The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชีวประวัติ หลวงปู่ขาว หลวงปู่หล้า หลวงปู่สาม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-07-12 22:23:17

ชีวประวัติ หลวงปู่ขาว หลวงปู่หล้า หลวงปู่สาม

ชีวประวัติ หลวงปู่ขาว หลวงปู่หล้า หลวงปู่สาม

Keywords: ชีวประวัติ หลวงปู่ขาว หลวงปู่หล้า หลวงปู่สาม

พระนิพพาน หลวงปู่สามได้ตั้งใจอย่างแน่วแน่ว่าหลังจากออกพรรษาในปีน้ันแล้ว
จะตอ้ งกราบลาหลวงปู่ดูลย์เดินทางไปหาหลวงปมู่ ่ันในทนั ที

ในระหว่างที่พ�ำนักอยู่กับหลวงปู่ดูลย์นั้น หลวงปู่สามได้เพียรบ�ำเพ็ญสมาธิ
ภาวนาในสมถะกรรมฐานอย่างมุ่งม่ัน จิตใจเกิดความสงบสงัดและปลอดโปร่งเป็น
อันมาก หลับตาทอดใจให้ดิ่งลงสู่สมาธิในยามใดให้รู้สึกสงบเยือกเย็นดื่มด่�ำใจ
มกี ำ� ลงั ใจและเชอ่ื มน่ั ในพระธรรมคำ� สอนของพระพทุ ธองคอ์ ยา่ งแนว่ แน่ ไมล่ งั เลสงสยั
ในเร่ืองมรรค ผล นพิ พาน หรือเร่อื งบาปเรอ่ื งบญุ อกี ตอ่ ไป จงึ เกิดความรู้สึกใคร่
ทจี่ ะบ�ำเพ็ญสมณธรรมอยา่ งมอบกายถวายชีวติ ต่อไป

พอถงึ กาลออกพรรษา หลวงปจู่ งึ ไดก้ ราบลาหลวงปดู่ ลู ยอ์ อกเดนิ ทางจากจงั หวดั
สุรินทร์ มุ่งหน้าเสาะหาหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ผู้เปน็ พระอาจารย์ใหญต่ ่อไป

140

หลวงปสู่ ามพบพระอาจารย์ใหญ่

ในปีนั้นเป็นปี พ.ศ. ๒๔๖๙ หลวงป่มู ่นั พ�ำนกั อยทู่ ่ีเสนาะป่าบ้านสบบง อำ� เภอ
ท่าอเุ ทน จังหวัดนครพนม ในขณะนนั้ หลวงปู่สามอายุได้ ๒๖ ปี บวชเป็นพระภกิ ษุ
มหานกิ ายได้ ๕ พรรษา

ในการเดินทางจากจังหวัดสุรินทร์เพ่ือไปกราบหลวงปู่ม่ันพระอาจารย์ใหญ่น้ี
ไดม้ ที า่ นสกุยร่วมเดินทางไปดว้ ย ท่านทั้งสองเดินทางด้วยเท้า พักปกั กลดธดุ งคใ์ น
เวลาค่ำ� คนื ใช้เวลาเดนิ ทาง ๑๕ วัน จึงถึงบา้ นสบบง สถานท่ๆี หลวงปมู่ นั่ พำ� นักอยู่

เมอื่ ทราบวา่ หลวงปสู่ ามมาจากสำ� นกั หลวงปดู่ ลู ย์ พระอาจารยใ์ หญก่ ร็ บั เปน็ ศษิ ย์
ดว้ ยความยินดี ไดพ้ ำ� นักปฏิบตั อิ ยู่กับหลวงปมู่ ั่น ๓ เดอื น เพอ่ื รับการอบรมและ
ปฏบิ ัตดิ ้านวิปัสสนากรรมฐานรว่ มกบั พระภกิ ษอุ น่ื ๆ อีกหลายรูป

พระภกิ ษทุ ร่ี ว่ มปฏบิ ตั ธิ รรมอยกู่ บั หลวงปมู่ น่ั ในขณะนนั้ ไดแ้ ก่ พระอาจารยก์ งมา
จริ ปญุ โญ พระอาจารยส์ ลี า พระอาจารยญ์ าคดู ี พระอาจารยพ์ ร พระอาจารยจ์ ำ� ปี เปน็ ตน้
นอกจากนพี้ ระอปุ ชั ฌายเ์ กงิ่ อธมิ ตุ ตโก ยงั ไดน้ ำ� พระภกิ ษลุ กู วดั ของทา่ นมาศกึ ษาและ
ไดอ้ ปุ สมบทแปรญตั ตใิ หม่ เปน็ พระภกิ ษธุ รรมยตุ กิ นกิ ายหมดทงั้ วดั จำ� นวน ๑๔ รปู
ดว้ ยกนั

141

ตลอดระยะเวลา ๓ เดือน หลวงปสู่ ามไดอ้ ยูป่ รนนบิ ัตริ ับใช้ใกล้ชิดหลวงปู่ม่ัน
ซึ่งท่านเป็นศิษย์ท่ีหลวงปู่มั่นวางใจองค์หนึ่ง จนแม้แต่การจัดวางเครื่องอัฐบริขาร
ส่วนตัวของหลวงปู่มั่นในท่ีพ�ำนัก หลวงปู่ม่ันก็ยังอนุญาตให้เข้าไปจัดวางให้ท่าน
ซง่ึ เปน็ ทที่ ราบกนั ดใี นหมสู่ านศุ ษิ ยข์ องทา่ นวา่ หลวงปมู่ นั่ ภรู ทิ ตั โต นน้ั มคี วามเขม้ งวด
ในเรื่องระเบียบวินัยและมารยาทยิ่งนัก จนกระท่ังเป็นท่ีเข้าใจกันว่าหลวงปู่มั่นน้ันดุ
ไดร้ บั การบอกเลา่ ตอ่ กนั มาวา่ มอี ยคู่ รง้ั หนงึ่ หลวงปมู่ น่ั ไดอ้ บรมศษิ ยโ์ ดยไดก้ ลา่ วลอยๆ
ว่า “เวลาเดินผ่านกลดหรือผ่านกุฏิของใคร อย่าได้ส่งเสียง ผู้ปฏิบัติธรรมจะต้อง
เอ้ือเฟอื้ การปฏิบัตธิ รรมต่อกัน ไม่ควรพดู หรือคุยกนั เพราะการส่งเสยี งดังเป็นการ
ท�ำลายสมาธริ บกวนการปฏบิ ัติอยา่ งย่ิง”

นบั แตน่ น้ั มา บรรดาผปู้ ฏบิ ตั ธิ รรมทงั้ หลายไมม่ ใี ครพดู คยุ กนั อกี เลย เมอื่ จำ� เปน็
ตอ้ งพดู คยุ กนั กจ็ ะพากนั ออกไปไกลๆ แลว้ กระซบิ ทขี่ า้ งหพู อใหไ้ ดย้ นิ เทา่ นน้ั แมแ้ ต่
จะกระแอมหรอื ไอ กจ็ ะตอ้ งเอาผา้ ปดิ ปากใหแ้ นน่ ไมใ่ หเ้ สยี งเลด็ ลอดออกไปได้ และ
ดว้ ยเหตนุ ี้ ในระยะตอ่ มาจงึ ปรากฏวา่ ลกู ศษิ ยข์ องหลวงปมู่ นั่ ตอ้ งพกผา้ ผนื นอ้ ยตดิ ตวั
อยูเ่ สมอ ทั้งน้ีเพราะเป็นความเคยชินจากการปฏิบตั ินั่นเอง

หลวงป่สู ามอย่ปู ฏิบตั ิธรรมและรับใชใ้ กลช้ ดิ หลวงปู่มั่นอยู่ ๓ เดือน เม่ือได้รบั
การอบรมฟงั คำ� เทศนาชแี้ จง และอบรมสงั่ สอนถงึ วธิ ปี ฏบิ ตั วิ ตั รตา่ งๆ ตลอดจนอบุ ายใน
การทำ� ใจใหเ้ ปน็ สมาธิ นอ้ มลงสวู่ ปิ สั สนาเพอ่ื พจิ ารณาเสาะหาสจั ธรรมจนมคี วามเขา้ ใจ
ในการปฏิบัติได้ลึกซ้ึงดีแล้ว หลวงปู่มั่นจึงบอกให้หลวงปู่สามเดินทางไปปฏิบัติกับ
พระอาจารย์สงิ ห์ ขนั ตยาคโม ซง่ึ เปน็ ศษิ ย์เอกของทา่ นต่อไป

142

เดินทางไปกราบพระอาจารยส์ งิ ห์

หลวงปมู่ น่ั ภรู ทิ ตั โต เหน็ วา่ พระอาจารยส์ งิ ห์ ขนั ตยาคโม มคี วามคนุ้ เคยตอ้ นรบั
พระทมี่ าจากจงั หวดั สรุ นิ ทร์ เพราะหลวงปดู่ ลู ย์ อตโุ ล กเ็ ปน็ สหธรรมกิ ของทา่ น ดงั นน้ั
หลวงปมู่ นั่ จงึ ไดแ้ นะนำ� ใหห้ ลวงปสู่ ามไปอยปู่ ฏบิ ตั ธิ รรมและชว่ ยเหลอื พระอาจารยส์ งิ ห์
ต่อไป

ขณะน้นั พระอาจารยส์ งิ ห์พำ� นักอยู่ท่ีก่งิ อำ� เภออากาศอ�ำนวย จังหวดั สกลนคร
หลวงปใู่ ชเ้ วลาเดนิ ทาง ๑ วนั กบั ๑ คนื จงึ ไปถงึ ไดเ้ ขา้ ไปกราบนมสั การพระอาจารยส์ งิ ห์
ซง่ึ ก็ไดร้ ับการตอ้ นรบั อยา่ งดี และอนญุ าตให้พำ� นกั อยู่ ณ ท่นี น่ั ด้วย

พอจวนจะเข้าพรรษา พระอาจารย์สิงห์ก็จัดให้หลวงปู่สามแยกไปปฏิบัติอยู่
อกี แหง่ หนงึ่ ซงึ่ ไมห่ า่ งกนั มากนกั เพอื่ จะไดม้ เี วลากำ� หนดพจิ ารณาดว้ ยตนเองไดเ้ ตม็ ท่ี
ถ้ามีกิจธุระหรือข้อสงสัยในการปฏิบัติประการใด ก็สามารถเดินทางมาปรึกษาได้
สะดวก

143

ล้มปว่ ย

ในปนี นั้ หลวงปสู่ ามไดร้ บั ทกุ ขเวทนาเกย่ี วกบั สขุ ภาพรา่ งกายอยา่ งหนกั คอื ทา่ น
ล้มปว่ ยดว้ ยไข้ปา่ (มาลาเรีย) ซง่ึ เปน็ หนักมาก จวนเจยี นจะเอาชีวติ ไมร่ อด ร่างกาย
ผา่ ยผอมเหลือแตห่ นงั หุ้มกระดูก ได้รับทกุ ขเวทนาอยา่ งแสนสาหัส

สถานการณย์ งิ่ เลวรา้ ยลงอกี เนอื่ งดว้ ยในชว่ งเวลานนั้ ในหมบู่ า้ นใกลเ้ คยี งเกดิ มี
โรคหา่ (อหวิ าตกโรค) ระบาดซำ�้ อกี หลวงปใู่ ชค้ วามอดทนเปน็ อยา่ งยง่ิ บำ� เพญ็ ภาวนา
อยา่ งไมย่ อ่ ทอ้ ทา่ นใชธ้ รรมโอสถเปน็ อาวธุ ในการตอ่ สบู้ ำ� บดั จากอาการของโรครา้ ยนน้ั
ดว้ ยจติ ใจทหี่ นกั แนน่ มนั่ คง ไมไ่ ดท้ อ้ ถอยหรอื หว่ งใยตอ่ อตั ภาพรา่ งกาย ทง้ั นเี้ พราะทา่ น
ได้ต้งั ใจสละกายถวายชวี ิตให้แก่พระพทุ ธศาสนาอย่างแนว่ แน่ ได้ด�ำเนนิ สมณธรรม
อย่างเคร่งครัดเย่ียงพระอริยเจา้ เหลา่ พุทธสาวกทง้ั หลาย

เมอื่ หลวงปไู่ ดร้ บั การรกั ษาจนอาการทเุ ลาลงบา้ งแลว้ กต็ อ้ งพกั ฟน้ื และหดั เดนิ
อยรู่ ่วมเดือนกว่าจงึ พอจะลุกเดนิ ได้บา้ งโดยใช้ไม้เทา้ ชว่ ยพยงุ ถึงกระน้นั กห็ าได้เกิด
ความรสู้ กึ ท้อถอยแตอ่ ยา่ งใดไม่

144

เดินทางสู่อุบลราชธานี

เมื่อออกพรรษาแล้ว หลวงปู่ก็ได้ร่วมธุดงค์ไปทางจังหวัดอุบลราชธานีร่วมกับ
พระอาจารย์สิงห์ ขันตยาคโม และคณะ การเดินทางในครั้งนั้นมีพระสงฆ์ร่วม
เดินทางไปเป็นหมมู่ ากถึง ๑๐๐ กว่าองค์

เมือ่ ไปถึงจังหวัดอบุ ลราชธานี หาสถานที่พ�ำนกั เป็นทเ่ี รยี บรอ้ ยแลว้ คณะของ
ทา่ นพระอาจารยส์ งิ หก์ ไ็ ดเ้ รมิ่ ออกแนะนำ� สงั่ สอนญาตโิ ยมใหไ้ ดร้ บั ความรคู้ วามเขา้ ใจ
ในการปฏิบตั ภิ าวนา ซ่ึงมีประชาชนสนใจเข้ามาฟงั ธรรมและภาวนาเป็นจำ� นวนมาก

ในปีนั้น หลวงปู่ต้ังใจจะจ�ำพรรษาที่จังหวัดอุบลราชธานีร่วมกับคณะของท่าน
พระอาจารยส์ งิ ห์ แตท่ า่ นเจา้ คณุ มณฯี เจา้ กรมมณฑลอสี านในสมยั นน้ั ไมอ่ นญุ าตให้
ทา่ นอยวู่ ดั ปา่ คงดว้ ยเหตทุ หี่ ลวงปเู่ ปน็ พระสงั กดั ในมหานกิ าย จงึ ไดใ้ หท้ า่ นไปจำ� พรรษา
ทีว่ ัดสุทัศน์ ในตวั เมืองอุบลราชธานี ดงั นน้ั พระอาจารย์สิงห์ และท่านพระอาจารย์
มหาปน่ิ ปญั ญาพโล จงึ แนะนำ� ใหห้ ลวงปสู่ ามกลบั ไปจำ� พรรษาทจ่ี งั หวดั สรุ นิ ทรเ์ สยี กอ่ น
ในปนี นั้ หลวงปจู่ งึ ไดก้ ลบั มาจำ� พรรษาทว่ี ดั บา้ นถนน ตำ� บลเฉนยี ง อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั
สรุ นิ ทร์

เมอื่ ออกพรรษาแลว้ หลวงปพู่ รอ้ มทงั้ ทา่ นสกยุ กอ็ อกเดนิ ธดุ งคจ์ ากจงั หวดั สรุ นิ ทร์
ไปพบพระอาจารย์สิงห์และคณะที่จังหวัดอุบลราชธานี และร่วมในกองทัพธรรม
อกี ต่อไป

