The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชีวประวัติ หลวงปู่ขาว หลวงปู่หล้า หลวงปู่สาม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-07-12 22:23:17

ชีวประวัติ หลวงปู่ขาว หลวงปู่หล้า หลวงปู่สาม

ชีวประวัติ หลวงปู่ขาว หลวงปู่หล้า หลวงปู่สาม

Keywords: ชีวประวัติ หลวงปู่ขาว หลวงปู่หล้า หลวงปู่สาม

ปฏิปทาการดำ� เนนิ ของหลวงปู่
ทัง้ สมยั ยงั หน่มุ และชราภาพ

หลวงปขู่ าวทา่ นมนี สิ ยั ใจเดด็ เดยี่ ว ความเพยี รกลา้ ทงั้ สามอริ ยิ าบถ คอื เดนิ จงกรม
ก็เกง่ เดนิ แต่ฉันเสร็จแลว้ ถงึ เทย่ี ง เข้าพกั ร่างกายพอบรรเทาขนั ธ์ แล้วเขา้ น่ังสมาธิ
พอประมาณราว ๑-๒ ชวั่ โมง จากนน้ั กเ็ ขา้ สทู่ างจงกรมทำ� ความเพยี รละหรอื ถอดถอน
กิเลสประเภทต่างๆ ท่ีเคยฝังจมอยู่ภายในใจสัตว์โลกไม่เคยบกบางเหมือนส่ิงอ่ืนๆ
ก่ีช่ัวโมงท่านไม่ค่อยก�ำหนด จนถึงเวลาปัดกวาดบริเวณท่ีอยู่ของพระองค์เดียวที่
ไมช่ อบกงั วลกบั สง่ิ ใดผใู้ ด ทา่ นจงึ ออกมาปดั กวาด สรงนำ�้ นง่ั รำ� พงึ ไตรต่ รองอรรถธรรม
ในแง่ต่างๆ ตามอัธยาศัย หลังจากนั้นส่วนมากท่านมักเข้าทางจงกรมมากกว่าการ
เขา้ นง่ั สมาธภิ าวนา ทา่ นเดนิ จงกรมแตล่ ะครง้ั ราว ๓-๔-๕ ชว่ั โมง บางครง้ั ถงึ ๖ ชวั่ โมง
จงึ จะเข้าที่พัก ซง่ึ สว่ นมากมกั เปน็ เพงิ บา้ ง เปน็ ปะรำ� เลก็ ๆ บ้าง ในหนา้ แล้งฝนไม่ตก
ถ้าหนา้ ฝนก็อยู่กฎุ ีซึ่งเป็นกระต๊อบพอหมกตัวอยู่ได้ ไม่หรูหรานา่ อย่อู ะไรเลย ยังน่า
สังเวชด้วยซ้�ำในสายตาของผู้เคยอยู่ด้วยความปรนปรือหรูหรามาก่อน เร่ิมไหว้พระ
สวดมนต์ก่อนน่ังสมาธิภาวนา ท่านชอบสวดมนต์นานด้วย กว่าจะหยุดเวลาเป็น
ช่ัวโมงๆ หลงั จากไหวพ้ ระสวดมนต์ก็เขา้ ท่ีท�ำสมาธิภาวนาต่อไปเป็นหลายๆ ช่ัวโมง
กวา่ จะพกั ผอ่ นหลบั นอน การเดนิ จงกรมของทา่ นกน็ าน การนงั่ ภาวนากน็ านเปน็ เวลา
หลายๆ ชว่ั โมง การยนื กน็ าน เมอ่ื ถงึ วาระทคี่ วรยนื รำ� พงึ อรรถธรรมภายในใจดว้ ยปญั ญา
ทา่ นยนื ไดเ้ ปน็ ชวั่ โมงๆ เชน่ กนั จนกวา่ จะหมดปญั หาจากขอ้ ธรรมทร่ี ำ� พงึ ไตรต่ รองนนั้ ๆ

94

ท่านจึงกา้ วเดนิ จงกรมในทา่ เดิมตอ่ ไป การนัง่ สมาธิภาวนา ทา่ นนั่งจนตลอดรงุ่ ไดใ้ น
บางคนื ทา่ นเคยน่งั ตลอดรุ่งอยบู่ ่อยๆ สมยั ยังหนุ่มอยู่บ้าง แตไ่ มถ่ งึ กับหนุ่มฟอ้ ดงั
พระเณรหนมุ่ ทง้ั หลาย เพราะตอนทา่ นออกบวชอายทุ า่ นกไ็ ดส้ ามสบิ กวา่ ปแี ลว้ ทา่ นเปน็
นักรบนักต่อสู้ในทางธรรมจริงๆ

ท่านเคยเทศน์ให้พระเณรฟังอย่างเด็ดๆ ก็มีในบางโอกาสว่า ท่านท้ังหลาย
ทราบไหมว่า สกุลของกิเลสที่ครองอ�ำนาจบนหัวใจสัตว์โลกในไตรภพมานานจน
ประมาณกาลเวลาของมันไม่ได้นั้น เป็นสกุลท่ีเหนียวหนับตับแข็งมาก มีก�ำลังมาก
ฉลาดแหลมคมมากยงิ่ กวา่ นำ้� ซบั นำ้� ซมึ เปน็ ไหนๆ กลมารยามากรอ้ ยสนั พนั คม ควำ่� กนิ
หงายกนิ ปลนิ้ ปลอ้ นหลอกลวงสตั วโ์ ลกไมอ่ าจพรรณนาวชิ าการและลวดลายของมนั ให้
จบสนิ้ ลงได้ เนอ่ื งจากมนั มมี ากยงิ่ กวา่ ทอ้ งฟา้ มหาสมทุ รสดุ สาครเปน็ ไหนๆ ในสามแดน
โลกธาตุน้ีอยู่ในข่ายแห่งวิชาและอ�ำนาจของมันครอบง�ำทั้งส้ิน ไม่มีช่องว่างแม้เม็ด
ทรายหนึ่งที่วิชากลอุบายอันแยบคายของมันจะไม่เข้าไปเคลือบแฝงหรือซึมซาบอยู่
หากเปน็ ต่มุ ก็เตม็ ตุ่มลน้ ตมุ่ เป็นยงุ้ กเ็ ต็มยุง้ เปน็ ฉางกเ็ ต็มฉาง เปน็ บา้ นกเ็ ตม็ บา้ น
เปน็ เมอื งกเ็ ตม็ เมอื ง เปน็ โลกกเ็ ตม็ โลก เปน็ ทอ้ งฟา้ มหาสมทุ รกเ็ ตม็ ทอ้ งฟา้ มหาสมทุ ร
เป็นโลกธาตุก็เต็มโลกธาตุ ไม่มีว่างเว้นจากมันคือสกุลกิเลสท่ีทรงพลังมหาศาล
จะไมด่ กั ขา่ ยครอบไว้ ทงั้ สามโลกธาตนุ คี้ อื อาณาจกั รและขอบขา่ ยแหง่ อำ� นาจของสกลุ
กเิ ลสทัง้ มวลและแนน่ หนามัน่ คงมาก ยากทสี่ ตั ว์ท้ังหลายจะเล็ดลอดหรือท�ำลายออก
มาได้ นอกจากพระพุทธเจ้าและพระอรหันตเ์ ท่านนั้ ถ้าท่านท้ังหลายยงั ไมท่ ราบวชิ า
รา่ ยมนต์กลอ่ มสตั วโ์ ลกของมัน กข็ อนิมนตท์ ราบแต่ขณะนี้ จะไดม้ ีสตติ ่นื ตวั ตนื่ ใจ
ไมน่ ่งิ นอนดังทีเ่ ปน็ มาและเปน็ อยเู่ วลาน้ี

การพดู สกลุ กเิ ลสใหท้ า่ นทงั้ หลายฟงั น้ี ผมพดู ออกมาจากความทเี่ คยเคยี ดแคน้
ต่อมันตามระยะเวลาและก�ำลังแห่งความเพียรท่ีเคยต่อสู้ห้�ำห่ันกับมัน ขั้นเร่ิมแรก
มีแต่แพ้มันอย่างหลุดลุ่ย หมดทางต่อสู้เป็นพักๆ ฟิตใหม่สู้ใหม่ สู้ใหม่เป็นพักๆ
และแพม้ นั แบบลม้ ลกุ คลุกคลานเปน็ ตอนๆ พอโงหัวข้ึนไดบ้ ้างก็สูใ้ หมๆ่ ด้วยใจของ
นักต่อสู้ โดยยึดเอาตายกับชยั ชนะมนั เปน็ เดมิ พนั สู้ไม่ถอย น่งั อยกู่ ส็ ู้ คอื กเ็ พียร

95

เดินอยกู่ ็สู้ ยนื อยกู่ เ็ พียร นอนอย่ถู า้ ยงั ไมห่ ลับก็สู้ ในท่าตา่ งๆ เปน็ ทา่ ต่อสู้ทัง้ นั้น
แม้จะแพ้แล้วแพ้เล่าก็ไม่ถอย เพราะยังไม่ถึงจุดท่ีต้ังเอาไว้ด้ังเดิมคือตายและชนะ
อยา่ งเดด็ ขาดเท่านน้ั จึงเป็นจุดที่ยุตกิ ารตอ่ สู้ เมอื่ สู้ไมถ่ อย เพยี รไมถ่ อย ก�ำลังและ
ความคล่องตัวแห่งสติปัญญาก็ค่อยๆ ขยับตัวข้ึนมา ใจท่ีเคยคึกคะนองเหมือนม้า
ตวั ผาดโผนกค็ อ่ ยสงบลงได้ ใจทเี่ คยเรยี นเคยจำ� ไดแ้ ตช่ อ่ื แตน่ ามวา่ สมาธๆิ ความสงบ
มนั่ คง กค็ อ่ ยปรากฏเปน็ สมาธคิ วามสงบมนั่ คงขน้ึ มาในตวั เองใหไ้ ดเ้ หน็ ไดช้ มจนประจกั ษ์
กบั ตวั เองวา่ ออ้ คำ� วา่ สมาธๆิ ทท่ี า่ นจารกึ ไวใ้ นตำ� รานนั้ ความจรงิ ความมี ความเปน็
ความปรากฏแหง่ สมาธแิ ท้น้นั ปรากฏขึน้ ที่ใจนเี้ องหรอื เออ บดั นเ้ี ราหายสงสัยเรอ่ื ง
สมาธิในต�ำราแล้ว เพราะได้มาปรากฏองค์สมาธิอยู่กับใจของเราเอง เวลาน้ีใจสงบ
ใจสวา่ ง โลง่ ภายในใจทเี่ คยอดั อน้ั ตบี ตนั และปดิ ทางตวั เองมานานแสนนานเรมิ่ ลมื ตา
อ้าปากพูดจาปราศรัยกับเพ่ือนฝูงได้ด้วยความโล่งใจแน่ใจและมั่นใจต่อมรรคผล
นพิ พานวา่ จะไมต่ ายเสยี กอ่ นจะไดช้ ม แมเ้ พยี งขน้ั สมาธคิ วามสงบกน็ บั วา่ พอกนิ พอใช้
ไมฝ่ ดื เคอื งสำ� หรับฐานะเราคนจนมาตลอดภพชาติตา่ งๆ

ต้นทุนแห่งอัตสมบัติคือสายทางแห่งมรรคผลนิพพานท่ีเรามั่นใจว่าจะต้องถึง
ในวนั เวลาขา้ งหนา้ คอื สมาธสิ มบตั ิ ความสงบเยน็ ใจ เราไดเ้ ปน็ ตน้ ทนุ ประจกั ษแ์ ลว้
เวลานี้ เรามหี วงั ในธรรมสมบตั ขิ น้ั สงู สง่ ขน้ึ ไปโดยลำ� ดบั ดว้ ยความพากเพยี รทเ่ี ปน็ มา
และเปน็ อยู่ อทิ ธบิ าทสนี่ เ้ี รมิ่ ปรากฏขนึ้ มาบา้ งแลว้ คอื ฉนั ทะ พอใจทงั้ การบำ� เพญ็ เพยี ร
ภาวนา พอใจท้ังผลที่ปรากฏกับใจข้ึนมาเร่อื ยๆ ไมข่ าดวรรคขาดตอนราวกับนำ�้ ซับ
น้�ำซมึ จิตใจชมุ่ เยน็ โดยสม�่ำเสมอในอิริยาบถตา่ งๆ วริ ยิ ะ เพียรไม่ถอยทกุ อริ ิยาบถ
เปน็ ไปดว้ ยความเพยี รปราบกเิ ลสถอนกเิ ลสสกลุ มหิมา จิตตะ มีความฝักใฝใ่ ครต่ อ่
การบ�ำรุงรักษาใจเพื่อธรรมรสอันโอชา พยายามระวังรักษาไม่ให้รสอันเป็นพิษภัย
แทรกสงิ ใจ วมิ งั สา พจิ ารณาใครค่ รวญไตรต่ รองมองหาเหตหุ าผลทมี่ าเกยี่ วขอ้ งกบั ใจ
ดว้ ยความไมป่ ระมาท พยายามฝกึ จติ ทเ่ี คยโงเ่ พราะความปดิ บงั ของกเิ ลสใหค้ ลค่ี ลาย
ขยายตัวขึ้นสู่ธรรมคือความฉลาดของสติปัญญา ใจไม่อับเฉาเมามัวเหมือนแต่ก่อน
อทิ ธบิ าททั้งสี่นับวนั มีกำ� ลังเขม้ แขง็ ขึ้นตามๆ กนั ทงั้ ฉนั ทะ ทั้งวริ ิยะ ทั้งจิตตะ และ

96

วมิ งั สาธรรม กลมกลนื เปน็ อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั และมกี ำ� ลงั กลา้ พรอ้ มเผชญิ หนา้ กเิ ลส
โดยไม่เลือกกาลสถานท่ีและเหตกุ ารณใ์ ด มีจิตมงุ่ มัน่ จะห่ันแหลกกันโดยถ่ายเดียว

เมอื่ สมาธปิ รากฏเปน็ ปากเปน็ ทางพอตง้ั ตวั ไดแ้ ลว้ กเ็ รง่ ทางปญั ญาออกพจิ ารณา
ธรรมทัง้ หลายท้งั ภายในภายนอกประสานกนั รวมลงในไตรลักษณ์ คอื อนิจจฺ ํ ทุกฺขํ
อนตฺตา อิทธิบาททั้งส่ีจึงเร่ิมประสานงานกันอย่างสนิทติดพันจนกลายเป็นอิทธิบาท
อตั โนมตั ไิ ปตามสตปิ ญั ญาทพ่ี าใหเ้ ปน็ ไปนบั แตบ่ ดั นนั้ แล จะเรยี กวา่ เขา้ สสู่ งครามกบั
กิเลสชนิดต่างๆ แบบตะลุมบอนก็ไม่ผิด เพราะความรู้สึกนึกคิดที่หนักไปในธรรม
วมิ ตุ ติ นบั วนั เวลามกี ำ� ลงั และสะกดิ ใจไมห่ ยดุ หยอ่ นในลกั ษณะสไู้ มถ่ อย เอาใหห้ ลดุ พน้
โดยถ่ายเดียว แม้จะตายก็ขอให้ตายในสนามรบ คือตายในวงความเพียรท่าต่อสู้
อย่างเดียว หากยงั ไมต่ ายกเ็ อาใหก้ ิเลสหมอบราบและตายเกลือ่ นใหเ้ หน็ ประจักษใ์ จ
ทุกระยะแห่งการตอ่ ส้ดู ว้ ยสตปิ ญั ญาซงึ่ เป็นธรรมาวธุ อันทนั สมยั

97

ปฏปิ ทาทผ่ี าดโผนมากและเห็นผลประจกั ษ์

การทำ� ความพากเพยี รในขน้ั เรม่ิ แรกและตอ่ มาจนจติ สงบลงเปน็ สมาธไิ ด้ แมจ้ ะ
เป็นความเพียรผาดโผนด้วยการเอาชีวิตเข้าประกันก็ตาม แต่การเพียรการต่อสู้ใน
ระยะน้ี เปน็ การตอ่ สทู้ บี่ อบชำ�้ มาก แตผ่ ลปรากฏมนี อ้ ย ไมส่ มดลุ กนั ทงั้ นเี้ พราะยงั ไมร่ ู้
วธิ กี ารตอ่ สแู้ ละพากเพยี รเทา่ ทคี่ วร แตน่ กั ปฏบิ ตั ธิ รรมทง้ั หลายจำ� ตอ้ งยอมรบั ยอมโดน
ความบอบชำ้� ไปกอ่ นเพอ่ื ทราบเหตผุ ลจากประสบการณท์ เ่ี คยผา่ นมา แลว้ ปรบั ตวั ปรบั
ความเพียรให้เหมาะสมย่ิงขึ้นในอันดับต่อไป ส�ำหรับผมเองเคยเป็นดังที่กล่าวมานี้
(หลวงปู่พูด) กว่าจะจับหลักเกณฑ์ได้กเ็ กือบเปน็ เกอื บตาย

เมอื่ การปฏบิ ัติทางดา้ นปัญญาแยกแยะรา่ งกายสว่ นตา่ งๆ ออกคลีค่ ลายดดู ว้ ย
ปญั ญาจนปรากฏชดั ทงั้ อสภุ ะอสภุ งั ทง้ั ทกุ ขฺ ํ อนจิ จฺ ํ อนตตฺ า ในรา่ งกายโดยลำ� ดบั แลว้
นั่นแลความเพียรจึงนับวันผาดโผนโจนทะยาน ท้ังประโยคพยายาม ท้ังสติปัญญา
ทกี่ า้ วออกสงู่ านในวงกรรมฐานหา้ มี เกสา โลมา เปน็ ตน้ ตลอดสภาวธรรมทว่ั ๆ ไป
ด้วยความเพลิดเพลินในการพิจารณาและความเห็นตามเป็นจริงในสกลกายส่วน
ต่างๆ จนตลอดท่ัวถึง ประสานกับสภาวธรรมภายนอกซึ่งมีอยู่ทั่วไปว่ามีลักษณะ
อยา่ งเดยี วกนั หายสงสยั และปลอ่ ยวางไปโดยลำ� ดบั สตปิ ญั ญาขนั้ พจิ ารณารปู ขนั ธน์ ี้
ผาดโผนมาก ผิดธรรมดาของความเพยี รภาคทัว่ ๆ ไป แต่กเ็ หมาะสมกบั งานซึ่งเปน็
งานหยาบท่ีจ�ำตอ้ งใช้สติปญั ญาอันผาดโผนไปตามๆ กัน เช่นเดียวกับทอ่ นไมซ้ ง่ึ อยู่
ในข้นั ที่ควรถากอยา่ งหนกั มอื กจ็ �ำตอ้ งทำ� เช่นนั้น สตปิ ัญญาท่ีทำ� การพิจารณาร่างกาย

