The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปัญญาปทีปธรรม เล่ม 1 หลวงปู่เปลี่ยน ปัญญาปทีโป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-26 20:58:59

ปัญญาปทีปธรรม เล่ม 1 หลวงปู่เปลี่ยน ปัญญาปทีโป

ปัญญาปทีปธรรม เล่ม 1 หลวงปู่เปลี่ยน ปัญญาปทีโป

Keywords: ปัญญาปทีปธรรม เล่ม 1,หลวงปู่เปลี่ยน

ก า ร ล ะ ม า น ะ ทิ ฏ ฐิ

นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ุทฺธสฺส
นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพทุ ธฺ สสฺ
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทธฺ สฺส

นวิ าโต จ มาน

ณ บัดนี้ ขอเจริญพรท่านสาธุชนทั้งหลาย ที่ได้มาพรักพร้อมกันในสถานท่ีนี้ ก็
ขอให้พากนั ตงั้ จติ ต้ังใจฟงั พระธรรมเทศนาด้วยดี การฟงั เทศนฟ์ งั ธรรมดว้ ยดีน้ันยอ่ มเกดิ
ปัญญา เหตุฉะน้ัน คณะศรัทธาญาติโยมท้ังหลาย ทุกคนมีความต้ังใจใฝ่หาความสุข
ความสงบให้เกิดขึ้นแก่ตนเอง เพราะความปรารถนาของคนในโลกน้ี มีความรักคือ
ความสุข เกลียดความทุกข์ด้วยกันทั้งนั้น แม้สัตว์เดรัจฉานก็เช่นเดียวกัน เหตุฉะนั้น
พวกเราท่ีเป็นมนุษย์มีจิตสูงกว่าสัตว์ท้ังหลายนั้น ก็ควรให้ศึกษาว่าชีวิตของเรานั้นได้เกิด
ขึ้นมาแล้ว จุดมงุ่ หมายคอื ต้องการมีความสขุ นน้ั ทกุ คนจะทำ�กนั อย่างไร

เพราะเหตุว่าในปัจจุบันนี้ คนเราทุกคนส่วนมากแล้วจะเห็นแก่ตัวเป็นส่วนใหญ่
ไม่เห็นแกส่ ว่ นรวม ในจดุ น้เี อง คนท่ีไม่เขา้ ใจดตู นเองใหเ้ ขา้ ใจชดั คนนนั้ อยากจะมองแต่
คนอื่น เห็นแต่คนอน่ื มีทางผดิ ทัง้ น้นั แตต่ นเองไมไ่ ดด้ ูวา่ ตนเองนเ้ี ปน็ อย่างไร การเทศนา
ในวันนี้น้ัน อาตมภาพจะบรรยายขยายเนื้อความธรรมะ ศาสนธรรมคำ�สั่งสอนขององค์
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงช้ีแจงแสดงไว้ ตามพระบาลีท่ีได้ยกขึ้นไว้ในเบื้องต้นนั้น
วา่ นิวาโต จ มาน

52 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

การท่ีบุคคลเราได้เกิดข้ึนมาอยู่ร่วมกันในโลกน้ีนั้น มีความมุ่งหวังอยากได้รับซ่ึง
คุณงามความดีและมีความสุข แต่ทุกคนนั้นไม่เข้าใจว่าจะปฏิบัติกันอย่างไร ให้ได้รับ
ความสุขความสงบอันแท้จริงดังปรารถนา องค์สมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า
ของเราจึงได้ชี้แจงแสดงไว้ให้พวกเราท่านทั้งหลาย ให้มาดูตนเองว่าตนเองนี้ต้ังอยู่ใน
คุณงามความดีไหม มจี ิตใจอ่อนนอ้ มถ่อมตวั ไหม ลดมานะทิฏฐิของตนเองลงใหอ้ ่อนน้อม
สมควรท่ีจะรับซึง่ กระแสธรรมไหม ในขอ้ นเี้ องเปน็ สงิ่ ทส่ี �ำ คญั เหตฉุ ะนน้ั ภาษิตท่ไี ดย้ ก
ไว้น้ัน พระพุทธองค์ทรงอยากให้เราปฏิบัติฝึกหัดตนเอง เพ่ือจะให้ได้รับซ่ึงความดีท่ี
เกิดขึ้นในตนเองนั้น ภาษิตท่ียกไว้น้ันหมายความว่า คนเราท่ีได้เกิดมานั้น จะเป็นหญิง
เป็นชายก็ดี ชาติใดภาษาใดก็ตาม หากทุกคนมีความพากเพียรพยายามทำ�ตนเองให้
กายต่ำ� วาจาต�ำ่ คำ�ว่า กายต่�ำ วาจาตำ่� คอื การออ่ นนอ้ มถ่อมตัว เป็นสิง่ ส�ำ คญั คนเรา
ส่วนมากแล้วมีกายแข็งกระด้าง วาจาแข็งกระด้าง มันไม่อ่อนน้อมถ่อมตัว ท่านเรียกว่า
มีมานะทิฏฐิเกิดข้ึนแก่บุคคลท้ังหลาย ฉะนั้น มานะทิฏฐิจึงเป็นส่ิงท่ีสำ�คัญอันทำ�ให้
บุคคลอยู่รว่ มกันไมไ่ ด้ ไมม่ คี วามผาสกุ เกดิ ขนึ้ เปน็ ขอ้ ส�ำ คญั มาก

มานะจะเกิดข้ึนได้อย่างไรนั้น องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า มานะ
เกิดขนึ้ จาก

๑. ถอื ชาติ
๒. ตระกลู
๓. ยศ
๔. บริวาร
๕. ไม่เข้าคบหานกั ปราชญร์ าชบณั ฑิตเมธีผ้มู ปี ัญญา
ถ้าหากมานะทิฏฐิเกิดขึ้นมาแล้ว จะทำ�ให้คนน้ันมีกายแข็งกระด้าง วาจา
แข็งกระด้าง ไม่อ่อนน้อมถ่อมตัวแก่บุคคลผู้ใด ทั้งกายและท้ังวาจา อันน้ีแลจึงเป็นเหตุ
สำ�คัญที่ทำ�ให้พวกเราซ่ึงอยู่ร่วมกันน้ันไม่ได้รับความผาสุก เราคิดดูอย่างน้ี เหตุฉะน้ัน
พระผมู้ ีพระภาคเจ้าจงึ ตรสั สอนใหพ้ วกเรานม้ี าออ่ นนอ้ มดว้ ยกาย คอื ทำ�กายต�่ำ

ก า ร ล ะ ม า น ะ ทิ ฏ ฐิ 53

ค�ำ วา่ อ่อนนอ้ มดว้ ยกายนน้ั ทำ�อย่างไร
ด้วยความเคารพอ่อนน้อม ตามจารีตประเพณีของคนไทยของพวกเราชาวพุทธ
ตามศีลาจารวัตร หรือ จริยาณธรรม เมื่อพบกันแล้วมีความน้อมตัวหรือยกมือไหว้
โนม้ ตัวต่อกนั และกนั ยอมรับความดีตอ่ กนั โดยนอ้ มกายหรอื นอ้ มศีรษะน้นั อย่างหนึง่
น้อมวาจานน้ั ต่�ำ วาจาอยา่ งไร
คือ พูดจาปราศรัยคำ�ไพเราะเสนาะหู อ่อนหวานไม่หยาบคาย พูดกับบิดา
มารดาของตนเองก็ดี ครูบาอาจารย์ก็เหมือนกัน อุปัชฌาย์ท้ังหลายผู้ประสิทธิ์ประสาท
คุณงามความดีให้แก่ตนเอง การพูดจาปราศรัยด้วยความอ่อนน้อม ด้วยความนุ่มนวล
และไพเราะ เชน่ น้ีเรียกวา่ ต่ำ�วาจา ไมแ่ ข็งกระด้าง อนั นี้เป็นคุณงามความดีทีท่ ุกคนจะ
พากันประพฤติปฏิบัติ พระพุทธองค์จึงตรัสไว้ว่า ให้เหมือนกับงูท่ีมีพิษ ฟันมันจะหลุด
ออกแล้ว ไม่มีความกลา้ หาญอะไร เพราะฟนั ท่ีมีพษิ มันจะหลุดออกไป คนทุกคนก็ควรที่
จะท�ำ ตนเองใหม้ ีความออ่ นน้อมอย่างนั้น เรียกวา่ ทนจำ�ยอม หรือเหมอื นพญาครฑุ ท่ีบนิ
ได้ว่องไวแข็งแกร่ง มีอิทธิฤทธิ์ พญาครุฑนั้นเมื่อปีกหักแล้วไม่สามารถจะแสดงฤทธ์ิของ
ตนเอง เพราะไม่มีปีกที่แข็งแรงเหมือนอย่างเดิม อันน้ีฉันใดก็ดี พวกเราท่านท้ังหลาย
ส่วนมากแล้วมักจะมีมานะเกิดข้ึน จึงทำ�ลายซ่ึงกันและกัน แก่งแย่งกัน ดูถูกเหยียบยำ่�
กนั มันก็เลยไม่มีความสุขความสบายในปัจจบุ นั น้ี
ค�ำ วา่ มานะจะเกดิ ขึน้ เพราะชาติตระกูลนนั้ คอื อะไร
หากเราเกิดในชาติตระกลู สงู ตัง้ แตเ่ ป็นกษตั รยิ ์เหมือนประเทศอินเดีย หรอื เป็น
พราหมณ์ เป็นแพศย์ เป็นศูทร ตามลำ�ดับ อันน้ีคนท่ีไปเกิดในชาติท่ีสูง ตระกูลท่ีสูง
ทำ�ให้ตนเองมีมานะเกิดข้ึนว่าตนเองยิ่งใหญ่ เรียงอำ�นาจของตนเอง เป็นอย่างน้ี เป็น
ของทีส่ ำ�คัญ เมือ่ เหน็ คนที่ต�ำ่ ต้อยกว่าตนเอง ตระกลู ต่ำ� กเ็ หยยี บย�ำ่ ไมม่ ีความลดมานะ
ลงได้ เกดิ ขน้ึ มาไดอ้ ยา่ งนเี้ พราะชาตเิ พราะตระกลู ของคน ในปจั จบุ นั นก้ี เ็ หมอื นกนั พวก
เราทา่ นท้ังหลายทเี่ ป็นคณะศรัทธาญาตโิ ยมอยใู่ นสถานทนี่ ้ี บางคนกม็ ่งั มี เป็นคนตระกูล

54 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

สูง รำ่�รวยทรพั ย์สมบัตทิ งั้ หลาย แตบ่ างคนก็ทุกข์จน แต่คนทม่ี ่ังมี มีตระกลู ร�่ำ รวยด้วย
สมบัติท้ังหลายนั้น ก็ย่อมให้ตนเองเกิดมีมานะขึ้นได้ ใครตำ่�ๆ มาพูดจาปราศรัยอะไร
ตา่ งๆ แล้ว คงจะดถู กู เขาวา่ เราน้ตี ระกูลสงู ร�ำ่ รวย มั่งมี มาพดู ใหเ้ ราอย่างน้นั อย่างนี้
ไม่ยอม มีจิตมานะเกิดข้ึน นี้เป็นสิ่งท่ีสำ�คัญ เม่ือมานะเกิดข้ึนมาอย่างนี้แหละ มันจึง
มีเร่ืองมีราว ไม่ถูกต้องปรองดองกัน ไม่สามัคคีกันเกิดขึ้น ทำ�ให้มีความวุ่นวาย เพราะ
ตนเองมีมานะ เปน็ เหตุทีจ่ ะท�ำ ลายซ่งึ กันและกนั ได้ง่ายๆ ในปัจจบุ ันนี้ เราเห็นได้ชดั น้ี
อย่างหนึ่ง

อีกอย่างหนง่ึ มานะจะเกิดขึน้ ได้นน้ั ด้วยยศถาบรรดาศักด์ิ
เป็นสิ่งที่สำ�คัญมาก เร่ืองยศ เร่ืองตำ�แหน่งท่ีบุคคลได้รับตำ�แหน่งมาแล้ว แม้
ทางฝ่ายต�ำ รวจ ทหารกด็ ีทกุ เหล่า หรือหนว่ ยงานในกระทรวงตา่ งๆ ข้าราชการงานเมอื ง
ทงั้ หลาย หา้ งรา้ น บรษิ ทั ธนาคาร ต�ำ แหน่งทต่ี ง้ั ให้กนั เกิดขึน้ วา่ คนนนั้ คนนี้มตี ำ�แหนง่ นั้น
ตำ�แหน่งนี้ ยศน้ันยศนี้ ก็เลยมีมานะเกิดขึ้นว่าตนเองนี้ใหญ่ เป็นส่ิงที่สำ�คัญ เม่ือเรียง
ตั้งแต่อำ�นาจ มีมานะยิ่งใหญ่อย่างนั้น ก็ทำ�ให้ในหน่วยงานต่างๆ น้ันแตกสามัคคีกัน
ไม่ปรองดองกัน เพราะไม่อ่อนน้อมหันหน้าเข้าหากัน ทุกคนก็ว่าตนเองดี เพราะมี
มานะนเ้ี ป็นสิง่ ส�ำ คัญ ยศถาบรรดาศกั ดิ์ของคนทัง้ หลาย คดิ ดูซิ
คณะศรทั ธาญาตโิ ยมทั้งหลายน้ัน ดูข้าราชการ ทหาร ตำ�รวจ เขาเรยี งอำ�นาจกัน
มีมานะ จะมีดาวหรือเคร่ืองหมายอะไรต่างๆ อยู่บนบ่าน้ัน แสดงตนเองด้วยความ
ลุ่มหลง มีมานะขม่ ขูค่ นอื่นอย่างเต็มท่ี เป็นอยา่ งน้ี มานะเกดิ ข้นึ ด้วยยศ
แมเ้ ปน็ ภกิ ษสุ ามเณรกด็ ี บวชอยู่ในบวรพระพุทธศาสนา พระมหากษัตริย์ทรงให้
ยศถาบรรดาศักด์ิ ตั้งแตพ่ ระครูข้ึนไปจนถงึ เจ้าคุณ พระราชาคณะข้ึนไป ชั้นราช ช้นั เทพ
ชั้นธรรม ชั้นพรหม และสมเด็จ จนถึงสมเด็จพระมหาสังฆราชเจ้า ถ้าหากว่าไม่เจริญ
เมตตาภาวนา หรือดูรู้ส่ิงเหล่านี้ให้เข้าใจแล้วจะเกิดมานะขึ้นได้ ตัวผู้เทศน์น่ีก็เคยได้พบ
แตก่ ไ็ มถ่ ึงชน้ั ผ้ใู หญ่ผโู้ ตจนถึงเป็นสมเด็จ ใต้ระดบั ลงมา เมื่อหากเดนิ ไปทไี่ หน คณะศรทั ธา
ถามวา่ ทา่ นมาจากทีไ่ หน อา้ ว...โยมไม่รู้จกั หรอื อาตมาเปน็ พระเทพ พระธรรม ชัน้ น้นั

ก า ร ล ะ ม า น ะ ทิ ฏ ฐิ 55

ชนั้ นี้ น่ี พูดขนึ้ มาอยา่ งน้ีเลย สำ�หรบั พระมาเดนิ ใกล้ไม่ได้ มานั่งใกลไ้ ม่ได้ ขู่เขา มานะ
เกิดข้ึน หลง อันน้ีเป็นสิ่งที่สำ�คัญ เหตุฉะนั้น พระพุทธองค์จึงทรงให้มาทำ�ความเข้าใจ
ว่า มานะมนั เกิดขน้ึ มาได้ด้วยยศ

บัดนี้ มานะจะเกดิ ขึ้นดว้ ยบริวารอย่างไร
บคุ คลทง้ั หลายท่ีมบี ริวารมาก ย่อมจะว่าตนเองนีม้ หี มู่มเี พื่อนฝูงมาก ไมก่ ลัวใคร
ทั้งร่างกายและการพูดจาปราศรัยแข็งกระด้างเกิดข้ึน อันน้ีมานะก็เกิดข้ึนอีกอย่างหน่ึง
อันนี้แลที่ทำ�ให้บ้านเมืองไม่มีความสุขความสงบเกิดขึ้นเพราะมานะ เขารบราฆ่าฟัน
กันอยู่ ไมม่ ีความผาสุก วุ่นวายอยใู่ นปจั จบุ นั นี้ เพราะคนมีมานะเกดิ ข้นึ จากบรวิ าร เรา
คิดดูซิ ถ้าหากเป็นภิกษุสามเณรก็ดี ผู้ท่ีประพฤติปฏิบัติหรืออยู่ในวัดวาอารามใด หาก
มีคณะศรัทธาญาติโยมหลั่งไหลเข้าไปหามากๆ หรือได้เข้ามาในเมือง เข้าในสถานท่ีที่
มีฐานะสูง เข้าไปหาญาติโยมเจ้านายช้ันผู้ใหญ่ ย่อมหลงตนเอง มีมานะ แม้เป็นภิกษุ
สามเณรก็ดี ตัวผู้เทศน์น้ีพบมาแล้ว เห็นมาแล้ว หลงตนเอง เพ่ิงบวชไม่ก่ีพรรษาก็ยัง
หลงมีมานะทิฏฐิ แต่ญาติโยมไม่ได้เป็นนักปฏิบัติผู้เฉลียวฉลาดในการทางภิกษุสามเณร
ทางพระพทุ ธศาสนา กย็ ่อมจะไม่เข้าใจว่าภิกษุมมี านะขึน้ มาไดอ้ ยา่ งไร
อันนี้แหละ พวกเราท่านทั้งหลายควรพินิจพิจารณาให้เข้าใจว่า มานะนี้เกิดขึ้น
อย่างนี้ มีความเห็นผิดจากทำ�นองคลองธรรมทางพระพุทธศาสนา เหตุฉะน้ัน เราจึง
กล่าวว่าเป็นโมหะ โมหะคือความหลง เห็นผิดจากทำ�นองคลองธรรมคำ�สั่งสอนของ
พระพุทธองค์ตรัสไว้ นี่มันหลงอยู่ตรงนี้ เมื่อมีความหลงอยู่อย่างนี้แล จึงทำ�ให้ไม่มี
ความผาสกุ เราทา่ นทงั้ หลายอย่ดู ้วยกนั หนั หน้าเข้าหากันไม่ได้ ออ่ นนอ้ มถ่อมตวั ต่อกัน
ไม่ได้ พระพุทธองค์ท่านทรงอยากใหเ้ รานล้ี ะมานะใหอ้ อกจากดวงใจของเราไป เหตฉุ ะนั้น
เมื่อมานะจติ เกิดขน้ึ แล้วอย่างนี้ ทฏิ ฐกิ เ็ กิดตามขน้ึ มา
คำ�ว่ามานะทิฏฐิเป็นกิเลสท่ีตัวใหญ่มหาศาลมากเลยทีเดียวในหัวใจของมนุษย์
และสัตว์ทั้งหลายในโลกน้ี ถ้าเปรียบเทียบแล้วก็เหมือนเราแบกของหนักไว้บนบ่าตลอด
ไมป่ ลดเปลื้องออกจากบ่าของตนเอง

56 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

ก า ร ล ะ ม า น ะ ทิ ฏ ฐิ 57

ทิฏฐนิ น้ั พระพทุ ธองค์ตรัสไว้มี ๒ อย่าง
หนึ่ง สัสสตทิฏฐิ คือความเห็นว่าตายแล้วเกิด ก็น่าท่ีจะถูกต้อง ถ้าคนฟังเผินๆ
ตายแล้วเกิด แต่ความเห็นของบุคคลที่เห็นผิดน้ันว่า มนุษย์เรานี่เกิดขึ้นมาแล้ว ตายไป
มันก็ต้องมาเกิดเป็นมนุษย์อยู่น่ัน ไม่ผันแปรไปที่ไหน ไม่เปล่ียนแปลงไปเป็นอ่ืน ตาย
ชาติใดภพใดก็ต้องเป็นมนุษย์อยู่นั่นแหละ นี่มันเป็นอย่างน้ี มันเห็นผิด แต่คนดูแล้ว
คดิ วา่ ไม่เห็นผิด คิดดูให้ถ่ีถ้วน อยา่ งนี้คนเราเกิดขึ้นมาเป็นคนรวยก็ย่อมรวยอยอู่ ย่างนั้น
คนจนก็ต้องจนอยู่อย่างน้ัน ไปเกิดชาติใดก็ต้องจนอยู่อย่างเดิม คนรวยก็ต้องรวยอยู่
อย่างเดิม มีความเห็นผิดอยู่อย่างน้ี ทีน้ี คนช่ัวเม่ือตายไปแล้วก็มาเกิดเป็นคนชั่วอยู่
อย่างนั้นแหละ คนดีตายไปแล้วก็มาเกิดเป็นคนดีอยู่นั่นแหละ เราคิดอย่างน้ี มันยังไม่
ดแี ท้
เมื่อมันเกิดแล้วมันเปล่ียนแปลงไปได้ เขาไม่เข้าใจในความเปล่ียนแปลงของ
มนุษย์ท้ังหลาย แม้สัตว์เดรัจฉานก็เหมือนกัน เราคิดว่าสัตว์เดรัจฉานต่างๆ มันเป็น
สัตว์ เม่ือตายไปแล้วมันก็ไปเกิดเป็นสัตว์อยู่อย่างเดิม มันไม่เปล่ียนแปลงไปเป็นภพชาติ
อยา่ งอนื่ ได้ อันนแ้ี หละเป็นส่งิ ทสี่ ำ�คัญมาก
เหตฉุ ะน้ัน เมอื่ มนั เป็นเช่นนแ้ี ลว้ คนกย็ อ่ มหลง องค์สมเดจ็ พระผ้มู ีพระภาคเจ้า
อยากจะให้พวกเรานั้น โอปนยิโก น้อมเข้ามาพิจารณาว่า ทิฏฐิน้ันมีความเกิดขึ้นแล้ว
อย่างนี้แก่ตนเองไหม ถ้าทิฏฐิมันเกิดข้ึนมาอย่างน้ีแล้ว เราควรที่จะได้แก้ไขอย่างไร น้ี
อย่างหนงึ่
ทีนข้ี ้อท่สี องนน้ั อุจเฉททฏิ ฐิ ค�ำ ว่า อจุ เฉททฏิ ฐิ ตายแล้วขาดสญู ขอ้ น้เี ป็นปญั หา
อันย่ิงใหญ่เลยทีเดียว ความเห็นของบุคคลในปัจจุบันน้ีตกอยู่ในข้อน้ีมากมายเลยทีเดียว
ว่า คนเรานี้เกิดข้ึนมาแล้วเมื่อตายไปแล้วไม่ได้มาเกิดอีก สูญเปล่า ไม่มีมาเกิดอีก สัตว์
เดรัจฉานก็เหมือนกัน ตายไปแล้วก็สูญเปล่าไม่มาเกิดอีก ความเห็นอันน้ีแหละเห็นผิด
หนักมากเลยทีเดียว ถ้าหากคณะศรัทธาญาติโยมท้ังหลาย มีความเห็นเช่นน้ีเกิดข้ึนแก่