145

แปรญตั ตเิ ป็นพระฝ่ายธรรมยตุ

ท่านพระอาจารย์สิงห์ได้พาคณะออกธุดงค์จาริกไปทางยโสธร ซึ่งขณะน้ัน
ยังเปน็ อ�ำเภอหนงึ่ ของจังหวดั อบุ ลราชธานี และในปีนนั้ เองทหี่ ลวงปู่สามได้อุปสมบท
แปรญตั ตใิ หมเ่ ปน็ พระฝา่ ยธรรมยตุ โดยมี พระครวู จิ ติ รวโิ สธนาจารย์ เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์
พระอาจารย์สิงห์ ขนั ตยาคโม เป็นพระกรรมวาจารย์ และพระมหาป่นิ ปัญญาพโล
เปน็ พระอนุสาวนาจารย์

ขณะนั้นหลวงปอู่ ายุ ๒๘ ปี อุปสมบทเมือ่ เวลา ๑๖.๐๖ น. วันท่ี ๘ พฤษภาคม
พ.ศ. ๒๔๗๑ ณ พระอุปสมบทวดั สร่างโศก อ�ำเภอยโสธร จังหวดั อบุ ลราชธานี

เมอื่ แปรญตั ตเิ รยี บรอ้ ยแลว้ หลวงปสู่ ามกไ็ ดอ้ อกเทยี่ วธดุ งคอ์ ยแู่ ถบนนั้ พอจวน
จะเข้าพรรษาก็ได้กลับไปจ�ำพรรษาท่ีจังหวัดอุบลราชธานี ณ ส�ำนักสงฆ์ท่าวังหิน
ซง่ึ เปน็ ทส่ี งบสงดั วเิ วก เหมาะแกก่ ารปฏบิ ตั ภิ าวนา มพี ระอาจารยส์ งิ ห์ พระอาจารยก์ งมา
พระอาจารยม์ หาปน่ิ พร้อมกับพระภกิ ษสุ ามเณรอีกกวา่ ๔๐ กวา่ รูป พำ� นักอยู่ ณ
ท่นี นั้

ณ ส�ำนักสงฆ์ท่าวังหินแห่งน้ี หลวงปู่สามได้พบกับพระอาจารย์ลี ธัมมธโร
(ท่านพอ่ ลแี หง่ วดั อโศการาม สมทุ รปราการ) ซ่งึ มาพำ� นักดว้ ยในภายหลัง

ในหนังสือประวัติท่านพ่อลีได้บันทึกไว้ว่า “ได้พบเพ่ือนท่ีหวังดี ๒ องค์
ไดร้ ว่ มอยรู่ ว่ มฉนั รว่ มศกึ ษาสนทนากนั ตลอดมา เพอ่ื น ๒ องคน์ นั้ คอื พระอาจารยก์ งมา
และพระอาจารย์สาม ไดพ้ ากเพยี รภาวนาอย่เู สมอทัง้ กลางวันและกลางคืน”

146

รว่ มเผยแพรธ่ รรมะทขี่ อนแกน่

ครน้ั เมอ่ื ออกพรรษาในปนี นั้ แลว้ ทา่ นพระอาจารยส์ งิ หไ์ ดพ้ าคณะออกเดนิ ธดุ งค์
พรอ้ มกบั แนะนำ� สงั่ สอนธรรมะใหแ้ กญ่ าตโิ ยมแถวอำ� เภออำ� นาจเจรญิ อำ� เภอมว่ งสามสบิ
ซึ่งเป็นถน่ิ เดมิ ของทา่ นพอ่ ลี ธมั มธโร และทา่ นกไ็ ด้รว่ มปฏบิ ตั ธิ รรมอยใู่ นคณะดว้ ย

พอใกล้เข้าพรรษาในปีน้ัน หลวงปู่ม่ันได้มอบหมายให้ท่านพระอาจารย์สิงห์
น�ำขบวนการปฏิบัติธรรมไปท�ำการเผยแพร่ธรรมะที่จังหวัดขอนแก่น ตามค�ำนิมนต์
ของทา่ นพระครพู ศิ าลอรญั เขต ดงั น้ัน หลวงป่สู ามจงึ ได้ร่วมขบวนไปด้วย สานศุ ิษย์
ของหลวงปู่ม่ันในขบวนการปฏิบัติธรรมภายใต้การน�ำของท่านพระอาจารย์สิงห์
ในครัง้ นั้นมี ทา่ นพระอาจารย์มหาปิ่น ปญั ญาพโล หลวงปูอ่ อ่ น ญาณสริ ิ หลวงปู่ฝนั้
อาจาโร หลวงปู่ภูมี พระอาจารยอ์ นุ่ พระอาจารยเ์ กง่ิ พระอาจารยส์ ีลา หลวงปกู่ งมา
หลวงปดู่ ี ฉันโน หลวงปูซ่ ามา เปน็ ต้น

การเดนิ ทางไปจงั หวดั ขอนแกน่ ในครงั้ นน้ั เปน็ การไปอยา่ งนกั ธดุ งคเ์ ดนิ ดว้ ยเทา้
คณะของทา่ นพระอาจารยส์ งิ หไ์ ดต้ ง้ั สำ� นกั อยทู่ วี่ ดั ปา่ ชา้ บา้ นเหลา่ งา จากนนั้ จงึ แยกยา้ ย
กันไปปฏิบัติและประกาศธรรมะยังสถานที่ต่างๆ กัน ส่วนหลวงปู่สามได้พ�ำนักท่ี
สำ� นกั บา้ นโนนรงั บ้าง ท่ีเสนาสนะปา่ ใหญ่อำ� เภอน�้ำพองบา้ ง และทอ่ี ำ� เภอพระลับบา้ ง
พอออกพรรษาแลว้ กม็ าพบทา่ นพระอาจารยส์ งิ หท์ ปี่ า่ ชา้ บา้ นเหลา่ งา โดยปกตหิ ลวงปสู่ าม
พำ� นกั ทบี่ า้ นเหลา่ งาเพยี ง ๕-๖ วนั กล็ าไปหาทวี่ เิ วกตามถำ�้ ตามปา่ สถานทสี่ งดั เพอื่ บำ� เพญ็
สมณธรรมปรารภความเพียรโดยไม่เลือกกาลตามค�ำสอนของพระพุทธองค์ เมื่อมี
ฆราวาสมากราบเพอ่ื ขอปฏบิ ตั ิ ทา่ นกแ็ นะนำ� สงั่ สอนใหเ้ ขาเหลา่ นน้ั ตามกำ� ลงั สตปิ ญั ญา

147

สอนให้เลิกละการนบั ถือผี

ชาวบ้านในขอนแก่นในสมัยคร้ังกระโน้นก็เช่นเดียวกับชาวบ้านในถ่ินอื่นทั่วไป
คือมีการเชื่อถือเร่ืองภูตผีปีศาจ มีการกราบไหว้บูชาบนบานศาลกล่าวผีสางนางไม้
บวงสรวงเซ่นไหว้ผีบา้ นผีเรือน เป็นตน้ นั่นคอื นบั ถือผีเปน็ สรณะทพ่ี ่งึ โดยเช่อื มน่ั วา่
ผเี หลา่ นนั้ สามารถดลบนั ดาลสงิ่ ทตี่ นปรารถนาและขจดั ปดั เปา่ ความโชครา้ ยตา่ งๆ นานา
ใหก้ บั ตนเอง คนในสมยั นน้ั จงึ เคารพกราบไหวผ้ กี นั อยา่ งมงาย ยากทถ่ี อดถอนใหล้ ะเลกิ
ความเช่ือเหล่าน้ใี ห้หมดสิ้นได้ ดงั จะเห็นว่าความเชือ่ งมงายเหลา่ นี้ยังหลงเหลือมาจน
ถึงปัจจุบัน

ความจริงแล้วพระพุทธองค์ไม่ได้สอนให้ปฏิเสธเร่ืองภูตผีและวิญญาณต่างๆ
สง่ิ เหลา่ นม้ี จี รงิ แตไ่ มใ่ ชส่ ง่ิ ทเี่ ราจะมากราบไหวย้ ดึ ถอื เปน็ สรณะ พระพทุ ธองคส์ อนให้
เรารจู้ กั พงึ่ ตนเองและยดึ ถอื พระรตั นตรยั คอื พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ เปน็ ทพี่ ง่ึ
สงู สุด

เรามที พี่ งึ่ สงู สดุ ดงั นแ้ี ลว้ คนเรากย็ งั หลงงมงายตอ่ การกราบไหวอ้ อ้ นวอนขอความ
ชว่ ยเหลอื จากภตู ผปี ศี าจ ทงั้ นก้ี ด็ ว้ ยความหลงผดิ ความไมร่ ู้ และความไมเ่ ชอ่ื มน่ั ในตนเอง
ยงิ่ กวา่ นน้ั ยงั มผี ทู้ ไ่ี ดป้ ระโยชนจ์ ากการหลงผดิ เหลา่ นข้ี องประชาชนไดพ้ ยายามเนน้ ยำ้�
ให้ประชาชนหลงงมงายมากยิง่ ขน้ึ

คณะของพระอาจารย์สิงห์ นอกจากจะเผยแพร่ธรรมปฏิบัติแล้ว ยังได้เร่ิม
ขบวนการปราบผี เพื่อสอนให้ประชาชนในจังหวัดขอนแก่นได้ละความหลงผิดใน
เรอื่ งนี้

148

เดนิ ทางส่นู ครราชสีมา

ระหวา่ งนน้ั เปน็ เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๗๔ ขณะทที่ า่ นพระอาจารยส์ งิ หก์ ำ� ลงั
ออกเทศนาส่ังสอนประชาชนในเขตอ�ำเภอน�้ำพองอยู่นั้น สมเด็จพระมหาวีรวงศ์
(ติสโส อว้ น) ดำ� รงสมณศกั ดท์ิ พี่ ระพรหมมนุ ีในขณะนัน้ ไดส้ ่งโทรเลขถงึ นายอำ� เภอ
นำ�้ พอง ใหอ้ าราธนาพระอาจารยส์ งิ หม์ าพบทา่ น แลว้ ใหพ้ าคณะไปเผยแพรธ่ รรมทจ่ี งั หวดั
นครราชสมี า

พระอาจารยส์ งิ หแ์ ละคณะจงึ ไดเ้ ดนิ ทางไปจงั หวดั นครราชสมี า และไดส้ ง่ ขา่ วให้
หลวงปู่สามใหไ้ ปพบทา่ นที่นนั่

หลวงปสู่ ามพกั อยทู่ สี่ ระหงษ์ จงั หวดั ชยั ภมู ิ ประมาณ ๒ สปั ดาห์ กไ็ ดร้ บั จดหมาย
จากท่านพระอาจารย์สิงห์ให้ไปประชุมท่ีจังหวัดนครราชสีมา คณะของหลวงปู่จึงได้
เดนิ ทางตามลงไป ใชเ้ วลาเดนิ ทางดว้ ยเทา้ ๔ วนั กบั ๔ คนื กถ็ งึ จงั หวดั นครราชสมี า
ได้เข้ากราบนมัสการท่านพระอาจารย์สิงห์ เมื่อพระทุกองค์ที่ได้รับการนัดหมาย
มาพร้อมกันแล้ว ท่านพระอาจารย์สิงห์จึงได้ประชุมปรึกษากันเกี่ยวกับการต้ังส�ำนัก
วิปัสสนากรรมฐานข้ึนท่ีบริเวณใกล้กับหอรถไฟนครราชสีมา และให้ช่ือส�ำนักว่า
วดั ปา่ สาลวนั แลว้ ไดท้ ำ� การพฒั นาจนเจรญิ รงุ่ เรอื งสบื ตอ่ มาจนถงึ ปจั จบุ นั พระอาจารยส์ งิ ห์
ได้พ�ำนักเป็นเจ้าอาวาสอยู่ที่น่ีจนถึงวาระสุดท้ายของท่าน และหลวงพ่อพุธ ฐานิโย
ได้เป็นเจา้ อาวาสท�ำการปกครองวดั ป่าสาลวนั สืบมาจนถงึ ปัจจบุ ัน

149

หลวงปสู่ ามไดพ้ ำ� นกั อยทู่ ว่ี ดั ปา่ สาลวนั หนงึ่ พรรษา ปตี อ่ มาทา่ นไดธ้ ดุ งคก์ ลบั ไป
ท่ขี อนแกน่ ไปอยู่จ�ำพรรษาทว่ี ัดเขาเมง็ กับหลวงปูค่ �ำดี ปภาโส เมือ่ ออกพรรษาแล้ว
กเ็ ดนิ ทางกลบั นครราชสมี า พำ� นกั อยกู่ บั ทา่ นพระอาจารยส์ งิ ห์ เดอื นกวา่ ๆ กอ็ อกธดุ งค์
แสวงหาความสงบต่อไป

หลวงปไู่ ดธ้ ดุ งคไ์ ปทางภาคกลางถงึ จงั หวดั ลพบรุ ี พกั จำ� พรรษาทวี่ ดั เขาพระงาม
๓ ปี ออกจากเขาพระงามกเ็ ดนิ ธดุ งคก์ ลบั ไปนครราชสมี าอกี ครงั้ ทา่ นพระอาจารยส์ งิ ห์
ไดส้ งั่ ไวว้ า่ ใหพ้ ยายามปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนาใหด้ ี และยดึ ในธดุ งควตั รใหม้ าก และมอบหมาย
ใหห้ ลวงปไู่ ปอยทู่ ด่ี งขมนิ้ ในเขตจงั หวดั บรุ รี มั ย์ ซงึ่ แถวนน้ั เตม็ ไปดว้ ยสตั วร์ า้ ยมากมาย

ทดี่ งขมน้ิ หลวงปไู่ ดอ้ บรมจติ ใจของญาตโิ ยมและพานง่ั สมาธิ แนะนำ� ใหร้ กั ษาศลี
ภาวนา รวมทัง้ สอนใหร้ ูจ้ ักท�ำบุญบรจิ าคทาน

150

ร่วมสร้างอโุ บสถวัดบูรพาราม

หลวงป่พู �ำนกั อย่ทู ี่จงั หวัดบุรีรัมย์ ๑ พรรษา ก็ไดร้ บั หนังสอื แจ้งจากหลวงปู่
ดูลย์ อตุโล ให้ไปพ�ำนักท่ีจังหวัดสุรินทร์ ในขณะนั้นหลวงปู่ดูลย์ได้รับค�ำสั่งจาก
เจ้าคณะมณฑลให้มาเป็นเจ้าอาวาสและปฏิสังขรณ์วัดบูรพาราม หลวงปู่ดูลย์ได้เร่ิม
สร้างพระอโุ บสถหลังใหญ่ข้ึน จงึ ได้มจี ดหมายแจ้งใหห้ ลวงป่สู ามเดินทางมาพ�ำนักท่ี
วัดบรู พาราม เพ่ือรว่ มสรา้ งพระอโุ บสถดงั กลา่ ว

หลวงปสู่ ามไดพ้ ำ� นกั จำ� พรรษาอยทู่ ่วี ดั บูรพาราม จงั หวดั สรุ นิ ทร์ นานถงึ ๑๐ ปี
ได้ร่วมกับหลวงปู่ดูลย์สร้างพระอุโบสถเสร็จเรียบร้อย และปฏิสังขรณ์วัดให้เจริญ
ร่งุ เรอื ง