98

ซ่ึงเป็นขันธ์หยาบก็จ�ำต้องด�ำเนินไปตามความเหมาะสมของงาน เมื่อสติปัญญารู้เท่า
และปลอ่ ยวางขนั ธน์ แี้ ลว้ กล็ ดการพจิ ารณาแบบนน้ั ลงไปเอง เชน่ เดยี วกบั ไม้ ซง่ึ นายชา่ ง
ดัดแปลงลงถึงข้ันที่ควรลดจากการถากการฟันอย่างหนักมือแล้วก็ลดไปเองโดย
ไมต่ อ้ งมีใครมาบอกฉะนน้ั

สว่ นนามขนั ธ์ ไดแ้ ก่ เวทนา สญั ญา สงั ขาร และวญิ ญาณ นน้ั เปน็ ขนั ธล์ ะเอยี ด
การพจิ ารณาทางดา้ นปัญญาก็ละเอยี ดไปตามๆ กัน สติปัญญาทพี่ ิจารณาขันธท์ ง้ั ส่นี ี้
ย่อมเป็นไปอย่างละเอียดสุขุมราวกับน้�ำซับน�้ำซึมนั่นแล แต่การพิจารณาขันธ์ท้ังส่ีน้ี
พจิ ารณาลงในไตรลักษณล์ ้วนๆ จะเป็นไตรลักษณ์ใดก็ไดต้ ามแต่ความถนัดของการ
พจิ ารณา ไมม่ คี ำ� วา่ อสภุ ะอสภุ งั เหมอื นพจิ ารณารา่ งกายอนั เปน็ ขนั ธห์ ยาบ การพจิ ารณา
ขนั ธส์ น่ี จี้ ะพจิ ารณาขนั ธใ์ ดกไ็ ดต้ ามแตถ่ นดั เชน่ ทกุ ขเวทนาขนั ธ์ เปน็ ตน้ ประสานกนั
กับกายกับจติ กบั ทุกขเวทนา โดยพิจารณาแยกแยะเทียบเคียง รปู ลักษณะ อาการ
ความรู้สึก ว่าอะไรเป็นอะไร ทั้งสามอย่างนี้เป็นอันเดียวกัน หรือเป็นคนละอย่าง
แยกแยะดูให้ชัดเจนด้วยปัญญาจริงๆ อย่าสักแต่พิจารณาพอผ่านๆ ไป นั่นเป็น
ลักษณะของกิเลสท�ำงาน เอาความขี้เกียจอ่อนแอมาทับเราต่างหากซ่ึงมิใช่ทางเดิน
ของธรรมคอื สตปิ ญั ญาอยา่ งแทจ้ รงิ ดำ� เนนิ จะไมเ่ หน็ ความจรงิ แตอ่ ยา่ งใด ตอ้ งพจิ ารณา
แบบสติธรรมปัญญาธรรมจนเป็นที่เขา้ ใจตามความจรงิ อยา่ งถงึ ใจทุกส่วน

อนั ความอยากหายจากทกุ ขเวทนานัน้ อย่าอยาก อยากให้หายเทา่ ไร ย่ิงเพิ่ม
สมุทัยตัวผลิตทุกข์มากข้ึนเท่าน้ัน แต่ให้อยากรู้อยากเห็นความจริงของทุกขเวทนา
ที่แสดงอยู่กับกายกับใจเท่านั้น น่ันคือความอยากอันเป็นมรรคทางเหยียบย่�ำกิเลส
ซง่ึ จะทำ� ใหเ้ กดิ ผลคอื การเหน็ แจง้ ตามความจรงิ ของกาย เวทนา จติ ทกี่ ำ� ลงั พจิ ารณาอยู่
ในขณะนนั้ ความอยากรู้จริงเหน็ จรงิ น้มี ีมากเทา่ ไร ความเพียรพยายามทกุ ดา้ นยิง่ มี
กำ� ลงั มากเทา่ นนั้ ฉะนน้ั จงสนใจเฉพาะความอยากรจู้ รงิ เหน็ จรงิ ประเภทนอ้ี ยา่ งเดยี ว
และผลักความอยากให้ทุกข์หายออกจากวงการพิจารณาในเวลาน้ันทันทีๆ อย่าให้
โผลห่ นา้ ขน้ึ มากดี ขวางได้ จะมาทำ� ลายความอยากประเภทมรรคเพอ่ื ผลใหจ้ มหายไป
โดยไมร่ ู้ตวั สง่ิ ที่ต้องการจะไม่เจอ แต่จะไปเจอแตค่ วามกลวั ตาย ความอ่อนเปียก
เรียกหาคนอื่นมาช่วยเหลือ ซึ่งเป็นเรื่องของกิเลสสมุทัยท้ังมวลเข้าท�ำงานในวง

99

ความเพยี ร จึงรบี เตอื นนกั ปฏบิ ตั ิจติ ตภาวนาไว้ เกรงจะเสียท่าใหม้ ันเพราะกิเลสมกั
รวดเรว็ มากกว่าธรรมจะตามรู้ตามเห็นทนั มัน

นกั ปฏบิ ตั จิ ติ ตภาวนาเทา่ นน้ั จะรมู้ ารยาของกเิ ลสประเภทตา่ งๆ ดงั กลา่ วมาไดด้ ี
ประจักษใ์ จและขับไลใ่ ห้สนิ้ ซากไปไดไ้ ม่สงสัย

การพจิ ารณาทกุ ขเวทนาในขนั ธ์ มรี ปู ขนั ธเ์ ปน็ สำ� คญั จงอยา่ คำ� นงึ ความเจบ็ ปวด
รวดร้าวจะหาย ตัวจะเป็นจะตาย ย่ิงกว่าความอยากรู้อยากเห็นความจริงจากกาย
จากเวทนา จากจติ ซง่ึ พรอ้ มจะแสดงความจรงิ ใหน้ กั ปฏบิ ตั ผิ แู้ กลว้ กลา้ หนา้ นกั รบเพอ่ื
เรยี นจบอรยิ สจั รปู้ ระจกั ษด์ ว้ ยสตปิ ญั ญาอนั คมกลา้ ของตนอยแู่ ลว้ อนั ความกลวั เปน็
กลวั ตาย ความอยากใหท้ กุ ขห์ ายในเวลานนั้ นนั่ คอื แมท่ พั ใหญข่ องสกลุ กเิ ลสจะคอย
ท�ำลายบังลังก์แห่งความเพียรทุกด้านให้ล้มละลายแบบไม่เป็นท่า จงพากันทราบไว้
ทุกๆ องค์ อย่าหลงกลมนั ซึ่งดักรออยปู่ ากคอกจะออกกีดขวางตา้ นทานทางเดินของ
ธรรมอยู่ตลอดเวลาที่ได้ช่องได้โอกาส กรุณาทราบไว้ด้วยว่า กิเลสทุกประเภทไม่
เผลอเรออ่อนแอท้อแท้เหลวไหลเซ่อซ่าเซอะซะเหมือนนักปฏิบัติภาวนาแต่กิริยา
ส่วนใจปล่อยให้กิเลสฉุดลากไปถลุงหุงต้มกินเล้ียงกันอย่างเอร็ดอร่อยพุงมันน่ะ
ดงั นนั้ ในเวลาทเ่ี ขา้ ดา้ ยเขา้ เขม็ ระหวา่ งทกุ ขเวทนากลา้ กบั สตปิ ญั ญาพจิ ารณาแยกแยะกนั
เพอื่ หาความจรงิ จงขยบั สตปิ ญั ญาเพอ่ื ตอ่ ยเพอื่ สทู้ า่ เดยี ว คอื สตปิ ญั ญาหมนุ ตวิ้ เขา้ สู่
จุดทท่ี กุ ขเวทนากล้าสาหัสปรากฏอยใู่ นวงของกาย สติจดจอ่ ปัญญาคล่คี ลายเวทนา
กาย ใจ ทกี่ ำ� ลงั คลกุ เคลา้ กนั อยู่ วา่ ทงั้ สามนเี้ ปน็ อนั เดยี วกนั หรอื เปน็ คนละอนั แยกแยะ
ดใู ห้ละเอยี ดถีถ่ ว้ น ย้อนหน้ายอ้ นหลังตลบทบทวนในระหว่างกาย เวทนา จติ ดว้ ย
สติปัญญา อยา่ สนใจกับเรือ่ งทุกขจ์ ะหายและการจะเปน็ จะตาย ตลอดสถานทเ่ี วล่�ำ
เวลาใดๆ ทง้ั สนิ้ ในขณะนน้ั จงสนใจแตก่ ารพจิ ารณาเพอื่ ความรแู้ จง้ ในกาย ในเวทนา
ในจิตอย่างเดียว สติปัญญาจงให้เป็นปัจจุบันจดจ่อต่องานอย่างใกล้ชิดติดพัน
อย่าหันเห อย่าคาดคะเน อย่าดน้ อยา่ เดา ท้ังสมทุ ยั - ทุกข์ ทัง้ มรรค - นิโรธ ว่า
จะเปน็ อยา่ งนั้นอยา่ งนี้ ควรจะเปน็ อย่างนนั้ อยา่ งนี้ เพราะท้ังนี้ลว้ นเปิดชอ่ งใหส้ มทุ ยั
ท�ำงานของมันในวงความเพียรและเพ่ิมโทษเพิ่มทุกข์ให้แก่เราถ่ายเดียว ผู้ปฏิบัติ

100

จงระวังให้มาก เพราะเป็นกิเลสโดยแท้ที่ต้องระวังต้ังตัวอยู่เสมอ ไม่เผลอให้มัน
ขณะเดียวกันก็ต้ังท่าพิจารณาดังกลา่ วแลว้ จงพิจารณาแบบตะลมุ บอนใครดีใครอยู่
เปน็ คเู่ คยี งของสจั ธรรม วมิ ตุ ตธิ รรม ใครไมด่ จี งพงั ไป แตอ่ ยา่ ใหเ้ ราผทู้ รงความเพยี ร
พงั กแ็ ลว้ กัน ต้องสเู้ พ่อื ใหก้ เิ ลสพังท่าเดยี ว ทา่ อน่ื ไมถ่ ูก ไมเ่ หมาะส�ำหรบั นักปฏบิ ตั ิ
ผู้เป็นเหมอื นนกั รบในสงครามเพือ่ ชัยชนะโดยถ่ายเดียว

การพจิ ารณาทกุ ขเวทนาในกายประสานกนั กบั จติ แยกแยะทง้ั สามอยา่ งนอ้ี อกสู่
ความจริงด้วยปญั ญาไม่หยุดยง้ั ย่อมจะทราบความจรงิ ของกาย ของเวทนา ของจติ
ไดอ้ ยา่ งชดั เจนหายสงสยั และไดช้ ยั ชนะเปน็ พกั ๆ ตอนๆ ไดค้ วามอาจหาญในทกุ ขเวทนา
ตลอดความลม้ ความตายกก็ ลายเปน็ ความจรงิ ขน้ึ มาเชน่ เดยี วกบั กาย เวทนา จติ และ
หายจากความกลวั ตายดงั ทีก่ เิ ลสเคยหลอกมาเป็นประจำ� พอความจรงิ เข้าถงึ กนั แลว้
ตา่ งอนั กต็ า่ งจรงิ กายกจ็ รงิ ตามสภาพของกาย เวทนากจ็ รงิ ตามสภาพของเวทนา จติ กจ็ รงิ
ตามสภาพของจิต ต่างอันต่างจริงแล้วไม่กระทบกระเทือนกัน แม้ความตายก็เป็น
สจั ธรรมความจริงอนั หนงึ่ จะต่ืนให้กเิ ลสหวั เราะท�ำไม

เมอ่ื สตปิ ญั ญาพจิ ารณาไมถ่ อยจนทราบความจรงิ ของกาย เวทนา จติ ประจกั ษใ์ จ
แล้ว ๑. ทุกขเวทนาดบั วบู ลงในขณะน้ัน ๒. แม้ทกุ ขเวทนาไม่ดบั กไ็ มป่ ระสานกัน
กบั จติ ดงั ทเี่ คยเปน็ มา ๓. จติ สงบตวั อยา่ งละเอยี ดลออและอศั จรรยเ์ กนิ คาด ๔. จติ ที่
สงบตวั น้นั ปรากฏสกั แต่วา่ รู้และอัศจรรย์เท่านัน้ ไมม่ อี ะไรเกีย่ วข้อง ๕. ขณะจติ สงบ
เตม็ ที่ กายหมดไปจากความรสู้ กึ โดยสน้ิ เชงิ ๖. ถา้ จติ พจิ ารณารอบตวั และตดั ขาดจาก
เวทนาแล้ว แต่ไม่รวมลงเป็นเอกเทศ เป็นเพยี งรๆู้ อยดู่ ว้ ยความรอบตัว รา่ งกายก็
สกั แต่ปรากฏว่ามี แต่ไม่ประสานกันกับจติ น่ีคอื ผลแหง่ การพิจารณาด้วยอบุ ายวิธที ี่
กลา่ วมาเปน็ ดงั นใ้ี นวงปฏบิ ตั ิ ถา้ อยากรอู้ ยากเหน็ อยากชม จงปฏบิ ตั ติ ามวธิ ที กี่ ลา่ วมา
ที่เคยได้อา่ นในหนงั สือซึ่งท่านอธิบายไวจ้ ะมาปรากฏทใี่ จของเราเองโดยไม่อาจสงสยั
นคี่ อื วธิ กี ารพจิ ารณาทกุ ขเวทนาเวลาเกดิ ขนึ้ กบั รา่ งกาย จงพจิ ารณาอยา่ งนี้ จะรอู้ ยา่ งน้ี
จะเหน็ อย่างน้ี ไม่เปน็ อ่นื

101

ในนามขนั ธห์ รอื นามธรรมทงั้ สามคอื สญั ญา สงั ขาร และวญิ ญาณ เวลาพจิ ารณา
กเ็ กยี่ วโยงกบั กายเหมอื นกนั ในบางกรณี ขอ้ นยี้ กใหเ้ ปน็ ขอ้ คดิ ขอ้ พจิ ารณาของผปู้ ฏบิ ตั ิ
จะพึงรู้และปฏิบัติต่อตัวเองตามเหตุการณ์ที่เกิดกับตน เพราะนามขันธ์ท้ังสามนี้
ทา่ นพจิ ารณาเปน็ การเปน็ งานอยา่ งแทจ้ รงิ หลงั จากจติ รเู้ ทา่ ปลอ่ ยวางรปู ขนั ธเ์ รยี บรอ้ ยแลว้
เม่ือจิตยังไม่ปล่อยรูปขันธ์ การพิจารณาจำ� ต้องประสานถึงรูปขันธ์อย่างแยกไม่ออก
แตท่ งั้ นเ้ี ปน็ หนา้ ทแี่ ละเปน็ กจิ จำ� เปน็ ของนกั ปฏบิ ตั จิ ติ ตภาวนาโดยเฉพาะเปน็ รายๆ ไป
หากรกู้ บั ตวั เองวา่ จะควรพจิ ารณาทว่ั ไปกบั ขนั ธท์ ง้ั หลาย หรอื จะพจิ ารณาขนั ธใ์ ดในกาล
เช่นไรโดยเฉพาะ ผู้ปฏิบัติจิตตภาวนาเท่านั้นจะเข้าใจในการพิจารณาขันธ์ห้าให้
เหมาะสมกับการปล่อยวางเปน็ วรรคเป็นตอนไป การพิจารณาอย่างกว้างขวางกใ็ นวง
รปู ขนั ธเ์ ทา่ นน้ั รปู ขนั ธน์ พี้ สิ ดารอยมู่ าก การพจิ ารณาจงึ ไมข่ น้ึ อยกู่ บั ผใู้ ด สดุ แตถ่ นดั
ต่อการพิจารณา จะแยกแยะร่างกายส่วนต่างๆ ออกเป็นช้ินเป็นอันจากค�ำว่าสัตว์
ว่าบุคคลก็ได้ จะพจิ ารณาเป็นอสภุ ะสิง่ ปฏิกลู โสโครกหมดทง้ั รา่ งก็ได้ จะพิจารณาไป
ทางไตรลกั ษณอ์ ยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ หรอื ทง้ั สามไตรลกั ษณก์ ไ็ ด้ จนจติ มคี วามชำ� นชิ ำ� นาญ
ทง้ั ภาคอสภุ ะและภาคไตรลักษณจ์ นหาที่ติดที่ขอ้ งไม่ไดแ้ ล้วกป็ ล่อยวางไปเอง

เมื่อจิตปล่อยวางรูปขันธ์แล้ว จิตจะหมุนเข้าสู่นามขันธ์ทั้งสาม คือ สัญญา
สงั ขาร วญิ ญาณ อย่างเตม็ สตปิ ญั ญาทีม่ ีอยูต่ อ่ ไป ไมม่ ีคำ� ว่า ทอ้ ถอยลด-ละเลย
สติปัญญาจะหมุนตัวไปเองโดยไม่ถูกบังคับใดๆ ทั้งสิ้น เพราะเป็นข้ันสติปัญญา
คล่องตวั แลว้ เรอื่ งสตปิ ัญญาคลอ่ งตัวนี้ เร่ิมเปน็ มาแตข่ ัน้ พิจารณาอสุภะในรปู ขนั ธ์
คลอ่ งตวั อยแู่ ลว้ จนถงึ ขน้ั ปลอ่ ยวาง เมอ่ื กา้ วเขา้ สู่ สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ จงึ คลอ่ งตวั
ตอ่ การพิจารณาทุกแง่ทกุ มุม ไมม่ ีคำ� วา่ อืดอาดเนือยนาย ดังทีเ่ คยเปน็ มา นอกจาก
ต้องรั้งเอาไว้เม่ือเห็นว่าจะเพลินต่อการพิจารณาจนเกินไป ไม่ยอมพักตัวในเรือน
คอื สมาธิ ที่เคยเหน็ ในตำ� ราว่า มหาสติ มหาปญั ญา น่นั จะปรากฏกบั สติปญั ญาของ
ผู้ปฎิบัติที่หมุนตัวไปกับการพิจารณาไม่หยุดหย่อนผ่อนคลายในการท�ำงานไปเอง
ไมต่ ้องถามใคร

นบั แตข่ น้ั รเู้ หน็ อสภุ ะเดน่ ชดั ดว้ ยการพจิ ารณาเรอื่ ยมา ความขเี้ กยี จ ความทอ้ แท้
ออ่ นแอ ความอดิ หนาระอาใจ หายหนา้ ไปหมดไมป่ รากฏในจติ ดวงนนั้ เลย ดว้ ยเหตนุ แ้ี ล

