พทุ ธพยากรณ์
“ปสสฺ ถ อมิ ํ ตาปส ํ ชฏลิ ํ อคุ ฺคตาปนํ
อปริเมยเฺ ย อโิ ต กปเฺ ป พุทฺโธ โลเก ภวสิ ฺสต”ิ
(ขุททกนิกาย พทุ ธวงศ)์
เธอทั้งหลายจงดูชฎิลดาบสผู้มีตบะรุ่งเรืองนี้
ในกัปอันหาประมาณมิได้จากกัปนี้
ดาบสนี้จักเป็นพระพุทธเจ้าในโลก
สเุ มธดาบสทอดกายเปน็ สะพานถวายแดพ่ ระทีปงั กรสัมมาสมั พุทธเจา้
ประตูสู่ชาดก
ทปี่ รกึ ษา : พระครธู รรมธรสุมนต์ นนฺทิโก อัคคมหาบณั ฑิต
ผูจ้ ัดท�ำ : คณะท�ำงานคมู่ อื ศกึ ษาชาดก
ผ้จู ดั พมิ พ์ : ทุนพิมพห์ นงั สอื ธรรมะ และ พุทธศาสนกิ ชน
เลขมาตรฐานสากลประจำ� หนังสอื : ๙๗๘-๙๗๔-๘๒๕๘-๓๖-๒
ISBN : 978-974-8258-36-2
พมิ พ์ครงั้ ท่ี ๑ : ๗ มนี าคม ๒๕๕๕ (วนั มาฆบชู า)
จ�ำนวนพมิ พ์ : ๔,๐๐๐ เลม่
พิสูจน์อกั ษร : รงุ่ อรุณ จันทรส์ งคราม
ออกแบบปกและภาพประกอบ : ฉัตรชฎา ปานเขยี น
ออกแบบรปู เลม่ : ภัทรา ศิรริ ัตนพ์ ริ ยิ ะ
ประสานงาน : ชชั ภสั สร จงธรรมสุขยิง่
พิมพ์ท่ี : หอไตรการพิมพ์
๑๒๐/๑๔ ซอยชนิ เขต ๑ ถนนงามวงศ์วาน แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักส่ี
กรงุ เทพมหานคร ๑๐๒๑๐
โทร. ๐ - ๒๙๒๐ - ๘๗๗๖, ๐๘๕ - ๘๑๓ - ๑๕๑๖
โทรสาร. ๐ - ๒๙๕๔ - ๐๘๑๙
ปูริตปารมึ พุทธฺ ํ น าถธมฺมมนตุ ฺตรํ
อุตฺตมํ จาริยสงฆฺ ํ วนฺทาม สิรสาทรํ
ขอกราบกรานองค์สมเดจ็ พระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า
ผทู้ รงมพี ระบารมีเต็มเปีย่ ม
พระธรรมซง่ึ เป็นทีพ่ งึ่ ทีส่ ูงสุดและพระอริยสงฆ์ผู้สูงสง่
ดว้ ยเศียรเกล้า ดว้ ยความเคารพอย่างสูงยิ่ง
ค�ำนำ�
ความเป็นมาและความเปน็ ไปของแต่ละชีวติ นัน้ วจิ ิตรพสิ ดาร เพราะมรี ปู นามขนั ธ์ ๕ กบั กาลเวลาเข้ามาเกย่ี วขอ้ ง
สรรพสิ่งท่ีเป็นสังขตธรรม ธรรมท่ีมีปัจจัยปรุงแต่ง ย่อมมีการเกิดขึ้นต้ังอยู่และดับไป ชีวิตจึงมีอดีต ปัจจุบัน และอนาคต
เรารไู้ ดว้ า่ มอี ดตี เพราะเราระลกึ ยอ้ นหลงั ไปไดเ้ มอ่ื วนั ทแี่ ลว้ เดอื นทแ่ี ลว้ ปที แี่ ลว้ หรอื ผา่ นไปหลายสบิ ปี กย็ งั ระลกึ ได้ แตช่ าติ
ที่แล้วระลึกไม่ได้
ส่วนหลกั ธรรมคำ� สอนในทางพระพุทธศาสนาน้ัน มีอดีตทย่ี าวไกล เช่นในอนมตคั คสังยตุ มีพระสตู รอยู่ ๒๐ สตู ร
ว่าด้วยเร่ืองวัฏฏสงสารคือการเวียนว่ายตายเกิดท่ีหาเบื้องต้นและท่ีสุดไม่ได้ ตัวอย่างเช่น “ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย สงสารน้ี
กำ� หนดทส่ี ดุ เบอ้ื งต้นเบ้ืองปลายไมไ่ ด้ เม่ือเหล่าสตั ว์ผมู้ อี วิชชาเป็นเครอ่ื งกางก้นั ปกปดิ มีตณั หาเปน็ เคร่อื งประกอบไว้ ทอ่ ง
เทย่ี วไปมาอยู่ ทส่ี ดุ เบอื้ งตน้ ไมป่ รากฏ” ในอสั สสุ ตู รเปรยี บนำ้� ตาทหี่ ลง่ั เพราะการพลดั พรากจากสงิ่ เปน็ ทรี่ กั หรอื ประสบกบั สง่ิ
อันไม่เป็นที่รักนั้นมากกว่าน�้ำในมหาสมุทรท้ัง ๔ น้�ำตาในอดีตชาติที่เคยประสบเคราะห์วิบากกรรมเมื่อได้รับอนิฏฐารมณ์
สำ� หรบั ชาตทิ ไ่ี มต่ อ้ งหลงั่ น้�ำตากม็ บี า้ ง เชน่ เทวดาหรอื พรหม แตช่ วี ติ กค็ อื อนจิ จงั ทมี่ โี อกาสไดไ้ ปเกดิ ในชาตทิ ไ่ี มต่ อ้ งเสยี น�้ำตา
นน้ั คงหายาก
พระพทุ ธองคท์ รงมพี ระญาณทเี่ รยี กวา่ ปพุ เพนวิ าสานสุ สตญิ าณ คอื ญาณทร่ี ะลกึ ชาตหิ นหลงั หรอื อดตี ชาตไิ ด้ อยา่ ง
ไมม่ ที ี่สิน้ สุด สว่ นพระสาวกท่มี บี ารมีสงู กร็ ะลกึ ไดม้ ากกว่าทม่ี ีบารมนี ้อย แม้แต่นกั บวชนอกศาสนา กส็ ามารถระลกึ ชาตไิ ด้
อยา่ งสงู เพยี งแค่ ๔๐ กัป ในคัมภีร์เถรคาถา - เถรีคาถา รวมทง้ั คมั ภรี อ์ ปทาน พระสาวกแตล่ ะรปู ทา่ นไดเ้ ลา่ เรอ่ื งในอดตี ชาติ
ของท่านไว้ทง้ั นนั้ ชาดกนัน้ เป็นเรือ่ งอดีตชาติของพระพทุ ธองค์และบุคคลอ่ืนทีป่ รากฏอยู่ในชาดกน้นั ๆ
การรวบรวมเรอื่ งย่อของชาดก จัดแยกประเภททพ่ี ระบรมโพธสิ ตั วไ์ ดเ้ สวยพระชาติเปน็ พรหม, เทวดา, มนษุ ยแ์ ละ
สัตว์ต่างๆ โดยได้จากการประชุมชาดก แต่บุคคลอ่ืนๆ มิได้จัดแยก เน้นท่ีพระบรมโพธิสัตว์โดยเฉพาะ วัตถุประสงค์ก็เพื่อ
เชิญชวนให้สาธุชนมาร่วมกันศึกษาพระธรรมหลายๆ ส่วน เพื่อช่วยขยายข้อธรรมต่างๆ ให้ใจความได้ชัดเจนยิ่งข้ึน เช่น
ความโลภ - โกรธ - หลง ไมด่ อี ย่างไร มีชาดกช่วยใหเ้ ป็นแบบอย่าง หรอื การท�ำความดี เชน่ เสยี สละ อดทน ซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต
ดอี ย่างไร ควรจะปลกู ฝงั คณุ ความดีลงไปในจิตใจ ในยุคทศี่ ลี ธรรมจริยธรรมกำ� ลงั ตกต่�ำ ตอ้ งมารว่ มมอื กันทำ� พูด คิด ในสง่ิ
ดีงาม คอื ศีลธรรมจรยิ ธรรม คงจะลดกระแสของวตั ถนุ ิยม หรือวัตถกุ าม กเิ ลสกาม ใหล้ ดความเลวและรนุ แรงลงไปได้บ้าง
แม้เล็กนอ้ ยกย็ งั ดี
การจัดท�ำหนังสือ “ประตูสู่ชาดก” ในคร้ังน้ีส�ำเร็จลงได้ด้วยแรงศรัทธาและเสียสละของบุคคลที่ต้องขออนุญาต
กลา่ วนามพอเปน็ ทม่ี าของเรอ่ื งบา้ งบางทา่ น อาทเิ ชน่ หมอ่ มหลวงสพุ ชิ าน์ ทองใหญ่ คณุ รงุ่ อรณุ จนั ทรส์ งคราม คุณก่ิงกาญจน์
อารักษ์พุทธนันท์ คุณชัชภัสสร จงธรรมสุขยิ่ง คุณอรัญญา ปัญจนวพร คุณชูศักดิ์ ฮวดสุนทร คุณสุกัญญา แป้นสุขเย็น
คณุ ตรวี ชิ เทยี นทอง และอกี หลายทา่ นทีไ่ ม่อาจกล่าวนามไดห้ มด ณ ท่นี ้ี