หลงั จากนน้ั หลวงปกู่ เ็ ดนิ ทางกลบั ไปพำ� นกั ทถี่ ำ้� พระงาม จงั หวดั ลพบรุ ี อยู่ ๑ พรรษา
แลว้ ออกธดุ งคม์ งุ่ หนา้ เขา้ กรงุ เทพฯ มพี ระอาจารยจ์ นิ ดา คตุ วโร รว่ มทาง ใชเ้ วลาเดนิ ทาง
หลายวนั เมอื่ ถงึ กรงุ เทพฯ ไดไ้ ปพกั ทบ่ี า้ นขา้ ราชการชน้ั ผใู้ หญท่ า่ นหนง่ึ มบี รรดาศกั ดิ์
เปน็ ท่านขนุ ท�ำงานอยกู่ ารรถไฟ

151

สชู่ ายฝั่งทะเลตะวันออก

จากกรุงเทพฯ หลวงปู่กับพระอาจารย์จินดาก็ออกธุดงค์แสวงหาความวิเวก
บ�ำเพ็ญเพียรต่อไป คร้ังน้ีได้มุง่ หน้าไปฝ่งั ทะเลตะวันออก พักปักกลดไปเรอ่ื ยไปถึง
เกาะลอย อำ� เภอศรรี าชา จงั หวดั ชลบรุ ี และอาศยั เรอื ซงึ่ บรรทกุ แตงโมมาขายเดนิ ทาง
ไปถึงจังหวัดจันทบุรี เน่ืองจากหลวงปู่ไม่คุ้นเคยกับทะเล การเดินทางในครั้งน้ัน
เป็นการมาทางทะเลเปน็ ครัง้ แรก ทา่ นจึงเมาคลน่ื และอาเจียนเป็นอย่างมาก ใชเ้ วลา
เดินทาง ๓ วนั กับ ๓ คืน กถ็ ึงจังหวดั จันทบรุ ี

พอขน้ึ จากเรือ หลวงปกู่ ธ็ ดุ งคโ์ ดยเดนิ เทา้ ไปเรอ่ื ยๆ ไปปักกลดพกั ทเี่ ขากระแจ
๑ คนื แลว้ เดินทางไปตามปา่ เขาเรอ่ื ยๆ จนถงึ วัดป่าคลองกุ้ง และไดพ้ �ำนกั จ�ำพรรษา
กบั ท่านพ่อลี ธัมมธโร พระสหธรรมิกของทา่ น

เมอื่ ออกพรรษาแลว้ หลวงปสู่ ามกบั พระอาจารยจ์ นิ ดา กแ็ ยกทางกนั ตา่ งคนกต็ า่ ง
เท่ยี วแสวงหาวโิ มกขธรรมตามลำ� พงั

พระอาจารย์จินดา ปัจจุบันพ�ำนักอยู่ที่วัดอโศการาม จังหวัดสมุทรปราการ
ท่านเล่าว่า หลวงปู่สามเป็นผู้เคร่งครัดในพระธรรมวินัยมาก ท่านเป็นนักปฏิบัติ
สว่ นเรอ่ื งกนิ เรอ่ื งนอน ทา่ นไมไ่ ดถ้ อื เปน็ เรอ่ื งสำ� คญั เลย หลวงปสู่ ามไดธ้ ดุ งคไ์ ปเทยี่ วท่ี
เขานอ้ ยทา่ แฉลบ ตอ่ ไปยงั เกาะหมาก แลว้ ธดุ งคป์ กั กลดไปตามเกาะตา่ งๆ ไดแ้ ก่ เกาะชา้ ง
เกาะแม่ชี เกาะกูด เกาะสีชงั เป็นตน้ ในปนี ัน้ ท่านได้จ�ำพรรษาที่เกาะหมากแตผ่ ้เู ดียว
การเดินธดุ งค์ไปแตผ่ ู้เดียวท�ำใหก้ ารปฏบิ ตั ิได้ผลดมี าก

พอออกพรรษาแลว้ หลวงปไู่ ดเ้ ทยี่ วธดุ งคไ์ ปจนถงึ จงั หวดั ตราด พกั ปกั กลดตาม
สวนทเุ รยี นสวนเงาะของชาวบา้ น เกอื บทกุ แหง่ ทหี่ ลวงปพู่ กั ปกั กลด จะมญี าตโิ ยมมาขอ
รบั ฟังธรรมและฝึกสมาธภิ าวนาด้วย

152

กลับมาพบผมให้ทันนะ

กลา่ วกนั วา่ ในการมากราบหลวงปมู่ นั่ ในครงั้ นน้ั หลวงปสู่ ามไดร้ บั คำ� ชมจากทา่ นวา่
เป็นผเู้ จรญิ ด้วยธดุ งควัตร จําพรรษาไดม้ ากแห่ง และเปน็ ผู้เคร่งครดั ในธุดงควตั ร

หลวงปสู่ ามกบั หลวงปเู่ ทสก์ ไดก้ ราบลาหลวงปมู่ นั่ ออกเดนิ ธดุ งคต์ อ่ ไป กอ่ นออก
เดนิ ทาง หลวงปมู่ นั่ ไดส้ ง่ั หลวงปสู่ ามกบั หลวงปเู่ ทสก์ วา่ “ปนี ผี้ มอายุ ๘๐ แลว้ ทา่ นเทสก์
และทา่ นสาม ตอ้ งกลบั มาพบผมใหท้ นั นะ” แลว้ หลวงปทู่ ง้ั สององคก์ อ็ อกเดนิ ทางธดุ งค์
ตอ่ ไป โดยมงุ่ หนา้ ไปทอี่ ำ� เภอทา่ บอ่ จงั หวดั หนองคาย เพอ่ื ไปเยย่ี มเยยี นและโปรดโยม
บดิ ามารดาของหลวงปเู่ ทสก์ แลว้ ไดแ้ สวงหาความวเิ วกในทอ้ งถน่ิ แถบนนั้ เปน็ เวลานาน
พอสมควร

เมื่อใกล้จะเข้าพรรษาในปีน้ัน หลวงปู่สามและหลวงปู่เทสก์ก็ออกเดินทาง
รว่ มกนั มาทางฝง่ั ทะเลตะวนั ออก แลว้ มาแยกกนั ทจี่ งั หวดั ชลบรุ ี โดยหลวงปเู่ ทสกก์ ลบั
มาสำ� นกั เขานอ้ ยทา่ แฉลบ จงั หวดั จนั ทบรุ ี และพกั จำ� พรรษาอยทู่ น่ี น่ั สว่ นหลวงปสู่ าม
มาจ�ำพรรษาทบ่ี างพระ จงั หวัดชลบุรี

153

อยภู่ ูเก็ตเจ็ดพรรษา

เมอื่ พธิ ปี ระชมุ เพลงิ ศพหลวงปมู่ น่ั เสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ หลวงปสู่ ามกอ็ อกธดุ งคต์ อ่
กลับมาท่ีจังหวัดสุรินทร์ถิ่นก�ำเนิดของท่าน แล้วเที่ยวธุดงค์ไปแถบน้ันอยู่ประมาณ
๑ เดอื น จงึ ธดุ งคต์ อ่ ไปทางจงั หวดั ชลบรุ ี หลงั จากนนั้ อกี เดอื นกวา่ ๆ กไ็ ดร้ บั จดหมาย
จากหลวงปเู่ ทสก์ เทสรงั สี ซึ่งสง่ ไปจากจังหวัดภูเก็ต อาราธนานมิ นต์ให้หลวงปูส่ าม
ลงไปชว่ ยเผยแผธ่ รรมะและแนวทางธดุ งคกรรมฐาน รวมทงั้ ชว่ ยอบรมกรรมฐานใหแ้ ก่
ญาตโิ ยมทางปกั ษใ์ ต้ ดงั นน้ั หลวงปสู่ ามจงึ ไดอ้ อกเดนิ ทางลงใตต้ ามคำ� อาราธนา ปนี น้ั
เปน็ ปี พ.ศ. ๒๔๙๓ หลวงปสู่ ามมอี ายพุ รรษาได้ ๓๑ การเดนิ ทางครง้ั นมี้ พี ระตดิ ตามไป
ด้วยหนง่ึ องค์

ในปแี รกของการลงใต้ หลวงปู่สามได้ไปบ�ำเพ็ญภาวนาแถวเกาะสมยุ จงั หวัด
สรุ าษฎรธ์ านี แลว้ ไดพ้ ำ� นกั จำ� พรรษาทนี่ น่ั เมอื่ ออกพรรษาแลว้ ทา่ นกไ็ ดจ้ ารกิ ไปอำ� เภอ
ตะก่ัวปา่ จังหวดั พงั งา ธดุ งคอ์ ยู่แถวนั้นระยะหนึ่งจงึ ไดเ้ ดนิ ทางไปจงั หวัดภูเก็ต

ในขณะน้ัน หลวงปู่เทสก์ได้ไปสร้างส�ำนักปฏิบัติธรรมขึ้นใหม่ที่จังหวัดภูเก็ต
คอื วดั เจรญิ สมณกจิ ชว่ งนนั้ มคี รบู าอาจารยอ์ งคอ์ นื่ อยทู่ างปกั ษใ์ ตห้ ลายองค์ เปน็ ตน้ วา่
ครูบาพนู พระอาจารย์มหาป่นิ ชลโิ ต หลวงพ่อคำ� พอง ตสิ โส เปน็ ต้น ครบู าอาจารย์
เหลา่ นน้ั ไดแ้ ยกยา้ ยออกแสวงหาสถานทปี่ ฏบิ ตั แิ ละเผยแพรธ่ รรมะใหแ้ กป่ ระชาชนใน
สถานที่ตา่ งๆ กนั

154

เมอื่ ถงึ เกาะภเู กต็ แลว้ หลวงปสู่ ามไดพ้ ำ� นกั จำ� พรรษาทท่ี า่ ฉตั รไชยอยู่ ๑ พรรษา
แลว้ ธดุ งคไ์ ปทางตำ� บลไมข้ าว พำ� นกั จำ� พรรษาอยทู่ ว่ี ดั ไมข้ าว ๑ พรรษา ไดส้ ามเณรฉลอง
อยูป่ ฏิบัติรบั ใช้

หลวงปู่สามพำ� นักอยู่ทางปกั ษใ์ ตน้ านถงึ ๗ ปี ได้อบรมสัง่ สอนประชาชน และ
พระภกิ ษสุ ามเณรในแถบนน้ั ตลอดเวลา เมอ่ื วา่ งเวน้ จากการอบรมสง่ั สอน ทา่ นกไ็ ดใ้ ช้
เวลาทำ� ความเพยี รภาวนาอย่างเตม็ ที่ ดว้ ยการถืออริ ิยาบถ ๓ คอื นั่ง ยืน และ เดิน
โดยงดเวน้ การนอน หมายความวา่ ตลอดเวลาทที่ า่ นพำ� นกั จ�ำพรรษาอยทู่ นี่ ี่ ทา่ นได้
อธิษฐานในข้อทว่ี า่ ด้วยเนสัชชิกธุดงค์ ถอื การไม่นอนเป็นวตั ร ตลอดเวลาทอ่ี ธิษฐาน
ธดุ งค์ขอ้ น้จี ะงดเวน้ การนอน ไม่ยอมให้หลังแตะพื้น มุ่งมัน่ บำ� เพญ็ สมณธรรมเพื่อ
หลดุ พน้ จากการเวียนว่ายตายเกดิ มงุ่ ปฏิบตั ติ รงสพู่ ระนิพพาน

หลวงพ่อค�ำพอง ติสโส ได้กล่าวถึงหลวงปู่สามในช่วงท่ีพ�ำนักจ�ำพรรษาอยู่
ภาคใตว้ า่ “ตอนนนั้ ทา่ นแขง็ แรงดี ปฏบิ ตั มิ าก ถา้ ทา่ นไดท้ ำ� ความเพยี รแลว้ ทา่ นทำ� จรงิ ๆ
ชนดิ ทเ่ี รยี กวา่ ถา้ ไดน้ ง่ั ภาวนาแลว้ กน็ ง่ั ตลอดคนื ถา้ ไดเ้ ดนิ จงกรมแลว้ เดนิ ขน้ั เอาเปน็
เอาตาย ชนิดที่เรียกว่าเรื่องหลับนอนไม่ส�ำคัญและไม่เป็นสิ่งจ�ำเป็นส�ำหรับท่านใน
ระหว่างนนั้

หลวงปู่สามท่องเท่ียวธุดงค์และอบรมประชาชนอยู่ทางภาคใต้ ได้พ�ำนักใน
สถานทีต่ า่ งๆ หลายแหง่ ผศู้ รัทธาเล่ือมใสกม็ มี าก ในทางตรงขา้ ม ต่างก็มผี ไู้ มพ่ อใจ
และไม่อยากให้ท่านอยู่ แต่ท่านได้พิจารณาเห็นว่าการเผยแพร่หลักธรรมค�ำสอน
ให้แก่ญาติโยมในทางที่ถูกต้องเป็นหน้าที่ของพระสงฆ์สาวกของพระตถาคตเจ้า
โดยตรง ไมข่ ึน้ อยกู่ บั ความรู้สึกพอใจหรือไมพ่ อใจของใครท้งั สิ้น ทา่ นจึงได้ประกาศ
ธรรมะด้วยจิตใจท่ีมุ่งมั่นและเมตตาสงสาร อยากให้ประชาชนได้รู้เเละด�ำเนินตาม
คำ� สงั่ สอนของพระพทุ ธองค์อยา่ งถูกตอ้ ง

155

ธุดงคช์ ายแดนเขมร

หลวงปสู่ ามพำ� นกั อยทู่ ป่ี กั ษใ์ ตน้ านถงึ ๗ ปี ทา่ นไดส้ ามเณรฉลองมาอยอู่ ปุ ฏั ฐาก
รับใชอ้ ยถู่ งึ ๔ ปี ทา่ นพจิ ารณาดูอุปนิสยั ใจคอของสามเณรฉลอง เห็นว่าเปน็ ผสู้ นใจ
ในการประพฤติปฏิบัติธรรมพอสมควร ท่านจึงได้น�ำสามเณรฉลองเดินทางข้ึนไป
จงั หวดั สรุ นิ ทร์ดว้ ย

เมอ่ื ถงึ จงั หวดั สรุ นิ ทรแ์ ลว้ กพ็ าสามเณรฉลองไปกราบนมสั การหลวงปดู่ ลู ยท์ ว่ี ดั
บรู พาราม พกั อยไู่ มน่ าน ทา่ นกก็ ราบลาหลวงปดู่ ลู ยไ์ ปเยยี่ มญาตพิ นี่ อ้ งทางบา้ นนาสาม
แล้วก็เที่ยวธุดงค์เดินไปตามป่าเขาแถบชายแดนเขมรเป็นเวลาหลายเดือน แล้วท่าน
กเ็ ดนิ ทางวกกลบั มาบ้านนาสามอกี พักอยูท่ ่บี า้ นนาสามไมก่ ีว่ นั หลวงปู่กอ็ อกธดุ งค์
ต่อไปในทางบ้านนอกและบ้านสวาย ถิ่นที่เคยไปปักกลดธุดงค์เป็นคร้ังแรกในชีวิต
ธุดงค์ของท่าน หลวงปู่ได้พาสามเณรฉลองปักกลดธุดงค์ไปเรื่อยๆ จนถึงอ�ำเภอ
ลำ� ปลายมาศ จงั หวดั บรุ รี มั ย์ พกั อยแู่ ถวนนั้ นานเปน็ เดอื น แลว้ จงึ วกกลบั มาจำ� พรรษา
ทบี่ ้านนาสาม ๑ พรรษา