102

จงึ ทำ� ใหร้ ปู้ ระจกั ษใ์ จวา่ อนั ความขเ้ี กยี จไมเ่ อาไหน เปน็ ตน้ มนั เปน็ สกลุ กเิ ลสทง้ั มวล
เปน็ ตวั มดั แขง้ มดั ขามดั จติ มดั ใจสตั วโ์ ลกไวใ้ หก้ า้ วสคู่ วามดงี ามไมอ่ อก พอถกู ตปธรรม
มสี ตปิ ญั ญา เปน็ ตน้ เผาผลาญใหพ้ นิ าศไปแลว้ สงิ่ เหลา่ นไ้ี มม่ ใี นจติ ใจเลย มแี ตค่ วาม
เขม้ ขน้ แหง่ ความเพยี รทกุ ๆ อริ ยิ าบถ เวน้ แตห่ ลบั เทา่ นนั้ นอกนน้ั เปน็ ทา่ แหง่ ความเพยี ร
ทง้ั ส้นิ กเิ ลสเหล่านนั้ ไมก่ ล้ามาขดั ขวางแมจ้ ะยงั มีอยูภ่ ายในใจกต็ าม เพราะนับวันจะ
กุสลามนั อยแู่ ล้วอยา่ งมนั่ ใจ เพราะฉะนน้ั การพิจารณานามขนั ธ์ทั้งสามของทา่ นผู้มี
สตปิ ญั ญาอนั เกรยี งไกรมาแตร่ ปู ขนั ธแ์ ลว้ จงึ คลอ่ งตวั รวดเรว็ ไมม่ สี ตปิ ญั ญาใดในโลก
สมมตุ ิจะรวดเรว็ เทยี มเทา่ ได้

จติ ทปี่ ลอ่ ยรปู ขนั ธแ์ ลว้ ยงั ตอ้ งฝกึ ซอ้ มสตปิ ญั ญาจากความคดิ ปรงุ ภาพแหง่ ขนั ธ์
ใหป้ รากฏขึน้ แลว้ ดับไป ปรากฏขึ้นแลว้ ดบั ไปๆ จนรปู ขันธ์ที่ปรากฏขึน้ จากความปรงุ
ดบั อยา่ งรวดเรว็ ราวกบั ฟา้ แลบ จากนัน้ กเ็ ปน็ จติ ว่างจากรูปจากวัตถุตา่ งๆ ทั้งภายใน
ภายนอก หมดความสนใจพจิ ารณาตอ่ ไปอกี มแี ตห่ มนุ เขา้ สนู่ ามธรรมทง้ั สามอยา่ งใด
อยา่ งหนงึ่ หรอื ทงั้ สามโดยถา่ ยเดยี ว โดยถอื จติ เปน็ เปา้ หมายแหง่ การพจิ ารณา เนอื่ งจาก
อาการทงั้ สามนปี้ รากฏขึน้ จากจิตและดบั ไปทจี่ ติ สังเกตสอดรูอ้ าการเหล่านขี้ ณะเกดิ
และดบั เมอื่ สตปิ ญั ญารเู้ ทา่ ทนั สญั ญากด็ ี สงั ขารกด็ ี วญิ ญาณกด็ ี จะมเี พยี งปรากฏขนึ้
แลว้ ดบั ไปๆ ไมส่ ืบตอ่ กับอะไร

จติ ขน้ั พจิ ารณานามธรรมนี้ เปน็ จติ วา่ งจากสงิ่ ภายนอกทง้ั ปวง แตย่ งั ไมว่ า่ งจากจติ
และนามธรรมทง้ั สามน้ี จงึ ตอ้ งพจิ ารณาจดุ นโี้ ดยความเปน็ อนจิ จฺ ํ ทกุ ขฺ ํ อนตตฺ า ซำ้� ๆ
ซากๆ จนจติ พอกับขันธ์และหยัง่ เขา้ สู่จิตลว้ นๆ อนั เปน็ เรอื นรงั ของอวชิ ชาโดยเฉพาะ
พิจารณากันในจุดนั้นกับนามขันธ์ประสานกัน จนสติปัญญาเห็นความเหลวไหล
หลอกลวงของนามขนั ธพ์ รอ้ มทง้ั จติ อวชิ ชาประจกั ษใ์ จแลว้ อวชิ ชาภายในใจกพ็ งั ทลาย
หายซากลงไปในขณะนนั้ ดว้ ยสตปิ ญั ญาทท่ี ันสมัย

อวชิ ชาอนั เปน็ กเิ ลสโดยตรงนน้ั ดบั สว่ นขนั ธอ์ นั เปน็ เครอ่ื งมอื ของกเิ ลสอวชิ ชานนั้
ไมด่ บั ไมห่ ายซากไปกบั อวชิ ชา แตก่ ลบั มาเปน็ เครอื่ งมอื ของจติ บรสิ ทุ ธแิ์ ละเปน็ ขนั ธล์ ว้ นๆ
ไมม่ กี เิ ลสเขา้ ครองอำ� นาจเหมอื นแตก่ อ่ น เพราะจติ บรสิ ทุ ธธิ์ รรมบรสิ ทุ ธนิ์ นั้ ไมบ่ บี บงั คบั ขนั ธ์

103

เหมอื นกเิ ลส และไมย่ ดึ เหมอื นกเิ ลส เพยี งอาศยั ขนั ธเ์ ปน็ เครอ่ื งมอื ดว้ ยความยตุ ธิ รรม
เทา่ นนั้ นค่ี อื การลา้ งปา่ ชา้ ความเกดิ -ตายใหส้ น้ิ ซากไปจากใจ ปราชญท์ า่ นลา้ งอยา่ งนแ้ี ล
จงพากนั จำ� ไว้ให้ถึงใจและน�ำไปปฏบิ ัตใิ ห้ถงึ ธรรม จะเข้าถึงพระพุทธเจา้ ทง้ั หลายใน
ขณะที่จิตเข้าถึงธรรมบริสุทธ์ิเต็มดวงนั่นแล หายสงสัยในพระพุทธเจ้า พระธรรม
พระสงฆ์ โดยประการท้ังปวง สงครามระหว่างกิเลสกับธรรมต่อสู้กันภายในวง
ความเพยี รของนักปฏิบตั ิจติ ตภาวนาโดยยึดใจเป็นเวทีสนามรบ มาจบมายุตกิ ันท่ีใจ
ดวงบริสุทธ์ิหลงั จากกเิ ลสสิน้ ซากไปหมดแล้ว ปัญญาท้ังมวลมาหมดกนั ทีน่ ี่แล

ดงั นน้ั จงึ ขอนมิ นตพ์ ระลกู พระหลานทงั้ หลายรเู้ นอื้ รตู้ วั ดว้ ยธรรมกระเทอื นโลก
ทป่ี ลกุ สตั วท์ งั้ หลายใหต้ นื่ จากความหลบั ของกเิ ลสแตบ่ ดั นท้ี ก่ี ำ� ลงั มคี รอู าจารยส์ ง่ั สอนอยู่
จะไมเ่ สยี ทใี หก้ เิ ลสชนดิ ตา่ งๆ อยรู่ ำ่� ไปดงั ทเ่ี คยเปน็ มา ซง่ึ นา่ ทเุ รศเอานกั หนาในสายตา
ของนกั ปราชญผ์ ฉู้ ลาดแหลมคมเหนอื กเิ ลสโดยประการทงั้ ปวงแลว้ พวกเราทถ่ี กู กเิ ลส
กล่อมใจใหห้ ลับทั้งท่ีตน่ื อยู่ มักเห็นขีด้ กี วา่ ไส้ เหน็ ภยั วา่ เป็นคุณ เหน็ บุญวา่ เป็นบาป
เห็นหาบเห็นหามอันเป็นภาระหนักว่าเป็นเครื่องประดับตกแต่งที่สวยงามอร่ามตา
แชม่ ชน่ื ใจ ทำ� อะไรทเี่ ปน็ สารคณุ จงึ มกั ทำ� แบบสกุ เอาเผากนิ แบบขอไปทๆี ผลจงึ ลมุ่ ๆ
ดอนๆ หาความสม�่ำเสมอและหลกั เกณฑ์ไมไ่ ด้ ราวกบั ไมป้ กั กองขค้ี วาย คอยแต่จะ
หกลม้ กม้ กราบหาความเปน็ ตวั ของตวั ไมไ่ ด้ มแี ตค่ วามไรส้ าระเตม็ ตวั เตม็ ใจ กริ ยิ าใดๆ
แสดงออกมแี ต่กริ ิยาอาการท�ำลายตัวเอง ท้ังนี้เพราะความเคยชินของนสิ ยั ที่ไมไ่ ดร้ บั
การเหลยี วแลจากเจา้ ของในทางทถ่ี กู ทด่ี เี ทา่ ทค่ี วร พระทง้ั องค์ คนทง้ั คน จงึ กลายเปน็
เศษพระเศษคนไปได้และเกลื่อนกล่นอยู่ในท่ามกลางแห่งคนดีซึ่งมีจำ� นวนน้อยกว่า
ประเภทเศษเดนระหวา่ งแห่งพระดี พระแท้ ด้วยสุปฏิบัติ คนดี คนแท้ ดว้ ยทาน ศลี
ภาวนา สมั มาคารวะ กบั พระเศษ พระเดน คนเศษ คนเดน เราจะสมคั รทางไหน
จงรบี ตดั สนิ ใจจากการพจิ ารณาดว้ ยดเี สยี แตบ่ ดั น้ี เวลาตายแลว้ ความดงี ามทพ่ี งึ หวงั
มไิ ดข้ น้ึ อยกู่ บั ผา้ เหลอื งทหี่ ม่ คลมุ และการนมิ นตพ์ ระมา กสุ ลา มาตกิ า บงั สกุ ลุ อะไรนะ
แต่มันขนึ้ อยกู่ บั ตวั เรา ฝกึ เราให้มีกสุ ลาธรรม คือความฉลาดเปล้อื งตนจากสิง่ ไมด่ ี
ทั้งหลายขณะท่ีมีชีวิตอยู่ต่างหาก จะว่าผมไม่บอกไม่เตือน น่ีคือค�ำบอกค�ำเตือน
ทา่ นทง้ั หลายโดยแทจ้ รงิ อยา่ งถงึ ใจเรอ่ื ยมา ไมม่ เี พยี งครง้ั นห้ี นเดยี ว จงจดจำ� ใหถ้ งึ ใจ
และปฏิบตั ิตามตลอดไป ด้วย อตตฺ า หิ อตฺตโน นาโถ พยายามท�ำตนใหเ้ ปน็ เนอ้ื

104

เป็นหนังของตน ด้วยธรรมเครื่องด�ำเนินและส่องทาง จะไม่เป็นพระครึ เณรครึ
พระล้าสมยั เณรลา้ สมัย คนครึ คนลา้ สมยั ตอ่ ความดีงามและมรรคผลนพิ พานท่ี
พระพุทธองคต์ รัสไวอ้ ย่างสดๆ รอ้ นๆ ด้วยพระเมตตาสุดส่วนไมม่ ีใครเสมอเหมือน

ผมเองกน็ บั วันแกล่ ง การแนะนำ� สัง่ สอนหมเู่ พอ่ื นก็ไมส่ ะดวก พระเณรกน็ บั วัน
หล่ังไหลมามากเพื่อรับการอบรมส่ังสอน ขณะมาอยู่และศึกษาอบรมก็จงตั้งใจจริง
อย่าน�ำความเหลาะๆ แหละๆ มาสังหารตนและท�ำลายเพ่ือนฝูงผู้ตั้งใจปฏิบัติธรรม
จะเสยี ไปทงั้ เราและผู้อืน่ ขน้ึ ชื่อว่า กเิ ลส แลว้ ไม่ไว้หนา้ ใคร มนั ทำ� ลายท้งั สน้ิ ค�ำวา่
พระๆ เณรๆ หรือความเข้าใจวา่ เราเปน็ พระเป็นเณรนน้ั พึงทราบว่ากิเลสคอื กเิ ลส
ที่เคยเป็นขา้ ศึกต่อเราเตม็ ตวั ไมก่ ลวั ใคร อย่าเขา้ ใจวา่ มันจะมาถวายตวั เปน็ ลูกศษิ ย์
ก้นกุฏิ ถวายการอุปัฏฐากรักษาเพื่อเป็นความสะดวกปลอดภัยไร้สิ่งรบกวนในการ
ประกอบความพากเพยี รของพระทตี่ นเขา้ ใจวา่ เปน็ อาจารยข์ องมนั เลย จงทราบวา่ แมเ้ รา
บวชเป็นพระเป็นเณรแล้ว แต่กิเลสมันก็คือกิเลสอย่างเต็มตัวและข้ึนอยู่บนหัวคน
หวั พระ หวั เณร เรอื่ ยมาแตก่ อ่ นบวชจนบดั นไี้ มย่ อมลงเลย ฉะนนั้ มนั จงึ ไมก่ ลวั พระ
กลัวเณรและกลัวคนกลัวสัตว์โลกใดๆ ท้ังส้ิน แต่มันเป็นายและเป็นข้าศึกของคน
ของสตั วข์ องพระเณรเรอ่ื ยมา และยงั จะเรอ่ื ยไปถา้ ไมร่ บี กำ� จดั มนั เสยี แตบ่ ดั นใ้ี หฉ้ บิ หาย
ส้ินซากไปจากใจ การเทศน์วันนี้ก็เทศน์อย่างหมดไส้หมดพุง ไม่มีอะไรหลงเหลือ
ตกค้างอยูภ่ ายในใจเลย ทงั้ เหตคุ อื ปฏปิ ทาเครอื่ งด�ำเนนิ เผด็ รอ้ นหนกั เบาประการใด
ทเี่ คยตอ่ สกู้ บั กเิ ลสมา ทง้ั ผลทป่ี รากฏขน้ึ จากการปฏบิ ตั มิ ากนอ้ ย หยาบละเอยี ด กไ็ ด้
ขุดคุ้ยมาแสดงให้ฟังอย่างหมดเปลือกหมดไส้หมดพุงไม่มีลี้ลับปิดบังไว้แม้แต่น้อย
ดงั นน้ั จงนำ� อบุ ายวธิ เี หลา่ นไี้ ปฝกึ หดั ดดั สนั ดานกเิ ลสตวั รา้ ยกาจแสนพยศของแตล่ ะทา่ น
อย่างเต็มก�ำลังความสามารถ แต่ระวังอย่าให้กิเลสฝึกหัดดัดสันดานเอาเสียอย่าง
หมอบราบแทนที่จะดัดมันกแ็ ลว้ กนั ขอ้ น้ีผมกลัวนักกลวั หนา ไมอ่ ยากเหน็ ไมอ่ ยาก
ไดย้ นิ เพราะผมเองเคยโดนมนั ดดั สนั ดานมาแลว้ จงึ เปน็ บทเรยี นอยา่ งดที อี่ ดจะนำ� มา
เตอื นทา่ นทั้งหลายไม่ได้ ขอจบเสียที จงพากันสวสั ดมี ีชัยทัว่ หนา้ กัน

จบเทศน์เทา่ น้ี

105

โอวาทของท่านพระอาจารยข์ าว อนาลโย
วดั ถ้�ำกลองเพล อุดรธานี

อุเทสคาถา “จติ ตฺ ํ ทนฺตํ สุขาวห”ํ

อธบิ ายความ ผอู้ บรม ผฟู้ อกฝนจติ ของตน สงั่ สอนจติ ของตน มสี ตสิ มั ปชญั ญะ
ระวงั ตนอยทู่ กุ เมอ่ื รกั ษาในคณุ ความดี เปน็ ผหู้ มน่ั ขยนั ตงั้ อยใู่ นความเพยี ร ชำ� ระมลทนิ
บาปทงั้ หลายเหลา่ นอี้ อกจากดวงจติ มากระทำ� ความเพยี รอยทู่ กุ ขณะทกุ วนั ชำ� ระมลทนิ
ออกจากจติ แลว้ ฝนทงั่ ใหเ้ ปน็ เขม็ ฝนไป ฝนไป อาศยั ฉนั ทะ ความพอใจ อาศยั วริ ยิ ะ
ความพากเพียร อาศยั จติ ตะ ตง้ั จติ จดจ่อมุ่งมัน่ อาศัยวิมังสา ใครค่ รวญพิจารณา
ให้รอบคอบอยู่เสมอ จะฝนจิตของเราให้เลือ่ มประภัสสร ฝนไป ฝนไป ใหม้ ลทนิ
อ่อนชอ้ ย หมดมลทิน แล้วมแี ตธ่ าตุรู้ ธาตอุ นั บริสทุ ธิ์ เรยี กวา่ “อญั ญาตาวนิ ทรยี ์”
เป็นธาตอุ ันบริสทุ ธผ์ิ ุดผ่อง จิตบริสทุ ธิ์แล้วจะไปทางไหนก็ได้ ไม่มีการขัดข้อง

ทนี ไ้ี มม่ คี วามเดอื ดรอ้ น เพราะไมม่ มี ลทนิ มาฉาบทา จติ อนั นนั่ เปน็ สขุ ทา่ นจงึ วา่
จติ ทฝ่ี กึ ฝนดแี ลว้ นำ� สขุ มาให้ อยใู่ นโลกนก้ี ม็ แี ตค่ วามสขุ ความทกุ ขไ์ มม่ ี มนั เปน็ ธรรมดา
ของอตั ภาพความเปน็ เองของมนั ถงึ มนั จะทกุ ขป์ านใด ไมม่ คี วามเดอื ดรอ้ นหวาดเสยี ว
ต่อความทุกข์น้ัน จะเป็นจะตายก็ไม่มีความอัศจรรย์มัน น้ีท่านเรียกว่ารู้เท่าสังขาร
จิตไมห่ ว่นั ไหว จิตของผนู้ นั้ ได้ชือ่ ว่า ไม่มีโศก ไม่มเี ศร้า ทา่ นผู้รจู้ งึ ว่า “อโสกํ วริ ช”ํ

106

จิตมีกเิ ลสเพยี งดงั ธลุ ไี ปปราศแลว้ จิตอันนีเ้ ป็นจิตบรสิ ทุ ธิ์ จติ สูง ขาดจากความยดึ
ความถือ จติ ของพระอริยเจา้ เปน็ อยา่ งนน้ั แหละ

จติ ของพระพทุ ธเจา้ ไมห่ วน่ั ไหวตอ่ โลกธรรม คอื มลี าภกไ็ มม่ คี วามยนิ ดี เสอ่ื มลาภ
ก็ไม่มีความยนิ รา้ ย ความสรรเสรญิ พระพุทธเจ้ากไ็ มต่ นื่ นินทา พระพทุ ธเจ้ากไ็ ม่
โศกเศร้าเสียใจ ไมด่ ีใจ ไม่เสียใจ ทา่ นจึงว่า มีลาภ เสอ่ื มลาภ มยี ศ เสือ่ มยศ
มนี นิ ทา มสี รรเสรญิ มสี ขุ มที กุ ข์ ๘ อยา่ งเหลา่ น้ี พระพทุ ธเจา้ และพระสาวกทง้ั หลาย
ไม่มีความหวั่นไหว ไม่มีความยินดียินร้ายในอารมณ์ ๘ อย่างน้ี จึงได้ช่ือว่า
จติ ประเสรฐิ จติ เกษม จิตฝกั ใฝ่ในคณุ งามความดี ฝักใฝ่อยูใ่ นสติ จิตใหร้ จู้ กั จติ
ใจใหร้ จู้ กั ใจ ใหจ้ ติ อยใู่ นทจี่ ติ ใหใ้ จอยใู่ นทใ่ี จ มสี ตปิ ระจำ� ไวอ้ ยอู่ ยา่ งนนั้ ใหเ้ ตอื นตน
อยูอ่ ยา่ งนน้ั

ถา้ ผตู้ ง้ั ใจบำ� เพญ็ ฝกึ หดั ทำ� สตขิ องตนใหส้ ำ� เหนยี กแมน่ ยำ� “ตตถฺ เปกขฺ า ภวสิ สฺ าม”
เปน็ ผสู้ ำ� เหนยี กทำ� สตใิ หส้ ำ� เหนยี กแมน่ ยำ� อยอู่ ยา่ งนน้ั เปน็ ผมู้ สี ตสิ มบรู ณแ์ ลว้ ไดช้ อื่ วา่
เป็นผู้สมาทานอยู่ในสิกขาของตนให้เป็นอธิศีล อธิศีล คือไม่หวั่นไหว ไม่ขาดว่ิน
ไมข่ าดตกบกพรอ่ ง เรียกว่า ปกติศลี ปกตศิ ีล คือศีลไมข่ าด ไมม่ ีดา่ ง ไม่มีพรอ้ ย
“อธสิ ลี สิกขฺ า สมาทาเน อธจิ ติ ตฺ สิกขฺ า สมาทาเน อธปิ ญญฺ าสิกขฺ า สมาทาเน ตตถฺ
อปฺปมาเทน สมปฺ าเทถ” ด้วยความไม่ประมาท มสี ตอิ ย่ทู กุ เมือ่ ผ้มู สี ตสิ ัมปชญั ญะ
หัดทำ� ให้แมน่ ย�ำ ให้ชำ� นาญ ผนู้ ัน้ ได้ช่อื ว่าใกล้เขา้ ๆ ใกลอ้ ะไร ใกล้ต่อพระนพิ พาน
ผู้นน้ั ได้ชอ่ื ว่าเป็นผ้ไู มป่ ระมาท ตกปากทางของพระนิพพานแล.