การพมิ พห์ นงั สอื “ประตสู ชู่ าดก” เปน็ ธรรมทานนี้ ไดร้ บั การสนบั สนนุ จากผมู้ จี ติ ศรทั ธาตามรายชอ่ื ทปี่ รากฏอยทู่ า้ ย
หนังสือน้ี เพ่ือน้อมถวายเป็นพระราชกุศลเนื่องในโอกาสมหามงคลท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมายุ
ครบ ๗ รอบ ๘๔ พรรษา
ขออนโุ มทนาทไี่ ดบ้ ำ� เพญ็ กศุ ลรว่ มกนั ในการพมิ พห์ นงั สอื “ประตสู ชู่ าดก” ครงั้ นี้ ขอจงเปน็ พลวปจั จยั ใหท้ า่ นทง้ั หลาย
ด�ำรงมนั่ อยใู่ นสมั มาทฏิ ฐิ มีสติปญั ญารอบรู้พระสัทธรรม เพื่อน้อมน�ำให้พ้นทกุ ข์ พบสุขอันเกษม คอื พระนิพพาน หวงั ว่า
“ประตสู ูช่ าดก” น้ี จะเปน็ ช่องทางนำ� พุทธบรษิ ทั ใหเ้ ข้าหาพระคัมภรี ช์ าดกและอรรถกถาซึ่งเปน็ หนึ่งในนวังคสัตถุศาสน์ เพอ่ื
การศึกษาคน้ คว้าโดยละเอยี ดตอ่ ไป
ขอพระศาสนาขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จงสถิตม่ันคงด�ำรงอยู่ตราบนานเท่านาน ด้วยการหมั่นใส่ใจ
ศกึ ษาคน้ คว้าของบรรดาพทุ ธบรษิ ทั ทงั้ หลาย
พระครูธรรมธรสมุ นต์ นนฺทโิ ก
อัคคมหาบัณฑติ
เจ้าอาวาสวดั จากแดง สมทุ รปราการ
วัตถปุ ระสงค์ และ ค�ำชี้แจง
ชาดก เปน็ วธิ สี อนอยา่ งหนงึ่ ของพระพทุ ธเจา้ ทไี่ ดท้ รงนำ� ตวั อยา่ งบคุ คลในอดตี มาเลา่ ใหพ้ ระสาวกฟงั ในโอกาสตา่ งๆ
ซึ่งเป็นข้อช้ีให้เห็นแบบอย่างในทางดีท่ีควรบ�ำเพ็ญและทางเสียที่ควรละ ดังน้ัน ชาดกเป็นสิ่งท่ีควรศึกษาเป็นอย่างยิ่ง
แตเ่ นอื่ งจากชาดกมจี ำ� นวน ๕๔๗ ชาดก ใชเ้ วลาอา่ นคอ่ นขา้ งมาก หาพระไตรปฎิ กอา่ นไดย้ าก จงึ ขาดผสู้ นใจในการอา่ นชาดก
ทง้ั ๆ มปี ระโยชน์มากมาย
หนงั สอื เลม่ นจ้ี ดั ทำ� ขน้ึ เพอื่ ใหผ้ สู้ นใจสามารถเลอื กอา่ นไดอ้ ยา่ งสะดวก ใชเ้ ปน็ คมู่ อื ในการศกึ ษาชาดก โดยน�ำเสนอ
วธิ กี ารค้นหาและศึกษาชาดก ไวด้ งั น้ี
๑. จดั ประเภทตามพระชาติทพ่ี ระพทุ ธองค์ทรงเสวย โดยน�ำเสนอเรือ่ งย่อ เพ่อื ให้ผอู้ ่านได้ทราบเรอ่ื งคร่าวๆ
หากมคี วามสนใจ ก็สามารถหาอา่ นเรอ่ื งเต็มได้จากพระไตรปฎิ กตามท่ีอา้ งองิ ไว้
๒. จดั หมวดหมู่ ตามอกั ษรของชอื่ ชาดก ชาดกบางเรื่องมีการอา้ งองิ ถึงชาดกอน่ื ที่เคยกลา่ วมาแลว้ เม่ือผู้อา่ นสนใจ
ที่จะอา่ นเพิ่มเติม กส็ ามารถทราบไดว้ า่ ชาดกช่อื น้ี ว่าด้วยเรือ่ งอะไร เชน่ มติ รแท้, ชอ่ื ไม่เป็นของสำ� คญั , การใช้
ความคิดให้เป็นประโยชน์ เรอ่ื งดังกล่าวอยูใ่ นพระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล เล่มท่ีเท่าไร ข้ออะไร
๓. ประชุมชาดก แสดงบคุ คลสำ� คญั ทเี่ กยี่ วขอ้ งในชาดกเรอื่ งนนั้ ๆ เชน่ พระสารบี ตุ ร พระโมคคลั ลานะ พระอานนท์
พระมหากัสสปะ พระเทวทัต เป็นตน้
๔. ข้างทา้ ยเล่มนี้ ได้สรปุ อดีตชาตขิ องพระสารบี ตุ รและพระโมคคลั ลานะไวด้ ้วย
ขณะจัดทำ� หนังสือเลม่ นี้ ได้พบข้อสงั เกตหลายประการ ซึ่งพอสรปุ เปน็ ประเดน็ ได้ดงั นี้
๑. ความแตกตา่ งของชอื่ ชาดก ชอ่ื ชาดกในหนงั สอื เลม่ นี้ นำ� มาจากพระไตรปฎิ กภาษาไทยฉบบั มหาจฬุ าลงกรณราช
วทิ ยาลยั แตม่ ชี าดกบางชอื่ มคี วามแตกตา่ งอยใู่ นพระไตรปฎิ กและอรรถกถาแปลฉบบั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั (ซง่ึ
ใช้เป็นแหล่งอ้างอิงเนื้อหาตามเล่มที่และข้อที่) จึงได้แสดงช่ือท่ีแตกต่างน้ันไว้ในเคร่ืองหมายวงเล็บในประชุม
ชาดก ซ่ึงความแตกตา่ งดังกลา่ วน้ัน กพ็ บในพระไตรปฎิ กฉบับภาษาบาฬเี ช่นกนั
๒. ชาดกชอื่ เรอ่ื งเดยี วกนั อาจแปลตา่ งกนั เชน่ วฏั ฏกชาดก ตามเนอ้ื หา แปล วฏั ฏก วา่ นกคมุ่ บา้ ง นกกระจาบ บา้ ง
๓. ชาดกชอ่ื เรอ่ื งเดยี ว อาจมกี ารกลา่ วแสดงหลายครงั้ เช่น มติ ตวนิ ทกชาดก กจั ฉปชาดก กกุ กฏุ ชาดก ตติ ตริ ชาดก
สีลวมี งั สกชาดก เปน็ ตน้
๔. การใชท้ บั ศัพท์ภาษาบาฬี เช่น ผาล (ใบไถ), กปิ (ลงิ ), ชา่ งกัลบก (ช่างตดั ผม) เป็นต้น
๕. การเสวยพระชาตเิ ปน็ พระเจา้ พรหมทตั พระเจา้ กรงุ พาราณสี อาจเปน็ พระองคเ์ ดยี วกนั ได้ เนอ่ื งจากพระเจา้ พรหมทตั
ครองกรงุ พาราณสี
๖. พระไตรปฎิ กและอรรถกถา จดั พมิ พข์ นึ้ หลายครง้ั มกี ารเปลย่ี นแปลงปรบั ปรงุ ทำ� ใหอ้ าจพบขอ้ แตกตา่ งบา้ ง
๗. เลขข้อเร่ิมแรกของชาดกใช้ตามฉบับมหามกุฏฯ บางแห่งเลขข้อควรมากกว่านั้นเพราะชาดกบางชาดกมีคาถา
มากกว่าเลขข้อ เช่น ชาดกที่ ๕๑๑ ในหมวด ๓๐ (ตงิ สตินบิ าต) มี ๓๒ คาถา แตม่ เี ลขข้อเพยี ง ๗ ขอ้
ในการจดั พมิ พห์ นงั สอื เลม่ นมี้ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ เปน็ ฐานในการศกึ ษาคน้ ควา้ และเปน็ ชอ่ งทางใหช้ าวพทุ ธสามารถเขา้ ถงึ
หลกั ธรรมคำ� สอนของพระพทุ ธองคไ์ ด้สะดวกยิง่ ขน้ึ หากพบข้อผดิ พลาดหรอื มคี ำ� ช้ีแนะ กรุณาแจ้งคณะผู้จัดท�ำเพอื่ ปรับปรงุ
ใหถ้ ูกต้องเหมาะสมต่อไป
สารบญั
ค�ำน�ำ ๔
๖
วตั ถุประสงคแ์ ละค�ำช้ีแจง ๗
๑๒
สารบญั ๑๒
๑๕
แนะนำ� ชาดกและอรรถกถาชาดก ๑๖
๑๗
ความมหศั จรรยข์ องสสบณั ฑติ กระตา่ ยพระโพธสิ ตั ว์ ๒๐
๒๑
พระโพธิสตั ว์เสวยพระชาตเิ ป็นพรหม ท้าวสักกะ และ เทวดา (๖๙) ๒๑
๒๒
พรหม (๔) ๒๖
๒๗
ทา้ วสักกะ (๒๑) ๒๗
๓๒
เทวราชา เทพบตุ ร (๗) ๓๕
๓๘
เทวดา (๓๗) ๔๐
๔๗