156

ลงใตค้ รั้งทส่ี อง

เมอื่ ออกพรรษาในปีนน้ั แลว้ หลวงปู่ได้ลงไปทางใต้อกี เป็นคร้งั ทีส่ อง ไดพ้ �ำนัก
ปฏิบตั ิธรรมบำ� เพ็ญภาวนาท่ีควนกะไหล บ้านกะไหล อ�ำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพงั งา
ออกจากควนกะไหล กม็ ญี าตโิ ยมนมิ นตใ์ หอ้ ยจู่ ำ� พรรษาทสี่ ำ� นกั สงฆโ์ คกกลอยนากลาง
หลวงปู่ได้รับนิมนต์ให้เป็นประธานสงฆ์ในระหว่างนั้น คณะญาติโยมเล่ือมใสใน
ปฏปิ ทาทา่ นมาก หลวงปไู่ ดฉ้ ลองศรทั ธาโดยยอมพกั จำ� พรรษาอยทู่ โี่ คกกลอยนากลาง
๑ พรรษา เมือ่ ออกพรรษาแล้ว ท่านก็ได้ธุดงค์ไปจงั หวัดภเู กต็ พกั จำ� พรรษาอยู่ท่ี
ท่าฉัตรไชย ๑ พรรษา

เม่อื ออกพรรษาแล้ว ท่านก็ออกธุดงคไ์ ปเร่ือยๆ จะเห็นวา่ หลวงปู่ไมไ่ ดต้ ิดยึด
อยกู่ บั สถานทเี่ ลย พกั ปดั กลดแสวงหาความวเิ วกตามปา่ ตามเขา ตามปา่ ชา้ และทส่ี งบสงดั
แถบชายทะเลในทอ้ งทจี่ งั หวัดภเู ก็ต กระบี่ และพงั งา

โดยอปุ นสิ ยั หลวงปู่มคี วามยดึ มั่นในความสนั โดษมกั นอ้ ย ยนิ ดใี นความสงบ
วเิ วก ปรารภความเพยี ร ท่านพูดน้อยแต่ปฏิบัติมาก เวลาญาติโยมเข้าไปหา ท่านจะ
ชกั ชวนพดู ถงึ เรอ่ื งธรรมะมากกวา่ พดู คยุ เรอ่ื งอนื่ หลวงปมู่ กั แสดงธรรมในหวั ขอ้ สนั้ ๆ
ส่วนใหญจ่ ะเปน็ เรือ่ งการปฏิบัติ เชน่ หลวงปูส่ อนว่า

“ธรรมะของจรงิ กอ็ ยกู่ บั บคุ คลทกุ คน เวน้ ไวแ้ ตไ่ มท่ ำ� ถา้ ทำ� ตอ้ งมที กุ คน เพราะ
ธรรมะเปน็ ของจรงิ ตอ้ งท�ำจรงิ จงึ จะเหน็ จรงิ ๆ การกระท�ำกต็ อ้ งเสยี สละเวลาตงั้ แตก่ าย

157

วาจา และใจ โดยระลกึ ถงึ คณุ พระพุทธ พระธรรม และพระอริยสงฆ์ เป็นสรณะ
ทพ่ี ง่ึ ของตน แลว้ กน็ ง่ั สมาธภิ าวนาบริกรรมก�ำหนดจิตวา่ พทุ โธๆๆ”

ในชว่ งอยทู่ ภี่ าคใตโ้ ดยการนำ� ของหลวงปเู่ ทสก์ เทสรงั สี ไดม้ คี รบู าอาจารยอ์ งคอ์ น่ื
ร่วมเผยแพร่ธรรมะด้วยหลายองค์ ในช่วงเวลาน้ันก็มีหลวงปู่เหรียญ วรลาโภ
หลวงปหู่ ลา้ เขมปตั โต หลวงพอ่ คำ� พอง ตสิ โส พระอาจารยว์ นั อตุ ตโม พระอาจารยค์ ำ� ดี
ปญั โญภาโส พระอาจารยม์ หาปน่ิ ชลโิ ต พระอาจารยจ์ นั ทรโ์ สม กติ ตกิ าโร พระอาจารย์
สวุ จั น์ สุวโจ เปน็ ตน้

หลวงปสู่ ามไดอ้ อกเดนิ ธดุ งคจ์ ารกิ แสวงหาสถานทว่ี เิ วกไปเรอื่ ยๆ พำ� นกั จำ� พรรษา
ทเ่ี ขาแกว้ ๒ พรรษา แลว้ เดนิ ธดุ งคม์ งุ่ หนา้ ไปทางฝง่ั ทะเลตะวนั ออกแถบจงั หวดั จนั ทบรุ ี
ทา่ นบำ� เพญ็ ความเพยี รอยา่ งจรงิ จงั โดยไมม่ เี วลาหยดุ หยอ่ น ปฏบิ ตั ภิ าวนาชนดิ เอาเปน็
เอาตายเพื่อฝึกจิตใจให้ปลอดพ้นจากสภาวะของกิเลส ละท้ิงปล่อยวางทั้งความรัก
และความชงั หากปลอ่ ยวางไดห้ มดสน้ิ แลว้ กจ็ ะพบความบรสิ ทุ ธส์ิ ะอาดหมดจด เหลอื แต่
จติ ว่างเปลา่ ตง้ั อยูเ่ ปน็ หน่ึง นน่ั คือทางหลดุ พน้ เป็นหนทางเข้าถึงมรรค ผล นิพพาน
ตามแนวทางของพระพุทธองค์

158

จารกิ แสวงบุญไปภาคเหนอื

หลวงปู่เดนิ ธดุ งคไ์ ปถงึ จงั หวัดพิษณุโลก ได้พำ� นกั ในป่าแห่งหน่ึง ญาติโยมผมู้ ี
จิตศรัทธาได้สร้างกุฏิเล็กๆ ให้อยู่จ�ำพรรษา โยมท่ีสร้างกุฏิท่ีพ�ำนักมีความศรัทธา
หลวงปมู่ าก ไดม้ านอนเฝา้ ปฏบิ ตั ธิ รรมภาวนากบั หลวงปแู่ ทบทกุ คนื ไมเ่ วน้ ถา้ คนื ไหน
มาไม่ไดก้ จ็ ะใหล้ ูกชายมาเฝา้ ดูแลแทน

ในช่วงที่จ�ำพรรษาอยู่ที่พิษณุโลก การปฏิบัติภาวนาเป็นไปด้วยดี ทางจิตใจ
มีความสงบสงัดดี แต่สภาวการณ์ภายนอกไม่สู้จะดี กล่าวกันว่ามีผู้ประสงค์ร้าย
มาลอบยงิ หลวงปถู่ งึ ๓ ครง้ั แตม่ อี นั ตอ้ งแคลว้ คลาด เพราะโยมทน่ี อนเฝา้ ไดร้ สู้ กึ ตน่ื ขน้ึ
ทกุ ครงั้ การลอบทำ� รา้ ยจงึ ไมส่ ำ� เรจ็ คงเปน็ เพราะหลวงปมู่ เิ คยเบยี ดเบยี นพยาบาทใคร
ตรงข้ามทา่ นมีแต่จติ เมตตา จึงทำ� ให้ทา่ นรอดพน้ อนั ตรายไปได้ในระหวา่ งพรรษานนั้

เมือ่ ออกพรรษาแล้ว หลวงป่กู เ็ ดนิ ธุดงคข์ ้นึ เหนอื ม่งุ สู่เชียงใหม่ ผ้รู ว่ มเดนิ ทาง
ในครงั้ นน้ั มี ทา่ นคำ� ดี สามเณรฉลอง และโยมทตี่ ดิ ตามไปจากจงั หวดั สรุ นิ ทรค์ นหนงึ่
ชอ่ื โยมพุ (ตอ่ มาภายหลงั โยมพไุ ดบ้ วชเปน็ พระ ปจั จบุ นั จำ� พรรษาอยทู่ วี่ ดั โคกหมอ่ น
จังหวัดสรุ ินทร์)

จดุ ประสงคข์ องการเดนิ ทางไปครง้ั นนั้ กเ็ ชน่ เดยี วกบั การออกธดุ งคไ์ ปยงั สถานท่ี
อ่ืนๆ คือแสวงหาท่ีวิเวกเพื่อเร่งท�ำความเพียรทางจิตใจของตน พร้อมท้ังศึกษา
ภมู ปิ ระเทศ และอบรมส่งั สอนประชาชน

159

หลวงปู่ได้พำ� นกั จำ� พรรษาอยู่ทบ่ี ้านแมห่ ลอด อำ� เภอแม่แตง จังหวัดเชยี งใหม่
ไดอ้ าศัยบณิ ฑบาตและอบรมส่งั สอนชาวเขาเผ่ากะเหรย่ี งและเผา่ อืน่ ๆ

การออกธดุ งคใ์ นชว่ งนน้ั หลวงปไู่ ดไ้ ปพำ� นกั อยทู่ ่ี ถำ้� ผาเดง่ ตำ� บลปา่ แป๋ อำ� เภอ
แมแ่ ตง พบกบั พระอาจารยบ์ ญุ ฤทธ์ิ (ปจั จบุ นั พระอาจารยบ์ ญุ ฤทธพิ์ กั จำ� พรรษาอยทู่ ี่
ประเทศออสเตรเลีย) และได้พักปฏิบัตธิ รรมด้วยกันอยู่ทนี่ นั่

ในพรรษาตอ่ มา ท่านพอ่ ลี ธมั มธโร กธ็ ดุ งค์ไปทนี่ ่ัน และพ�ำนกั กับหลวงปสู่ าม
อยู่ระยะหน่ึง แล้วท้ังหลวงปู่และท่านพ่อลีก็ออกจาริกต่อไปโดยแยกเดินทางไป
คนละทาง

ในภายหลัง หลวงปู่กับท่านพ่อลีได้มาพบกันอีกคร้ังท่ีบ้านยาง ซึ่งขณะน้ัน
หลวงปู่ชอบ ฐานสโม (ปัจจุบันท่านพ�ำนักอยู่ที่วัดป่าสัมมานุสรณ์ อ�ำเภอวังสะพุง
จงั หวดั เลย) เปน็ ศษิ ยร์ นุ่ อาวโุ สทสี่ ดุ ของหลวงปมู่ นั่ ทยี่ งั มชี วี ติ อยใู่ นขณะนี้ กธ็ ดุ งคไ์ ป
ถงึ บา้ นยาง ผาแด่น เช่นเดียวกนั หลวงปสู่ ามเกิดอาพาธขึน้ จงึ ไดธ้ ดุ งคก์ ลบั มาพัก
ทเี่ ดมิ คือ ผาเดง่ พระอาจารย์บญุ ฤทธ์ิได้ตามลงมาดว้ ย ทบี่ ้านผาเดง่ น้ี ชาวบา้ นได้
ชว่ ยกนั สรา้ งกฏุ เิ ปน็ เพงิ พกั ชว่ั คราวใหท้ า่ น มญี าตโิ ยมมาทำ� บญุ และปฏบิ ตั ธิ รรมภาวนา
ดว้ ยเป็นจ�ำนวนมาก ช่วงนั้นในปี พ.ศ. ๒๕๐๖

ในปีน้ัน ท่านพระอาจารย์จันดีและพระอาจารย์ศรีจันทร์ได้เดินทางไปขอฝึก
อบรมสมาธิภาวนาอยูก่ ับหลวงปู่ พระอาจารย์ท้งั สององค์ไปถงึ ประมาณบา่ ย ๓ โมง
พบหลวงปู่นัง่ อยูบ่ นศาลาเล็กๆ จึงเขา้ ไปกราบนมัสการขอฟงั ธรรมปฏบิ ตั ิกบั หลวงปู่
หลวงป่บู อกว่าทา่ นชอบนักปฏิบัติ ถา้ ใครไมป่ ฏิบัติจะอยู่ด้วยทนี่ น่ั ไม่ได้ หลวงปไู่ ด้
ก�ำหนดให้พระอาจารย์ท้ังสององค์แยกย้ายไปอยู่กุฏิองค์ละแห่ง ขอให้ต่างองค์ต่าง
ปฏิบตั ิ อีก ๓ วนั ถึงวันพระ จงึ คอ่ ยมาไหว้พระนง่ั สมาธภิ าวนาด้วยกนั ทศ่ี าลา

ในชว่ งทพี่ กั ทว่ี ดั ถำ้� ผาเดง่ หลวงปแู่ ละพระอาจารยอ์ กี ๒ องค์ ตา่ งแยกยา้ ยกนั
ไปรับบณิ ฑบาตโปรดญาตโิ ยมคนละหมบู่ ้าน แล้วน�ำอาหารทีบ่ ิณฑบาตได้มารวมกัน
ต้มให้ร้อนเสียก่อนจึงฉันได้ เพราะอาหารแต่ละอย่างนั้นค่อนข้างคาวจัด อาหาร

160

สว่ นใหญไ่ ดแ้ กพ่ วกปลา หนู กบ กงุ้ และเขยี ด ชาวบา้ นไมม่ เี กลอื ใช้ มแี ตน่ ำ้� ปลากบั พรกิ
พอดบั กลน่ิ คาวไดบ้ า้ ง ปกตหิ ลวงปไู่ มค่ อ่ ยพดู เมอ่ื ฉนั เสรจ็ ตา่ งองคต์ า่ งแยกยา้ ยกนั
ไปปฏิบัตภิ าวนาอยทู่ ่ีกฏุ ิของแตล่ ะท่านซ่ึงอยหู่ ่างๆ กนั แต่ละองค์ต่างก็ต้ังใจภาวนา
และเดินจงกรมทัง้ วันทงั้ คืน ไมไ่ ด้อยใู่ นความประมาทและไม่ได้คยุ กัน

พอถึงวนั พระ หลงั จากฉันเสรจ็ แล้ว หลวงปู่บอกวา่ คำ่� นป้ี ระมาณ ๒ ท่มุ ใหม้ า
ไหว้พระและน่ังสมาธิภาวนารวมกันที่ศาลา ซึ่งหลวงปู่จะให้การอบรมแต่เพียงส้ันๆ
ว่า “ให้ภาวนาท�ำจิตใจให้สงบ อย่าส่งจิตออกไปทางอ่ืน ท�ำใจให้ตรงให้แน่วแน่
เพง่ ลงมาทใี่ จ” หลวงปมู่ กั จะใหก้ ารอบรมเพยี งแคน่ ้ี แลว้ ตา่ งคนตา่ งกภ็ าวนาดจู ติ ดใู จ
ของตนเอง

161

หลวงป่ถู ูกลอบท�ำร้าย

ในชว่ งเดอื นเมษายน ๒๕๐๗ พระอาจารยจ์ นั ดแี ละพระอาจารยศ์ รจี นั ทร์ ไดก้ ราบ
ลาหลวงปไู่ ปท�ำบญุ สงกรานตท์ ่ีวดั ปา่ บา้ นหว้ ยรนิ อำ� เภอแมร่ มิ หลวงปจู่ งึ อยวู่ ดั เพยี ง
องคเ์ ดยี ว เหตกุ ารณค์ รง้ั นสี้ บโอกาสใหผ้ ไู้ มป่ ระสงคด์ เี ขา้ ลอบทำ� รา้ ยทา่ นจนจวนเจยี น
จะเอาชีวิตไมร่ อดในคืนวันหนึ่ง