107



ชีวประวัตแิ ละพระธรรมเทศนา

พระขนฺติธโร หลวงป่หู ล้า

109



พระขนตฺ ธิ โร หลวงปูหลา

Ç´Ñ »Ò† ¢¹Ñ µÂÔ Ò¹ÊØ Ã³ (Ç´Ñ »Ò† ºÒŒ ¹¹Òà¡ç¹) ÍíÒàÀ͹íéÒâÊÁ ¨§Ñ ËÇ´Ñ Í´Ø Ã¸Ò¹Õ



ชวี ประวัติ

พระขนฺติธโร หลวงปู่หลา้

หลวงตาหลา้ เปน็ บคุ คลทนี่ า่ สนใจคนหนงึ่ ทา่ นเกดิ เมอื่ เดอื น ๑๐ ปมี ะโรง พ.ศ.
๒๔๓๔ ท่ปี ระเทศลาวฝัง่ โขงทางโนน้ อพยพมาต้ังรกรากทำ� มาหากนิ อยทู่ ีว่ ดั หว้ ยหดั
นห้ี ลายปี จนมคี รอบครวั ไดล้ กู ชายหนงึ่ คน แลว้ ภรรยาทา่ นเลยตายหนจี ากไป ทา่ นมี
ศรทั ธาออกบวชปฏบิ ตั กิ รรมฐานอยา่ งเครง่ ครดั นบั วา่ เปน็ พระองคแ์ รกทบ่ี า้ นหว้ ยหดั
ทอี่ อกบวชแล้วตง้ั ใจปฏบิ ัตกิ รรมฐาน

ทา่ นออกบวชเมอ่ื อายุได้ ๓๔ ปี ทีว่ ดั โพธสิ มภรณ์ จงั หวัดอุดรธานี โดยมี
เจา้ คณุ พระธรรมเจดยี ์ (เมอ่ื ดำ� รงสมณศกั ดทิ์ พี่ ระราชเวท)ี เจา้ คณะจงั หวดั อดุ รธานี (ธ.)
เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์ ให้ฉายาวา่ “ขันติธโร”

ท่านมรณภาพท่ีวัดป่าบ้านนาเก็น ต�ำบลหนองแวง อ�ำเภอน้�ำโสม จังหวัด
อดุ รธานี ในคืนวนั ที่ ๒๒ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๑๐ เวลาประมาณบา่ ย ๓ รวมอายุ
ของทา่ นแตเ่ กิดมาได้ ๗๖ ปี พรรษา ๔๒

เดมิ ทา่ นบวชเปน็ ตาปะขาวอยกู่ บั พระอาจารยค์ ำ� หดั ภาวนาพทุ โธๆๆ จนจติ รวม
เข้าเป็นสมาธิ แล้วเกิดนิมิตเห็นตัวหนังสือตัวโตเบ้อเร่อและบอกชัดว่าเป็นตัวอะไร
ชอ่ื อะไร เมื่อออกจากภาวนาแล้วกย็ ังจ�ำได้อยู่ ท่านจงึ หัดเขยี นและอา่ นจนไดช้ ัดเจน

111

ต่อมาท่านก็หัดเขยี นตัวหนังสือ สระ และพยัญชนะจนได้ แลว้ เอาหนงั สอื ท่ีเขาพมิ พ์
เปน็ ตำ� รามาอา่ น ทแี รกกอ็ า่ นไดแ้ ตห่ นงั สอื ทเี่ ปน็ ธรรม ตอ่ มาทา่ นกอ็ า่ นไดห้ มดทงั้ ทเ่ี ปน็
ธรรมและมใิ ชธ่ รรม ตอ่ มาทา่ นสงั่ ซอื้ หนงั สอื บพุ พสกิ ขาวรรณนา มหาขนั ธกวนิ ยั และ
วสิ ทุ ธมิ คั ค์ มาอา่ นไดส้ บาย ทา่ นเปน็ คนขยนั อยแู่ ลว้ เมอ่ื อา่ นหนงั สอื ไดแ้ ลว้ ทา่ นกอ็ า่ น
แต่หนงั สือเป็นกจิ วตั รของทา่ น

หลวงตาเป็นพระชอบสงัดสันโดษวิเวกอยู่เฉพาะองค์เดียวโดยส่วนมาก
วดั หนิ หมากเป้ง กท็ า่ นองค์นีแ้ หละมารเิ รมิ่ ตง้ั เปน็ องค์แรก จนกระท่งั เป็นวัดพัฒนา
ตัวอย่างของจังหวัดหนองคาย เมื่อท่านมาต้ังท่ีน้ีครั้งแรก มีเถรองค์หนึ่งเป็นคน
บ้านสามผง อ�ำเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม มาอยู่ด้วย เถรองค์น้ันท่านมี
ทฐิ มิ านะมาก วนั หนง่ึ ทา่ นโตว้ าทะกบั หลวงตาไมล่ งรอยกนั คนื วนั นน้ั ดกึ สงดั มเี สยี ง
อะไรไม่ทราบดังโครมครามๆ ข้ึนมาจากแม่น้�ำโขง เหมือนเสียงควายข้ึนมาชนเสา
กระต๊อบที่ท่านอยู่กระเทือนทั้งหลัง ท่านกลัวจนตัวสั่นเลยจับไข้อยู่ไม่ได้ กลัวตาย
รงุ่ เชา้ ขึน้ มาเม่ือฉันจังหันแล้วเปิดหนีเลย

หลวงตาหล้า ท่านไม่ค่อยอยู่เป็นที่ ออกพรรษาแล้วท่านก็เที่ยวไปในที่ต่างๆ
โดยสว่ นมากเทยี่ วอยตู่ ามแถบเทอื กเขาภพู าน ผาดกั ผาตงั้ ถำ้� พระบด ถำ�้ พระนาหลวง
ถ้�ำพระนาผกั หอก หนองแวง บ้านน�้ำซมึ และอำ� เภอนำ้� โสม

ชาวบา้ นทถ่ี อื ผยี อมเคารพนับถือทา่ น ไปท่ีไหนผดี ๆุ มานมิ นตเ์ อาหลวงตาหลา้
ไปทำ� พิธีแลว้ ผีสงบ อยู่กนั อย่างสบาย ทำ� มาหากนิ คล่อง อย่างหนองแวง บ้านน�้ำซมึ
เป็นตน้ ที่นนั้ เป็นหนองกวา้ งใหญ่ ตรงกลางหนองมีปา่ ชะโนดเตม็ ไปหมด เม่ือก่อน
ใครจะไปแตะต้องไม่ได้เด็ดขาด ต้องมีอันเป็นไปต่างๆ นานา เมื่อนิมนต์เอา
หลวงตาหลา้ ไปภาวนา ณ ทนี่ น้ั แลว้ ชาวบา้ นทไ่ี ปจบั จองเอาทร่ี อบหนองนน้ั ทำ� นาไดส้ บาย
ไดน้ าครอบครองมาจนถึงทกุ วนั นีต้ ั้งหลายเจ้า

ผู้เขียนได้ถามท่านถึงวิธีท�ำให้ผีสยบกลัว ท่านบอกว่า “เม่ือเขานิมนต์ให้ไป
กไ็ ปอยา่ งนน้ั แหละ ไมท่ ราบวา่ มผี หี รอื ไมม่ กี ไ็ มร่ ู้ เมอื่ ไปถงึ กท็ �ำพธิ ไี หวพ้ ระธรรมดาๆ

112

อยา่ งของเราทเี่ คยทำ� นแ้ี หละ แลว้ กแ็ ผเ่ มตตาไปทว่ั ทกุ ทศิ จงึ นง่ั สมาธภิ าวนา พจิ ารณา
กายของเรานเ้ี ปน็ ของอสภุ ะแตกดบั ไปตามสภาพของมนั แลว้ จติ จะรวมเขา้ เปน็ สมาธ”ิ
ทา่ นใชค้ ำ� ว่า “รวมกก๊ึ ” แลว้ จติ จะน่งิ เฉยอยพู่ ักหนง่ึ แลว้ เข้าไปมองดูจิตตรงนน้ั อยู่
สักพักหน่ึง แล้วจิตจะรวมเข้าไปอีก ท่านใช้ค�ำว่า “กึ๊ก” แล้วจะสว่างจ้ามองเห็น
ส่งิ รอบๆ ตวั หรอื รอู้ ะไรต่างๆ มากมาย ตอนนั้นถา้ มีผชี อื่ อะไร เป็นอย่างไรจึงมา
อย่ทู ่นี ้ี ทำ� ไมจงึ มาอาละวาดเขา ก็จะร้ขู ้ึนทนั ที และจะต้องภาวนาคาถาบทไหนผีมัน
จงึ กลัวทีส่ ดุ กจ็ ะรู้ข้นึ ในขณะเดียวกัน โดยสว่ นมากคาถาท่ีท่านรู้ข้ึนมานั้นกจ็ ะอยใู่ น
บทสวดมนตเ์ จด็ ตำ� นาน เชน่ นกั ขตั ตยกั ขภตู านงั ปาปคั คะหะนวิ าระณา เมตตาจติ ตงั -
นภุ าเวนะ เปน็ ตน้ ผเู้ ขยี นถามวา่ “แปลวา่ อยา่ งไรรไู้ หม” “ทา่ นบอกไมร่ ”ู้ แลว้ ทา่ นกจ็ ะ
น�ำเอาคาถานนั้ ไปสอนให้ชาวบา้ นเขาภาวนา

ก่อนจะสอนให้เขาภาวนา ท่านจะให้เขาปฏิญาณตนให้ถึงพระไตรสรณคมน์
เสยี ก่อน คอื ท�ำพธิ ไี หว้พระแล้วกล่าวพระไตรสรณคมน์ คือต้ังแต่ พทุ ธงั สะระณัง
คัจฉามิ...ไปจนจบ แล้วต่อด้วยแผ่เมตตาตน เมตตาสัตว์ จบแล้วจึงให้สมาทาน
ศลี ห้า ต่อนนั้ กส็ อนใหภ้ าวนาคาถาทีท่ า่ นรูข้ ึ้นมาทนั ที เป็นอนั เสรจ็ พธิ ขี องทา่ น

ทา่ นจะสอนให้เขารักษาศลี จริงๆ เม่ือเขากลัวผีอยแู่ ลว้ เขากย็ ิ่งตงั้ ใจรกั ษาศลี
จนเตม็ กำ� ลงั แลว้ บอกเขาวา่ ไมต่ อ้ งกลวั ผตี อ่ ไปแลว้ ทพ่ี ากนั ถอื มาแตก่ อ่ นนนั้ วา่ คำ�่ แลว้
แบกไมเ้ ขา้ บา้ นไมไ่ ด้ วนั ศลี กเ็ อาไมเ้ ขา้ บา้ นไมไ่ ด้ กลางคนื กต็ ำ� กระเดอ่ื ง หรอื ทำ� การงาน
ที่เสยี งดังๆ ไม่ได้ ต่อน้ไี ปให้พวกเขาท�ำไดเ้ ลย เมอ่ื เขาท�ำตามทท่ี ่านบอก ก็ไม่เหน็ มี
อะไรเกิดขึ้น เขาก็ยิง่ เชื่อมนั่ ตามค�ำสอนของทา่ นมาก มันก็แปลกเหมอื นกนั แตก่ อ่ น
แตไ่ รมา การทำ� สง่ิ เหลา่ นน้ั ตอ้ งมอี นั เปน็ ไปตา่ งๆ เปน็ ตน้ วา่ จะปรากฏรอยเสอื เขา้ บา้ น
อยู่ตรงกองไฟท่ีควายหรือสุนัขนอนอยู่เฉพาะบ้านคนท่ีท�ำเท่านั้น แต่ควายหรือสุนัข
กไ็ มต่ น่ื และเหา่ แตอ่ ยา่ งไร เมอ่ื เขาเหลา่ นน้ั ทำ� ตามทา่ นสอนแลว้ สงิ่ เหลา่ นน้ั จะทำ� อยา่ งไรๆ
ก็ไม่ปรากฏ นเ่ี ป็นสิง่ อัศจรรย์อย่างหนึ่งของพวกเขาท่ไี มเ่ คยถอื พระไตรสรณคมน์

ผเู้ ขยี นถามทา่ นตอ่ ไปอกี วา่ “เมอื่ ท�ำอยา่ งนนั้ แลว้ ทา่ นท�ำอยา่ งไรตอ่ ” ทา่ นบอกวา่
“กำ� หนดจติ ใหล้ กึ เขา้ ไปอกี จติ กจ็ ะรวมเขา้ ลกึ ลงไป คราวนล้ี งกก๊ึ เขา้ ไปแลว้ จะนงิ่ เฉย

113

อยู่สบาย” (พร้อมหวั เราะแหะๆ ทา่ นเปน็ คนขบขนั ) คราวน้จี ะอย่นู านเทา่ ไรก็อยไู่ ด้
บางทีอยนู่ านต้งั ๓-๔ ชัว่ โมง

หลวงตาหลา้ นบั วา่ เปน็ ผเู้ ชยี่ วชาญในการเขา้ สมาธอิ งคห์ นง่ึ ในบรรดาผเู้ ขา้ สมาธิ
ท้ังหลาย ท่านบอกวา่ ก�ำหนดจติ พจิ ารณากายแลว้ เดอ้ อสภุ ะเห็นเป็นของเปือ่ ยเน่า
ไปหมดทัง้ ตวั จนกระทั่งเป็นดนิ นำ�้ ไฟ ลม ตามสภาพของมัน แลว้ จิตจะรวมเข้า
เปน็ สมาธิ เปน็ ขั้นหน่ึง

เมอ่ื กำ� หนดเอาแตจ่ ติ ทไ่ี ปเหน็ อสภุ ะนนั้ อยา่ งเดยี วแลว้ จติ จะรวมเขา้ ไปลกึ กวา่ เกา่
แลว้ จะเกดิ นมิ ติ และความรตู้ า่ งๆ หลายอยา่ ง (ตอนนใ้ี ชส้ มาธทิ ำ� งานได)้ แลว้ เลกิ ถอน
นมิ ติ และความรตู้ า่ งๆ นน้ั เสยี ถอื วา่ ความรอู้ นั นกี้ เ็ ปน็ ของหยาบและทำ� ใหจ้ ติ ใจวนุ่ วาย
แลว้ กำ� หนดเอาแตจ่ ติ ผไู้ ปรไู้ ปเหน็ อยา่ งเดยี ว แลว้ กจ็ ะเหลอื แตใ่ จผรู้ อู้ ยา่ งเดยี วเทา่ นนั้
แล้วใจก็น่ิงเฉยแต่รู้ว่านิ่งเฉย เป็นอันว่าท่านรู้จักใช้จิตเป็น ใช้มันสมควรแก่การณ์
แลว้ เก็บมาไว้ทใี่ จ

บางท่านบางองค์ใชจ้ ิตท่เี กิดความรู้อะไรต่างๆ นั้นไมร่ ้จู กั เก็บ เตลิดเปิดเปงิ ไป
ไม่มีที่ส้ินสุด ที่เขาเรียกว่า โมคคัลลานะหลงทีป ความจริงพระโมคคัลลานะท่าน
ไมไ่ ดห้ ลงหรอก โมหะคนหลงตา่ งหาก ไปโทษเอาทา่ นผนู้ นั้ ยง่ิ เปน็ โมหะใหญ่ การรจู้ กั
ใชจ้ ิตให้สมควรแก่ภาวะของตนนี้ เปน็ คุณลักษณะของปราชญ์ ไม่มกี ารเส่อื มไปจาก
คุณธรรม มแี ต่เจริญยิ่งๆ ขึ้นไป