เทวดาประจำ� มหาสมทุ ร อากาศ และ อ่นื ๆ (๖) ๔๙
๕๓
รกุ ขเทวดา (๓๑) ๕๖
๕๖
พระโพธิสัตวเ์ สวยพระชาติเป็นมนุษย์ (๓๕๓) ๕๘
๕๙
พระราชา พระเจา้ พรหมทตั และ พระราชโอรส (๘๒) ๖๑
๖๒
พระราชา (๓๗)
พระเจ้าพรหมทัต (๒๐)
พระราชโอรส (๒๕)
ปโุ รหติ และ บุตรปุโรหิต (๑๒)
พราหมณ์ และ พราหมณ์ออกบวชเป็นฤษี (๖๗)
บุตรของพราหมณ์ และ ศิษย์ของพราหมณ์ (๑๐)
อ�ำมาตย์ (๓๑)
ฤษี ดาบส นักบวช และ ศิษย์ (๓๑)
บณั ฑติ และ มาณพ (๓๐)
มโหสธบณั ฑติ (๑๓)
วธิ ุรบัณฑติ (๔)
บณั ฑติ (๑๐)
มาณพ (๓)
คหบดี กฎุ มุ พี พอ่ ค้า และ บตุ รกฎุ มุ พี (๒๓)
เศรษฐี และ บตุ รเศรษฐี (๒๓) ๖๕
อาจารยท์ ิศาปาโมกข์ และ ศิษย์ (๑๙) ๖๘
มนษุ ย์ ประกอบอาชีพตา่ งๆ (๒๕) ๗๐
หัตถาจารย์ ควาญชา้ ง (๒) ๗๐
เจา้ หนา้ ท่ี (๒) ๗๐
ชา่ งต่างๆ (๕) ๗๑
ตน้ หน (๑) ๗๒
ชาวนา (๔) ๗๒
ศิลปนิ (๕) ๗๓
หมองู (๑) ๗๔
นักเลงสกา ๑) ๗๔
คนยากจน (๑) ๗๕
คนจณั ฑาล (๓) ๗๕
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาติเป็นสตั ว์ต่างๆ (๑๒๕) ๗๗
สตั วส์ เี่ ทา้ (๖๒) ๗๘
ชา้ ง (๗) ๗๘
ราชสหี ์ (๑๐) ๗๙
มา้ (๔) ๘๐
กระบอื ป่า (๑) ๘๑
โค (๕) ๘๑
กวาง (๓) ๘๒
พญาเนื้อ (๗) ๘๓
ละมง่ั ทอง (๑) ๘๔
วานร (๑๓) ๘๔
สุกร (๑) ๘๖
สุนขั (๓) ๘๖
พญาเห้ีย (๓) ๘๗
กระตา่ ย (๑) ๘๘
หนู (๒) ๘๘
เขียดเขียว (๑) ๘๙
สตั วส์ องเทา้ (๕๗) ๘๙
ครฑุ (๒) ๘๙
กนิ นร (๑) ๙๐
หงส์ (๙) ๙๐
ไก่ (๒) ๙๒
นก (๔๓) ๙๒
๙๒
พญานก (๔) ๙๓
นกยูง (๓) ๙๔
นกแร้ง (๔) ๙๕
กา (๓) ๙๕
นกกระทา (๒) ๙๖
นกแขกเต้า (๘) ๙๗
นกค่มุ (๒) ๙๘
นกกระจาบ (๒) ๙๘
นกดเุ หว่า (๓) ๙๙
นกพิราบ (๖) ๑๐๐
นกมลู ไถ (๑)
นกหัวขวาน (๒) ๑๐๑
นกจกั รพาก (๒)
นกขมิ้น (๑) ๑๐๑
สตั ว์ไม่มีเท้า (๖)
พญานาค (๓) ๑๐๒
ปลา (๓)
ชาดก เรียงชื่อตามล�ำดับอักษร ๑๐๒
ประชมุ ชาดก
อดตี ชาตขิ องพระสารบี ตุ ร (๑๑๒ เร่อื ง) เรียงตามล�ำดับทชี่ าดก ๑๐๒
อดตี ชาตขิ องพระโมคคัลลานะ (๔๐ เร่อื ง) เรียงตามลำ� ดับทชี่ าดก
คนั ถานุกรม ๑๐๓
รายนามผู้ร่วมพมิ พห์ นงั สอื “ประตูสชู่ าดก”
๑๐๔
๑๒๔
๑๗๔
๑๗๙
๑๘๑
๑๘๒
ใน ๔ อสงไขยแสนกัป ความประพฤติใดในระหว่างน้ี
ความประพฤตินั้นท้ังหมด เป็นเคร่ืองบ่มพระโพธิญาณ
เราจักเว้นความประพฤติในภพน้อยภพใหญ่ในกัปที่ล่วงแล้วเสีย
จักบอกความประพฤติในกัปน้ี เธอจงฟังเรา
(จริยาปิฎก อกิตติจริยา)
บารมใี ด มที านบารมเี ปน็ ตน้
อนั เปน็ บารมขี น้ั อกุ ฤษฏ์ ซง่ึ บคุ คลทำ� ไดย้ าก
พระผมู้ พี ระภาคเจ้า ผู้ทรงแสวงหาคุณอันย่ิงใหญ่
ประทับอยู่ ณ นิโครธาราม ในแคว้นสักกะ
ทรงประกาศอานุภาพแห่งสัมโพธิจริยา
แห่งบารมีเหล่าน้ัน ท่ีทรงสั่งสมไว้ในภัทรกัปนี้
บัดนี้ขอทุกท่านต้ังจิตให้มั่น
น้อมระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณอันย่ิงใหญ่หาประมาณมิได้
มุ่งเข้ามาเปิด “ประตูสู่ชาดก” เพื่อยังศรัทธาให้ม่ันคง
อันจะน�ำมาซึ่งประโยชน์สูงสุดเถิด
“พุทฺโธ โลเก อุปฺปนฺโน”
พระพุทธเจ้าทรงอุบัติข้ึนแล้วในโลก
“สุโข พุทฺธานมุปฺปาโท”
การอุบัติข้ึนของพระพุทธเจ้าท้ังหลายน�ำสุขมาให้
ประตูส่ชู าดก
11 ประตูส่ชู าดก
แนะนำ�
ชาดก และ อรรถกถาชาดก
ค�ำว่า ชาตก หรือ ชาดก นี้ แปลว่า เรือ่ งท่ีเกิดมาแตอ่ ดตี กาล เป็นเรื่องราวของพระพุทธเจา้ และบุคคลผูเ้ กีย่ วขอ้ ง
พระพุทธเจา้ ทรงยกมาแสดงเปน็ พุทธภาษติ เปน็ วิธสี อนพระสาวกอย่างหน่งึ ของพระพุทธเจ้า ซ่ึงชาดกนี้จดั เป็นองค์หนง่ึ ใน
คำ� สอนของพระศาสดา
ชาดก ในชน้ั พระบาฬี คอื พระไตรปฎิ ก เปน็ คำ� รอ้ ยกรอง เรยี กวา่ คาถา จดั เปน็ พระพทุ ธวจนะ มจี ำ� นวน ๕๔๗ ชาดก
พระธรรมสังคาหกาจารย์ จัดไว้เปน็ นบิ าต (หมวดหม่)ู เช่น
ชาดกที่มีคาถาเดยี ว จัดรวมเป็น เอกกนิบาต ชาดกที่มี ๑๓ คาถา จดั รวมเป็น เตรสกนบิ าต
ชาดกทีม่ คี าถาเบ็ดเตลด็ เรียกวา่ ปกิณณกนบิ าต
ชาดกเรอ่ื งใหญม่ คี าถามาก รวม ๑๐ ชาดก ม ี เตมยิ ชาดก เปน็ ตน้ มี เวสสนั ตรชาดก เปน็ ชาดกสดุ ทา้ ย เรยี ก มหานบิ าต
ชาดก เปน็ คำ� สอนทร่ี วมอยใู่ นพระสตุ ตนั ตปฎิ ก เปน็ วธิ สี อนอยา่ งหนง่ึ ของพระพทุ ธเจา้ ทไ่ี ดท้ รงนำ� บคุ คลในอดตี มาเลา่
ใหพ้ ระสาวกฟงั ในโอกาสตา่ งๆ ซึง่ เป็นข้อชใ้ี ห้เห็นแบบอยา่ งในทางดีที่ควรบ�ำเพ็ญและทางเสยี ท่ีควรละ
ชาตกวัณณนา พระอรรถกถาจารย์ได้พรรณนาเร่ืองราวของชาดกแต่ละเรื่องอย่างพิสดาร กล่าวถึงพระพุทธเจ้า
ประทบั ณ ท่ไี หน ทรงปรารภบุคคลหรอื เรือ่ งราวอะไร แลว้ ตรัสชาดก เรม่ิ ด้วยคาถาว่าอะไร น้ีเป็นการปรารภเร่อื ง
ต่อจากนน้ั เปน็ เรอื่ งราวอนั เปน็ ตน้ เรอ่ื งของแตล่ ะเรอ่ื ง มคี วามเกย่ี วกนั อยา่ งไรกบั ปจั จบุ นั คำ� วา่ ปจั จบุ นั ในทนี่ ี้ หมายถงึ
สมยั ของพระพุทธเจา้ พระองค์นี้ เรียกว่า ปจั จุบนั นทิ าน
เมอ่ื กลา่ วปจั จุบนั แลว้ ก็เปน็ เรอื่ งที่พระพทุ ธเจา้ ทรงนำ� เร่อื งอดีตมาประกอบการสอน โดยมผี ู้สงสัยทลู อาราธนาให้
เลา่ เรอ่ื งอดตี วา่ ในครงั้ อดตี ลว่ งมาชา้ นาน มบี คุ คลและเหตกุ ารณอ์ ยา่ งนนั้ ๆ เกดิ ขนึ้ ในทำ� นองเดยี วกบั เรอื่ งในปจั จบุ นั น ้ี แลว้
กท็ รงอนุสนธเิ รือ่ งตรัสพระคาถาชาดกข้ึน น้ีจัดเป็นอดตี นทิ าน
