทขายทอดตลาดตามยถากรรมจะตีราคาเอาเอง การจ�ำวัด
ของพระท่ีมีศีลวัตรธรรมวัตรต้องมีก�ำหนดกฎเกณฑ์บังคับตัวในเวลาก่อนหลับและ
ระวงั ตวั อยตู่ ามวิสยั ของพระผ้กู ำ� ลงั จ�ำวดั คอื หลบั นอน พอรสู้ ึกตัวตอ้ งรีบลกุ ข้นึ ทันที
ไม่ซ�้ำซากอันเป็นลักษณะคนข้ีเกียจนอนต่ืนสายและตายจมอยู่ในความประมาทไม่มี
วนั รู้สกึ ตัว การนอนแบบนเี้ ปน็ ลัทธขิ องสตั ว์ตัวไมม่ คี วามหมายในชวี ิตของตัว และ
เป็นนิสัยของคนเกียจคร้านผลาญสมบัติไม่มีงอกเงยข้ึนมาได้ ไม่ใช่ทางของศาสนา
จงึ ไมค่ วรสง่ เสรมิ จะกลายเปน็ กาฝากขนึ้ มาในวงศาสนาและพระธดุ งคท์ งั้ หลายซง่ึ เปน็
เรอื่ งทำ� ลายตวั เอง ดงั กาฝากทำ� ลายตน้ ไมท้ มี่ นั อาศยั นนั่ แล ทา่ นควรขบคดิ คำ� วา่ จำ� วดั
52
กบั คำ� วา่ นอน ซง่ึ เปน็ คำ� ทวั่ ๆ ไปเทยี บกนั ดจู ะเหน็ วา่ ผดิ กนั และมคี วามหมายตา่ งกนั
อยมู่ าก ระหวา่ งคำ� วา่ จำ� วดั ของพระศากยบตุ ร กบั คำ� วา่ นอน ของคนและสตั วท์ ว่ั ไป
ดงั นน้ั ความรูส้ ึกของพระศากยบตุ รทจี่ ะปลงใจจ�ำวัดแตล่ ะคร้ังจงึ ควรมคี วามสำ� คญั
ตดิ ตวั ในขณะนนั้ และเวลาอน่ื ๆ จะสมชอ่ื วา่ ผปู้ ระคองสติ ผมู้ ปี ญั ญาคดิ อา่ นไตรต่ รอง
ในทกุ กรณี ไมส่ กั ว่าคิด สักว่าพดู สกั ว่าทำ� สักว่านอน สักวา่ ตน่ื สักว่าฉัน สกั ว่าอิ่ม
สกั วา่ ยนื สกั วา่ เดนิ สกั วา่ นงั่ สกั เปน็ อาการปลอ่ ยตวั เกนิ เพศเกนิ ภมู ขิ องพระศากยบตุ ร
ทไี่ มส่ มควรอยา่ งยง่ิ ในวงปฏบิ ตั โิ ดยมากมกั เขา้ ใจกนั วา่ พระพทุ ธเจา้ และสาวกอรหนั ต์
ทง้ั หลายนพิ พานไปแลว้ สาบสญู ไปแลว้ ไมม่ คี วามหมายอะไรเกย่ี วกบั ทา่ นและตนเอง
เสยี แล้ว กพ็ ระธรรมอันเป็นฝ่ายเหตทุ ี่สอนกันใหป้ ฏบิ ตั ิอยู่เวลาน้เี ปน็ ธรรมของท่าน
ผู้ใดขุดค้นขนมาให้โลกได้เห็นและได้ปฏิบัติตามเล่า? และพระธรรมตั้งตัวอยู่ได้
อยา่ งไร ทำ� ไมจึงไมส่ าบสูญไปดว้ ยเลา่ ? ความจริงพทุ ธะกับสังฆะกค็ อื ใจดวงบรสิ ุทธิ์
ทพ่ี น้ วสิ ยั แหง่ ความตายและความสาบสญู อยแู่ ลว้ โดยธรรมชาติ จะใหต้ ายใหส้ าบสญู
ใหห้ มดความหมายไปไดอ้ ยา่ งไร เมื่อธรรมชาตินัน้ มิไดเ้ ปน็ ไปกบั สมมุติ มิไดอ้ ยู่ใต้
อำ� นาจแหง่ ความตาย มไิ ด้อย่ใู ต้อ�ำนาจแห่งความสาบสญู มิได้อย่ใู ต้อ�ำนาจแห่งการ
หมดความหมายใดๆ พทุ ธะจงึ คอื พทุ ธะอยโู่ ดยดี ธมั มะจึงคอื ธมั มะอย่โู ดยดี และ
สังฆะจึงคือสังฆะอยู่โดยดี มิได้ส่ันสะเทือนไปกับความส�ำคัญใดๆ แห่งสมมุติที่
เสกสรรทำ� ลายใหเ้ ปน็ ไปตามอำ� นาจของตน ฉะนน้ั การปฏบิ ตั ดิ ว้ ยธมั มานธุ มั มะจงึ เปน็
เหมือนเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ อยู่ตลอดเวลาที่มีธัมมานุธัมมะ
ภายในใจ เพราะการรพู้ ทุ ธะ ธมั มะ สงั ฆะ โดยหลกั ธรรมชาติ จำ� ตอ้ งรขู้ น้ึ ทใ่ี จซง่ึ เปน็
ทีส่ ถติ แหง่ ธรรมอย่างเหมาะสมสดุ ส่วน ไมม่ ภี าชนะใดยงิ่ ไปกวา่ ดงั น้ี
นี้เป็นโอวาทท่ีท่านอาจารย์ม่ันมาเตือนท่านในสมาธิภาวนาในเวลาท่านเห็นว่า
หลวงปขู่ าวอาจทำ� อะไรผดิ พลาดไปบา้ ง เชน่ การปฏบิ ตั ธิ ดุ งควตั รไมถ่ กู ไมส่ นทิ กบั ธรรม
เปน็ บางขอ้ หรอื บางประการ และการจำ� วดั ตน่ื ผดิ เวลา ความจรงิ ทา่ นวา่ ทา่ นอาจารยม์ นั่
มิได้เตือนด้วยความมั่นใจว่าท่านท�ำผิดโดยถ่ายเดียว แต่ท่านเตือนโดยเห็นว่า
หลวงปขู่ าวจะมสี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั หมคู่ ณะทง้ั พระเณรและประชาชนจำ� นวนมากในวาระ
ต่อไป ทา่ นจึงเตือนไวเ้ พื่อหลวงปขู่ าวจะได้ตระหนักในข้อวัตรตา่ งๆ ต่อไปด้วยความ
53
เขม้ แขง็ เพอ่ื ถ่ายทอดแก่บรรดาประชาชนพระเณรทม่ี าอาศัยพ่ึงรม่ เงาจะไดข้ องดไี ป
ประดบั ตวั ดงั องคท์ า่ นอาจารยม์ นั่ เคยพาหมคู่ ณะดำ� เนนิ มาแลว้ ทา่ นวา่ การวางบรขิ าร
เชน่ บาตร กานำ้� สบง จวี ร หรือบรขิ ารอน่ื ๆ ท่ใี ช้ในส�ำนัก ต้องวางหรือเก็บให้เป็น
ระเบยี บเรยี บรอ้ ย เชน่ ผา้ เชด็ เทา้ เปน็ ตน้ ถา้ เหน็ ไมส่ ะอาดควรแกก่ ารใชส้ อย ตอ้ งเกบ็
ไปซกั ฟอกใหส้ ะอาดจงึ นำ� มาใชอ้ กี หลงั จากใชแ้ ลว้ ตอ้ งพบั เกบ็ ไวเ้ ปน็ ทเี่ ปน็ ฐาน ไมท่ งิ้
ระเกะระกะ ถา้ วนั ใดเกดิ เผลอขน้ึ มาเพราะธรุ ะอยา่ งอน่ื มาแทรก พอตกกลางคนื เวลา
ทำ� สมาธิภาวนาจะปรากฏเหน็ ทา่ นอาจารยม์ ่ันมาเตือนและแสดงธรรมให้ฟงั จนได้
ท่านพักอยู่ถ้�ำดังกล่าวในพรรษานั้นเพียงองค์เดียว กลางคืนจะปรากฏท่าน
อาจารยม์ น่ั มาเยยี่ มเสมอโดยทางนมิ ติ ภาวนา แมก้ ลางวนั เงยี บๆ เวลานงั่ ภาวนาในบางวนั
ยังเห็นท่านมาเย่ียมเช่นเดียวกับกลางคืน ท่านว่าท่านสนุกเรียนถามปัญหาต่างๆ
กบั ทา่ นจนเปน็ ทเ่ี ขา้ ใจแจม่ แจง้ เพราะทา่ นอธบิ ายแกป้ ญั หาไดค้ ลอ่ งแคลว่ วอ่ งไวมาก
และไดค้ วามชดั เจนหายสงสยั ทกุ ๆ ขอ้ ไป ปญั หาบางอยา่ งเพยี งแตร่ ำ� พงึ สงสยั ตามกำ� ลงั
โดยมิได้นึกถึงท่านเลย พอตกกลางคืนเข้าที่ภาวนา ท่านก็มาอธิบายให้ฟังเสียแล้ว
โดยยกขอ้ ทเี่ ราสงสยั ขน้ึ อธบิ ายใหเ้ ราฟงั ราวกบั ไดเ้ รยี นทา่ นไวแ้ ลว้ ทา่ นวา่ แปลกและ
อศั จรรยม์ าก แตพ่ ดู ใหใ้ ครฟงั ไมไ่ ด้ เดยี๋ วเขาหาวา่ เปน็ กรรมฐานบา้ แตธ่ รรมเครอ่ื งแก้
กเิ ลสชนดิ ตา่ งๆ โดยมากยอ่ มเกดิ จากทางสมาธภิ าวนาโดยลำ� พงั และเกดิ จากทางนมิ ติ
มีท่านอาจารย์ม่ันเป็นต้น มาเตือนให้อุบายและแสดงธรรมส่ังสอนโดยสม่�ำเสมอ
อนั เปน็ การสง่ เสรมิ สตปิ ญั ญาใหค้ ดิ อา่ นไตรต่ รองมใิ หป้ ระมาท ทา่ นวา่ พรรษาทจ่ี ำ� อยู่
ในถ�้ำแห่งดงหนาป่าเปล่ียวนี้ท�ำให้เกิดอุบายต่างๆ ท่ีแสดงข้ึนท้ังภายในภายนอก
มากมายตลอดเวลาทง้ั กลางวนั กลางคนื ผดิ ทที่ ง้ั หลายอยมู่ าก เปน็ ผมู้ รี าตรเี ดยี วดว้ ย
ความรนื่ เรงิ อยกู่ บั ธรรมในอริ ยิ าบถตา่ งๆ ยนื เดนิ นง่ั นอน เตม็ ไปดว้ ยธรรมปตี ริ ะหวา่ ง
สันติธรรมท่มี ีเป็นฐานเดิมประจ�ำความบริสทุ ธิ์ และธรรมประเภทต่างๆ ท่ีผา่ นเข้ามา
สัมผัสกบั ใจแลว้ แสดงความหมายไปในแงต่ า่ งๆ กนั ท�ำใหก้ ายและจิตชมุ่ ชน่ื รื่นเริง
เหมอื นตน้ ไมท้ ไี่ ดร้ บั การหลอ่ เลยี้ งดว้ ยปยุ๋ และนำ�้ มอี ากาศเปน็ ทเ่ี หมาะสมคอยชโลม
ใหล้ ำ� ตน้ กง่ิ กา้ นสาขาดอกใบของมนั สดชนื่ อยตู่ ลอดเวลา ฉะนน้ั ทา่ นวา่ คนเราเมอ่ื จติ
มรี าตรเี ดยี วกบั ธรรมความสงบรม่ เยน็ ไมว่ า้ วนุ่ ขนุ่ มวั มวั่ สมุ กบั สง่ิ ใดแลว้ กม็ คี วามสขุ
54
อยู่ในโลกแห่งขันธ์เราน้ีเอง ไม่จ�ำต้องด้ินรนหาความสุขในท่ีอ่ืนภพอื่นซ่ึงเป็นการ
วาดภาพหลอกตวั เองใหเ้ กดิ ความทะเยอทะยานเสรมิ ตณั หาสมทุ ยั อนั เปน็ เชอ้ื แหง่ ทกุ ข์
เข้ามาเผาลนตัวเองให้เกิดความทุกข์ล�ำบากไปเปล่าๆ เพราะความสุขท่ีรู้อยู่เห็นอยู่
เปน็ อยกู่ บั ใจนนั้ เปน็ ความสขุ ทพ่ี อกบั ตวั แลว้ โลกนที้ ง้ั โลกและโลกอนื่ ๆ ไมม่ ปี ระมาณ
ในสงสารราวกับไม่มีอยู่ ส่ิงที่มีและเด่นชัดประจักษ์ก็คือใจกับธรรมที่ปรากฏครอบ
โลกธาตุ ไมม่ ขี อบเขตเหตุผลพอจะนำ� มาเทียบมาวดั ได้ เพราะจิตกบั อัจฉรยิ ธรรมที่
ครองกันอยู่มิใชส่ มมุติ จึงไมเ่ ปน็ ฐานะจะนำ� มาเทียบกัน
พอออกพรรษาแล้ว คณะศรัทธาญาติโยมท่ีเคยอุปัฏฐากรักษาท่านก็พากันไป
อาราธนานิมนต์ท่านลงมา และอาราธนาท่านให้โปรดเมตตาส่ังสอนตามหมู่บ้าน
แถบอำ� เภอสวา่ งแดนดนิ จงั หวดั สกลนคร ทา่ นจำ� ตอ้ งลงมาทง้ั ทอี่ าลยั เสยี ดายสถานที่
แห่งนั้น ไม่คิดจะจากไปไหนง่ายๆ เมื่อลงมาอบรมส่ังสอนชาวบ้านพอสมควรแล้ว
ไดโ้ อกาส ทา่ นกอ็ อกเทย่ี วธดุ งคกรรมฐานไปตามอธั ยาศยั โดยขา้ มไปทางฝง่ั แมน่ ำ้� โขง
ของประเทศลาวบ้าง ข้ามมาฝั่งไทยเราบ้าง แล้วเท่ียวบ�ำเพ็ญอยู่แถบอ�ำเภอบึงกาฬ
อำ� เภอโพนพสิ ยั ซงึ่ มปี า่ มเี ขามาก ทนี่ นั้ เรยี กวา่ ดงหมอ้ ทอง และมที ำ� เลดเี หมาะกบั การ
บำ� เพ็ญอยหู่ ลายแหง่ มหี มู่บ้านทีไ่ ปต้งั ใหมอ่ ยู่ไม่กีห่ ลังคาเรือน เขาอาราธนาทา่ นให้
อยจู่ ำ� พรรษาเพอื่ โปรดเขา ซง่ึ เปน็ สถานทสี่ บกบั อธั ยาศยั ทา่ นจงึ ตกลงจำ� พรรษาทน่ี นั่
ตอนท่านพกั บ�ำเพญ็ ธรรมอยูใ่ นภเู ขาเขตอำ� เภอโพนพสิ ยั นัน้ ท่านวา่ ท่านเพลิดเพลิน
รนื่ เริงไปกับสตั ว์ป่าชนิดต่างๆ ด้วยความเมตตาเขามาก มไี กป่ า่ ไกฟ่ ้า นกนานาชนิด
มนี กเงอื ก นกยงู เป็นตน้ และเม่น อเี ห็น อีเก้ง หมู กวาง ลิง คา่ ง บา่ ง ชะนี
หมาป่า เสือโคร่ง เสอื ดาว ชา้ ง กระทงิ ววั แดง ซงึ่ แตล่ ะชนดิ มมี ากมายผดิ กับท่ี
ท้ังหลาย เท่ียวมาเป็นฝงู ๆ โขลงๆ ทง้ั กลางวันกลางคืนจะได้ยนิ เสยี งสตั ว์เหลา่ น้นั
ส่งเสียงร้องลั่นสนั่นป่าตามวาระของเขาอยู่เสมอ บางวันเวลาออกไปบิณฑบาต
ก็ยังพบเสือโคร่งใหญ่เดินฉากหน้าท่านไปอย่างสวยงามน่าดูโดยไม่ห่างไกลท่านเลย
ดว้ ยความองอาจและสงา่ ผา่ เผยตามนสิ ยั ของมนั ทา่ นวา่ ขณะทมี่ นั เดนิ ฉากหนา้ ทา่ นไป
ซงึ่ เป็นทโี่ ลง่ พอสมควร ดกู ารก้าวเดินของมนั ร้สู กึ สวยงามมาก ขณะท่ีพบกันทีแรก
มนั ชำ� เลอื งดทู า่ นนดิ เดยี วกเ็ ดนิ ตอ่ ไปโดยไมม่ องกลบั มาดทู า่ นอกี เลย ดลู กั ษณะทา่ ทาง
55
มันกไ็ มก่ ลัวท่านนกั แต่อาจระวังตัวอยภู่ ายในตามนิสัยของสัตวท์ ม่ี สี ตดิ แี ละมีความ
ระวังตวั ไม่ค่อยพลง้ั เผลอใหก้ ับอะไรง่ายๆ เฉพาะทา่ นเองกไ็ มน่ กึ กลวั มนั เพราะเคย
ได้เห็นมันมาบ้าง และเคยได้ยินเสียงมันอยู่เสมอจนชินชาไปเสียแล้วเวลาพักอยู่
ในที่ต่างๆ เรื่อยมา ซ่ึงโดยมากมักมีสัตว์พรรค์น้ีประจ�ำอยู่เสมอในที่บ�ำเพ็ญน้ันๆ
จึงไมน่ ึกกลวั
คนื วนั หนง่ึ ทา่ นกำ� ลงั นงั่ อบรมกรรมฐานแกพ่ ระทจ่ี ำ� พรรษาดว้ ยกนั ราวสามสอ่ี งค์
ทา่ นว่าไดย้ ินเสยี งนกั เลงโตสามตวั ลายพาดกลอนดังกระหึ่มๆ ขึ้นขา้ งๆ บริเวณที่พัก
แหง่ ละตวั จากนนั้ กไ็ ดย้ นิ เสยี งคำ� รามขเู่ ขญ็ กนั บา้ ง เสยี งกดั กนั บา้ ง แลว้ กเ็ งยี บหายไป
เด๋ียวกไ็ ดย้ นิ เสยี งขเู่ ข็ญและกดั กันข้นึ อีกข้างๆ ทีพ่ ักนนั่ แล ทีแรกได้ยนิ เสยี งมนั เล่น
และกดั กนั อยขู่ า้ งนอกบรเิ วณทพ่ี กั นกึ วา่ จะพากนั หนไี ปทอี่ น่ื หายเงยี บไปแลว้ เพราะ
เสยี งสงบเงยี บไปพกั หนงึ่ แตท่ ไี่ หนไดจ้ ากการหายเงยี บไปไดพ้ กั หนง่ึ เทา่ นน้ั ประมาณ
สามทมุ่ กช็ กั ชวนกนั เขา้ มาอยใู่ ตถ้ นุ บรรณศาลาเลก็ ๆ ทพ่ี ระกำ� ลงั นงั่ สมาธฟิ งั การอบรม
ธรรมอยู่ ซึ่งสูงประมาณเมตรกว่านิดหน่อยเท่าน้ัน และส่งเสียงกระหึ่มค�ำรามและ
กัดกนั อยู่ใต้ถนุ ศาลาเล็กๆ นั้น จนทา่ นตอ้ งตะโกนบอกว่า เฮ้ย สามสหายอย่าพากนั
สง่ เสียงอื้ออึงนกั ซิ พระท่านก�ำลังเทศนแ์ ละฟงั ธรรมกนั เดยี๋ วเปน็ บาปตกนรกหลุม
ฉิบหายกันหมดนะ จะวา่ ไม่บอก เพราะที่นไี่ มใ่ ช่ทีเ่ อด็ ตะโรโฮเฮกันน่นี า จงพากนั ไป
เทย่ี วรอ้ งครางทอี่ น่ื ทน่ี เ่ี ปน็ วดั ของพระทท่ี า่ นชอบความสงบ ไมเ่ หมอื นพวกแก ไปเสยี
พากันไปร้องท่ีอ่ืนตามสบาย ไม่มีใครไปยุ่งกับพวกแกหรอก ท่ีน่ีเป็นที่พระท่านอยู่
บำ� เพญ็ ธรรม ทา่ นจงึ หา้ มไมใ่ หพ้ วกแกสง่ เสยี งออื้ องึ นกั พอไดย้ นิ เสยี งพระทา่ นรอ้ งบอก
ก็พากันสงบอารมณ์ไปพักหนึ่ง แต่ยังพอได้ยินเสียงเก้ียวพาราสีกันซุบซิบอู๋อ๋ีเบาๆ
อยู่ใต้ถุนศาลา อันเป็นลักษณะบอกกันว่าพวกเราอย่าส่งเสียงดังกันนักซิ พระท่าน
รำ� คาญและรอ้ งบอกมานน่ั ไงละ่ ทำ� เสยี งเบาๆ หนอ่ ยเถอะเพอื่ น เดยี๋ วเปน็ บาปขกี้ ลาก
ข้นึ หัวนะ แล้วก็หยดุ ไปพกั หนง่ึ ต่อไปก็มเี สียงครวญครางและกัดกนั ขน้ึ อีก ไมย่ อม
หนไี ปทอ่ี นื่ ตามคำ� ทา่ นบอก และพากนั เหมาใตถ้ นุ บรรณศาลาเปน็ ทเี่ ลน่ สนกุ กนั ตงั้ แต่
หวั คำ่� จนสองยาม พระทน่ี ง่ั ทำ� สมาธภิ าวนากนั บนศาลา หลงั จากฟงั การอบรมธรรมแลว้
ก็ท�ำด้วยความไม่สนิทใจ เพราะกลัวเสือจะพากันโดดข้ึนมาภาวนาด้วย เน่ืองจาก
56
ขณะนั้นเสือโคร่งใหญ่สามตัวก็ยังส่งเสียงขู่เข็ญค�ำรามและกัดกันอยู่ใต้ถุนศาลา
นนั้ ดว้ ย จนถงึ หกทมุ่ จงึ เลกิ จากกนั ไป พระกล็ งไปทพี่ กั ของตน เสอื กเ็ ขา้ ปา่ ไป คนื นนั้
เปน็ ความประหลาดเป็นพเิ ศษนับแต่เท่ยี วธุดงคกรรมฐานมาหลายปีและเคยเทยี่ วไป
สถานทต่ี า่ งๆ หลายแหง่ หนตำ� บลหมบู่ า้ นและปา่ เขาตา่ งๆ มากตอ่ มาก แตไ่ มเ่ คยมสี ตั ว์
เสือมาตีสนิทมิตรรักกับพระราวกับเคยเป็นเพื่อนสนิทมิตรสหายผู้ฝากเป็นฝากตาย
กนั มานาน เพงิ่ มาพบในคนื วนั นน้ั เอง ตามปกติ เสอื เปน็ สตั วก์ ลวั คนตามสญั ชาตญาณ
แมจ้ ะเปน็ สตั วท์ มี่ อี ำ� นาจทำ� ใหค้ นขยาดครน่ั ครา้ มอยบู่ า้ งกวา่ สตั วอ์ น่ื ๆ แตเ่ สอื ยอ่ มกลวั