หลวงตาหล้าท่านบวชเมื่อแก่ ท่านไม่ได้ศึกษาเล่าเรียนอะไร แม้แต่หนังสือก็
อา่ นไมไ่ ด้ เพงิ่ มาอา่ นหนงั สอื ไดเ้ มอ่ื บวชแลว้ ภาวนาเกดิ ความรขู้ น้ึ ดงั ไดอ้ ธบิ ายมาแลว้
ในเบอื้ งตน้ นน้ั ฉะนน้ั ในการประพฤตใิ นพระธรรมวนิ ยั ทเี่ ปน็ ของละเอยี ดออ่ น ทา่ นกย็ งั
มผี ดิ พลาดอยู่บา้ ง เมือ่ หมู่เพื่อนตกั เตือนท่าน ท่านจงึ สงสัยขอ้ งใจ เม่อื ถามผูเ้ ขยี น
ผู้เขยี นไดอ้ ธบิ ายให้ฟงั แล้ว ท่านกส็ ิ้นสงสัยและปฏิบตั ติ ามทุกอย่าง หลวงตาหลา้ กบั
ผู้เขยี นถูกคอกนั ดี พูดกนั รเู้ รื่องกนั ดี

114

ในอวสานแหง่ ชวี ติ ของทา่ น ทา่ นไดม้ รณะทบี่ า้ นนาเกน็ ตำ� บลหนองแวง อำ� เภอ
น�้ำโสม จงั หวัดอดุ รธานี เม่ือวันท่ี ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๐

กอ่ นจะมรณภาพ ท่านไปอย่ทู ี่ถ�้ำพระนาผักหอกแลว้ เป็นไข้ ลูกศษิ ย์ของทา่ น
ซงึ่ เปน็ คนบา้ นกลางใหญจ่ งึ นมิ นตเ์ อาทา่ นไปรกั ษาทบ่ี า้ นกลางใหญ่ รกั ษาอยไู่ ดไ้ มก่ ว่ี นั
ทงั้ ทไ่ี ขย้ งั ไมห่ ายดี ทา่ นกบ็ อกวา่ “เอาละ ฉนั จะไปตายทบ่ี า้ นนาเกน็ วดั ของฉนั ” ลกู ศษิ ย์
กอ็ อ้ นวอนวา่ “ขอใหห้ ายไขแ้ ลว้ จงึ คอ่ ยไป พวกผมจะไปสง่ ” ทา่ นกไ็ มฟ่ งั เสียง จะไป
ทา่ เดยี ว

พอถงึ วัดป่าบา้ นนาเกน็ เย็นวันน้ันทา่ นก็เดนิ รอบๆ วดั ไปเจอะเอาตน้ ไมแ้ ดง
ตน้ หนงึ่ ตายยนื ตน้ อยู่ ทา่ นกบ็ อกวา่ “นฉี่ นั ตายแลว้ ใหเ้ อาตน้ ไมแ้ ดงตน้ นเี้ ผาฉนั และ
อยา่ เอาไวใ้ หข้ า้ มวนั ขา้ มคนื ตายเดย๋ี วนน้ั กใ็ หเ้ อาไปเผาเดย๋ี วนน้ั เลย” พอตกราวสองทมุ่
เศษๆ ทา่ นกจ็ บั ไขแ้ ลว้ กก็ ำ� เรบิ ไมห่ ยดุ หนกั ลงโดยลำ� ดบั พรอ้ มดว้ ยโรงพยาบาลกอ็ ยู่
หา่ งไกล ทางคมนาคมก็ไม่สะดวก เวลาประมาณบา่ ยสามเศษ ท่านก็มรณภาพโดย
ความสงบ เหมอื นกบั คนนอนหลบั หายไปเลย บรรดาลกู ศษิ ยโ์ ดยถอื ค�ำสง่ั ของทา่ น
จงึ พรอ้ มกนั โคน่ ตน้ ไมแ้ ดงตน้ ไมท้ ท่ี า่ นชบี้ อกนน้ั เอามาเผาทา่ นในคนื วนั นนั้ แลว้ กเ็ กบ็
เอากระดูกไปทิง้ ลงนำ�้

115

หลวงปูห่ ล้า ขนั ติธโร

จากปฏิปทาพระธุดงคกรรมฐาน

โดย ทา่ นอาจารยพ์ ระมหาบัว ญาณสัมปันโน

เขยี นมาถงึ ตอนน้ี มเี รอื่ งเกย่ี วเนอื่ งกนั ทค่ี วรจะนำ� มาลงเพอ่ื ทา่ นผอู้ า่ นไดพ้ จิ ารณา
ตามเหตุการณ์ท่ีเป็นมาแลว้ ในวงพระธดุ งคซ์ งึ่ เปน็ ลกู ศษิ ยผ์ ใู้ หญข่ องทา่ นอาจารยม์ น่ั
ผหู้ นงึ่ เวลานน้ั ทา่ นอาจารยอ์ งคน์ เี้ ทย่ี วธดุ งคไ์ ปฟากแมน่ ำ้� โขงทางฝง่ั ประเทศลาวกบั
ตาปะขาวคนหนงึ่ ขณะนัน้ ทา่ นพกั อยู่ในเง้ือมผาแห่งหน่ึง ตาปะขาวผูถ้ ือศีล ๘ กพ็ ัก
อยเู่ งอื้ มผาแห่งหนึง่ หา่ งกันประมาณ ๓ เสน้ ตามทท่ี ่านเลา่ ให้ฟังวา่ ท่านพกั อยทู่ น่ี น่ั
เป็นเวลาหลายเดือน โดยเห็นว่าเป็นความสะดวกแก่สุขภาพทางกายและทางใจ
การบ�ำเพ็ญสมณธรรมเป็นไปโดยสม�่ำเสมอไม่มีอะไรติดขัดทั้งท่านเองและตาปะขาว
การโคจรบณิ ฑบาตกส็ ะดวก ไมห่ า่ งจากทพี่ กั นกั ราว ๔ กโิ ลเมตร มหี มบู่ า้ นประมาณ
๑๕ หลังคาเรือน ชาวบ้านเองก็ไม่มารบกวนให้ล�ำบากและเสียเวลาบ�ำเพ็ญเพียร
ตา่ งคนตา่ งท�ำธุระหน้าทีข่ องตนไปตามเร่ือง

วันหน่ึงตอนบ่าย ท่านรู้สึกไม่ค่อยสบายเหมือนจะเป็นไข้ มีอาการคร่ันเน้ือ
ครั่นตวั พกิ ล พอตาปะขาวมาหาท่ีพัก ทา่ นจงึ สงั่ ใหแ้ กไปต้มน�ำ้ ร้อนมาผสมกับยาฉัน
ทดลองดบู า้ ง บางทอี าจหายได้ เพราะยาทตี่ ดิ ตวั ไปนน้ั หมอเขาบอกวา่ เปน็ ยาแกไ้ ขป้ า่
ได้ด้วย ท่านเองเกรงจะเป็นไข้ป่ากับเขา เนื่องจากที่น้ันไข้ป่าชุมและคนก็เป็นไข้ป่า

116

กันมาก เพราะแถวนั้นเปน็ ปา่ ทบึ มาก คนแถวทุ่งๆ ไปอยู่มิได้ ท่นี น้ั เต็มไปดว้ ยสตั ว์
ดว้ ยเสือนานาชนิด กลางคนื เสียงรอ้ งอึกทกึ ครึกโครม ทราบว่าแถวน้ันมีเสอื กนิ คน
อยู่บ้างห่างๆ ทั้งน้ีก็เน่ืองจากชาวญวนเหมือนกันเป็นต้นเหตุทำ� ให้เสือดุร้ายไม่ค่อย
กลวั คน พอตาปะขาวทราบแล้วกถ็ ือกาตม้ นำ้� ไปที่พักของตน ตอ่ จากน้ันกห็ ายเงียบ
ไปเลย ไมเ่ หน็ เอาน�ำ้ ร้อนกลับมาถวายท่านเพ่อื ผสมยา

ท่านเองก็รอคอยน้�ำร้อนจากตาปะขาวจนค่�ำก็ไม่เห็นมา ท่านคิดว่าตาปะขาว
อาจจะลมื ไป เม่ือนัง่ ภาวนาเพลินๆ ทา่ นเลยทอดธุระ อาการไขก้ ค็ ่อยเบาบางลงและ
หายไปในทส่ี ดุ สว่ นตาปะขาวเมอ่ื เอากานำ�้ ไปแลว้ กเ็ ตรยี มกอ่ ไฟ แตก่ อ่ เทา่ ไรไฟไมต่ ดิ
เลยเกดิ โมโหขนึ้ มาจงึ ลมื วา่ ตนเปน็ ตาปะขาวลกู ศษิ ยพ์ ระกรรมฐานองคส์ ำ� คญั ปบุ ปบั
ลุกข้ึนพร้อมกับความโมโหว่า ไฟนี้เราเคยก่อมันมากี่ร้อยก่ีพันครั้งแล้ว แต่ครั้งนี้
มันท�ำไมกอ่ ไมต่ ิด ไฟนตี้ อ้ งการนำ้� หรอื อยา่ งไร ถ้าตอ้ งการนำ้� เรากจ็ ะให้นำ้� วา่ แลว้ ก็
(ขออภยั ) ยืนปสั สาวะรดลงท่ีกองไฟจนเปยี กหมด แล้วก็เดินหนไี ปเงียบ ไมม่ าบอก
อาจารยท์ คี่ อยนำ้� รอ้ นอยแู่ ตว่ นั จนคำ�่ เลย พอตกกลางคนื เรอื่ งทไี่ มค่ าดฝนั กไ็ ดเ้ กดิ ขน้ึ
ซึง่ เปน็ สิ่งที่นา่ แปลกประหลาดอยูม่ าก

แต่ก่อนที่เคยพักมานานแล้วไม่เคยมีเรื่องอะไรเกิดข้ึน เฉพาะคืนวันน้ันเวลา
ประมาณ ๓ ทมุ่ ตาปะขาวก�ำลังนั่งภาวนาร�ำพึงถึงความผิดพลาดที่ตนได้ท�ำความ
ประมาทตอ่ อาจารยด์ ว้ ยความโมโหเปน็ ตน้ เหตุ จงึ ไดล้ กุ ขนึ้ ปสั สาวะรดกองไฟ มหิ นำ�
ยงั ไมไ่ ดไ้ ปเรยี นขอขมาอาจารยใ์ หท้ า่ นงดโทษอโหสกิ รรมให้ ขณะทนี่ ง่ั รำ� พงึ โทษของตวั
อยอู่ ยา่ งกระวนกระวาย เสยี งทไี่ มค่ าดฝนั กไ็ ดด้ งั ขนึ้ ขา้ งมงุ้ ดา้ นหลงั หา่ งกนั ไมถ่ งึ วาเลย
เปน็ เสยี งคำ� รามของเสอื โครง่ ใหญล่ ายพาดกลอนที่กำ� ลงั หมอบหนั หนา้ ตาจ้องมองมา
ทางตาปะขาวราวกับจะโดดตะครบุ กนิ เปน็ อาหารในขณะนน้ั พรอ้ มทง้ั เสยี งครวญคราง
เบาๆ พอเปน็ การทดลองความเกง่ กาจแหง่ ความโมโหของลกู ศษิ ยก์ รรมฐานขนาดพอให้
ไดย้ นิ ไปถงึ อาจารยท์ อ่ี ยเู่ งอื้ มผาทางโนน้ ขณะทก่ี ำ� ลงั ครวญครางนนั้ ทงั้ เอาหางฟาดลง
พืน้ ดินดงั ตุบๆ ท้งั เสยี งครางเบาๆ ทง้ั แสดงทา่ ขยบั หนา้ และถอยหลงั ท�ำทา่ จะตะครบุ
ตาปะขาวเปน็ อาหารสดในขณะนัน้ ใหจ้ งได้

117

พอตาปะขาวได้ยินเสียงประหลาด ซึ่งไม่เคยได้ยินใกล้ชิดขนาดน้ันนับแต่มา
อยทู่ นี่ นั้ เปน็ เวลาหลายเดอื นกต็ กใจกลวั รบี หนั หนา้ ไปดทู นั ที ระยะนนั้ เดอื นกำ� ลงั หงาย
เตม็ ท่ี กไ็ ดเ้ หน็ เสอื โครง่ ใหญห่ มอบจอ้ งมองทำ� ทา่ อยอู่ ยา่ งชดั เจน ตาปะขาวกลวั ตวั สนั่
ราวกบั จะสลบไปในขณะนนั้ คิดอะไรไมท่ ัน ใจหันเข้าพงึ่ พุทโธ ธัมโม สงั โฆ เปน็ ที่
ฝากเปน็ ฝากตายวา่ ขอพระพุทโธ ธมั โม สงั โฆ ไดม้ าคมุ้ ครองปกเกล้าปกกระหมอ่ ม
จอมขวญั ผขู้ า้ เถดิ อยา่ ใหเ้ สอื ตวั นเี้ อาไปกนิ เสยี ในคนื วนั นี้ จะไมท่ นั ไดไ้ ปขอขมาโทษ
อาจารยท์ ตี่ นทำ� ผดิ ตอ่ ทา่ นเมอ่ื บา่ ยวนั น้ี ขอพระพทุ โธจงชว่ ยชวี ติ ของขา้ ไวใ้ หต้ ลอดคนื
วันน้ดี ว้ ยเถิด สิ่งทข่ี า้ พเจา้ ไดท้ ำ� ผดิ ไปแล้ว ขอพระธรรมและอาจารยจ์ งโปรดเมตตา
อโหสิให้ อย่าถึงกับเสอื ตอ้ งกินเป็นอาหารเพ่ือเปน็ การชดเชยความผดิ นั่นเลย

ทง้ั บนทงั้ บน่ ท้ังบรกิ รรมพุทโธ ท้งั ส่ันท้ังกลัว ทงั้ หนั หน้าจอ้ งมองเสอื กลัวมัน
จะตะครบุ ไปกนิ เสยี ในขณะนนั้ เสอื พอมองเหน็ คนหนั หนา้ มาจอ้ งมองกท็ ำ� เปน็ ถอยหา่ ง
ออกไปบา้ งเลก็ นอ้ ย และท�ำเสยี งครวญครางไม่ลดละ สักประเด๋ียวก็เปลี่ยนท่าเข้ามา
ทางใหม่และถอยออกไปขยับเข้ามาอยู่ท�ำนองน้ัน ส่วนตาปะขาวเลยจะตายทั้งเป็น
ที่ต้องหนั รหี นั ขวางไปตามเสอื ท่ียกั ยา้ ยเปลีย่ นทา่ ตา่ งๆ ไปมาอยูร่ อบๆ มุ้ง ไม่ลดละ
พอคนต้ังท่าจ้องมองหนักเข้าก็ถอยห่างออกไป บางคร้ังท�ำท่าเหมือนจะหนีไปจริงๆ
โดยท�ำเป็นถอยออกไปห่างๆ พอคนเผลอนิดก็ขยับเข้ามาเกือบถึงตัว พุทโธกับใจ
ปราศจากกนั ไมไ่ ด้ ตอ้ งทอ่ งจนตดิ ใจยดึ ไวเ้ ปน็ หลกั ประกนั ชวี ติ อยตู่ ลอดเวลา พอพทุ โธ
ห่างบ้างทีไร เสอื เป็นต้องขยบั เข้ามาทกุ ที

เมื่อเห็นท่าไม่ดีก็รีบบริกรรมพุทโธและวิงวอนให้พุทโธช่วยชีวิตไว้ พอพุทโธ
สนิทกับใจ เสือก็ถอยห่างออกไปราวกับจะหนีไปจริงๆ แต่นิสัยคนเราชอบบังคับ
ประจำ� สนั ดาน ฉะนน้ั พอเสือถอยออกหา่ งบ้าง พุทโธก็เรม่ิ หา่ งจากใจ คิดว่าตัวจะ
ไม่ตาย ฝ่ายเสือก็เริ่มขยับเข้ามาและท�ำท่าจะตะครุบอยู่ท�ำนองนั้น แต่ก็ไม่ท�ำไม
เปน็ แตเ่ ปลย่ี นทศิ ทางเขา้ มาทางนนั้ บา้ งทางนบี้ า้ ง ไมล่ ดละความเพยี รพยายาม ระหวา่ ง
เสอื กบั ตาปะขาวเปน็ สงครามกนั อยู่ โดยตา่ งฝา่ ยตา่ งไมล่ ดราวาศอกใหแ้ กก่ นั เลยนน้ั
เริ่มแต่เวลา ๓ ทุ่ม จนสว่าง น�้ำตาตาปะขาวท่ีไหลรินอยู่ตลอดเวลาเพราะความ
กลวั ตายนน้ั แตข่ ณะแรกถงึ สวา่ งคาตาจนไมม่ อี ะไรจะไหล พอสวา่ งเสอื กค็ อ่ ยๆ ถอย

118

หา่ งออกไปๆ ประมาณ ๔ วา แลว้ กค็ อ่ ยๆ เดนิ หลบฉากหา่ งออกไปโดยลำ� ดบั จนพน้
สายตา

พอเสอื พน้ ไปแลว้ ตาปะขาวยงั ตง้ั ทา่ ระวงั อยใู่ นมงุ้ อกี นานไมก่ ลา้ ออกมา กลวั วา่
มันจะแอบซุ่มอยู่แถวบริเวณใกล้เคียงน้ัน เวลาคนเผลอตัวออกมาจากมุ้ง มันจะ
กระโดดออกมาคาบไปกนิ เสยี จำ� ใจตอ้ งนง่ั รอดเู หตกุ ารณอ์ ยใู่ นมงุ้ เปน็ เวลานาน เหน็ มนั
เงยี บหายไปไม่กลับมาอีก จึงรีบออกจากมุ้งแลว้ ว่งิ ถึงทพี่ กั อาจารยด์ ้วยตัวส่ันตาลาย
พูดไม่เป็นถ้อยเป็นค�ำจับต้นชนปลายไม่ถูก ฝ่ายอาจารย์เห็นอาการแปลกผิดปกติ
จงึ ถามดกู ็ได้ความวา่ มาขอขมาโทษทท่ี ำ� ผดิ ต่ออาจารย์เมอ่ื บ่ายวานนี้ และเล่าเหตทุ ี่
ทำ� ผิดตลอดเร่อื งที่เสือมาเฝา้ ทัง้ คนื แทบเอาชีวิตไว้ไมร่ อดถวายทา่ นทกุ ประการ