ตอ่ จากนนั้ พระอรรถกถาจารยก์ ข็ ยายความพระคาถาในชาดกใหช้ ดั เจน ขยายใหพ้ สิ ดาร ซงึ่ ชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจพระพทุ ธวจนะ
แจม่ แจง้ ยิ่งขึน้
สรปุ ลงทา้ ย พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงชาดกจบลงแลว้ ทรงประกาศอรยิ สจั แลว้ ประชมุ ชาดกวา่ บคุ คลในอดตี นนั้ กลบั ชาติ
มาเกดิ เปน็ ใครบ้าง ก็เป็นอันจบพรรณนาชาดกแต่ละเรื่องๆ ไป ดังนั้นเพ่ือความเข้าใจของผู้อ่าน จะยกตัวอย่างชาดกชื่อ
สสบณั ฑติ เป็นตัวอย่าง
ความมหัศจรรยข์ องสสบัณฑติ กระตา่ ยพระโพธสิ ัตว์
สมยั หนงึ่ เม่อื พระผู้มีพระภาคเจา้ ประทับอยทู่ พ่ี ระวหิ ารเชตวัน ใกลก้ รงุ สาวตั ถี ครงั้ นน้ั มีกฎุ ุมพีคนหน่งึ ตระเตรียม
บริขารทุกอย่างเพื่อถวายแด่สงฆ์ อันมีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข แล้วนิมนต์ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจา้ เป็นประมุข ให้นั่งบน
อาสนะอนั บวรที่เตรียมไวแ้ ล้วในมณฑป ได้ถวายทานอนั ประณตี มีรสเลิศต่างๆ ตลอด ๗ วนั ไดถ้ วายบริขารทั้งปวงแกภ่ ิกษุ
๕๐๐ รปู มพี ระพทุ ธเจ้าเปน็ ประมุข ในเวลาเสร็จภตั กิจ พระศาสดาเม่ือจะทรงกระทำ� อนุโมทนา จึงตรัสว่า “ดูกอ่ นอุบาสก
ควรทท่ี า่ นจะเกดิ ปตี โิ สมนัส เพราะทานนเ้ี ปน็ วงศข์ องโบราณบัณฑิต คือ บัณฑติ ในปางก่อน ด้วยวา่ โบราณบัณฑติ ท้ังหลาย
ไดบ้ ริจาคชีวิตแกเ่ หล่ายาจกผมู้ าถงึ แม้ชวี ิตของตนก็ไดใ้ ห้แล้ว” เมือ่ อุบาสกนั้นทูลอาราธนาแล้ว จงึ ทรงน�ำเอาเรอื่ งในอดีต
มาตรสั เลา่ ดังตอ่ ไปนี้
ประตูส่ชู าดก 12
ในอดตี กาลนานมาแล้ว พระโพธิสัตว์บังเกิดเป็นกระต่าย อาศัยรวมกันอยู่กับ ๓ สหาย คือ ลิง สุนัขจ้ิงจอก และ
นาก ในปา่ ชายแดนใกล้เชงิ เขาและแม่น�้ำ สัตว์ทั้งส่ีล้วนเป็นบัณฑิต โดยเฉพาะพระโพธิสัตว์แม้บังเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉานก็
เปน็ ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยญาณปญั ญา (เพราะความทที่ า่ นไดเ้ คยสงั่ สมมาชา้ นานในอดตี ) เปน็ กลั ยาณมติ รของสหาย เพราะฉะนนั้
จึงไดใ้ หโ้ อวาทแกส่ หายทงั้ สามในเวลาทพี่ บกนั ในเวลาเยน็ หลงั จากแยกกนั ไปหาอาหารกลบั มาแลว้ วา่ “สหาย ทา่ นพงึ ใหท้ าน
พงึ รกั ษาศลี และรักษาอุโบสถ” สหายทงั้ สามก็รับฟงั และปฏบิ ตั ติ าม
อยู่มาวนั หนง่ึ พระโพธสิ ตั วม์ องเหน็ พระจนั ทรส์ วา่ ง กร็ วู้ า่ พรงุ่ นเี้ ปน็ วนั อโุ บสถ จงึ กลา่ วกบั พวกสหายวา่ “ทา่ นทง้ั สาม
จงรกั ษาอโุ บสถเถดิ เพราะทานที่ผู้ตง้ั อย่ใู นศีลแลว้ ให้ ยอ่ มมีผลมาก หากยาจกมาขออาหาร ทา่ นท้งั หลายพงึ ให้รสอาหาร
ทค่ี วรกนิ แลว้ จงึ บรโิ ภค”
วันรงุ่ ข้ึน สัตว์ท้งั สามแยกย้ายกันออกไปหาอาหารแตเ่ ชา้ นากเป็นสตั วก์ ินปลาจงึ ไปท่ีฝัง่ แม่น้�ำ วนั นัน้ พรานเบด็ คน
หนง่ึ ตกปลาตะเพยี นได้ ๗ ตัว จึงร้อยเปน็ พวงหมกไวใ้ นทราย แลว้ ไปหาปลาท่ีฝ่ังแมน่ ้ำ� ด้านใต้ต่อไป เมอ่ื นากมาถงึ ทนี่ ัน้ ได้
กลน่ิ ปลา จงึ คยุ้ ทรายออกดู ไดพ้ บปลาหมกอย ู่ จงึ รอ้ งประกาศหาเจา้ ของถงึ ๓ ครง้ั เมอ่ื ไมเ่ หน็ เจา้ ของ จงึ คาบเอาปลาไปเกบ็ ไว้
ในทอี่ ยู่ของตน คดิ วา่ เราจะกนิ เมอื่ ถึงเวลาดังน้ีแลว้ จึงนอนนึกถงึ ศลี ของตนอยู่
ฝา่ ยสนุ ัขจ้งิ จอกออกเที่ยวแสวงหาอาหาร ไปจนถงึ กระทอ่ มของคนเฝา้ นาคนหนึ่ง ไดเ้ หน็ เน้อื ย่าง ๒ ชิ้น เห้ยี ๑ ตวั
และหมอ้ นมส้ม ๑ หม้อ จงึ ประกาศหาเจา้ ของ ๓ คร้งั เมอ่ื ไมเ่ ห็นเจ้าของ จงึ เอาของทั้งหมดไปเกบ็ ไวใ้ นท่อี ย่ขู องตน คิดว่า
เราจะกนิ เม่อื ถงึ เวลาดังนแี้ ล้ว จึงนอนนึกถึงศลี ของตนอยู่
แมล้ ิงกเ็ ข้าส่ปู า่ น�ำผลมะม่วงสกุ มาวางไว้ที่พมุ่ ไมอ้ นั เปน็ ทีอ่ ยขู่ องตน คิดว่าจะกินเมอ่ื ถึงเวลาดงั นีแ้ ลว้ จงึ นอนนึกถงึ
ศลี ของตน
สัตวท์ ง้ั สามคิดวา่ “ยาจกจะพงึ มาทีน่ ี่บ้างไหมหนอ”
สว่ นพระโพธสิ ตั วอ์ อกไปหาอาหารในเวลาสมควร คดิ วา่ “เราจะกนิ หญา้ แพรก แลว้ นอนอยทู่ พี่ มุ่ ไมเ้ ปน็ ทอ่ี ยขู่ องตน”
ดงั นแ้ี ล้ว คดิ ตอ่ ไปว่า “ถ้าเราพึงได้ทักขิไณยบุคคล เราจะให้อะไรเป็นทาน เราไมม่ ีงา ถ่วั เขียว ถวั่ เหลอื งและเปรยี ง เราเลย้ี ง
ชวี ติ ดว้ ยหญา้ เราไมอ่ าจให้หญ้าแก่ทักขิไณยบุคคลผู้มาถึงส�ำนักของเราได้ เราจะให้เน้ือในร่างกายของเรา เราจะไมใ่ หท้ า่ น
กลบั มือเปล่า”
เมอื่ พระโพธสิ ตั วต์ รกึ ความจรงิ อยอู่ ยา่ งน ้ี ดว้ ยอานภุ าพแหง่ ความตรกึ นน้ั เปน็ เหตใุ หบ้ ณั ฑกุ มั พลศลิ าอาสนข์ องทา้ ว
สกั กะแสดงอาการรอ้ น ทา้ วสกั กะเหน็ เหตนุ นั้ แลว้ ทรงดำ� รวิ า่ “เราจะทดลอง คอื ลองใจกระตา่ ยพระโพธสิ ตั ว”์ ดงั นจี้ งึ แปลง
เปน็ พราหมณไ์ ปสทู่ อ่ี ยขู่ องนากกอ่ น นากเหน็ พราหมณแ์ ปลง จงึ ถามวา่ “ทา่ นพราหมณ ์ ทา่ นมายนื อยเู่ พอ่ื อะไร” พราหมณ์
ตอบวา่ “ถา้ เราไดอ้ าหารสกั อยา่ งหนง่ึ เราจะรกั ษาอโุ บสถ เจรญิ สมณธรรม” นากตอบวา่ “สาธุ เราจะใหอ้ าหารแกท่ า่ น เรามี
ปลาตะเพียน ๗ ตัว เพิ่งเอาขึ้นจากน�้ำ วางไว้บนบก ท่านพราหมณ์ เรามีอาหารอย่างนี้แหละ เชิญท่านบริโภคแล้วเจริญ