และหลบซ่อนคนมากกวา่ คนจะกลัวเสอื และหาท่หี ลบซอ่ น แตเ่ สือสามตัวนนี้ อกจาก
ไมก่ ลวั คนแลว้ ยงั พากนั มาแอบยดึ เอาใตถ้ นุ ศาลาหลงั เลก็ ทพี่ ระยงั ชมุ นมุ กนั อยขู่ า้ งบน
เป็นที่เล่นสนุกโดยไม่คิดกลัวพระซึ่งเป็นคนเหมือนมนุษย์ทั้งหลายเลย จึงเป็นเรื่อง
อศั จรรยท์ ส่ี ตั วไ์ มเ่ คยรเู้ รอ่ื งกบั ศลี ธรรมเหมอื นมนษุ ยท์ ง้ั หลาย แตก่ ริ ยิ าทเ่ี ขามาตสี นทิ สนม
กบั พระน้ัน ราวกับเขาก็เปน็ ผู้หนงึ่ ทท่ี ราบศลี ธรรมดีและปฏบิ ตั ศิ ลี ธรรมเช่นเดียวกบั
มนุษย์ท้ังหลายด้วย จึงไม่แสดงท่าทางให้พระท่านกลัว นอกจากเขาแสดงต่อ
พวกเขาเอง ซง่ึ กท็ ราบกริ ยิ าทา่ ทางของกนั และกนั อยแู่ ลว้ ทา่ นวา่ ฟงั ทา่ นเลา่ แลว้ ขนลกุ
กลวั บา้ อยคู่ นเดยี ว ทง้ั ทเี่ รอื่ งกผ็ า่ นไปนานแลว้ เรอ่ื งของคนไมเ่ ปน็ ทา่ กเ็ ปน็ อยา่ งนเี้ อง
แมท้ า่ นแสดงเรอ่ื งตา่ งๆ อนั เปน็ คตธิ รรมใหฟ้ งั กต็ าม แตค่ นไมเ่ ปน็ ทา่ ยอ่ มไมย่ อมฟงั
เพื่อยึดเป็นคติได้เลย แต่จะดันไปเฉพาะเส้นทางสายไม่เป็นท่าของตนนั่นแล
ดังผู้เขียนแสดงความกลัวท่ีน่าอับอายต่อหน้าท่านในเวลาฟังค�ำบอกเล่าน่ันแล
นอกจากน้ันยังมาประกาศขายความข้ีขลาดของตัวในหนังสือให้ท่านผู้อ่านหัวเราะ
เขา้ อกี ซ่ึงนับวา่ เลวพอใช้ อ่านแล้วกรุณาระวงั อยา่ ให้เรอ่ื งทำ� นองนี้แทรกสงิ เขา้ ไปสู่
จติ ใจได้ จะกลายเปน็ คนข้ขี ลาดไมเ่ ปน็ ท่าไปอกี หลายคน
ท่านเล่าว่า คืนวันนั้นพระท่ีน่ังฟังการอบรมและท�ำสมาธิภาวนาต่อไปหลังจาก
การอบรมแล้ว ต่างมีความตื่นเต้นตกใจและตาต้ังหูกางไปตามๆ กันท่ีได้ยิน
อาจารย์ใหญ่ทั้งสามตัวมาให้การอบรมช่วยท่านอาจารย์อยู่ที่ใต้ถุนในลักษณะ
แผลงฤทธ์ิเจือกับความสนุกของเขา ท�ำเอาพระน่ังภาวนากลัวตัวแข็งไปตามๆ กัน
จติ ไม่อาจส่งไปนอกลู่นอกทางได้ เพราะกลัวอาจารย์ใหญท่ ้งั สามจะพากันโดดขึ้นมา
57
ให้โอวาทบนศาลาเล็กด้วยท่าทางต่างๆ แต่ก็ดีและน่าชมสัตว์สามตัวท่ีไม่แสดง
โลดโผนเกนิ กวา่ เหตุ อตุ รโิ ดดขน้ึ บนศาลาในเวลานนั้ ยงั รจู้ กั ฐานะของตวั ของทา่ นบา้ ง
ไม่ก้าวก่ายหน้าท่ีอันควรแก่ภาวะของตน แสดงเพียงเบาะๆ พอหอมปากหอมคอ
แลว้ ก็เลกิ รากนั ไป นบั แต่วนั นน้ั ผ่านไปแลว้ กไ็ มเ่ ห็นเขากลับมาอีกเลย ส่วนสถานที่
และบรเิ วณทพี่ ระอาศัยอย่นู ั้น ก็คือท�ำเลเท่ียวของสตั วจ์ ำ� พวกนแ้ี ละสตั ว์อ่ืนๆ เราดีๆ
นีเ่ อง ไมเ่ วน้ แต่ละคืนต้องมีจ�ำพวกใดจำ� พวกหนงึ่ เข้ามาจนได้ เพราะท่ีนั้นเป็นทอ่ี ยู่
อาศยั ของสตั วป์ ่าทุกจ�ำพวก เน่อื งจากป่าและเขาแถบน้นั กว้างขวางมาก คนเดนิ ผ่าน
เป็นวันๆ ก็ไม่พ้นสัตว์ชนิดต่างๆ ดังที่เขียนผ่านมาจึงมีมาก พวกช้างเป็นโขลงๆ
หมูป่าเป็นฝูงๆ ซึ่งแต่ละโขลงและฝูงมีจ�ำนวนมากมายและไม่สู้จะกลัวผู้คนมากนัก
ปที า่ นจำ� พรรษาทน่ี น่ั อบุ ายตา่ งๆ เกดิ ขน้ึ โดยสมำ�่ เสมอ และตอ้ งคอยเตอื นพระเสมอ
ไมใ่ หป้ ระมาทในการรกั ษาธดุ งควตั ร เพราะอยใู่ นทา่ มกลางสง่ิ ทค่ี วรระวงั หลายอยา่ ง
ตา่ งๆ กนั โดยอาศยั ธดุ งควตั รเปน็ เสน้ ชวี ติ จติ ใจ มธี รรมวนิ ยั เปน็ ทฝ่ี ากเปน็ ฝากตาย
ใจจงึ อยเู่ ปน็ สขุ ไมห่ วาดเสยี วสะดงุ้ กลวั ตา่ งๆ การขบฉนั กน็ อ้ ยเพยี งเยยี วยาธาตขุ นั ธ์
ไปวนั ๆ เทา่ นนั้ เพราะศรทั ธาญาตโิ ยมมนี อ้ ยและเปน็ บา้ นเพงิ่ ตงั้ ใหมม่ ไี มก่ ห่ี ลงั คาเรอื น
ยงั ไมเ่ ปน็ หลกั ฐานมน่ั คง และเปน็ ความมงุ่ หมายของทา่ นผหู้ นกั แนน่ ในธรรมะจงึ พงึ
ฝกึ ฝนอดทนเพอ่ื ธรรมความอยสู่ บายทางภายใน จงึ ไมก่ งั วลทอี่ ยอู่ าศยั อาหารบณิ ฑบาต
ใหม้ ากไปอนั จะเปน็ อปุ สรรคตอ่ ความเพยี ร ยาแกไ้ ขก้ ถ็ อื ความอดทนตอ่ สดู้ ว้ ยความ
เพียรทางสมาธิภาวนา โดยถือเอาสัตว์ป่าชนิดต่างๆ เป็นเพ่ือน และสักขีพยานว่า
เขากม็ ไิ ดเ้ กดิ มากบั หยกู ยาชนดิ ตา่ งๆ และคลอดทโ่ี รงพยาบาล มหี มอและนางพยาบาล
คอยรักษาผดุงครรภ์ แต่เขายังเป็นสัตว์ชนิดต่างๆ สืบต่อกันมาได้เต็มป่าเต็มเขา
โดยไม่แสดงความโศกเศร้าเสียใจว่าตนขาดการบ�ำรุงรักษาด้วยหมอด้วยยาและ
นางพยาบาล ตลอดเครื่องบ�ำรุงต่างๆ ส่วนพระเป็นมนุษยชาติและเป็นศากยบุตร
พทุ ธชาตศิ าสดาองคล์ อื พระนามสะเทอื นทว่ั ไตรภพวา่ เปน็ ผทู้ รงเรยี นจบคมั ภรี ไ์ ตรภมู ิ
ดว้ ยพระขนั ติ วริ ยิ ะ พระปญั ญาปรชี าสามารถในทกุ ทาง ไมม่ คี ำ� วา่ จนตรอก ออ่ นแอ
ทอ้ ถอย แตพ่ ระเราจะมาถอยหลงั หลงั่ นำ�้ ตาเพราะความทกุ ขล์ ำ� บากเพยี งการเจบ็ ไขไ้ ดป้ ว่ ย
อนั เป็นของธรรมดาแหง่ ขนั ธเ์ ท่านี้ กต็ อ้ งเป็นผู้ขาดทุนล่มจม จะนำ� ตนและศาสนาไป
ไมต่ ลอด นอกจากตอ้ งเปน็ ผูอ้ าจหาญอดทนตอ่ สภาพความมีความเป็นความสัมผสั
58
ท้ังหลายด้วยสติปัญญาหยั่งทราบไปตามเหตุการณ์ท่ีมาเก่ียวข้องเท่านั้น ไม่มีทาง
เพ่ือเอาตัวรอดหวังจอดในท่ีปลอดภัยได้ จิตเม่ือได้รับการอบรมในทางท่ีถูกย่อมมี
ความรื่นเรงิ ในธรรมพอใจประคองตนไปตามวถิ แี หง่ มรรคและผล ไมม่ ีการปลีกแวะ
ไมส่ รา้ งความอับจนไวท้ บั ถมตวั เอง ปฏปิ ทาก็สม่�ำเสมอ ไมท่ อ้ ถอยน้อยใจวา่ ตนขาด
ที่พ่ึงทั้งภายนอกภายใน มีใจกับธรรมเป็นเครื่องชโลมหล่อเล้ียงให้เกิดความอบอุ่น
เย็นใจ อยู่ที่ใดไปที่ใดก็เป็นสุคโตแบบลูกศิษย์ตถาคต ไม่แสดงความอดอยาก
ขาดแคลนในทางใจ พระธุดงคกรรมฐานที่มุ่งต่อธรรม ท่านไปและอยู่โดยอาการ
อยา่ งนี้ ทา่ นจงึ อยไู่ ดไ้ ปได้ ยอมอดยอมทนความลำ� บากหวิ โหยไดอ้ ยา่ งสบายหายหว่ ง
กับสิง่ ทัง้ ปวง มธี รรมเปน็ อารมณข์ องใจ
เรื่องสัตว์ต่างๆ ท่ชี อบมาอาศยั พระ ท่านผอู้ า่ นกรุณาคิดว่าจะเปน็ ความจริงได้
เพยี งไรบา้ ง แตก่ อ่ นคดิ เรอื่ งสตั วป์ า่ กรณุ าคดิ เรอ่ื งสตั วบ์ า้ นกอ่ นทชี่ อบเขา้ ไปอาศยั อยู่
ในบ้านของท่านผู้มีเมตตาจิตและเข้าไปอาศัยวัดพออยู่รอดปลอดภัยไปในวันหน่ึงๆ
สุนัขและนก เป็นต้น ท่ีชอบเข้าไปอาศัยวัดบางวัดจนแทบไม่มีที่และต้นไม้ให้สัตว์
เหล่าน้ีอาศัย เพราะมีมามากด้วยกัน อันดับต่อไปค่อยคิดไปถึงสัตว์ป่าชนิดต่างๆ
ท่ีมักเข้าไปเที่ยวป้วนเปี้ยนและอาศัยอยู่ตามสถานที่และวัดที่พระธุดงค์ท่านพักอยู่
ดงั ทเี่ ขยี นผา่ นมามากพอดู ทงั้ ประวตั ทิ า่ นอาจารยม์ นั่ และปฏปิ ทาพระธดุ งคส์ ายของ
ท่านอาจารยม์ นั่ ซ่งึ มเี รื่องสตั วม์ าอาศยั พระลงแฝงมาเสมอๆ ตามประสบการณท์ ไี่ ด้
รบั ทราบมาเปน็ ความจรงิ จงึ เปน็ เรอ่ื งนา่ คดิ ในแงธ่ รรมอนั เปน็ หลกั ธรรมชาตใิ หค้ วาม
รม่ เย็นและเปน็ ธรรมแก่สัตวโ์ ลกทกุ ชาติทกุ ภาษา โดยทสี่ ตั วท์ ุกๆ จ�ำพวกไม่จ�ำเปน็
ตอ้ งทราบวา่ ธรรมคอื อะไรกต็ าม แตส่ งิ่ ทแ่ี สดงออกใหส้ ตั วย์ นิ ดรี บั กนั ทวั่ โลกไมม่ ใี คร
รงั เกยี จนัน้ คือธรรมโดยธรรมชาติ ธรรมนนั้ แสดงอาการความสงบสุข ความรม่ เยน็
ความไวว้ างใจ ความมีแก่ใจ ความเมตตา ความเอน็ ดูสงสาร ความมาเถิดอยูเ่ ถดิ
ไมเ่ ปน็ ภยั แนน่ อน เปน็ ตน้ การแสดงออกแหง่ กระแสธรรมเพยี งเทา่ น้ี สตั วท์ กุ จำ� พวกชอบ
และยอมรบั กนั ทนั ทโี ดยไมต่ อ้ งมโี รงเรยี นไวส้ อนเขาเลย เพราะจติ ใจกบั กระแสธรรม
เป็นของคู่ควรกันย่ิงกว่าอ�ำนาจราชศักด์ิใดๆ ซ่ึงเป็นสิ่งปรุงแต่งและเสริมกันขึ้น
ยอ่ มสลายไปตามเหตกุ ารณไ์ มแ่ นน่ อน ดงั นนั้ สตั วแ์ มจ้ ะไมเ่ คยทราบวา่ ธรรมะคอื อะไร
59
ก็ตาม แต่ส่ิงท่ีชอบและยอมรับโดยธรรมชาติสัตว์ย่อมแสวงหาเอง ดังสุนัขเข้าไป
อาศยั วดั สตั วป์ า่ เขา้ ไปอาศยั พระธดุ งค์ เพราะธรรมคอื ความเยน็ ความไวว้ างใจ เปน็ ตน้
ท่ีสัตว์เข้าใจว่ามีอยู่ในที่น้ัน จึงเสาะแสวงหาไปตามประสา แม้แต่ผู้ไม่เคยสนใจ
กับธรรมเลยยังรู้จักสถานที่ท่ีไม่มีภัยและชอบไปเที่ยวสนุกเฮฮาในที่เช่นน้ันแต่
โบราณกาลมาถงึ ปัจจุบนั เพราะไปท�ำที่อ่ืนไม่ปลอดภัยเหมือนทเ่ี ช่นน้นั เพยี งเทา่ น้ี
ก็พอทราบไดว้ ่า ธรรมและสถานทผ่ี ู้บ�ำเพ็ญธรรมเป็นท่ไี ว้ใจแก่สตั วแ์ ละมนษุ ยท์ ว่ั ไป
จึงไม่ค่อยระแวงระวังกัน และบางรายบางพวกไม่ระวังเสียจนปล่อยตัวเลยเถิด
โดยไม่คิดถึงหัวใจมนุษย์ด้วยกันและพระศาสนาซ่ึงเป็นสมบัติของประเทศบ้างเลย
แมผ้ ปู้ ฏบิ ัติธรรมเหล่านนั้ ก็ยอ่ มทราบความดี ความชว่ั คนดี คนช่ัว สตั วด์ ี สัตว์ชว่ั
ได้เช่นมนุษย์ทั่วไป จงึ ควรคดิ และเหน็ ใจผอู้ ื่นที่รกั สงวนสมบตั ขิ องตนบ้าง ไม่ปลอ่ ย
รอ้ ยเปอรเ์ ซนตไ์ ปเสยี ทเี ดยี วในทท่ี กุ สถาน ยงั จะพอมเี ขตแดนแหง่ มนษุ ยแ์ ละสตั วเ์ ปน็
ที่อยู่อาศัยคนละวรรคละตอนบ้าง ไม่คละเคล้ากันไปเสียหมดจนไม่อาจทราบได้ว่า
ใครเปน็ ใคร เพราะอะไรๆ ก็แบบเดยี วกนั เสียสิน้
หลวงปขู่ าวชอบเท่ียวหาท่วี ิเวกและเปลีย่ นทท่ี ำ� ความเพยี รอยเู่ สมอ ปกตกิ ช็ อบ
เที่ยวธุดงค์ไปตามป่าตามเขาอยู่แล้ว แล้วยังชอบเท่ียวเปลี่ยนที่ท�ำความเพียรอยู่
เรอ่ื ยๆ เชน่ ไปพกั อยทู่ นี่ นั่ เปน็ ปกตแิ ลว้ แตเ่ วลาเชา้ ไปทำ� ความเพยี รกลบั ไปอยทู่ หี่ นง่ึ
ตอนบา่ ยๆ หรอื เยน็ ก็เปล่ียนไปทำ� อกี แหง่ หนึ่ง กลางคนื กเ็ ทย่ี วไปทำ� ความเพียรอยู่
อกี แหง่ หนงึ่ ในแถบทท่ี า่ นพกั อยนู่ น่ั แล เปลยี่ นทศิ ทางบา้ ง ไปใกลบ้ า้ ง ไกลบา้ ง ไปอยู่
ในถำ�้ อื่นจากถ้�ำเดมิ บ้าง ขึ้นไปอยบู่ นหลังเขาบ้าง ตามหินดานบ้าง ดกึ ๆ จงึ กลบั มา
ที่พัก ท่านให้เหตุผลส�ำหรับนิสัยท่านว่า เวลาก�ำลังชุลมุนวุ่นวายกับการแก้กิเลส
การเปลีย่ นอุบายตา่ งๆ เชน่ นั้น ปัญญามักเกดิ ขน้ึ เสมอ กิเลสต้ังตวั ไม่ตดิ เพราะถกู
อุบายของสติปญั ญาตีต้อนในท่าตา่ งๆ ให้หลดุ ลอยไปเป็นพกั ๆ ถ้าอยใู่ นทแี่ ห่งเดยี ว
ทำ� ใหช้ นิ ตอ่ สถานท่ี แตก่ เิ ลสมไิ ดช้ นิ กบั เรา มนั สงั่ สมตวั ขน้ึ เสมอไมว่ า่ เราจะขน้ึ กบั อะไร
หรอื ไมก่ ต็ าม เราจำ� ตอ้ งพลกิ แพลงเปลยี่ นแปลงอบุ ายและสถานทเ่ี พอื่ ปลกุ สตปิ ญั ญา
อยู่เสมอให้ทันกับกลมายาของกิเลสท่ีปักหลักส่ังสมตัวเองและต่อสู้กับเราไม่มีเวลา
พกั ผอ่ นตวั ตลอดเวลา ถา้ เวน้ บา้ งกเ็ พยี งเวลาหลบั สนทิ เทา่ นน้ั นอกนน้ั เปน็ เวลาทำ� งาน
60
ของมนั เสยี สนิ้ ดงั นน้ั การทำ� ความเพยี รจะลดหยอ่ นออ่ นขอ้ และผดั เพย้ี นเลอ่ื นเวลาอยู่
จงึ ทำ� ใหก้ เิ ลสตวั ขยนั หวั เราะเอา การเปลยี่ นสถานทแ่ี ละอบุ ายอยเู่ สมอจงึ พอมองเหน็
ความแพ้ความชนะกับกิเลสบ้าง ไม่ปล่อยให้มันรับเหมาเป็นเจ้าของแต่ผู้เดียวดังน้ี
เหตผุ ลของทา่ นกน็ า่ ฟงั และเปน็ คตไิ ดด้ สี ำ� หรบั ผไู้ มน่ อนใจใหก้ เิ ลสขนึ้ เหยยี บยำ�่ ทำ� ลาย
เอาทกุ ๆ กรณที จี่ ติ ไหวตัว ทา่ นชอบเทย่ี วไปทางภสู ิงห์ ภวู วั ภลู งั กา และดงหมอ้ ทอง
เขตอำ� เภอเซกา อำ� เภอโพนพสิ ยั อำ� เภอบงึ กาฬ จงั หวดั หนองคาย และอำ� เภอบา้ นแพง
จงั หวดั นครพนม แถบนน้ั มเี ขามาก เชน่ ภสู งิ ห์ ภวู วั และภลู งั กา ซง่ึ ลว้ นเปน็ ทำ� เลดๆี
เหมาะแกก่ ารบำ� เพญ็ ธรรมอยา่ งยงิ่ แตห่ า่ งไกลหมบู่ า้ นมาก บณิ ฑบาตไมถ่ งึ ตอ้ งมคี น
ผลัดเปลี่ยนกันขนส่งอาหาร ที่ดังกล่าวเหล่าน้ีเป็นที่ชุมนุมของสัตว์ป่านานาชนิด
มเี สอื ช้าง กระทิง ววั แดง เปน็ ต้น พอตกบา่ ยๆ และเย็น จะไดย้ ินเสยี งสตั วเ์ หลา่ นี้
ร้องสนั่นหวั่นไหวไปท่ัวทั้งป่า ผู้ไม่สละตายจริงๆ ยากจะอยู่ได้ เพราะเสือชุมมาก
เปน็ พเิ ศษและไมค่ อ่ ยกลวั คนดว้ ย บางคนื พระทา่ นเดนิ จงกรมทำ� ความเพยี รไปมาอยู่
มันยังแอบมาหมอบดูท่านได้โดยไม่กลัวท่านเลย แต่ไม่ท�ำอะไร มันอาจสงสัยแล้ว
แอบด้อมเขา้ มาดกู ็ได้ พอท่านได้ยินเสียงผดิ สังเกต นกึ ประหลาดใจสอ่ งไฟฉายไปดู
ยงั เหน็ เสอื โครง่ ใหญโ่ ดดออกไปตอ่ หนา้ ตอ่ ตากย็ งั มี แมเ้ ชน่ นน้ั ทา่ นกย็ งั เดินจงกรม
ท�ำความเพียรต่อไปได้ ไม่คิดกลัวว่าเสือจะโดดมาคาบเอาไปกินเลย ท้ังน้ีเพราะ
ความเชื่อธรรมมากกว่าความกลัวเสือ จึงพออดทนทำ� ความเพียรต่อไปได้ บางวัน
พอตกเย็น พระท่านก็ขึ้นบนไหล่เขาแล้วมองลงไปดูโขลงช้างใหญ่ซ่ึงก�ำลังพากัน
ออกเที่ยวตามหินดานอันกว้างยาวเป็นกิโลๆ สามารถมองเห็นช้างท้ังโขลงได้อย่าง
ชดั เจน ท้ังตัวเล็กๆ และตัวใหญ่ซึง่ กำ� ลงั เริ่มจะพากันออกเทยี่ วหากนิ ทา่ นวา่ เวลาดู
ชา้ งทงั้ โขลงใหญๆ่ ทก่ี ำ� ลงั หยอกเลน่ กนั อยา่ งเพลดิ เพลนิ เชน่ นนั้ ทำ� ใหเ้ พลนิ ดมู นั จนคำ่�
ไมร่ ู้ตัวก็มี เพราะสตั วพ์ รรค์น้ีชอบหยอกเลน่ กันเหมอื นมนุษย์เราน่เี อง
หลวงปขู่ าวทา่ นมคี วามเดด็ เดยี่ วมากดงั ทเ่ี ขยี นผา่ นมาแลว้ การนงั่ ภาวนาตลอดสวา่ ง