แตแ่ ทนทท่ี า่ นจะงดโทษใหใ้ นทนั ทที นั ใด ทา่ นกลบั พดู ทำ� ทา่ ขเู่ ขญ็ เพม่ิ ความเขา้
อกี ว่า ก็แกชอบสงิ่ ใด แกก็เจอสิ่งน้นั ชอบดกี ็เหน็ ของดี ชอบชัว่ ก็เห็นของช่วั น่แี ก
ชอบเสอื แกกไ็ ดเ้ จอเสอื แลว้ จะมาขอขมาโทษกบั เราเพอ่ื ประโยชนอ์ ะไร เรายงั อดโทษ
ใหแ้ กไมไ่ ด้ อยา่ งนอ้ ยแกกค็ วรจะไดพ้ บของดที แี่ กชอบอกี สกั คนื หนง่ึ ถา้ ไมต่ ายเพราะ
เสอื กนิ กพ็ อใหไ้ ดท้ รี่ ะลกึ ไปนานๆ บา้ ง เสอื มนั ดกี วา่ อาจารย์ อาจารยก์ จ็ ะมอบใหเ้ สอื
เป็นผู้อบรมสั่งสอนต่อไป ว่าอย่างไร จะมอบให้เสือในคืนวันน้ีถ้ามันสอนไม่ฟัง
กจ็ ะมอบใหเ้ ปน็ อาหารของมนั ไปเสยี รแู้ ลว้ รรู้ อดไป ขเ้ี กยี จสง่ั สอน วา่ ยงั ไง จะเอาไหม
ที่เจอเสือและฟังเทศน์เสือทั้งคืนน้ันเหมาะกับเหตุดีแล้ว คืนน้ีจะให้มันมาสอนอีก
ถา้ ยังขนื เกง่ อยูอ่ กี กจ็ ะมอบใหเ้ ปน็ เสบยี งเดนิ ทางของมนั ไปเสีย มนั คงสบายทอ้ งไป
หลายวัน จะเอาอยา่ งไหนดีรบี ตอบมา อย่ามัวชกั ช้า อาจารยก์ บั เสือใครจะดกี วา่ กัน
เอาตอบเดยี๋ วนอี้ ยา่ รอชา้ อยู่ เดยี๋ วจะบอกใหเ้ สอื มารบั ตวั ไปใชส้ อยเสยี เดย๋ี วนจี้ ะดกี วา่
อาจารยใ์ ชเ้ ปน็ ไหนๆ วา่ แลว้ กท็ ำ� เปน็ เชงิ ตะโกนเรยี กเสอื วา่ เสอื ตวั นน้ั ไปอยทู่ ไี่ หนเวลาน้ี
ใหร้ บี มารบั เอาตวั ตาปะขาวไปอยดู่ ว้ ยเดย๋ี วน้ี อาจารยม์ อบตาปะขาวคนนใี้ หเ้ ปน็ ลกู ศษิ ย์
ของเสอื แลว้ รีบมารับเอาไปเดี๋ยวนีอ้ ยา่ รอชา้ เลย

ตอนนต้ี าปะขาวรอ้ งไหโ้ ฮอยา่ งไมเ่ ปน็ ทา่ และขอรอ้ งอาจารย์วา่ กระผมเขด็ แลว้
ขอทา่ นอยา่ ไดเ้ รยี กมนั มา กระผมจะตายขณะนอ้ี ยแู่ ลว้ คนื นกี้ น็ กึ วา่ ตายไปหนหนงึ่ แลว้
แตก่ ลบั ฟน้ื คนื มาพอไดส้ ตจิ งึ รบี มาหาอาจารยข์ อความชว่ ยเหลอื มหิ นำ� ยงั จะเรยี กมนั

119

มาอกี กระผมจะไปเอาชวี ติ จติ ใจมาจากไหนตา้ นทานกบั มนั ขอทา่ นจงบอกใหม้ นั งด
อย่าให้มันมาอีก ท้ังร้องไห้ทั้งขอร้องไม่ให้ท่านเรียกเสือมาอีก ท้ังกราบไหว้วิงวอน
ขอชวี ติ ชีวาไวพ้ อมีลมหายใจต่อไป ท้งั ยอมเหน็ โทษทท่ี �ำผดิ แล้วจะสำ� รวมระวังตอ่ ไป
ทงั้ ปฏญิ าณตนดว้ ยความเขด็ หลาบตอ่ หนา้ ทา่ นวา่ จะไมท่ ำ� อยา่ งนน้ั อกี ตอ่ ไป ทง้ั รอ้ งขอ
ใหท้ า่ นอโหสกิ รรมให้ พอเหน็ เปน็ การอนั ควรแลว้ ทา่ นจงึ รบั ขมาโทษและอบรมสงั่ สอน
ตอ่ ไป และพดู ปลอบโยนตา่ งๆ วา่ ทเี่ สอื มานนั้ มใิ ชอ่ ะไรอน่ื พาใหม้ า กรรมชว่ั ของแกเอง
บนั ดาลใหม้ า ถา้ แกยงั ไมย่ อมเหน็ โทษแหง่ ความชวั่ ของตวั กต็ อ้ งเหน็ ดกี นั ในคนื นนี้ แี่ ล
พอตกมดื เสือตวั น้นั ก็จะมาและเอาตัวแกไปพร้อมโดยไม่มวี ันกลบั มาอีก แลว้ มนั จะ
ไม่พูดพลา่ มท�ำเพลงเหมอื นคนื ท่ีแลว้ นี้เลย

เมอ่ื เจบ็ แลว้ ตอ้ งจำ� เพราะบาปมบี ญุ มปี ระจำ� โลก ใครจะมาลบลา้ งธรรมทง้ั สอง
อยา่ งนไ้ี มไ่ ด้ ถา้ กรรมอยใู่ ตอ้ ำ� นาจของผหู้ นง่ึ ผใู้ ดไดแ้ ลว้ ผมู้ อี ำ� นาจนน้ั จะตอ้ งลบลา้ ง
กรรมเหล่านีใ้ ห้สญู ไปจากโลกนานแลว้ ไมส่ ามารถยังเหลอื มาถึงพวกเราเลย เทา่ ท่ี
กรรมดี-ช่ัวยังมีอยู่ ก็เพราะกรรมมิได้ขึ้นอยู่กับผู้ใดโดยเฉพาะ แต่ข้ึนอยู่กับผู้ท�ำ
กรรมนนั้ ๆ เทา่ นนั้ นกี่ แ็ กทำ� กรรมชวั่ ไวเ้ มอ่ื บา่ ยวานน้ี แกกต็ อ้ งเหน็ กรรมชวั่ ของแกเอง
ถา้ แกยังไม่ยอมเห็นโทษของตวั กแ็ น่ทเี ดียวในคืนวันน้พี ญากรรมตวั ลายพาดกลอน
จะมาตามเอาตวั แกไปดผู ลของกรรมให้ประจกั ษ์กับตวั เอง

พออบรมเสร็จแล้วก็บอกให้เธอกลับไปที่พักตามเดิม แต่ตาปะขาวคนน้ัน
ไม่ยอมไป กลัวว่าเสือตัวนั้นจะแอบมาโดดคาบเอาไปกินเป็นอาหารอีก ท่านต้องขู่
ด้วยอุบายให้กลัวอีกครั้งว่า ก็เมื่อกี้นี้ก็ว่ายอมเห็นโทษแห่งความด้ือดึงของตัวว่า
จะไม่ท�ำอีก แตพ่ ดู ยงั ไมข่ าดคำ� ท�ำไมจงึ แสดงความด้อื ด้านขึน้ มาอีกเล่า ถ้าอย่างน้ัน
ก็จงดื้ออยู่ที่น่ีหากจะทนต่อเสือตัวนั้นได้จริงๆ พอพูดจบค�ำ ท่านก็เรียกหาเสือ
ตัวนั้นมาอีกว่า เสือตัวเป็นอาจารย์ของตาปะขาวคนนี้ไปไหนเสีย รีบกลับมารับ
ตาปะขาวผู้ดื้อด้านน้ีไปอบรมให้หน่อยเถอะ เราเบ่ืออบรมจะตายอยู่แล้ว รีบๆ
มาเรว็ ๆ หนอ่ ย พอพดู จบค�ำ ตาปะขาวร้องไหข้ ึน้ อีก พร้อมรับคำ� ว่ากระผมจะรีบไป
เดยี๋ วน้ี ขอท่านอยา่ ใหเ้ สอื มาเลย กระผมกลวั มัน คนื นีแ้ ทบปอดหลุดหายอยู่แลว้
แต่ก็รบี ไปทีพ่ กั ของตนโดยไม่คดิ ถึงความกลวั ความตายอีกเลย

120

เป็นท่ีน่าประหลาดและอัศจรรย์อย่างย่ิง นับแต่วันนั้นมาไม่เคยปรากฏว่าเสือ
ตวั นน้ั มาลอบๆ มองๆ แถบบรเิ วณนน้ั อกี เลย จนกระทง่ั จากทนี่ นั้ ไปซงึ่ กเ็ ปน็ เวลาอกี
หลายเดอื น ถา้ คดิ ตามสามญั สำ� นกึ กน็ า่ จะมอี ะไรมาบนั ดาลใจเสอื ตวั นน้ั ใหม้ าทรมาน
ตาปะขาวผ้เู กง่ กาจอาจหาญพาลพาโลท�ำในสงิ่ ไม่ควรทำ� เชน่ ยนื ปัสสาวะรดกองไฟ
แม้แต่คนธรรมดาไม่มีศีลมีธรรมก็ไม่คิดหาญท�ำได้ คนชนิดน้ีไม่มีอะไรจะเอาให้
อยู่ในเง้ือมมือได้นอกจากเสือโคร่งใหญ่ตัวนั้นพอเป็นคู่ทรมานกันได้ แกถึงได้ยอม
จำ� นนอยา่ งราบ นบั แตว่ นั นนั้ มา ทา่ นวา่ ตาปะขาวกไ็ มเ่ คยแสดงอาการดอ้ื ดงึ อกี เลย นบั วา่
ไดผ้ ลดี เสือทรมานคนเก่งมากท�ำใหเ้ ข็ดไปนานเสยี ดว้ ย

ตอนน้ีขอแทรกเรื่องพิเศษลงสักนิดพอหอมปากหอมคอ คือผู้เขียนเองก็คิด
อยากได้เสือสักตัวมาอยู่แถวใกล้เคียงวัดป่าบ้านตาด เพ่ือช่วยภาระบางอย่างให้เบา
ลงบา้ ง เวลาพระเณรเถรชหี รอื ทา่ นผใู้ ดกต็ ามทขี่ เี้ กยี จภาวนาขนึ้ มา มวั แตน่ อน จะได้
ช่วยให้ขยันข้ึนบ้าง แม้ไม่มาให้เห็นตัวเสือ แต่เพียงช่วยทางเสียงก็คงพอจะท�ำให้
ตาตง้ั หกู างและลกุ ขนึ้ ภาวนากนั บา้ ง ไมส่ นกุ นอนจนเกนิ ไป แตถ่ า้ เสอื มาอยทู่ นี่ นั้ แลว้
สนุ ัขบา้ นทมี่ าอาศัยวดั อยู่หลายตัวซ่ึงเคยเป็นอาจารยส์ อนคนผขู้ เี้ กียจปดิ ประตู และ
เกบ็ รกั ษาสงิ่ ของไวร้ บั ประทาน จะพากนั กลวั วงิ่ แตกหนหี มด กจ็ ะขาดกำ� ลงั ทางหนงึ่ ไป

ความจรงิ เราอยากไดไ้ วท้ ี่วัดทัง้ สองอาจารย์ คือ อาจารย์เสือและอาจารย์หมา
นน่ั แล จะได้ชว่ ยกนั เตือนทั้งความพากเพียร ทงั้ การเก็บรักษาสิ่งตา่ งๆ ไวด้ ๆี วดั จะ
สมบรู ณท์ ง้ั คนขยนั ทำ� ความเพยี ร ทง้ั คนขยนั เกบ็ รกั ษาสงิ่ ของตา่ งๆ ไวร้ บั ประทานดว้ ย
ความปลอดภยั คงดีมากถา้ ท�ำอย่างนี้ พระเณรเถรชีตลอดบรรดาลูกศษิ ยท์ ่มี าจากที่
ต่างๆ ซงึ่ เปน็ นกั กลวั เสือและขี้เกียจเก็บรกั ษาสงิ่ ของตา่ งๆ กจ็ ะพาลโมโหอาจารย์เข้า
ใหอ้ กี ว่าไปเอาเสอื เอาอะไรมาทรมานกันไมเ่ ข้าเร่ืองก็จะยุ่งกันใหญ่ แต่ความจริงกน็ า่
จะมีอะไรมาคอยชว่ ยเตอื นบ้าง เฉพาะอาจารย์คนเดยี วดแู ลไมท่ ัว่ ถึง

โดยมากทางครวั ทค่ี ณะลกู ศษิ ยฝ์ า่ ยผหู้ ญงิ และอบุ าสกิ ามาจากทต่ี า่ งๆ มาพกั กนั
มกั จะเสียเปรียบพวกสุนขั บา้ นทีแ่ อบซอ่ นอย่ใู นวดั เปน็ ฝูงๆ ขโมยสิ่งของไปกนิ เสมอ
แมไ้ มใ่ ช่เร่ืองใหญ่และนา่ เสยี ดาย กเ็ ป็นความบกพรอ่ งซ่งึ ไมอ่ ยากใหม้ ี เพราะคำ� วา่

121

บกพรอ่ งแลว้ อยกู่ บั อะไรไมด่ ที งั้ สนิ้ ยง่ิ มาอยกู่ บั คนและไมส่ นใจชำ� ระแกไ้ ขดว้ ยแลว้
ย่ิงไม่ดีเลย ที่น�ำสัตว์น�ำเสือมาลงบ้างต้องขออภัยด้วย เห็นว่าเรื่องเกี่ยวเน่ืองกัน
พอเปน็ คติได้บ้างจึงไดน้ �ำลง

ขอยอ้ นพดู เรอื่ งทา่ นอาจารยก์ บั ตาปะขาวตอ่ ไปซง่ึ ยงั ไมจ่ บ พอเวลาตอ่ ไปตาปะขาว
ตั้งท่ากลัวเสืออยู่ตลอดท้ังกลางวันกลางคืน ใจมองเห็นภาพเสือโคร่งใหญ่ตัวน้ัน
อยา่ งชัดเจนตลอดเวลา และคดิ เรอื่ งเสือจะมาหาแทบทกุ ลมหายใจกระท่ังเย็น ไม่มี
เวลาสบายใจได้เลย มัวคิดว่าเสือตัวนั้นจะโดดโผงผางมางับคอไปกินอยู่เร่ือยไป
แต่ดอี ยอู่ ยา่ งหนึ่งท่ีระลกึ เหน็ ภาพเสอื ทไี รกร็ ะลกึ ถงึ พุทโธทนี ้นั ไปพร้อมๆ กัน ไมม่ ี
เวลาพลง้ั เผลอ พอเรม่ิ มดื กเ็ รมิ่ เขา้ ทนี่ งั่ ภาวนาพทุ โธบา้ ง คดิ วา่ เสอื จะมาบา้ ง สบั กนั ไป
ไมเ่ ป็นอันอย่หู ลับนอนและภาวนาไดเ้ หมือนแต่ก่อนเลย ภาวนาไป ตาคอยจ้องมอง
เสอื ไป คนื นนั้ เลยสวา่ งคาตาไมไ่ ดห้ ลบั นอนตลอดรงุ่ เพราะถา้ เผลอหลบั ไปเผอ่ื เสอื มา
ในระยะนัน้ จะท�ำอยา่ งไร กเ็ ทา่ กบั นอนคอยท่ามันเอาไปกินอยา่ งง่ายๆ

พอสวา่ งกร็ บี ไปหาอาจารย์ ทา่ นถามวา่ เปน็ อยา่ งไรเสอื ทเี่ ปน็ อาจารยม์ าเยย่ี มบา้ ง
หรอื เปล่าคืนนี้ แกเรยี นตอบท่านวา่ ไม่มา ทา่ นจึงปลอบใจให้มีความอบอนุ่ บ้างว่า
จะกลวั มนั ทำ� อะไร ถา้ กลวั ความชว่ั ของตวั เองเทา่ กลวั เสอื กพ็ น้ ทกุ ขไ์ ปนานแลว้ จงรบี
กำ� จดั ความชวั่ ทซ่ี อ่ งสมุ อยใู่ นใจใหเ้ บาบางและสน้ิ ไป จะไปสนใจอะไรกบั เสอื มนั ไมม่ า
ทำ� ไมหรอก เชอื่ เราเถอะ ถา้ ไมท่ ำ� ชวั่ อกี เสอื กไ็ มม่ า จงภาวนาใหใ้ จสบาย เสอื จะไดส้ บาย
หายห่วง ไมต่ อ้ งมาเยย่ี มเยียนอยูเ่ รอ่ื ย ขาดการหากินของมันไปเปลา่ ๆ ทเ่ี สอื มานน้ั
มันมาช่วยฉุดแกขึ้นจากนรกต่างหากเพราะการท�ำผิดของแก มิฉะน้ันแกจะตกนรก
จรงิ ๆ เสอื มไิ ดม้ าเพ่อื ตั้งใจจะกนิ ถา้ แกไมท่ ำ� ชวั่ อกี คอยรกั ษาตัวดๆี กแ็ ลว้ กนั ถา้ แก
พยายามและขยันภาวนาแล้ว แกจะเห็นเสือเท่าที่เห็นแล้วจะไม่เห็นมันต่อไปอีกเลย
กระทง่ั พวกเราจากท่นี ่ีไป

นบั แตว่ นั นนั้ กไ็ มเ่ คยเหน็ เสอื ตวั นน้ั เดนิ ผา่ นกลำ้� กรายแถวๆ นนั้ อกี เลยดงั กลา่ ว
แลว้ แมจ้ ะมเี สยี งกระหม่ึ ไปมาบา้ งกเ็ ปน็ ธรรมดาดงั ทเ่ี คยไดย้ นิ ทว่ั ๆ ไป ไมเ่ คยมารบกวน
ใหล้ ำ� บากใจ ตาปะขาวกข็ ยนั ภาวนาและสละทฐิ มิ านะทกุ อยา่ งกลายเปน็ คนดที งั้ ภายใน

122

ภายนอก ไมม่ ที ต่ี อ้ งติ นบั แตว่ นั เสอื มาชว่ ยอบรมใหเ้ พยี งคนื เดยี ว จงึ นา่ ประหลาดใจอยู่
ไม่ลืมจนบัดน้ี ส�ำหรับท่านเองท่านไม่นึกกลัวเลย แม้ตาปะขาวมาเล่าให้ฟังก็เฉยๆ
เสือตวั ทมี่ านนั้ ก็เปน็ เสอื เทพบันดาลต่างหากทา่ นวา่