สมณธรรมอยู่ในปา่ นี้เถดิ ”
พราหมณฟ์ งั แลว้ ขอใหร้ อไวก้ อ่ น ดงั นแ้ี ลว้ ไปหาสนุ ขั จง้ิ จอก สนุ ขั จง้ิ จอกกต็ อ้ นรบั ดว้ ยไทยธรรมทตี่ นม ี คอื เนอ้ื ยา่ ง
๒ ชน้ิ เหยี้ และ หมอ้ นมสม้ ของคนเฝา้ นาทตี่ นนำ� มา พราหมณร์ บั ทราบแลว้ ขอใหร้ อไวก้ อ่ น แลว้ ไปหาลงิ ลงิ กเ็ ชญิ ใหบ้ รโิ ภค
มะมว่ งสกุ และนำ�้ ดมื่ เยน็ ๆ กอ่ น แตพ่ ราหมณแ์ ปลง กบ็ อกใหร้ อไวก้ อ่ น ดงั นแี้ ลว้ เขา้ ไปหาสสบณั ฑติ คอื กระต่ายพระโพธสิ ตั ว ์
กล่าวขออาหารโดยกลา่ วว่า “ถา้ เราไดอ้ าหารแล้วจะรกั ษาอโุ บสถ เจรญิ สมณธรรม”
พระโพธสิ ตั วเ์ หน็ พราหมณน์ น้ั แลว้ ยนิ ดนี กั กลา่ ววา่ “ทา่ นมาถงึ สำ� นกั ของเราเพราะเหตตุ อ้ งการอาหาร เปน็ การดแี ท้
วนั นเี้ ราจะใหท้ านอนั ประเสรฐิ เยยี่ มยอด ทใี่ ครๆ ไมเ่ คยให้ทา่ น ทา่ นเป็นผู้มีศลี การเบยี ดเบียนผอู้ ื่นไมส่ มควรแกท่ ่าน ทา่ นจง
ไปหาไม้มาก่อไฟ เราจะย่างตัวของเรา ท่านจะได้กินเน้ือของเราท่ีสุกดีแล้ว” พราหมณ์ฟังแล้วมีใจร่าเริงยินดี นำ� เอาไมม้ า
13 ประตูสู่ชาดก
กอ่ ไฟ เมอ่ื ไฟลกุ โพลง กระตา่ ยพระโพธสิ ตั วก์ ส็ ลดั กายทเ่ี ปอ้ื นฝนุ่ ๓ ครง้ั ดว้ ยคดิ วา่ “ขอใหส้ ตั วท์ อ่ี าศยั อยใู่ นระหวา่ งขนของ
เรา อยา่ ไดต้ ายเสียเลย” แลว้ กระโดดลงในท่ามกลางกองไฟ ดว้ ยต้ังใจจะใหไ้ ฟเผาร่างของตน ดว้ ยใจเบกิ บานดจุ พญาหงส์
รอ่ นลงในกอปทุมฉะนั้น คิดวา่ “เราได้ให้กายท้งั หมดของเราโดยไมเ่ หลือ คือ ขน หนัง เนื้อ เอน็ กระดกู และเนอื้ หวั ใจ แก่
พราหมณแ์ ลว้ คอื ไดใ้ หส้ รรี ะรา่ งกายทง้ั หมดไมเ่ หลอื เลยแกพ่ ราหมณ”์ แตไ่ ฟนน้ั ไมอ่ าจทำ� ความรอ้ นแมเ้ พยี งขมุ ขนในร่างกาย
ใหเ้ กดิ ขนึ้ แกพ่ ระโพธสิ ตั ว์ กลบั เปน็ เหมอื นเขา้ หอ้ งหมิ ะฉะนนั้ พระโพธสิ ตั วถ์ ามดว้ ยความอศั จรรยใ์ จวา่ “ทา่ นพราหมณ์ ทา่ น
ทำ� ใหไ้ ฟเย็นจดั ไดอ้ ย่างไร” พราหมณ์กล่าวว่า “ขา้ พเจ้ามิใช่พราหมณ์ แต่เปน็ ท้าวสกั กะ ทีท่ �ำอยา่ งน้เี พือ่ ทดลองทา่ น”
พระโพธสิ ตั วจ์ งึ บนั ลอื สหี นาทวา่ “ขา้ แตท่ า้ วสกั กะ ขอพระองคจ์ งหยดุ พกั ไวก้ อ่ น หากโลกสนั นวิ าสทงั้ สน้ิ จะพงึ ทดลอง
ขา้ พระองคด์ ้วยทานแล้วไซร ้ พระองคจ์ ะไม่ไดเ้ ห็นความที่ข้าพระองค์ไมเ่ ปน็ ผปู้ ระสงค์จะใหท้ านเลย”
ท้าวสักกะตรสั วา่ “ทา่ นสสบณั ฑติ คุณธรรมอนั ประเสรฐิ ของท่าน จงปรากฏอยตู่ ลอดกัปเถิด”
ดังนนั้ แล้วทรงบบี ภเู ขา คือ เอายางภเู ขาวาดลกั ษณะของกระตา่ ยไว้ในดวงจันทร ์ แล้วให้พระโพธสิ ตั ว์นอนบนหญา้
แพรกอ่อนทพ่ี ุม่ ไม้ในปา่ นน้ั แลว้ เสดจ็ กลบั เทวโลก บณั ฑติ ทงั้ สี่เหล่านน้ั ก็สมัครสมานเบกิ บานใจ บำ� เพ็ญนจิ ศลี คือ ศีลห้า
และศีลอุโบสถ กระท�ำบญุ ไปตามกรรมของตน
พระบรมศาสดาทรงแสดงสสบณั ฑิตจรยิ า คือ ความประพฤตขิ องกระตา่ ยโพธสิ ตั ว์ ดังนแ้ี ลว้ ทรงประกาศสัจจะส ่ี
ในเวลาจบสัจจะ อบุ าสกคฤหบดีผู้ถวายบรขิ ารทุกอยา่ งไดด้ ำ� รงอย่ใู นโสดาปัตติผล แลว้ ทรงประชุมชาดกว่า :
นาก ในครัง้ นน้ั ได้เป็น พระอานนท์
สุนขั จ้งิ จอก ไดเ้ ปน็ พระโมคคลั ลานะ
ลิง ได้เปน็ พระอนุรุทธะ
ส่วน สสบณั ฑติ คือ เราตถาคต เองแล
ขอเพ่มิ เติมถ้อยค�ำในสสบณั ฑติ ทีก่ ลา่ ววา่ พระโพธิสัตวใ์ นชาติท่เี กดิ เปน็ กระตา่ ยนแ้ี ม้จะมงุ่ กลา่ วถงึ การบ�ำเพญ็ ศลี
บารมกี ็จริง แต่พระโพธสิ ัตว์มีคณุ ยิ่งกวา่ นนั้ เพราะการบำ� เพ็ญบารมีของท่านนั้น มิใช่ศีลบารมีหรือศีลอุปบารมี แตเ่ ปน็ ศีล
ปรมตั ถบารมี ยอมสละชวี ิต แม้ทานของท่านกเ็ ปน็ ทานปรมัตถบารม ี ยอมสละชีวติ เลือดเนื้อให้เปน็ ทาน นอกจากน้ันพระ
โพธสิ ัตวแ์ ม้จะเกิดในกำ� เนิดสตั วเ์ ดรัจฉาน ก็รู้ประโยชนข์ องกุศล เห็นโทษของอกศุ ลแมเ้ พยี งเล็กนอ้ ย โดยความเปน็ ของนา่
กลวั จึงเว้นจากอกศุ ลโดยเดด็ ขาด นอกจากนนั้ ยังช้แี จงโทษของอกุศลใหผ้ ู้อน่ื ไดท้ ราบดว้ ยว่า ถ้าท่านทำ� กรรมอันลามกแล้ว
ย่อมไดค้ ติ คือ ทุคติในภพหน้า กบั ชี้แจงอานสิ งส์ของการทำ� กศุ ล มกี ารให้ทาน สมาทานศลี เปน็ ต้น ว่ายอ่ มไดเ้ ทวสมบัติ
และมนษุ ยส์ มบตั ิ ยนิ ดเี ตม็ ใจอนเุ คราะหส์ ตั วเ์ หล่าอน่ื เพราะมอี ธั ยาศยั ในทานอย่างกว้างขวาง สมจรงิ ดงั ทพ่ี ระผมู้ พี ระภาค
เจา้ ตรสั วา่ “ท่านผู้แสวงหาคณุ อนั ย่งิ ใหญ่เหลา่ น้นี า่ อศั จรรย์ไม่เคยมี ดว้ ยว่าแมเ้ พียงทำ� ใจให้เลือ่ มใสในท่านเหล่านัน้ กพ็ ึงพน้
จากทกุ ขไ์ ด้ จะปว่ ยกล่าวไปไยถึงการปฏิบัตติ ามท่านเหล่าน้ันโดยธรรมสมควรแกธ่ รรมเล่า ว่าจะไม่พน้ ทุกข”์
นี่แหละ คอื ความอศั จรรยข์ องท่านผแู้ สวงหาคุณอันยง่ิ ใหญ่เหลา่ นัน้
ประณีต ก้องสมทุ ร
ท่ีมา : รวบรวมจากสสปัณฑติ ชาดกและสสปณั ฑิตจรยิ า
ประตสู ู่ชาดก 14
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พรหม
ทา้ วสักกะ และ เทวดา (๖๙)
15 ประตูสชู่ าดก
พรหม (๔)
๑. ชาดกท่ี ๙๙ ปโรสหัสสชาดก (เลม่ ท่ี ๕๖ ขอ้ ที่ ๙๙)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชเปน็ ฤษี สนิ้ ชพี แลว้ ไปเกดิ ในพรหมโลก ไดบ้ อกใหพ้ วกศษิ ยน์ บั ถอื