58 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

ตนเองแล้ววา่ บุญไมม่ ี บาปก็ไม่มี นรกไม่มี สวรรคไ์ ม่มี คุณบิดามารดาไมม่ ี คุณครูบา
อาจารย์อุปัชฌาย์ไม่มี เขาเห็นอย่างนี้ ไม่มีประโยชน์อะไร ทำ�บุญไม่ได้บุญ ทำ�บาป
ไม่ได้บาป ไม่มีประโยชน์ สงเคราะห์คนอะไรมันก็ไม่มีประโยชน์ ถ้ามีความเห็นอย่างนี้
เรียกว่า อุจเฉททิฏฐิ ความเห็นผิดว่าตายแล้วขาดสูญ ข้อนี้แลจึงเป็นส่ิงท่ีสำ�คัญ ทำ�ให้
โลกในปัจจุบนั นเี้ ผาผลาญ เดอื ดร้อนวนุ่ วาย ไม่มีความสขุ ความเหน็ ข้อน้เี ป็นสิ่งทส่ี ำ�คญั

เหตุน้ัน คณะศรัทธาญาติโยมทั้งหลาย ควรมาพิจารณาให้เข้าใจด้วยว่า เม่ือ
คนเห็นผิดแล้วอย่างนี้ คนเกิดมาแล้วตายแล้วขาดสูญ เขาจะสามารถทำ�ความชั่วด้วย
กาย วาจา ใจของเขาอย่างไม่ละอายต่อบาป ไม่เกรงกลัวต่อบาปอะไรเลย เพราะเขา
ไมร่ ู้บาป บุญ คณุ โทษ ประโยชน์หรอื มใิ ชป่ ระโยชน์ ไม่รบู้ ุญคณุ บดิ ามารดา กท็ ำ�ลาย
บิดามารดาได้ ฆ่าได้ ครูบาอาจารย์ของตนเองก็สามารถทำ�ลายได้ แม้อุปัชฌาย์ผู้บวช
ใหใ้ นพระพุทธศาสนา ภกิ ษสุ ามเณรก็ยังท�ำ ลายกนั ไดเ้ พราะมาหลงอยู่ น้เี ปน็ อจุ เฉททิฏฐิ
ตายแล้วขาดสูญ เรียกว่า คนไม่กลัวบาป ไม่สะดุ้งกลัวบาปที่จะติดตามตนเองอะไร
นรกมันก็ไม่มี สวรรค์ก็ไม่มี นิพพานก็ไม่มี เขาเห็นอย่างนี้เขาจึงสามารถทำ�แต่ความชั่ว
กรรมอนั เป็นบาป มอื เปอ้ื นไปด้วยโลหติ จิตใจกค็ ิดไปในทางท่ตี ำ�่ อยู่ตลอด ในปจั จบุ ันน้ี
จึงมีความทุกข์ความเดอื ดรอ้ น กข็ อให้คณะศรัทธาญาตโิ ยมท้งั หลายมาท�ำ ความเข้าใจวา่
ความเห็นผิดในข้อนี้เป็นภัยอันยิ่งใหญ่ในปัจจุบันนี้ จะชาติใดภาษาใดก็ดี เขามีการ
รบราฆ่าฟันกันอยู่ บ้านเมืองไม่มีความผาสุกน้ัน ก็เพราะมีความเห็นผิดจากทำ�นอง
คลองธรรมคำ�สั่งสอนของพระพทุ ธองค์ตรัสไว้น่นั เอง

เหตุฉะนัน้ มานะทฏิ ฐนิ ้ี ปุถชุ นคนเราไม่ว่าจะเปน็ ภิกษุสามเณรก็ดี หรอื อบุ าสก
อุบาสกิ า คณะศรัทธาญาติโยมทง้ั หลาย ไมม่ คี วามสามารถทจ่ี ะละใหข้ าดจากจิตตสนั ดาน
ได้ก็ยอ่ มยังมีอยู่ แต่เราจะให้บรรเทาเบาบางลงไป ผทู้ ี่จะตัดขาดไดน้ น้ั ตอ้ งได้สำ�เรจ็ เปน็
พระอรหันต์ จึงจะตัดมานะทิฏฐิให้ขาดกระเด็นออกจากดวงใจได้สิ้นเชิง พระอริยเจ้า
ช้ันสุดทา้ ยจงึ เป็นผ้ลู ะได้จริงๆ

ก า ร ล ะ ม า น ะ ทิ ฏ ฐิ 59

ฉะน้นั มานะทิฏฐิ จึงเปน็ กิเลส เปน็ ภัย เป็นอสรพิษอนั ยง่ิ ใหญ่เลยทีเดยี ว
คณะศรทั ธาญาตโิ ยมทัง้ หลาย เม่อื เรามารมู้ าเขา้ ใจอยา่ งนี้ เราควรทจ่ี ะปรับปรงุ
ตนเองใหไ้ ปตามท�ำ นองคลองธรรมค�ำ ส่งั สอนของพระพทุ ธเจ้า เม่ือจะลดมานะทิฏฐลิ งไป
เราเกิดแม้จะชาติตระกูลสูงก็ตาม มียศสูงก็ตาม มีบริวารมากก็ตาม เราควรท่ีจะเข้าหา
นักปราชญ์ราชบัณฑิตเมธีผู้มีปัญญาเฉลียวฉลาดในทางธรรม เพราะจะใช้ธรรมะเท่าน้ัน
เป็นเคร่ืองสกัดกั้น หรือเป็นเคร่ืองลดละ เป็นเคร่ืองทำ�ความสะอาด ละมานะทิฏฐินี้
ออกจากดวงใจของพวกเราใหม้ นั ออ่ นน้อมถ่อมตัวลงไป
ในสมัยหน่ึงคร้ังพุทธกาลโน้น พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ในพระพุทธศาสนา พระ
อุบาลีทา่ นวา่ การที่บคุ คลทจ่ี ะเขา้ ไปในสถานทีใ่ ดในสงคราม คำ�ว่าเข้าในสงครามก็เหมือน
พวกเราท่านท้ังหลายท่ีมาน่ังอยู่ด้วยกันนี้ หรือไปในที่ประชุม ประชุมสงฆ์ก็ดี ประชุม
ข้าราชการงานเมืองก็ดี ต้องทำ�ตนเองน้ันให้อ่อนน้อมถ่อมตัว เหมือนกับผ้าเช็ดเท้า
คิดดูซิ พระอริยเจ้าท่านท�ำ อยา่ งนัน้ ออ่ นน้อมถอ่ มตวั เองดว้ ยกาย เม่อื เดินไปกด็ ี เวลา
ที่จะน่ังที่ไหนก็รู้จักท่ีนั่งของตนเอง รู้จักกาลเทศะ เมื่อไปน่ังแล้ว สถานที่น้ันจะควรพูด
หรือไม่ควรพูดในเรื่องเหล่านั้น เม่ือมีโอกาสเวลาประชุมกันอยู่ เรามีความรู้ท่ีจะพูด
ขึ้นมาได้ แก้ไขได้ แต่ผู้ใหญ่ไม่ให้โอกาสในท่ีประชุมนั้น เราควรสงบระงับตนเองไว้ ไม่
พูดจาปราศรัยข้ึนมาในสถานท่ีน้ัน เว้นไว้แต่ผู้ใหญ่ให้โอกาสในที่ประชุมนั้น เปิดโอกาส
ให้เราพูดจาปราศรยั ทำ�ตนเองให้ออ่ นนอ้ มถอ่ มตวั อยอู่ ยา่ งนน้ั สมยั ครงั้ พุทธกาลกล่าวถงึ
พระอริยเจ้าทั้งหลาย เรียกว่าเข้าสงคราม ให้ทำ�ตนเองเป็นอย่างนั้น เพราะการที่เรา
ลดมานะทิฏฐิลงไปได้ ทำ�ให้เราน้ีมีความอ่อนสลวยทั้งตัว ท้ังวาจา และท้ังจิตใจจะ
ลดลงไปด้วย ไมแ่ ขง็ กระด้าง เป็นสิง่ ที่สำ�คัญ
ฉะนัน้ เราทุกคนควรมาหนั หนา้ เขา้ หากัน พิจารณา โอปนยโิ ก น้อมเข้ามาสตู่ น
ให้เห็นถูกตามทำ�นองคลองธรรมคำ�สั่งสอนของพระพุทธเจ้า ลดมานะทิฏฐิลงไป เราจะ
ทำ�กนั อยา่ งไรในข้อนี้ เหตฉุ ะนน้ั เราต้องไตร่ตรองใหถ้ ี่ถ้วนว่า บิดามารดาของเรานัน้ เป็น
ผู้มีบญุ มีคณุ ตอ่ เรา เราควรเคารพอ่อนน้อมถอ่ มตัวแก่ท่าน เหมอื นเราสอนลูกสอนหลาน
ของเราในปัจจุบันน้ี ก่อนจะไปโรงเรียนเราก็ให้ไหว้พ่อแม่ กลับมาจากโรงเรียนก็ให้ไหว้

60 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

และให้ไหว้ครูด้วย ด้วยความเคารพอาจารย์ เข้าวัดเข้าวามาหาครูบาอาจารย์ก็กราบ
ก็ไหว้ด้วยความเคารพอ่อนน้อมถ่อมตัวตนเอง เพราะท่านมีบุญมีคุณแก่ตนเอง เม่ือ
หากเรารู้จักผู้มีบุญมีคุณแก่ตนเองแล้ว ต้ังแต่บิดามารดา ครูบาอาจารย์ อุปัชฌาย์
ต่อไปถึงผู้หลักผู้ใหญ่ในคณาญาติทั้งหลาย เราก็จะรู้จักการเคารพอ่อนน้อมถ่อมตัวต่อ
ท่านวา่ ทา่ นเปน็ คนเฒา่ คนแก่ เราไม่มมี านะทฏิ ฐิ เราลดออกไป จติ ใจก็อ่อนนอ้ มลงไป
เร่อื ย กิเลสมานะทฏิ ฐินนั้ กเ็ บาบางลงไปเร่อื ยๆ

บัดนี้ เรามาทำ�ความเข้าใจให้รู้ว่า นรกคือความทุกข์น้ันมีจริง ทำ�ให้คนมีความ
ทุกข์ สวรรค์นำ�ความสุขมาให้แก่บุคคล คนปฏิบัติได้ไปสวรรค์มี คนท่ีจะทำ�ความดี
ไปถึงพรหมโลกก็มี เมืองนิพพานน้ัน องค์สมเด็จพระศาสดาจารย์สัมมาสัมพุทธเจ้าตรัส
ว่า การทำ�ความดีเป็นกามาวจรกุศล ทุกคนจะมาเป็นผู้หญิงผู้ชายโดยบริสุทธิ์บริบูรณ์
ไดน้ ้ัน กต็ ้องมาจากคุณงามความดีทต่ี นเองสรา้ งเอาไว้ คนจะมง่ั มีศรีสขุ สมบูรณ์ มที รพั ย์
สมบัติ ด้วยเช่ือมั่นในการสร้างความดีมาตั้งแต่ภพอดีตท่ีผ่านมา ในชาตินี้จึงอำ�นวยผล
ให้บุคคลนนั้ มั่งมศี รสี ุข ทนี คี้ นท่จี น ทุกข์ ยากไร้ เข็ญใจ อนาถา คนไม่ได้สรา้ งคณุ งาม
ความดี ไม่ทำ�บุญทำ�ทานการกุศลเอาไว้ จำ�พวกเหล่านี้จึงเป็นคนทุกข์จน เราเช่ือมั่น
อยา่ งน้ี

คนท�ำ ความดี พากันรักษาศีล ๕ ก็ดี ศีล ๘ ก็ดี เปน็ รปู าวจรกศุ ล ได้ไปเกิด
เทวโลก คือได้เป็นเทพบุตร เทพธิดา เม่ือบุคคลนั้นแก่เฒ่าล่วงลับดับไป ก็ไปจุติที่น่ัน
หากบุคคลทำ�ความดีข้ึนไป พากันนั่งเจริญเมตตาภาวนา ฝึกฝนอบรมจิตใจ ทำ�จิตใจ
ของเราให้สงบระงับเป็นสมาธิและมีปัญญาเกิดขึ้น แก้ไขให้รู้จักทางถูกทางผิด ให้รู้จัก
ความดีความชั่ว รู้จักบุญรู้จักบาป ก็มาละอายต่อบาป เกรงกลัวว่าบาปจะเกิดขึ้นแก่
ตนเอง ส�ำ รวมระมดั ระวังเอาไว้ แล้วกฝ็ กึ ฝนอบรมจิตใจจนสงบลกึ ซึง้ ลงไป จนได้เขา้ ฌาน
นั่ง ๓ ชั่วโมง ๔ ช่ัวโมง หรือเป็นวันๆ ได้ จำ�พวกทั้งหลายเหล่านี้แล เม่ือเฒ่าแก่
ล่วงลับดับไป หรือตายไปตั้งแต่ยังหนุ่ม เวลาตนเองอยู่ในฌานอย่างน้ี ก็ไปเกิดใน
พรหมโลก

ก า ร ล ะ ม า น ะ ทิ ฏ ฐิ 61

เหตุฉะน้ัน ผู้ท่ีปฏิบัติสูงขึ้นไป มีสติปัญญาว่องไว เฉลียวฉลาด สามารถชำ�ระ
สะสางจิตใจของตนเอง แนะนำ�สั่งสอนจิตใจของตนเองแล้ว เหมือนพระอริยเจ้าท้ังหลาย
ได้ฟังจากพระโอษฐ์ของพระพุทธองค์ตรัสเทศนาสมัยคร้ังพุทธกาลโน้น เมื่อท่านปลง
ปัญญาพินิจพจิ ารณารู้แจง้ เหน็ จรงิ

พิจารณาอะไร ท่านมาพิจารณาซ่ึงขันธ์ ๕ รูปธรรม เวทนา สัญญา สังขาร
วิญญาณ นามธรรม เรียกรวมกันว่าขันธ์ ๕ เมื่อท่านมาพินิจพิจารณาให้เข้าใจว่า รูป
มันก็ไม่เท่ียง เวทนามันก็ไม่เที่ยง สัญญาไม่เที่ยง สังขารไม่เที่ยง วิญญาณน้ันก็ไม่เที่ยง
ทา่ นมสี ติปัญญาแกก่ ล้า ฉลาด มาพิจารณาอยา่ งน้ี

บัดนี้ รูปเป็นทุกข์ ท่านมาพิจารณาว่าร่างกายของคนเราน้ันเกิดขึ้นมา ท่าน
ไม่หลงว่าชาติน่ีมันยิ่งใหญ่จริงๆ ท่านไม่หลงแล้วในท่ีมันเป็นมานะเบ้ืองต้น ท่านรู้จักว่า
ชาติก็ดี ตระกูลก็ดี ยศก็ดี บริวารก็ดี มันเสื่อมไปได้ มันอยู่ด้วยกันมันก็มีความทุกข์
ท่านมาเข้าใจว่า รูปร่างกายของคนเราท้ังหลายน้ี จะเกิดในตระกูลใดก็ตาม ชาติสูง
แค่ไหน มันก็มีความทุกข์เหมือนกันหมด ไม่มีคนจะหลีกเลี่ยงได้ เหมือนคณะศรัทธา
ญาติโยมนั่งอยู่นี่แหละ น่ังอยู่ด้วยกันทุกข์มันไม่ได้ปิดบังพวกเราท่านทั้งหลาย น่ังอยู่
นานๆ มันก็ปวดแข้งปวดขา ปวดหลังปวดเอว มีร้อนมีหนาวเกิดขึ้น มีหิวมีกระหาย
มันปิดบังไหม มันไม่ปิดบัง มันบอกความจริงให้รู้อยู่ แต่เราน้ีมันไม่รู้ไม่เข้าใจ เราควร
ทีจ่ ะเขา้ ใจ ส่วนพระอริยเจ้าท้ังหลายทา่ นเข้าใจว่า รูปนีเ่ ปน็ ทกุ ข์

เวทนาเป็นทุกข์ มันมีทุกขเวทนาเกดิ ข้นึ ตรงทีจ่ ติ คนเราไปยึดอยนู่ นั่ เอง
สัญญาเป็นทุกข์ คนก็ควรจะมองให้เข้าใจว่าสัญญาทำ�ไมมันจึงจะเป็นทุกข์ คือ
เราไปจ�ำ อะไรอย่างนี้ เราคิดอยากให้มนั จำ�ได้ไม่หลงไม่ลมื เราก็ประคอง เพียรพยายาม
อยู่ อันกำ�ลังประคองน่นั เอง มนั เปน็ ทกุ ข์
สังขารเป็นทุกข์ การปรุงแต่งภายในจิตของคน จะเป็นสังขารจิต มีจิตเจตสิก
จิตออกมาเสวยอารมณ์ น�ำ ความทกุ ข์มาให้อยู่น้ัน ปรุงแต่งอยู่นนั้ มนั กเ็ ปน็ ทุกข์

62 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

วิญญาณเป็นทุกข์ เครื่องหมายรู้ว่าเราน่ีแหละรู้จริง เห็นจริง เห็นแจ้ง เห็นชัด
ไม่หลงไม่ลืมไปที่ไหน มันก็เส่ือมไปได้ เมื่อเราประคองอยากให้มันจำ�อยู่ ไม่หลงไม่ลืม
เสียที ตั้งแต่เล็กจนถึงเฒ่าถึงแก่ มันก็หลงลืมไป เหมือนคณะศรัทธาญาติโยมทั้งหลาย
มีตัง้ แตเ่ ลก็ จนถงึ ขนาดนี้ คนเฒา่ ก็มีอยา่ งนี้ มันหมายรไู้ ดด้ ีไหม หรือมนั ลืมอยู่ มันเป็น
อยา่ งน้ี เราควรทีจ่ ะเข้าใจ พระอรยิ เจ้าทั้งหลายทา่ นเข้าใจแจ่มแจง้

บดั นี้ รูปเป็นอนตั ตา ไม่ใช่ตนไมใ่ ช่ตวั ของเรา ไม่ใช่สตั ว์ บุคคล ตวั ตน เรา เขา
ทา่ นให้เขา้ ใจอย่างนวี้ า่ อ้าว..มันไม่ใช่ของเรา เพราะเราบอกไมไ่ ด้ ใช้ไม่ฟงั บังคบั ไม่ได้
มีคณะศรัทธาญาติโยมคนไหน มีพระภิกษุสามเณรองค์ใด ครูบาอาจารย์องค์ไหนที่
บงั คบั รา่ งกายของตนเองได้ อยู่ด้วยอ�ำ นาจไมใ่ ห้มนั เปน็ อยา่ งอนื่ เราบังคบั ให้มนั เล็กอยู่
ได้ไหม ถ้ามันเลก็ ๆ อยู่ทำ�ไมมันใหญ่ขึน้ มาเปน็ หนุม่ เปน็ สาวได้ ทำ�ไมมาถงึ ท่ามกลางคน
ถึงเฒ่าถึงแก่ ทำ�ไมมันจึงหนังเห่ียว หนังแห้ง ฟันหลุด ฟันหล่อน หัวขาว หัวหงอก
แก้มตอบได้ มีใครสักคนที่นั่งอยู่ในสถานท่ีน้ีบังคับได้ ไม่ให้มันเฒ่ามันแก่ได้ไหม ไม่มี
เม่ือมันไม่มีอย่างน้ีแหละ พระพุทธองค์ตรัสไว้ อยากให้รู้ว่ามันเป็นอนัตตา เพราะ
เหมือนกบั คนอนื่ บอกไมไ่ ดใ้ ช้ไมฟ่ ัง มนั อย่ไู ปตามสภาวะของมัน ไม่อย่ใู ตอ้ ำ�นาจของใคร
ทำ�ลายความปรารถนาของพวกเราท่านทั้งหลาย น่ี..ท่านอยากให้รู้อย่างน้ี พระอริยเจ้า
ทา่ นรจู้ รงิ ในเวทนา สัญญา สงั ขาร วิญญาณกเ็ หมือนกัน สิง่ ท้ังหลายเหลา่ น้ันกไ็ ม่มตี น
มีตัวเหมือนกัน มีใครจับได้ ใครเห็นมันได้ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ มีเคร่ือง
อะไรมาจับ มนั เป็นอย่างน้ี ไมใ่ ชส่ ัตว์ บคุ คล ตัวตน เรา เขา พระอริยเจา้ ทง้ั หลายท่าน
รู้แจ้งเห็นจริง ท่านจึงถอดถอนมานะทิฏฐิน้ันขาดกระเด็นออกจากดวงใจได้โดยส้ินเชิง
แต่พวกเรานั้นเป็นปุถุชนคนมีกิเลสหนาปัญญาหยาบ ก็ยังไม่สามารถท่ีจะปัดเป่าและ
ขัดเกลากิเลสตวั ยิง่ ใหญ่นี้ออกจากดวงใจให้หมดสิน้ ได้โดยเร็ว แตข่ อใหม้ าท�ำ ความเขา้ ใจ
ให้รู้ไว้ก่อน เพ่ือจะได้ถอดถอน หาอุบายต่างๆ ลดละออกไป ให้มานะทิฏฐิน้ันหมดส้ิน
จากดวงใจของพวกเราท่านท้ังหลาย จิตจึงจะอ่อนน้อมถ่อมตัว มันจะมีความอ่อนน้อม
ทงั้ กาย อ่อนน้อมทั้งวาจา ออ่ นน้อมทัง้ ใจ

ก า ร ล ะ ม า น ะ ทิ ฏ ฐิ 63

เหตุฉะน้ัน จึงสมกับที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า บุคคลเราไม่มีกายแข็งกระด้าง
ไม่มีวาจาแข็งกระด้าง ไม่มีจิตใจแข็งกระด้าง อ่อนน้อมควรรับกระแสธรรม เหมือนกับ
เหล็กท่ีมันแข็งๆ อยู่ เอาไปใส่ในเตาไฟเผาให้เหล็กน้ันมันสุกแดงแล้วสามารถที่จะตีเหล็ก
น้ันให้เป็นมีด หรือเป็นรูปต่างๆ ทำ�ขวดหรือทำ�อะไรต่างๆ ได้ตามความปรารถนาของ
นายช่าง ถ้าเผาให้รอ้ นจรงิ ๆ จนเปน็ น�ำ้ หล่อใหเ้ ป็นใบมีดโกนบางๆ ก็ไดส้ ำ�เร็จประโยชน์
อย่างดี