กล่าวถึงเรอ่ื งการที่หลวงป่ถู ูกลอบทำ� ร้าย บางแหลง่ บอกว่าเปน็ การจ้างวานของ
พระภิกษุซึ่งอยู่ในวัดท้องถ่ินต้องการขับไล่ให้หลวงปู่หนีออกไปอยู่ท่ีอ่ืนเพราะ
ชาวบา้ นในแถบนน้ั ตา่ งหนั มาเลอื่ มใสหลวงปกู่ นั หมด ทำ� ใหศ้ รทั ธาตอ่ พระเจา้ ถนิ่ ลดลง
จึงเกิดการอิจฉาริษยาระหว่างพระด้วยกัน ค�ำบอกเล่าอีกเหตุการณ์หน่ึงบอกว่า
เป็นเพราะหมอผใี นท้องถิ่นเสยี ผลประโยชน์ ทัง้ นเ้ี พราะหลวงปูม่ กั เทศน์สอนให้คน
ละเลิกความเช่ือถอื ผสี างนางไม้ แล้วหันมายึดถอื พระไตรสรณคมนค์ อื พระพทุ ธเจ้า
พระธรรม และพระอรยิ สงฆ์ เปน็ ทพี่ ง่ึ กลบั ใหส้ รา้ งความดใี หเ้ กดิ ขน้ึ กบั ตวั เองดว้ ยการ
ให้ทาน รกั ษาศีล ภาวนา ดว้ ยเหตุน้คี วามศรัทธาตอ่ หมอผีจากชาวบา้ นจงึ เสือ่ มลง
นั่นหมายถึงอามิสและผลประโยชน์ที่พึงได้จากการสอนให้คนหลงงมงายจึงลดน้อย
ลงดว้ ย การจา้ งวานให้ท�ำรา้ ยหลวงปจู่ งึ ไดม้ ีขึน้ อย่างไรกต็ าม ผเู้ ขยี นเหน็ ว่าคงไม่ใช่
ประเด็นสำ� คัญท่ีพวกเราจะต้องมาสืบค้นหาต้นตอกันเพราะไม่ได้ทำ� ให้เกิดประโยชน์
อนั ใด รวมท้ังหลวงปเู่ องก็ไมไ่ ดต้ ิดใจที่จะเอาโทษ ด้วยจติ เมตตาท่านไดใ้ ห้อภัยแก่
ผู้คิดประทุษร้ายเหล่านั้นหมดส้ินแล้ว พวกเราซ่ึงเป็นลูกหลานของหลวงปู่ควรรับรู้
เฉพาะเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนก็แล้วกัน คงไม่ต้องสอบถามหาว่าใครเป็นผู้ก่อกรรมช่ัว
อันน้นั ซง่ึ ผลช่วั ก็ได้ตอบสนองผู้กระทำ� นน้ั แล้ว

162

เรือ่ งราวดังกลา่ วเกดิ ข้ึนในคนื วนั หนึง่ หลวงปู่สามก�ำลังนง่ั บ�ำเพ็ญเพยี รภาวนา
อยู่ในกุฏิกระต๊อบที่โยมได้ปลูกให้ท่านพ�ำนักอาศัยอยู่เป็นการชั่วคราว ขณะที่จิต
ของท่านดิง่ สู่สมาธใิ นฌานสมาบตั ิอยนู่ นั้ ไดม้ ีชายสองคนลอบเขา้ มาแล้วเอาก้อนหิน
ขนาดใหญ่ทุ่มลงไปที่ศีรษะของหลวงปู่จนแตก เลือดสาดกระเซ็นเปรอะเปื้อนไป
ทว่ั พนื้ และฝากระตอ๊ บ หลวงปสู่ ามยงั นง่ั สมาธนิ ง่ิ ไมร่ สู้ กึ ตวั ทา่ นยงั คงนงั่ นง่ิ ไมไ่ หวตงิ
ทรงอยใู่ นณานสมาบตั ิ ชายผลู้ อบทำ� รา้ ยคดิ วา่ หลวงปคู่ งจะมรณภาพแลว้ เพราะไมม่ ี
ใครทจี่ ะสามารถทนทานตอ่ นำ�้ หนกั ของหนิ ขนาดนนั้ ได้ เขาจงึ พงั ฝากระตอ๊ บใหท้ บั ลง
บนรา่ งของหลวงปู่ แล้วจงึ หลบหนไี ป

ครนั้ เมอื่ หลวงปถู่ อนจติ ออกจากสมาธแิ ลว้ ทงั้ รสู้ กึ แปลกใจทเ่ี หน็ กระตอ๊ บพงั ลง
มาทบั ตัวทา่ น ฟนั ทา่ นหักไปหลายซี่ และมีรอยเลือดเปรอะเปอ้ื นตวั ทา่ นเกรอะกรงั
รวมท้งั เปอ้ื นพน้ื และฝากระต๊อบอยา่ งมากมาย เม่ือหลวงป่พู ิจารณาดูจงึ เหน็ วา่ เลือด
เหลา่ นนั้ ไหลออกจากบาดแผลในรา่ งกายของทา่ น ฟนั ในปากหกั และโยกคลอนหลายซ่ี
ภายในปากก็แตก แต่ท่ีใบหน้ากลับไม่ปรากฏบาดแผลแต่อย่างใด ท่านจึงรู้ได้ว่า
จะตอ้ งมผี ลู้ อบมาทำ� รา้ ยในขณะทที่ า่ นกำ� ลงั ทำ� สมาธอิ ยู่ เมอ่ื พจิ ารณาแลว้ ทา่ นกร็ สู้ กึ
ขบขนั และไมไ่ ดร้ สู้ กึ โกรธหรอื ตอ้ งการเอาโทษแตป่ ระการใด

พอรงุ่ เชา้ หลวงปกู่ เ็ ขา้ ไปบณิ ฑบาตในหมบู่ า้ น เมอ่ื ชาวบา้ นเหน็ วา่ รา่ งกายและจวี ร
ของทา่ นเตม็ ไปดว้ ยเลอื ดแหง้ เกรอะกรงั จงึ พากนั โกรธแคน้ มาก พากนั สบื จนทราบตวั
ผจู้ า้ งวานและผทู้ ำ� รา้ ยหลวงปู่ ชาวบา้ นรวมตวั กนั จะแกแ้ คน้ ให้ แตห่ ลวงปไู่ ดห้ า้ มปราม
หลวงปู่ขอไม่ให้เอาเรอ่ื งและเหน็ วา่ เปน็ เคราะหก์ รรมของท่านเอง

ในสว่ นของชายคนทรี่ บั จา้ งมาทำ� รา้ ยหลวงปนู่ น้ั เมอื่ เหน็ วา่ หลวงปยู่ งั ไมม่ รณภาพ
ตามทเี่ ขาตง้ั ใจกม็ คี วามกลวั เปน็ อนั มาก ไดเ้ ขา้ มากราบสารภาพผดิ ตอ่ หลวงปู่ ดว้ ยความ
เมตตาหลวงปู่กอ็ โหสกิ รรมให้ ไมถ่ อื โทษโกรธเคืองหรอื อาฆาตพยาบาทแตอ่ ยา่ งใด
แตเ่ พราะบาปกรรมทท่ี ำ� รา้ ยพระภกิ ษผุ ทู้ รงศลี และวนิ ยั อนั สะอาดบรสิ ทุ ธขิ์ ณะทรงฌาน
บาปนั้นได้สนองคนร้ายในเวลาต่อมาด้วยการประสบเคราะห์กรรมอย่างหนักและ
เสียชวี ติ เรียกว่าได้รบั ผลกรรมทนั ตาเห็น

163

นมิ ิตของพระอาจารย์จนั ดี

ประมาณวนั ที่ ๘ หรือ ๙ เมษายน ๒๕๐๗ หลวงปไู่ ดใ้ หพ้ ระอาจารย์จนั ดี
กับพระอาจารย์ศรีจันทร์ไปร่วมงานบุญสงกรานต์ที่วัดป่าห้วยน้�ำริน อ�ำเภอแม่ริม
จังหวดั เชียงใหม่ ดังกลา่ วมาขา้ งตน้ เหลอื แตห่ ลวงป่อู ยทู่ ี่วดั องค์เดียว พระอาจารย์
ท้ังสองได้ไปกราบเยี่ยมพระอาจารย์มหาปราโมทย์ที่วัดป่าบ้านปง (ปัจจุบันคือ
วัดอรญั ญวเิ วก ต�ำบลอนิ ทขิล อ�ำเภอแม่แตง จังหวดั เชียงใหม่ ซง่ึ มหี ลวงพ่อเปลยี่ น
ปัญญาปทีโป เปน็ เจา้ อาวาส) พระอาจารยม์ หาปราโมทย์ได้ชวนอาจารย์ทั้งสององค์
ไปกราบหลวงปแู่ หวนที่ดอยแม่ปงั๋ อ�ำเภอพรา้ ว

ต่อมาคืนวันท่ี ๑๒ เมษายน ๒๕๐๗ พระอาจารย์จันดีฝันเห็นหลวงปู่สาม
อาเจียนเป็นเลือดและถ่ายเป็นเลือดเต็มกุฏิไปหมด ไม่มีใครดูแลปฏิบัติท่าน
พอสงกรานต์เสร็จ ท่านก็กลับมาท่ีวัดป่าบ้านปง ได้ทราบข่าวว่าหลวงปู่ถูกท�ำร้ายที่
วัดถ�้ำผาเด่ง มาพักรักษาตัวอยู่ท่ีอ�ำเภอแม่แตง พระอาจารย์จันดีก็รีบเดินทางมาท่ี
วัดปากทาง อ�ำเภอแม่แตง ซึง่ เป็นวดั ของหลวงปตู่ ้ือ อจลธัมโม ทราบว่าหลวงปู่สาม
เพ่ิงออกจากโรงพยาบาลได้ ๒ วัน และพักอยู่ท่ีวัดแห่งน้ี หลวงปู่สามได้เล่าให้
พระอาจารยจ์ นั ดฟี งั วา่ ทา่ นโดนเขาตฟี นั หกั ปากแตก เลอื ดไหลทวั่ หอ้ ง สลบไป ไมร่ สู้ กึ ตวั

164

ทา่ นเลา่ เหตกุ ารณใ์ นคนื นนั้ วา่ พอถงึ ๖ โมงเยน็ ทา่ นกเ็ ขา้ ฝกึ จติ ทำ� สมาธภิ าวนาไป
ไมท่ ราบวา่ เขามาตเี วลาไหน มารสู้ กึ ตวั ตอนฟน้ื ขน้ึ มาเทา่ นน้ั คอื เมอื่ ออกจากสมาธแิ ลว้
รสู้ กึ แปลกๆ ไปหมดทกุ อยา่ ง ฝากฏุ พิ งั ลงมา รสู้ กึ ตงึ ๆ ทใี่ บหนา้ มเี ลอื ดเปรอะเปอ้ื น
อยู่มากมาย เอามือลูบคลำ� ทวั่ ตัวก็ไมม่ ที เี่ จ็บ พอเอามอื ลูบปากและใบหนา้ กพ็ บว่ามี
เลอื ดเตม็ แลว้ คอ่ ยๆ รสู้ กึ เจบ็ ปวดมากขน้ึ เหน็ กอ้ นหนิ ตกอยใู่ กลๆ้ สามกอ้ น เขา้ ใจวา่
๒ กอ้ น ถกู เฉพาะมุ้งและจีวร อกี กอ้ นหนงึ่ ถูกปากอย่างจัง เลือดไหลออกจากปาก
แหง่ เดยี วในขณะทอ่ี ยใู่ นฌานสมาธโิ ดยไมร่ สู้ กึ ตวั พวกคนรา้ ยคงนกึ วา่ ทา่ นมรณภาพ
แลว้ จงึ พังฝากุฏใิ หล้ งมาปิดร่างกายของทา่ นไว้

เยน็ วนั นนั้ พระภกิ ษสุ ามเณรทว่ี ดั ปากทาง ประมาณ ๒๐ รปู กม็ าประชมุ สวดมนต์
ทำ� วตั ร ฟงั เทศน์ และภาวนาตามปกติ หลวงปตู่ อื้ ไดบ้ อกกบั หลวงปสู่ ามวา่ อยา่ ขน้ึ ไปอยู่
ท่วี ัดถำ�้ ผาเดง่ อกี เลย เร่ืองมรรค ผล นิพพาน ทำ� ที่ไหนก็ได้ ที่ไหนมันเป็นอันตราย
กอ็ ยา่ ไปเลย หลวงปกู่ ลบั ตอบวา่ ทา่ นสงสารโยมทเี่ ขามศี รทั ธาเลอื่ มใสกบั พระปฏบิ ตั ิ
เมอื่ พวกเขาทง้ิ พระวดั บา้ นกนั หมด เขากไ็ มม่ ที างไป ชาวบา้ นกจ็ ะหนั เหลงั เล ไมท่ ราบ
จะไปทางไหน หลวงปบู่ อกวา่ ทา่ นเหน็ จะตอ้ งขนึ้ ไปจำ� พรรษาอยกู่ บั พวกเขาสกั พกั กอ่ น
พระอาจารย์จันดกี ย็ นิ ดีจะไปพกั จ�ำพรรษารว่ มกบั หลวงปู่ โดยตอบว่า “ถ้าหลวงปไู่ ป
ผมกย็ นิ ดจี ะไปดว้ ย” แล้วก็ชวนพระอาจารย์คำ� แปงไปด้วยอกี องค์หนึ่ง

หลวงปู่ต้ือก็ไม่ไดท้ ดั ทานอกี นอกจากแนะนำ� ให้ขอความม่ันใจจากชาวบา้ นวา่
จะชว่ ยกนั ดแู ลหลวงปไู่ มใ่ หไ้ ดร้ บั อนั ตรายอยา่ งทเ่ี ปน็ มา ถา้ พวกเขารบั รองไมไ่ ด้ กใ็ ห้
ย้ายไปจำ� พรรษาอยทู่ ่ีอ่นื

165

กลับไปจำ� พรรษาที่วัดถ้ำ� ผาเดง่

หลงั จากนั้น ๒ วัน หลวงปู่สาม พระอาจารยจ์ ันดี และพระอาจารยค์ �ำเเปง
ออกเดนิ ทางไปวดั ถำ้� ผาเดง่ เดนิ ทางวนั ที่ ๒ จงึ ไปถงึ วดั เวลาประมาณบา่ ย ๓-๔ โมงเยน็
พอเขา้ ไปในเขตหมบู่ า้ น ชาวบา้ นกต็ า่ งดใี จ ออกมารบั เครอ่ื งอฐั บรขิ ารพาไปวดั พอถงึ วดั
ชาวบ้านต่างก็ออกมาประชุมพร้อมกันด้วยความปีติยินดีท่ีหลวงปู่ของพวกเขา
ได้ปลอดภัยจากภัยจากอันตราย และเดินทางกลับมาพ�ำนักที่หมู่บ้านของพวกเขา
เชน่ เดมิ