ศษิ ย์ผเู้ ปน็ หวั หน้า แตพ่ วกศษิ ย์โงๆ่ ไม่ฟงั จงึ แสดงคณุ พเิ ศษของตนใหด้ ู
๒. ชาดกท่ี ๑๓๔ ฌานโสธนชาดก (เล่มท่ี ๕๖ ขอ้ ท่ี ๑๓๔)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ ดาบส สนิ้ ชพี แลว้ ไปเกดิ ในอาภสั สรพรหม กลบั ลงมาสอนศษิ ยผ์ ไู้ มเ่ ชอ่ื ฟงั คำ� ของศษิ ยผ์ ใู้ หญ่
๓. ชาดกที่ ๑๓๕ จันทาภชาดก (เลม่ ท่ี ๕๖ ข้อท่ี ๑๓๕)
พระโพธิสัตวเ์ สวยพระชาตเิ ป็นดาบส สนิ้ ชพี แล้วไปเกิดในพรหมโลก กลับมาสอนวธิ ปี ฏบิ ตั ิกสณิ ให้แก่ศิษย์
๔. ชาดกท่ี ๕๔๕ มหานารทกัสสปชาดก (เลม่ ที่ ๖๔ ขอ้ ท่ี ๘๓๔)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นท้าวมหาพรหมช่ือนารทะ เห็นพระราชธิดาของพระเจา้ อังคติพระนามว่ารุจาที่ทรง
พยายามเปลื้องพระราชบิดาให้พ้นจากความเห็นผิด เพราะพระเจ้าอังคติทรงเชื่อถือค�ำสอนของคุณาชีวกท่ีว่านรกไม่มี
สวรรค์ไม่มี โลกน้ีไม่มี โลกหน้าไม่มี บิดามารดาไม่มี บุญบาปไม่มี สัตว์จะดีจะชั่วก็ดีเอง ชั่วเอง จึงทรงละเว้นการปฏิบัติ
พระราชกรณยี กิจแลว้ หันมาเสวยสรุ าเมรยั และบรโิ ภคกามคุณอยา่ งเดยี ว
พระราชธิดารุจาทรงพยายามสอนให้เห็นว่า ความเชื่อเช่นน้ันเป็นความเช่ือที่ผิด เพราะนรกมี สวรรค์มี โลกน้ีมี
โลกหน้ามี บิดามารดามี บุญบาปมี เพราะพระองค์เคยประสบมาแล้ว เม่ือพระเจ้าอังคติทรงสดับแล้วพอพระทัยในคำ� สอน
ของพระราชธิดา แต่ยังหาคลายทิฏฐิไม่ พระราชธิดารุจาจึงทรงตั้งสัตยาธิษฐานให้สมณพราหมณ์หรือเทวดา พระอินทร์
พระพรหมลงมาชว่ ย
เมื่อทา้ วมหาพรหมทราบสตั ยาธษิ ฐานแล้ว จงึ ลงมาแสดงโทษแหง่ ความเห็นผดิ ให้พระเจ้าองั คตสิ ดบั ทำ� ให้พระองค์
ทรงคลายจากมิจฉาทิฏฐแิ ล้วทรงบำ� เพ็ญกุศลมีการใหท้ านเปน็ ต้น และเม่ือสวรรคตแล้วจึงไปเกดิ ในสวรรค์
ประตูส่ชู าดก 16
ท้าวสักกะ (๒๑)
๑. ชาดกท่ี ๓๑ กลุ าวกชาดก (เล่มท่ี ๕๕ ข้อท่ี ๓๑)
พระโพธสิ ัตวเ์ สวยพระชาตเิ ป็นท้าวสักกะ ท�ำสงครามแพ้พวกอสรู จงึ โปรดใหข้ ับราชรถหนไี ปในดงไม้ง้ิว ได้ยนิ เสยี ง
ลกู นกครฑุ ตกใจรอ้ งเซง็ แซ่ จงึ ใหม้ าตลเี ทพสารถหี นั ราชรถกลบั แตก่ ลบั ไดช้ ยั ชนะ เพราะพวกอสรู คดิ ว่า ทา้ วสกั กะมผี มู้ าชว่ ย
จงึ พากนั หนไี ป
๒. ชาดกที่ ๒๐๒ เกฬิสีลชาดก (เลม่ ท่ี ๕๗ ขอ้ ท่ี ๒๕๓)
พระโพธสิ ัตวเ์ สวยพระชาติเปน็ ท้าวสักกะ ได้สอนพระเจ้าพรหมทตั ให้ละความประพฤตทิ ชี่ อบทรมานสัตว์ชรา
๓. ชาดกที่ ๒๒๘ กามนตี ชาดก (เลม่ ท่ี ๕๗ ข้อท่ี ๓๐๕)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ ทา้ วสกั กะ ไดจ้ ำ� แลงกายมาสอนธรรมแกพ่ ระเจา้ พรหมทตั ใหค้ ลายจากความโลภ
๔. ชาดกที่ ๒๖๔ มหาปนาทชาดก (เลม่ ที่ ๕๘ ขอ้ ที่ ๓๙๑)
พระโพธิสตั ว์เสวยพระชาตเิ ปน็ ทา้ วสกั กะ เป็นผู้รบั ใช้พระเจา้ มหาปนาทะ
๕. ชาดกที่ ๒๙๑ ภัทรฆฏเภทกชาดก (เลม่ ที่ ๕๘ ขอ้ ท่ี ๔๗๒)
พระโพธสิ ัตวเ์ สวยพระชาติเปน็ ท้าวสักกะ ได้ต�ำหนิบุตรชายผู้สบื ทอดมรดกผ้ไู ม่ใส่ใจสรา้ งกุศลรกั ษาตระกลู เอาแต่
ดม่ื สรุ าจนกลายเปน็ บรุ ษุ เขญ็ ใจ
๖. ชาดกที่ ๓๐๐ วกชาดก (เล่มท่ี ๕๘ ขอ้ ที่ ๔๙๙)
พระโพธิสตั ว์เสวยพระชาตเิ ป็นทา้ วสักกะ แปลงกายเปน็ แพะ เพือ่ ทดลองหมาใน หมาในท�ำลายตบะทต่ี นสมาทาน
เนอื่ งจากต้องการกินเลอื ดแพะ
๗. ชาดกท่ี ๓๔๔ อัมพชาดก (เล่มที่ ๕๘ ขอ้ ที่ ๖๗๔)
พระโพธสิ ัตวเ์ สวยพระชาตเิ ป็นท้าวสกั กะ แสดงภาพอันน่ากลัว ขับไลด่ าบสโกงให้หนีไป
17 ประตสู ูช่ าดก
๘. ชาดกที่ ๓๗๒ มิคโปตกชาดก (เล่มท่ี ๕๘ ขอ้ ท่ี ๘๐๘)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นท้าวสักกะ สอนดาบสไม่ให้เศรา้ โศกบ่นเพ้อถึงลูกเน้ือที่ตายไป เพราะผู้ที่ตายก็ตาย
ไปแล้ว ย่อมไม่ฟน้ื ข้ึนมาเพราะการรอ้ งไห้
๙.ชาดกที่ ๓๗๔ จูฬธนุคคหชาดก (เล่มท่ี ๕๘ ข้อท่ี ๘๑๘)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นท้าวสักกะ แปลงกายเป็นสุนัขจ้ิงจอกกล่าวเยาะเย้ยภรรยาของจุลธนุคคหบัณฑิตที่
ชว่ ยโจร แตถ่ ูกโจรทิ้งไวท้ ่ีฝ่งั น้�ำ
๑๐.ชาดกท่ี ๓๘๖ ขรปตุ ตชาดก (เลม่ ที่ ๕๙ ข้อท่ี ๙๐๕)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นทา้ วสักกะ จ�ำแลงกายเป็นแพะ บอกวธิ ใี หพ้ ระเจา้ เสนกะ พน้ ความตายเพราะมนตร์
ชอ่ื สพั พรุตชานนมนตร์ (มนตร์รูภ้ าษาสตั ว์) เป็นเหตุ
๑๑. ชาดกท่ี ๓๙๑ ปัพพชิตวเิ หฐกชาดก (เลม่ ที่ ๕๙ ขอ้ ท่ี ๙๓๗)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นท้าวสักกะ ขอร้องพระปัจเจกพุทธเจ้าให้สอนพระเจ้าพรหมทัตผู้มีความเห็นผิด
ท่ีเข้าใจว่าสมณะทั้งหมดเป็นคนชั่ว แล้วทรงขับไล่ออกจากแคว้นจนชาวเมืองเดือดร้อน เพราะไม่มีผู้ให้การอบรมส่ังสอน
จึงพากันทำ� แตค่ วามช่ัว
๑๒. ชาดกที่ ๓๙๓ วิฆาสาทชาดก (เลม่ ที่ ๕๙ ข้อที่ ๙๕๑)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ ทา้ วสักกะ จ�ำแลงกายเป็นนกแขกเตา้ มาสอนฤษี ๗ คนพน่ี ้องที่ละกามออกบวชแลว้
ไมเ่ รง่ ท�ำความเพยี ร เอาแตเ่ ล่นกีฬาสนกุ สนานอยู่