ท่านท�ำได้อย่างสบาย ไม่มีอะไรเป็นอุปสรรค ก็การนั่งภาวนาแต่หัวค่�ำยันสว่างนั้น
มิใช่เป็นงานเล็กน้อย ถ้าไม่เป็นผู้มีใจกล้าหาญกัดเหล็กกัดเพชรจริงๆ จะท�ำไม่ได้
จึงขอชมเชยอนุโมทนาท่านอย่างถึงใจ ดังน้ัน ท่านจึงสามารถเป็นอาจารย์ส่ังสอน
คณะสานุศิษย์ให้ได้รับความร่มเย็นเร่ือยมาจนปัจจุบันนี้ ท่านเป็นที่แน่ใจในองค์
61
ท่านเองร้อยเปอร์เซนต์ว่าเป็นผู้สิ้นภพส้ินชาติอย่างประจักษ์ใจทั้งที่ยังครองขันธ์อยู่
ปลอ่ ยขนั ธเ์ มอ่ื ไรกเ็ ปน็ ปรมํ สขุ ํ ลว้ นๆ เมอื่ นนั้ หมดความรบั ผดิ ชอบกงั วลโดยสนิ้ เชงิ
ปี พ.ศ. ๒๕๐๑ หลวงปเู่ ทยี่ ววเิ วกจากทจ่ี ำ� พรรษาปที แ่ี ลว้ คอื วดั ปา่ แกว้ ชมุ พล
อ.สวา่ งแดนดนิ จ.สกลนคร มาทางอุดรธานี เท่ียววเิ วกไปแถว อ.หนองบัวล�ำภู และ
วัดถ�ำ้ กลองเพล ซง่ึ เปน็ ป่าเป็นเขาอนั รกชัฏในสมยั นัน้ ท่านเห็นว่าเหมาะกับอัธยาศยั
ในการอยู่และบ�ำเพ็ญสมณธรรม จึงพักบ�ำเพ็ญอยู่ที่น่ันเร่ือยมาจนวาระสุดท้ายแห่ง
ชวี ติ ทา่ น
ทมี่ ชี อื่ วา่ “ถำ�้ กลองเพล” ดง้ั เดมิ กอ่ นจะเปน็ วดั ถำ�้ กลองเพลขน้ึ ใหท้ ราบกนั ทวั่ ไป
อยา่ งกวา้ งขวางนนั้ ในถำ้� นน้ั เคยมกี ลองเพลใหญอ่ ยปู่ ระจำ� ถำ้� หนง่ึ ลกู มขี นาดใหญโ่ ตมาก
ส่วนจะมีมาแต่สมัยใดนั้นไม่มีใครทราบและบอกเล่ากันมาบ้างเลย คงจะมีมานาน
เป็นร้อยปีข้ึนไปจนกลองเพลนี้มีความคร�่ำคร่าผุพังแตกกระจัดกระจายเป็นช้ินใหญ่
ชน้ิ เลก็ ไปเองโดยไมม่ ใี ครทำ� ลาย จำ� พวกนายพรานเทยี่ วหาลา่ เนอื้ เวลามาพกั นอนในถำ�้
ยงั ไดเ้ อาเศษไมท้ แี่ ตกกระจดั กระจายออกจากกลองเพลมาหงุ ตม้ อาหารรบั ประทานกนั
ชาวบ้านใกลเ้ คยี งแถวน้นั จึงพากนั ใหช้ อ่ื ให้นามถ้ำ� นน้ั วา่ ถำ้� กลองเพล ครนั้ ตอ่ มามี
พระธดุ งคกรรมฐานไปเทยี่ วบำ� เพญ็ ธรรมและพกั ในถำ้� นนั้ บอ่ ยๆ จนถำ�้ นน้ั กลายเปน็ วดั
คอื ที่อยู่ของพระขนึ้ มาจงึ พากนั ใหน้ ามวา่ “วดั ถ้�ำกลองเพล” เร่อื ยมาจนปจั จบุ ันน้ี
แตด่ งั้ เดมิ มา ในถำ�้ กลองเพลนมี้ พี ระพทุ ธรปู ขนาดตา่ งๆ กนั มากมาย ทง้ั ซอ่ นไว้
ในที่ลับตาคน ทัง้ ประดษิ ฐานไวใ้ นถ�ำ้ อยา่ งเปิดเผย แตด่ งั้ เดมิ ที่คนนำ� พระพทุ ธรูปมา
ประดิษฐานรวมไว้ในถ�้ำน้ีมมี ากมายไม่อาจคณนานับได้ แม้พระพทุ ธรปู ทองค�ำ เงิน
นาก ทองสมั ฤทธ์ิ กม็ ไี มน่ อ้ ย แตถ่ กู มารศาสนาเอาไปกนิ กนั เรยี บวธุ ไมม่ เี หลอื มานานแลว้
เหลอื แตพ่ ระพุทธรปู ธรรมดาดังที่เห็นกนั อยูน่ ีเ้ ท่าน้ัน
สิ่งท่ีชาวพุทธเราควรทราบอย่างยิ่งคือ วัดเป็นสถานที่ส�ำคัญในวงพุทธศาสนา
และพุทธบรษิ ัท ซึง่ น่าจะอดคดิ เป็นสริ ิมงคลอย่างใดอย่างหนึ่งขึ้นมาภายในใจไม่ได้
ขณะที่เดินเข้าวัดหรือเดินผ่านวัด เพราะค�ำว่า “วัด” เป็นสถานที่ศักด์ิสิทธ์ิมาแต่
โบราณกาล โดยไม่นยิ มวา่ เปน็ วดั บา้ นหรอื วดั ป่า เนอื่ งจากวดั เป็นทีร่ วมจติ ใจ และ
62
สงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธท์ิ งั้ หลาย ตลอดเจตนาดสี งู สง่ ของพทุ ธบรษิ ทั ไมม่ ปี ระมาณไวโ้ ดยไมม่ ที าง
ร่ัวไหล แม้วัดจะทรุดโทรมหรือสวยงามเพียงไร ใจท่านผู้นับถือพระพุทธศาสนา
ทวั่ ๆ ไปยอ่ มมคี วามเคารพอยอู่ ยา่ งสมำ่� เสมอ ดว้ ยเหตนุ ช้ี าวพทุ ธผกู้ า้ วเขา้ ไปในวดั ใด
จะเปน็ กรณใี ดกต็ าม จงึ ควรระวงั สำ� รวมอนิ ทรยี ด์ ว้ ยดใี หอ้ ยใู่ นความดงี ามพอสมควร
ตลอดการนุ่งห่มต่างๆ ควรสนใจเป็นพิเศษสมกับเราเป็นลูกชาวพุทธก้าวเข้าไปใน
สถานท่ีอันสูงศักด์ิที่ได้รับสถาปนายกย่องมาจากพระพุทธเจ้าผู้เป็นศาสดาแห่งโลก
ทงั้ สาม เฉพาะวดั ปา่ ตา่ งๆ พระทา่ นเปน็ เหมอื นพระลงิ พระคา่ ง ไมค่ อ่ ยมโี อกาสวาสนา
ได้เห็นได้ชมบ้านเมืองท่ีเจริญแล้วด้วยวัตถุและวัฒนธรรมน�ำสมัย เมื่อเห็นท่าน
ผ้นู ำ� ยคุ แตง่ ตวั ทันสมยั เขา้ ไปในวัด ท่านรู้สกึ หวาดเสียวใจพกิ ล คล้ายจะเวียนศรี ษะ
และเปน็ ไขใ้ นเวลานนั้ ทง้ั นอี้ าจเปน็ ความตน่ื ตกใจทไ่ี มเ่ คยพบเหน็ เพราะความเปน็ ปา่
กส็ นั นษิ ฐานยาก เพราะปกตทิ า่ นกเ็ ปน็ ปา่ อยแู่ ลว้ แตพ่ อมาเจอสงิ่ แปลกตาลา่ ธรรมเขา้
จึงแสดงความวิปริตจิตแปรปรวนชวนให้สลดสังเวชขึ้นมา โดยมากพระธุดงค์ป่าๆ
ท่านพดู ในทำ� นองเดียวกนั ซงึ่ นา่ เห็นใจสงสาร แมจ้ ะมีผู้อธิบายเรื่องความเจริญของ
บา้ นเมอื งทงั้ ดา้ นวตั ถแุ ละวฒั นธรรมใหท้ า่ นฟงั วา่ เปน็ สง่ิ เจรญิ ทดั เทยี มกนั หมดเวลานี้
ทง้ั นอกและในประเทศ ทง้ั ในเมอื งและบา้ นนอก ทง้ั วดั บา้ นและวดั ปา่ ทง้ั ในทธ่ี รรมดา
และในป่าในเขา แตท่ ่านไมย่ อมเชื่อ มแี ตค่ วามขยะแขยงและหวาดกลวั สลดสังเวช
เอาท่าเดียว จนผู้ช้ีแจงให้ฟังหมดปัญญาไม่มีทางท�ำให้ท่านหายตกใจหวาดเสียวได้
จงึ นา่ สงสารท่ที า่ นเป็นปา่ เถอ่ื นและห่างความเจริญเอาเสยี จรงิ ๆ
วดั หลวงปทู่ า่ นอยใู่ นปา่ ในภเู ขา เปน็ ทำ� เลบำ� เพญ็ ภาวนาดมี าก เตม็ ไปดว้ ยหนิ ผา
ป่าไม้นา่ ร่ืนรมย์ ทราบวา่ ท่านพยายามหลบหลีกสงิ่ ดังกลา่ วมาก ถา้ จะวา่ ท่านปา่ เถอื่ น
เหมอื นพระธดุ งคท์ งั้ หลายกไ็ มอ่ าจตำ� หนไิ ดล้ งคอ เพราะทา่ นมคี ณุ ธรรมสงู มาก พน้ ทาง
ทนี่ า่ ตำ� หนเิ สยี แลว้ ในความรสู้ กึ ของผเู้ ขยี น จงึ เพยี งสนั นษิ ฐานวา่ ทา่ นอาจมนี สิ ยั ระวงั ตวั
กลัวภัยในป่าติดตัวมา แม้มีคุณธรรมสูงสุดแล้วก็ยังละนิสัยนั้นไม่ขาด อาจเป็น
ตามธรรมท่ีท่านแสดงไว้ว่า นิสัยดั้งเดิมพระสาวกทั้งหลายละไม่ขาด นอกจาก
พระพุทธเจ้าเพียงพระองค์เดียวท่ีทรงละพระนิสัยพร้อมกับวาสนาได้โดยเด็ดขาด
สน้ิ เชงิ หลวงปขู่ าวนเี้ วลามคี นเขา้ ไปพลกุ พลา่ นไมเ่ ขา้ เรอื่ งเขา้ ราวมากๆ ทา่ นจะปลกี ตวั
63
หนีไปอยู่ตามปา่ ตามซอกหินบนภูเขาโนน้ จนกวา่ เร่อื งสงบลง ตอนเยน็ ๆ หรอื ค่�ำมดื
ถึงจะลงกลับมาที่พัก เมื่อถูกถามว่าท�ำไมท่านจึงหลบหลีกปลีกตัวออกไปอยู่ในท่ี
เชน่ นน้ั เลา่ ? ทา่ นกใ็ หเ้ หตผุ ลวา่ ธรรมเรามนี อ้ ย สกู้ ำ� ลงั ของโลกทเี่ ชย่ี วจดั ไมไ่ หวจำ� ตอ้ ง
หลบหลกี ไป ขนื อยู่ตอ่ ไปธรรมตอ้ งแตกทลาย ทไ่ี หนจะพอประคองตัวได้กค็ วรคิด
เพ่อื ตัวเองแม้ไมม่ วี าสนาพอจะเพ่ือผอู้ ่ืนไดด้ งั น้ี แตเ่ ท่าที่ทราบมา ทา่ นมคี วามเมตตา
อนเุ คราะหป์ ระชาชนอยมู่ ากตามปกตนิ สิ ยั ทท่ี า่ นปลกี ตวั หลบหลกี ไปในบางกรณนี น้ั
นา่ จะเหลืออดเหลือทนดงั ทา่ นวา่ ท่ฝี า่ ยทำ� ลายโดยไม่มีเจตนาหรอื มกี ไ็ ม่อาจทราบได้
ซง่ึ มจี ำ� นวนมากและโดนอยเู่ สมอ แตฝ่ า่ ยพยายามประคองรกั ษาศลี ธรรมความดงี ามไว้
มจี ำ� นวนนอ้ ยตา้ นทานนำ�้ หนกั ไมไ่ หว กจ็ ำ� ตอ้ งไดร้ บั ความลำ� บากเปน็ ธรรมดา สว่ นมาก
ประชาชนเปน็ ฝา่ ยสงั เกตพระมากกวา่ จะสงั เกตตวั เอง เวลาเขา้ ไปในสถานทค่ี วรเคารพ
นับถือจึงมักสะดุดหูสะดุดตาน่าคิดส�ำหรับท่านผู้มีความสังเกตเก่ียวกับการปล่อยตัว
ไม่ส�ำรวมท่ีเคยเป็นนิสัยมา โดยมิได้สนใจว่าใครจะสังเกตหรือมีอะไรกับตนบ้าง
จงึ ลำ� บาก
64
เรอ่ื งคนหน้าดา้ นสนั ดานสตั ว์
ตามธรรมดาพระพทุ ธรปู ทงั้ มวลยอ่ มเปน็ ทกี่ ราบไหวบ้ ชู าของชาวพทุ ธทวั่ ดนิ แดน
ไทยและต่างประเทศ ไม่มีใครถือเป็นของเสนียดจัญไรให้โทษให้ทุกข์แต่อย่างใด
แม้จะเป็นคนดีคนช่ัวขนาดไหน เม่ือมาเจอพระพุทธรูปเข้า จิตใจย่อมอ่อนโยน
เคารพกราบไหว้บูชา ไมถ่ ือเปน็ อริศตั รแู ต่อย่างใด พระพุทธรปู ทอี่ ยู่ในถ้ำ� กลองเพล
ก็เช่นเดียวกัน พวกนายพรานท่ีมาพักค้างคืนที่ถ�้ำน้ันย่อมกราบไหว้บูชาและขอขมา
ลาโทษกนั บางรายทพี่ สิ ดารแปลกเพอ่ื นฝงู อยบู่ า้ งแตไ่ มถ่ งึ กบั เปน็ แบบมนษุ ยส์ นั ดานสตั ว์
ดังท่ีเขียนไว้ข้างบนน้ัน ยังอธิษฐานขอให้หลวงพ่อพระพุทธรูปช่วยบันดาลให้สัตว์
ให้เนื้อที่จะเป็นอาหาร เช่น อีเก้ง กวาง เป็นต้น จงเดินซมซานตาฝ้าตาฟาง
ไมม่ สี ตสิ ตงั ระมดั ระวงั ตวั เดนิ งมุ่ งา่ มตว้ มเตยี้ มแบบสตั วต์ ายมาแถวบรเิ วณทนี่ ายพราน
จดจอ้ งคอยทอี ยแู่ ละยงิ เอาๆ จนหาบหามไปไมห่ วาดไหวโนน่ เถดิ ดงั นก้ี ม็ ี มนษุ ยเ์ รา
มันหลายแบบ
แตน่ ายพรานพสิ ดารทกี่ ลา่ วถงึ ขา้ งบนนกี้ ลบั คดิ และทำ� แบบมนษุ ยท์ ง้ั หลายไมค่ ดิ
และทำ� กันเลย เขาชอื่ นายพรานบุญหนา ท่ีพ่อแม่ญาตวิ งศ์ต้ังใหแ้ ตว่ ันเร่ิมแรกเกิด
(ท่ีถูก เขาควรจะได้รับการเปลี่ยนช่ือเสียใหม่ให้เหมาะสมกับพฤติการณ์ที่เขาทำ� ใน
ปจั จบุ นั วา่ นายบาปหนา จะเหมาะด)ี วนั นนั้ เขาไปเทยี่ วลา่ เนอ้ื ทไี่ หนๆ ไมม่ อี ะไรตดิ มอื
มาเลย จงึ เขา้ มาแวะพักทีถ่ �ำ้ กลองเพลด้วยความออ่ นกายอ่อนใจ แม้แตก่ อ่ นที่เขามา
เที่ยวล่าเนื้อแถวนั้น เขาก็เคยมาแวะพกั ทถ่ี ำ�้ นัน้ เหมือนกนั เป็นแตเ่ ขาไม่คดิ พสิ ดาร
65
เหมือนครั้งนี้ มาเท่ียวน้ีบวกกับความเสียใจที่ไม่มีเน้ือชนิดใดผ่านสายตาและยิงได้
ติดมือมาบ้างเลย เขาจึงเริ่มแสดงความพิสดารข้ึนในท่ามกลางเพ่ือนๆ นายพราน
ดว้ ยกนั โดยไปจบั เอาพระพทุ ธรปู ทต่ี งั้ เรยี งรายกนั อยใู่ นถำ�้ มาตงั้ เปน็ แถวยาวเหยยี ด
หลายแถวดว้ ยกนั พรอ้ มกบั พดู ขนึ้ ดว้ ยเสยี งอนั ดงั วา่ วนั นห้ี ายงิ เนอ้ื ทงั้ ปา่ กไ็ มไ่ ดเ้ นอ้ื
สกั ตวั เดยี วตดิ มอื มา ตอ้ งเปน็ เพราะพระพทุ ธรปู เหลา่ นเ้ี องรา่ ยมนตไ์ ลเ่ นอ้ื ใหห้ นหี า่ งไกล
จากอันตรายคือนายพรานท่ีมาเท่ียวล่ายิงเขาตามบริเวณนี้ เราต้องเอาพระพุทธรูป
เหลา่ นม้ี ายนื เปน็ แถวเหมอื นทหารและฝกึ หดั พระพทุ ธรปู เหลา่ นแ้ี บบทหาร และสงั่ สอน
เสยี บา้ งจะไดร้ กู้ ฎระเบยี บของนายพราน พระเหลา่ นจี้ งึ จะเขด็ หลาบไมร่ า่ ยมนตไ์ ลเ่ นอ้ื
ใหห้ นไี กลอกี ตอ่ ไป ในมอื ถอื ไมค้ อยตคี อยหวดหลงั พระพทุ ธรปู องคท์ ไี่ มท่ ำ� ตามคำ� สง่ั
และท�ำการฝึกหัดพระพุทธรูปท่ีตั้งเป็นแถวเรียงรายกันอยู่นั้นเช่นเดียวกับเขาฝึกหัด
ทหารว่า ขวาหนั บ้าง ซา้ ยหันบ้าง กลบั หลังหนั บ้าง หนา้ เดินบา้ ง พร้อมกับเอาไม้ทถ่ี อื
อยใู่ นมอื ตดี า้ นหลงั พระพทุ ธรปู บา้ ง หวดลงดา้ นบนเศยี รพระบา้ ง หาวา่ ไมท่ ำ� ตามคำ� สงั่
ของนายทหาร (คือนายพรานบ้าคนนั้น) พระพุทธรูปที่ถูกตีตกออกไปนอกแถว
กจ็ บั ขึน้ มาต้งั ในแถวแล้วส่ังประกาศว่า ขวาหัน ซ้ายหัน ไปเรอื่ ย หวดพระพทุ ธรปู
ตกกระจัดกระจายและเท่ียวจับขนมาไว้ในแถวแล้วส่ังงานและหวดดะไปท�ำนองน้ัน
จนหมดฤทธบิ์ ้าแลว้ จึงหยุด
บรรดานายพรานท่ีไปด้วยกันต่างก็ได้ห้ามปรามต้ังแต่ขั้นเริ่มแรกท่ีเห็นอาการ
ไมด่ ขี องเขาแสดงออก โดยใหเ้ หตุผลต่างๆ ท่ีไมค่ วรทำ� ต่อท่าน จะเป็นบาปหนักและ
ตกนรกทงั้ เปน็ กไ็ ดถ้ า้ ขนื ทำ� เพราะพระพทุ ธรปู แตล่ ะองคน์ นั้ คอื องคแ์ ทนพระพทุ ธเจา้
การทำ� ลายพระพทุ ธรปู โลกถอื วา่ เปน็ การทำ� ลายพระพทุ ธเจา้ ดว้ ย ซง่ึ เปน็ บาปหนกั มาก
ไมค่ วรทำ� ลายอยา่ งยง่ิ เนอื่ งจากพระพทุ ธเจา้ แลพระพทุ ธรปู คอื หวั ใจชาวพทุ ธ ทงั้ มนษุ ย์
ทงั้ เทวบตุ รเทวดา อนิ ทร์ พรหม ยมยกั ษ์ นาค ครฑุ เปรต ผที งั้ มวล แตน่ ายบาปหนา
ไม่ยอมฟังเสียง มีแต่จะท�ำและท�ำท่าเดียว พวกนายพรานเม่ือเห็นว่าไม่ได้การ
จงึ ตา่ งคนตา่ งเผน่ หนไี ปคนละทศิ ละทางและวงิ่ กลบั บา้ นเลา่ เรอื่ งบา้ หนกั บาปหนาของ
อตี าคลงั นรกคนเปน็ ให้ชาวบา้ นฟงั ต่างเกดิ ความสลดสังเวชไปตามๆ กนั เพราะเปน็
ส่ิงไม่เคยมี เร่ืองไมเ่ คยปรากฏ
66
กอ่ นทแ่ี กพดู วา่ จะจบั พระพทุ ธรปู มาตง้ั เรยี งแถวและฝกึ วชิ าทหารใหน้ น้ั ดๆู แก
กม็ สี ตดิ อี ยเู่ หมอื นคนธรรมดาทวั่ ไป พดู อะไรกร็ เู้ รอื่ งกนั อยใู่ นขณะนน้ั จะวา่ แกเปน็ บา้
ก็ไม่สนิทใจ เป็นแต่มีอาการโทสะให้เห็นชัดอันเนื่องมาจากแกไม่ได้พบเนื้อยิงเน้ือ
และไดเ้ นือ้ อะไรในวนั นน้ั ดังที่แกพดู โมโหใหพ้ ระพทุ ธรูปว่า รา่ ยมนตไ์ ล่เน้ือหนีไป
ท่ีอื่นๆ หมด แกจงึ โกรธให้ทา่ น และจับมาทบุ ตยี ีย่ ำ� ไปตามอารมณเ์ ท่านั้น ก็ไมเ่ หน็
อารมณ์บ้าจรงิ ๆ ในเวลาน้นั
อนั พระพทุ ธรปู ทงั้ หลายทว่ั แดนไทยชาวพทุ ธเรา ใครกท็ ราบอยแู่ ลว้ อยา่ งเตม็ ใจวา่
ทา่ นมใิ ช่ทหาร ทา่ นมิใช่ววั ควายพอจะจับท่านมาฝกึ หดั แบบตำ� รวจทหาร และจับมา
ใสค่ ราดใสไ่ ถใสล่ อ้ ใสเ่ กวยี น ทำ� ไมแกจงึ กลา้ ไปจบั ทา่ นมาทำ� อยา่ งนนั้ ไดล้ งคอ ถา้ ไมใ่ ช่
บ้าจนเกินบ้ามนุษย์ในโลกเรา น่ีก็น่าคิดถ้าจะคิด ถ้าไม่คิดก็เบาสมอง ไม่เป็นบ้า
อีกแง่หนงึ่ ไปตามแก ผ้เู ปิดทางบา้ ไว้ให้คนดพี ลอยเปน็ บา้ ย่อยๆ ไปดว้ ย