ฉันใดก็ดี บคุ คลเราทา่ นทั้งหลาย ทงั้ หญิงและทั้งชายกด็ นี ้ัน หากพากนั ขวนขวาย
ลดมานะทิฏฐิของตนเองลงตามกำ�ลังความสามารถของตนเอง ลดลงไปเร่ือยๆ ให้มัน
อ่อนน้อมถ่อมตัวหันเข้าหากัน ให้รู้จักสูงจักต่ำ� ให้รู้จักพ่อจักแม่ รู้จักปู่ย่าตายาย รู้จัก
ครูอาจารย์ รู้จักเข้าในสมาคมต่างๆ พูดจาปราศรัยอะไรต่อกันแล้ว มีแต่ความนุ่มนวล
ชวนให้น่าฟัง คิดในใจก็มีเมตตาต่อกันแล้ว คนเราอยู่ด้วยกันจะเป็นยังไง จะมีความ
ผาสุกไหม ทุกคนกต็ ้องการลดมานะทิฏฐิหมด ใครๆ กล็ ดหมด อ่อนน้อมต่อกัน ผู้ใหญ่
กับผูน้ ้อยกร็ ู้ ผูน้ อ้ ยกับผ้ใู หญ่กร็ ู้ รู้ซ่ึงกนั และกันแล้วคงจะมีความสขุ ในโลกนี้ อยู่ด้วยกัน
มคี วามสุขความสบาย

นี่แหละ พระอริยเจ้าท้ังหลายนั้น สมัยคร้ังพุทธกาล ภิกษุ ภิกษุณีก็ดี อยู่กัน
เป็นพันๆ หมื่นๆ องค์ ไม่ผดิ ไม่เถยี งกนั ไม่รุกรานกนั ไม่อาละวาดกนั เพราะอะไร เพราะ
ท่านมีกายอ่อน วาจาอ่อน มีจิตใจอ่อนน้อมต่อกัน ควรแก่การงาน อยู่ในกระแสธรรม
ด้วยกันหมดท้ังนั้น ก็เลยไม่มีมานะทิฏฐิ ไม่มีการแก่งแย่งอะไรกัน ไม่มีว่าใครใดสูง
ใครใดต่ำ� ใครใดใหญ่กว่ากัน ภิกษุสามเณรก็ดีควรอยู่ด้วยกันด้วยความสงบ ด้วยความ
ผาสกุ รจู้ ักกิจการงานในหนา้ ท่ขี องตนเองด้วยกนั ทุกคน รวู้ ่าจติ ของตนเองท�ำ อะไร

เหตุฉะนั้น คณะศรัทธาท้ังหลาย เมื่อเราอยู่ด้วยกันเป็นหมู่เป็นกลุ่ม จะเป็น
ต�ำ รวจ เปน็ ทหารก็ดี จะเปน็ พอ่ คา้ ข้าราชการงานเมืองในกระทรวงใดก็ดี บรษิ ัท ห้าง
ร้าน ธนาคาร หรอื อยใู่ นกล่มุ ในหมูบ่ ้านของตนเอง ในครอบครวั ก็ดี สามภี รรยาอยดู่ ว้ ย
กัน กับเพื่อนกับฝูง หรือกับลูกกับเต้าเจ้าของ หลานๆ ก็ดี ทุกคนนั้นมีความอ่อนน้อม

64 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

ต่อกันและกัน รู้จักหน้าท่ีต่อกัน ครอบครัวนั้นก็คงไม่มีการผิดเถียงแตกแยกอะไรกัน
อยู่ด้วยกนั ด้วยความสงบ นเ่ี ป็นสง่ิ ท่ีทำ�ให้มคี วามสขุ

เหตฉุ ะนน้ั ภิกษุสามเณรก็เหมอื นกัน ทา่ นอย่ดู ว้ ยกนั พระพทุ ธองค์ทรงให้เคารพ
ซ่ึงกันและกัน ต้งั แต่บวชก่อนเวลากันเพยี ง ๕ นาทีเทา่ น้นั ท่านให้เคารพซง่ึ กนั และกนั
นั่งตามลำ�ดับกัน กราบไหว้ซึ่งกันและกัน แม้ภิกษุมาบวชหนุ่มๆ แต่ท่านบวชก่อน เข้า
ในศาสนากอ่ น ทีน้คี นมาบวชทีหลงั อายุ ๕๐ ปี ๖๐ ปี ๗๐ ปี ก็ตอ้ งยอมกราบภกิ ษุ
ที่บวชก่อนตนเอง ไม่ว่าจะหนุ่มจะน้อยแค่ไหนก็ต้องกราบ นี่..พระพุทธเจ้าท่านให้ทำ�
อยา่ งน้ี แตเ่ ดยี๋ วนี้มนั ไมเ่ ป็นอยา่ งน้ัน บางบคุ คลนั้นเปน็ ขา้ ราชการงานเมือง ปลดเกษยี ณ
ออกไปแล้ว บวชแล้วยังแบกไม้ซุงอยู่ ไม่ยอมกราบภิกษุสงฆ์ผู้ที่บวชก่อนท่ียังหนุ่มเลย
ทีเดียว ต้ังแต่บวชมาในพระพุทธศาสนาแล้ว ก็ยังมีมานะทิฏฐิอันย่ิงใหญ่ติดอยู่ในหัวใจ
ของคนคนนี้มาอยู่ ไม่ศึกษาให้รู้ทางพระพุทธศาสนา ตามทำ�นองคลองธรรมคำ�สั่งสอน
ของพระพุทธองค์ท่ีตรัสไว้ นี่..มันเป็นอย่างน้ี ในลูกในหลานของพวกเราท่านทั้งหลายก็ดี
บางทีพ่อแม่เรียนหนังสือจบ ป.๔ หรือจบ ป.๖ ป.๗ หรือปริญญาตรีเพียงแค่น้ัน
ตนเองได้เรียนข้ึนไปๆ จนถึงปริญญาเอก แล้วไม่ยอมเคารพพ่อแม่ พ่อแม่พูดอะไร
เถียงแว๊ดๆๆๆ ไม่รู้จักเคารพ ไปบ้านไปช่องไม่อ่อนน้อมต่อพ่อแม่ปู่ย่าตายายที่เลี้ยงมา
มันเป็นอย่างน้ีมันจึงไม่มีความสุข เพราะคนไม่รู้จักเคารพซ่ึงกันและกัน ไม่ลดมานะทิฏฐิ
มันจึงมีความทุกข์ ความวุ่นวายเกดิ ขึ้น แลว้ ก็หาวา่ มนั ไม่มีความสุขอะไร

เหตุฉะนั้น ตัวผู้เทศน์นี้เป็นผู้ที่รับมามากมายจนจะรับไม่ไหว ไม่มีบุคคลใดท่ีมา
ประกาศว่า ผมสบายแล้วท่านอาจารย์ ผมสุขแล้ว ฉันสบายแล้วท่านอาจารย์ ทุกวันน้ี
ไม่มีความทุกข์ พันคนก็ไม่กล่าวให้ฟังซักสองสามคน มีแต่ทุกข์ทั้งนั้นเข้ามาหา ทุกข์
เพราะอะไร เพราะไม่เข้าใจ ไม่ปรับปรุงตนเองให้เป็นไปตามทำ�นองคลองธรรมคำ�
ส่ังสอนของพระพุทธเจ้า คนไม่รู้จักประมาณ ไม่รู้จักปรับปรุงตนเอง ฝึกฝนอบรม
ตนเอง เหตุฉะน้นั พระพทุ ธองค์จึงทรงอยากใหพ้ วกเราทา่ นทั้งหลายเหน็ ถกู ตามท�ำ นอง
คลองธรรมคำ�ส่ังสอนของพระพุทธเจ้า ท่านทั้งหลายจึงจะอยู่ด้วยกันอย่างมีความผาสุก

ก า ร ล ะ ม า น ะ ทิ ฏ ฐิ 65

เหตฉุ ะนัน้ คณะศรทั ธาทง้ั หลาย เมอื่ ไดย้ นิ ได้ฟงั แล้ว ถึงการยกพระธรรมเทศนา
ดังภาษิตที่ยกไว้ตอนต้น นิวาโต จ มาน การทำ�จิตใจของตนเอง ทำ�กายของตนเอง
ทำ�วาจาของตนเอง ใหอ้ อ่ นนอ้ มถอ่ มตัว ลดมานะทิฏฐิลงไป ใหม้ าเหน็ ถกู ตามทางพระ-
พทุ ธศาสนา แลว้ พวกเราทา่ นทงั้ หลายนน้ั กจ็ ะพากันไดร้ บั ซ่ึงความสขุ ความเจริญได้

ฉะนั้น การเทศนามาต้ังแต่ต้นจนถึงอวสานน้ี อาตมภาพขออำ�นวยอวยพรให้
คณะศรัทธาทั้งหลายท่ีได้มาฟังธรรมในวันน้ี จงพากันกำ�หนดจดจำ�ข้อธรรมที่อาตมาได้
อธิบาย บรรยายศาสนธรรมคำ�สั่งสอนของพระพุทธเจ้าน้ัน ไปประพฤติปฏิบัติฝึกหัด
กาย วาจา จิต ของตนเอง ไปตามทำ�นองคลองธรรมคำ�สั่งสอนนั้น แล้วลดมานะทิฏฐิ
ของตนเองให้อ่อนน้อมถ่อมตัวลงไป มาเข้าใจในทางที่ถูกต้อง ก็จะทำ�ให้คณะศรัทธา
ญาตโิ ยมเจรญิ ด้วยอายุ วรรณะ สขุ ะ พละ ทุกทิวาราตรกี าล

ดังแสดงพระธรรมเทศนามาเป็นเวลาอันสมควร ก็ขอยุติการแสดงธรรมไว้เพียง
แคน่ ี้ เอวงั กม็ ดี ว้ ยประการฉะนี้

ความโกรธ

นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ุทฺธสสฺ
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมมฺ าสมฺพุทฺธสฺส
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ุทธฺ สฺส

นหิ สาธุ โกโธ โกธํ ฆตวฺ า สขุ ํ เสติ

ณ บดั นี้ อาตมภาพจะพรรณนาศาสนธรรมค�ำ ส่ังสอนขององค์สมเด็จพระศาสดา
สมั มาสมั พทุ ธเจา้ พอเปน็ เครอื่ งประดบั สตปิ ญั ญาเพมิ่ พนู บารมพี ทุ ธบรษิ ทั อบุ าสก อบุ าสกิ า
ท้ังหลายทีไ่ ดม้ าพรักพรอ้ มกนั อยู่ ณ สถานที่นี้

ในวันนีจ้ ะแสดงเร่อื งทีบ่ คุ คลเราได้มาเกดิ เป็นมนุษย์ ได้มาอยู่รว่ มโลกอนั เดียวกนั น้ี
เป็นเพราะอะไรคนเราอยู่ด้วยกันจึงมีความขัดข้องหมองใจ หรือมีความทุกข์ ความ
เดือดร้อนวุ่นวาย อยู่ด้วยกันไม่มีความสุข องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงได้ตรัส
เทศนาแนะนำ�สั่งสอนให้พวกเราท่านทั้งหลายท่ีอยู่ด้วยกันนั้น ได้หันมาพินิจพิจารณา
โอปนยิโก น้อมเข้ามาสู่ตนเองว่า การท่ีเราได้มาอยู่ด้วยกันนั้น แล้วทำ�ไมจึงมีความ
เดือดร้อน เพราะเหตุอะไรจึงอยู่ด้วยกันไม่มีซึ่งความสุขเช่นนั้น อันน้ีเป็นข้อสำ�คัญท่ี
พวกเราท่านท้ังหลายท่ีเป็นพุทธบริษัท อุบาสก อุบาสิกาได้มาพิจารณาดูแล้วว่า การที่
คนเราอย่ดู ว้ ยกนั แม้จะเปน็ ครอบครัวก็ดี หรอื อยู่กับเพอื่ นกับฝูง อยกู่ ับญาติวงศต์ ระกลู
ในตระกูลหนึ่งๆ น้ันก็ดี หรือเรามีเพ่ือนมีฝูงต่างเช้ือชาติวรรณะกันน้ันก็ดี น้ีเรามา
พจิ ารณาดูดีๆ แล้วจะเหน็ วา่ การทตี่ นเองอยู่ดว้ ยกันกับหมกู่ บั ฝูงน้นั มนั เปน็ เพราะอะไร
จึงไมไ่ ด้มีซึ่งความสุข

68 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

การที่คนเราจะอยดู่ ้วยกนั ไดด้ ้วยความผาสุกนั้น ก็ตอ้ งเปน็ ผู้มีสติปัญญา พจิ ารณา
ให้รู้ให้เข้าใจในเรื่องการพูดจาปราศรัยกัน ทำ�การงานต่างๆ ด้วยกัน การใช้ความคิด
รว่ มกนั ในทั้ง ๓ อยา่ งนี้ หากเรามาใช้สติปญั ญาพินจิ พจิ ารณาดจู งึ จะเข้าใจว่า การท่เี รา
อยดู่ ว้ ยกนั นัน้ ท�ำ ให้เราไม่มีความสุขเพราะ หน่ึง คนเรานท้ี กุ คน ยอ่ มมีกิเลสเหมอื นกนั
มีความโลภ ความโกรธ และความหลง เป็นกิเลสฝากฝังอยู่ในดวงใจมาแล้วต้ังแต่ใน
อดตี ชาตกิ ม็ ี ในปจั จบุ ันนี้ หากเราไม่มสี ติปัญญาพินจิ พจิ ารณาละแลว้ ความโลภ ความ
โกรธ ความหลงนั้น ยอ่ มปลดปลงออกไม่ได้ กท็ �ำ ใหเ้ ราน้มี ีอุปนสิ ยั ฝกึ ตนเองนน้ั ไม่ได้

การทบ่ี คุ คลจะมคี วามโกรธเกิดข้ึนแกต่ นเองน้ันไม่ใชท่ างเดยี ว บางทมี าทางด้าน
ร่างกาย ทางด้านร่างกายนั้นเพราะอะไร เพราะมาประสบพบกับสายตาของบุคคลที่
คนเรานนั้ มองดูซงึ่ กนั และกัน เมอื่ มามองดูแลว้ เหน็ กริ ยิ าทา่ ทางของบคุ คลอ่นื ท�ำ อย่างไร
อย่างหน่ึงไม่ถูกแก่จริตนิสัยของตนเองนั้น ความโกรธก็เกิดขึ้นมาได้ เพราะไม่พอใจกับ
บุคคลน้ัน ทำ�การงานอนั ใดบางสิ่งบางอยา่ งนัน้ เมอ่ื ไมถ่ ูกกบั จริตนิสยั แล้ว เรากไ็ มพ่ อใจ
กับบุคคลท่ีกระทำ�น้ันอย่างหนึ่ง หรือด้วยกายแสดงกิริยาท่าทางอย่างโน้นอย่างน้ีให้เรา
เห็นด้วยสายตาแล้ว ไม่ชินกับนิสัยของตนเอง ตนเองก็ว่าทำ�อย่างนั้นอย่างน้ีไม่ดีไม่งาม
ไม่ถูกต้องตามระเบียบเรียบร้อยอะไร ก็ทำ�ให้เรามีความโกรธไม่พอใจคนน้ันข้ึนมา
เหมอื นกนั

น้ันก็มีหลายส่ิงหลายอย่างที่บุคคลท่ีจะมีความโกรธเกิดข้ึน เหตุฉะน้ัน เมื่อเรา
ให้สิ่งให้ของแก่บุคคลไปประพฤติปฏิบัติแล้ว หรือไปเก็บไว้ท่ีใดที่หนึ่งไม่เป็นระเบียบ
เรียบร้อย เราก็ว่าบุคคลนั้นไม่ทำ�ตามใจของเรา เราเห็นด้วยตา และมีความหงุดหงิด
เกิดข้ึนอีกอย่างหน่ึง บางทีให้เครื่องใช้เครื่องสอย เครื่องฟังก็ดี หรือเคร่ืองใช้ เช่น
นาฬิกาก็ดี อันเราให้เขาไปใช้ไปสอยแล้ว แต่เขาไม่เก็บรักษาอยู่ด้วยความเรียบร้อย
ด้วยความพากเพียรตามใจของตนเอง ตนเองก็มีความโกรธเกิดข้ึน เช่น บิดามารดาก็ดี
กับบุตรธิดาของตนเองน้ัน น้ีอย่างหน่ึง จะให้เครื่องใช้ หรือให้รถให้เรือก็ดี เพื่อไปมา

ค ว า ม โ ก ร ธ 69

ในสถานท่ีโน้นสถานที่นี้ เขาไม่ได้ทำ�ความสะอาดด้วยความเรียบร้อย หรือเป็นระเบียบ
ตามท่ตี นเองกะเกณฑไ์ ว้ ตนเองก็มีความหงุดหงิด โกรธลูกโกรธหลานของตนเองเกิดขึน้
ไม่พอใจในสงิ่ น้ัน ความโกรธก็เกดิ ขึน้ ได้ อยา่ งนอ้ี ีกอยา่ งหน่ึง

แม้การทำ�มันมีหลายส่ิงหลายอย่าง การทำ�ด้วยกายของบุคคลอื่น เม่ือเรามองดู
ด้วยสายตา อันทีไ่ มถ่ กู ตอ้ งแกต่ นเองนน้ั ทำ�ใหค้ นเรานี้มคี วามโกรธกันขนึ้ มาได้อีกอยา่ ง
หนึ่ง เรยี กวา่ ความโกรธมาจากบคุ คลอื่นท่แี สดง

ความโกรธอีกอย่างหน่ึง เราจะมีความโกรธข้ึนได้ คือ คนอ่ืนนินทา มาว่า
อย่างโน้นอย่างน้ี ติฉินนินทาต่างๆ นานาว่า ตนเองนี้เป็นคนไม่ดีอย่างนั้นอย่างนี้ หรือ
ไม่สวยสดงดงามก็ดี ไม่เป็นระเบียบเรียบร้อยอย่างนั้นอย่างนี้ กิริยาท่าทางอย่างน้ัน
อยา่ งนี้ คนอืน่ มาพูดใหเ้ รา เราได้ยนิ เขา้ ไปแล้วอย่างนี้ ก็มคี วามโกรธวา่ คนน้ันมาพูดจา
ปราศรยั ติฉินนนิ ทาเราทำ�ไม อนั นส้ี ตปิ ญั ญาเรายับยั้งไม่ได้ ยบั ยัง้ จติ ใจเราไม่ได้ ก็ท�ำ ให้
เรามีความโกรธอกี อยา่ งหนงึ่ น้คี วามโกรธเกดิ ขึ้นมาจากบคุ คลอื่นติฉนิ นนิ ทาเรา

เรามาพิจารณาดูแล้วว่า หากความโกรธของเรายังไม่เกิด แม้เพียงแค่นี้นั้นก็ดี
เมื่อเรามีขันติ-ความอดทนอยู่ แต่ยังมีคนอ่ืนอีกมายุแหย่ว่า คนน้ันคนนี้พูดจาปราศรัย
ติฉนิ นนิ ทาใหเ้ ราแล้ว ท�ำ ไมไม่โกรธเขา เขาว่าให้เราอย่างโน้นอย่างนี้ นีค่ นอื่นเขาก็มายุ
มาแหย่ด้วยคำ�พูดจาปราศรัยต่างๆ นานาเกิดขึ้น ทำ�ให้เรามีความโกรธคนอ่ืนได้อีก
อย่างหนง่ึ นี้ความโกรธก็เกิดขึ้นมาไดเ้ หมือนกนั การมาพดู ยยุ งส่งเสริมและยแุ หยใ่ หเ้ รา
มีความโกรธเกิดข้ึนเช่นนี้มีหลายทาง บางทีคนอื่นเขามีความคิดเขาพูดจาอยู่ที่อ่ืน แต่
คนอ่นื น่นั แหละเก็บเอาความคิดของคนอื่นน้นั มา ว่าคนนั้นจะทบุ จะตจี ะฆ่าจะดา่ อย่างโน้น
อย่างนี้ จะติฉินนินทาต่อไปลุกลามอย่างโน้นอย่างนี้ อันคำ�ยุแหย่อย่างน้ี เม่ือเราได้ยิน
คนอ่ืนมายุแหย่ ก็ทำ�ให้เรามีความโกรธเกิดข้ึนเหมือนกัน นี้ความโกรธเกิดข้ึนแก่บุคคล
ดว้ ยการพดู จาปราศรยั ติฉนิ นินทาตา่ งๆ นานาแกเ่ รานีอ้ ยา่ งหน่งึ

70 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

บดั นี้ วกเข้ามาหาในครอบครวั ก็ดี สามภี รรยาพดู จาปราศรัยซึ่งกันและกัน หาก
สามีพูดไปแล้ว ภรรยาก็ไม่มีขันติอดทนอะไร แล้วก็โต้ตอบซ่ึงกันและกันด้วยคำ�พูด
ต่างๆ นานา ก็มีความโกรธเกิดข้นึ ได้ อันนกี้ เ็ หมือนกนั

มาบัดนี้ กุลบุตรกุลธิดา ลูกชายลูกสาวก็ดี ถ้าเวลาเราพูดจาปราศรัยแนะนำ�
ส่ังสอนเขา พูดจาปราศรัยอยากให้เขามีระเบียบเรียบร้อย อยากให้เขาอยู่ในความ
คมุ้ ครองของตนเอง แตเ่ ขาก็โตเ้ ถียงกับเรา หรอื แสดงตา่ งๆ ความโกรธก็เกิดขึน้ มาด้วย
การโต้แย้งซ่ึงกันและกันอีก เพราะว่าเขาไม่เคารพเรา ไม่ปฏิบัติตามเราอย่างนี้ ความ
โกรธก็เกดิ ขึ้นแกบ่ คุ คลอยา่ งน้อี กี อยา่ งหน่งึ