๑๓. ชาดกที่ ๔๑๐ โสมทัตตชาดก (เล่มที่ ๕๙ ข้อท่ี ๑๐๗๒)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นท้าวสักกะ ได้ให้โอวาทแก่ดาบสผู้ก�ำลังเศร้าโศกถึงโสมทัตช้างน้อยที่ตายจากไป
ว่าเปน็ การไม่เหมาะสมแก่ความเป็นสมณะ
๑๔. ชาดกท่ี ๔๑๗ กัจจานชิ าดก (เล่มที่ ๕๙ ข้อท่ี ๑๑๒๑)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาตเิ ป็นท้าวสักกะ ไดช้ ่วยเหลอื นางกัจจานีซ่ึงถูกลูกชายและลกู สะใภ้ขับออกจากเรือนใหไ้ ด้
กลับเขา้ มาอยูใ่ นเรือน และปรองดองสามคั คกี ันดังเดิม
๑๕. ชาดกที่ ๔๕๐ พิลารโกสิยชาดก (เลม่ ท่ี ๕๙ ข้อที่ ๑๔๔๓)
พระโพธสิ ัตว์เสวยพระชาติเปน็ เศรษฐี บริจาคทานเป็นอันมาก เมื่อตายแล้วไดไ้ ปเกดิ เป็นท้าวสกั กะ ลงมาฝึกสอน
ลกู ของโหลน ช่อื พลิ ารโกสยิ เศรษฐีผ้ทู �ำลายวงศต์ ระกูลด้วยการไมบ่ ริจาคทาน ให้บริจาคทาน แล้วได้ไปเกดิ ในเทวโลก
๑๖. ชาดกที่ ๔๕๘ อุทยชาดก (เล่มที่ ๖๐ ขอ้ ท่ี ๑๕๒๖)
พระโพธิสตั วเ์ สวยพระชาตเิ ป็นพระเจ้าอทุ ยั ไม่ปรารถนาจะอภเิ ษกสมรส ถกู พระราชบดิ าบังคับให้อภิเษกสมรสกับ
พระนางอุทัยภัททา ซ่ึงก็ไม่ปรารถนาจะบริโภคกามเช่นกัน ท้ังคู่อยู่ด้วยกันถึง ๗๐๐ปี ต่อมาพระเจ้าอุทัยจุติไปเกิดเป็น
ทา้ วสกั กะกลบั มาสอนพระนางอทุ ยั ภทั ทาใหป้ ระพฤตพิ รหมจรรยจ์ ะไดไ้ ปเกดิ ในสวรรคช์ น้ั ดาวดงึ สแ์ ละพระนางกท็ ำ� ตามนนั้
ประตสู ูช่ าดก 18
๑๗. ชาดกท่ี ๔๖๙ มหากณั หชาดก (เลม่ ท่ี ๖๐ ข้อที่ ๑๖๖๑)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นท้าวสักกะ หวังจะสอนชาวกรุงพาราณสีที่ประพฤติช่ัวให้กลับมาประพฤติดีจึงทรง
เนรมติ สุนัขดำ� ตวั ใหญไ่ วค้ อยกัดชาวเมืองท่ีทำ� ช่วั
๑๘. ชาดกที่ ๔๗๐ โกสิยชาดก (เลม่ ที่ ๖๐ ขอ้ ท่ี ๑๖๗๓)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นท้าวสักกะ มาสอนเศรษฐีผู้สืบสกุลล�ำดับที่ ๖ ช่ือโกสิยเศรษฐีผู้ท�ำลายวงศ์ตระกูล
ด้วยการไมบ่ ริจาคทาน ใหบ้ รจิ าคทานแลว้ ได้ไปเกดิ ในเทวโลก (ตรงกบั ชาดกท่ี ๕๓๕ สุธาโภชนชาดก)
๑๙. ชาดกท่ี ๔๘๙ สรุ ุจชิ าดก (เล่มที่ ๖๐ ข้อที่ ๑๙๔๒)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นท้าวสักกะ ประสงค์จะสงเคราะห์พระนางสุเมธาผู้ประพฤติสุจริตธรรมและภักดีต่อ
พระเจา้ สรุ จุ ิ จงึ พระราชทานพระโอรสใหแ้ ก่พระนาง
๒๐. ชาดกท่ี ๕๑๒ กุมภชาดก (เล่มที่ ๖๑ ข้อท่ี ๒๒๙๒)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นท้าวสักกะ ลงมาประทานโอวาทแก่พระเจ้าสรรพมิตรผู้ก�ำลังเตรียมการจะดื่มสุรา
ทรงชแี้ จงใหเ้ ห็นโทษของสุรา และสอนให้ต้งั อยใู่ นโอวาทของพระองค์
๒๑. ชาดกที่ ๕๓๕ สธุ าโภชนชาดก (เลม่ ที่ ๖๒ ขอ้ ที่ ๒๔๙)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นคหบดีผู้มีทรัพย์มาก ได้บริจาคทานเป็นประจ�ำทุกวัน เมื่อตายแล้วจึงไปบังเกิดเป็น
ท้าวสักกะ ผ้สู ืบสกุลอีก ๔ ลำ� ดบั ก็ได้บริจาคทานเจริญรอยตาม เม่ือตายแลว้ ไดไ้ ปบงั เกดิ เป็นเทพบตุ ร ผสู้ บื สกลุ ล�ำดับที่ ๖
กลบั เป็นคนตระหนี่ แม้จะมีทรัพย์มากก็ไม่ยอมบริจาคทาน ท้าวสักกะทรงเห็นว่าการกระท�ำของเขา เป็นการท�ำลาย
วงศต์ ระกูล จึงเสด็จมาจากเทวโลกพร้อมดว้ ยเทพบุตรทัง้ ๔ ซงึ่ เคยเปน็ ผ้สู บื สกุล เพ่อื ทรงสอนเขาใหข้ จัดความตระหน่แี ละ
บริจาคทานตามวงศ์ตระกูล
ภายหลังเขาได้ออกบวชเป็นดาบส และได้รับสุธาโภชน์ (อาหารทิพย์) จากท้าวสักกะ ในที่สุดได้ไปเกิดในเทวโลก
(ตรงกบั ชาดกท่ี ๔๗๐ โกสิยชาดก)
19 ประตสู ู่ชาดก
เทวราชา เทพบตุ ร (๗)
๑. ชาดกท่ี ๘๒ มิตตวนิ ทกชาดก (เล่มที่ ๕๖ ข้อที่ ๘๒)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นเทวราชา ไปเท่ียวเมืองนรก เห็นนายมิตตวินทกะทูนจักรไว้ จึงกล่าวติเตียนเพราะ
โทษท่ีเคยประทุษรา้ ยมารดา
๒. ชาดกที่ ๑๐๔ มิตตวนิ ทกชาดก (เล่มท่ี ๕๖ ข้อที่ ๑๐๔)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาตเิ ปน็ เทพบตุ ร กลา่ วเหตุที่นายมิตตวนิ ทกะถูกจกั รบดศรี ษะ เพราะเหตแุ ห่งความโลภ
๓. ชาดกท่ี ๓๒๖ กกั การุชาดก (เลม่ ท่ี ๕๘ ข้อที่ ๖๐๒)
พระโพธิสัตวเ์ สวยพระชาติเปน็ เทพบุตร ติเตยี นปโุ รหิตผูก้ ลา่ วมุสาวาทเพอ่ื ขอดอกไมท้ ิพย์
๔. ชาดกท่ี ๓๖๙ มิตตวนิ ทกชาดก (เล่มที่ ๕๘ ข้อที่ ๗๙๓)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ เทพบตุ ร เทยี่ วไปในอสุ สทนรก เหน็ นายมติ ตวนิ ทกะถกู จกั รผนั อยบู่ นศรี ษะ จงึ แสดง
โทษของกามใหน้ ายมติ ตวนิ ทกะฟัง
๕. ชาดกที่ ๔๓๙ จตทุ วารชาดก (เล่มท่ี ๕๙ ข้อท่ี ๑๓๑๙)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ เทวราชา เทย่ี วไปในอสุ สทนรกพรอ้ มกบั บรวิ าร ถกู นายมติ ตวนิ ทกะถามถงึ บรุ พกรรม
ทตี่ นท�ำไว้ ไดแ้ สดงถงึ บรุ พกรรมและการทีจ่ ะพ้นจากทุกขใ์ นนรกนย้ี งั ไม่มกี ำ� หนด
๖.ชาดกท่ี ๔๔๙ มฏั ฐกุณฑลชี าดก (เลม่ ท่ี ๕๙ ข้อท่ี ๑๔๓๓)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ เทพบตุ ร ไดม้ าแสดงธรรมแกพ่ ราหมณผ์ เู้ ปน็ บดิ าทเี่ ศรา้ โศกถงึ บตุ รนอ้ ยทต่ี ายไปแตเ่ ดก็
ด้วยการอุปมาเด็กที่ร้องไห้อยากได้ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์มาเป็นของเล่น เทียบกับพราหมณ์ซึ่งร้องไห้ถึงคนตายที่เผา