เมอื่ หมดฤทธบิ์ า้ นรกแตกแลว้ เวลาแกกลบั ไปถงึ บา้ น แกกเ็ ปน็ คนดมี สี ตอิ ยเู่ หมอื น
คนธรรมดา เป็นแต่อาการฉนุ เฉยี วยังมอี ยู่ในอาการของแก ขณะน้นั ใครๆ กไ็ ม่กลา้
ทกั ทายไตถ่ ามแกเลย เพราะตา่ งกท็ ราบการกระทำ� อนั เลวทรามจนหาทเ่ี ปรยี บเทยี บของ
แกไมไ่ ดอ้ ยแู่ ลว้ ตา่ งคนจงึ เกบ็ ตวั สงบอาการแสดงออกใดๆ ทง้ั สน้ิ กระทงั่ คนในบา้ น
แกเอง เปน็ เพยี งคอยสงั เกตความเคลอ่ื นไหวไปมาของแกอยเู่ ทา่ นน้ั แกเองกม็ อี าการ
เครง่ ขรมึ ไมพ่ ดู อะไรซงึ่ เปน็ เรอ่ื งนา่ กลวั ไมน่ า่ ไวใ้ จอยแู่ ลว้ จงึ ไมม่ ใี ครกลา้ แสดงกริ ยิ า
อาการใดๆ ให้แสลงหูแสลงตาและแสลงใจแก
67
เป็นทน่ี า่ ประหลาดและอศั จรรย์
พอตกกลางคนื มาไดย้ นิ แกพดู แกบน่ วา่ คนั ตามรา่ งกายในลกั ษณะของคนมสี ติ
ทว่ั ๆ ไป คนในครอบครวั ไดโ้ อกาสกม็ าไตถ่ ามเรอ่ื งราวกบั แก แกกเ็ ปดิ อวยั วะสว่ นตา่ งๆ
ใหด้ พู รอ้ มกบั บอกวา่ เจบ็ ปวดแสบรอ้ นและคนั มากจนแทบทนไมไ่ หว อยากรอ้ งคราง
ให้คนมาชว่ ย ขณะที่แกเปดิ รา่ งกายส่วนต่างๆ ให้ดูทั้งในและนอกรม่ ผา้ ปรากฏว่า
เปน็ ผนื่ และพองไปทงั้ ตวั และเปน็ ขนึ้ มาอยา่ งรวดเรว็ ผดิ ธรรมดา ทง้ั การเจบ็ ปวดแสบรอ้ น
กต็ ามๆ กนั มาอยา่ งรวดเร็วเชน่ กันจนทนไม่ไหว แกร้องใหค้ นช่วยและรอ้ งไหร้ าวกบั
เด็กๆ ในเวลานัน้ จนเรอื่ งกระเทือนไปทั่วท้ังหมู่บา้ น ต่างคนซง่ึ คอยฟังคอยทราบ
เหตกุ ารณอ์ นั ลามกจกเปรตของแกทท่ี ำ� ตอ่ พระพทุ ธรปู อยแู่ ลว้ ตา่ งกว็ งิ่ กระหดื กระหอบ
มาในทนั ทที นั ใด และเหน็ เหตกุ ารณอ์ ยา่ งประจกั ษต์ าประจกั ษใ์ จ แตย่ งั ไมม่ ใี ครกลา้ พดู
ความจรงิ ทแ่ี กทำ� ตอ่ พระพทุ ธรปู ออกมาอยา่ งเปดิ เผย เกรงวา่ จะเกดิ เร่ืองราวใหญ่โต
เพ่ิมข้ึนอีกในเวลานั้น เป็นเพียงคนแก่ผู้ฉลาดซึ่งเป็นท่ีเคารพนับถือของชาวบ้าน
หาอบุ ายพดู เปรียบเปรยให้แกฟังโดยท�ำนองเรื่องพรรค์นมี้ นั ไมใ่ ช่เร่ืองธรรมดาท่ีเคย
เป็นๆ กัน แต่นา่ จะเป็นเรือ่ งเคราะหเ์ ขญ็ เวรภยั เรอ่ื งอุบัติเหตุมากกว่า ขอใหแ้ กคิด
ทบทวนดวู า่ ในระหวา่ งนไ้ี ดท้ ำ� อะไรทไี่ มด่ ไี มง่ ามมาบา้ ง ลองคดิ ทบทวนดบู างทอี าจมไี ด้
ดูเหตุการณ์ที่ก�ำลังเป็นอยู่เวลาน้ีมันผิดธรรมดาสามัญอยู่มาก การคันการเจ็บปวด
แสบรอ้ นในรา่ งกาย ใครๆ กเ็ คยเหน็ เคยเปน็ แตไ่ มเ่ ปน็ อยา่ งผดิ สงั เกตมากดงั ทแ่ี กกำ� ลงั
เปน็ อยเู่ วลาน้ี นด่ี รู า่ งกายทกุ สว่ นมนั ลกุ ลามไปอยา่ งรวดเรว็ เหมอื นไฟลามทงุ่ ยงั ไงพกิ ล
68
รา่ งกายกเ็ ปน็ ผนื่ และพองขน้ึ ๆ รวดเรว็ ผดิ ธรรมดา มนั นา่ จะมอี ะไรบนั ดาลใหเ้ ปน็ ไป
ไมใ่ ชธ่ รรมดาพาใหเ้ ปน็ ไป ถา้ พดู ตามภาษาชาวบา้ นกว็ า่ กรรมบนั ดาล กรรมพาใหเ้ ปน็ ไป
นั่นเอง ลองพิจารณาทบทวนดูความเคลื่อนไหวไปมาและการกระท�ำของตนดูให้ดี
คนเราย่อมมีความพล้ังเผลอและหลวมตัวได้เป็นธรรมดา ถามไปพลาง พยาบาล
รักษากันไปพลาง ดอู าการดีและชวั่ ของคนเจ็บไปพลาง ถามเลียบๆ เคียงๆ ไปพลาง
ถามคนเดยี วไปพลาง ผลดั เปลย่ี นกนั ถามทลี ะคนๆ ไปพลาง เวน้ แตพ่ วกนายพรานที่
เหน็ เหตกุ ารณข์ องแกไมย่ อมมาเยย่ี มบา้ นแกเลยกม็ ี เพราะสะเทอื นใจจากการกระทำ�
ไมด่ ขี องแกเปน็ อยา่ งมากเกนิ กวา่ จะมาไตถ่ ามอนั เปน็ การประจานหนา้ แกตอ่ ธารกำ� นลั
แม้นายพรานท่ีมาก็ด้อมๆ มองๆ ไม่ยอมให้แกเห็นหน้าเลย กลัวจะเกิดเร่ืองราว
ไมด่ ขี นึ้ อกี เมอ่ื เลา่ เรอ่ื งดเี รอื่ งชวั่ ตา่ งๆ และซกั ไปถามมาหลายครง้ั หลายหนจากหลายผู้
หลายคน ดว้ ยอาการเลยี บๆ เคยี งๆ ทางบญุ ทางบาปตลอดนรกสวรรคไ์ มห่ ยดุ หยอ่ น
ทำ� ใหแ้ กระลกึ รดู้ -ี ชวั่ -บญุ -บาปได้ และพดู ใหค้ นทงั้ หลายฟงั ตามเหตกุ ารณท์ แ่ี กไปทำ�
กับพระพุทธรูปในถ้�ำกลองเพลมาด้วยความมีสติสตังระลึกรู้บุญบาปเหมือนคน
ธรรมดาท่ัวๆ ไป ไมม่ วี กิ ลจริตผดิ ธรรมดาแฝงออกมาแตอ่ ยา่ งใดเลย เมื่อเห็นเปน็
ช่องโอกาสอันดี คนแก่ที่เป็นท่ีเคารพนับถือของชาวบ้านและเป็นท่ีเคารพนับถือของ
ตวั แกเอง ก็พูดเปน็ เชิงตกใจกลวั บาปและตกนรกทัง้ เปน็ ให้แกฟังโดยประการตา่ งๆ
เชน่ พดู วา่ พระพทุ ธรปู ทง้ั หลายเปน็ องคแ์ ทนพระศาสดาองคบ์ รมครขู องโลก และเปน็
จุดรวมแห่งดวงใจชาวพุทธทั้งหลายท่ัวดินแดนท่ีมีพระพุทธศาสนาประดิษฐานอยู่
ตลอดเทวบตุ ร เทวดา อนิ ทร์ พรหม ยม ยักษ์ นาค ครฑุ เปรต ผี ไมม่ ีประมาณ
ล้วนเคารพนับถือและรักสงวนกันมาก พร้อมท้ังการอารักขาไม่ให้ใครมาแตะต้อง
ทำ� ลายสง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธเ์ิ หลา่ นนั้ ได้ พระพทุ ธรปู แตล่ ะองคน์ น้ั มเี ทวดา นาค ครฑุ ทงั้ หลาย
รกั ษาทา่ นอยเู่ ปน็ ประจำ� ใครจะไปทำ� สมุ่ สส่ี มุ่ หา้ ไมไ่ ด้ จะถกู เทวดาทอ่ี ารกั ขาทงั้ หลาย
ท�ำโทษเอาด้วยวธิ ีการต่างๆ ตามแต่ฤทธาศักดานุภาพของเทวดาน้ันๆ จะแสดงตาม
ความเห็นควรของตน และตามกรรมหนกั เบาของผไู้ ปรกุ รานน้ันๆ
ถา้ เปน็ ดังทแี่ กเล่ามาน้ี ตัวพ่อเองและชาวพทุ ธทั้งหลายกไ็ ม่อาจสงสัยที่รา่ งกาย
ของแกกำ� ลงั เปน็ ไฟเผาทงั้ ตวั อยเู่ วลาน้ี ตอ้ งเปน็ เพราะแกคดิ ไมด่ ที ำ� ไมด่ ตี อ่ พระพทุ ธรปู
69
เหล่านั้นแน่นอน เอาละไม่เป็นไร เม่ือทราบต้นสายปลายเหตุแจ่มแจ้งอย่างน้ีแล้ว
ย่อมเป็นส่ิงท่ีควรแก้ไขและบรรเทาเหตุการณ์น้ีให้เบาบางและหายไปได้ไม่สุดวิสัย
พอ่ จะพาลกู ขอขมาโทษตอ่ พระพทุ ธเจา้ พระธรรม พระสงฆ์ ทา่ น ใหอ้ ดโทษแกห่ ลาน
ไดห้ ายจากโรคอบุ าทวใ์ นไมช่ า้ น้ี แมต้ วั นายพรานบญุ หนา (บาปหนา) นน้ั กเ็ ชอ่ื ตามคำ�
ทค่ี นแกช่ แี้ จงใหฟ้ งั ทกุ อยา่ ง ไมข่ ดั ขนื และยม้ิ แยม้ แจม่ ใสหนา้ ตาสดชน่ื ขนึ้ ในเวลานน้ั
อยา่ งเหน็ ได้ชัดในสายตาคนท่ัวไป
ปญั หาทยี่ งั ไมล่ งกนั ไดส้ นทิ ในเวลานนั้ มอี ยวู่ า่ คนปว่ ยแสดงความทอ้ ใจทจ่ี ะไป
ขอขมาโทษต่อพระพุทธรูปท่ีถ้�ำกลองเพลในเวลาน้ันว่าจนใจจะท�ำอย่างไร เวลานี้
กำ� ลงั เจบ็ มากคนั มากออกรอ้ นมากอยู่ ยงั ไมส่ ามารถไปไดจ้ ะใหท้ ำ� อยา่ งไร คนแกพ่ ดู
ปลอบโยนในทันทที ันใดว่า ไม่เปน็ ไร แม้จะยงั ไปไม่ได้ในเวลาน้ี พวกเรากส็ ามารถ
ขอขมาโทษท่านได้อย่างไม่มปี ัญหา คือพวกเราเชญิ พระพทุ ธรปู ซึ่งเป็นองค์แทนของ
พระพุทธเจ้ามาตั้งประดิษฐานไว้ตรงหน้านี้ แล้วหาดอกไม้ธูปเทียนมากราบคารวะ
ขอโทษท่านที่นี้ก่อน เมื่อหายจากป่วยแล้วค่อยไปคารวะท่านท่ีถ�้ำกลองเพลทีหลัง
ผลยงั ไดพ้ อๆ กนั ไมต่ อ้ งเสยี ใจ วา่ แลว้ กส็ งั่ ใหค้ นเชญิ พระพทุ ธรปู มาตงั้ ประดษิ ฐาน
ไวต้ รงหน้าคนเจบ็ แล้วนำ� คนปว่ ยกล่าวค�ำขอขมาโทษพระพุทธรปู นนั้ เสร็จลงด้วย
ความเบากายโลง่ ใจทง้ั สองฝา่ ย งานเปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ยทกุ อยา่ งทา่ มกลางหมชู่ น
จ�ำนวนเป็นร้อยๆ ซ่ึงล้วนเป็นไทยมุงแตกตื่นแห่แหนกันมาดูเหตุการณ์ในเวลานั้น
ราวกับฟ้าดินถลม่ และเปน็ ประวตั กิ ารณ์น่าอศั จรรย์ บาปมี บุญมี นรกมี สวรรค์มี
ได้แสดงข้ึนอย่างเห็นประจักษ์ตาประจักษ์ใจแก่คนทั้งหลายที่ทราบเหตุการณ์ของ
นายพรานบญุ หนาไดด้ ี โรคพสิ ดารเกนิ คนของนายพรานบญุ หนาไดเ้ รมิ่ สงบลงโดยลำ� ดบั
นบั แตก่ ารเห็นโทษและขอขมาพระพทุ ธรูปผ่านไปแลว้ และหายไปอย่างสนทิ ในเวลา
อันรวดเร็วผิดธรรมดา นายพรานได้รับการชุบชีวิตใหม่หลังจากได้เจอและต่อกร
กับอาจารย์ช้ันเยี่ยมคือพระพุทธรูปที่ถ�้ำกลองเพลมาแล้ว เขาเข็ดหลาบคาบหญ้า
ปฏิญาณตนต่อหน้าพระพุทธรูปว่าจะไม่ล่วงเกินท่านด้วยกิริยาอาการใดๆ อีกเป็น
อันขาดตลอดวนั ตาย เพราะไดป้ ระจกั ษก์ ับตวั เองชนดิ ไม่มวี นั หลงลมื แล้ว
70
พอเรื่องผา่ นไปไม่ก่ีวัน โรคหายเปน็ ปกตแิ ล้ว เขากเ็ ตรยี มดอกไม้ธปู เทียนไป
ขอขมาโทษพระพุทธรูปท่ีถ้�ำกลองเพลซึ่งเขาเคยถือว่าท่านเป็นทหารฝึกหัดของเขา
กราบแล้วกราบเล่า พร้อมกับค�ำขอขมาลาโทษและค�ำอธิษฐานจะไม่เป็นคนสันดาน
หยาบช้าลามกดังที่เคยเป็นมาแล้วอีกต่อไป แม้ท่ีเคยเป็นนายพรานก็จะหยุดอย่าง
เดด็ ขาดตง้ั แตบ่ ดั นเี้ ปน็ ตน้ ไปจนกระทงั่ วนั ตาย ดว้ ยความถงึ ใจวา่ บาปมี บญุ มี นรกมี
สวรรค์มี ทำ� ดไี ด้ดี ทำ� ชว่ั ไดช้ ว่ั ไมส่ งสยั เรอ่ื งของนายพรานจงึ ขอจบลง
ดงั นน้ั คำ� ว่า กิเลส ตัวเศร้าหมองมืดมนท่ีจอมปราชญ์ทั้งหลาย มพี ระพทุ ธเจ้า
เปน็ ตน้ ทรงตำ� หนสิ าปแชง่ ตลอดกาลนน้ั มนั เปน็ ภยั ตอ่ หวั ใจของสตั วโ์ ลกอยา่ งแทจ้ รงิ
ดังทีท่ รงต�ำหนิ เพราะเปน็ ตวั ปฏเิ สธลบลา้ งธรรมท่แี สดงไว้ตามความสจั ความจริงว่า
ไมจ่ รงิ ว่าไม่มี ไม่เปน็ มาตลอด ไม่เคยยอมรบั ความจรงิ ท้ังหลายแมน้ ้อยพอใหไ้ ด้
ชมบ้างว่า เอ้อ กิเลสก็มีธรรมและให้ความเป็นธรรมแก่สัตว์โลกที่ครอบครอง
เหมือนกัน เช่น ยอมรบั วา่ บาปมี บุญมี นรกมี สวรรคม์ ี เป็นตน้ แมจ้ ะปฏเิ สธว่า
นิพพานไม่มีก็ตาม ก็ยังนับว่ากิเลสยังมีส่วนดีและเป็นพยานแห่งธรรมที่แสดงไว้
ไม่ปฏิเสธลบล้างเสียจนหมดส้ิน สัตว์โลกที่อยู่ใต้อ�ำนาจของมันยังมีช่องทางได้
เช่อื บุญ เช่อื บาป เชื่อนรก เชอ่ื สวรรค์ และพยายามละบาปบำ� เพ็ญบุญเพื่อไปสวรรค์
กนั บา้ ง ไมจ่ มอยใู่ นความมดื บอดและกองทกุ ขน์ อ้ ยใหญเ่ พราะกลหลอกลวงและการ
ปดิ บังของมันโดยถา่ ยเดียว
แตข่ ึน้ ชือ่ วา่ กิเลสแลว้ ไมว่ ่าชนดิ ใด มนั เป็นโคตรแซ่ของจอมหลอกลวงต้มตนุ๋
สตั วโ์ ลกใหม้ ดื มดิ ปดิ ทวารและนอนจมอยใู่ ตอ้ ำ� นาจของมนั ทงั้ สน้ิ ดงั นายพรานบญุ หนา
(นายพรานบาปหนา) เป็นตัวอย่างสดๆ รอ้ นๆ ในสมยั ปจั จบุ นั ซงึ่ ถูกกเิ ลสขโมย
กอ่ ไฟไว้ แลว้ กม็ าหลอกใหน้ ายพรานเขา้ กองไฟดว้ ยความคกึ คะนอง จบั พระพทุ ธรปู
อนั เปน็ สงิ่ วเิ ศษศกั ดสิ์ ทิ ธโ์ิ ดยธรรมมาฝกึ ทหารและเฆย่ี นตดี ว้ ยประการตา่ งๆ จนกระทง่ั
เจอดี คอื รา่ งกายเกดิ พพุ องหนองไหลขน้ึ สดๆ รอ้ นๆ ตอ่ หนา้ ตอ่ ตา จะเปน็ แหลจ่ ะตายแหล่
เตรยี มลงนรกทงั้ เปน็ ทงั้ ตายขณะนนั้ จงึ มเี ทวบตุ รมาโปรดใหเ้ หน็ โทษแหง่ การกระทำ�
ของตน และไดก้ ลบั ตวั มาทางธรรมยอมรบั ความจรงิ วา่ บาปมี บญุ มี จงึ รอดพน้ ภยั พบิ ตั ิ
ไปในเวลานนั้ ไมถ่ กู กเิ ลสตวั พาใหม้ ดื บอดลากลงนรกทงั้ เปน็ เสยี ทเี ดยี วชนดิ จมไปเลย
ไม่มีวนั โผล่
71
เราชาวพทุ ธทงั้ หลายจงึ ควรพจิ ารณาไตรต่ รองดว้ ยดใี นหลกั ความจรงิ แหง่ ธรรม
ท่ีจอมปราชญ์แสดงไว้ และความจอมปลอมของกิเลสที่คอยกระซิบหลอกลวงอยู่
ภายในใจตลอดเวลา อย่าเหน็ แก่ไดแ้ กก่ นิ แกค่ ดแก่โกง อย่าเห็นแก่ตัวจดั อันเป็น
สายทางให้ลบลา้ งทำ� ลายทรพั ยส์ ินสมบตั ิและจิตใจผ้อู ่ืนซึ่งเป็นเรอื่ งกอ่ ไฟนรกเผาตัว
ทง้ั มวล ธรรมของปราชญท์ า่ นสอนใหก้ ลวั ในสง่ิ ทค่ี วรกลวั โดยธรรม เชน่ บาป เปน็ ตน้
และสอนใหก้ ลา้ ในสงิ่ ทค่ี วรกลา้ เชน่ บญุ เปน็ ตน้ ซง่ึ เปน็ คำ� สง่ั สอนทถี่ กู ตอ้ งตอ่ ความจรงิ
โดยถา่ ยเดยี ว ไมผ่ ดิ พลาดคลาดเคลอ่ื นเลอื่ นลอยเหมอื นกลลวงของกเิ ลสทกุ ประเภท
ใครเชอ่ื มันจมท้งั สน้ิ ไม่มีค�ำว่าฟืน้ วา่ ฟเู หมือนความเชือ่ ธรรม
คำ� ว่า กเิ ลสๆ ปราชญท์ ั้งหลายขยะแขยงกันท้งั นัน้ ไมม่ ีทา่ นผูใ้ ดรกั สนิทติดจม
กบั มนั นอกจากผเู้ ชอื่ กเิ ลสกลลวงของกเิ ลสทเี่ สยี้ มสอนใหเ้ กลยี ดธรรมและลบลา้ งธรรม
ผลก็คือไฟเผาตัวเท่าน้ัน ส่วนกิเลสตัวหลอกลวงมันไม่ยอมมารับเคราะห์กรรมกับ
พวกเรา นอกจากหลอกให้จมร่�ำไปเท่านั้น จึงกรุณาพิจารณาด้วยดีสมกับเราเป็น
มนษุ ยผ์ ฉู้ ลาดและเปน็ ชาวพทุ ธเปน็ บตุ รธดิ าของพระพทุ ธเจา้ ผเู้ ปน็ จอมปราชญฉ์ ลาด
แหลมคมเหนอื กเิ ลสทุกประเภท ไมย่ อมหลงกลใดๆ ของมันเลย พวกเราชาวพทุ ธ
จงพยายามเดนิ ตามครดู ว้ ยความระมดั ระวงั ทกุ ดา้ นทกุ อาการและทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งทเ่ี ขา้ มา
เก่ียวขอ้ งสัมผัสกับตา หู จมูก ลนิ้ กาย ใจ อยา่ ยอมใหก้ เิ ลสจบั โยนลงเหวลงบอ่ ได้
จะเสียชาติที่เกิดมาเป็นมนุษย์ท้ังคน ของดีไม่ได้ชม ปล่อยตัวให้ล่มจมไปท้ังชาติ
ไมส่ มควรอยา่ งยงิ่ กบั เราทงั้ หลายทมี่ ธี รรมตะโกนชว่ ยเหลอื อยตู่ ลอดเวลา ตามครอู าจารย์
ตามสถานทีต่ า่ งๆ และตามคัมภรี ์ทที่ า่ นจารึกไว้ไม่อดไมอ่ ้ันไมต่ ีบไม่ตนั ทันกบั กิเลส
ตลอดไป ไม่มีค�ำว่าธรรมคือความจนตรอกจนมุม ธรรมหมุนได้รอบตัวรอบด้าน
ต้านทานได้ทุกแง่ทุกมุมท่ีน�ำมาใช้มาช่วยตัวเอง จงอย่าเกรงธรรมท่ีน�ำไปสู่ทางดี
แต่จงกลัวกิเลสท่ีจะน�ำไปสู่ทางช่ัวมั่วกับกองทุกข์สุขไม่มีวันเจอแบบคนหมดหวัง