ทา่ นอาจารยอ์ งคน์ เ้ี ปน็ ศษิ ยผ์ ใู้ หญข่ องทา่ นอาจารยม์ นั่ ทา่ นชอบอยลู่ ำ� พงั องคเ์ ดยี ว
ในปา่ ในเขาลกึ อาศยั ชาวไรช่ าวสวนเปน็ ทโี่ คจรบณิ ฑบาต เวลาทา่ นพกั อยเู่ งอื้ มผากบั
ตาปะขาวน้ันมีความก้าวหน้าทางจิตใจมากกว่าที่อ่ืนๆ จึงได้พักอยู่ท่ีนั่นหลายเดือน
จนกา้ วเขา้ ฤดฝู นจงึ ไดก้ ลบั มาฝง่ั ไทย ทา่ นวา่ ขณะเสอื คำ� รามตาปะขาวเบาๆ ทา่ นกไ็ ดย้ นิ
ชดั เจนแตม่ ไิ ดส้ นใจเพราะเคยไดย้ นิ อยเู่ สมอจนชนิ หเู สยี แลว้ ตอ่ เมอ่ื ตาปะขาวมาเลา่
ใหฟ้ งั ดว้ ยทงั้ รอ้ งหม่ รอ้ งไหเ้ พราะความกลวั จงึ ไดพ้ จิ ารณาตามเหตกุ ารณแ์ ละเทวดามา
เลา่ ใหฟ้ งั จงึ ทราบวา่ เทพบนั ดาลใหเ้ สอื ตวั นน้ั ทรมานแกเพอื่ หายพยศ ไมเ่ ชน่ นน้ั แกจะ
เคยตวั และแสดงความด้อื ดงึ ไปเรื่อยๆ ท�ำให้เปน็ บาปเพมิ่ ข้ึน เวลาตายแกจะลงนรก
จึงได้รบี แก้ไขด้วยวิธที ี่แกจะเข็ดหลาบไม่หาญท�ำอกี ตอ่ ไป

ทา่ นวา่ เปน็ ความจรงิ ดงั เทวดามาเลา่ ใหท้ า่ นฟงั เพราะนบั แตว่ นั นน้ั มา นสิ ยั ใจคอ
ความประพฤติทุกด้านของแกเปล่ียนไปหมดจนกลายเป็นคนละคนไปได้ แต่ก่อน
แกมนี สิ ยั ดอ้ื ๆ อยบู่ า้ ง บางครงั้ เปน็ ลกั ษณะเหมอื นคนไมเ่ ตม็ เตง็ บา้ ง เรากไ็ มค่ อ่ ยถอื สา
กบั แก ปลอ่ ยไปตามนสิ ยั ของแกเรอ่ื ยมา จนวนั เสอื มาดดั สนั ดานหยาบปราบความดอื้ ดงึ
ของแกลงได้ จงึ ไดท้ ราบชดั วา่ แกมนี สิ ยั ไมด่ ตี ดิ ตวั มาจรงิ ๆ มใิ ชค่ นไมเ่ ตม็ เตง็ มฉิ ะนน้ั
แมถ้ กู เสอื ทรมานแลว้ กไ็ มเ่ ขด็ นสิ ยั ไมเ่ ตม็ เตง็ กค็ งกลบั มาอกี แตน่ นี่ บั แตว่ นั นน้ั มาแลว้
ไม่มีอะไรท่ไี มด่ ีกลบั มาอกี เลย เรียบร้อยดงี ามตลอดมา

ทา่ นอาจารยอ์ งคน์ ท้ี า่ นมคี ณุ ธรรมสงู มาก นา่ กราบไหวบ้ ชู า แตท่ า่ นเสยี ไปไดร้ าว
๔-๕ ปแี ลว้ เวลาทา่ นจะจากขนั ธไ์ ป กท็ ราบวา่ ไมใ่ หใ้ ครวนุ่ วายกบั ทา่ นมากเปน็ กงั วล
ไม่สบาย ท่านขอตายอย่างเงียบแบบกรรมฐานตาย จึงเป็นความตายที่เต็มภูมิของ
พระปฏบิ ตั ิ ไมเ่ กลอื่ นกลน่ วนุ่ วาย เวลาประชมุ เพลงิ ทา่ นกท็ ราบวา่ พระผใู้ หญท่ งั้ หลาย
ไมค่ อ่ ยทราบกนั เลย เนอื่ งจากทา่ นไมใ่ หบ้ อกใครใหย้ งุ่ ไปมาก วนุ่ เปลา่ ๆ วนุ่ กบั คนตาย
หมดราคาคา่ งวดแลว้ ไม่ค่อยเกดิ ประโยชนเ์ หมือนวุ่นกับคนเปน็ ทา่ นพดู อย่างสบาย

123

ง่ายๆ อย่างนเี้ อง ใครจงึ ไมก่ ลา้ ขัดขืนคำ� ท่าน ประการหนึ่งกเ็ ป็นคำ� ทา่ นสั่งเสียด้วย
ใจจรงิ ดว้ ย กลัวเปน็ บาปถา้ ขนื ค�ำทา่ น แม้วา่ ท่านยังมีชวี ิตอยู่ ผเู้ ขียนก็เคยไดไ้ ปพกั
อาศัยอยู่กับท่านในเขาลึกราวคร่ึงเดือน ท่ีท่านพักอยู่เวลานั้นเป็นป่าเขาอาศัยอยู่กับ
ชาวไรบ่ ณิ ฑบาตพอเปน็ ไปวนั หนงึ่ ๆ ทราบวา่ ทา่ นจำ� พรรษาทน่ี น้ั หลายพรรษาเหมอื นกนั
ทน่ี น้ั ผเู้ ขยี นเคยตง้ั เวลาดตู อนออกเดนิ ทางกลบั จากทพ่ี กั ทา่ นออกมาหมบู่ า้ นกวา่ จะพน้
จากปา่ กเ็ ป็นเวลา ๓ ชวั่ โมง ๒๐ นาที พอดี จนถึงหมู่บา้ นกร็ ่วม ๔ ชั่วโมง

ช่ือท่านว่า ท่านอาจารยห์ ล้า ภูมิล�ำเนาเดิมอยู่เวียงจนั ทน์ นับแต่อปุ สมบทแล้ว
ทา่ นเลยอยฝู่ ง่ั ไทยตลอดมาจนวนั มรณภาพ เพราะทางฝง่ั ไทยมหี มคู่ ณะและครอู าจารย์
ทางฝา่ ยปฏบิ ตั มิ าก การบำ� เพญ็ สมณธรรม ทา่ นมนี สิ ยั เดด็ เดย่ี วอาจหาญ ชอบอยแู่ ละไป
คนเดยี ว อยา่ งมากกม็ ตี าปะขาวไปดว้ ยเพยี งคนเดยี ว ทา่ นมนี สิ ยั ชอบรสู้ ง่ิ แปลกๆ ไดด้ ี
คอื พวกกายทพิ ย์ มเี ทวดา เปน็ ตน้ พวกนเ้ี คารพรกั ทา่ นมาก ทา่ นวา่ ทา่ นพกั อยทู่ ไี่ หน
มกั มพี วกนี้ไปอารกั ขาอยูเ่ สมอ ทา่ นมีนิสัยมกั น้อยสันโดษมากตลอดมาและไม่ชอบ
ออกสงั คมคอื หมมู่ าก ชอบอยแู่ ตป่ า่ แตเ่ ขากบั พวกชาวไรช่ าวปา่ ชาวเขาเปน็ ปกตติ ลอดมา
ทา่ นมคี ณุ ธรรมสงู นา่ เคารพบชู ามาก คณุ ธรรมทางสมาธปิ ญั ญารสู้ กึ วา่ ทา่ นคลอ่ งแคลว่ มาก
แตผ่ คู้ นพระเณรสว่ นมากไมค่ อ่ ยทราบเรอื่ งนม้ี ากนกั เพราะทา่ นไมค่ อ่ ยแสดงตวั มเี พยี ง
ผู้ท่ีเคยอยู่ใกล้ชดิ ทา่ นทท่ี ราบกนั ได้ดี

ราว พ.ศ. ๒๔๙๓ ทผี่ เู้ ขยี นไปอาศยั อยกู่ บั ทา่ น ไดม้ โี อกาสศกึ ษาเรยี นถามธรรมทา่ น
รสู้ กึ วา่ ซาบซง้ึ จบั ใจมาก ทา่ นอธบิ ายปจั จยาการคอื อวชิ ชาไดด้ ลี ะเอยี ดลออมาก ยากจะมี
ผอู้ ธบิ ายไดอ้ ยา่ งทา่ น เพราะปจั จยาการเปน็ ธรรมละเอยี ดสขุ มุ มาก ตอ้ งเปน็ ผผู้ า่ นการ
ปฏิบัติภาคจิตตภาวนามาอย่างช่�ำชองจึงจะสามารถอธิบายได้โดยละเอียดถูกต้อง
เนอ่ื งจากปจั จยาการหรอื อวชิ ชาเปน็ กเิ ลสประเภทละเอยี ดมาก ตอ้ งเปน็ วสิ ยั ของปญั ญา
วิปัสสนาข้ันละเอียดเท่าๆ กันจึงจะสามารถค้นพบและถอดถอนตัวปัจจยาการคือ
อวิชชาจริงได้และอธิบายได้อย่างถูกต้อง ท่านอาจารย์องค์น้ีเป็นผู้หนึ่งท่ีอธิบาย
อวิชชาปัจจยาการได้โดยละเอียดสขุ ุม เกนิ ความสามารถของผเู้ ขียนจะนำ� มาอธิบาย
ในทน่ี ีไ้ ด้ จงึ ขอผ่านไปดว้ ยความเสียดาย

124

ท่านอาจารย์องค์น้ี ท่านเร่ิมฉันหนเดียวและเที่ยวกรรมฐานอยู่ตามป่าตามเขา
กับทา่ นพระอาจารย์มั่น ทา่ นพระอาจารย์เสาร์ มาแตเ่ ร่มิ อปุ สมบทจนถึงวันมรณภาพ
ไมเ่ คยลดละขอ้ วตั รปฏบิ ตั แิ ละความเพยี รทางใจตลอดมา นบั วา่ เปน็ อาจารยท์ เี่ หนยี วแนน่
ทางธรรมปฏบิ ตั ทิ ห่ี ายากองคห์ นงึ่ ในสมยั ปจั จบุ นั ควรเปน็ คตติ วั อยา่ งแกท่ า่ นผสู้ นใจ
ปฏิบตั ิทัง้ หลายได้เปน็ อยา่ งดี จงึ ขอยตุ เิ รอื่ งทา่ นไวเ้ พียงนี้

125



ชีวประวัตแิ ละพระธรรมเทศนา

พระอกิญฺจโน หลวงปสู่ าม

127



พระอกญิ ฺจโน หลวงป่สู าม

วดั ปา่ ไตรวเิ วก อ�ำ เภอเมอื ง จังหวดั สุรินทร์



ชวี ประวตั ิ

พระอกิญจฺ โน หลวงป่สู าม

พระคณุ เจา้ หลวงปสู่ าม อกญิ จโน แหง่ สำ� นกั วดั ปา่ ไตรวเิ วก อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั
สรุ นิ ทร์ เปน็ ศษิ ยร์ นุ่ อาวโุ สองคห์ นงึ่ ของทา่ นพระอาจารยม์ น่ั ภรู ทิ ตั ตมหาเถระ ผทู้ ไ่ี ด้
รบั การถวายสมัญญาว่าเปน็ บรู พาจารย์ พระอาจารยใ์ หญ่สายพระกรรมฐานในสมยั
ปจั จบุ ัน

หลวงปสู่ าม อกญิ จโน เปน็ พระเถระชน้ั ผใู้ หญ่ มชี อ่ื เสยี งขจรขจายเปน็ ทเ่ี คารพ
นับถือของมหาชนท่ัวประเทศ ได้ถือแบบอย่างการปฏิบัติเย่ียงพระป่าสายกรรมฐาน
ตามรอยบาทแห่งบูรพาจารย์ของท่านอย่างเคร่งครัด นับเป็นพระภิกษุผู้ปฏิบัติดี
ปฏบิ ตั ติ รง ปฏบิ ตั เิ พอ่ื รธู้ รรม เปน็ เครอื่ งออกจากทกุ ข์ มงุ่ ตรงตอ่ พระนพิ พานตามคำ�
สง่ั สอนของพระบรมศาสดาสมั มาสัมพทุ ธเจ้า

หลวงปสู่ ามไดเ้ พาะบม่ คณุ ธรรมความดไี วใ้ นตวั อยา่ งเตม็ เปย่ี มบรบิ รู ณ์ พรอ้ มที่
จะหว่านความดีนี้ให้แพร่ไปสู่จิตใจของลูกศิษย์ลูกหาและประชาชนท่ัวไปเพื่อความ
เจริญรุง่ เรืองและสนั ติสุขใหเ้ กิดแกป่ วงชนและสรรพสัตวท์ ว่ั ไป

อุปนิสัยของหลวงปู่ โดยปกติทา่ นพูดนอ้ ย สงบเสงี่ยม มศี ลี าจารวตั รงดงาม
ในความเป็นสมณะแหง่ พุทธสาวก บอกถงึ ความปรารถนาวิมุตตสิ ุขตามคำ� สอนของ
พระพทุ ธองค์ สำ� หรบั ลกู ศษิ ยล์ กู หาและสาธชุ นทเ่ี คยเดนิ ทางไปนมสั การจะตระหนกั ดวี า่

129

หลวงปู่สามมีความคลา้ ยคลึงกบั หลวงปดู่ ลู ย์ อตโุ ล แหง่ วดั บูรพาราม มากทเี ดยี ว
กลา่ วคอื หลวงปทู่ ง้ั ๒ องคน์ มี้ ากไปดว้ ย ขนั ติ อดทน สงบเงยี บ เยอื กเยน็ และเปย่ี มลน้
ดว้ ยจติ เมตตา ไม่เคยขดั ศรัทธาญาตโิ ยมใครๆ เลย

จากคำ� บอกเลา่ ของศษิ ยผ์ ปู้ รนนบิ ตั ใิ กลช้ ดิ ไดบ้ อกเลา่ ตอ่ กนั มาวา่ ภายในกฏุ ขิ อง
หลวงปสู่ ามในยามคำ�่ คนื จะมองเหน็ แสงสวา่ งเรอื่ เรอื งเปน็ ดวงๆ ดแู ตไ่ กลประหนง่ึ วา่
มกี ารจดุ ประทปี ดวงนอ้ ยๆ ตามไวร้ อบหอ้ ง แตเ่ มอ่ื เขา้ ไปดใู กลๆ้ ปรากฏวา่ ไมม่ ดี วงไฟ
หรอื เทยี นแม้แตเ่ ลม่ เดยี ว แตแ่ สงเร่ือเรอื งนน้ั ได้แตกสว่างอย่ใู นอากาศ ระบายเปน็
จดุ สวา่ งอยทู่ วั่ ไปภายในกฏุ ขิ องทา่ น เมอ่ื มผี เู้ รยี นถามหลวงปวู่ า่ เปน็ แสงอะไร หลวงปู่
ได้ตอบด้วยความเมตตาวา่ เปน็ แสงเรื่อเรอื งของเทพยดาตา่ งๆ ทมี่ ีความผูกพนั กับ
สถานท่ีนนั้ และเทพยดาเหลา่ นนั้ ไดม้ าพบเห็นท่านปฏบิ ัตดิ ี ปฏบิ ตั ชิ อบ ปฏบิ ตั เิ พื่อ
หลดุ พน้ เชน่ นเ้ี ขา้ เทพยดาเหลา่ นนั้ จงึ ไดม้ าเฝา้ พทิ กั ษร์ กั ษาปรนนบิ ตั ทิ า่ นเพอ่ื ทา่ นจกั ได้
ปฏบิ ัติสมณธรรมไดส้ ะดวกราบรนื่

130

ชาตกิ ำ� เนดิ ในชีวติ เม่อื ยงั เยาวว์ ยั

หลวงปสู่ าม อกญิ จโน เปน็ ชาวจงั หวดั สรุ นิ ทรโ์ ดยกำ� เนดิ ทา่ นเกดิ เมอ่ื วนั อาทติ ย์
เดอื น ๑๐ ปชี วด ตรงกบั วนั ท่ี ๑๒ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๔๒ ทบ่ี า้ นนาสาม ตำ� บลนาบวั
อ�ำเภอเมอื ง จงั หวัดสรุ นิ ทร์ หมู่บา้ นแหง่ นีอ้ ยู่ห่างจากตวั จังหวดั สุรินทรป์ ระมาณ ๑๓
กโิ ลเมตร ไปทางทศิ ใต้ ตามถนนสายสรุ ินทร-์ ปราสาท

หลวงปู่เกิดในตระกูล “เกษแก้วศรี” บิดาชื่อ นายปวม มารดาช่ือ นางกึง
ครอบครัวของทา่ นเป็นครอบครัวชาวนา มีฐานะจดั อยู่ในขนั้ ปานกลาง เมอื่ เทยี บกบั
ครอบครัวเกษตรกรส่วนใหญใ่ นแถวนนั้

หลวงปมู่ อี ธั ยาศยั ชอบความสงบมาตง้ั แตว่ ยั เดก็ ไมเ่ คยมนี สิ ยั เกะกะระราน หรอื
หาเรอื่ งทะเลาะววิ าทกบั ใคร ทา่ นมนี สิ ยั ใฝใ่ นทางบญุ กศุ ล รจู้ กั การทำ� บญุ บรจิ าคทาน
ฟังเทศนฟ์ งั ธรรมมาตง้ั แต่อายุ ๑๔ ปี ท่านมคี วามอ่อนนอ้ มและเคารพเชอื่ ฟงั ผู้ใหญ่
จงึ เปน็ ทีร่ กั ใครข่ องบดิ า มารดา ญาตมิ ิตร และผเู้ ฒ่าผแู้ กใ่ นหมู่บ้าน

131

สละเพศฆราวาสเข้าสูบ่ วรพุทธศาสนา

ในสมัยที่หลวงปู่ยังเป็นเด็กนั้น ยังไม่มีโรงเรียนสอนหนังสือเหมือนสมัยน้ี
ทา่ นไดฝ้ ึกอา่ นเขยี นทง้ั ภาษาไทย และภาษาขอม จากการบวชเรียนภายในวดั

คงเป็นด้วยบุญบารมีท่ีหลวงปู่ได้รับการฝึกอบรมและสร้างสมบุญมาแต่ชาติ
ปางก่อน จิตใจของท่านจึงฝักใฝ่ในทางบุญและโน้มน�ำท่านเข้าสู่การปฏิบัติธรรม
ในพระพุทธศาสนาตัง้ แต่ยังเป็นเด็ก

เมื่อหลวงปู่อายุ ๑๙ ปี ได้ขออนุญาตบิดามารดาบวชเณรเพื่อแทนพระคุณ
ซ่ึงท่านก็ได้รับอนุญาตด้วยดี และน�ำความปลาบปล้ืมใจมาให้ผู้บังเกิดเกล้าท้ังสอง
รวมท้ังญาติผู้ใหญ่ทุกท่านต่างก็ร่วมอนุโมทนาสาธุในกุศลเจตนาของหลวงปู่ใน
คร้ังนัน้ หลวงปู่จงึ ได้บวชเณรที่วัดนาสาม บา้ นเกดิ ของทา่ นเอง