พระอาจารยจ์ นั ดถี ามชาวบา้ นวา่ ทำ� ไมจงึ ปลอ่ ยใหห้ ลวงปถู่ กู ทำ� รา้ ย มนั เกดิ ขน้ึ
ไดอ้ ยา่ งไร ชาวบา้ นเลา่ ให้ฟังว่า เหตุเกิดเมอื่ วนั ที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๐๗ เกดิ จาก
“ตุ๊เจ้าวัดบ้าน” ได้เรียกเพ่ือนมาสองคนมาเลี้ยงสุรากัน พอเมาแล้ว ตุ๊เจ้าวัดบ้าน
ก็จา้ งคนท้ังสองคนละ ๔ บาท ใหไ้ ปตี “ตุ๊เจ้าวดั ป่า” ท่อี ยอู่ งค์เดยี ว ทง้ั สองคนก็ไป
พอไปถึงก็เอาก้อนหินก้อนเท่าก�ำปั้นขว้างไปท่ีกุฏิของหลวงปู่ เป็นกุฏิเล็กๆ ยกพ้ืน
สงู ประมาณ ๑ เมตร กนั้ ดว้ ยฝาใบไม้ ไปถูกตัวทา่ น ท่านก็ไมร่ ู้สึกตัวเพราะท่าน
นง่ั สมาธอิ ยู่ พอกอ้ นที่ ๒ ประมาณเทา่ หวั คนขวา้ งไปอกี ถกู ฝากฏุ ทิ ะลกุ ลดถกู ปากถกู ฟนั
ทา่ นหกั ท่านก็สลบไป พอฟ้นื ขึ้นมารู้สกึ เจ็บๆ และผา้ จวี รเปียก กเ็ ลยจุดไฟสอ่ งดู
เห็นเป็นเลือด ทา่ นก็เลยร้องข้นึ ว่า ใครมาทำ� อะไรทน่ี ่ี หลังจากน้ันอีกสกั ชวั่ โมงหน่ึง
หลวงปูก่ เ็ ขา้ ไปในหมบู่ ้าน ชาวบา้ นเหน็ ท่านได้รบั บาดเจบ็ ก็พากนั ไปทีว่ ัด ค้นหาคนท่ี
ท�ำร้ายหลวงป่กู ันทง้ั คืนกไ็ ม่พบ ถ้าพบก็คงถกู ชาวบา้ นฆา่ ตายไปแล้ว

ผใู้ หญ่บ้านเลา่ วา่ พวกเขาทราบตวั คนรา้ ยแลว้ จะให้ไปจบั ตวั เขาไหม จะใหฆ้ ่า
เขาไหม หลวงปไู่ ดห้ า้ มไมใ่ หช้ าวบา้ นไปเอาเรอื่ งเอาราวกบั เขา ทา่ นวา่ ทเ่ี ขาทำ� ไปกด็ ว้ ย

166

ความไมร่ ู้ ควรจะสงสารเขา สำ� หรบั หลวงปเู่ องกไ็ มไ่ ดต้ ดิ ใจเอาเรอื่ งพวกเขาแตอ่ ยา่ งใด
และเหน็ วา่ เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขนึ้ ทง้ั หมดถอื เปน็ คราวเคราะหข์ องทา่ นเอง ทา่ นอโหสใิ หเ้ ขา
หมดท้งั ส้ิน ไมไ่ ด้ถอื โทษและไมไ่ ดจ้ องเวรจองกรรมแต่อยา่ งใดเลย

ฝา่ ยคนรา้ ย เมอ่ื ทราบวา่ หลวงปยู่ งั ไมม่ รณภาพตามทพี่ วกเขาตงั้ ใจ จงึ เกดิ ความกลวั
แล้วมากราบสารภาพโทษกับหลวงปู่ หลวงปู่ก็ยกโทษให้ทุกคน แต่คงเป็นเพราะ
กรรมหนกั ท่ีทำ� ร้ายพระภกิ ษผุ ทู้ รงศีลและพระวนิ ัยอันบริสทุ ธิข์ ณะทรงฌาน บาปนั้น
ไดส้ นองพวกเขาอยา่ งหนัก และเปน็ ไขต้ ายทุกคน เรียกวา่ “บาปกรรมทันตาเห็น”

พระอาจารยจ์ นั ดบี อกชาวบา้ นวา่ ตอ่ ไปน้ี คณะอาตมา ๓ องค์ จะจำ� พรรษาอยทู่ น่ี ่ี
พวกญาติโยมจะให้ความอารักขาคุ้มครองพวกอาตมาไม่ให้มีเรื่องเช่นน้ีเกิดข้ึนอีก
ไดไ้ หม ชาวบา้ นกร็ บั ปากอยา่ งแขง็ ขนั ทงั้ ๓ องค์ กต็ กลงจะจำ� พรรษาอยทู่ นี่ นั่ แตพ่ อ
กอ่ นจะเขา้ พรรษาประมาณครง่ึ เดอื น พระอาจารยค์ ำ� แปงเกดิ แพอ้ ากาศ สคู้ วามหนาว
ไม่ได้ จึงได้ลงมาจ�ำพรรษาที่เชยี งใหม่ จึงเหลือพระจำ� พรรษาอย่ทู ่ีนั่นเพียง ๒ องค์
คือ หลวงปสู่ ามกบั พระอาจารยจ์ ันดี เทา่ นัน้

พอตกกลางคนื จะมชี าวบา้ นมานงั่ สมาธภิ าวนาอยกู่ บั หลวงปจู่ นดกึ ดนื่ เทย่ี งคนื
ตลอดพรรษา

หลวงปสู่ าม ทา่ นเทศนไ์ มม่ าก ใหช้ าวบา้ นนงั่ สมาธกิ นั ใหต้ ง้ั จติ ใหม้ น่ั บรกิ รรม
คำ� วา่ พทุ โธตามลมหายใจเขา้ ออกเพยี งอยา่ งเดยี ว อยา่ สง่ จติ ใจไปทางอน่ื ทำ� พทุ โธให้
แนว่ แน่ ท�ำพทุ โธใหเ้ กดิ ขึ้น

ทา่ นเทศนส์ อนทำ� นองนท้ี กุ วนั จจ้ี ดุ ลงไปทจี่ ติ ใจ ตงั้ สตใิ หแ้ นว่ แน่ เมอ่ื ภาวนานาน
พอสมควรกใ็ หเ้ ปลย่ี นอริ ยิ าบถเปน็ เดนิ จงกรม แลว้ กลบั มานง่ั สมาธติ อ่ จนถงึ เทยี่ งคนื
จึงแยกย้ายกันไปพักผ่อนหรือบ�ำเพ็ญเพียรต่อตามความต้องการของแต่ละคน
ทา่ นสอนอย่างน้ีตลอดพรรษา

167

กลบั มาตภุ มู ิ

พอออกพรรษาแล้ว ในปีต่อมาคือปี พ.ศ. ๒๕๐๘ หลวงปู่สามไปจ�ำพรรษาที่
วดั ป่าบา้ นปง อ�ำเภอแม่แตง เชียงใหม่ พอออกพรรษาแลว้ ก็เที่ยวธุดงคต์ ่อไปทาง
บา้ นจอ และบ้านถ�ำ้ เชียงดาว แล้วยอ้ นกลับมาพำ� นักที่บ้านปงอกี คร้ังหนงึ่ นบั เปน็ ที่
พำ� นักจ�ำพรรษาแหง่ สดุ ทา้ ยในจังหวัดเชียงใหม่ของหลวงปู่

ในปี พ.ศ. ๒๕๑๐ ญาตขิ องทา่ นทเ่ี ปน็ พระภกิ ษชุ อื่ หลวงพอ่ โบร์ (นามสกลุ เดมิ
สายไทย) ได้ธุดงค์จากจังหวัดสุรินทร์ไปถึงเชียงใหม่ สืบถามหาจนพบหลวงปู่ซึ่ง
พ�ำนักอยู่ที่วัดบ้านปง จึงกราบอาราธนาขอให้ท่านกลับไปพ�ำนักและโปรดญาติโยม
ทีจ่ งั หวัดสุรินทร์ บ้านเกดิ ของทา่ น

ก่อนท่ีท่านจะเดินทางกลับ ก่อนรุ่งอรุณเช้าวันหนึ่ง หลวงปู่ได้นิมิตเห็นภาพ
แสงอรุณเป็น ๓ สีซ้อนกันอยู่ ทั้งๆ ที่ญาติโยมที่อยู่ที่เดียวกันน้ันไม่มีใครเห็น
รงั สที ้งั ๓ นน้ั มแี สงสีขาวเป็นแสงเงนิ สีเหลอื งเปน็ แสงทอง สแี ดงเปน็ แสงทองแดง
เมอื่ หลวงปไู่ ดต้ รกึ ตรองดแู ลว้ กเ็ หน็ เหตผุ ล ๓ ประการทค่ี วรกลบั มาสมู่ าตภุ มู ิ ไดแ้ ก่

ประการที่ ๑ เราไดเ้ ทยี่ วธดุ งคใ์ นทวี่ เิ วกตา่ งๆ ตง้ั แตย่ งั เปน็ หนมุ่ มรี า่ งกายแขง็ แรง
จนแก่ชราภาพ ร่างกายออ่ นแอลง กำ� ลงั วงั ชาเส่อื มถอยลงมาก สมควรกลบั มาตภุ มู ิ

ประการที่ ๒ ไดม้ โี อกาสใกลช้ ดิ ครบู าอาจารยซ์ ง่ึ ชราภาพมากแลว้ คอื หลวงปดู่ ลู ย์
อตุโล

ประการที่ ๓ ได้มีโอกาสแนะน�ำส่ังสอนธรรมปฏิบัติแก่ญาติโยม ตลอดจน
พทุ ธศาสนิกชนในจงั หวดั บ้านเกิดของตนเอง

168

ด้วยเหตุผลดังกล่าว หลวงปู่สามจึงได้กลับจังหวัดสุรินทร์ตามค�ำนิมนต์ของ
หลวงพอ่ โบรแ์ ละญาตโิ ยมในจงั หวดั สรุ นิ ทร์ เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๑๐ ครง้ั แรก ญาตโิ ยมไดจ้ ดั
ทพี่ ำ� นกั จำ� พรรษาใหท้ า่ นทบี่ า้ นรำ� เบอะ อำ� เภอปราสาท จงั หวดั สรุ นิ ทร์ เปน็ เวลา ๑ พรรษา
ต่อมาชาวบ้านส่วนหนึ่งในละแวกนั้นได้ร้องเรียนต่อเจ้าหน้าที่ว่า บริเวณท่ีหลวงปู่
พำ� นกั จำ� พรรษานน้ั เปน็ ทำ� เลเลยี้ งสตั วข์ องหมบู่ า้ น ไมอ่ ยากใหพ้ ระภกิ ษพุ ำ� นกั อยใู่ น
บรเิ วณนัน้ หลวงปจู่ ึงย้ายมาพำ� นกั อยทู่ ี่ป่าบริเวณกโิ ลเมตรท่ี ๑๑ ถนนสายสุรินทร-์
ปราสาท ก็ได้รบั การคดั คา้ นร้องเรียนให้ยา้ ยท่ีอกี เปน็ ครงั้ ที่ ๒

ตอ่ มาญาตโิ ยมผมู้ จี ติ ศรทั ธาและเคารพเลอ่ื มใสในหลวงปู่ ไดช้ ว่ ยกนั บรจิ าคทรพั ย์
ซอ้ื ทดี่ นิ บรเิ วณกโิ ลเมตรที่ ๑๒ สรา้ งเปน็ วดั เลก็ ๆ ถวายใหเ้ ปน็ ทพ่ี ำ� นกั ทถ่ี าวรของหลวงปู่
ต่อมาญาติโยมก็ได้บริจาคทรัพย์ซื้อท่ีดินขยายออกไปจนเป็นวัดท่ีสมบูรณ์แบบจน
กลายเปน็ วัดป่าไตรวเิ วก และเจริญรงุ่ เรอื งมาจนปัจจบุ นั

เหตทุ ชี่ อ่ื วดั ปา่ ไตรวเิ วก หมายถงึ ความวเิ วก ๓ ประการ ไดแ้ ก่ กายวเิ วก วาจาวเิ วก
และอปุ ธวิ เิ วก นนั่ เอง และหลวงปไู่ ดพ้ ำ� นกั จำ� พรรษาประจำ� อยทู่ ว่ี ดั แหง่ นต้ี ราบจนวาระ
สุดท้ายในชีวิตของท่าน

ภายใตก้ ารนำ� ของหลวงปู่ ไดก้ อ่ สรา้ งถาวรวตั ถหุ ลายอยา่ งจนวดั ปา่ ไตรวเิ วกได้
พฒั นาขน้ึ เปน็ วดั วปิ สั สนากรรมฐานทส่ี มบรู ณแ์ บบ นบั เปน็ สำ� นกั ปฏบิ ตั ธิ รรมทสี่ ำ� คญั
อกี แห่งหนง่ึ ของจงั หวดั สุรนิ ทร์

หลวงปสู่ าม พระอรยิ เจา้ แหง่ สำ� นกั วดั ปา่ ไตรวเิ วก ไดบ้ ำ� เพญ็ เพยี รมาตลอดชวี ติ
อันยาวนานอย่างมอบหมายกายถวายชีวิตให้กับพระพุทธศาสนา โดยมิได้ย่อท้อ
เบอื่ หนา่ ย หรอื เกรงกลวั ตอ่ อปุ สรรคใดๆ การปฏบิ ตั แิ ละปฏปิ ทาของทา่ นเปน็ ลกั ษณาการ
ของพระอรยิ บคุ คลทชี่ าวพทุ ธสมควรกราบไหวบ้ ชู า ทา่ นเปน็ พระทป่ี ฏบิ ตั ดิ ปี ฏบิ ตั ชิ อบ
ถูกต้องร่องรอยในพระธรรมวินัย บ�ำเพ็ญเพียรเพื่อหลุดพ้นจากวัฏสงสารเพ่ือความ
สงบสขุ ทง้ั แกต่ วั ทา่ นเองและแกป่ วงชน ดำ� เนนิ รอยตามแบบอยา่ งพระบพุ พาจารยเ์ จา้
ทง้ั หลายทไ่ี ดป้ ระพฤตปิ ฏบิ ตั สิ บื ตอ่ กนั มา สมกบั ทที่ า่ นเปน็ พระผเู้ จรญิ ในธรรมสมควร
แก่การกราบไหว้บูชาแกส่ าธชุ นโดยท่ัวไป

169

ชว่ งสุดท้ายในชีวติ ของหลวงปู่

ตอ่ ไปนเ้ี ปน็ การบนั ทกึ ของพระอาจารย์สนอง เขมสรโณ วดั ป่าไตรวเิ วก ศิษย์
อปุ ฏั ฐากใกลช้ ดิ หลวงปอู่ งคห์ นงึ่ ซงึ่ ไดบ้ นั ทกึ เหตกุ ารณช์ ว่ งทา้ ยในชวี ติ ของหลวงปดู่ งั นี้

หลวงปสู่ าม อกญิ จโน ไดม้ าเรมิ่ กอ่ สรา้ งวดั ไตรวเิ วกเมอื่ พ.ศ. ๒๕๑๑ ในขณะนน้ั
หลวงปอู่ ายไุ ด้ ๖๘ ปี ทา่ นไดพ้ าพระภกิ ษสุ ามเณร ลกู ศษิ ยล์ กู หา และศรทั ธาญาตโิ ยม
จากทว่ั ประเทศ รว่ มกนั กอ่ สรา้ งและพฒั นาสำ� นกั วปิ สั สนากรรมฐานแหง่ นเ้ี ปน็ ลาํ ดบั มา
โดยเริม่ จากทด่ี นิ ผืนเลก็ ๆ ที่มสี ภาพแห้งแลง้ เพาะปลูกอะไรไมไ่ ดเ้ ลย มสี ภาพเปน็
ปา่ ละเมาะทีห่ มดสภาพปา่ แล้วพัฒนาข้นึ มาเรื่อยๆ โดยการปลูกป่า ปลกู ตน้ ไม้ และ
พัฒนาเสนาสนะเท่าท่ีจ�ำเป็นควบคู่มาด้วยกัน จนกลายเป็นวัดป่าไตรวิเวกท่ีมีความ
ร่มเยน็ และสง่างาม และเปน็ วัดปฏบิ ัตธิ รรมทส่ี มบรู ณ์แบบดงั เชน่ ปัจจุบนั น้ี ในด้าน
ถาวรวตั ถุ กไ็ ด้แก่ พระอุโบสถ ศาลาการเปรียญ หอระฆัง โรงครวั กุฏิทพ่ี กั สำ� หรับ
พระภิกษสุ ามเณร และเขตพกั อาศยั ของชี และที่พักปฏบิ ัตธิ รรมของฆราวาส