ทงั้ ทย่ี งั มชี วี ติ ลมหายใจอยู่ ไมส่ มควรแกเ่ ราอยา่ งยง่ิ จงอยา่ นงิ่ นอนใจ อยา่ เหน็ ภยั วา่
เป็นคุณ อย่าเห็นบุญว่าเป็นบาป จงเข็ดหลาบกับความชั่วแลกองทุกข์ท้ังมวลเสีย
แตบ่ ดั นี้ จะเปน็ คนดี สุคโตเป็นที่ไปไม่สงสยั ในตวั เราเอง สมกบั ธรรมท่านสอนไว้วา่
พระธรรมย่อมรักษาผู้ประพฤตปิ ฏิบตั ธิ รรมไม่ใหต้ กไปในทีช่ วั่ ดงั นี้
72
นบั แตเ่ รอื่ งนายพรานบุญหนากระฉ่อนออกสปู่ ระชาชนทง้ั บรเิ วณใกล้เคยี งและ
กว้างขวางได้ทราบทั่วถึงกันแล้ว ต่างก็กลัวกันไม่กล้ามาท�ำปู้ยี่ปู้ย�ำเหมือนแต่ก่อน
บริเวณถ้�ำและแถบนั้นจึงเป็นสถานที่สงัดวิเวกควรแก่การบ�ำเพ็ญสมณธรรมของ
พระธุดงคกรรมฐานท้ังหลาย เพราะชาวบ้านแถบน้ันถือเป็นสถานที่อันศักด์ิสิทธ์ิ
ไม่กลา้ ไปทำ� อะไรตามใจชอบดังแตก่ ่อน
หลวงปู่ขาวท่านพาคณะลูกศิษย์ไปเท่ียวธุดงคกรรมฐานและพักบ�ำเพ็ญเพียร
ท่ีถำ้� กลองเพลนัน้ เห็นวา่ ทีน่ ัน่ สะดวกสบายทางรา่ งกายและจติ ใจ ตลอดการบำ� เพญ็
สมณธรรมกอ็ �ำนวยอวยพรในความละเอียดแยบคายดี ท่านจงึ ปลงใจอยู่สถานท่นี ั่น
เรื่อยมาจนถึงวาระสุดท้ายแห่งขันธ์ ท่านได้ปลดปล่อยธาตุขันธ์ลงท่ีวัดถำ้� กลองเพล
ตามวนั เดือน ปี ดังทท่ี ราบกนั
เวลาท่านครองขันธ์และปกครองพระเณรอยู่วัดถ�้ำกลองเพล ท่านเมตตาให้
โอวาทแกพ่ ระเณรเถรชโี ดยสมำ่� เสมอ ไมล่ ดละปลอ่ ยวางเรอื่ ยมา ธรรมทที่ า่ นมกั ยกขน้ึ
แสดงในขัน้ เรมิ่ ตน้ แหง่ การอบรมเสมอนัน้ คือ จตปุ าริสุทธิศลี คือ
๑. อนิ ทรยี สงั วรศลี ไดแ้ ก่ การสำ� รวมระวงั อนิ ทรยี ์ ๖ คอื ตา หู จมกู ลน้ิ กาย ใจ
ไมใ่ หเ้ กดิ ความยนิ ดยี นิ รา้ ย เกดิ ความรกั ความชงั ความเกลยี ด ความโกรธ ความโลภ
อยากไดใ้ นสิ่งสมั ผสั น้นั ๆ ไม่อ่ิมพอ เพราะอายตนะภายใน ๖ ได้แก่ ตา หู จมูก ลนิ้
กาย ใจ กับอายตนะภายนอก ๖ คือ รูป เสยี ง กลิ่น รส เครอื่ งถูกต้องสมั ผสั และ
ธรรมารมณ์จากสิ่งที่มาสัมผัสน้ันๆ เพราะอายตนะภายในและอายตนะภายนอก
ดงั กลา่ วนเ้ี ปน็ คปู่ รบั กนั ทจ่ี ะยงั เรอ่ื งตา่ งๆ เขา้ สใู่ จไดอ้ ยา่ งงา่ ยดายแตแ่ กไ้ ขถอดถอนยาก
ขณะท่ีทั้งสองอายตนะอย่างใดอย่างหน่ึงหรือทั้งหมดเข้าสัมผัสกัน ท่านจึงสอนให้
ระมัดระวังอยู่ตลอดเวลาสำ� หรับนักบวชผู้ปฏิบัติธรรมเพื่อความพ้นทุกข์โดยประการ
ท้ังปวง ไม่ปล่อยให้อายตนะภายใน มตี าเปน็ ตน้ สัมผสั กบั อายตนะภายนอก มรี ปู
เป็นต้น ด้วยความไม่มีสติประจ�ำใจ ผู้ตั้งใจส�ำรวมระวังตามท่ีท่านสอนไว้ช่ือว่า
ผู้บ�ำเพ็ญตนเพื่อช�ำระกิเลสโดยล�ำดับ และไม่ชักช้าต่อทางด�ำเนินจะถึงฝั่งแห่งความ
ปลอดภัยไม่เน่ินนาน เท่าที่ผู้ปฏิบัติทั้งหลายไปไม่ตลอดมักจอดจมงมทุกข์ไปเสีย
73
ปล่อยใหย้ กั ษโ์ ข ยักษณิ ี คว้าไปกนิ เสยี ในระหวา่ งทาง (ระหว่างท่ีปฏบิ ัตธิ รรมอย่)ู
กเ็ พราะขาดความสำ� รวมระวงั หรอื ไมส่ นใจระวงั สตปิ ญั ญากม็ นี อ้ ย แตช่ อบสกุ กอ่ นหา่ ม
และออกสสู่ งั คมยกั ษ์ (สนามแหง่ อารมณเ์ ปน็ ภยั รอ้ ยแปดพนั เกา้ นบั ไมจ่ บ) การสำ� รวม
ระวงั กเ็ จง๊ สตปิ ญั ญาหายเขา้ ปา่ ไปหมด ปลอ่ ยใหค้ นเกง่ สเู้ สอื มอื เปลา่ สดุ ทา้ ยกข็ นึ้ เขยี ง
ให้กิเลสราคะตัณหาสับย�ำเป็นอาหารของมันอย่างเอร็ดอร่อย สิ่งที่เด่นในตัวก็มีแต่
“สิน้ ท่า”
ดังน้นั การสำ� รวมในอนิ ทรีย์ ๖ จงึ เป็นงานจ�ำเป็นของนักบวชนักปฏิบตั ิอย่มู าก
ผู้เคยปฏิบัติงานน้ีก็รู้เองโดยไม่มีใครบอก ไม่มีงานใดๆ หนักเทียบเท่าเสมอได้
หนกั กห็ นกั ลำ� บากกล็ ำ� บาก เพราะตง้ั ทา่ สำ� รวมระวงั ใจอนั เปน็ ตวั การใหญอ่ ยตู่ ลอดเวลา
ในอริ ยิ าบถตา่ งๆ ทงั้ ตงั้ ทา่ สู้ ตงั้ ทา่ ถอดถอนกเิ ลสทเ่ี ปน็ ลกู ศรแทงอยภู่ ายใน ทงั้ ตง้ั ทา่
ต่อสกู้ เิ ลสซงึ่ ก�ำลงั หลงั่ ไหลมาทางอายตนะภายใน ๖ ทงั้ ตั้งทา่ ช�ำระถอดถอนกิเลสที่
มีอยู่กับใจซง่ึ กำ� ลงั ก่อเรือ่ งวุ่นวายอยู่ภายใน ไม่มีงานใดหนกั มากยงิ่ กว่างานฆา่ กิเลส
งานชำ� ระกเิ ลส งานถอดถอนกเิ ลสตวั เปน็ ฟนื เปน็ ไฟทเ่ี ผาไหมค้ กุ รนุ่ อยภู่ ายในใจตลอด
เวลานี้ ปราชญท์ งั้ หลายมพี ระพทุ ธเจา้ เปน็ ตน้ ทา่ นถอื เปน็ งานระดบั ไตรภพ ใครเรยี นจบ
คนนน้ั วเิ ศษโดยไมต่ อ้ งหาใครมาเสกสรรปน้ั ยอวา่ ดวี า่ วเิ ศษ แตด่ เี องวเิ ศษเองโดยหลกั
ธรรมชาติของธรรมท่ผี เู้ ข้าถงึ พึงทราบเองโดยสันทฏิ ฐโิ ก ไม่สงสยั ไมเ่ ปน็ อนื่
งานสำ� รวมอนิ ทรยี น์ ี้ ครงั้ พทุ ธกาลยงั นำ� มาเปน็ คแู่ ขง่ กนั ได้ ทง้ั นเ้ี พราะใครรกั ษา
อายตนะใดกย็ ากราวกับไมม่ ีอายตนะใด และใครรักษายากล�ำบากเทา่ อายตนะทตี่ น
รกั ษาอยู่ เชน่ ปญั จภกิ ขุ ภกิ ษุ ๕ รปู ตา่ งรกั ษาคนละอายตนะ รปู หนงึ่ รกั ษาตา เกยี่ วกบั
เวลาเห็นรูปโดยเฉพาะ องคห์ นง่ึ รกั ษาหู เก่ยี วกับเวลาฟงั เสียงโดยเฉพาะ องค์หน่งึ
รักษาจมกู เก่ียวกับเวลาดมกล่ินโดยเฉพาะ องค์หน่งึ รกั ษาลน้ิ เก่ียวกบั เวลาลิ้มรส
โดยเฉพาะ องคห์ นง่ึ รกั ษากาย เกยี่ วกบั เวลาถกู ตอ้ งสมั ผสั กบั สง่ิ เยน็ รอ้ นออ่ นแขง็ ตา่ งๆ
โดยเฉพาะๆ ไมท่ วั่ ไปกบั อายตนะทงั้ หลาย เวลามาสนทนากนั ตา่ งกค็ ยุ อวดวา่ อายตนะ
ทต่ี นกำ� ลงั รกั ษาอยนู่ น้ั ยากลำ� บากกวา่ การรกั ษาอายตนะอน่ื ๆ จนเกดิ การทะเลาะววิ าท
กนั ขน้ึ เพราะไมม่ ใี ครยอมรบั ของใครวา่ ยากเหมอื นอายตนะทตี่ นรกั ษาอยู่ และไมย่ อม
74
ใหค้ วามเสมอภาคในการรกั ษาอายตนะของกนั และกนั จนพระพทุ ธเจา้ ทรงตดั สนิ ให้
และประทานพระโอวาทวา่ ไม่ว่าอายตนะใด มันรักษายากดว้ ยกันนั่นแหละ เพราะ
ตากอ็ ยากเห็นรปู สวยๆ งามๆ ทพี่ งึ ตาพงึ ใจ หกู อ็ ยากฟงั เสยี งอันไพเราะเพราะพริ้ง
จมกู กอ็ ยากสดู ดมกลน่ิ ทหี่ อมหวนชวนใหร้ น่ื เรงิ ลนิ้ กอ็ ยากลม้ิ รสอนั โอชา กายกอ็ ยาก
สมั ผสั สมั พนั ธก์ บั สง่ิ สมั ผสั อนั ออ่ นนมุ่ ชวนใหเ้ พลดิ เพลนิ ตลอดเวลา ไมม่ คี วามอมิ่ พอ
ท้ังนี้เพราะใจเป็นส�ำคัญของอายตนะน้ันๆ ใจเป็นตัวคึกตัวคะนองอยู่ตลอดเวลา
ไม่สนใจมองความผิด-ถูก ช่ัว-ดี ประการใด ขอให้ได้อย่างใจท่ีอยากที่ต้องการ
กเ็ ปน็ พอ จงึ ท�ำใหอ้ ายตนะทง้ั หลาย คือ ตา หู จมูก ลิน้ กาย เป็นกงั หันหมุนไป
ตามอารมณ์ใจ (อารมณ์กเิ ลสบีบบงั คบั ใจใหด้ น้ิ รน)
การรกั ษาแตล่ ะอายตนะตอ้ งรกั ษาใจไปในขณะเดยี วกนั เพราะใจเปน็ ตวั การให้
อยากเห็น อยากได้ยิน อยากสดู กลิ่น ลม้ิ รส สัมผสั ไม่มเี วลาสิน้ สุดยตุ ิ ใจเปน็
ตัวอยาก ตวั หวิ โหย ตวั เสาะแสวง ใจจงึ ใช้เคร่ืองมือ คือ ตา หู จมูก ลน้ิ กาย
เปน็ ทางเดินออกหาอารมณต์ า่ งๆ (หาอาหาร แต่สว่ นมากเป็นยาพิษ) จ�ำต้องรกั ษาใจ
ดว้ ยสติ พนิ จิ พจิ ารณาดว้ ยปญั ญา อยา่ ใหอ้ อกเพน่ พา่ นเกยี่ วเกาะในสงิ่ เปน็ ภยั ใชส้ ติ
ควบคุมใช้ปญั ญาพจิ ารณาไตรต่ รองอารมณท์ ี่เกดิ จากการสัมผสั รปู เสยี ง กลิ่น รส
เคร่ืองสัมผัส ให้รู้เห็นตามความจริงของส่ิงนั้นๆ ใจจะไม่ไปยินดียินร้าย รัก ชัง
เกลียด โกรธ ใจจะยอ้ นเขา้ ส่คู วามสงบเย็น ไม่เป็นภาระกงั วลกบั สง่ิ ใดๆ ภายนอก
เมื่อจติ อิม่ ตัวในความสงบแลว้ ก็ออกพิจารณาอายตนะภายใน คอื ตา หู จมกู ล้นิ
กาย ซ่งึ เป็นเพยี งเครอ่ื งมือของใจเทา่ นนั้ และพิจารณาอารมณก์ บั ใจที่กลมกลืนกัน
อยูอ่ ยา่ งแนบสนิทราวกับเปน็ อนั เดยี วกัน
การพจิ ารณารา่ งกายตามแตถ่ นดั ทางอสภุ ะอสุภงั หรือ อนิจฺจํ ทกุ ฺขํ อนตฺตา
แยกเป็นธาตุเป็นขันธ์ตามความสะดวกและถนัดใจ การพิจารณาอารมณ์ของใจใน
เบอ้ื งต้นมกั ประสานกบั ส่งิ ภายนอก เชน่ รูป เป็นต้น แยกแยะตลบทบทวนจนเข้าใจ
ทง้ั อารมณว์ า่ เปน็ สง่ิ ทแ่ี ฝงหรอื แทรกซมึ มใิ ชอ่ นั เดยี วกนั กบั ใจ พจิ ารณาจนเปน็ ทเ่ี ขา้ ใจ
ในงานของตน โดยถอื อายตนะภายนอกกบั อายตนะภายในเปน็ ทที่ ำ� งานทาง สติ ปญั ญา
75
ศรทั ธา ความเพยี ร ไมล่ ดละทอ้ ถอย เมอื่ พจิ ารณารอบแลว้ สว่ นทปี่ ลอมจะหลดุ ลอย
ออกไปจากใจ สว่ นทจี่ รงิ จะเปน็ คเู่ คยี งของใจและสนบั สนนุ ใจใหด้ ำ� เนนิ งานดว้ ยความ
สะอาดคล่องตัวตอ่ ไปจนถงึ จดุ หมายปลายทางไม่มอี ะไรมาเปน็ อุปสรรคได้
เมอื่ ประทานพระโอวาทเก่ยี วกบั การรกั ษาอายตนะส้นิ สดุ ลง พระทั้งห้าองค์น้นั
ได้ส�ำเร็จอรหัตภูมิต่อพระพักตร์ของพระศาสดา สิ้นภาระกังวลกับการระวังรักษา
อนิ ทรยี ์แบบนักโทษในเรือนจ�ำแต่บดั นน้ั พร้อมท้งั การยตุ ขิ ้อทะเลาะวิวาทกัน ดงั น้ัน
การรกั ษาอนิ ทรีย์เกย่ี วกบั อายตนะ ๖ จึงเป็นสิ่งทร่ี กั ษายากมากเสมอกนั ไม่มีอะไร
ยิ่งหย่อนกวา่ กัน เพราะเปน็ ทางผลกั ดันของกเิ ลสตัวมหาอ�ำนาจดว้ ยกนั กเิ ลสออก
ทางใด ถา้ ไมม่ สี ตริ ะวงั ตง้ั ตวั มปี ญั ญากลนั่ กรองดว้ ยดแี ลว้ ตอ้ งลม้ ทงั้ หงายกนั ทง้ั นนั้
ไม่มีใครกล้ามาคุยอวดว่าเก่งกล้าสามารถและบริสุทธิ์พุทธะได้เพราะการปล่อยตัว
ปลอ่ ยใจเลย ดงั นน้ั จตปุ ารสิ ทุ ธศิ ลี จงึ เปน็ ธรรมจำ� เปน็ และสำ� คญั มากในวงชาวพทุ ธ
และนักปฏิบัติเท่าน้ัน ส�ำหรับผู้เขียนแล้ว ไม่อาจเอ้ือมกับกิเลสทุกชนิดทั้งท่ีไม่มี
ธรรมเหลา่ นเี้ ปน็ เครอื่ งมอื ตอ่ สกู้ บั มนั หาญสกู้ จ็ บ ไมม่ ที างชนะมนั ไดเ้ ลย เพราะทา่ น
ผู้หลุดพ้นจากกิเลสเป็นบุคคลวิเศษขึ้นมาให้โลกกราบไหว้บูชาเป็นขวัญตาขวัญใจ
อยเู่ วลานี้ ล้วนเป็นผเู้ หนียวแนน่ แก่นนกั รบจบพรหมจรรยด์ ว้ ยธรรมเหลา่ นี้ทั้งนนั้
๒. ปาฏโิ มกขสงั วรศลี สำ� รวมระวงั พรอ้ มกบั การรกั ษาตนดว้ ยศลี ในพระปาฏโิ มกข์
ไม่ล่วงเกินฝ่าฝืนสิกขาบทน้อยใหญ่อันเป็นมรรยาทและทางด�ำเนินอันดีงามของ
นักบวช ศีลในพระปาฏิโมกขม์ ี ๒๒๗ ขอ้ อนุบัญญตั ทิ ีท่ รงบญั ญัติในลำ� ดับตอ่ ๆ มา
มมี าก ถา้ เทยี บแลว้ มมี าในพระปาฏโิ มกขม์ เี พยี งนดิ เดยี ว ทมี่ านอกปาฏโิ มกขม์ มี ากมาย
หลายรอ้ ยหลายพนั ขอ้ ผเู้ ปน็ ลกู ศษิ ยท์ ดี่ เี ดนิ ตามครคู อื ศาสดายอ่ มเคารพในศลี อนั เปน็
ฝ่ายพระวินัยซ่ึงเปน็ องค์แทนศาสดา
๓. อาชวี ปารสิ ทุ ธศิ ลี เลยี้ งชพี แบบพระ แบบลกู ศษิ ยพ์ ระตถาคต เชน่ เทย่ี วบณิ ฑบาต
ด้วยก�ำลังปลีแข้งมาบริโภคขบฉัน ไม่แสวงหาด้วยกลมารยาปลิ้นปล้อนหลอกลวง
ปัจจยั สี่ ได้มาด้วยความบรสิ ุทธิ์ ผ้ใู หก้ ็ใหด้ ว้ ยความบรสิ ุทธิ์ใจ ผูร้ บั ก็รบั ดว้ ยความ
บรสิ ทุ ธใิ์ นการแสวงหา และการรบั ไมม่ เี ลห่ ก์ ลแฝงอยแู่ บบโลกทเ่ี ปน็ กนั แสวงหาแบบพระ
76
ฉนั แบบพระ อยแู่ บบพระ ใชส้ อยปจั จยั สแี่ บบพระลว้ นๆ ไมฟ่ งุ้ เฟอ้ เหอ่ คะนอง ตง้ั อยู่
ในธรรมสันโดษ มักน้อย อันเป็นพื้นฐานของความเป็นอยู่และการด�ำเนินของพระ
ผมู้ ีอาชวี ปาริสทุ ธศิ ีลเปน็ เครอ่ื งประดับเพศ จะอดหรืออิม่ ก็งดงามในเพศ ไม่ขา้ มเขต
ขา้ มแดนแหง่ ความสวยงามของพระ ธรรมขอ้ นเ้ี ปน็ เครอ่ื งประดบั ปากประดบั ทอ้ งและ
ประดบั เพศของพระให้สวยงามไมม่ ีวันจดื จางตลอดอวสาน
๔. ปจั จยสนั นสิ สติ ศลี สำ� รวมระวงั เพอื่ ความบรสิ ทุ ธใ์ิ นปจั จยั สท่ี ต่ี นอาศยั ไมโ่ ลเล
ในอาหารปัจจัยตา่ งๆ อนั เป็นทางไหลมาแหง่ มลทินความไมด่ ที ัง้ หลาย ปัจจัยเครื่อง
อาศยั ของสมณะนน้ั มี ๔ คอื จวี ร เครอื่ งนงุ่ หม่ ตามเพศของพระ มขี นาดความสน้ั ยาว
พอดีกับเจ้าตัวผู้ครอง สีย้อมด้วยนำ�้ ฝาดท่ีท่านเรียกว่า ผ้ากาสาวะ ผ้าที่ย้อมด้วย
น�้ำฝาดท่ตี อ้ งมปี ระจำ� องคพ์ ระขาดไม่ไดม้ ีอยู่ ๓ ผนื คอื จวี ร สังฆาฏิ อนั ตรวาสก
ผ้านุ่ง นอกน้ันกผ็ า้ อังสะ ผา้ อาบน�้ำฝน และผา้ บริขาร เครอ่ื งใช้สอยเลก็ ๆ น้อยๆ
บณิ ฑบาต คอื กอ้ นขา้ ว คอื อาหารพื้นทโี่ ลกอาศัยรับประทานกนั เปน็ อาชพี ตลอดมา
อาหารหวานคาวที่ไม่ผิดพระวินัยจัดเข้าในบิณฑบาตด้วยกัน ที่พระผู้บวชแล้วต้อง
อาศยั เชน่ โลกทว่ั ไป เสนาสนะ ทอ่ี ยอู่ าศยั หลบั นอนและบำ� เพญ็ สมณธรรมตามอริ ยิ าบถ
อธั ยาศยั ของผไู้ มเ่ กลอื่ นกลน่ วนุ่ วาย เชน่ รกุ ขมลู รม่ ไม้ ตามถำ้� เงอ้ื มผา ในปา่ ในเขา
หลงั เขา ไหล่เขา ชายเขา ปา่ ชา้ ปา่ ชฏั และกระตอ๊ บเล็กๆ พอหมกตัวหลบั นอนและ
บำ� เพญ็ ธรรมในวนั คนื หนงึ่ ๆ เหลา่ นท้ี า่ นเรยี กวา่ เสนาสนะ คอื ทอี่ ยอู่ าศยั อนั เหมาะสม
ส�ำหรับพระผู้บวชและปฏิบัติเพื่ออรรถเพื่อธรรม เพื่อมรรคผลนิพพาน เพ่ือความ
หลุดพ้นจริงๆ เสนาสนะเหล่านี้เป็นสิ่งอ�ำนวยความสะดวกในการอยู่บ�ำเพ็ญได้เป็น
อย่างดี ถ้าจะน�ำออกประกวดดังโลกเขาประกวดวัตถุต่างๆ กัน โดยพระพุทธเจ้า
ทรงน�ำออกประกวดด้วยพระองค์เอง มิใช่คลังกิเลสน�ำออกประกวด ก็น่าจะได้