เหตุฉะนน้ั ความโกรธก็เกดิ ขนึ้ มาหลายทาง หลายสิง่ หลายอยา่ งเชน่ นี้แหละ
เรามาพจิ ารณาดูแลว้ ว่า เราอย่กู บั เพ่อื นกบั ฝงู กด็ ี ไปดว้ ยกัน การมองหนา้ มองตา
ด้วยกายก็กระทบกระทั่งซ่ึงกันและกัน ทำ�ให้ไม่มีความพอใจกับหมู่กับฝูง เม่ือพูดจา
ปราศรัยกับหมู่กับฝูงแล้วก็ขัดข้องซ่ึงกันและกันเกิดข้ึน โต้แย้งกันกับหมู่กับฝูงก็ต้อง
แตกสามัคคกี นั ไป อนั นี้ความโกรธกเ็ กดิ ฝงั ขึน้ มาในดวงใจของบคุ คล
เหตุฉะน้ัน ความโกรธน้ีจึงมีหลายทางเหลือเกิน ท้ังด้านร่างกายก็ดี ท้ังด้าน
วาจาท่ีพูดปราศรัยไม่ถูกต้องกันก็ดี ไม่ถูกจริตนิสัย บางคนนั้นก็เป็นคนท่ีโกรธฉุนเฉียว
ข้ึนมาบ่อยๆ ข้ึนมาง่ายๆ อะไรเอะอะข้ึนมาพูดปราศรัยนิดๆ หน่อยๆ ก็มีความโกรธ
เกิดขึ้น แต่บางคนนั้นความโกรธจะเกิดข้ึน ก็เพราะกระทบกระทั่งกระเทือนต่างๆ นานา
มากมาย อดทนไม่ไหว ความโกรธน้ันก็ร่ัวไหลขึ้นมาภายในใจ แล้วก็พูดออกมาทาง
วาจา กแ็ สดงออกมาซึง่ กายดว้ ยความฉุนเฉยี วเกดิ ขน้ึ แสดงอย่างโน้นอย่างนเี้ กิดข้ึน
อันนี้ความโกรธมีหลายส่ิงหลายอย่างท่ีจะเกิดข้ึนแก่บุคคลเรา เพราะเรามีกิเลส
อยู่ในจิตในใจของเรานัน้ อย่างหน่ึง สอง เราเปน็ ผู้ไม่มีสตปิ ัญญาสามารถยบั ยง้ั จติ ใจของ
เราไว้ได้ด้วยขันติ-ความอดทน โสรัจจะ-ความเสงี่ยมเจียมตัวเอาไว้ไม่ได้ จึงทำ�ให้ความ
โกรธนน้ั เกิดขึ้นแกบ่ ุคคล

ค ว า ม โ ก ร ธ 71

อันน้ีแหละ พวกเราทา่ นท้ังหลายมาพนิ ิจพิจารณาดแู ลว้ วา่ ความโกรธน้มี นั เป็น
ภัยจริงๆ เป็นอันตรายจริงๆ มีความทุกข์จริงๆ หากเราทุกคนมาพิจารณาดูแล้วว่า
ความคิดขุ่นเคืองอยู่ภายในจิตในใจ ก็ทำ�ให้เรามีความทุกข์ความเดือดร้อนเพราะเรา
โกรธ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าท่านจึงตรัสเป็นภาษิตไว้ นหิ สาธุ โกโธ ความ
โกรธไม่ดีเลย ถ้าหากเรายังไม่มองเห็นความโกรธนั้นว่าเป็นของไม่ดีของมีโทษเม่ือไหร่
เราก็จะไม่สามารถลดละปล่อยวางความโกรธน้ันออกไปได้ มันก็จะฝากฝังไว้ในดวงใจ
ของเราให้มีความทกุ ข์ เปล่าประโยชน์ มโี ทษมากเช่นนี้

เราพจิ ารณาดใู ห้ดๆี แลว้ ว่า เหตทุ ีค่ วามโกรธจะเกิดดงั ได้พรรณนามานัน้ มมี ากมาย
หลายสิ่งหลายอย่างท่ีเราเห็นกันมา ทำ�การงานอยู่กับหมู่กับกลุ่มกับเพื่อนกับฝูงเช่นนี้ก็
แตกแยกกันด้วยการที่ไม่สามัคคีกัน ก่อนท่ีจะไม่สามัคคีกันก็การพูดจาปราศรัย และ
แสดงด้วยกายอย่างใดอย่างหน่ึง ไม่ถูกต้องจริตนิสัยซ่ึงกันและกัน มันก็โกรธขึ้นมา
ได้เหมือนกัน น่ีแหละ ความโกรธเกิดขึ้นมาอย่างนี้ มีโทษมีทุกข์เกิดขึ้นแก่บุคคลที่ยึด
เอาไว้

บัดนี้ ความโกรธนั้นเป็นนิสัยมาแต่หลายภพหลายชาติของบุคคลที่ไปมาหาสู่
ซ่ึงกนั และกัน หรอื อยใู่ นบ้านเดยี วกนั กด็ ี อย่กู ับลกู หลาน สามีภรรยาก็ดี กบั พ่ีน้อง ปูย่ า่
ตายายน้ัน เราก็เคยเห็นคนเฒ่าคนแกฉ่ นุ เฉยี วงา่ ยๆ พดู จาปราศรัยอะไรก็โกรธเอาโกรธเอา
เร่ือยๆ เรื่องอะไรนิดๆ หน่อยๆ ก็มีแต่ความโกรธเกิดข้ึนแก่บุคคลน้ัน เป็นอุปนิสัย
มาหลายภพหลายชาติก็มี บางทีชาติอดีตของบุคคลน้ัน เกิดขึ้นมาอยู่ร่วมกันอยู่ในหมู่
ในกลมุ่ เดยี วกนั เช่นน้ี ในครอบครัวก็ดี เปน็ กลุ บุตร กุลธดิ า ลกู หลานของเรา หรือสามี
ภรรยาบางคู่ก็เหมือนกัน ต่ืนขึ้นมาแล้วก็ผิดเถียงกันโกรธกันอยู่เร่ือยๆ ไม่มีความสุข
อะไร แต่กอ็ ยดู่ ว้ ยกนั ไปด้วยอำ�นาจของกรรมน้นั ก็มี อยู่กับลูกหลานก็เหมอื นกัน บางที
เมื่ออยู่ด้วยกันนั้น เกิดข้ึนมาอยู่ร่วมกันแล้ว แต่ไม่ถูกกัน ขัดข้องหมองใจซึ่งกันและกัน
อยูเ่ รือ่ ยๆ มองดหู น้าดตู ากนั ไมพ่ อใจ

72 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

อันน้ีคงจะเป็นอุปนิสัย เป็นปัจจัยมาต้ังแต่ชาติอดีตบ้าง ชาติอดีตท่ีเราเกิดมา
หลายภพหลายชาติ เวียนว่ายตายเกิดอยู่ในวัฏสงสารก็ดี การที่เรามาพบกันเช่นนี้
ให้มีความโกรธเกิดขึ้นซึ่งกันและกัน ไม่พอใจ เมื่อมองหน้ามองตากันก็ไม่พอใจ พูดจา
ปราศรัยได้ยินแต่เสียงเขาพูดเฉยๆ ไม่เห็นตัวเขาก็ยังมีความโกรธไม่พอใจเกิดขึ้นเช่นนี้
บางทีคิดขึ้นมาจนมาถึงโทสะ มันแรง ความโกรธมันกดดัน กดดันข้ึนมาจนถึงโทสะ
ออกมาถงึ ทบุ ถึงตีกันก็มี บางทคี ดิ ขน้ึ มาในจติ คดิ จะฆ่าใหล้ ้มใหต้ ายจากซงึ่ กันและกนั กม็ ี
อันน้ีแหละความแรงมนั ดันขนึ้ ไปเร่อื ยๆ

การที่เป็นอุปนิสัยอย่างน้ี ไม่พอใจอย่างนี้ คงเป็นคู่อริกันนั้นอย่างหน่ึง ขัดข้อง
หมองใจกัน คู่อริกันนั้นคือ คนท่ีเราโกรธเขาหรือเขาโกรธเราก็ดี ที่มาผิดมาเถียงกันอยู่
ด้วยวาจา พูดต่อกันเป็นหอกเป็นดาบแทงซึ่งกันและกัน แทงท่ีไหน เป็นหอกดาบแทง
ท่ีหัวใจ ชำ้�อยู่ในใจ ทุกข์อยู่ในใจ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงว่า คนนี้โกรธ
ซ่ึงกันและกันแลว้ ผู้ยึดความโกรธเอาไวแ้ ลว้ ก็เหมือนกบั หอกท่ปี ักเสยี บอยใู่ นหวั ใจของ
บุคคลน้ัน มีความเจ็บปวดร้าวอยู่ในหัวใจ ได้รับแต่ความทุกข์อย่างเดียวอยู่ในใจเช่นนี้
เรยี กวา่ กรรมตนเองได้สรา้ งสมอบรมมาอย่างน้นั นั้นอย่างหน่ึง

เราอบรมมาในทางไมด่ ีจงึ มีแต่ความโกรธบ่อยๆ ในชาติอดีต คนทจี่ ะโกรธกนั นัน้
ก็เพราะบางทีชาติอดตี กาลท่ผี ่านมาแล้วน้ัน อาจจะถูกมองหน้ามองตากนั ผิดเถยี งกนั มา
แล้ว ด้วยวาจากระทบกระท่ังกันมาต้ังแต่ชาติอดีต มองเห็นแล้วมันไม่พอใจ พูดจา
ปราศรัยออกมาแล้วมันก็ไม่พอใจ แม้จะพูดจาปราศรัยซ่ึงกันและกันให้ดีแค่ไหน ก็ไม่
พอใจ อันน้ีคงจะเป็นอุปนิสัยเป็นมาต้ังแต่ชาติอดีต คนน้ันเคยด่าเคยว่าเคยผิดเคยเถียง
กัน คนนน้ั เคยทบุ ตกี นั เป็นคูอ่ ริกนั มาแลว้ อย่างน้ี ก็คงจะเปน็ ไปได้ สงิ่ ที่ไม่พอใจ บางคน
กับสามีภรรยา บางคนกับลูกหลานของตนเองคงจะเป็นเช่นนั้น เรียกว่าเป็นคู่อริกัน
เวียนว่ายตายเกิดอยู่ในวัฏสงสารนี้ มาเจอมาพบกันเม่ือไรแล้ว ก็เรียกว่าเป็นอันตราย
เกิดขึ้นก็ว่าได้ หรือไม่พอใจเกิดข้ึน มีความทุกข์เกิดข้ึน วุ่นวาย มีความโกรธเกิดขึ้น น้ี
ความโกรธก็เกดิ ข้นึ มาได้

ค ว า ม โ ก ร ธ 73

ความโกรธอีกชนิดหนงึ่ มนั เกิดขนึ้ มาน้ัน เกดิ ข้ึนมาเพราะ “ราคะ” เพราะความ
รักมาก เราน้ีมีความรักสามีภรรยาซ่ึงกันและกัน บางทีนั้นบางบุคคลจะออกจากบ้าน
ไปโน่นไปน่ี มีความหวงแหนซ่ึงกันและกัน ก็ทำ�ให้ผูกให้กักให้ขังกัน ก็มีความโกรธ
เกิดข้ึนภายในจิต ไม่พอใจบ้าง บอกไม่ฟังคำ� ไม่อยู่ในขอบเขตของคำ�สอนของตนเอง
บางทีก็โกรธให้ภรรยา บางทีภรรยาก็โกรธให้สามี เพราะความรักเกิดข้ึน ความรักมาก
บางทีความหวงแหนก็จะมีมาก ความโกรธก็เกิดขึ้นด้วยความรักความราคะเกิดข้ึนเป็น
ธรรมดา บางทีกุลบุตรกุลธิดาลูกหลานของเราก็เหมือนกัน เม่ือหากเรามีความรักเขา
มากเท่าไรแล้ว บางทีลูกหลานของเราไม่ทำ�ตามคำ�แนะนำ�สั่งสอนของเรา เราคิดมี
ความรักเขามาก อยากให้เขาปฏิบตั ดิ ีดังเราคดิ นึกไว้ในใจน้นั แต่เขาไมท่ ำ�อย่างนั้น เขามี
ความขดั ขอ้ ง เขาไม่ปฏบิ ตั ติ ามเราอยา่ งนี้ เรากม็ ีความโกรธฉุนเฉยี ว ท�ำ ไมอยา่ งนลี้ กู จึง
ไม่ปฏิบตั ิตามพอ่ แม่แนะนำ�สัง่ สอน ลกู ทำ�ไมไปทำ�อยา่ งโน้นอย่างน้ี หรือว่าหลานของเรา
ก็ดี ทำ�ไมจึงไม่ประพฤติปฏิบัติตามคำ�สอนของเรา อยู่ในขอบเขตของคำ�สอนของเรา
เราบอกให้กระท�ำ อย่างโนน้ อยา่ งน้ี มันกไ็ มก่ ระท�ำ ตามค�ำ สอนของเรา เรากม็ ีความโกรธ
เขาข้ึนมาก็ได้ บางทีนั้นเราแนะนำ�ส่ังสอนเขาให้พูดจาปราศรัยพูดไพเราะเสนาะหูเกิดขึ้น
แต่เขาก็ไมพ่ ดู ไพเราะเสนาะหเู กดิ ขนึ้ แก่เรา เรากม็ ีความโกรธเขาฉนุ เฉยี วขึ้นมา อยา่ งนีก้ ม็ ี

อันนี้ความโกรธเกิดข้ึนมาจากความรัก เรารักเขามาก เราอยากให้เขาเป็นคนดี
อยากให้เขาพูดดี มีศีลาจารวัตร มีมารยาทดีตามคำ�สอนของเรา ตั้งเอาไว้ในจิตใจ
อยากให้เขาดีเช่นน้ัน เพราะความรัก เพราะความเมตตาแก่เขา แต่เขาไม่ทำ�แล้วเราก็
โกรธเขาเกิดข้ึน

ความโกรธเกิดข้ึนมาด้วยความรัก มีทั้งสามีภรรยา มีท้ังกุลบุตรกุลธิดาของเรา
และลกู หลานของเรา และเพื่อนของเราอกี เป็นเพ่อื นกนั ทีร่ กั กัน แตเ่ ขาไมท่ �ำ ไปตามใจ
เรา เขาขัดข้องอยู่ที่ใดที่หน่ึง เวลาพูดจาปราศรัยเขาโต้แย้งขัดข้องเราบ้าง แต่ว่าเขาว่า
ให้แต่เรา เราก็โกรธเขา เขาติฉินนินทาเราอย่างโน้นอย่างน้ี เพ่ือนเราก็โกรธเขา แต่เรา
มคี วามรกั เขา แตพ่ ูดไปแล้วเขาไมท่ ำ�ตามใจเรา เรากโ็ กรธเพื่อนฝูงเกดิ ขึน้ ก็มี แตอ่ ยา่ งน้ี
เปน็ ธรรมดาคนเราทีเ่ กิดมาอยดู่ ว้ ยกนั แล้ว มนั ก็ต้องเป็นเชน่ นัน้ เปน็ สว่ นมาก

74 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

เร่ืองความโกรธนี้เป็นของท่ีเบากว่าโทสะ โทสะก็หนักกว่า แต่เมื่อมีโทสะแล้ว
พยาบาทก็ยิง่ หนกั กว่า เราจะเหน็ ได้ว่าความโกรธนลี้ ่ะ พอละได้งา่ ยอยเู่ หมอื นกัน

แต่หากวา่ ความโกรธนีฉ้ นุ เฉยี วข้นึ มา ครนุ่ คดิ อยูใ่ นใจ หงุดหงดิ แสดงอย่างโน้น
อย่างน้ี หน้าตาไมน่ ่าดู ไมน่ ่าชม หงดุ หงดิ ขนึ้ มา บางทีกอ็ าจจะบน่ พมึ ๆ พำ�ๆ อยู่ภายใน
วาจาของตนเองอยู่บา้ ง แลว้ พอหลีกหนกี ็หายไป แต่ถา้ เราอดทนไมไ่ ดท้ มี่ ันยุแหย่ หรือ
มันแสดงด้วยกายอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือพูดจาปราศรัยอย่างใดอย่างหน่ึง เราก็มีโทสะ
หงุดหงิด แสดงลวดลายออกมาทางร่างกายบ้าง แสดงออกมาทางพูดจาปราศรัยบ้าง
อดทนไมไ่ หว ถึงทบุ ตีกันเลย ท่านเรียกวา่ “โทสะ” ทำ�ให้เจ็บปวดเกิดขน้ึ เพราะอะไร
เพราะเราไมม่ ีขนั ติ-ความอดทนเอาไว้ โสรจั จะ-ความเสงยี่ มเอาไว้

ถา้ อดทนไมไ่ หว ขนั ตอิ ดทนไมไ่ หวแล้วกถ็ ึงจะฆา่ ให้บคุ คลนั้นตาย ด้วยความคดิ
ขนึ้ มา มันแรงขนึ้ มาก ทา่ นเรียกว่า “พยาบาท” เกดิ ข้ึนภายในจิต คิดอยากท�ำ ลายชวี ิต
ของบคุ คลอนื่ แล้วเราก็จะมคี วามสขุ เราคดิ เชน่ นั้น อนั น้ีมนั ก็ยิ่งบาปมาก มันยง่ิ มที กุ ข์
มาก มีความร้อนมาก มีความกระวนกระวายมาก เรามาพิจารณาดูแล้วว่า คนเรานี้
เกิดมา ความโกรธเกิดขึ้นมาอย่างนี้

บางทคี วามโกรธเกดิ ข้นึ มาภายในตนเอง คนเรานค้ี วามโกรธเกิดขน้ึ มาโดยตนเอง
กด็ ี ไม่มีคนอ่ืนแสดงด้วยกายอย่างใดอยา่ งหนง่ึ แมส้ ามีภรรยากด็ ี ลกู หลานก็ดี เพ่อื นฝงู
กด็ ี ไมไ่ ด้มายุแหย่ใหอ้ ะไร แสดงอะไรด้วยกาย ไม่ไดพ้ ดู จาปราศรยั ยแุ หยอ่ ะไร แต่ความ
โกรธมนั เกิดขนึ้ มาไดด้ ้วยตนเอง

โกรธขึ้นมาเพราะอะไร ข้อนี้เป็นท่ีน่าคิดนะ ความโกรธข้อนี้ ตนเองน่ันแหละ
เวลาท�ำ การงาน ท�ำ อะไร ท�ำ สิง่ ของต่างๆ ท�ำ แล้วไม่ถกู ไมส่ วยงาม ไมเ่ ป็นระเบียบเหมือน
ตนเองคิด ก็โกรธใหต้ นเองวา่ ท�ำ อย่างโนน้ อย่างนก้ี ผ็ ดิ ท�ำ อยา่ งโน้นกไ็ ม่ดไี มเ่ รียบร้อย ก็
มีความหงดุ หงดิ โกรธตนเองก็มี บางคนเราพิจารณาดู โกรธตนเองวา่ ท�ำ ไม่ดี ท�ำ อยา่ งโน้น

ค ว า ม โ ก ร ธ 75

อย่างน้ีไม่ถูกกับจิตกับใจ กิเลสมันอยู่ท่ีใจ และก็ใช้ให้ร่างกายทำ� แต่มันก็ยังไม่ทันใจ
แมก้ ารเดินกด็ ี หรอื ไปท�ำ อนั โน้นอันน้ี ไปที่โนน่ ท่ีนกี่ ด็ ี บางทีอาจจะนัดไปท�ำ การงานกับ
เพื่อนฝูง แต่ไปไม่ทันเวลาโน้นเวลาน้ี ก็หงุดหงิดกับตนเอง ติดโน่นติดนี่เกิดข้ึน มัน
หงุดหงิดเกดิ ขึ้นภายในจิตเสียก่อน แล้วกม็ ีความโกรธว่า ตนเองนบ้ี งั คับตนเองไม่ได้ นก้ี ็
มคี วามโกรธเกดิ ขึน้ ได้เหมอื นกัน

การพูดจาปราศรยั ของตนเอง บางทอี าจจะพูดน้อย บางทีอาจจะพดู มาก บงั คบั
ไมไ่ ด้กม็ ี บางทตี นเองพดู จาปราศรัยไมไ่ พเราะ ไม่เสนาะหู ก็หงุดหงิดเกิดขนึ้ มา มีความ
โกรธตนเองอย่างนี้

การเดินไปที่ไหนก็ดี พูดจาปราศรัยอยู่ที่ใด ไม่รู้จักกาลเทศะก็ดี ก็มีความโกรธ
เจ้าของ แอบพูดออกไปอย่างโน้นอย่างน้ี อยู่ในสังคมอย่างโน้นอย่างน้ีไม่ควรพูด เอ..
เราทำ�ไมไปพูดเร่ืองอย่างนี้ ในสังคมเราไม่ควรพูด ก็มาโกรธตนเองเกิดขึ้นก็มี อันนี้ไม่มี
คนอ่ืนทำ�ใหโ้ กรธ แต่มาโกรธตนเอง นี่ ความโกรธมนั กเ็ กดิ มาไดเ้ หมอื นกัน

เรามาพจิ ารณาดู บางทอี าจจะเปน็ โรคภยั ไขเ้ จบ็ ไมส่ บายอยา่ งโนน้ อยา่ งนี้ อยาก
ไปโน่นไปน่ีกับเขา แต่ไปไม่ได้ก็มีความโกรธให้ตนเองว่า มันเป็นโรคภัยไข้เจ็บเกิดขึ้นใน
ร่างกาย ไม่แข็งแรงไม่สมบูรณ์เหมือนคนอ่ืน อย่างนี้ก็มีความโกรธให้ตนเองว่าตนเอง
ไม่แข็งแรง ทำ�ไมไม่แข็งแรงเหมือนอย่างเขา เกิดมาทำ�ไมจึงไม่แข็งแรง จึงผอมอย่างน้ี
ไม่แข็งแรงอย่างน้ี เปน็ กรรมเปน็ เวรอะไรแกเ่ ราอย่างนี้ อย่างนีก้ ็โกรธตนเองกม็ ี

นี่คนเราเกิดขึ้นมาด้วยความคิดพินิจพิจารณาดูแล้วว่า ความโกรธเกิดขึ้นแก่ตนเอง
ก็นา่ พจิ ารณาเหมอื นกนั เพราะเราทั้งหลายไม่ศึกษา ไมเ่ ขา้ ใจ ไมร่ ู้ เราจงึ มาโกรธตนเอง
เช่นนี้ข้ึนมาได้ อันนี้มาพิจารณาดูตนเองซิว่ามันเกิดข้ึนได้ไหม ไม่มีคนอื่นทำ�ให้โกรธ
ตนเองมันโกรธข้ึนได้เพราะอะไร เพราะทุกส่ิงทุกอย่างก็ไม่ทันใจกับกิเลสนั่นเอง กิเลส
ตัณหานนั่ เองคอื ทำ�อะไรก็ไมท่ ันใจของตนเอง