หลวงป่บู วชเณรอยู่ ๒ พรรษา ได้ศกึ ษาพระธรรมวนิ ยั และข้อวตั รปฏิบัติต่างๆ
อยู่ ๒ ปี เม่ืออายุ ๒๑ ปี ครบบวช กไ็ ดเ้ ขา้ อปุ สมบทเปน็ พระภกิ ษทุ ว่ี ดั เดยี วกนั
ในปี พ.ศ. ๒๔๖๒ ในฝา่ ยมหานกิ าย โดยมีพระครวู มิ ลศลี พรต เป็นพระอุปัชฌาย์
หลวงพอ่ เอย่ี ม เปน็ พระกรรมวาจาจารย์ และพระอาจารยส์ าม เปน็ พระอนสุ าวนาจารย์

132

ขณะที่บวชเป็นพระภิกษุอยู่ท่ีวัดบ้านเกิด ก็ได้อาศัยศึกษาด้านพระธรรมวินัย
และศีลสกิ ขาบท รวมท้งั ขอ้ วัตรปฏิบตั ิตา่ งๆ จากพระอาจารย์ที่วดั ซงึ่ กเ็ ปน็ ไปอย่าง
พืน้ ๆ แกนๆ เย่ยี งวดั ชนบททวั่ ไป หลวงปู่จ�ำพรรษาอยู่ที่นไ่ี ด้ ๓ ปี ถงึ พ.ศ. ๒๔๖๕
ก็คิดอยากจะศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรมและศึกษาพระพุทธศาสนาให้แตกฉาน
ท่านจึงตัดสินใจเดินทางเข้ากรุงเทพฯ ครั้งแรกตั้งใจจะขอพ�ำนักที่วัดสัมพันธวงศ์
(วดั เกาะ) แต่ทางวดั ไม่สามารถรับให้พ�ำนักได้ เนื่องจากกฏุ ไิ มพ่ อ แม้หลวงปจู่ ะรูส้ กึ
ผิดหวังบ้าง แต่ก็ไม่ได้ท้อถอยจากความต้องการบวชเรียนในพระพุทธศาสนาแต่
อยา่ งใด

เมือ่ หลวงปู่ไม่สามารถหาทพ่ี �ำนักจำ� พรรษาที่กรงุ เทพฯ ได้ ครัน้ จะหวนกลับวดั
บา้ นเกดิ ในตอนนน้ั กร็ สู้ กึ อาย ทา่ นจงึ ไดเ้ สาะแสวงหาทพ่ี ำ� นกั จำ� พรรษาตอ่ ไป พอดเี พอ่ื น
พระภกิ ษไุ ดช้ กั ชวนทา่ นใหไ้ ปอยจู่ ำ� พรรษาดว้ ยกนั ทจ่ี งั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ทา่ นจงึ
ตดั สนิ ใจเดนิ ทางไปจำ� พรรษาอยทู่ น่ี น่ั ในปนี นั้ เมอื่ ออกพรรษาแลว้ หลวงปไู่ ดพ้ จิ ารณา
เหน็ วา่ คงหมดโอกาสทจี่ ะเรยี นดา้ นปรยิ ตั ธิ รรมอยา่ งทตี่ งั้ ใจแนน่ อนแลว้ ทา่ นจงึ เดนิ ทาง
กลบั จงั หวดั สรุ นิ ทร์ และมาพกั จำ� พรรษาที่วัดนาสามตามเดมิ

133

พบพระกรรมฐานฝา่ ยอรัญญวาสี

การหวนกลบั จงั หวดั สรุ นิ ทรใ์ นครงั้ นน้ั อาจเปน็ ดว้ ยกศุ ลกรรมแตช่ าตปิ างกอ่ น
ทที่ า่ นเคยสรา้ งไวม้ ากกว็ า่ ได้ และกศุ ลกรรมนนั้ ไดห้ นนุ นำ� ใหท้ า่ นไดพ้ บครบู าอาจารย์
ผปู้ ฏบิ ตั ดิ ปี ฏบิ ตั ชิ อบในชาตนิ ี้ ทา่ นจงึ ไดพ้ บกบั หลวงปดู่ ลู ย์ อตโุ ล (พระราชวฒุ าจารย)์
ศษิ ย์องคส์ �ำคัญของพระอาจารยม์ ่ัน ภรู ทิ ตั ตมหาเถระ ทำ� ใหห้ ลวงปูเ่ ปลยี่ นวถิ ีชวี ติ
จากการคดิ ทจี่ ะศกึ ษาพระปรยิ ตั ธิ รรม มาเปน็ การเขา้ สกู่ ารปฏบิ ตั วิ ปิ สั สนากมั มฏั ฐาน
มงุ่ แสวงหาวมิ ุตตสิ ขุ ตอ่ ไป

ในปี พ.ศ. ๒๔๖๘ หลวงปไู่ ดท้ ราบกติ ตศิ พั ทแ์ ละปฏปิ ทาของหลวงปดู่ ลู ย์ อตโุ ล
เกดิ ความเลอื่ มใสศรทั ธา อยากจะหาโอกาสไปกราบและขอศกึ ษาธรรมะและขอ้ ปฏบิ ตั ิ
จากทา่ น ประกอบกบั ขณะนน้ั ไดท้ ราบขา่ ววา่ หลวงปดู่ ลู ยไ์ ดธ้ ดุ งคม์ าพำ� นกั ทป่ี า่ หนองเสมด็
ตำ� บลเฉนยี ง ซง่ึ อยหู่ า่ งจากวดั ทห่ี ลวงปพู่ ำ� นกั อยไู่ มถ่ งึ ๑๐ กโิ ลเมตร กม็ คี วามปตี ยิ นิ ดี
เปน็ อนั มาก จงึ ไดไ้ ปกราบนมสั การ เกดิ ความเสอ่ื มใสในปฏปิ ทาและจรยิ วตั รอนั งดงาม
ของหลวงปู่ดูลย์ ท่านจึงถวายตัวเป็นศิษย์ขอเข้ารับการอบรมพระกรรมฐานจาก
หลวงป่ดู ูลย์เป็นเบอื้ งต้น

134

หลวงปู่ดูลย์ก็แสดงความยินดีและแนะน�ำสั่งสอนเร่ืองการน่ังสมาธิภาวนา
รวมทัง้ เอาใจใสใ่ นการอบรมสง่ั สอนหลวงปสู่ ามให้เป็นผ้มู จี ติ ใจเขม้ แขง็ เดด็ เดย่ี ว

เมอ่ื ไดป้ ักใจในการปฏบิ ัติดา้ นสมาธภิ าวนาแล้ว หลวงปกู่ ็ได้บ�ำเพญ็ เพียรด้วย
ความตง้ั ใจจรงิ มจี ติ ใจมน่ั คงยง่ิ นกั เพยี งไมน่ านกส็ ามารถอบรมจติ ใจใหม้ นั่ คงอยใู่ น
สมถกรรมฐานได้ มสี มาธิลุ่มลกึ เช่อื มน่ั ในการปฏบิ ตั ิภาวนายง่ิ ขน้ึ

หลวงปสู่ ามใชค้ วามพากเพยี รฝกึ ปฏบิ ตั กิ รรมฐานตามแนวทางทไี่ ดร้ บั การสอน
จากหลวงปู่ดูลย์จนมีความเข้าใจในการควบคุมจิตและอารมณ์ ตลอดจนการบังคับ
ตดิ ตามกองลมไดเ้ ชยี่ วชาญบา้ งตามสมควร เกดิ ความเชอื่ มนั่ ในพระพทุ ธศาสนาและ
มีก�ำลังใจท่ีจะปฏิบัติธรรมอย่างมอบกายถวายชีวิตเพ่ือให้รู้แจ้งเห็นจริงในพระธรรม
ค�ำสอนของพระพทุ ธองค์ต่อไป

135

เริ่มออกเท่ยี วธดุ งคค์ รง้ั แรก

เม่ือหลวงปู่สามได้ไปกราบและฝากตัวเป็นศิษย์ศึกษาพระกรรมฐานกับ
หลวงปู่ดูลย์แล้ว ในพรรษาน้ันหลวงปู่สามได้อยู่ภาวนาจ�ำพรรษาท่ีป่าหนองเสม็ด
ทีพ่ �ำนกั ของหลวงปดู่ ลู ย์ อตุโล ในขณะน้นั สว่ นหลวงปูด่ ลู ย์ทา่ นกลบั ไปจำ� พรรษา
ทว่ี ดั นาสาม ในปนี ั้น

เมอ่ื ออกพรรษาแลว้ หลวงปสู่ ามไดพ้ จิ ารณาจติ ใจของตนเอง เหน็ วา่ มคี วามนง่ิ สงบ
เป็นสมาธิพอสมควร มีสติพอประคับประคองจิตได้ แต่ยังพิจารณาธรรมไม่เข้าใจ
ละเอียดถี่ถ้วน ท่านจึงตัดสินใจออกเท่ียวธุดงค์เพ่ือแสวงหาธรรมะภาคปฏิบัติให้
เขา้ ใจลกึ ซึ้งต่อไป

ครั้งแรกหลวงปู่ได้เริ่มทดลองออกเที่ยวธุดงค์ในบริเวณใกล้เคียง คือภายใน
จงั หวดั สรุ นิ ทรก์ อ่ น ในสมยั นนั้ ยงั มปี า่ ไมอ้ ยหู่ นาแนน่ หาทว่ี เิ วกปฏบิ ตั ภิ าวนาไดส้ ะดวก
ปา่ ไม้ยงั หนาทึบ การเดนิ ทางต้องใช้การเดินเท้าหรอื ใชเ้ กวียนเปน็ พาหนะบรรทุกของ
ยงั ไมม่ ถี นนหนทางทสี่ ะดวกสบายเหมอื นเชน่ ปจั จบุ นั ผคู้ นกม็ ไี มม่ าก สว่ นใหญจ่ ะอยู่
เป็นหมู่บา้ นป่าซึ่งเป็นหมบู่ า้ นเล็กๆ อยกู่ ระจายหา่ งๆ กนั ออกไป

ในช่วงการทดลองเดนิ ธุดงคน์ ี้ หลวงปูไ่ ดไ้ ปปักกลดภาวนาอยู่ท่ีเขาพนมสวาย
ซง่ึ เปน็ หมเู่ ขาเตยี้ ๆ อยหู่ า่ งจากวดั นาสาม ทห่ี ลวงปพู่ ำ� นกั อยไู่ ปทางตะวนั ตกประมาณ
๑๐ กโิ ลเมตร จะเหน็ ได้

136

ภูเขาพนมสวายแห่งนี้ถือเป็นเขาคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดสุรินทร์ ที่บนเขามี
มณฑปและพระพุทธบาทจ�ำลองเป็นท่ีเคารพสักการะของชาวจังหวัดสุรินทร์ และ
จังหวัดใกล้เคียง มีงานประเพณีขึ้นเขาพนมสวายและนมัสการพระพุทธบาทจ�ำลอง
เป็นประจ�ำทุกปีในช่วงเทศกาลสงกรานต์ จัดว่าเป็นงานบุญที่ย่ิงใหญ่งานหนึ่ง
มปี ระชาชนจากท่ีใกลไ้ กลหล่ังไหลไปร่วมงานอย่างคับคง่ั ทุกปี

ในสมยั ของหลวงปู่ บรเิ วณเขาพนมสวายเปน็ ปา่ รกชฎั มีหมูบ่ ้านอย่ไู มห่ ่างไกล
พอจะเดินบิณฑบาตได้ไม่ล�ำบากนัก จึงนับเป็นท่ีสัปปายะต่อการปักกลดธุดงค์พอ
สมควร

หลวงปู่ดูลย์ก็เคยมาตั้งส�ำนักปฏิบัติธรรมท่ีภูเขาพนมสวายแห่งน้ี เมื่อครั้ง
หลวงปดู่ ลู ยม์ รณภาพ กไ็ ดต้ งั้ เมรพุ ระราชทานเพลงิ ศพของทา่ นทบ่ี รเิ วณเขาพนมสวาย
แห่งนี้เช่นกัน ปัจจุบันสถานที่แห่งน้ีเป็นสถานท่ีเคารพสักการะเพ่ือระลึกถึงหลวงปู่
ดลู ย์ อตุโล แห่งหน่งึ ดว้ ย

พูดถึงประชาชนชาวบ้านแถบเขาพนมสวาย ในคร้ังท่ีหลวงปู่สามมาปักกลด
ธุดงคน์ น้ั มกี ารนบั ถือเรือ่ งภูตผปี ีศาจกันมาก มีการบนบานกราบไหว้ผีบา้ นผีเรอื น
กราบไหวว้ ิญญาณในศาลประจำ� หม่บู ้าน ตลอดจนวิญญาณที่สิงสถติ อยตู่ ามสถานที่
ต่างๆ ซง่ึ การนบั ถือผนี เ้ี ป็นเร่อื งท่ีฝงั อยใู่ นจติ ใจของประชาชนทั่วไป ยากทจ่ี ะขจดั ให้
หมดลงได้

วันแรกที่หลวงปู่ไปปัดกลดน้ัน ท่านต้องเผชิญกับความยากล�ำบากในเรื่อง
อาหารการฉัน เพราะชาวบ้านต่างเห็นพระธุดงค์เป็นเรื่องแปลกใหม่ส�ำหรับพวกเขา
การบิณฑบาตของหลวงปู่ในวันแรกจึงไม่มีใครตักบาตรท่านเลย ในวันนั้นท่านจึง
ไมไ่ ดฉ้ นั ขา้ วเลย ตอ้ งฉนั นำ�้ เปลา่ ๆ พอดบั ทกุ ขเวทนาไปไดบ้ า้ ง แตห่ าไดเ้ ปน็ อปุ สรรค
ตอ่ การปฏบิ ตั ธิ รรมของทา่ นไม่ ตรงกนั ขา้ ม ทา่ นกลบั มมี านะพากเพยี รทจ่ี ะปฏบิ ตั ธิ รรม
ให้ย่ิงๆ ขน้ึ ไป

137

เช้าวันต่อมาได้มีชาวบ้านบางคนเอาข้าวเหนียวและน�้ำปลากับพริกมาใส่บาตร
ท่านจึงมีอาหารฉันพอให้ร่างกายด�ำรงอยู่ได้ สามารถปฏิบัติธรรมและบ�ำเพ็ญเพียร
ต่อไป วันต่อๆ มาก็มีชาวบ้านมาใส่บาตรกันมากขึ้น ท่านก็ได้แผ่เมตตาจิตให้กับ
ชาวบา้ นทกุ วนั ไมช่ า้ ชาวบา้ นแถบนน้ั กม็ คี วามเขา้ ใจและคนุ้ เคยกบั ทา่ น มผี มู้ าขอธรรมะ
และฝึกภาวนาอย่กู ับหลวงปู่มากพอสมควร

หลวงปไู่ ดพ้ ำ� นกั ปกั กลดอยทู่ เ่ี ขาพนมสวายนานพอสมควร ไดอ้ บรมชาวบา้ นให้
มคี วามเลือ่ มใสในพระรัตนตรัย หลายคนไดป้ ฏบิ ตั ธิ รรมภาวนาจนจิตสงบเปน็ สมาธิ
พอเหน็ แนวทางและเกดิ กำ� ลงั ใจทจ่ี ะบำ� เพญ็ ภาวนายง่ิ ๆ ขนึ้ ไปแลว้ หลวงปกู่ อ็ อกจาก
ทน่ี นั่ ไปตง้ั สำ� นกั ปฏบิ ตั ธิ รรมทบ่ี า้ นถนน ซง่ึ อยใู่ นเขตตำ� บลเฉนยี ง ตำ� บลใกลเ้ คยี งกนั
น่นั เอง ท่านไดพ้ ำ� นกั ปฏิบตั ธิ รรมและอบรมสั่งสอนประชาชนทีน่ ัน่ อยู่ ๒ เดอื นกวา่ ๆ
เหน็ วา่ ชาวบา้ นมคี วามเลอ่ื มใสและเขา้ ใจแนวทางปฏบิ ตั ใิ นพระพทุ ธศาสนาพอสมควร
แล้ว ทา่ นจงึ ไดย้ า้ ยไปบ�ำเพญ็ เพยี รทอ่ี ื่นตอ่ ไป

138

มงุ่ แสวงหา

หลวงปสู่ ามยงั คงแวะเวยี นไปขอคำ� แนะนำ� จากหลวงปดู่ ลู ยอ์ ยเู่ นอื งๆ หลวงปดู่ ลู ย์
เห็นปฏิปทาและความตั้งใจจริงของหลวงปู่สาม จึงได้เมตตาให้ค�ำแนะน�ำส่ังสอนมา
เป็นอยา่ งดี

หลวงปู่ดูลย์ได้ให้การฝึกสอนอบรมทางด้านพระวินัยและการปฏิบัติในสมถะ
เบอื้ งตน้ แห่งวิปสั สนากรรมฐานให้แก่หลวงป่สู าม ตามแนววธิ ที ่ีทา่ นเคยได้รบั มาจาก
หลวงปู่ม่ัน ภูริทัตโต พระอาจารย์ใหญ่ ซ่ึงวิธีการน้ีนับว่าตรงกับความสนใจของ
หลวงปู่สามเป็นอย่างมาก ได้เกิดก�ำลังใจที่จะเอาจริงเอาจังในการปฏิบัติไปสู่ความ
หลุดพน้ ต่อไป

หลวงปู่สามได้เริ่มพากเพียรพยายามฝึกปฏิบัติภาวนาตามแนวทางท่ีได้รับจาก
หลวงปดู่ ลู ย์ จนมคี วามพอใจในการควบคมุ จติ และอารมณ์ ตลอดจนการบงั คบั ตดิ ตาม
กองลมไดเ้ ช่ยี วชาญบา้ งตามสมควร

หลวงปู่ดูลย์ได้พิจารณาเห็นปฏิปทาและศรัทธาแรงกล้าของหลวงปู่สามในการ
ปฏิบัติธรรมทางด้านวิปัสสนากรรมฐานอย่างจริงจัง จึงได้แนะน�ำหลวงปู่สามให้
เดินทางไปศึกษาทางดา้ นปฏิบตั จิ ากหลวงปมู่ น่ั ภูริทัตโต พระอาจารย์ใหญ่ เพอื่ ให้
มีความชำ� นาญ คล่องแคล่ว ลมุ่ ลกึ และเฉียบคม ในการบำ� เพญ็ ภาวนาเพอื่ มุ่งตรงสู่

139


Click to View FlipBook Version