คะแนนน�ำตามหลักศาสนธรรม มิน่าเปน็ ชนดิ หรูๆ หราๆ แนน่ หนาม่นั คง สวยงาม
หลายช้ันหลายเชิง หลายหอ้ งหลายหบั ราคาแพงๆ จะเป็นคะแนนนำ� เสนาสนะทีเ่ ปน็
คะแนนน�ำในครัง้ พุทธกาลท่านนยิ มและสนใจกนั มาอยา่ งนน้ั นับแต่พระบรมศาสดา
เปน็ ลำ� ดบั มาถงึ สาวกทงั้ หลาย มไิ ดก้ า้ วกา่ ยกนั ถงึ กบั ประกาศไวใ้ นธรรมทงั้ หลายอยา่ ง
เปดิ เผย กลุ บตุ รทง้ั หลายไดอ้ า่ นไดศ้ กึ ษาเลา่ เรยี นและปฏบิ ตั ติ ามสบื ทอดกนั มาจนถงึ
สมัยปัจจุบันน้ี
77
สว่ นมากตอ่ มาก สรณะของโลกชาวพทุ ธเราทา่ นมกั อบุ ตั ขิ น้ึ ตามเสนาสนะอนั อดุ ม
สมบรู ณด์ ว้ ยคณุ สมบตั ทิ ส่ี ง่ เสรมิ อรรถธรรมโดยถา่ ยเดยี วดงั กลา่ วนแ้ี ทบทง้ั นน้ั เพราะ
เปน็ สถานทใี่ หค้ วามสะดวกแกก่ ารอยู่ การบำ� เพญ็ การพกั ผอ่ นหลบั นอน ตามอธั ยาศยั
ของผเู้ ห็นภัยในวัฏสงสารด้วยใจจริง พุทธะ ธรรมะ สังฆะ มกั เกดิ ขึน้ ในท่ีเหลา่ นน้ั
และเกดิ ไดง้ า่ ยกวา่ ทเ่ี กลอื่ นกลน่ วนุ่ วาย ซงึ่ รอ้ ยทงั้ รอ้ ยมกั เปน็ ทเ่ี พาะและบำ� รงุ สง่ เสรมิ
กิเลสวัฏ เพ่ือกรรมวัฏ วิปากวัฏ เป็นกงล้อกงจักรหมุนไปเวียนมาเป็นวงกลม
หาทางออกไมไ่ ด้ ราวกบั มดแดงไตข่ อบดง้ ฉะนน้ั สรปุ ความแลว้ เสนาสนะดงั ทธ่ี รรม
แสดงไวแ้ ลว้ มี รกุ ขฺ มลู เสนาสนํ เปน็ ตน้ เหลา่ นนั้ แลเปน็ เสนาสนะทที่ นั สมยั และหนนุ
ความเพียรเพื่อขับไล่กิเลสให้จนตรอกจนมุมและพังทลายออกจากใจได้ไม่เน่ินนาน
ดงั น้นั ผทู้ ่เี รม่ิ บวชใหม่ พระอปุ ชั ฌาย์จำ� ตอ้ งบอกสอนเสนาสนะทเี่ หมาะสมทนั สมยั
ให้ทุกๆ รูป เร่อื ยมาจนถึงปัจจบุ ัน ไม่มีค�ำวา่ รกุ ฺขมูลเสนาสนํ จะล้าสมยั ถา้ ไม่ใช่
ตวั ผบู้ วชถกู กเิ ลสฉดุ ลากบบี บงั คบั ใหล้ า้ สมยั ในธรรมเหลา่ นเ้ี สยี เอง จงึ ไมม่ ที คี่ ดั คา้ น
สวากขาตธรรม ทตี่ รสั ไวช้ อบแลว้ ไดเ้ รอ่ื ยมา เพราะผมู้ งุ่ รเู้ หน็ ธรรมภายในใจดว้ ยการ
ปฏิบัติจิตตภาวนาตามทางศาสดาทรงด�ำเนินและสอนไว้กับความรักชอบรุกขมูล
รม่ ไม้ ในถำ�้ เง้ือมผา ปา่ ชา้ ปา่ ชัฏ ยอ่ มกลมกลนื เป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั เพราะเปน็
สถานที่เหมาะสมและสนับสนุนทางความเพียรได้ดีกว่าที่ท้ังหลาย แม้โลกนิยมว่าดี
มรี าคามาก เชน่ ทย่ี า่ นชมุ นมุ ชน ทส่ี รา้ งตลาดรา้ นคา้ ทำ� เลดๆี ราคาแพงๆ เนอื่ งจากธรรม
และผู้แสวงธรรมไม่เหมือนโลกแม้อยู่ด้วยกัน เพราะความรู้ความเห็นความคิดอ่าน
ไตร่ตรองต่างกัน การอยู่และการเสาะแสวงจึงต่างกัน ฉะนั้น สถานที่ธรรมนิยม
ดงั กลา่ วจงึ เปน็ สถานทท่ี เ่ี หมาะสมกบั การบำ� เพญ็ ธรรมอยโู่ ดยสมำ่� เสมอ ไมม่ คี ำ� วา่ ครึ
ลา้ สมยั แตเ่ ปน็ ชยั สมรภมู ทิ ที่ นั กบั การตอ่ กรกบั กเิ ลสประเภทตา่ งๆ เสมอไปตราบเทา่
ฟา้ ดนิ สลาย (ศาสนธรรมหมดจากความนับถอื ของหม่ชู น) นั่นแล
คิลานเภสัช คือ ยาแก้โรคต่างๆ ท่ีควรน�ำมาเยียวยารักษาเช่นโลกท้ังหลาย
เพราะธาตขุ นั ธข์ องนกั บวชกบั ธาตขุ นั ธข์ องโลกทว่ั ไปยอ่ มเหมอื นๆ กนั ในความเปน็ อยู่
และการรักษาด้วยอาหารและหยูกยาต่างๆ แต่คร้ังพุทธกาลรู้สึกจะมีหยูกยาน้อย
ผดิ กับสมยั นอ้ี ย่มู าก แม้โรคก็น่าจะไม่พสิ ดารเหนอื เมฆดงั สมยั นี้ เพราะยงั ขนึ้ อยูก่ ับ
78
ดินฟ้าอากาศและส่ิงแวดล้อมตลอดเครื่องส่งเสริมอยู่บ้าง ในอนุศาสน์จึงมีเพียง
ฉันยาดองด้วยน้�ำปัสสาวะ หรือสมุนไพรบ้างเล็กๆ น้อยๆ ไมม่ ากจนกลายเป็นสินคา้
ลน้ ตลาดดงั สมยั ปจั จบุ นั น้ี สมยั นคี้ นกม็ าก โรคกม็ าก หมอกม็ าก ยากม็ าก คนลม้ ตาย
เพราะโรคชนดิ ตา่ งๆ ทย่ี าและหมอตามไมท่ นั กม็ าก สมยั กอ่ นๆ คนมนี อ้ ย โรคมนี อ้ ย
หยกู ยากม็ นี อ้ ย การตายเพราะโรคพสิ ดารเกนิ คาดกม็ นี อ้ ย ใครๆ จงึ ไมก่ ระตอื รอื รน้
กับหยูกยาและหมอเหมือนสมยั ปจั จบุ นั
พระครง้ั พุทธกาลตามต�ำราที่จารกึ ไว้ ท่านไม่คอ่ ยแสดงความกงั วลและหนกั ใจ
กบั โรคภยั ไขเ้ จบ็ อะไรมากนกั คำ� วา่ นำ� ยาตดิ ตวั นน้ั นา่ จะไมม่ ี ถา้ จะมกี เ็ พยี งมะขามปอ้ ม
สมอ เพ่ือแก้ความอ่อนเพลียเป็นบางเวลาของธาตุขันธ์เท่านั้น แต่สิ่งท่ีท่านถือเป็น
ขอ้ หนกั แนน่ กว่าสง่ิ ใดนัน้ นา่ จะไดแ้ กม่ รรคผลนพิ พาน จติ ท่านหมนุ ไปทางดา้ นอรรถ
ดา้ นธรรมเพือ่ ความหลดุ พน้ มากกวา่ จะหมนุ มาหาความกลัวโรคภยั ไข้เจบ็ ความล้ม
ความตาย และหยูกยา ความกลัวตายมนี อ้ ย แต่ความกลวั จะไมห่ ลุดพ้นจากกิเลส
แลกองทกุ ขน์ น้ั มมี าก วนั คนื และอริ ยิ าบถหนง่ึ ๆ จติ ทา่ นหมนุ อยกู่ บั ธรรมทง้ั หลาย คอื
ศรทั ธาธรรม วริ ยิ ธรรม สตธิ รรม สมาธธิ รรม ปญั ญาธรรม ตลอดเวลา หากเกดิ โรคภยั
ไข้เจ็บต่างๆ ขึ้นมา ท่านมักพิจารณาลงในสัจธรรมกลายเป็นเร่ืองเยียวยาทั้งโรค
ฆ่าทั้งกิเลสไปในขณะเดียวกัน ไม่อ่อนเปียกเรียกหายาและหมอมาเป็นคู่ชีวิตจิตใจ
คพู่ งึ่ เปน็ พงึ่ ตายจนเกนิ กวา่ ความพอดขี องพระผเู้ ชอื่ ธรรม เชอ่ื กรรม และเชอ่ื สจั ธรรม
ซง่ึ เปน็ ของจรงิ อนั ตายตวั เวลาปกตทิ า่ นกส็ งบงามตา เวลาเจบ็ ไขไ้ ดท้ กุ ข์ ทา่ นกไ็ มแ่ สดง
อาการทรุ นทุรายระส่�ำระสายท้งิ เน้ือทิ้งตวั ท้ิงกริ ิยามรรยาทอนั ดงี ามของสมณะ มีสติ
ประคองตวั ไม่โศกเศร้าเหงาหงอย ไม่ลืมอรรถลืมธรรมประจ�ำใจ
แมพ้ ระธดุ งคกรรมฐานในสมยั ปจั จบุ นั ทา่ นกป็ ฏบิ ตั ติ อ่ ตวั ทา่ นเองในเวลาเจบ็ ไข้
ไดท้ ุกขต์ า่ งๆ เชน่ เดยี วกบั พระทก่ี ลา่ วมาในครงั้ พุทธกาล ท่านไม่วติ กกังวลกับไข้ว่า
จะหายหรือไม่หาย จะเป็นหรือจะตาย มากไปกว่าการพิจารณาเป็นสัจธรรมเพ่ือรู้
เทา่ ทนั กายและทกุ ขเวทนา สญั ญา สงั ขาร อนั เปน็ เครอ่ื งหลอกจติ ในเวลานนั้ ซง่ึ เปน็
การทำ� ลายกเิ ลสไปในขณะเดยี วกนั การทโ่ี รคจะหายหรอื ไมน่ นั้ ทา่ นมอบไวก้ บั ความจรงิ
79
ของโรคของทุกข์ที่ปรากฏอยู่ในเวลานั้น แต่กลมารยาของใจอันถูกผลักดันออกมา
จากกำ� ลงั ของกเิ ลสนน้ั ทา่ นถอื เปน็ สำ� คญั มาก สตปิ ญั ญาตอ้ งจดจอ่ ตอ่ เนอื่ งกนั กบั ทกุ ข์
กับกายและกับใจท่ีเก่ียวโยงกันเพื่อความรู้แจ้งเห็นชัดตามความจริงที่มีอยู่แสดงอยู่
ดว้ ยปัญญา และปล่อยวางกนั ตามลำ� ดบั ท่ีสตปิ ญั ญาหยง่ั ทราบความจริง การรักษา
ด้วยยาทา่ นกร็ ักษา การรกั ษาด้วยธรรมโอสถท่านก็รักษา ซึง่ เปน็ การเข่นฆา่ กิเลสไป
ในขณะเดียวกัน ท่านไม่นั่งนอนเฝ้าทุกข์ให้หายด้วยยาอย่างเดียวด้วยใจอ่อนเปียก
เรยี กหาแตค่ นมาชว่ ยแบบนนั้ แตท่ า่ นเรยี กหา ศรทั ธา วริ ยิ ะ สติ สมาธิ ปญั ญา มาชว่ ย
บ�ำบัดรักษาไข้และฆ่ากิเลสด้วยในประโยคแห่งความเพียรอันเดียวกัน ผลท่ีได้รับ
โรคก็ทราบวา่ โรคเกิดในกาย แตไ่ ม่อาจเสียดแทงจติ ใจท่านได้ ใจก็อาจหาญเชือ่ ตอ่
สจั ธรรมประจักษ์ตัว สตปิ ญั ญาก็คล่องตวั ไมก่ ลัวทกุ ข์ ไมก่ ลวั ตาย อยูอ่ ย่างสบาย
หายหว่ ง นคี่ ือการรกั ษาโรคด้วยธรรมโอสถของพระธดุ งคกรรมฐานในสมยั ปัจจบุ นั
ซง่ึ ท่านทำ� กันเปน็ ประจำ� ในวงสจั ธรรม
(จบปาริสทุ ธิศลี )
หลวงปขู่ าวท่านมีลกู ศษิ ยม์ ากมาย ทงั้ พระเณรและฆราวาสจากภาคต่างๆ ของ
เมอื งไทย มาศกึ ษาอบรมศลี ธรรมกบั ทา่ นเสมอมไิ ดข้ าด แตเ่ มอ่ื ชราภาพลง ทา่ นพยายาม
รักษาความสงบเฉพาะองค์ท่านมากกว่าปรกติที่เคยเป็นมาเพ่ือวิบากขันธ์จะได้
สืบต่อกันไปเท่าที่ควร และเพื่อท�ำประโยชน์แก่โลกท่ีควรได้รับซึ่งมีอยู่มากมาย
ปกตหิ ลงั จากฉนั เสรจ็ แลว้ ทา่ นเรมิ่ เขา้ ทางจงกรมทำ� ความเพยี รราวหนง่ึ ถงึ สองชวั่ โมง
แล้วออกจากทางจงกรมเข้าห้องพัก และท�ำภาวนาต่อไปจนถึงบ่ายสองโมง ถ้าไม่มี
ธรุ ะอื่นๆ กเ็ ขา้ ทางจงกรมทำ� ความเพียรตอ่ ไปจนถึงเวลาปัดกวาดลานวัด ท่านถงึ จะ
ออกมาจากที่ท�ำความเพียร หลังจากสรงน้�ำเสร็จ ก็เข้าทางจงกรมและเดินจงกรม
ท�ำความเพียรต่อไปถึงสี่หรือห้าทุ่มจึงหยุด แล้วเข้าที่สวดมนต์ภาวนาต่อไปจนถึง
เวลาจำ� วดั แลว้ พกั ผอ่ นรา่ งกาย ราวสามนาฬกิ าคอื เกา้ ทมุ่ เปน็ เวลาตื่นจากจำ� วดั และ
ทำ� ความเพยี รตอ่ ไปจนถงึ เวลาโคจรบณิ ฑบาต จงึ ออกบณิ ฑบาตมาฉนั เพอื่ บำ� บดั กาย
ตามวิบากทย่ี ังครองอยู่ นี่เป็นกจิ วตั รประจ�ำทท่ี า่ นจ�ำต้องท�ำมิให้ขาดได้ นอกจากมี
80
ธุระจำ� เป็นอยา่ งอ่นื เช่น ถูกนมิ นตไ์ ปในทต่ี า่ งๆ กม็ ขี าดไปบ้าง ท่านผู้มีคณุ ธรรมสงู
ขนาดนแ้ี ลว้ ทา่ นไมห่ วงั ความสขุ รนื่ เรงิ จากอะไรยง่ิ กวา่ ความสขุ รน่ื เรงิ ในธรรมภายในใจ
โดยเฉพาะ ท่านมีความเป็นอยู่อันสมบูรณ์ด้วยธรรมภายใน อยู่ในท่าอิริยาบถใด
ใจกม็ คี วามสขุ เสมอตวั ไมเ่ จรญิ ขนึ้ และเสอื่ มลง อนั เปน็ ลกั ษณะของโลกทมี่ คี วามเจรญิ
กับความเสอ่ื มเปน็ ของค่กู ัน ทัง้ นี้เพราะทา่ นมใี จดวงเดียวทบ่ี รสิ ทุ ธสิ์ ุดสว่ น มธี รรม
แทง่ เดยี วเป็นเอกภี าพ ไม่มีสองกับอะไรพอจะเปน็ คู่ดแี ขง่ เดน่ จึงเป็นความสงบสขุ
ทห่ี าอะไรเปรียบมิได้ จิตท่ีมคี วามบรสิ ุทธ์เิ ตม็ ภมู เิ ป็นจติ ที่มีความสงบสุขอยา่ งพอตวั
ไมต่ อ้ งการอะไรมาเพม่ิ เตมิ สง่ เสรมิ ใหเ้ ปน็ ความกระเพอ่ื มกงั วลเปลา่ ๆ ไมเ่ กดิ ประโยชน์
แกจ่ ติ ดวงนนั้ เลยแม้แตน่ อ้ ย ท่านท่ีครองจติ ดวงนีจ้ งึ ชอบอยคู่ นเดียว ไม่ชอบความ
เกล่ือนกลน่ วนุ่ วาย เพราะสง่ิ เหล่านี้เปน็ เครอื่ งรบกวนความสงบสขุ ในหลักธรรมชาติ
ทเ่ี ปน็ อยอู่ ยา่ งพอตวั ใหก้ ระเพอ่ื มรบั ทราบทางทวารตา่ งๆ ทา่ นจงึ ชอบหลกี เรน้ อยตู่ าม
อธั ยาศยั ซงึ่ เปน็ การเหมาะกบั จรติ นสิ ยั ทส่ี ดุ แตผ่ ไู้ มเ่ ขา้ ใจตามความจรงิ ของทา่ นกม็ กั
คดิ ไปตา่ งๆ วา่ ทา่ นไมต่ อ้ นรบั แขกบา้ ง ทา่ นรงั เกยี จผคู้ นบา้ ง ทา่ นหลบหลกี เอาตวั รอด
แต่ผู้เดียวไม่สนใจอบรมสั่งสอนประชาชนบ้าง ความจริงก็เป็นดังท่ีเรียนมาน่ันเอง
การอบรมสงั่ สอนคน จะหาใครทอ่ี บรมดว้ ยความบรสิ ทุ ธใิ์ จและเตม็ ไปดว้ ยความเมตตา
ไมส่ นใจกบั อามสิ หรอื สง่ิ ตอบแทนใดๆ เหมอื นทา่ น รสู้ กึ จะหายากมาก เพราะการอบรม
สงั่ สอนคนทกุ ชนั้ ทกุ เพศทกุ วยั ทา่ นสอนดว้ ยความรจู้ รงิ เหน็ จรงิ จรงิ ๆ และมงุ่ ประโยชน์
แกผ่ รู้ บั ดว้ ยความเมตตาหาทต่ี ำ� หนมิ ไิ ด้ นอกจากทไี่ ปรบกวนทา่ นแบบนอกลนู่ อกทาง
จึงไม่อาจต้อนรับและส่ังสอนได้ทุกรายไป เพราะสุดวิสัยของพระจะท�ำไปนอกลู่
นอกทางตามคำ� ขอรอ้ งเสยี ทกุ อยา่ งของผไู้ มม่ ขี อบเขตความพอดี ทา่ นเองกพ็ ลอยไดร้ บั
ความลำ� บากและเสียหายไปด้วยทน่ี ่าสงสาร
เวลาท่านยังมีชีวิตอยู่ได้ให้ความเมตตาอบอุ่นแก่พระเณรจ�ำนวนมาก ตลอด
ประชาชนในภาคตา่ งๆ แหง่ ประเทศไทย พากนั ไปกราบไหวบ้ ชู าฟงั การอบรมกบั ทา่ น
เสมอมิได้ขาด ทางวัดเห็นความล�ำบากในองค์ท่านเพราะเข้าวัยชราแล้ว จ�ำต้องจัด
ใหม้ ีกาลเวลาทคี่ วรเขา้ กราบเย่ยี ม รับการอบรม และเวลาพักผอ่ นพอสมควร เพอื่ ท�ำ
ประโยชนแ์ กโ่ ลกไปนาน ไมห่ กั ขาดสะบน้ั ลงในระหวา่ งทอี่ ายยุ งั ไมถ่ งึ กาลทคี่ วรจะเปน็
81
โดยมากการตอ้ นรบั ขบั สกู้ นั ระหวา่ งพระผเู้ ปน็ ครอู าจารยก์ บั ประชาชนจำ� นวนมากทม่ี า
จากทตี่ า่ งๆ ประกอบนานาจติ ตงั ดว้ ยแลว้ พระอาจารยอ์ งคน์ น้ั ๆ มกั จะเปน็ ฝา่ ยบอบชำ�้
อยเู่ สมอทกุ เวลานาทที ม่ี ผี ไู้ ปเกย่ี วขอ้ ง ซงึ่ สว่ นมากกห็ วงั ใหไ้ ดอ้ ยา่ งใจของตวั ไมค่ ำ� นงึ
ถงึ ความลำ� บากและหนา้ ทก่ี ารงานของทา่ นทที่ ำ� ประจำ� วนั เวลาบา้ งเลย จงึ มกั ถกู รบกวน
ย่ิงกว่าน้�ำบึงน้�ำบ่อเสียอีก หากไม่สมใจหวังบ้างก็ท�ำให้เกิดความขุ่นมัวภายในว่า
ท่านรังเกยี จถอื ตัว ไมใ่ ห้การตอ้ นรบั ขบั สูส้ มกับเพศทีบ่ วชมาเพื่อช�ำระกเิ ลสประเภท
ถือตวั และขดั ใจคน นอกจากนั้นก็ต้ังขอ้ รงั เกียจขึน้ ภายในและระบายออกในทต่ี า่ งๆ
อันเป็นทางใหเ้ กิดความเสอ่ื มเสียตามๆ กันมาไมม่ สี ้นิ สุด พระทีค่ วรเคารพเลอ่ื มใส
และเป็นประโยชน์แก่ประชาชนก็อาจกลายเป็นพระที่มีคดีติดตัวโดยไม่มีศาลใด
กลา้ ตัดสนิ ลงได้ ความจริงพระบวชมาก็เพ่ือทำ� ประโยชน์แก่ตนและแกโ่ ลกเตม็ ความ
สามารถ ไมน่ งิ่ นอนใจ เวลาหนงึ่ ทำ� งานอยา่ งหนงึ่ อกี เวลาหนงึ่ ทำ� งานอยา่ งหนง่ึ ไมค่ อ่ ย
มเี วลาวา่ งในวนั คนื หนงึ่ ๆ ทง้ั จะเจยี ดเวลาไวส้ ำ� หรบั โลก ทง้ั จะเจยี ดไวส้ ำ� หรบั พระเณร
ในปกครองและทั่วไปที่มาเก่ียวข้อง ท้ังจะเจียดไว้ส�ำหรับธาตุขันธ์และจิตใจให้จีรัง
ไปนานเพื่อท�ำประโยชน์แก่โลกสืบไป วันคืนหนึ่งๆ กายกับใจหมุนตัวเป็นกงจักร