76 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

แมเ้ ดนิ ไม่ไหวก็ไมท่ ันใจของตนเอง ท�ำ การงานไม่เรียบร้อยกเ็ พราะตนเอง พูดจา
ปราศรัยก็เหมือนกัน พูดจาปราศรัยไม่เฉลียวฉลาดมันก็เป็นของตนเองท้ังน้ัน คนเรา
มันโกรธตนเองได้ เจ็บป่วยก็โกรธตนเอง ทำ�อะไรไม่ได้ โรคภัยมันไม่หาย มันเจ็บป่วย
มานานก็หงุดหงดิ โกรธตนเอง อยากฆา่ ตนเองก็ยังมี นี่นะ ความโกรธฉนุ เฉยี วเกดิ ข้นึ มา
อยา่ งน้ี มันกม็ คี วามโกรธ บางคนน้นั อาจจะว่าตนเองนไ้ี มส่ วยสดงดงามเหมอื นกับคนอนื่
ความโกรธเกดิ ขนึ้ อย่างน้กี ็มี

เรามาพิจารณาดูแล้วว่า คนเราทำ�ไมมันจึงโกรธเช่นนั้น เพราะกิเลสตัณหา มัน
เป็นธรรมดามันพัดพา เม่ือมันเหยียบยำ่�จิตใจของเรา เราไม่มีสติปัญญาพิจารณาให้
ถอ่ งแทใ้ หเ้ ข้าใจแลว้ มันก็มีความโกรธข้นึ มาได้

บางทีความคิดของบุคคลน้ัน น่ังเจริญเมตตาภาวนาพยายามอยากบังคับจิตใจ
ของตนให้สงบระงับเป็นสมาธภิ ายในจติ ของตนเองน้ัน จิตกย็ ังวิง่ ออกไปที่โน่นท่ีนี่อยู่ ไป
คิดกับเร่ืองโน้นเรื่องน้ี ไม่อยู่กับที่อยู่กับตัวตน อยู่กับข้อธรรมกัมมัฏฐาน คุมอย่างไรๆ
มันก็ยังฟุ้งซ่านคิดไปทางข้างนอกอยู่ ไม่ใช่เรื่องจะเอามาคิดมันก็ยังเอามาคิด เอาอีกแล้ว
บัดนี้ นั่งเจริญเมตตาภาวนา คุมจิตไม่อยู่ก็โกรธหงุดหงิดขึ้นมา อยากลุกหนีไปก็มี ว่า
เรานี้น่ังเจริญเมตตาภาวนาไม่ได้ ความโกรธเกิดขึ้นมาเช่นนี้ก็ได้ โกรธให้ตนเองคุมใจ
ตนเองไมส่ งบ อย่างนี้ก็มี เรามาพจิ ารณาดูซิ ท�ำ ไมความโกรธจึงเกดิ ข้ึนมาได้ดว้ ยตนเอง
ก็เพราะเราขาดสติปญั ญานั่นเอง ความโกรธจึงเกิดขึ้นมาได้ เม่อื มาสรปุ แล้ว มาพิจารณา
ดูแล้ว วา่ การนัง่ เจรญิ เมตตาภาวนา มนั กย็ ังท�ำ ใหต้ นเองโกรธตนเองได้ นา่ คิดนา่ พิจารณา
เหลือเกิน

เรื่องความโกรธจะเกิดข้ึนแก่แต่ละบุคคลท่ีเราเกิดข้ึนมานี้อยู่ด้วยกัน ทำ�ไมเป็น
เช่นนี้ ต้งั แตเ่ บื้องต้นก็โกรธมาจากเรอ่ื งราวตา่ งๆ กบั บคุ คลอ่นื มาสดุ ท้ายนั้นลกึ เข้าไปๆ
ตนเองก็ยังมาโกรธถึงตนเอง ทำ�อะไรไม่ถูกต้อง พูดจาปราศรัยก็ไม่ดี ไม่ไพเราะไม่
เสนาะหู ไม่รู้จักกาลเทศะ เอาไปเอามา น่ังเจริญเมตตาภาวนาคุมจิตใจของตนเอง

ค ว า ม โ ก ร ธ 77

ไม่สงบระงบั เป็นสมาธกิ ็ยังมีความหงุดหงดิ โกรธให้จิตใจของตนเอง กิเลสมนั อยนู่ น่ั แหละ
แต่เราก็ยังไปโกรธกับมันอยู่นั่นแหละ ความโกรธมันก็อยู่น่ัน ก็ยังพากันคิดมีความโกรธ
เกิดข้ึนแก่ตนเองว่ามันไม่สงบ คุมไม่อยู่อย่างโน้นอย่างน้ี มันเป็นเช่นน้ี พวกเราท่าน
ท้งั หลายมาพจิ ารณาดูให้ดี ความโกรธนนั้ มันมที กุ ขม์ โี ทษจริงๆ ทำ�ให้บคุ คลมคี วามทุกข์

คนมคี วามโกรธฝากฝงั ไวใ้ นดวงใจแลว้ หน้าตากจ็ ะไม่แช่มชื่นเบกิ บานหากความ
โกรธเกิดข้ึน ความโกรธเกิดข้ึนแล้วการพูดจาปราศรัยมันก็ไม่ไพเราะไม่เสนาะหูอะไร มี
แต่หอกดาบ ระเบิดปืนเกิดข้ึน มีแต่ของท่ีกระทบกระท่ังกระเทือนออกมา วาจาก็
ไม่เพราะเช่นกัน คิดในจิตในใจขุ่นมัวเศร้าหมองอยู่ ก็ทำ�ให้จิตใจเห่ียวแห้ง จิตใจมี
ความทุกข์ ความโกรธนี้เหมือนกับไข่เน่า ร่างกายของคนประดับประดาดีเท่าไรก็ตาม
แต่ความโกรธฝังอยู่ในใจแล้ว มันมีความทุกข์ความเดือดร้อน พระพุทธองค์จึงตรัสว่า
ความโกรธเป็นเหมือนไฟไหม้อยู่ในดวงใจของเรา ไฟไหม้ข้างในแล้วมันก็ร่ัวไหลออกมา
ทางนอก มาทางปาก ออกมาทางปากก็ออกมาทางร่างกาย ทำ�ให้เสียหายอย่างน้ี
ความโกรธนั้นเป็นของท่ีไม่ดี ดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้เป็นภาษิต ดังได้ยกขึ้นไว้
ในเบอ้ื งต้นน้นั วา่ นหิ สาธุ โกโธ ความโกรธไม่ดีเลย

เราพิจารณาดูซิ ความโกรธเกดิ ขนึ้ มาเช่นนแ้ี ล้ว พวกเราทา่ นทง้ั หลายพจิ ารณาดู
แล้วว่า ความโกรธเช่นน้ีเป็นของไม่ดีหรือเป็นของดี เราโกรธมาน้ันกี่ครั้งแล้ว ตั้งแต่เรา
เล็กๆ มา โกรธกับเพื่อนกับฝูงมาจนเป็นหนุ่มเป็นสาวก็โกรธหลายคร้ังแล้ว ในสิ่ง
ท้ังหลายทีบ่ รรยายมานน้ั บัดน้มี าถึงทา่ มกลางคน ๔๐ ปี ๕๐ ปี ๖๐ ปี ก็มคี วามโกรธ
ขึ้นมาหลายทุกที ท้ังท่ีไปถึงเฒ่าแก่ เป็นปู่เป็นย่า เป็นตาเป็นยาย โกรธลูกโกรธหลาน
โกรธเพื่อนโกรธฝูง ในวงศ์ตระกูลก็ดี มันก็โกรธไปจนถึงเฒ่าถึงแก่ แล้วก็เก็บเอาตั้งแต่
ของไม่ดีไว้อยู่อย่างนี้ ความโกรธมันก็มีอย่างนี้ น่าเบื่อหน่ายไหม หรือเราจะเก็บสะสม
เอาไว้เปน็ ของสกปรกหมกั หมมอยใู่ นดวงจิตดวงใจ ให้มีความทกุ ขเ์ ดอื ดรอ้ นเช่นนี้ ท�ำ ไม
เราจึงไม่สามารถแก้ไขความโกรธน้นั ออกไปจากตนเองให้ได้ กเ็ พราะเรายังไมม่ สี ติปญั ญา

78 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

เหตุฉะน้ันแหละ ความโกรธเป็นของไม่ดี เราโกรธมานานก็ควรท่ีจะเบื่อหน่าย
มัน แต่เราไม่ยอมเบ่ือหน่ายน้ีก็เพราะอะไร เพราะเราไม่ได้แก้ไขตนเอง เราเป็นโรคภัย
ไข้เจ็บอยู่เนืองนิตย์อยู่ภายในจิต เรียกว่า จิตนั้นเป็นโรค เป็นโรคร้อน ท่านจึงว่าเป็น
ของร้อน โรคไม่มีความสุขสบายอะไร โรคจิตอันน้ีก็เรียกว่า โรคมีความโกรธ ครุ่นคิด
อยู่ภายในจิต แผดเผาให้จิตใจมีความทุกข์ความเดือดร้อนอยู่เช่นน้ีมาตั้งหลายปีแล้ว
ตง้ั แตเ่ ลก็ มาจนใหญจ่ นถงึ เฒา่ ถึงแก่ เกบ็ สะสมแต่ของท่ีไมด่ ีไว้ ของไม่ดนี เ้ี อาไปไว้ท่ีไหน
ก็ไม่ดี มันก็มีแต่ความทุกข์ทั้งน้ัน มีแต่ความเหม็นสาบเหม็นคาวท้ังนั้น ของสกปรกเรา
ก็ไม่สลัดออกไปสักที เหมือนของสกปรกติดตัวตนเอง ก็ไม่ล้างไม่เช็ดไม่ถูออกไป มัน
กต็ ิดตวั อยู่น้ี

องค์สมเด็จพระผมู้ ีพระภาคเจา้ ตรสั วา่ เรายงั ไม่ฉลาด เรากเ็ กบ็ ของสกปรกเอาไว้
เก็บเอาไว้แล้วมันก็ไม่มีประโยชน์ ไม่มีสารประโยชน์อะไร จะทำ�ให้เรามีความสุขความ
สบายอะไร เหมือนกับเราเอาของเน่าของเหม็นไว้ในบ้าน ท่ีบ้านของตนน่ี เราถือเอา
ติดตัวไปกับตน เดินไปท่ีไหนแล้วไปอยู่ที่ใดแล้ว แห่งหนตำ�บลใดอยู่ประเทศใดก็ตาม
ของน้ันช่ือว่าของเหม็นคาวเหม็นสาบน่าขยะแขยงแล้ว เราถือไปแล้วเพื่อนฝูงก็ต้อง
เหม็นคาวเหมือนกัน ตนเองกต็ อ้ งเหมน็ คาวเหมอื นกัน แต่เราทำ�ไมจึงเกบ็ เอาของเชน่ นั้น
ไปด้วย น่ี เรามาพจิ ารณาเชน่ นแ้ี ลว้ โอ..ความโกรธน่ีเปน็ ของที่ไมด่ ี เรานี่ไมม่ ีสติปญั ญา

ค ว า ม โ ก ร ธ 79

แต่บางบุคคลน้ันอาจจะมีสติปัญญาบ้าง โกรธขึ้นมาแล้วมานึกถึงทีหลัง เอ..
เรานี้ไม่น่าจะโกรธ เขาโกรธเพ่ือนโกรธฝูง โกรธลูกโกรธหลาน โกรธสามีภรรยาซึ่งกัน
และกนั อยดู่ ้วยกนั ก็ไมน่ า่ จะโกรธ โกรธปยู่ า่ ตายายก็ดี ก็ไม่น่าจะโกรธ เราก็ยังโกรธอยู่
เพราะเช่นนี้เอง บางบุคคลนกี้ ต็ กั เตือนตนเองไดบ้ า้ ง

พวกเราท่านทั้งหลาย มาพิจารณาดูแล้วว่าความโกรธน้ีมันดีไหม เราเก็บสะสม
เอาไว้มานานแล้ว เราควรเบ่ือหน่ายคลายความกำ�หนัดไป อยากยินดีมันไหม อยากละ
มันออกไปไหมของสกปรก อยากล้างมันออกไหม เราอยากอยู่มีความสุขสบายไหม
หรือเราอยากเก็บความโกรธไว้ให้มีความทุกข์ต่อไป ก็ต้องน้อมมาพิจารณาดูตนเอง
น่นั แหละ เป็นเร่ืองทสี่ �ำ คญั

บัดนี้ ความโกรธเกิดข้ึนมาเช่นน้ีเป็นของท่ีไม่ดีเช่นนี้แล้ว เราจะหาวิธีอะไร จะ
ทำ�อย่างไรเราจึงจะลดความโกรธได้ เราจึงจะอยู่มีความสุข ถ้าเราละไม่ได้จะไม่มี
ความสุขสักที เราจะมีแต่ความทุกข์ น่ีเป็นปัญหาที่เราพิจารณา โอปนยิโก น้อมเข้ามา
สู่ตน มาพจิ ารณาตน เรื่องความโกรธนี้ บัดน้ี เราจะละความโกรธไดเ้ พราะอะไร เพราะ
เรามาพิจารณาดตู นเองให้ได้ เพราะพระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงสงั่ สอนไว้ว่า ถ้าหากบุคคลอ่ืน
โกรธเรา เราไม่โกรธตอบนัน้ ดี ถา้ เราโกรธตอบเขา เราก็ชัว่ กวา่ เขา โง่กวา่ เขา เปน็ คนที่
ไมด่ ีกวา่ เขา เสียประโยชนเ์ ปลา่ กเ็ รยี กว่าเปน็ คนโง่คนช่วั กว่าคนอ่นื ถา้ เขาโกรธเรา เรา
ไปโกรธตอบเขาเช่นนั้น เหตุฉะน้ัน เรามาพิจารณาหาวิธีละ วิธีปล่อย วิธีวาง วิธีชำ�ระ
ชะล้าง ละทิ้งเสียของสกปรกน้ัน เราจะพากันทำ�อย่างไรจึงจะได้รับซ่ึงความสุขได้
นีเ่ ปน็ ข้อสำ�คญั ที่พวกเราได้พบไดเ้ ห็นประสบมานมมานานแล้วอย่างนั้น เรากต็ ั้งจิตตั้งใจ
ของเราเช่นน้ีว่า ความโกรธน่ีมาสังเกตดูด้วยเป็นผู้มีสติปัญญา ดูที่เราโกรธมา มีแต่
เสียหายไม่มีประโยชน์ ต้องให้เห็นโทษมันได้เม่ือไร เราจึงจะละความโกรธน้ันได้ การที่
บุคคลเราอยู่ด้วยกนั สามีภรรยาก็ดี น่ี วิธลี ะ เอาอย่างนี้

80 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

บดั น้ี เราจะลดความโกรธออกไป หาวธิ ีชนะละความโกรธออกจากดวงจติ ดวงใจ
ของเราให้ได้ ด้วยเป็นผู้มีขันติ-ความอดทน โสรัจจะ-ความเสงี่ยม เม่ือเรามองเห็น
บุคคลอื่น สามีภรรยาก็ดี เขาไม่ทำ�ตามใจเรา ทำ�การงานอะไร เราก็พิจารณาพูดจา
ปราศรัยกับเขา แต่เขาก็ยังไม่ทำ�เหมือนกัน ทำ�ให้ขัดข้องสายตาของเรา เรามองดูนี่
เรียกว่า มันจะละ ทางด้านเขาแสดงด้วยกายอย่างโน้นอย่างนี้ ไม่พอใจกับเราอันน้ีน้ัน
อยา่ งหนึ่ง ลูกหลานของเราก็ดี ท�ำ การงานอะไร เรยี นหนังสอื ก็ดี ทำ�กิจการงานบ้านก็ดี
ทำ�สิ่งโน้นสิ่งนี้ก็ดี เขาทำ�การงานอะไร หรือเขาใช้ส่ิงของบางส่ิงบางอย่างแตกหักพังไป
เสียหายไปอย่างนี้ เราให้เขาไปแล้ว ใหเ้ ขาไปใชใ้ ห้เปน็ ประโยชน์ แต่มนั หักพงั มันเสยี ไป
อย่างโน้นอย่างน้ี เราก็ต้องมาพิจารณาว่า สิ่งของนั้นเป็นธรรมดาใช้ไปก็ต้องเสียหาย
แต่เรานี้ถือว่าเขาไม่รักษาอย่างโน้นอย่างน้ี ไม่รักษาปฏิบัติมีความเพียรอย่างโน้นอย่างนี้
ของน้ันจึงเสีย เราก็คิดจะโกรธฉุนเฉียวขึ้นมาได้ อันนี้เราก็มาพิจารณาดูว่า ความโกรธ
ขึ้นมาทางเช่นนี้ เราจะทำ�อย่างไร เราก็ต้องพิจารณาให้เข้าใจว่าเป็นธรรมดาของสิ่งของ
นั้นท่ีมันเสียหาย

หรือคนแสดงมาอย่างใดอย่างหน่ึง เพ่ือนฝูงทั้งหลายเหมือนกัน อยู่ด้วยกันแล้ว
เขาแสดงด้วยกายอย่างโน้นอย่างน้ี ทำ�หน้าบูดบึ้งใส่อย่างโน้นอย่างน้ี ทำ�อาการต่างๆ
ทางด้านร่างกายอย่างโน้นอย่างนี้ ทำ�แสดงใส่เรา เราก็มีความโกรธไม่พอใจกับเขา เรา
ไปในสังคมนน้ั สังคมน้ี ทำ�ไมเขาจึงไปท�ำ อย่างนั้น ยนื อยา่ งน้ี เดนิ ไปอยา่ งนั้น ไมเ่ คารพ
คนน้ันคนนี้ ไมร่ จู้ ักสูงต�่ำ ไม่รจู้ กั คนเฒ่าคนแก่อะไร ไมร่ จู้ กั ในวงงานนัน้ วงงานนอ้ี ย่างน้ี
ทำ�การงานอะไรทำ�ไมไม่สามัคคีหมู่เพื่อนฝูง มันเอากายไปทำ�อย่างโน้นอย่างน้ี ทำ�ไม
เมอ่ื เราเหน็ แลว้ เราไมพ่ อใจ ความโกรธกห็ งดุ หงดิ ขน้ึ มาภายในจติ อยา่ งนี้

อันน้ีเราพิจารณาดูว่า แม้ท้ังสามีภรรยาและลูกชายลูกสาวของตนเองก็ดี บุตร
หลาน ญาติพี่นอ้ ง วงศต์ ระกูลกด็ ี เพอ่ื นฝงู ในสงั คมทำ�กิจการงานต่างๆ นน้ั ก็ดี ถา้ หาก
เรามีความโกรธแก่เขาเกิดขึ้นมาเช่นน้ี แล้วเรามีขันติอดทนสู้ไม่ไหว ก็เดินหนีออกจาก
ทน่ี น่ั หลกี ไปเสยี เมอ่ื ไม่เหน็ เขาแสดงอาการทง้ั หลายต่างๆ นัน้ เกิดข้นึ แล้ว สามภี รรยา

ค ว า ม โ ก ร ธ 81

ลูกหลานก็ดี ปู่ย่าตายาย เพ่ือนฝูงก็ดี ความโกรธก็ระงับไปเพราะไม่เห็นเขา นี่เราละ
อย่างเราสู้ไม่ได้ เราละหนีจากคนนั้นไป เม่ือละจากคนน้ันไปแล้ว ความโกรธก็ค่อยๆ
หายไป แต่เมื่อเรามาพบใหม่ความโกรธก็เกิดข้ึนมาอีกถ้าเขาแสดงอย่างน้ัน น่ีมันละไป
ได้ชวั่ คร่ชู วั่ คราว นดิ ๆ หนอ่ ยๆ มนั ยังละไมไ่ ด้ขาด นีอ่ ยา่ งหนึง่ วธิ ลี ะ

การพูดจาปราศรัยก็เหมือนกัน เวลาเราพูดจาปราศรัยมันกระทบกระทั่งกระเทือน
กัน บางทสี ามีภรรยาพดู กันแล้วไมล่ งรอยกนั คนหนง่ึ ได้ค�ำ หนึ่งคนหนงึ่ กไ็ ดค้ ำ�หนึ่ง ไมม่ ี
ใครน่งิ ฟังกันเลย เถียงกนั ได้คนละคำ�สองคำ�อยู่นั้นไมห่ ยดุ อันน้เี รามาพิจารณาดแู ล้วว่า
เราพูดจาปราศรัยกับลูกกับหลานของเราก็เหมือนกัน มันถกเถียงเราอย่างโน้นอย่างน้ี
มันไมฟ่ ังค�ำ สงั่ สอนของเรา เรากม็ คี วามโกรธเกิดขึน้ เราจะท�ำ อย่างไรเราจงึ จะละออกไป
ได้อย่างนี้ เช่น ลูกหลานของเราก็เหมือนกัน ที่เรามีความรักมากๆ มันไม่ทำ�ตามใจเรา
เราก็โกรธให้มันเกิดขึ้น เราจะทำ�อย่างไร อย่างนี้ก็ใช้วิธีละแบบหนี ปล่อยทิ้งไว้ ไม่
ถกเถียงกัน ละหลีกหนี ไปน่ังอยู่ท่ีอื่น ไปพิจารณาอยู่ท่ีอื่น การเถียงกันนี้ไม่มีท่ีส้ินสุด
แหละ เราก็ละออกไป ละอย่างนี้ก็ละได้ชัว่ ครูช่ ว่ั คราวเหมอื นกนั กลบั มาพบกนั ใหม่อีก
อยูบ่ า้ นก็ดี อยทู่ ่ีทำ�งานกด็ ี หรอื ไปเท่ยี วที่โน่นที่นี่ที่อืน่ การไปทอ่ งเทย่ี วไปพบซึ่งกนั และ
กันเกิดข้ึน ก็ยังมาโกรธขุ่นเคืองคนนั้นว่าให้เรา เถียงเราอย่างโน้นอย่างนี้ ความโกรธ
ก็เกดิ ขน้ึ มาอีก วิธีละอยา่ งง่ายๆ แตม่ ันยงั ไมห่ าย มันหายไปชัว่ ครูช่ วั่ คราว เราพจิ ารณา
ดูให้ดีซิน่ี ความโกรธมันเกิดข้ึนมาอย่างเช่นนี้ ทางด้านพูดจาปราศรัย ละแบบนี้แล้ว
มันกย็ งั ไม่หาย