เม่ือหลวงปู่ชราภาพมากแลว้ คณะลกู ศษิ ยล์ กู หากร็ ว่ มกันสร้างพิพธิ ภณั ฑเ์ พ่ือ
รวบรวมวตั ถสุ งิ่ ของและเรอ่ื งราวทเ่ี กยี่ วกบั หลวงปขู่ นึ้ ถวาย ๑ หลงั เพอื่ ใหเ้ ปน็ อนสุ รณ์
ทศ่ี ึกษาค้นควา้ และสถานทีร่ ำ� ลกึ สักการะสำ� หรบั หลวงปู่ชวั่ ลกู ช่วั หลานสบื ไป

หลวงปู่ได้หยุดพักชีวิตธุดงค์ และพักจ�ำพรรษาประจ�ำท่ีตั้งแต่บัดน้ีเป็นต้นมา
ท�ำให้ลูกศิษย์ลูกหาและผู้มีความเคารพศรัทธาในหลวงปู่ได้มีโอกาสกราบเย่ียม
นมสั การท่านไดส้ ะดวกยง่ิ ข้ึน

170

ในช่วงท่ีหลวงปู่พ�ำนักท่ีวัดป่าไตรวิเวกน้ี อายุสังขารของท่านเริ่มเข้าสู่วัย
ชราภาพแลว้ สขุ ภาพพลานามยั เร่ิมมีการแปรปรวนเปลย่ี นแปลงไปตามธรรมดาของ
สงั ขาร การเจบ็ ไข้ไดป้ ่วยบ้างนดิ ๆ หนอ่ ยๆ กม็ เี ป็นธรรมดาของผู้สูงอายุ แตไ่ ม่เคย
ปว่ ยหนกั ถงึ ขนั้ ลม้ หมอนนอนเสอ่ื จดั วา่ หลวงปมู่ สี ขุ ภาพพลานามยั ดมี ากเมอ่ื เทยี บกบั
ผ้สู ูงอายโุ ดยทัว่ ไป

หลวงปู่ป่วยหนักคร้ังแรกในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ด้วยการเข้ารับการผ่าตัดต่อม
ลกู หมากโต ทโ่ี รงพยาบาลศริ ริ าช ในคราวนนั้ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ ไดท้ รง
โปรดเกลา้ ฯ รบั หลวงปเู่ ป็นคนไขใ้ นพระอปุ ถัมภข์ องพระองค์

หลวงปไู่ ดอ้ ยพู่ กั รกั ษาตวั อยรู่ ว่ มเดอื น พออาการดขี นึ้ กไ็ ดก้ ลบั วดั ในขณะทพ่ี กั
รกั ษาตวั ทโี่ รงพยาบาลนนั้ กไ็ ดศ้ าสตราจารยน์ ายแพทยป์ ระดษิ ฐ์ เจรญิ ไทยทวี ซงึ่ ไดร้ บั
พระมหากรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหถ้ วายการดแู ลและรกั ษาหลวงปอู่ ยา่ งใกลช้ ดิ พระบาท
สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ และสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ ทรงโปรดใหท้ าง
ราชเลขาธกิ ารสว่ นพระองคม์ าเยยี่ มเยยี นสอบถามอาการของหลวงปเู่ ปน็ ประจำ� พรอ้ ม
ทัง้ ทางสำ� นกั พระราชวงั กไ็ ดจ้ ัดภตั ตาหารมาถวายเป็นประจ�ำทกุ วนั

หลังจากหลวงปกู่ ลบั มาอยูว่ ดั แลว้ สขุ ภาพพลานามยั ของทา่ นก็แขง็ แรงดี และ
ตอ้ งไปตรวจเช็คร่างกายทีโ่ รงพยาบาลเป็นประจ�ำทุกปี

171

การอาพาธครง้ั สดุ ท้าย

การอาพาธคร้ังสดุ ท้ายของหลวงปู่ เรมิ่ เมือ่ วนั ที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๓๔ เวลา
ประมาณ ๐๖.๐๐ น. หลวงปเู่ รมิ่ มอี าการปวดทอ้ ง พระลกู ศษิ ยผ์ ดู้ แู ลอปุ ฏั ฐากไดถ้ วาย
ยาลดกรดให้หลวงปู่ฉัน ด้วยเข้าใจว่าหลวงปู่ปวดท้องธรรมดา เพราะมีกรดใน
กระเพาะมาก แตอ่ าการปวดทอ้ งของหลวงปูก่ ไ็ ม่หาย

พอเวลา ๐๘.๐๐ กไ็ ดเ้ วลาถวายภตั ตาหาร พระผดู้ แู ลกน็ มิ นตห์ ลวงปลู่ กุ ขน้ึ ฉนั
แตพ่ อลกุ ขน้ึ นงั่ หลวงปกู่ ม็ อี าการปวดทอ้ งอยา่ งมาก ดว้ ยสงั เกตเหน็ ทา่ นมอี าการสะดงุ้
แล้วบอกว่าปวดทอ้ งมาก พระผดู้ แู ลก็ถวายยาลดกรดให้หลวงปู่ฉนั ซ้ำ� อกี แล้วท่าน
กน็ อนลงพักหน่ึง แล้วก็ลกุ มาอีกพรอ้ มทง้ั บอกว่ายังเจ็บอยู่

พระผู้ดูแลได้โทรศัพท์ไปหาหมอธงชัย ตรีวิบูลย์วณิช ท่ีโรงพยาบาลสุรินทร์
ซงึ่ เปน็ หมอทถี่ วายการดแู ลหลวงปเู่ ปน็ ประจาํ ทวี่ ดั หมอธงชยั ไดเ้ อารถของโรงพยาบาล
มารับหลวงปู่เพื่อไปตรวจรักษาที่โรงพยาบาลสุรินทร์ นิมนต์หลวงปู่พักรักษาอยู่ที่
ห้องพเิ ศษ อาคาร ๗ ช้ัน ๑ หอ้ ง ๒

ในขณะพกั อยทู่ โ่ี รงพยาบาล หลวงปมู่ อี าการปวดทอ้ งมากขนึ้ ฉนั อาหารไมไ่ ดเ้ ลย
ทางหมอไดถ้ วายนำ�้ เกลอื ตลอด และพาหลวงปไู่ ปเอก็ ซเรย์ พบจดุ ดำ� ๆ ทล่ี ำ� ไส้ หมอสงสยั
วา่ จะเปน็ ลำ� ไสอ้ กั เสบ ไดป้ รกึ ษากนั วา่ ควรถวายการผา่ ตดั รบี ดว่ น แตป่ ญั หากเ็ นอ่ื งจาก
หลวงปชู่ ราภาพมากแลว้ (อายุ ๙๑ ปเี ศษ) เกรงจะไมป่ ลอดภยั จงึ ไดโ้ ทรศพั ทป์ รกึ ษา

172

ไปทางโรงพยาบาลศริ ริ าช และไดร้ บั คำ� แนะนำ� ใหพ้ าหลวงปไู่ ปทศ่ี ริ ริ าชโดยดว่ น โดยทาง
ศริ ริ าชไดต้ ดิ ตอ่ เครอื่ งบนิ จากทางสำ� นกั พระราชวงั มารบั หลวงปู่ ในวนั ท่ี ๓๑ มกราคม
๒๕๓๔ เวลาประมาณบ่ายสามโมง

เวลา ๑๕.๐๐ น. เครอ่ื งบนิ จากสำ� นกั พระราชวงั กม็ ารบั หลวงปทู่ สี่ นามบนิ ๒๑๖
สรุ นิ ทร์ ใชเ้ วลาเดินทาง ๑ ช่ัวโมง ก็ถึงสนามบินดอนเมอื งเวลา ๑๖.๐๐ น. มพี ระ
ผดู้ แู ล และหมอจากโรงพยาบาลสรุ นิ ทร์ ไดต้ ดิ ตามไปถวายการดแู ลหลวงปอู่ ยา่ งใกลช้ ดิ

ทสี่ นามบนิ ดอนเมอื งไดถ้ วายการต้อนรับอย่างดี มีรถพยาบาลจากโรงพยาบาล
ศริ ิราช มารอรับ พร้อมรถต�ำรวจทางหลวงนำ� ขบวน เดินทางถึงศิริราชเวลาประมาณ
๑๗.๓๐ น. พอมาถงึ ตกึ ๘๔ ปี กม็ หี วั หนา้ ฝา่ ยการพยาบาลและคณะพยาบาล มารอรบั
อยู่เตม็ ไปหมด

ศาสตราจารย์ นายแพทยเ์ กษม ลมิ่ วงศ์ แพทยผ์ ถู้ วายการรกั ษา ไดน้ มิ นตห์ ลวงปู่
เขา้ หอ้ งตรวจและซกั ถามอาการอยา่ งละเอยี ดจากคณุ หมอธงชยั และคณุ หมอฉตั รชยั
ทีต่ ิดตามหลวงปู่ไปจากจังหวดั สุรนิ ทร์ จากนั้นก็นมิ นต์หลวงปขู่ นึ้ พักทีห่ ้องพักชน้ั ๕
ตึก ๘๔ ปี

รงุ่ เชา้ วนั ท่ี ๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๔ เวลา ๑๐.๐๐ น. ทางโรงพยาบาลไดพ้ าหลวงปู่
ไปเอก็ ซเรย์ แลว้ นำ� หลวงปกู่ ลบั มาทหี่ อ้ งพกั สกั พกั หนงึ่ ศ.นพ.เกษม ลม่ิ วงศ์ กไ็ ดม้ า
บอกพระผู้ดูแลวา่ ทางโรงพยาบาลจะถวายการผา่ ตดั หลวงปู่

พอเวลา ๑๓.๐๐ น. ทางหมอกม็ ารบั หลวงปเู่ ขา้ หอ้ งผา่ ตดั เสรจ็ แลว้ กพ็ าไปพกั
ท่ีห้อง ไอ.ซ.ี ยู เพื่อถวายการพักฟื้นและการดแู ลรักษาอย่างใกลช้ ิด

สกั พกั ใหญๆ่ หลวงปกู่ ร็ สู้ กึ ตวั ลมื ตาขน้ึ มาเหน็ สายออกซเิ จน ทา่ นคงรสู้ กึ รำ� คาญ
พยายามจะดงึ ออก แต่หมอขอร้องไว้ ทา่ นจึงตามใจ และนอนพกั ดว้ ยอาการสงบน่งิ
ไมแ่ สดงอาการอนื่ ใด พอเวลา ๑๙.๓๐ น. ในคำ่� วนั นน้ั คอื วนั ที่ ๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๔
หลวงปกู่ ไ็ ดม้ รณภาพละทงิ้ ขนั ธไ์ ปดว้ ยอาการสงบ สริ ริ วมอายหุ ลวงปไู่ ด้ ๙๑ ปี ๔ เดอื น
กับ ๑๙ วัน

173

ธรรมของจริง

โดยปกติหลวงปู่ไม่ค่อยเทศนา ท่านเน้นเร่ืองการภาวนาหรือภาคปฏิบัติเป็น
ส�ำคัญ เมอ่ื ภาวนาจนจิตสงบแลว้ กจ็ ะร้ไู ดด้ ว้ ยตนเอง

ต่อไปนี้เป็นธรรมค�ำสอนของหลวงปู่ตอนหน่ึงท่ีเทศนาโปรดญาติโยมเกี่ยวกับ
การปฏิบัติธรรมโดยตรง ในหวั ข้อธรรมว่า “ธรรมของจรงิ ” มใี จความดงั ต่อไปนี้

ธรรมะของจริงก็อยู่กบั บุคคลทุกคน เวน้ ไว้แต่ไม่ทำ� ถ้าทำ� ต้องมที ุกคน เพราะ
ธรรมะเปน็ ของจริง ต้องทำ� จริงจงึ จะเหน็ ธรรมะของจริง

การกระทำ� ก็ทำ� จิตใจให้สงบ ใจจะสงบได้ก็ต้องอาศัยการพยายามทำ� จิตใจให้
มนั ดี ท�ำจิตใจให้พอในใจ เพราะธรรมะเป็นของละเอียดลกึ ซ้ึง

ของจรงิ มนั มที กุ ๆ คน ธรรมะแปดหมน่ื สพ่ี นั พระธรรมขนั ธ์ กม็ อี ยใู่ นคนทกุ คน
พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ กม็ อี ยทู่ กุ คน แตเ่ ราทำ� ไมถงึ ไมถ่ งึ พระพทุ ธ ไมถ่ งึ พระธรรม
ไม่ถงึ พระสงฆ์

ตอ้ งอาศยั การกระทำ� ฝกึ หดั ดดั แปลงจติ ใหม้ นั ดี ใหม้ นั สงบ ใหเ้ ปน็ สมาธิ จติ ใจ
จะเป็นสมาธิกต็ อ้ งอาศัยการพยายาม มสี ติกำ� หนดจิตใจให้มันอยู่

ความรคู้ วามเหน็ ทกุ อยา่ งนนั้ มนั เปน็ โลกธรรมของจติ มนั ตอ้ งพยายามทำ� ใจให้
มนั อยจู่ นพรากจากอารมณภ์ ายนอก ความคดิ ความนกึ ทกุ อยา่ งไมต่ อ้ งคาํ นงึ จนตงั้ อยู่

174

เปน็ อันเดยี ว พอรสู้ กึ อยู่อย่างเดียว สติ ความระลึก สมั ปชญั ญะ ความรตู้ ัว กต็ ้อง
รู้อยกู่ บั ท่นี ่ัน

ถา้ ใจมนั ละเอยี ดไป มนั กต็ อ้ งรอู้ ยกู่ บั ท่ี ถา้ จติ ใจมนั ละเอยี ดไปแลว้ มนั กแ็ นว่ แน่
เป็นหนง่ึ เพราะฉะนนั้ เราตอ้ งพยายาม

การภาวนากเ็ ปน็ บญุ เป็นกศุ ลมากมาย ถา้ ได้ทาํ ทุกๆ วนั ทำ� ได้เสมอไป กเ็ ปน็
บญุ กศุ ลทกุ วนั ใหค้ ดิ ดคู วามแก่ ความเจบ็ ความตาย จะมาถงึ วนั ไหนเรากไ็ มร่ ู้ ไมว่ า่
แตค่ นแกค่ นเฒา่ คนหนมุ่ กย็ งั ตาย ถา้ ไดฝ้ กึ หดั ทำ� ทกุ วนั ๆ มนั ตายไปกย็ งั ไดข้ น้ึ สวรรค์

การกระทำ� จิตใจน้ีเปน็ ของดี เป็นยอดของทาน ฝึกหดั อรยิ ทรัพย์ภายใน

อรยิ ทรัพย์ภายนอก กม็ กี ารท�ำบญุ การใหท้ าน เรียกว่า อรยิ ทรพั ย์ภายนอก

ทรัพย์ภายในนั้นเป็นอริยะ ฝึกหัดดัดแปลงจิตใจให้มันดี ให้มันบริสุทธิ์
หมดมลทิน เพราะฉะนนั้ ตอ้ งรบี ทำ� ทุกๆ คน ท�ำคณุ งามความดใี ห้มีใหเ้ กดิ ข้ึนใน
ดวงจติ ดวงใจเพอ่ื เปน็ อปุ นสิ ยั ถา้ ยงั ไมถ่ งึ มรรค ผล นพิ พาน กย็ งั มอี ปุ นสิ ยั ตดิ ในจติ
ในใจ พกแต่ส่ิงทดี่ ที ี่ชอบไปในอนาคตกาลข้างหนา้ อกี ก็จะดไี ปทกุ ภพทุกชาติ