ไมม่ เี วลาพกั ผอ่ นหยอ่ นกายหยอ่ นใจบา้ งเลย คดิ ดแู ลว้ แมแ้ ตเ่ ครอื่ งใชส้ อยตา่ งๆ เชน่
รถยนต์ เปน็ ตน้ ยงั มเี วลาพกั เครอ่ื งหรอื เขา้ โรงซอ่ มแกไ้ ขสว่ นบกพรอ่ งใหส้ มบรู ณเ์ พอ่ื
ท�ำประโยชนต์ ่อไป ไม่เช่นนนั้ กฉ็ บิ หายบรรลยั ไปในไมช่ ้า พระกม็ ิใช่พระอิฐพระปนู
ทตี่ อ้ งถกู โยนขน้ึ บนตกึ นน้ั รา้ นนเ้ี พอ่ื การกอ่ สรา้ งอาคารบา้ นเรอื นตา่ งๆ สดุ แตน่ ายชา่ ง
เห็นสมควรจะโยนข้ึน ณ ท่ีแห่งใด เมื่อเป็นเช่นน้ีจ�ำต้องมีเม่ือยหิวอ่อนเพลียและ
มีการพักผ่อนหย่อนภาระที่ตึงเครียดมาตลอดเวลาพอได้มีเวลาเบากายสบายจิตบ้าง
โดยมากญาตโิ ยมเขา้ หาพระมกั จะนำ� นสิ ยั และอารมณต์ ามชอบใจเขา้ ไปทบั ถมรบกวน
พระใหท้ า่ นอนโุ ลมทำ� ตาม โดยมไิ ดค้ ดิ คำ� นงึ วา่ ผดิ หรอื ถกู ประการใด เพราะนสิ ยั เดมิ
มไิ ดเ้ คยสนใจในเหตผุ ลผดิ ถูกดชี ั่วเท่าท่คี วรมาก่อน เมอื่ เกิดความตอ้ งการประสงค์
ในแง่ใดและจะให้ท่านช่วยเหลอื ในแงใ่ ด จึงไม่ค่อยคดิ นกึ ว่าพระกับฆราวาสมีจารตี
ประเพณตี า่ งกนั คอื พระทา่ นมหี ลกั ธรรมวนิ ยั เปน็ เครอื่ งประพฤตดิ ำ� เนนิ จารตี ประเพณี
ของพระก็คือพระธรรมวินัยเป็นเคร่ืองแสดงออก ซ่ึงจ�ำต้องค�ำนึงความผิดถูกชั่วดี
82
อยตู่ ลอดเวลาวา่ สงิ่ นค้ี วรหรอื ไมค่ วรเปน็ ตน้ สว่ นฆราวาสไมค่ อ่ ยมธี รรมวนิ ยั ประจำ� ตวั
เปน็ หลกั ปฏบิ ตั ิ โดยมากจงึ มกั ถอื ความชอบเปน็ ความประพฤติ เมอ่ื นำ� เขา้ ไปเกย่ี วขอ้ ง
กับพระ ฝา่ ยพระจึงมกั ถกู รบกวนและท�ำลายโดยไมม่ ีเจตนา หรือถูกท�ำลายทางอ้อม
อยเู่ สมอ เชน่ ไปขอใหท้ า่ นบอกเบอร์ ซง่ึ เปน็ การขดั ตอ่ พระธรรมวนิ ยั ของพระ ไปขอ
ใหท้ า่ นทำ� เสนห่ ย์ าแฝดอนั เปน็ การทำ� ใหห้ ญงิ กบั ชายรกั ชอบกนั ไปขอใหท้ า่ นบอกฤกษ์
งามยามดีเพื่อโชคลาภร�่ำรวย หรือเพื่ออะไรร้อยแปดพรรณนาไม่จบ ให้ท่านดูดวง
ชะตาราศที ำ� นายทายทกั ใหท้ า่ นบอกคาถาอาคมเพอื่ อยยู่ งคงกระพนั ชาตรี ยงิ ฟนั ไมอ่ อก
แทงไมเ่ ขา้ ทบุ ตีไม่แตก ไปขอใหท้ า่ นรดน�ำ้ มนตเ์ พ่อื สะเดาะเคราะห์เข็ญเวรภัยรา้ ยดี
ตา่ งๆ เหลา่ นี้ ซงึ่ เปน็ การขดั ตอ่ จารตี ประเพณคี อื พระธรรมวนิ ยั ของพระทจี่ ะอนโุ ลมได้
ย่ิงครูอาจารย์ที่ประชาชนเคารพนับถือก็ย่ิงได้รับความกระทบกระเทือนด้วยเรื่อง
ดงั กลา่ วและเรอื่ งอน่ื ๆ ในทำ� นองเดยี วกนั มากมายจนไมอ่ าจพรรณนาไดใ้ นวนั หนง่ึ ๆ
เฉพาะพระธุดงค์ท่ีท่านมุ่งอรรถมุ่งธรรมมุ่งความหลุดพ้นในสายท่านอาจารย์มั่น
ท่านมไิ ด้สนใจกบั ส่งิ พรรค์น้ี ท่านถือวา่ เปน็ ข้าศึกตอ่ การดำ� เนินโดยชอบธรรม และ
เปน็ การสง่ เสรมิ คนใหห้ ลงผดิ มากขน้ึ หนกั เขา้ อาจเปน็ การทำ� ลายพระและพระศาสนา
อย่างออกหน้าออกตาก็ได้ เช่น เขาให้นามว่าพระบัตรพระเบอร์ ศาสนาบัตรเบอร์
พระเสน่ห์ยาแฝด ศาสนาเสน่ห์ยาแฝด เป็นต้น ซ่ึงท�ำให้พระและศาสนามัวหมอง
และเสื่อมคุณภาพลงโดยล�ำดับอย่างหลีกไม่พ้นที่ผลน้ันสืบเน่ืองมาจากการกระท�ำ
ดงั กลา่ ว การกลา่ วทงั้ นมี้ ไิ ดค้ ดิ ตำ� หนทิ า่ นสาธชุ นทว่ั ๆ ไป และมไิ ดค้ ดิ ตำ� หนทิ า่ นผเู้ ขา้ หา
พระโดยชอบธรรม เป็นเพียงเรียนเผดียงเพ่ือทราบวิธีปฏิบัติต่อกันระหว่างพระ
กับประชาชนซึ่งแยกกันไม่ออกแต่ไหนแต่ไรมาจะได้ปฏิบัติต่อกันโดยสะดวกราบร่ืน
สมกับต่างฝ่ายต่างหวังดีและพึ่งเป็นพ่ึงตายกันตลอดมา และต่างฝ่ายต่างหวังเชิดชู
พระศาสนาด้วยกัน
83
ปีพรรษาท่ี ๔๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๐
หลวงป่ปู ว่ ยหนกั
เริม่ แตว่ นั ที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๑๐ หลวงปู่เริม่ ป่วย ขนั้ เร่ิมแรกกเ็ ปน็ ไข้หวดั
แตอ่ าการของหวดั นนั้ ผนั แปรไปในแงต่ า่ งๆ ทจี่ ะยงั โรคอนื่ ๆ ใหแ้ ทรกซอ้ นและกำ� เรบิ
รุนแรงไปตามๆ กนั หนักเข้าจนฉนั ไม่ได้ เริม่ แรกเปน็ ไขห้ วัดใหญท่ ่ียังไมแ่ ปรเปน็
โรคอน่ื ๆ หลายชนิดในธาตุขันธ์นน้ั ทา่ นยงั อตุ สา่ หล์ งไปฉันจงั หันร่วมพระเณรในวดั
ทหี่ น้าถ้�ำกลองเพลได้ตามปกติ ในสายตาคนภายนอกกอ็ าจคดิ วา่ ท่านมิไดเ้ ป็นอะไร
นอกจากโรคชราประจำ� คนแกอ่ ยา่ งเดยี วเทา่ นน้ั แตเ่ พราะโรคกำ� เรบิ แปรเปน็ อยา่ งอน่ื
ไปไม่มีส้ินสุด ก�ำลังธาตุขันธ์ก็ทรุดลงทุกวันเวลาจนไม่สามารถไปฉันร่วมหมู่คณะท่ี
ถ�้ำได้ ทา่ นยังยอมอดยอมทนและฝนื ฉันแมจ้ ะได้เลก็ ๆ น้อยๆ ท่กี ุฎที า่ นเอง จนฉนั
ไม่ได้ กำ� ลังออ่ นลงอยา่ งเห็นได้ชัด การพลกิ แพลงอวยั วะจ�ำตอ้ งมีพระเณรคอยดแู ล
อปุ ัฏฐากตลอดเวลา
ขา่ วคราวความไม่สบายของหลวงปกู่ ระจายไปถงึ ไหน คลนื่ มนษุ ย์ ประชาชน
พระเณร มาถึงนั้นอย่างรวดเร็ว เพราะต่างคนต่างมีจิตใจใฝ่ฝันยึดม่ันในองค์ท่าน
เปน็ ทฝ่ี ากเปน็ ฝากตายภายในใจอยา่ งแนบสนทิ อยแู่ ลว้ เมอ่ื ทราบขา่ ววา่ ทา่ นไมส่ บาย
ก็จ�ำต้องสะเทือนใจอย่างหนัก ราวกับฟ้าดินถล่ม ข้ัวหัวใจจะขาดหายไปจากร่าง
ในเวลานั้นจนได้ นับแต่ข่าวน้ันผ่านเข้าความรู้สึกต่างก็หลั่งไหลมาทุกทิศทุกทาง
84
ทงั้ ประชาชนทงั้ พระเณรจากทศิ ตา่ งๆ ทง้ั ใกลแ้ ละไกลตา่ งหลง่ั ไหลมาเยย่ี มอาการของทา่ น
ดว้ ยความกระหายอยากพบอยากเหน็ อยากกราบไหวบ้ ชู าเปน็ ขวญั ตาขวญั ใจในขณะ
ทเ่ี ข้ามากราบไหวท้ ่าน
วัดถ�้ำกลองเพลในช่วงท่ีท่านป่วยน้ันจึงเป็นเหมือนมีงานในวัด แออัดไปด้วย
ผู้คนหญิงชาย พระเณรแลฆราวาสที่มาจากท่ตี ่างๆ จนทางวัดไม่อาจรบั รองได้ทวั่ ถงึ
ท้ังท่ีพักหลับนอน อาหารการบริโภค ต่างให้ช่วยตัวเองบ้างช่วยกันเองบ้างในเวลา
ขาดแคลนจำ� เป็น เพราะวัดกเ็ ป็นสถานท่ีอย่ขู องนักบวชผขู้ อทานชาวบา้ นมาฉนั มิใช่
สถานทอี่ ยขู่ องมหาเศรษฐซี งึ่ ตา่ งกท็ ราบกนั อยแู่ ลว้ แตก่ ด็ อี ยา่ งหนง่ึ ทวี่ ดั ถำ�้ กลองเพล
มีบริเวณอันกว้างขวางและเต็มไปด้วยป่าด้วยเขา ร่มไม้ เง้ือมผาต่างๆ การพักอยู่
หลับนอนจงึ สะดวก โดยยึดเอาป่าเขาร่มไม้ในบริเวณวัดเปน็ ท่ีพักผอ่ นหลับนอนเลย
ทีเดียวอย่างสบายหายห่วง เป็นความสะดวกท้ังพระเณรและประชาชนจ�ำนวนมาก
ท่ีมาพักเย่ยี มอาการท่านชั่วคราว
เฉพาะอาหารบณิ ฑบาตสำ� หรบั พระเณรและประชาชน แทนทจี่ ะอดอยากขาดแคลน
เพราะคนมากด้วยกัน แต่ก็มีอุดมสมบูรณ์แต่ต้นชนปลายท่ีท่านป่วยซึ่งเป็นเวลา
๔ เดอื นกวา่ ไม่บกพรอ่ งขาดเขินเลย นบั วา่ เป็นเรื่องอัศจรรยใ์ นบุญวาสนาบารมีของ
หลวงปทู่ า่ นคมุ้ ครอง แมผ้ คู้ นพระเณรจำ� นวนมากทมี่ าคละเคลา้ กนั กเ็ ปน็ ประหนงึ่ ลกู
ของพ่อแม่เดียวกันหรือเป็นเหมือนอวัยวะอันเดียวกันอยู่ร่วมกันด้วยความสงบสุข
ไมม่ อี ธกิ รณห์ รอื เรอ่ื งราวใดๆ เกดิ ขนึ้ เลย ตา่ งมใี บหนา้ ยมิ้ แยม้ แจม่ ใส พบปะทกั ทายกนั
อยา่ งนมุ่ นวลออ่ นหวานราวกบั เคยพบเหน็ และสนทิ สนมกนั มาเปน็ เวลานานปี เรม่ิ แรก
ทท่ี า่ นปว่ ย ทางวดั และครอู าจารยท์ ง้ั หลายปรกึ ษากนั ไวเ้ กย่ี วกบั ผคู้ นพระเณรมามาก
อาจเกดิ ความไมส่ งบขนึ้ ได้ พรอ้ มกบั ความเขม้ งวดกวดขนั พระเณรทก่ี า้ วเขา้ มาในวดั
เพอ่ื รกั ษาความสงบในหมคู่ ณะทเี่ ขา้ เกยี่ วขอ้ งกนั ไวไ้ มป่ ระมาท เรอื่ งราวกผ็ า่ นไปดว้ ย
ความสงบราบรน่ื ดงี ามทกุ ประการ นา่ อนโุ มทนาอยา่ งยง่ิ ไมน่ า่ จะหลงลมื ไดล้ งคอในชวี ติ
ของผู้เขยี นและทา่ นผู้เคยไดพ้ บเหน็ เหตุการณ์นดี้ ้วยกนั
85
หลวงปู่ฉนั ไม่ได้และทรดุ ลงโดยล�ำดับ ประชาชนพระเณรยง่ิ หลงั่ ไหลมาทกุ ทิศ
ทกุ ทาง ระยะทท่ี า่ นปว่ ยนบั แตเ่ รมิ่ ตน้ ปว่ ยหนกั ผเู้ ขยี น (หลวงตาบวั ) กม็ าอยกู่ บั ทา่ น
เปน็ ประจำ� หลายวนั จะกลบั ไปคา้ งวดั สกั คนื สองคนื กต็ อ้ งรบี กลบั มา ทง้ั นเี้ พราะเปน็ หว่ ง
ท่านมากและเพ่ือความสงบเรียบร้อยในด้านอ่ืนๆ แต่ก็เดชะบารมีของหลวงปู่ท่าน
คุ้มครองรกั ษาสถานการณ์ทุกดา้ นสงบเรียบร้อยดี สำ� หรับอาการของท่านเมอื่ ขบฉนั
อะไรไม่ได้ ธาตุขนั ธก์ ย็ ่ิงทรดุ ลงอยา่ งเห็นได้ชดั ในสายตาท่วั ๆ ไป เมือ่ เรียนถามถึง
ความเป็นอยู่และการจากไป ท่านให้เหตุผลอย่างจับใจไพเราะมากว่า จะมีอะไรใน
ธาตขุ นั ธอ์ นั น้ี จะไปเมอื่ ไรกม็ ไิ ดว้ ติ กวจิ ารณอ์ าลยั เสยี ดายมนั นี่ เพราะกเ็ หน็ แต่ ดนิ นำ�้
ลม ไฟ อนั เป็นสว่ นผสมของธาตุรวมตวั กนั อยเู่ ท่านั้น ถ้าผรู้ คู้ อื ใจไปปราศเสยี เมือ่ ไร
เมื่อน้ันมนั กก็ ระจายลงไปส่ธู าตุเดิมของตนทันทีไม่รอฟังเสียงใครๆ ทง้ั สน้ิ เลยแหละ
ถ้าไม่คิดเก่ียวข้องกับหมู่คณะและประชาชนท่ีมีส่วนได้ส่วนเสียรวมอยู่ด้วยแล้ว
แม้ขันธ์จะแตกไปเดี๋ยวน้ีก็ให้แตกไป เราก็หมดความรับรู้ความรับผิดชอบลงทันที
ไมม่ ภี าระใดตอ้ งแบกหามอกี แลว้ คำ� วา่ อนาลโย ทเ่ี ปน็ ฉายาของเรามาแตว่ นั เรมิ่ บวช
จะได้เปน็ ความจรงิ ตวั จรงิ ข้นึ มาอย่างสมบูรณ์ เวลาน้ีทอี่ นาลโยของเรายงั ไม่สมบูรณ์
ก็เพราะขนั ธสมมตุ ขิ นั ธปัญจกขอแบง่ ไว้ ต้องรับผิดชอบเขาทกุ ด้านทกุ ทาง คือต้อง
พาอยู่ พากนิ พาหลบั พานอน พาขับ พาถ่าย พาเปลย่ี นอริ ยิ าบถทา่ น้นั ทา่ น้ี ไมไ่ ด้
หยดุ หยอ่ นผอ่ นคลายบา้ งเลย ราวกบั พดั ลมหมนุ ตวิ้ ๆ อยทู่ ำ� นองนน้ั ขน้ึ ชอื่ วา่ สมมตุ ๆิ
มนั มคี วามสงบนงิ่ อยู่เป็นปกติสุขไดเ้ ม่ือไร ตอ้ งหมุนของมันอย่ทู ำ� นองน้นั ข้างนอก
กห็ มนุ ขา้ งในกห็ มนุ แมข้ นั ธห์ า้ ในรา่ งกายของเรานก้ี ห็ มนุ มนั อยสู่ งบสขุ ไมไ่ ด้ จะไป
หวังเอาความสุขความสบายจากมันซ่ึงเป็นตัวหมุนต้ิวๆ อยู่น้ีได้อย่างไร ถ้าใครจะ
หวงั เอาความสขุ ความสบายจากขนั ธอ์ นั เปน็ บอ่ แหง่ ความทกุ ขค์ วามกงั วลนี้ ผนู้ น้ั กค็ อื
ผู้พลาดหวังตลอดไป จะไม่มีขันธ์ใดมาสนองตอบความสมหวังน้ันเลย ผมเองก็
ครองขันธน์ ี้แบกขันธน์ ี้มารว่ มเข้าแปดสิบปนี แ้ี ลว้ ก็ไม่เห็นไดส้ ิ่งพึงใจสนองตอบจาก
ขนั ธอ์ นั นี้ ทเี่ ดน่ ๆ กม็ แี ตท่ กุ ขเ์ ทา่ นนั้ ทง้ั ทกุ ขย์ อ่ ยทกุ ขใ์ หญแ่ สดงอยตู่ ลอดเวลากว็ า่ ได้
ไมเ่ คยเหน็ ความสงบสขุ ของขนั ธป์ รากฏใหร้ เู้ หน็ อยา่ งชดั เจนบา้ งเลย เวลาปกตไิ มเ่ จบ็ ไข้
ไดป้ ว่ ยกแ็ สดงความทกุ ข์ประจำ� ขนั ธข์ ึน้ มาอยู่นน่ั แล เช่น เจบ็ นัน้ ปวดนี้ตามอวัยวะ
86
นอ้ ยใหญ่ ไมเ่ หน็ แสดงความสขุ ใหเ้ หน็ นน่ี า ทวี่ า่ กนั วา่ สขุ ๆ นนั้ กเ็ สกสรรเอาเฉยๆ ดว้ ย
ความตดิ ปากตดิ ใจในสขุ ตา่ งหาก ความจรงิ แลว้ รา่ งกายสว่ นตา่ งๆ ไมเ่ คยแสดงความสขุ
อยา่ งเดน่ ชดั ใหเ้ หน็ เหมอื นแสดงความทกุ ขใ์ หแ้ บกหามซงึ่ แตล่ ะครงั้ แทบสลบไสลและ
ตายได้ถ้าทุกข์น้ันไม่หยุดการแสดงตัว ใครๆ อย่าไปหลงลมหลงแล้งในขันธ์ว่าจะ
เอาสขุ มาแจกแบง่ พอใหด้ ใี จบา้ ง นอกจากทกุ ขร์ อ้ ยแปดคณนาไมจ่ บสนิ้ เทา่ นนั้ ทม่ี นั มา
ทมุ่ ใหแ้ บกใหห้ ามเรอื่ ยมา ผมเองกย็ อมรบั วา่ แบกขนั ธอ์ นั เปน็ กองทกุ ขน์ ม้ี าแปดสบิ ปี
นเ้ี อง ยงั จะใหท้ นแบกไปถงึ ไหนกนั อกี พดู จบประโยคแลว้ ทา่ นยม้ิ นดิ ๆ ราวกบั ทา่ นยมิ้
เยาะเย้ยกเิ ลสและวิบากของกิเลสคอื ขันธ์ทท่ี า่ นก�ำลงั ครองอยู่ จะให้ผมแบกกองฟนื
กองไฟไปหาอะไร โดยเข้าใจว่าขันธน์ ้จี ะเอาของอัศจรรย์มาหยบิ ยื่นให้ ผมไมส่ งสยั
ในขนั ธ์น้ที ้ังที่กำ� ลงั ครองตัวอยู่และสลายจากกันไป ผมเปน็ ผม ขันธ์เปน็ ขันธ์ จะให้
ควา้ ยดึ มาบวกกนั หาอะไร การปลอ่ ยขนั ธโ์ ดยสน้ิ เชงิ เทา่ นนั้ อนาลโย จงึ สมบรู ณแ์ บบ
การเมตตาสงสารหมเู่ พอื่ นและประชาชนนนั้ ยอมรบั วา่ เตม็ ดวงใจไมม่ บี กพรอ่ ง การฝนื
อยู่ทั้งท่ีรู้ว่าขันธ์น้ีเป็นทุกข์ก็ฝืนอยู่เพราะความเล็งประโยชน์แก่ผู้ควรได้รับซึ่งมีอยู่
จำ� นวนมากตอ่ มากนน้ั แล ลำ� พงั ตวั ผมเองพรอ้ มเสมอทจี่ ะปลอ่ ย ภารา หเว ปญจฺ กขฺ นธฺ า
ทเ่ี คยเปน็ บอ่ แหง่ นำ้� ตาของสตั วโ์ ลกและของเราผเู้ คยหงึ หวงมนั เวลานเี้ ราไมห่ ว่ งไมห่ วง
และพรอ้ มทจ่ี ะปลอ่ ยวางลงตามธาตเุ ดมิ ของเขา ไมข่ ดั ไมข่ นื ไมฝ่ นื ความจรงิ เนอ่ื งจาก
เคยฝืนมาแล้วเจอแต่ทุกข์จนเข็ดหลาบอย่างถึงใจ มาบัดน้ีจึงไม่ฝืน ปล่อยตาม
คตธิ รรมดาซึ่งเปน็ ทางเดินของธรรมคือความจริงอันตายตวั
ท่านผู้เคยรับผิดชอบกอบกู้ตัวเองมาโดยหลักธรรมชาติไม่มีใครบอกไม่มี
ใครบังคับ แต่ความจ�ำเป็นหากบังคับตัวเองให้จ�ำต้องรับผิดชอบในตัวเองด้วยกัน
ทกุ ตวั สตั ว์ จงอยา่ ประมาท และจงถอื จติ เปน็ รากฐานสำ� คญั พาดำ� เนนิ ทงั้ การอาชพี และ
การบ�ำเพ็ญความดีท้ังหลาย ตลอดความประพฤติอัธยาศัยการแสดงออกทุกอาการ
จงแสดงออกดว้ ยการรบั ผดิ ชอบตวั เอง โดยทำ� ความรสู้ กึ ตวั อยเู่ สมอวา่ เราเปน็ ผทู้ ำ� ดี