การท่ีมีความโกรธหงุดหงิดขึ้นมาแก่ตนเองนั้น การน่ังเจริญเมตตาภาวนานั้นก็ดี
จิตของเราน้ีไม่อยู่แล้วมีความโกรธเกิดข้ึนว่ามันคุมไม่อยู่อย่างโน้นอย่างนี้ หรือเราพูดจา
ปราศรัยในสถานท่ตี า่ งๆ ไม่ควรพดู อยา่ งโน้นอยา่ งนี้ อนั นเ้ี ราท�ำ การงานสงิ่ ใดสง่ิ หนงึ่ กด็ ี
มันไมด่ ีไม่งาม ไมถ่ กู ตอ้ งกับใจของตนเอง บางคนนนั้ ซอ้ื สงิ่ ของมาไมถ่ ูกตอ้ งแกจ่ ติ ใจของ
ตนเอง ก็มีความไม่พอใจว่าเรานี้เซ่อซ่า บ่นพึมๆ พำ�ๆ แก่ตนเอง ว่าตนเองนี่ไม่ฉลาด
อยา่ งนัน้ อยา่ งน้ีก็มี มนั โกรธข้นึ มาเช่นน้ี ก็มาพิจารณาในสิง่ ของทงั้ หลายเหล่านัน้ ใหด้ วี ่า

82 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

เป็นธรรมดา เราผดิ พลาดแลว้ กเ็ ป็นธรรมดา ซือ้ ส่งิ ของมาไมถ่ ูกใจ ท�ำ อะไรมนั ก็ไม่ถกู ใจ
เพราะกิเลสตัณหานม้ี นั ทำ�อย่างไรมันกไ็ มถ่ กู สักที ไมท่ นั มันสกั ที อย่างนเ้ี ราควรพิจารณา
ด้วยความเป็นผู้มีขันติ-ความอดทน โสรัจจะ-ความเสง่ียม พิจารณาซึ่งส่ิงของเหล่าน้ัน
ให้เข้าใจ พิจารณาดูใจนี่ มันคุมไม่อยู่ก็เพราะเราฝึกมันยังไม่ได้ มันยังไม่อยู่ในความ
คุ้มครองของเรา อนั น้อี ยา่ งนี้เรากต็ อ้ งพิจารณาดใู ห้ดี

แม้ลูกหลานก็เหมือนกัน เราจะคุ้มครองเขาหรือแนะนำ�ส่ังสอนเขาให้อยู่ใน
ขอบเขตของเราน้นั เราก็ทำ�ไม่ไดต้ ามใจเรา เพราะมันเปน็ คนอืน่ มันก็ไมอ่ ยูใ่ นครอบครอง
ของเรา มันก็เป็นธรรมดาเช่นนี้ เราจะทำ�อย่างไร เราไปโกรธเขาก็เสียเปล่าประโยชน์
ต้องให้รู้จักอุปนิสัยของเขา ลูกของเราเป็นอย่างโน้นอย่างน้ี มีอุปนิสัยอย่างโน้นอย่างน้ี
ป่ยู า่ ตายายมีอปุ นสิ ัยอย่างโนน้ อยา่ งน้ี สามภี รรยาก็ดี กเ็ ปน็ อปุ นสิ ัยอยา่ งโน้นอย่างน้ี ก็
ต้องเรียนให้รู้จักอุปนิสัย การยืน เดิน น่ัง นอนของเขา การแสดงออกของเขา พูดจา
ปราศรัยของเขาเกิดข้ึนเป็นอย่างโน้นอย่างน้ี แสดงอาการให้เห็นอย่างโน้นอย่างนี้ เราก็
พยายามพิจารณา ถ้าหากเราพิจารณายังไม่ลง ก็หลีก หลีกออกไป กลับข้ึนมามันมา
พบกัน มันยังมีความโกรธอีก ก็พยายามท่ีจะศึกษา พยายามท่ีจะให้อภัยซ่ึงกันและกัน
พยายามท่ีจะศึกษาให้เข้าใจอุปนิสัยของซึ่งกันและกัน ให้เข้าใจกันได้ เราจึงจะอยู่ด้วยกัน
ไม่ผดิ ไมเ่ ถียงไม่โกรธไมเ่ กลียดซ่งึ กันและกนั

อันนี้แหละเป็นข้อสำ�คัญ ถ้าหากเรายังไม่เข้าใจแล้ว เราก็ยังละความโกรธไม่ได้
ละไม่ได้มันไม่หายสักที ละเดินหนีน้ีมันไม่หาย เราละด้วยความขันติ-ความอดทน อยู่
ด้วยกันเวลาพดู จาปราศรยั ซงึ่ กันและกนั แลว้ สามีพูดออกมาก็ดี ภรรยาก็ตอ้ งอยู่เงยี บๆ
นั่งเฉยๆ ไม่โต้ตอบกัน นี่วิธีละเอาชนะอย่างหน่ึง ชนะความโกรธ ถ้าภรรยาพูดอยู่ก็ดี
สามีก็ตั้งจิตต้ังใจท่ีจะเป็นผู้มีขันติ-ความอดทนว่าภรรยาของตนน่ีพูดจาปราศรัยไม่หยุด
ไมห่ ยดุ อยู่ กใ็ ห้เรามีขนั ตเิ ช่นน้ี เรากจ็ ะอดทนได้ นอี่ ย่างหน่งึ

ค ว า ม โ ก ร ธ 83

อีกอย่างหนึ่งแล้วว่า เราผิดเถียงกัน สามีภรรยาพูดกันผิดเถียงกันอยู่น้ี มันไม่ดี
มันมีโทษ เราพิจารณาดูออกไปภายนอก ถ้าเราผิดเราเถียงเราโต้แย้งซ่ึงกันและกันแล้ว
มันก็ลกุ ลามขึน้ ไปใหญ่ บางทบี ้านใกลเ้ คยี งของเรา เขาจะไดย้ นิ เสยี งสามภี รรยาผิดเถยี ง
กันเอะอะโวยวายเกิดขึ้น วันไหนๆ ก็โกรธแต่กัน ผิดเถียงแต่กัน บ้านหลังน้ันเขาเป็น
อะไรกันหรือ ผิดกับลูกหลานของตนเอง เอะอะอย่างโน้นอย่างนี้ ไปทุบตีลูกเต้าของ
ตนเองร้องไห้ระงม อึกทึกครึกโครมอยู่ในบ้าน ไม่มีความสุขอะไร บ้านหลังนั้นบ้าน
ใกล้ๆ เขาพากันพูดคุยกัน เราต้องพิจารณาออกไปภายนอกบ้านของเรา เอ..บ้านอ่ืน
เขาจะได้ยินเราผิดเถียงกันแล้วไม่มีความสุขอะไร บ้านหลังน้ันก็น่าละอาย เขาเป็นสามี
ภรรยารักกนั อยู่ ท�ำ ไมมาโกรธมาเกลยี ด มาผิดมาเถยี งกันอย่างน้ี ต้งั แตเ่ บ้อื งต้นรักกนั มา
ก็คิดว่าจะไม่มีผิดมีเถียงกัน ไม่เป็นอย่างโน้นอย่างนี้ เมื่อมาอยู่ด้วยกันโดยดี ทำ�ไม
เปล่ียนแปลงไปอย่างโน้นอย่างนี้ ผิดเถียงกันเกิดขึ้น ถ้าเขาคิดอย่างน้ันแล้วเขาก็
น่าละอายเราเหมือนกัน ในครอบครัวของเรา อันนี้เรามาพิจารณาเช่นนี้อีกอย่างหน่ึง
เม่ือพิจารณาอย่างน้ี เอ..เราก็จะละอายตนเอง เราพูดผิดเถียงกันน้ีไม่ดี ความโกรธมัน
ก็จะสงบระงับไปได้เหมือนกัน จากสามีภรรยาซ่ึงกันและกันน้ีอย่างหนึ่ง อันนี้เรามา
พิจารณา หรือว่าผิดกับพี่กับน้อง ญาติวงศ์ตระกูลกัน กับปู่กับย่ากับตากับยายก็ดี ใน
ส่ิงทั้งหลายเหล่านี้แหละ เรามองดูทางบ้านใกล้เรือนเคียงเขาเงียบๆ อยู่ บ้านเราน้ีผิด
เถยี งกนั อยูน่ ่นั อยดู่ ้วยกันไม่มีความผาสุกอะไร เราก็มาพิจารณาดูอย่างนีก้ น็ ่าละอายเขา
ความโกรธก็จะระงับไป ถ้าบุคคลใดมีสติปัญญาพิจารณาดูตนเองเช่นนั้น น้ันอย่างหน่ึง

ทางที่ดีน้ัน คือการที่เขาแสดงด้วยกายอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นสามีภรรยาก็ดี
กุลบุตรกลุ ธิดา ลูกหลานของเราน้ันกด็ ี เราก็มาพิจารณา เรารกั เขามากอยา่ งนี้ เรากย็ ัง
โกรธเขา เพราะเขาทำ�ไมด่ ตี ามค�ำ ส่งั สอนของเรา เรากม็ คี วามโกรธเกิดขน้ึ เช่นนเ้ี ราก็มา
พิจารณาดูตนเองน่ันแหละ ดูตนเอง เราไปโกรธเขาน้ันมันมีประโยชน์อะไรหนอ เรา
ก็อยากให้เขาดีมีประโยชน์ ก็คืออยากให้เขานั้นมีความสงบเสง่ียมเรียบร้อย ปฏิบัติตาม
คำ�สอนของเรา ท�ำ อะไรให้มีระเบียบเรยี บร้อย ท�ำ อะไรใหม้ สี ตปิ ัญญา ระมดั ระวงั ส่ิงของ

84 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

ต่างๆ จัดไว้ที่ไหนให้เป็นระเบียบเรียบร้อย เป็นสิ่งที่ดี แต่เขาไม่ทำ�ตามใจเรา เราให้
ทำ�งานนั้น มันก็ไม่ทำ�ตามใจเรา พูดจาปราศรัยมันก็ไม่พูดไพเราะเสนาะหูเหมือนอย่าง
ที่เราคิด เรามีความรักเขามาก เราโกรธเขา เขาไม่ทำ�ตามใจเราอย่างน้ี เราก็ต้องมา
ศึกษาเล่าเรียนให้เข้าใจว่า อุปนิสัยแต่ละบุคคลนั้นมันต่างๆ นานากัน เหมือนเรามีสามี
ภรรยาอยู่ด้วยกันก็ยังผิดเถียงกัน ก็ศึกษาอุปนิสัยให้เข้าใจนั้นอย่างหน่ึง จะได้ให้อภัย
ซึ่งกันและกัน เวลามีความโกรธฉุนเฉียวเกิดขึ้น เราจะให้อภัยซ่ึงกันและกัน คือไม่โกรธ
ตอบซ่ึงกันและกัน และให้เป็นผู้สังเกตมีสติปัญญาจะแก้ไขอย่างไร จะทำ�ตามใจอย่างไร
ให้คนน้นั มคี วามรู้สกึ ตัวด้วยตนเองเอา แล้วเขาก็จะแกไ้ ขตนเองได้ นอ่ี ย่างหนง่ึ

บัดน้ี ลูกหลานของเราก็เหมือนกัน ลูกหลานของเราน้ีต้องศึกษาให้รู้จักอุปนิสัย
ของเขา แต่ละบุคคลน้ีอุปนิสัยไม่เหมือนกัน แต่เราอยากให้มันดี บางคนมันดีกว่าหมู่
ดีท้ังการทำ�การงาน ดีทั้งการพูดจาปราศรัย ดีท้ังการศึกษา ฉลาดว่องไวแหลมคมก็มี
ต่างกัน บางคนก็โง่ ทำ�การงานก็ไม่ว่องไว ไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย บางคนพูดจา
ปราศรัยก็ไม่ไพเราะไม่เสนาะหู ลูกหญิงลูกชายก็ดี บางบุคคลน้ันความคิดของเขาคิดไป
ต่างๆ นานา มนั ไมเ่ หมอื นกันคนเราน้ี เราก็ศกึ ษาอุปนสิ ัยของเขาใหเ้ ข้าใจ โอ..คนน้มี นั
มีอุปนสิ ยั อยา่ งนี้ ส่ิงไม่ดีเรากค็ อยตกั เตือนเขา เพราะเราเป็นพ่อเป็นแม่ของลกู เขาเปน็
กลุ บตุ รกุลธดิ าของเรา ลูกหลานของเรา เขายงั ไมฉ่ ลาดเทา่ เรา เราปรารถนาดีมคี วามรกั
เขา เรากค็ อ่ ยๆ ใชส้ ติปัญญาไตร่ตรอง ดอู ปุ นสิ ยั แตล่ ะบุคคลให้ได้ เม่อื เรามาเขา้ ใจแลว้
อย่างนี้ อุปนิสัยคนนี้เป็นอย่างน้ี ทำ�การงานเป็นอย่างนี้ อุปนิสัยคนน้ีเป็นคนโกรธง่าย
อุปนิสยั คนนเี้ ป็นคนไม่โกรธง่าย อปุ นิสัยคนน้ีเป็นคนทำ�การงานดี คนน้ีท�ำ ไม่ดี อปุ นสิ ยั
คนนี้การพูดจาปราศรยั กด็ ี คนหนึง่ พูดไม่ดี เราศกึ ษาเข้าใจเช่นนี้ เราจะหาอบุ ายอยา่ งไร
พูดจาปราศรัยกับเขาด้วยความไพเราะความเสนาะหูแก่เขา แล้วแนะนำ�ส่ังสอนเขาให้
ทำ�การงานท่ีดี นี้มันทำ�ไม่ดี บางทีร่างกายมันไม่แข็งแรงไม่เป็นระเบียบบ้าง ก็แนะนำ�
สั่งสอน เราก็ทำ�ให้เขาดเู ปน็ ตัวอย่างบา้ ง จัดสงิ่ จัดของก็ดี ท�ำ การงานก็ดี พดู จาปราศรยั
เรากต็ ้องฝกึ ตนเองใหด้ กี วา่ เขา จึงจะสอนเขาได้

ค ว า ม โ ก ร ธ 85

อนั นี้ เราก็พดู จาปราศรัยอย่างโนน้ อยา่ งน้ี มันจะมภี ยั อันตรายเกิดขนึ้ อยา่ งโน้น
อย่างนี้ เรากไ็ มค่ วรโกรธเขา เราควรท่จี ะศึกษาเขาให้เขา้ ใจ แล้วเราก็แนะน�ำ ส่งั สอนเขา
เสียว่า เขายังไม่ดี เพราะเป็นกุลบุตรกุลธิดา ลูกหลานของเรา เรารักเขาเช่นนี้ เราก็
ควรศึกษานสิ ยั เขาใหเ้ ขา้ ใจ เมื่อเข้าใจแลว้ เรากแ็ นะนำ�สง่ั สอน พาเขาท�ำ อย่างโนน้ อยา่ งน้ี
ชี้แจงแสดงถึงส่ิงท่ีไม่ดีให้เขา ให้รู้โทษของการทำ�ไม่ดีอย่างโน้นอย่างนี้ เราไม่ควรจะไป
โกรธเขา เราควรใหอ้ ภัยเขา เพราะเขายังไมม่ ีสตปิ ัญญา อันนีแ้ หละ กุลบุตรกลุ ธดิ าของ
พวกเราท่านทั้งหลายก็เหมือนกัน ให้เรามาพิจารณาเช่นน้ีอีกอันหนึ่ง เราจึงไม่มีความ
โกรธ ความหงุดหงิดแก่เขา เพราะเราศกึ ษาได้ ถ้าเราไปโกรธเขา เราน่แี หละยงั ไมด่ ี เรา
หงุดหงิดเกิดขึ้น โกรธเขา เม่ือเขาทำ�อย่างโน้นอย่างน้ีไม่ดี เราโกรธ บางทีความโกรธ
เกิดขึ้นมากก็ถึงทุบตีเขา เขาก็เจ็บปวด เราคิดข้ึนมาภายในจิต เราคิดอยากทุบตีฆ่าให้
มันตายเสีย มันไม่พอใจอย่างนี้ มันก็เป็นบาปเกิดขึ้นภายในจิตของเรา มันไม่ดี มัน
เศร้าหมองเฉยๆ เรามีเมตตา มีความรักเขา มีความสงสารเขาแล้ว เราก็ไม่ควรท่ีจะ
โกรธเขา เราก็ควรจะแนะนำ�สั่งสอนเขาด้วยคุณงามความดี เพ่ือท่ีจะให้เขาปฏิบัติไป
อันนก้ี ็ละความโกรธไปจากลกู หลานได้

พิจารณาดูซิทุกคน โกรธสามีภรรยา ลูกหลาน เพ่ือนฝูงก็เหมือนกัน เพ่ือนฝูง
ของเรานั้น บางคนนี้เราทำ�งานอยู่เป็นหมู่เป็นกลุ่ม ไปมาหาสู่ซ่ึงกันและกัน บางคนนั้น
ก็พดู มาก บางคนก็พูดน้อย บางคนกพ็ ูดจาปราศรัยไม่ไพเราะไม่เสนาะหู กระทบกระท่ัง
เพ่ือนฝูงก็มี เพราะมันออกมาจากความคิดของเขาท่ีไม่ดี เขาจึงกระทบกระทั่งคนอื่น
เช่นนี้ เราก็พิจารณาอยู่ในวงงาน เพื่อนฝูงเป็นหญิงเป็นชายก็ดี คนเฒ่าคนแก่ก็ดี เรา
ต้องศึกษา ถ้าเราเป็นลูกผู้มีปัญญาแล้ว ศึกษาพ่อแม่ ปู่ย่าตายายของเรานั้น เราก็ต้อง
ฝึกฝนอบรมตนเองเหมือนกัน ดูคนเฒ่าคนแก่แล้ว เฒ่าแก่มาแล้วชอบข้ีบ่นอย่างโน้น
อย่างน้ี ข้ีโมโหอย่างโน้นอย่างน้ี เราก็พิจารณาดูตนเองให้ดี เราปรับปรุงตนเองให้ดีข้ึน
มาเรื่อยๆ ปูย่ า่ ตายายก็ดี บิดามารดากด็ ี ก็จะเหน็ เราดีข้ึนมาเรื่อยๆ ดีขนึ้ มา ท่านกจ็ ะ
ภูมใิ จ ทา่ นกจ็ ะไมจ่ ู้จ้บี น่ อยา่ งโนน้ อยา่ งนีแ้ ก่เราเกดิ ข้ึน อยา่ งหน่ึง

86 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

อันน้ีเราพิจารณาเรียนอุปนิสัยของคนให้เข้าใจ อุปนิสัยของเด็กก็อย่างหน่ึง
อุปนิสัยของหนุ่มสาวก็เป็นอย่างหน่ึง อุปนิสัยของคนท่ามกลางคนมีครอบครัว หัวเลี้ยว
หัวต่อ มีลูกหลายคน บางทีก็จะยุ่งเหยิงในกิจการงาน เราก็ศึกษาให้เข้าใจ บางทีก็
คนเฒ่าคนแก่มาแล้ว เกิดมา ๖๐ - ๗๐ ปีขึ้นมาแล้ว แต่ปรารถนาดี อยากให้ลูกหลาน
อยูใ่ นคุม้ ครอง แตช่ อบบน่ พึมๆ พ�ำ ๆ อย่นู ัน่ แหละ มคี วามโกรธลูกโกรธหลานอยู่ บางที
เรื่องทรัพย์สมบัติก็ดี แบ่งปันไม่สม่ำ�เสมอกันอะไร จำ�พวกเหล่านี้ รักแต่คนโน้น คนนี้
ไม่รัก เราอย่างโน้นอย่างนี้อะไร คนเฒ่าคนแก่ก็มีความโกรธขึ้นมา เราก็พยายามศึกษา
ใหร้ ูจ้ ักอปุ นสิ ัยของคน ถา้ เรารจู้ ักอปุ นิสยั ของคนแลว้ เราก็จะเข้าใจในการพดู จาปราศรยั
ไม่โกรธซ่ึงกันและกันข้ึนมาได้ อันนี้เรารู้จักอย่างหน่ึง วิธีละความโกรธ รู้จักอุปนิสัย
ซึ่งกันและกัน แล้วก็ให้อภัยกัน เพราะเราเห็นโทษของความโกรธ มันไม่ดี อย่างนี้วิธี
ละความโกรธอีกอยา่ งหน่งึ

อันนี้วิธีละความโกรธมันเกิดข้ึนแก่ตนเอง มันคิดข้ึนมาภายในจิตในใจเรา เม่ือ
มานั่งเจริญเมตตาภาวนา จิตใจมันไม่อยู่กับตัวตนก็ดี เราไปโกรธแล้วมันจะได้อะไร
ก็มันโกรธอยู่นั้น กิเลสมันอยู่น้ัน จิตมันไม่อยู่ก็เพราะอะไร เพราะเราไม่มีสติปัญญา
เทา่ นั้นท่ีจะควบคมุ จติ ของตนเองให้อยเู่ ปน็ สมาธิ มันไมอ่ ยู่ มนั คดิ วิ่งไปโน้นไปนอี้ ยู่ เรา
ก็ไม่น่าจะไปโกรธตนเอง ถ้าคนอื่นเขารู้จักว่าเราโกรธตนเอง เขาก็จะหัวเราะเท่าน้ันว่า
เราน้ีทำ�ไมจึงโง่ไปโกรธกับจิตใจของเรา กิเลสมันก็อยู่ที่นั่น ความโกรธมันก็เกิดข้ึนมา
จากทีน่ ่ัน ขนุ่ เคอื งอยูท่ ีน่ น่ั รอ้ นอยทู่ ่นี นั่ น่เี รากพ็ ิจารณาดแู ลว้ วา่ มันกไ็ มน่ า่ จะโกรธอะไร

บางทีเราพูดจาปราศรัยน่ีเราไม่มีสติปัญญาว่องไวควบคุมคำ�พูด เพราะมันเสีย
มาแต่ด้านจิตใจ มนั โกรธตงั้ แตใ่ นจติ ใจ มันกพ็ ูดออกมาทางปาก เพราะอะไร เพราะเรา
ขาดสติปัญญา ขาดขันติ-ความอดทน มันจึงพูดเช่นน้ี เราก็มาดูคำ�พูดของตนเองดีกว่า
เราพูดไม่ดี พูดไม่ไพเราะไม่เสนาะหู แล้วมาโกรธตนเองทำ�ไม เราก็พยายามฝึกฝน
ตนเองเทา่ น้นั เราก็จะละได้

ค ว า ม โ ก ร ธ 87

การท�ำ การงานดว้ ยตนเองก็ดี ท�ำ ไม่เป็นระเบียบเรียบรอ้ ย ไม่สวยสดงดงาม ไม่
ตรงตามความคิดของตนเอง ก็ความคิดของกิเลสนั้นมันไม่มีที่สิ้นสุดลงได้ อะไรมันก็คิด
อยากดี แต่ร่างกายทำ�ไม่ดีจะไปโกรธทำ�ไม เสียประโยชน์เฉยๆ โกรธเฉยๆ โกรธให้
ตนเองทำ�อะไรมันไม่ดี ไม่ถูกกับจิตใจของตนเอง อันความโกรธอย่างน้ี เราศึกษาดูแล้ว
วา่ มันจะทำ�อย่างไร ตนเองน้ีแหละทำ� ก็ยงั ไปโกรธตนเองอยู่