ตอ้ งอาศยั การกระทำ� ถา้ เราไมท่ ำ� กไ็ มม่ ีอะไร ถ้าฝึกหดั ไปทกุ วนั ๆ จะเป็นหรอื
ไมเ่ ป็น ก็ท�ำให้เรามีศรทั ธาในการภาวนา

การกระทำ� ทกุ ๆ วันไป ถา้ ทำ� แล้วกต็ อ้ งเป็นล่ะ ท�ำให้มนั นานๆ นงั่ สกั ชั่วโมง
สองชว่ั โมง ถา้ ใจมนั สงบลงไปแลว้ เราจะนง่ั สกั สามชวั่ โมง สช่ี วั่ โมง กไ็ มเ่ ปน็ ไร ไมเ่ จบ็
ไมป่ วด ไมเ่ หนอื่ ยอะไร ต้องหัดกระทำ� อยู่อยา่ งน้นั จนใจนม่ี ันตงั้ แนว่ แน่ หรือท�ำไป
สงบไป ปีติก็เกิดขึ้น เม่ือปีติเกิดข้ึนแล้วความสุขก็เกิดขึ้น ความเข้าใจก็เกิดข้ึน
ความกล้าหาญ ความอาจหาญ มันกม็ ีอยใู่ นใจ ตอ้ งอาศยั การกระท�ำ ถ้าเราไม่ทำ�
ก็ไมม่ อี ะไร ไม่เปน็ บุญ ไม่เป็นกุศล ถ้าเราท�ำไปต้องไดบ้ ุญได้กศุ ลทุกวนั ทุกเวลาไป

ทกุ คนื เราจะนอนกไ็ หวพ้ ระ ไมไ่ ดอ้ ะไรกท็ ำ� สมาธภิ าวนาไป ไหวพ้ ระ ๓ ที ๑๐ ที
พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นที่พึ่ง เป็นสรณะของตน แล้วก็น่ังสมาธิไป

175

ภาวนาไป พทุ โธ พทุ โธ หลบั ตา นงั่ นานๆ ไมน่ านมากก็ ๕ นาที ๑๐ นาที คอ่ ยหดั ไป
ทุกๆ วนั ดกี ว่านอนเปล่าๆ ไมม่ อี ะไร

อยากไดค้ ุณงามความดี สิ่งท่ดี ี สง่ิ ทช่ี อบ ก็ต้องประกอบใหเ้ กดิ ขึน้ ในจติ ใจ
การเจรญิ สมาธภิ าวนาเปน็ ยอดของทานอนั เลศิ เกบ็ อยใู่ นจติ ในใจทกุ ภพทกุ ชาตไิ ป
จนไดบ้ รรลุมรรค ผล นิพพาน ต้องอาศัยบ�ำเพญ็ บารมีของตนนี้แหละ
บารมขี องตนนแ้ี หละเปน็ เสบยี งอาหารไปขา้ งหนา้ เกดิ ไปชาตไิ หนกเ็ ปน็ คนทม่ี คี วามดี
ความงามอยู่ในจิตใจ เพราะเราได้ฝึกหัดดัดแปลงจิตใจของเราให้มันบริสุทธิ์กาย
บริสทุ ธ์ิวาจา บรสิ ุทธใ์ิ จ

176

ตอ้ งอาศยั ความเพียร

เพราะฉะนนั้ ตอ้ งทำ� ใหเ้ สมอไป สมดงั ภาษติ ทา่ นวา่ วริ เิ ยนะ ทกุ ขะมจั เจติ คนผจู้ ะ
ลว่ งทุกขไ์ ด้ตอ้ งอาศยั ความเพียร

เพยี รนอกกต็ อ้ งทำ� เหมอื นกนั การทำ� บญุ การใหท้ าน หรอื พวกชาวไรช่ าวนากต็ อ้ ง
อาศยั ความพากเพียรมันถงึ จะมีผล ทำ� อะไรก็ท�ำด้วยความเพยี รความพยายาม

การทำ� จติ ใจกเ็ หมอื นกนั กต็ อ้ งอาศยั ความพยายาม ตอ้ งอาศยั ความเพยี ร เพอ่ื จะ
ให้จิตมันอยู่ มนั สงบ ใหม้ ันบรสิ ุทธ์ิไป จงึ จะได้มรรคผลเกิดข้ึนตามภมู ติ ามธรรม

ถ้าจิตของเรามันรวมสักคร้ังหนึ่งก็ติดอยู่ในใจเสมอไป เพราะฉะน้ัน เราควร
พยายามในการบุญการกุศล

คนทกุ วันน้ีกม็ แี ตเ่ รอ่ื งมีแตค่ วามวุ่นวายมากมาย รีบทำ� คุณงามความดีให้มนั มี
ขนึ้ ในจติ ในใจ หลดุ พน้ จากความไมด่ ี ทำ� จติ ใจใหม้ นั ละเอยี ดไป ละเอยี ดไปจนกวา่ จะละ
เรื่องโลก

โลกนมี้ แี ตค่ วามรคู้ วามเหน็ ความเขา้ ใจทกุ อยา่ งตามทางโลก ธรรมะของจรงิ มแี ต่
หมดไปๆ

ใหต้ ง้ั จติ แนว่ แนเ่ ปน็ หนง่ึ ดวงจติ ดวงเดยี วใหม้ นั แนว่ แนอ่ ยนู่ น่ั อยา่ งทางจะไป
นิพพาน ก็ตอ้ งอาศัยความเพียรพยายามจนมนั ต้ังแน่วแน่ได้

177

โลกนม้ี นั ประกอบไปดว้ ยความทะเยอทะยาน ถา้ ทำ� จติ ใจใหม้ นั ดี ใหม้ นั สงบไป
ดกี วา่ โลกนหี้ ลายเทา่ ทำ� ใจใหส้ งบครงั้ หนงึ่ ๆ อยา่ งนี้ โอย๊ --จติ ใจมนั มคี วามปลาบปลมื้
ในจิตในใจความยนิ ดใี นใจ หาท่ีสุดมไิ ด้

การพยายามท�ำตนของตนให้มันดีขึ้นน่ียากเหลือเกิน สมัยน้ีทุกวันมีแต่ความ
เพลดิ เพลินกับการดูหนัง ดูย่ีเกท่ัวๆ ไป ประโยชนข์ องตนไม่ไดค้ ดิ ถงึ เลย

โลกนป้ี ระกอบไปดว้ ยกองทกุ ขท์ ง้ั หลาย ความเกดิ กเ็ ปน็ ทกุ ข์ ความแกก่ เ็ ปน็ ทกุ ข์
ความเจบ็ ก็เป็นทุกข์ ความตายกเ็ ปน็ ทกุ ข์ บางคนกท็ กุ ขย์ ากจนจะหากนิ เช้าเยน็ ก็ยัง
ไมพ่ อกนิ ยากเทา่ ไหร่ ทกุ ขเ์ ทา่ ไร คนไมม่ บี ญุ ไมม่ วี าสนา มกั ไมค่ อ่ ยทำ� บญุ คนเขาเคย
ทำ� บญุ ใหท้ าน เขากเ็ กิดในทรพั ย์ในสมบตั ิ

ดเู ถดิ คนไมเ่ หมอื นกนั ในโลกมตี า่ งๆ กนั จติ ใจกไ็ มเ่ หมอื นกนั บางคนกใ็ จรา้ ย
สามารถฆา่ คนได้ มนั ตา่ งกนั อยา่ งนแ้ี หละ แลว้ การบญุ การกศุ ลกไ็ มเ่ ชอื่ อกี หวั ใจมนั
โหดรา้ ย ตอ้ งพยายามใหท้ ำ� จติ ใจใหส้ งบ จิตใจมนั กอ็ อ่ นน้อมตอ่ ธรรมต่อวนิ ยั ตอ่ คำ�
สัง่ สอนของพระพทุ ธเจ้า

ถา้ ใจเรามนั ดขี นึ้ เรอื่ ยๆ ละก็ ใจมนั ออ่ น ถา้ ฝกึ หดั ตนใหช้ ำ� นชิ ำ� นาญ ใจกก็ ลา้ หาญ
กำ� จัดโรคก�ำจดั ภัยไดท้ ุกอย่าง

การเจริญสมาธิภาวนาท�ำให้หายจากเหน็ดเหน่ือย ถ้าวันไหนไม่ได้เจริญสมาธิ
ภาวนากอ็ ่อนเพลีย ถ้ามาน่งั สมาธไิ ด้สกั ช่ัวโมงกห็ ายเหน่ือย สบาย

การฝกึ จติ ใจใหม้ อี ปุ นสิ ยั ตดิ อยใู่ นจติ ในใจ จะทำ� ใหจ้ ติ ใจของคนดขี นึ้ ทกุ ชาตไิ ป
ถา้ ภาวนา บางคนทำ� ยาก ทางทีด่ ีสำ� หรบั เขากก็ ารท�ำบญุ ใหท้ านนั่นแหละดีแล้ว

การเจรญิ ภาวนาจนใจวางภาระในโลกนไ้ี ด้ ทำ� จติ ใจใหม้ นั แนว่ แนจ่ งึ จะถกู หนทาง
ไปพระนพิ พาน

178

หนงั สอื อ้างอิง

ทา่ นพระอาจารยม์ หาบัว ญาณสัมปนั โน, ประวัตหิ ลวงปู่ขาว อนาลโย, ๗ สงิ หาคม
๒๕๓๖

ทา่ นอาจารยพ์ ระมหาบวั ญาณสมั ปันโน, ปฏิปทาพระธุดงคกรรมฐาน สายท่าน
พระอาจารยม์ น่ั ภรู ทิ ัตตเถระ, พิมพ์ครัง้ ที่ ๖, ๒๕๕๔, บรษิ ทั ศลิ ป์สยาม
บรรจุภณั ฑแ์ ละการพมิ พ์ จ�ำกัด

ประวัติหลวงตาหล้า ขันติธโร วัดปา่ ขันติยานุสรณ,์
อนุสรณ์งานพระราชทานเพลงิ ศพ หลวงปู่สาม อกิญจฺ โน, อกิญจโนบูชา, ๒๕๓๕

คำ� แผ่กศุ ลแกส่ รรพสตั ว์

ณ วัดป่าอมั พโรปัญญาวนาราม
ในพระอปุ ถมั ภ์ สมเดจ็ พระอริยวงศาคตญาณ (อมฺพรมหาเถร)

สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก
ตำ� บลคลองกวิ่ อำ� เภอบา้ นบงึ จังหวดั ชลบรุ ี
วันศกุ รท์ ี่ ๒๔ พฤศจกิ ายน พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ดิถีขนึ้ ๖ ค�ำ่ เดอื น ๑

ขอบุญกุศลจรยิ า อันขา้ พเจา้ ทัง้ หลายได้บำ� เพญ็ ด้วยดีแล้ว ทางกาย วาจา และใจ
กลา่ วโดยจำ� เพาะคอื การสรา้ งอารามถวายแดส่ งฆจ์ ตรุ ทศิ อทุ ศิ ไวใ้ นพระบวรพทุ ธศาสนา
อารามนั้นมีนามว่า วัดป่าอัมพโรปัญญาวนาราม ประกอบดว้ ยปชู นียวตั ถุ และเสนาสนะ
ต่างๆ กล่าวคือพระพุทธปฏิมาปางนาคปรก พระพุทธปฏิมาปางสมาธิ ศาลาที่ประชุม
อาคารพพิ ธิ ภณั ฑท์ ่ีประมวลธรรมโอวาทของพระสปุ ฏปิ นั โน ถนนลาดยางกว้าง ๙ เมตร
ยาว ๘๐๐ เมตร อา่ งเกบ็ นำ�้ สาธารณทาน กำ� แพงรอบพนื้ ทยี่ าว ๒,๘๐๐ เมตร สงู ๓ เมตร
ตลอดทั้งบุญกริ ิยาแหง่ การบำ� เพญ็ ทาน รกั ษาศีล เจรญิ ภาวนา ด้วยน�ำ้ ใจศรทั ธาเลื่อมใส
มน่ั คงในพระรตั นตรยั ดง่ั นี้ ขา้ พเจา้ ขอตงั้ สจั จาธษิ ฐาน แผก่ ศุ ลไปไมม่ ปี ระมาณ ขอถวาย
เปน็ พระราชกศุ ลสนองพระเดชพระคณุ สมเดจ็ พระบรู พมหากษตั รยิ าธริ าช และพระบรม
วงศานวุ งศท์ กุ พระองค์ และเปน็ กศุ ลสนองคณุ ทา่ นผบู้ ำ� เพญ็ คณุ ประโยชนต์ อ่ ประเทศชาติ
และพระพทุ ธศาสนา เปน็ ปฐม

อน่งึ ขอสรรพสัตวท์ ง้ั หลาย ไมม่ ีทส่ี ุด ไม่มปี ระมาณ, จงมสี ว่ นแหง่ บุญทีข่ า้ พเจ้า
ไดท้ ำ� ในบดั น,้ี และแหง่ บญุ อน่ื ทไี่ ดท้ ำ� ไวก้ อ่ นแลว้ , คอื จะเปน็ สตั วเ์ หลา่ ใด, ซงึ่ เปน็ ทรี่ กั ใคร่
และมบี ญุ คณุ เชน่ มารดาบดิ าของขา้ พเจา้ เปน็ ตน้ กด็ ี ทขี่ า้ พเจา้ เหน็ แลว้ หรอื ไมไ่ ดเ้ หน็ กด็ ,ี
สตั วเ์ หลา่ อน่ื ทเี่ ปน็ กลางๆ หรอื เปน็ คเู่ วรกนั กด็ ,ี สตั วท์ ง้ั หลายตง้ั อยใู่ นโลก, อยใู่ นภมู ทิ ง้ั ๓,
อย่ใู นก�ำเนิดทั้ง ๔, มขี นั ธ์ ๕ ขนั ธ,์ มีขันธ์ขันธ์เดียว, มีขนั ธ์ ๔ ขันธ์, ก�ำลังทอ่ งเทย่ี ว
อยู่ในภพน้อยภพใหญ่ก็ดี, สัตว์เหล่าใดรู้ส่วนบุญที่ข้าพเจ้าแผ่ให้แล้ว, สัตว์เหล่านั้น
จงอนุโมทนาเองเถดิ , ส่วนสัตวเ์ หลา่ ใดยังไมร่ ู้ส่วนบญุ น้ี, ขอเทวดาทัง้ หลายจงบอกสัตว์
เหลา่ นั้นให้รู้

เพราะเหตทุ ไี่ ดอ้ นโุ มทนาสว่ นบญุ ทขี่ า้ พเจา้ แผใ่ หแ้ ลว้ , สตั วท์ งั้ หลายทงั้ ปวง, จงเปน็
ผู้ไม่มเี วร, อยู่เปน็ สขุ ทกุ เมอ่ื , จงถงึ บทอนั เกษมกลา่ วคือพระนพิ พาน, ความปรารถนาที่
ดงี ามของสตั ว์เหล่านนั้ จงสำ� เร็จเถดิ , สาธุ สาธุ สาธุ


Click to View FlipBook Version