ทำ� ชวั่ เราเปน็ ผู้แสดงออกด้วยอาการต่างๆ ซ่งึ มีเจา้ ของเปน็ ผู้รับผิดชอบ คอื เราเอง
เป็นผู้คอยรับผลดี-ชั่วของงานน้ันๆ ผลงานน้ันๆ ไม่สูญหายไปไหน จะไหลเข้าสู่
ต้นเหตุ คือเราซึ่งเป็นผทู้ �ำ ผแู้ สดงออก คำ� วา่ เรา อันเป็นหลกั ใหญใ่ นตัวคนกค็ ือใจ
87
ใจเป็นของไม่ตาย และไม่เคยตายมาแต่กาลไหนๆ นอกจากระเหเร่ร่อนไปเกิดใน
ก�ำเนิดดี-ชั่วต่างๆ ตามอ�ำนาจของวิบากกรรมดี-ชั่วท่ีตนท�ำไว้พาให้เป็นไปเท่านั้น
ยงิ่ คำ� วา่ ตายแลว้ สญู นนั่ ไมม่ ใี นใจดวงใดๆ เลย ทง้ั ใจสตั วใ์ จบคุ คล แมใ้ จพระพทุ ธเจา้
และใจพระอรหนั ตผ์ สู้ น้ิ กเิ ลสตวั พาใหเ้ กดิ -ตายแลว้ กไ็ มส่ ญู แตไ่ มเ่ ทย่ี วแสวงหาทเี่ กดิ
ต่อไปเหมือนใจทีม่ กี ิเลสเป็นเชอื้ พาให้เกิด-ตายเทา่ นั้น เพราะใจนั้นเปน็ ใจ อนุปาท-ิ
เสสนิพพานของผู้ส้ินกิเลสโดยสมบรู ณแ์ ล้ว
อนั คำ� วา่ ตายแลว้ สญู กด็ ี คำ� วา่ บาปไมม่ กี ด็ ี คำ� วา่ บญุ ไมม่ กี ด็ ี คำ� วา่ นรกไมม่ กี ด็ ี
ค�ำวา่ สวรรคไ์ มม่ ีก็ดี คำ� ว่า นิพพานไมม่ กี ด็ ี เหล่านีเ้ ป็นหลักวชิ าในคัมภีรข์ องกิเลส
ตวั ครองไตรภพ มนั เรยี นจบวชิ าเหลา่ นแี้ ลว้ จงึ ครองหวั ใจสตั วโ์ ลก แมม้ นั จะโขกจะสบั
สตั วโ์ ลกลงหนักเบามากนอ้ ยเพียงไร ก็ทำ� ได้ไม่หวาดหวั่นพร่นั พรงึ และสะทกสะท้าน
ตอ่ ผใู้ ดวา่ จะมาหาญสกู้ บั มนั เพราะวชิ ามนั ดี ทนั สมยั สตั วโ์ ลกยอมรบั อยา่ งหมอบราบ
ไม่กล้าฝ่าฝืน ร้อยท้ังร้อยวิชาทุกแขนงจากคัมภีร์กิเลสที่เส้ียมสอนไว้ต้องเป็นวิชา
ลบล้างความจริงของธรรมท่ีแสดงไว้ท้ังสิ้น เช่น ความจริงแห่งธรรมแสดงไว้ว่า
ตายแลว้ เกิด วิชาจากคมั ภรี ์ของกิเลสตอ้ งสอนกลบั กนั ว่า ตายแล้วสูญ เช่น ธรรมว่า
บาปมี บญุ มี นรกมี สวรรค์มี นิพพานมี วชิ าของกิเลสจะปฏเิ สธหรือลบลา้ งทนั ทีว่า
บาปไมม่ ี นรกไม่มี สวรรค์ไม่มี นพิ พานไมม่ ี ดังนี้ ทกุ คมั ภรี ไ์ มก่ า้ ยก่ายกัน
ดังน้ัน พวกเราชาวพุทธจ�ำต้องได้พิจารณาเลือกเฟ้นด้วยความละเอียดถี่ถ้วน
ไม่งั้นต้องโดนคัมภรี ข์ องกิเลสฉดุ ลากลงเหวลงบอ่ ลงนรกอเวจี เพราะความหลงเชอื่
กลมันชนิดไมม่ ีใครช่วยได้ เพราะสายเกนิ แกเ้ สยี แล้ว การแกห้ รอื การชำ� ระลา้ งกิเลส
และคัมภีรข์ องกิเลสทฝ่ี งั จมอยูภ่ ายในใจเรา จงึ ควรแกค้ วรลา้ งด้วยคัมภีร์พุทธธรรม
เสยี แตบ่ ดั นที้ ย่ี งั มชี วี ติ และเปน็ กาลอนั ควรอยู่ ตายแลว้ หมดโอกาสจะทำ� ได้ นอกจาก
เสวยผลดี-ชวั่ ทตี่ นเคยท�ำไว้เม่ือคราวเปน็ มนษุ ย์เท่าน้นั
ค�ำวา่ อตฺตา หิ อตตฺ โน นาโถ นั้นท่านสอนให้พงึ่ ตวั เอง ไมใ่ หห้ วงั พง่ึ ใคร
ในภพกำ� เนดิ ใดทงั้ สนิ้ ทา่ นสอนใหท้ ำ� ความดเี พอื่ ตวั เองเสยี แตบ่ ดั น้ี จะอบอนุ่ ภายในใจ
ทง้ั ยงั มชี วี ติ อยแู่ ละเวลาตายไป เนอื่ งจากความมคี ณุ ธรรมคมุ้ ครองปอ้ งกนั ตวั ผดิ กบั
88
ผู้ไมม่ บี ุญมธี รรมอยู่มากซึง่ ไปถอื กำ� เนดิ เกิด ณ ที่ใด กม็ ีแตก่ ำ� เนิดทเ่ี กดิ ท่อี ยูอ่ ันเปน็
ฟืนเปน็ ไฟไปตามๆ กันหมด ข้นึ ชือ่ ว่ากเิ ลสตัวเปน็ มารของธรรมแล้ว ตอ้ งเปน็ มาร
ของสตั วโ์ ลกไมม่ ที างสงสยั การแสดงออกของมนั มแี ตก่ ารหลอกลวงสตั วโ์ ลกใหเ้ ขา้ สู่
หลุมถ่านเพลิงคือกองทุกข์ไม่มีประมาณโดยถ่ายเดียว หาที่พอเชื่อถือและยึดเป็นท่ี
อาศยั ชว่ั ระยะเดยี วกไ็ มไ่ ด้ ผลเตม็ ไปดว้ ยฟนื ดว้ ยไฟทกุ กง่ิ ทกุ แขนง ไมม่ เี กาะมดี อน
พอให้หายใจด้วยมันได้ ปราชญ์ท่านจึงต�ำหนิติเตียนมาตลอดทุกยุคทุกสมัย
ไมเ่ คยยกยอบา้ งเลยว่า กิเลสก็ท�ำใหโ้ ลกรม่ เยน็ กิเลสกเ็ ปน็ ธรรมใหค้ วามเสมอภาค
ยตุ ธิ รรมแกโ่ ลก เปน็ ตน้ นอกจากกลหลอกลวงเตม็ ตวั ของมนั มาทกุ ยคุ ทกุ สมยั ไมเ่ คย
ทงิ้ ลวดลายแหง่ การปลนิ้ ปลอ้ นหลอกลวงสตั วโ์ ลกผโู้ งเ่ ขลาทนี่ า่ สงสารบา้ งเลย สำ� หรบั
ธรรมมีแต่ความอ่อนโยนเมตตาสงสารกรุณาช่วยให้สัตว์โลกพ้นจากความโง่เขลา
เบาปญั ญา ใหพ้ น้ จากความทกุ ขท์ รมานตา่ งๆ พยงุ สง่ เสรมิ ใหบ้ รรเทาเบาบางจากทกุ ข์
ใหม้ คี วามสงบสขุ โดยถา่ ยเดยี ว ระหวา่ งกเิ ลสกบั ธรรมตา่ งกนั มากจนหาสว่ นเทยี บกนั
ไมไ่ ด้ เดนิ สวนทางกนั รอ้ ยเปอรเ์ ซน็ ต์ กเิ ลสหลอกลวงสัตว์ ผกู มดั สัตว์ใหจ้ มอยใู่ น
วฏั ทกุ ขโ์ ดยถา่ ยเดยี ว สว่ นธรรมพยงุ สง่ เสรมิ สตั ว์ รอื้ ขนสตั วใ์ หข้ นึ้ จากวฏั ทกุ ขโ์ ดยลำ� ดบั
จนถึงวิมุตติหลุดพ้นไปได้โดยสิ้นเชิง ฉะน้ัน ระหว่างกิเลสกับธรรมจึงต่างกันมาก
ดงั ทีก่ ลา่ วมาดังน้ี
หลวงตาบัว ผู้เขียนกราบเรียนถามความรู้สึกของท่านที่มีต่อขันธ์เวลาน้ัน
ท่านเทศนเ์ สยี ยกใหญ่ราวกับไมม่ ีโรคภยั ไขเ้ จบ็ ออ่ นเพลียในธาตุขันธบ์ ้างเลย พูดจน
ผฟู้ งั สะดงุ้ ไปตามๆ กนั ทง้ั สมุ้ เสยี ง ทง้ั กริ ยิ าการแสดงออก ทง้ั ความเขม้ ขน้ แหง่ ธรรม
ที่หลั่งไหลออกมาจากใจท่ีบริสุทธ์ิของท่านเวลานั้น ซ่ึงไม่มีใครคาดฝันว่าท่านจะ
สามารถฝืนขันธ์แสดงได้อย่างถึงพริกถึงขิงถึงกิเลสถึงธรรมขนาดนั้น ผู้ฟังทั้งหลาย
ตา่ งยมิ้ แยม้ แจม่ ใสหตู าสวา่ งไปตามๆ กนั ในขณะนนั้ ผเู้ ขยี นมนี สิ ยั ไมพ่ อดี จงึ มกั ไมม่ ี
ความอมิ่ พอในธรรมทท่ี า่ นเมตตาอธบิ ายใหฟ้ งั ยงั อยากฟงั ใหย้ งิ่ ขน้ึ ไป แลว้ สอดแนบ
ปญั หาธรรมแถมพกถวายทา่ นตอนทา้ ย ตอ่ ไปนค้ี รบู าอาจารยจ์ ะนบั วนั หายวนั หายคนื
ไปโดยล�ำดับและหายขาดเป็นปกติในธาตุขันธ์ไม่อาจสงสัยเลย เพราะธรรมท่ีครูบา
อาจารยโ์ ปรดเมตตาครง้ั น้ี เปน็ ธรรมประเภทเผาเกลยี้ งเตยี นโลง่ โรคในขนั ธ์ โรคตอ้ ง
89
แตกกระจายไปหมด ไมม่ ีโรคชนิดใดจะหาญสูธ้ รรมประเภทเผาเกลีย้ งน้ีได้ แม้แต่
กเิ ลสทเ่ี หนยี วแนน่ กวา่ โรคชนดิ ตา่ งๆ มนั ยงั ตอ้ งพนิ าศไปเพราะธรรมประเภทนส้ี งั หาร
ท�ำลาย
ทา่ นตอบอยา่ งน่าฟงั และฝังใจไม่มวี ันลมื วา่ ขนั ธ์เป็นขันธ์ โรคเปน็ โรค กเิ ลส
เป็นกิเลส ธรรมเป็นธรรม มันคนละอย่าง หยูกยาควรแก่การรักษาโรคปราบโรค
ธรรมควรแก่การแก้กิเลสปราบกิเลส จะน�ำมาปราบโรคบางชนิดมันไม่เหมาะสมกัน
โรคทค่ี วรจะหายด้วยธรรมกม็ ี ที่ไมอ่ าจหายไดด้ ว้ ยธรรมก็มี ผูป้ ฏิบตั คิ วรท�ำความ
เข้าใจเอาไว้ อย่าให้ความรู้ความเช่ือการกระท�ำเลยเถิดแห่งธรรมคือความพอดี
การแสดงวนั นี้ เราแสดงเปน็ ธรรมลว้ นๆ เพอ่ื ความร่ืนเริงในธรรมทัง้ หลายและเพ่อื
ถอดถอนกเิ ลสในขณะฟงั มไิ ดเ้ กย่ี วกบั ขนั ธจ์ ะหายโรคจะพนิ าศดงั ทเ่ี ขา้ ใจนน้ั ขนั ธจ์ ะ
หายหรอื จะตายไมส่ ำ� คญั แตส่ ำ� คญั ทใ่ี หก้ เิ ลสตายจากใจ เพราะธรรมทแี่ สดงนเ้ี ผาผลาญ
นนั่ เปน็ ความเหมาะสมอยา่ งยงิ่ สำ� หรบั พวกเรานกั ปฏบิ ตั ธิ รรม ดงั นน้ั จงพากนั พจิ ารณา
ไตรต่ รองด้วยปัญญาในธรรมทีก่ ล่าวมา จะเป็นกำ� ลังใจและส่งเสริมอุบายสติปัญญา
ถอดถอนกิเลสภายในออกได้เป็นวรรคเป็นตอน คร้ังพุทธกาลท่านฟังธรรมด้วย
โอปนยิโก น้อมธรรมเข้าสู่ตนโดยล�ำดับท่ีได้ยินได้ฟัง ไม่ยอมให้ธรรมน้ันร่ัวไหล
หลดุ ลอยผา่ นหผู า่ นใจไปเปลา่ ๆ ดงั พวกเราสว่ นมากฟงั กนั ผลคอื การแกก้ ารถอดถอน
กิเลสในขณะฟังจึงไม่ค่อยปรากฏเท่าที่ควร ดีไม่ดีคอยสั่งสมกิเลสในขณะฟังยังมี
ดาษด่ืนเพียงแต่ไม่สนใจคิดกัน จึงไม่ทราบได้ว่าตนฟังเพื่อธรรมหรือฟังเพ่ือกิเลส
พอกพนู ตวั หวั เราะธรรม
พระพุทธเจ้าแลสาวกท่านเทศน์ เทศน์จากธรรมของจริงภายในพระทัยและ
ใจล้วนๆ มิได้เทศน์จากความจ�ำของสัญญาดังพวกเราเทศน์ ปฏิปทาเครื่องด�ำเนิน
ทุกประเภท ท้ังหยาบ ท้ังกลาง ทง้ั ละเอยี ด ท่านบำ� เพ็ญมาอยา่ งเต็มก�ำลังและรู้อยา่ ง
เตม็ พระทยั และเต็มหัวใจ ท้งั ฝ่ายมรรคเปน็ ข้ันๆ ทั้งฝา่ ยผลเปน็ ภูมๆิ นับแต่ภูมิตำ�่
จนถึงภมู ิอนั สงู สุดวมิ ตุ ติหลุดพ้น ทา่ นจงึ เทศนอ์ ย่างไม่อดั ไม่อน้ั มแี ตธ่ รรมบริสทุ ธิ์
ล้วนๆ หล่ังไหลออกมาจากกระแสแห่งใจกลมกลนื กนั ออกมากบั กระแสเสียง ผูฟ้ งั
90
ดว้ ยความสนใจมงุ่ ตอ่ ความจรงิ ลว้ นๆ จงึ สามารถตกั ตวงเอาธรรมของจรงิ ขน้ึ มาอยา่ ง
เต็มหัวใจ ไม่ขาดทุนสูญดอกจากการฟังธรรมแต่ละคร้ังๆ กิเลสจะเป็นประเภทใด
กต็ าม แมฝ้ ังลึกลงขวั้ หัวใจ เม่อื สติปญั ญาธรรมเป็นต้น เขยา่ กอ่ กวนลวนลามอยู่ไม่
หยดุ ยงั้ กเิ ลสยอ่ มโยกคลอนและถกู ถอนขนึ้ มาทลี ะชน้ิ ละอนั สดุ ทา้ ยใจกเ็ ปน็ เรอื นรา้ ง
ว่างเปล่าจากกิเลสท้ังปวง กลายเป็นใจที่สมบูรณ์ด้วยธรรมข้ึนมาอย่างไม่คาดฝัน
ด้วยเหตุผลดังกล่าวมาน้ี จงพากันตั้งใจฟังตั้งใจปฏิบัติภาวนาให้ถึงใจทุกอย่าง
ความจรงิ ใจตอ่ ธรรมเขา้ ถงึ ไหน ความโยกคลอนถอนตวั ของกเิ ลสจะกระเทอื นถงึ นนั้
โดยไมต่ อ้ งสงสยั ทง้ั ครง้ั นแี้ ละครงั้ พทุ ธกาล ผปู้ ฏบิ ตั จิ รงิ สามารถบรรลมุ รรคผลนพิ พาน
ได้เท่าเทียมกัน สมกับธรรมเป็นหลักธรรมชาติคงเส้นคงวา มัชฌิมาปฏิปทา เป็น
ธรรมเหมาะสมกับการฆ่ากิเลสให้หลุดลอยจากใจมาแล้วทุกยุคทุกสมัย ไม่มีอะไร
ยิ่งใหญ่ไปกวา่ จงระวังกิเลสอยา่ งเดียวที่เปน็ คู่แขง่ ธรรม อย่าใหม้ นั ปนี ข้ึนบนหวั ได้
จะถา่ ยรดลงทันที จงระวังให้ดี
เอาละ พูดพอเป็นคตเิ ตือนใจทา่ นผ้มู ีความจงรักภักดีต่อครูอาจารย์อตุ ส่าห์มา
เยยี่ มเยยี นตามจารีตประเพณีของผ้เู คารพนบั ถอื กัน
91
อาการปว่ ยท่านคอ่ ยทุเลาและหายเป็นปกตใิ นท่สี ุด
นบั แตท่ า่ นเรม่ิ ปว่ ยดงั ทเี่ ขยี นผา่ นมาแลว้ เปน็ เวลา ๔ เดอื นกวา่ บรรดานายแพทย์
ผพู้ ยาบาลรกั ษามี ศ.จ. นายแพทย์ อวย เกตสุ งิ ห์ เปน็ ตน้ ตลอดนายแพทยแ์ ละพยาบาล
ทางโรงพยาบาลอดุ รธานี ตา่ งทา่ นมไิ ดน้ ง่ิ นอนใจ ชว่ ยกนั พยาบาลรกั ษาทา่ นสดุ กำ� ลงั
ความสามารถเรอ่ื ยมาแตเ่ รมิ่ แรกปว่ ยจนอาการกลบั ดขี น้ึ เพราะคณะแพทยผ์ เู้ ชยี่ วชาญ
พยาบาลรกั ษา และคอ่ ยดขี ึ้นเร่ือยๆ จนเป็นปกติได้ นับวา่ หลวงปทู่ ่านชุบชีวิตใหม่
เป็นผู้ใหม่ขึ้นมาในหลวงปู่องค์เก่า ต้องขออภัยท่านผู้อ่านมากๆ ด้วยท่ีเรียนเล่า
ประวัติการป่วยของหลวงปู่ขาวเพียงย่อๆ ไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วยตามความเป็นมา
ทง้ั นเ้ี พราะหลวงตาผเู้ ขยี นกแ็ กม่ ากแลว้ สขุ ภาพไมอ่ ำ� นวย งานกย็ งุ่ และสบั สนราวกบั
ตามรอยโคในคอกน่นั แล จงึ หวังไดร้ ับอภัยจากทา่ นผู้อ่านดว้ ยดี
(ตอนป่วยปี ๑๐ จบแคน่ ี้)
ท่ีแปลกอย่อู ยา่ งหนงึ่ คอื เวลาทา่ นนกึ ถงึ อะไร ส่ิงน้นั มกั จะมาตามความร�ำพงึ
นึกคดิ ทา่ นเสมอ เช่น นึกถงึ ชา้ งว่าหายหนา้ ไปไหนเป็นปๆี แล้ว ไมเ่ หน็ ผ่านมาทางนี้
บา้ งเลย หรอื ถกู นายพรานยงิ ตายเสยี แลว้ พอตกกลางคนื ดกึ ๆ ชา้ งตวั นน้ั กม็ าหาจรงิ ๆ
และเดนิ ตรงเขา้ มายงั กฏุ ทิ ท่ี า่ นพกั อยู่ มายนื ลบู คลำ� สงิ่ ตา่ งๆ ในบรเิ วณกฏุ ทิ า่ นพอให้
ทราบวา่ เขามาหา แลว้ กก็ ลบั เขา้ ปา่ เขา้ เขาและหายเงยี บไปเลยไมก่ ลบั มาอกี เวลารำ� พงึ
นกึ ถงึ เสอื กเ็ หมอื นกนั วา่ เสอื ทเี่ คยเดนิ ผา่ นมาทน่ี บ่ี อ่ ยๆ บดั นห้ี ายหนา้ ไปไหนนานแลว้
92
ไม่เหน็ มาอกี หรือถูกเขาฆา่ ตายกันหมดแล้ว เพียงนึกถึงเสือตอนกลางวนั แต่พอ
ตกตอนกลางคนื เสอื กม็ าเทยี่ วเพน่ พา่ นภายในวดั และบรเิ วณทที่ า่ นพกั อยจู่ รงิ ๆ พอเปน็
นมิ ติ ใหท้ า่ นทราบวา่ เขายงั อยยู่ งั ไมต่ ายดงั ทว่ี ติ กถงึ แลว้ กห็ นไี ป ไมม่ าซำ้� ๆ ซากๆ อกี เลย
ทา่ นเลา่ วา่ ตอนนกึ ถงึ สตั วต์ า่ งๆ รสู้ กึ แปลกอยมู่ าก ผดิ ธรรมดา พอนกึ ถงึ ทไี ร ถงึ สตั ว์
ชนดิ ไร สตั วช์ นดิ นน้ั มกั จะมาหาทา่ นแทบทกุ ครงั้ ทน่ี กึ ถงึ เขา คลา้ ยกบั มอี ะไรไปบอกขา่ ว
ใหส้ ตั วน์ นั้ ๆ ทราบและใหม้ าหาทา่ น พระวเิ ศษทางภายในอยา่ งทา่ นคงมเี ทพาอารกั ษ์
คอยใหอ้ ารกั ขาและคอยอำ� นวยความสะดวกตามความคดิ เหน็ ตา่ งๆ อยเู่ สมอ พอคดิ
อะไรขน้ึ มาจงึ มกั มเี ครอื่ งสนองตอบทางความคดิ เสมอมา ถา้ ไมม่ ี ทำ� ไมจะมอี ะไรมาหา
ทา่ นตรงตามความคดิ เสยี ทกุ ครงั้ เชน่ นน้ั อยา่ งเราๆ ทา่ นๆ คดิ คนละกรี่ อ้ ยกพี่ นั เรอื่ ง
และก่ีร้อยกี่พันหน ก็ไม่เห็นมีอะไรมาตอบสนองความนึกคิดความต้องการบ้างเลย
พอใหท้ ราบวา่ เรากม็ อี ะไรดๆี พอตวั ผหู้ นงึ่ ทค่ี วรไดร้ บั ความเทดิ ทนู อยา่ งทา่ น นอกจาก
คดิ ลมๆ แลง้ ๆ ไปพอใหก้ วนใจไดร้ บั ความลำ� บากทรมานเปลา่ ๆ เทา่ นนั้ ไมเ่ หน็ มอี ะไร
พอเปน็ ชน้ิ ดแี ฝงมาบา้ งเลย จงึ นา่ อบั อายความคดิ ของตวั ทขี่ นแตก่ องทกุ ขม์ าใหว้ นั ละ
ก่ีรอ้ ยก่ีพันเร่ืองจนสมองท่อื หมดกำ� ลังทีจ่ ะท�ำงานต่อไป
93