อันนี้มันเป็นเรื่องน่าคิดดูว่าเราโกรธตนเอง พิจารณาดูให้ดีเช่นน้ี แต่น่ีการยืน
เดินนั่งนอนของตนเอง ทำ�อะไรทุกส่ิงทุกอย่างแล้ว มันไม่ทันกับกิเลส เพราะกิเลสอยู่
ภายในจิตน้ัน มันต้องการสนองสิ่งที่มันพอกับความต้องการของกิเลส พอสิ่งน้ีแล้วมัน
ก็มีสิ่งอื่นเกิดขึ้นใหม่ มาศึกษาเรื่องกิเลสทำ�ให้ครุ่นคิดภายในจิต ทำ�ให้ไม่พอใจเกิดขึ้น
ภายในจิตของเรา มันมีความโกรธเกิดขึ้นทางการพูดจาปราศรัยและการทำ�การงานด้วย
กายอย่างน้ี เราก็ลองมาใช้สติปัญญาพินิจพิจารณาใคร่ครวญไตร่ตรองให้ถี่ถ้วน ดูอุปนิสัย
ของตนเองมันเป็นอย่างไร มันทำ�งานอย่างไร มันพูดจาอย่างไร มันคิดอย่างไร ก็ใช้
สติปัญญาพิจารณาดูตนเองแล้วมันจึงจะละได้ น่ีวิธีการวิธีละความโกรธให้เบาบางลงไป

บัดน้ี หากเราทำ�อย่างไรๆ มันก็ยังละไม่ได้ เราละแบบอย่างนี้ไม่ได้ เราก็มา
ศึกษาให้เข้าใจว่า อันความโกรธน้ีมันมีโทษ โกรธสามีภรรยา โกรธลูกโกรธหลานก็ดี
คิดว่ามันมีโทษ มีภัย มีความทุกข์ ความโกรธ โกรธข้ึนมาแล้วมันมีความทุกข์ มันไม่ดี
นี้เราจะทำ�อย่างไร

เรากต็ อ้ งใชส้ ติปัญญาใหร้ จู้ กั โทษจริงๆ แล้วมันกจ็ ะละได้ ดว้ ยเป็นผู้มสี ตปิ ญั ญา
นั้นอย่างหนึ่ง ถ้าหากว่าการท่ีแสดงด้วยกายของเขา การพูดจาปราศรัยของเขาก็ดี เขา
ทำ�อย่างนั้นก็เป็นธรรมดา เพราะเราศึกษาให้รู้จักอุปนิสัยแต่ละบุคคลๆ เราศึกษาให้
เข้าใจเราก็จะละได้ ถ้าละยังไม่ได้ เราไปพบกันก็มีความโกรธเขาขึ้นอีก หรืออยู่ใน
ครอบครัวก็ดี มีความโกรธอีก เราก็พิจารณาให้เข้าใจแล้วว่า เออ..ความโกรธนี้มีโทษ

88 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

ท�ำ ไมเรายงั ไม่อยากละ เราท�ำ อย่างไรจึงจะละได้ กต็ ้องเป็นผใู้ ชส้ ตปิ ัญญานนั่ เอง พจิ ารณา
ดูแล้วว่าการพูดจาปราศรัยของเขา เขาพูดจาปราศรัยแล้วมันดังเข้ามาในหูของเรา หูก็
รับไว้เป็นสัญญาจำ�ไว้ เป็นสัญญาจำ�ไว้ มันก็ส่งลงมาทางใจ เป็นวิญญาณหมายรู้เอาไว้
หมายรู้เอาไว้อยู่ในใจ ก็มายุแหย่ให้ใจมีความโกรธ โอ..มันเป็นสิ่งเหล่าน้ี เสียงมันก็ดับ
ไปแล้ว หูมันก็ไม่ได้ยินอีกแล้ว มันก็เป็นอนัตตาท้ังคู่ ทำ�ไมเราจึงไปยึดมั่นถือม่ันในของ
อย่างน้ัน ของท่ีไม่ดีให้มีความโกรธอย่างน้ัน นี่ เรามาพิจารณาอย่างนี้เราก็จะละความ
โกรธได้ ละไปเรอ่ื ยๆ ไดย้ นิ ไดฟ้ ังหลายครั้ง ละไปๆ เดย๋ี วมนั กเ็ บาบางไป พอได้ยินทหี ลัง
มันก็ไม่เอาล่ะ ไม่ต้องการล่ะ เราเห็นโทษของมัน มีความทุกข์อยู่ภายในจิตของเราถ้า
เรามคี วามโกรธเกดิ ขึ้น อนั นี้ก็ละได้ ไมเ่ กยี่ วข้อง ไม่ยึดมน่ั ถือม่ันในส่งิ เหลา่ น้นั

ถ้าค้นคว้าลงไปอกี แลว้ ว่า ถ้าคนด่าคนว่า คนนนิ ทาตา่ งๆ นานา คนทำ�การงาน
อะไรไม่ถูกต้องแก่เรา เรามาพิจารณาส่ิงของอันน้ี เมื่อมาสรุปแล้วว่ามันก็เป็นอนัตตา
เป็นไตรลักษณ์เหมือนกัน ไม่เท่ียง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เรารู้จัก เราพิจารณาจนถึง
ไตรลักษณ์ เพราะคนอืน่ ไมใ่ ช่เรา เราจะไปคมุ อย่างไร น้ีอย่างหน่งึ เพราะเสยี งเราจะไป
คุมอยา่ งไร เราพจิ ารณาดแู ล้วว่า เสยี งมันดังมาแต่ท่ีไหน ดังมาจากคน คนมอี ะไร คนมี
ธาตุ ๔ มีธาตุ ๔ แล้วมีลมหายใจ มันจึงพูดได้ ถ้ามันตายมันก็พูดไม่ได้ มันนินทาเรา
ไม่ได้ ถ้ามันตายไปแล้ว มันไม่แสดงอาการให้เราเห็นอย่างโน้นอย่างน้ีได้ เป็นธรรมดา
อย่างนี้ ความโกรธนี้เขาก็สมมุติขึ้นมา นินทาต่างๆ นานา เขาก็เป็นเรื่องสมมุติทั้งน้ัน
ถ้าหากเรามาคดิ ดแู ล้วว่า ถา้ คนไมด่ ีเราดี เขาวา่ เราไมด่ ีแต่เราดอี ยู่ เราก็ไม่ควรที่จะโกรธ
เขา มงุ่ หนา้ ทำ�ความดีเท่านัน้ บัดน้ี ถ้าเราไมด่ ีคนอนื่ ว่าเราไม่ดี เราก็ไมค่ วรที่จะไปโกรธ
เขา มาพิจารณาว่าเรานี้ไม่ดีจริงๆ เขาจึงมาว่าเรา เราก็ควรท่ีจะถือว่าเขาเป็นอาจารย์
สอนเราให้เราเป็นคนดี เรากไ็ ม่ควรท่ีจะโกรธเขา เราก็คน้ ควา้ เข้ามาถึงความดเี ชน่ นี้

ค ว า ม โ ก ร ธ 89

แต่คนเราน้ันมันไม่พิจารณาดูตนเอง มันว่ามันถูกหมดมันดีหมด ว่าตนเองนี้
ดกี ว่าทุกคนนั่นเอง มนั จงึ ไปยึดไปถอื แล้วมันจงึ มีความโกรธ โอ..มันเปน็ เชน่ นี้ ถ้าหาก
เราว่าเราดีอยู่แล้วคนอื่นว่าไม่ดี เราก็ปฏิบัติตนเองให้ดีเสีย มันก็ไม่มีอะไร ทำ�ความดี
ต่อไป ความโกรธก็จะหายไป ถ้าเราไม่ดี เขาว่าเราไม่ดี เราก็ปฏิบัติตนเอง พยายาม
ปรับปรุงตนเองใหม่ให้ดีขึ้นมา แล้วเขาจะว่าอย่างไร แม้เขาจะว่าอยู่ก็เป็นเรื่องของคนที่
จะว่า เราก็มุ่งหน้าสร้างความดเี ทา่ นน้ั ก็ไม่ควรจะโกรธคนอน่ื ที่เขาแนะนำ�สั่งสอนเราให้
เป็นคนดี แม้พ่อแม่สอนลูกก็ดี ลูกก็ปฏิบัติดีเสีย แม้พ่อแม่ก็ไม่ควรท่ีจะโกรธลูกอะไร
เพราะเราดีขึ้นมาแล้วอย่างนี้ ปู่ย่าตายายก็เหมือนกัน อันน้ีวิธีละความโกรธภายใน
ทค่ี นอ่ืนท�ำ ใหเ้ รามคี วามโกรธเกิดข้ึน

บดั น้ี เรามาศกึ ษาวิธลี ะความโกรธที่เกดิ ขึน้ แกต่ นเองใหเ้ ข้าใจวา่ เราโกรธตนเอง
ทำ�อะไรไม่ดี เราโกรธอะไร พดู จาปราศรัยไม่ดโี กรธอะไร ความคดิ ของตนเองคดิ ไมด่ เี รา
มีความโกรธหงุดหงิดเช่นนี้ โกรธให้จิตของตนเองน่ังทำ�สมาธิไม่เป็นสมาธิเช่นนี้ เราก็มา
ศกึ ษาพจิ ารณาดูแลว้ ว่า เราขาดสตปิ ญั ญาทั้งน้นั ทเ่ี รายงั พจิ ารณาตนเองไม่ได้ ความโกรธ
มันจึงเกิดขึ้นมาได้อย่างนี้ ถึงเม่ือมาศึกษาดูแล้วว่าความโกรธเป็นของไม่ดี มีโทษหมด
โกรธลูกโกรธหลาน โกรธเพื่อนฝูง พ่อแม่ พี่น้อง ปู่ย่าตายาย ก็มีโทษท้ังน้ัน เป็นของ
ไม่ดี โกรธตนเองทำ�อะไรไม่ดีก็มีโทษ พูดจาปราศรัยอะไรไม่ดี โกรธตนเองนั่งไม่สงบ
ก็มีโทษ

สรปุ แล้ว ความโกรธน้ี ถา้ มารวมอยูแ่ ล้วมันกม็ โี ทษ แผดเผาจติ ใจเราให้เรา่ ร้อน
ขุ่นมัวอยู่ตลอด ไม่มีความสุขอะไร ใครว่าความโกรธดี พิจารณาดูเช่นนี้ เมื่อเรามีสติ
ปัญญาพิจารณา โอปนยิโก น้อมธรรมเข้ามาพิจารณาที่ใจของตนเองนั้นว่า ใจน้ีมีทุกข์
มีความเดือดร้อนจริงๆ โกรธมาตั้งหลายปีแล้ว มีทุกข์มาหลายปี โกรธ ๑๐ ปีก็ทุกข์
๑๐ ปี โกรธ ๒๐ ปกี ต็ อ้ งทุกข์ ๒๐ ปี โกรธไปจนตาย กจ็ ะนำ�ความโกรธน้นั ไปส่ภู พใหม่
มันเป็นของไม่ดี

90 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

ถ้าหากเราทุกคนมาเห็นความโกรธมีโทษเช่นนี้ด้วยเป็นผู้มีสติปัญญาแล้ว เรา
ทุกคนก็จะละความโกรธนน้ั ได้ มีความสขุ สบายทกุ คน อนั นี้แหละ พวกเราทา่ นทั้งหลาย
มาพจิ ารณาดใู หเ้ ข้าใจวา่ การทเี่ ราหาวิธลี ะความโกรธนัน้ ละเบอ้ื งต้นนั้นเราเดนิ หนีจาก
เขา ละตอ่ มาเราก็ไม่เดนิ หนี กส็ ้พู จิ ารณาใหเ้ ข้าใจ พจิ ารณาให้ร้จู ักอุปนิสยั แตล่ ะบคุ คลๆ
พิจารณาดตู นเองทเี่ ราโกรธตนเอง ดว้ ยกาย ดว้ ยวาจา และความคิดของตนเองน้ัน จิต
ทไ่ี ปอยู่น้นั เรากม็ าพจิ ารณาน้อมเข้ามาดูตนเองเชน่ นี้ เมอ่ื สรปุ โดยดีแล้วกถ็ อื ว่าเป็นของ
มีโทษ ของที่มีโทษแล้วเราจะเอาไว้ทำ�ไม ของสกปรกมันนำ�ความทุกข์มาให้เราเช่นนี้
เรากค็ วรจะละ ด้วยเปน็ ผมู้ ีสตปิ ัญญา ละอย่างดงั ไดก้ ล่าวมาน้ี เราก็จะสบายใจ อยู่กบั
สามภี รรยากด็ ี เวลาโตแ้ ย้งเถียงกันก็อยูเ่ ฉยๆ ก่อน เมื่อเราใจดีจงึ มาพูดกนั กับลกู หลาน
ก็เหมือนกนั เวลาฉนุ เฉยี วก็สงบอารมณเ์ สียก่อน จึงไปพูดจาปราศรัยแนะนำ�สงั่ สอนเขา
กับพ่อแม่ พ่ีน้อง ปู่ย่าตายาย และเพื่อนฝูงก็เหมือนกัน เม่ือเกิดความโกรธข้ึนก็สงบ
อารมณ์เสีย ขันติอดทนเอาไว้ ความเสง่ียม เตรียมตัวเอาไว้อย่างนี้ คำ�ว่าขันติ-ความ
อดทน คือ อดกล้ันเอาไว้ ไม่แสดงออกมา โสรัจจะ-ความเสงี่ยม ไม่แสดงออกมาทาง
วาจา ไม่แสดงออกมาทางกาย หงุดหงิดหน้าดำ�หน้าแดง หน้าน่ิวคิ้วขมวดอะไร ทำ�
ตนเองให้สง่าผ่าเผย ยิ้มแย้มเบิกบานอยู่เฉยๆ มองดูอยู่เฉยๆ หรือสงบอารมณ์อยู่เฉยๆ
อยา่ งนี้ เรากจ็ ะมีความสขุ

เราละความโกรธได้ อยู่ด้วยกันกับสามีภรรยา กับลูกหลานก็ดี กับพ่ีป้าน้าอา
ในวงศต์ ระกูล เพือ่ นฝูงในสงั คม และกบั ตายายก็ดี อยา่ งน้ไี ปทไี่ หนถา้ เราละได้แลว้ เรา
มีสติปัญญาว่องไว และมีขันติ-ความอดทนแล้ว เราไปอยู่แห่งหนตำ�บลใด ประเทศใด
เมืองใด กับชาติใด ภาษาใดก็ตาม เราดูบุคคลท้ังหลายเหล่านั้นด้วยเป็นผู้มีสติปัญญา
แล้วไตร่ตรองให้ถี่ถ้วน เราก็สามารถละความโกรธออกจากดวงใจของเราได้แล้วอย่างน้ี
เรากม็ คี วามสุขความสบายอย่ตู ลอด ไม่หน้านวิ่ ควิ้ ขมวด ไม่แสดงอาการอยา่ งโนน้ อยา่ งน้ี
ทำ�ตนเองให้มีหน้ายิ้มแย้มแจ่มใสแช่มช่ืนเบิกบาน จิตใจก็แช่มช่ืนเบิกบาน อันน้ีเรียกว่า
เรามีความชนะความโกรธ เราทกุ คนควรจะเอาชนะให้ได้ มนั จงึ ไมล่ กุ ลามลึกเข้าไป

ค ว า ม โ ก ร ธ 91

คนมคี วามโกรธเพยี งแค่นี้ เราควรท่ีจะละได้ เพราะมนั เปน็ ของเบาๆ อย่าให้มนั
ลกุ ลามใหญ่โตข้นึ มา ถา้ มันลุกลามใหญ่โตข้นึ มาแล้ว ขนั ต-ิ ความอดทน มันยึดเขา้ เอาไว้
ไม่ได้ มันจะไปถึงโทสะ เราก็เห็นคนอ่ืนเขา เขาโกรธซ่ึงกันและกันแล้ว มันลุกลาม
ใหญ่โตขึ้นมาแล้วมันจึงเป็นโทสะ ทุบตีกันเห็นไหม จนเจ็บจนปวดแข้งหักขาหักเป็น
บาดแผลเกิดขึน้ ถา้ หากเราไปทุบตีสามภี รรยาหรอื ลกู หลาน หรือเพอ่ื นฝงู ก็ดแี ลว้ อย่างน้ี
เขาก็เจ็บปวด ทุกคนน้ันไม่อยากเจ็บปวด ไม่อยากให้ใครเจ็บปวด มันจึงเป็นของไม่ดี
อันน้ีแหละมันเป็นโทสะ ถ้ามีโทสะมากข้ึนก็จะกลายเป็นพยาบาทอาฆาตจองเวร เห็นไหม
มันลุกลามลึกเข้าไปไม่หยุด จนทุบตี ฆ่าฟันรันแทงด้วยอาวุธต่างๆ นานา ทำ�ลาย
ล้างผลาญชีวิตซึ่งกันและกันให้ย่อยยับดับไป แล้วมันก็ฉิบหายไป ให้เป็นบาปเป็นกรรม
เกดิ ข้นึ แกต่ นเอง ในภพชาติตอ่ ไปจะมคี วามทุกข์

อันน้ีเรามาพิจารณากันอย่างน้ีแหละ โอ..เราไม่ระวังต้นเหตุตั้งแต่ความโกรธน้ี
แล้ว มันจะลุกลามไปใหญ่ ให้มีภัยอันตรายเกิดข้ึน มันก็เป็นภัยมาถึงตน เราไปทำ�
คนอื่น มันจะเป็นกรรมเป็นเวร ทุบตีคนอื่น เดี๋ยวเขาก็จะมาทุบตีเราต่ออย่างนี้ เราจะ
ไปฆ่าคนอื่น ก็จะเป็นเวรเป็นกรรมต่อไปในภายภาคหน้า เดี๋ยวเขาก็จะมาฆ่าเรา เราก็
เห็นได้ว่า คนฆ่าซ่ึงกันและกัน บาปกรรมไล่ทันในปัจจุบันก็มี เราก็ได้ยินได้ฟังมา
ประเทศน้นั ประเทศนี้ คนนัน้ คนน้ยี งิ กนั ตายท่ีโน้นทีน่ ้ี กเ็ พราะอะไร เพราะมีความโกรธ
ก่อน จึงมโี ทสะเกดิ ขึ้น แล้วจึงมพี ยาบาทฆา่ กันเช่นนเ้ี กิดข้นึ

เรามองเห็นโทษเช่นนี้แล้ว เราก็ควรที่จะระงับความโกรธ เตรียมตัวเป็นผู้มีสติ
ปัญญา มีขันติ-ความอดทน โสรัจจะ-ความเสงี่ยมเอาไว้ เมื่อเราใช้สติปัญญาปรับปรุง
ตนเองอยู่อย่างน้ีแหละ ปรับปรุงไปเร่ือยๆ ไม่ใช่จะละไปได้ง่ายๆ ค่อยละไปค่อย
พิจารณาไป ละไปๆ ต่อไปเราก็ละได้ต้ังแต่ต้นเหตุ เหมือนกับต้นเพลิงไฟไหม้ เม่ือมี
ลูกไม้ขีดลูกเดียว เมื่อมันลุกข้ึนมาเราก็รีบดับเสีย อย่าให้มันไปไหม้บ้านไหม้เมือง ไหม้
สมบัติทั้งหลายฉิบหายไป ไม่ให้ลุกลามไปเช่นนั้น เรียกว่าดับต้ังแต่ต้นเหตุของมัน เมื่อ

92 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

ดับไฟตงั้ แต่ตน้ เหตุ ไฟกไ็ ม่ไหม้ลุกลามเสยี หายอะไร ความโกรธกฉ็ นั น้ันเหมอื นกนั เมื่อ
มีความโกรธหงุดหงิดข้ึนมา ใช้ขันติ-ความอดทนเอาไว้ โสรัจจะ-ความเสงี่ยมเอาไว้
เตรียมตัวไว้ เราเป็นผู้มีสติ ดับเสียต้ังแต่มีความโกรธให้มันหายไป โทสะก็จะไม่เกิดขึ้น
พยาบาทก็จะไม่เกิดขึ้นตามไป ภัยอันตรายก็จะไม่มี เราก็จะอยู่ด้วยกันมีความสุข ใน
ครอบครวั สามภี รรยา ปูย่ ่าตายาย พอ่ แม่ พ่ีน้องและเพอื่ นฝูง

ในสังคมทำ�การงานอันใดก็ดี ก็อยู่ด้วยกันแบบเป็นผู้มีสติปัญญา สนิทสนม
กลมเกลียว มเี มตตาตอ่ กัน เราอยากอย่ดู ้วยกนั มีความผาสุก เรากต็ ้องเป็นผูม้ สี ติปญั ญา
ใหผ้ อ่ นสัน้ ผอ่ นยาวซึ่งกนั และกนั อภยั ต่อกันเช่นนแ้ี ลว้ เรากต็ ้งั หลักเมตตาดว้ ยกายกรรม
มองหนา้ มองตากันด้วยหนา้ ย้ิมแยม้ แจม่ ใสเสีย บัดน้ี พูดจาปราศรัยกพ็ ดู ดว้ ยคำ�ไพเราะ
เสนาะหูต่อกันและกันเสีย การคิดในจิตในใจก็คิดให้สนิทสนมกลมเกลียวกัน คิดให้มี
เมตตาอารีต่อกัน คิดต้ังแต่เด็กเล็กๆ มาถึงหนุ่มสาว ท่ามกลางคนจนถึงเฒ่าแก่ อยู่
ร่วมโลกด้วยกันนี้ก็อยากให้มีความสุขท่ัวกัน ถ้าเขามีความทุกข์ก็อยากให้พ้นจากทุกข์
ถ้ามีความสุขก็อยากให้เขามีความสุขยิ่งๆ ขึ้นไป เรายืนเดินน่ังนอนอยู่ท่ีไหน เป็นผู้มี
เมตตาด้วยกายกรรม วจีกรรม มโนกรรม อยู่ภายในใจเช่นนี้แล้ว เราก็จะอยู่ด้วยกัน
แบบมคี วามผาสกุ ถ้าเราฉลาดกว่าคนอืน่ กต็ าม เราก็มคี วามสขุ ถ้าคนอน่ื ยังไมฉ่ ลาดกับ
เรา เราก็มคี วามสขุ อยเู่ ฉพาะเรา เรากจ็ ะใหค้ วามสุขแกบ่ ุคคลอืน่ ต่อไปอีกได้

เหตฉุ ะนนั้ พวกเราทา่ นทงั้ หลายมาไดย้ นิ ไดฟ้ งั แลว้ วา่ เรานยี้ งั เปน็ คนมคี วามโกรธ
อยเู่ พราะอะไร เพราะกเิ ลสตณั หาเป็นธรรมดา ความโลภเกดิ ขนึ้ เพราะความรกั เรียกว่า
ราคะ ความโกรธเกิดขึ้นก็อาศัยซ่ึงความรักนั้นเอง ราคะนั่นเอง ดังได้กล่าวมาน้ี เรา
พจิ ารณาใหเ้ ข้าใจ ความหวงั ดีต่อลูกต่อหลาน กเ็ รียกวา่ มีเมตตา เปน็ ความรัก ความรัก
อันน้ีแหละมันจึงทำ�ให้มีความโกรธ รักมากมันไม่ทำ�ตามใจ มันจึงโกรธ เราจึงเข้าใจ
สดุ ทา้ ยก็เรยี กว่า เราหลง เราไม่เข้าใจ เราพจิ ารณาไมเ่ ข้าใจ เราจึงมีความโกรธ มีโทสะ

ค ว า ม โ ก ร ธ 93

มีพยาบาทต่อไปเรื่อยๆ เช่นนั้น เม่ือทุกคนมาทำ�ความเข้าใจเช่นนี้แล้ว บุคคลใดละได้
กจ็ ะมีความสขุ ดังภาษิตท่พี ระผมู้ พี ระภาคเจ้าตรสั ไว้วา่ โกธํ ฆตฺวา สขุ ํ เสติ บคุ คลใด
ละความโกรธได้ บุคคลน้ันแหละมีความสุขสบาย โกธํ ฆตฺวา น โสจติ บุคคลใดละ
ความโกรธได้แล้ว ยืน เดิน น่ัง นอน อยู่ที่ไหน ไม่มีความโศกเศร้าโศกาอาดูรอะไร
อย่มู ีความสขุ สบายท้งั กายและท้งั ใจ อนั น้อี งคส์ มเดจ็ พระผมู้ ีพระภาคเจ้าตรัสไวเ้ ช่นน้ี

พวกเราท่านท้ังหลาย เมื่อได้ยินได้ฟังแล้ว ให้จดจำ�นำ�เอาข้อธรรมอันนี้ไป
ประพฤติปฏิบัติ ฝึกหัดกาย วาจา ใจของตนเอง เพ่ือจะละความโกรธ ปลดปลงออก
จากดวงใจของเราให้สนิ้ ไป เราก็จะอยดู่ ้วยกนั มคี วามสุขความสบาย

เหตฉุ ะนั้น การบรรยายธรรมมาต้งั แตต่ ้นจนอวสานน้ี อาตมภาพกข็ ออ�ำ นวยพร
ใหพ้ ทุ ธบริษทั ญาตโิ ยมท้งั หลาย ท้ังหญงิ และทง้ั ชายก็ดี ทีไ่ ด้มาฟงั ธรรมในวนั น้ีนนั้ ใน
เบ้ืองต้นนั้นเรียกว่าความโกรธเกิดข้ึนแต่ตนเอง เราก็มองพอเห็นแล้วว่าความโกรธเป็น
ของท่ีไม่ดี บัดน้ี เมื่อเราละความโกรธได้แล้วเราก็จะมีแต่ความสุขสบาย ก็ขอให้ท่าน
ทั้งหลายนั้นจงรับเอาคำ�สอนนี้ไปประพฤติปฏิบัติ แล้วเราก็จะมีความสุขความสบาย
โดยทั่วกัน

การเทศนามากเ็ หน็ เวลาพอสมควร ขอยุติการเทศนาไว้เพียงแคน่ ้ี เอวัง กม็ ดี ้วย
ประการฉะนี้

ขั น ติ - ค ว า ม อ ด ท น

นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมมฺ าสมพฺ ทุ ธฺ สสฺ
นโม ตสสฺ ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ทุ ธฺ สฺส
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมพฺ ทุ ฺธสฺส

ขนฺตี ปรมํ ตโป ตตี ิกฺขา ติ

ณ บัดนี้ มาถึงกาลถึงเวลาท่ีจะได้อธิบายขยายเน้ือความศาสนธรรมคำ�สั่งสอน
ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พอเป็นเคร่ืองประดับสติปัญญา เพ่ิมพูนบารมี
พุทธบริษัท อุบาสก อุบาสิกา สาธุชนท้ังหลาย ท่ีได้มาพรักพร้อมกันอยู่ในสถานท่ีนี้
ในวันน้ีจะแสดงเร่ือง ขันติ-ความอดทน เป็นหนทางท่ีให้บรรลุมรรคผล ไปถึงจุดหมาย
ปลายทางท่ีบุคคลทพ่ี งึ ปรารถนาตั้งเอาไว้ได้

เหตุฉะนั้น องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงสอนให้พวกเราท่านทั้งหลายเป็น
ผู้มีขันติ-ความอดทน อดกล้ัน ทนทาน เป็นตบะของนักปฏิบัติ อันจะได้บรรลุผล
คุณงามความดีท่ีเราต้องการให้เกิดให้มีข้ึนแก่ตนเองได้ การที่พวกเราท่านทั้งหลายมามี
ความตั้งใจขวนขวายหาซ่ึงคุณงามความดี เพ่ือที่จะให้ได้เป็นที่พ่ึงของเรานั้น อันคนเรา
ที่เกิดขึ้นมาร่วมโลกอยู่ด้วยกัน การท่ีบุคคลเราจะมีขันติสม่ำ�เสมอกันนั้นเป็นของยาก
หากบคุ คลเปน็ ผไู้ มม่ ศี รทั ธาและเปน็ ผไู้ มม่ คี วามอดทนขยนั หมน่ั เพยี รในการกระท�ำ กจิ การ
งานหน้าท่ีของตนด้วยเป็นผู้มีขันติ-ความอดทนแล้ว ผลก็จะไม่ได้ดีอะไรเกิดข้ึนมาแก่ตน
ออกมา แม้อบุ าสก อุบาสิกา พุทธบรษิ ทั ทัง้ หลายก็ดี จะท�ำ การงานอะไรใหส้ ำ�เร็จลุลว่ ง

96 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

ไปได้นั้น ก็อาศัยต้องมีขันติ-ความอดทนกันท้ังนั้น การที่บุคคลเรามีความอดทนนี้ เป็น
ส่ิงท่ีมีผลมีประโยชน์ย่ิงใหญ่ไพศาลจนทำ�ให้บุคคลนั้นบรรลุมรรคผล เข้าสู่เมืองนฤพาน
ได้ ตั้งแตส่ มยั ครัง้ พุทธกาลโนน้ ผ่านมาแล้วกด็ ี ก็มนี กั ปฏบิ ัตทิ งั้ หลายได้พากันเป็นผูข้ ยัน
ขันแข็ง มีความอดทน อดกลั้น ทนทานจริงๆ นั้น ได้บรรลุผลความดีมีผลมามากแล้ว
เหตุฉะน้นั เมื่อในปจั จบุ ันนี้กเ็ หมอื นกนั หากบคุ คลทำ�อะไรทุกสิ่งทุกอยา่ งท�ำ ดว้ ยเปน็ ผู้มี
ขันติ-ความอดทนแล้ว ในการกระทำ�งานด้านวัตถุก็ดี ด้านการรักษาศีลก็เหมือนกันนั้น
ก็ดี ดา้ นการนง่ั ทำ�สมาธิ นง่ั เจรญิ เมตตาภาวนาฝึกฝนอบรมจติ ใจนั้นกเ็ หมอื นกนั ก็อาศัย
ซ่ึงขนั ต-ิ ความอดทนกนั ท้ังนัน้

ขนั ติ-ความอดทนนี้เป็นของท่ีมีประโยชนม์ ากมาย เปน็ หนทางทีน่ ักปฏิบตั ทิ ง้ั หลาย
ท่านสรรเสริญเอาไว้ นักปราชญ์ท้ังหลายที่ท่านจะได้เป็นนักปราชญ์ราชบัณฑิตเมธี
ทั้งหลายนั้น ก็อาศัยซ่ึงท่านมีขันติ-ความอดทน ทำ�อะไรแม้การงานทางภายนอกก็
เหมือนกัน บุคคลทำ�การงานน้ันจะสู้ทนต่อกิจการงานนั้นๆ ไม่คิดถึงความเหน็ดเหน่ือย
เม่ือยล้าอะไร นั้นอย่างหน่ึง ก็มีความอดทนท้ังร้อนและทั้งหนาว ท่านก็ไม่ย่อท้อ ไม่
ย่อหย่อน สู้ทนต่อความหนาว สู้ทนต่อความร้อน อันน้ีก็เรียกว่าขันติ-ความอดทน ทำ�
การงานนั้นด้วยเป็นผู้มีความอดทนอยู่ กิจการท่ีกระทำ�งานน้ันจึงจะสำ�เร็จลุล่วงไปได้
การงานทางโลกนั้นมีมากมายหลายสิ่งหลายอย่างนานัปการ การท่ีจะทำ�การงานในกิจ
ต่างๆ มีมากมายจะพรรณนาไม่มีที่สิ้นสุดลงได้ การงานทั้งหลายเหล่านั้นจะสำ�เร็จไปได้
ก็อาศัยซึ่งมีความพากความเพียรและพยายาม มีขันติ-ความอดทนกันท้ังนั้น งานนั้นจึง
สำ�เร็จลุล่วงไป ได้รับผลรับประโยชน์ ให้ได้รับซึ่งความสุขความสบายได้ งานแต่ละช้ิน
ละอันเรามาพากันพิจารณาให้เข้าใจเช่นน้ี งานภายนอกทุกส่ิงทุกอย่างสำ�เร็จไปด้วยดี
กเ็ พราะบคุ คลนน้ั มีขันติ-ความอดทนกระท�ำ อยู่ งานน้ันจงึ สำ�เร็จไปได้ดังประสงค์ แมค้ น
จะทำ�บุญทำ�ทานการกุศลก็ดี จะไปที่โน้นท่ีนี้ด้วยความทุกข์ยากลำ�บากในการทำ�อาหาร
การกิน ทำ�บุญทำ�กุศลเหมือนกัน คนจะสร้างกุฏิ วิหาร ศาลา โรงร้านก็ดี ขุดบ่อนํ้า
ก่อถนนให้คนไปมาสะดวกสบายก็ดี ก็ต้องอาศัยซึ่งขันติ-ความอดทนเหมือนกัน คนจะ
ทำ�ยารักษาโรคภัยไข้เจ็บให้สำ�เร็จเป็นหยูกเป็นยาข้ึน ได้บำ�บัดโรคภัยไข้เจ็บ ก็ต้องมี

ขั น ติ - ค ว า ม อ ด ท น 97

ขันติ-ความอดทน มีความเพียรขยันขันแข็งอยู่ ไม่ย่อหย่อน ทำ�หยูกทำ�ยาน้ันก็จึงจะ
สำ�เร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ได้เป็นยามาบำ�บัดโรคภัยไข้เจ็บของคนได้ ก็ต้องมีขันติ-ความ
อดทนท้งั นนั้ ยาจึงสำ�เร็จมาได้ดว้ ยการเสาะแสวงหาเคมตี ่างๆ และรากไมต้ น้ ไมก้ ด็ ี ด้วย
การแสวงหาส่ิงต่างๆ มารวบรวมเข้ากันนั้น ต้องมีความอดทน ยานั้นจึงจะสำ�เร็จไปได้
ผลออกมาก็ได้ใชร้ กั ษาโรคภัยไข้เจบ็ บ�ำ บดั ทุกขเวทนาใหห้ ายไป ได้รบั ซึ่งความสขุ ความ
สบายไปได้ ก็ด้วยอาศัยซ่ึงขันติ-ความอดทนทั้งน้ัน เรามาพากันพิจารณาให้เข้าใจเช่นน้ี
แหละว่า งานทั้งภายนอกทั้งหลายเหล่าน้ีก็อาศัยซ่ึงขันติ-ความอดทน การกระทำ�น้ัน
จึงได้รับผลรับประโยชน์ออกมาได้ ได้รับซึ่งความสุขได้ น่ีแหละ มาพิจารณาดูอย่างนี้
อีกอย่างหน่งึ

ขันติ-ความอดทนอีกอย่างหนึ่งน้ัน ขันติ-ความอดทนในการที่บุคคลจะไม่โลภ
ไม่โกรธ ไม่หลง อันน้ีมาพิจารณาลงไปให้เข้าใจอีกอย่างหนึ่ง การท่ีบุคคลจะรักษาศีล
ก็ต้องมีขันติ-ความอดทน ก็ออกมาจากที่ไหน คือ ความไม่โลภ คำ�ว่า ความไม่โลภนี้
ก็มองเห็นได้ว่า คนที่ไม่อยากมาก เพราะถ้าหากมีความอยากมากเกิดขึ้นแล้ว เราก็ใช้
ขันติ-ความอดทนเอาไว้ เหมือนบุคคลที่จะฆ่าสัตว์ตัดชีวิต ก็ต้องมีขันติ-ความอดทน
ไม่กระทำ� อดกลั้นเอาไว้ ศีลของตนเองจึงจะได้ในข้อที่ ๑ ก็คือรักชีวิตของบุคคลอื่น
สัตว์อ่ืน เหมือนกับชีวิตของตนเองน้ันแหละ เพราะอะไรจึงจะเกิดข้ึนมาได้ ก็เพราะเรา
มีขันติ-ความอดทนเอาไว้ ความโกรธ ความโทสะพยาบาทจะเกิดขึ้นไม่ได้ ก็อาศัยซ่ึง
ขันติ-ความอดทนเอาไว้เหมือนกัน มันจึงไม่ฆ่าสัตว์ เบียดเบียนสัตว์ และเบียดเบียน
เพ่ือนมนุษย์และสัตว์ท้ังหลาย ทุบตี ฆ่าฟันรันแทงกัน อดกลั้นเอาไว้ อันนี้ก็อาศัยซ่ึง
ขันต-ิ ความอดทน ศีลขอ้ ที่ ๑ จงึ ได้

ขันติ-ความอดทนจะได้ศีลข้อท่ี ๒ น้ัน เมื่อเห็นทรัพย์สมบัติของบุคคลอื่น
มากมายก่ายกองก็ดี เห็นส่ิงของต่างๆ นานาก็ดี ไปเห็นอยู่ท่ีใดก็ไม่คิดจะฉ้อจะโกงเอา
ของบุคคลอื่นน้ันมาเป็นของตน เพราะอดกล้ันเอาไว้ คิดถึงใจของบุคคลอื่น คิดถึง
บคุ คลอนื่ หามาไดย้ าก ดว้ ยความลำ�บาก ตนเองก็จงึ อดกลนั้ เอาไว้ ถา้ หากเราไมม่ ีขนั ติ-
ความอดทนแล้วมันก็จะเป็นโจรเป็นขโมย ทั้งปล้นท้ังจ้ีเอาทรัพย์สมบัติของบุคคลอ่ืนได้

98 ปั ญ ญ า ป ที ป ธ ร ร ม เ ล่ ม ๑

เพราะอาศัยอะไรจึงเปน็ เชน่ นัน้ ไม่ได้ กเ็ พราะอาศัยซ่ึงเปน็ ผมู้ ขี นั ติ-ความอดทน อดกลน้ั
เอาไว้ จึงไม่ใหล้ ่วงเกนิ ในศีลข้อนีไ้ ป อันน้ีเรียกวา่ ขันติ-ความอดทนไดศ้ ีลข้อที่ ๒ เป็น
ผลออกมา

ขันติ-ความอดทนน้ัน อันท่ีบุคคลเห็นสามีภรรยาซ่ึงกันและกันแล้วไม่ล่วงเกิน
ก็อาศัยซึ่งมีขันติ-ความอดทนอยู่ในใจไม่เหยียบย่ําจิตใจของบุคคลอ่ืน เมื่อมีความอดกลั้น
อดทนเอาไว้แล้ว เป็นผู้มีขันติต้ังอยู่ในใจแล้ว ก็ไม่ล่วงเกินสามีภรรยาของบุคคลผู้ใด
ไปได้ ก็ไดศ้ ลี ข้อที่ ๓

ขันต-ิ ความอดทนจะรักษาศีลขอ้ ที่ ๔ ไดก้ อ็ าศัยซง่ึ ว่า มองเห็นแลว้ วา่ การพดู จา
ปราศรัยของบุคคลให้มีสัจจะจริง ตรงไปตรงมาน้ันมีคุณค่ามีสาระมีประโยชน์ เป็นการ
พดู จาปราศรัยท่ไี ม่มีโทษอะไร ถ้าหากพดู จาปราศรยั ไม่มีความซอ่ื สตั ยส์ ุจริตแลว้ คนอน่ื
เขาจะไมเ่ ชื่อฟงั ค�ำ พูดของเรา คำ�พูดของเรากจ็ ะเสยี ประโยชน์ กเ็ ลยมีขนั ต-ิ ความอดทน
ไม่โกหกบุคคลอ่ืน จึงพูดจาปราศรัยคำ�ซื่อสัตย์สุจริต ตรงไปตรงมาต่อกัน ก็อาศัยอะไร
ก็อาศัยซ่ึงขันติ-ความอดทนนั้นไม่ล่วงศีลของตนเองไปได้ น่ีขันติ-ความอดทนก็เป็น
ประโยชน์ ได้ศลี ขอ้ ที่ ๔

ขนั ต-ิ ความอดทนจะไดศ้ ีลข้อท่ี ๕ น้ัน แม้จะเห็นสรุ ายาเมาอยู่ทไี่ หน แคป ฝิน่
เฮโรอีนอยู่ที่ใดก็ตาม เราจะเห็นอยู่ที่ใดแล้ว จะมีขันติ-ความอดทนเอาไว้ว่าของนี้มัน
เป็นของท่ีมีภัยและมึนเมา เป็นฐานแห่งประมาท เสียกิริยามารยาทของมนุษย์ผู้ตั้งอยู่
ในศีลในธรรมจงึ มขี ันติ-ความอดทนเอาไว้ ไมล่ ว่ งเกิน ไม่ด่มื สุรา สูบกญั ชา ยาฝิน่ แคป
เฮโรอีน ผงขาวอะไร เพราะอะไร เพราะคนน้ันมีขันติ-ความอดทน อดกล้นั เอาไว้ ไม่
ล่วงเกินศีลของตนก็เลยเป็นผู้มีศีล อันนี้แหละ เรามาพิจารณาให้เข้าใจ บุคคลจะต้ังอยู่
ในศีลได้ก็ต้องอาศัยซ่ึงเป็นผู้มีขันติ-ความอดทนเอาไว้ ด้วยไม่เจตนาล่วงเกินในศีลของ
ตนเองนั้นไป ตนเองก็เลยเป็นผู้มีศีลมีธรรมเกิดข้ึนในตน อย่างนี้ก็เรียกว่าขันติ-ความ
อดทนให้ผลใหบ้ คุ คลเปน็ ผ้มู ีศีลมธี รรมเกดิ ข้นึ

ขั น ติ - ค ว า ม อ ด ท น 99

ถ้าผู้รักษาศีล ๘ ก็ดี ก็มีขันติ-ความอดทนไม่รับประทานอาหารในเวลาต้ังแต่
ตอนเที่ยงวันแล้วไปจนถึงวันใหม่ ก็อาศัยซึ่งว่าเป็นผู้มีขันติ-ความอดทนน่ันเอง เพราะ
ตอ่ สูต้ ่อความหิว ความกระหาย ไมย่ ่อหย่อน เป็นคนท่กี ล้าหาญอดกล้ันเอาไว้ เรากเ็ ลย
ได้ศลี ขอ้ ท่ี ๖ เพมิ่ เตมิ เขา้ ไปอีก

ศีลข้อที่ ๗ ก็ดี เราไม่ไปเที่ยวดูลิเกละครก็ดี ดีดสีตีเป่า ร้องรำ�ทำ�เพลงอะไร
เราไม่ทัดทรงดอกไม้ ทาเคร่ืองลบู ไล้ ของหอม กระแจะจนั ทนต์ ่างๆ เหลา่ นอี้ ะไร มีขนั ติ
อดทนเอาไว้ไม่ตบแต่งในส่ิงเหล่านั้น เพ่ือให้ตนเองนั้นเพลิดเพลินกับสิ่งทั้งหลายเหล่านั้น
นี่ มขี ันติอดทนเอาไวก้ เ็ ลยได้ศลี ข้อที่ ๗

ศีลขอ้ ที่ ๘ น้นั เรากม็ ขี ันต-ิ ความอดทนเหมอื นบคุ คลออกมาจากบา้ นของตนเอง
ถ้าเรานอนอยู่ในบ้านเราก็นอนอยู่ในห้องแอร์ก็ดี หรือมีพัดลมเป่าสบายอย่างนี้ อยู่ท่ี
สะดวกสบายนอนเบาะเมาะนวม หรือมีเตียงสปริงนอนอยู่อย่างสะดวกสบายอะไรอย่างน้ี
อยู่ที่โอ่โถงอะไรอย่างนี้ เมื่อตนเองน้ันออกมาได้ ออกจากเบาะเมาะนวม ออกจาก
หอ้ งแอร์ ออกจากพัดลมเปา่ ใหเ้ ย็นสบาย ละออกมาได้ เมอื่ ตนเองละออกจากส่งิ ทั้งหลาย
เหล่าน้ันได้ ไม่ติดอยู่ในสัมผัสอย่างน้ัน ออกมานอนเสื่อผืนหนึ่ง ผ้าปูผืนหน่ึงก็ดี นอน
กระดาน ก็มีความขันติ-ความอดทนอยากได้ศีลข้อนี้เอาให้ได้ ให้เป็นผู้มีศีล ๘ เกิดขึ้น
เพราะอะไร กเ็ พราะขนั ติ-ความอดทน เมื่อนอนในสงิ่ ท่ีมคี วามแข็งความเจบ็ ปวดอย่บู ้าง
แต่อดทนเอาไว้เพราะอยากได้ศีล อยากเป็นผู้มีศีลมีธรรมเกิดข้ึน อันน้ีแหละเรียกว่า
ขันติ-ความอดทน ก็ทำ�ให้บุคคลน้ันมารักษาศีล อุโบสถศีล ศีล ๘ ได้โดยบริบูรณ์ ก็
อาศัยอะไรจงึ ได้ศลี บริบูรณ์ ก็อาศัยซึ่งมขี นั ติ-ความอดทนต้ังเอาไว้ บุคคลนน้ั จงึ เป็นผูไ้ ด้
ศีล เป็นผู้มีศีลเกิดข้ึนแก่ตนเองดังน้ี น่ีแหละ ขันติ-ความอดทนมีผลมีประโยชน์มากอีก
อยา่ งหน่ึง


Click to View FlipBook Version