ไปแล้ว มองไม่เห็น ใหพ้ จิ ารณาวา่ ใครโง่กวา่ ใคร ท�ำใหพ้ ราหมณ์ไดค้ ดิ
ประตสู ูช่ าดก 20
๗. ชาดกที่ ๔๕๗ ธมั มเทวปุตตชาดก (เลม่ ท่ี ๖๐ ขอ้ ท่ี ๑๕๑๕)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นธรรมเทพบุตร ถึงวันอุโบสถออกไปเท่ียวชักชวนให้ประชาชนประพฤติกุศลธรรม
ฝา่ ยอธรรมเทพบตุ รกอ็ อกไปเทยี่ วชกั ชวนใหป้ ระชาชนประพฤตอิ กศุ ลธรรม ขากลบั มาพบกนั ในระหวา่ งทาง ไดเ้ กดิ การถกเถยี ง
กนั ข้นึ วา่ ใครควรหลีกทาง อธรรมเทพบตุ รสไู้ ม่ไดจ้ �ำตอ้ งพ่ายแพไ้ ป
เทวดา (๓๗)
เทวดาประจำ� มหาสมทุ ร อากาศ และ อ่นื ๆ (๖)
๑. ชาดกท่ี ๑๔๖ กากชาดก (เล่มที่ ๕๖ ข้อที่ ๑๔๖)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ เทวดาประจำ� มหาสมทุ ร ไดห้ า้ มฝงู กาไมใ่ หว้ ดิ นำ้� ในมหาสมทุ ร เพราะเปน็ การเหนอ่ื ยเปลา่
๒. ชาดกที่ ๑๔๗ ปุปผรตั ตชาดก (เล่มที่ ๕๖ ข้อท่ี ๑๔๗)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นเทวดาประจ�ำอากาศ ห้ามบุรุษคนหนึ่งผู้หลงภรรยาไม่ให้ลักของหลวง แต่เขาไม่ฟัง
จงึ ถกู ลงโทษถึงตาย
๓. ชาดกท่ี ๑๙๐ สลี านสิ ังสชาดก (เล่มท่ี ๕๗ ข้อท่ี ๒๒๙)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ เทวดาประจ�ำสมุทร ไดช้ ว่ ยเหลืออบุ าสกผมู้ ศี รทั ธา ศลี และจาคะใหพ้ ้นภัย
๔. ชาดกที่ ๒๙๖ สมุททชาดก (เล่มท่ี ๕๘ ข้อท่ี ๔๘๗)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ เทวดาประจำ� สมทุ ร ไดแ้ ปลงกายเปน็ รปู นา่ กลวั ขบั ไลก่ าซงึ่ มาเทยี่ วหา้ มปลาและมงั กร
ไม่ให้ดมื่ น้�ำทะเลมากเพราะกลัวน�้ำทะเลหมด
๕. ชาดกท่ี ๒๙๗ กามวลิ าปชาดก (เล่มท่ี ๕๘ ข้อท่ี ๔๙๐)
พระโพธิสัตวเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ เทวดา เหน็ โจรทถ่ี ูกหลาวเสียบแต่กย็ งั คร่ำ� ครวญถึงภรรยาผดู้ ุร้ายเพราะอ�ำนาจกาม
21 ประตูสชู่ าดก
๖. ชาดกที่ ๔๑๙ สลุ สาชาดก (เลม่ ท่ี ๕๙ ขอ้ ท่ี ๑๑๓๗)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาติเป็นเทวดา สถิตอยู่ทีย่ อดภเู ขา เห็นการกระท�ำของนางสุลสาท่เี อาตัวรอดจากโจรไดด้ ว้ ย
ปัญญา จงึ กล่าววา่ มใิ ช่แต่บรุ ษุ เทา่ น้ันท่เี ป็นบัณฑิต สตรกี ็เป็นบัณฑิตมีปัญญาเฉลียวฉลาดได้
รกุ ขเทวดา (๓๑)
๑. ชาดกท่ี ๑๓ กณั ฑชิ าดก (เลม่ ท่ี ๕๕ ข้อที่ ๑๓)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาติเป็นรกุ ขเทวดา ได้ตำ� หนิเนื้อภเู ขาตวั หน่งึ ที่หลงรักลูกเนอื้ ทุง่ จนถกู มนุษยย์ ิงตาย
๒. ชาดกท่ี ๑๘ มตกภตั ตชาดก (เล่มที่ ๕๕ ข้อท่ี ๑๘)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาติเป็นรุกขเทวดา ไดแ้ สดงธรรมแก่มหาชนว่าไมค่ วรฆา่ สตั วท์ ำ� บญุ ใหผ้ ตู้ าย เพราะเป็นทาง
แห่งความเดือดร้อน
๓. ชาดกท่ี ๑๙ อายาจติ ภัตตชาดก (เลม่ ที่ ๕๕ ข้อท่ี ๑๙)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาติเปน็ รุกขเทวดา ไดก้ ลา่ วตำ� หนกิ ฎุ ุมพผี ู้ฆา่ สัตวแ์ ก้บนว่าไมใ่ ช่ทางของนักปราชญ์
๔. ชาดกที่ ๓๘ พกชาดก (เลม่ ท่ี ๕๕ ข้อที่ ๓๘)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาติเป็นรุกขเทวดาสถิตอยู่ที่ต้นกุ่ม ได้เห็นเหตุอัศจรรย์ที่นกยางเจ้าเล่ห์หลอกกินปลาหมด
ท้ังสระ และหลอกจะกนิ ปูอีก แต่ถกู ปูหนีบตาย จึงไดใ้ ห้สาธกุ ารแก่ปู
๕. ชาดกท่ี ๗๔ รุกขธัมมชาดก (เลม่ ที่ ๕๖ ขอ้ ที่ ๗๔)
พระโพธิสตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ รุกขเทวดา ได้แสดงธรรมแก่รุกขเทวดาใหร้ จู้ กั เลอื กจับจองวมิ านทปี่ ลอดภยั
๖. ชาดกท่ี ๑๐๒ ปณั ณิกชาดก (เล่มท่ี ๕๖ ขอ้ ท่ี ๑๐๒)
พระโพธสิ ตั ว์เสวยพระชาตเิ ปน็ รกุ ขเทวดา เห็นพ่อคา้ ผกั จบั มอื ธิดาเพ่อื ดวู ่ารกั นวลสงวนตัวหรือไม่
ประตสู ูช่ าดก 22
๗. ชาดกท่ี ๑๐๕ ทุพพลกฏั ฐชาดก (เล่มท่ี ๕๖ ข้อที่ ๑๐๕)
พระโพธิสตั วเ์ สวยพระชาติเปน็ รุกขเทวดา สอนช้างที่กลัวใหห้ ายกลัว
๘. ชาดกท่ี ๑๐๙ กุณฑปวู ชาดก (เล่มท่ี ๕๖ ขอ้ ที่ ๑๐๙)
พระโพธิสตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ รุกขเทวดา ได้บอกให้คนยากจนท�ำพลีกรรมด้วยส่ิงที่ตนมีอยู่แล้วบอกขุมทรพั ยใ์ ห้
๙. ชาดกท่ี ๑๑๓ สิงคาลชาดก (เล่มที่ ๕๖ ขอ้ ท่ี ๑๑๓)
พระโพธสิ ตั ว์เสวยพระชาติเปน็ รุกขเทวดา ไดก้ ลา่ วปลอบใจพราหมณผ์ ู้เสยี รสู้ ุนัขจิง้ จอก
๑๐. ชาดกที่ ๑๒๑ กสุ นาฬชิ าดก (เล่มที่ ๕๖ ขอ้ ที่ ๑๒๑)
พระโพธิสตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ เทวดาอยู่ที่กอหญา้ คา ไดห้ าอุบายให้รุกขเทวดาไดร้ ุกขวิมานคืน
๑๑. ชาดกท่ี ๑๓๙ อภุ โตภัฏฐชาดก (เล่มท่ี ๕๖ ข้อที่ ๑๓๙)
พระโพธิสตั ว์เสวยพระชาติเปน็ รุกขเทวดา กล่าวตเิ ตยี นนายพรานเบด็ ผู้หวงั จะคิดหวงลาภกอ่ นไดล้ าภ
๑๒. ชาดกท่ี ๑๘๗ จตุมัฏฐชาดก (เล่มท่ี ๕๗ ขอ้ ที่ ๒๒๓)
พระโพธสิ ัตวเ์ สวยพระชาติเป็นรุกขเทวดา ไดต้ ิเตยี นสุนัขจง้ิ จอกที่ไมร่ ู้จกั ฐานะของตน
๑๓. ชาดกท่ี ๒๐๕ คงั เคยยชาดก (เลม่ ท่ี ๕๗ ขอ้ ท่ี ๒๕๙)
พระโพธิสัตวเ์ สวยพระชาติเป็นรกุ ขเทวดา อยทู่ ฝี่ ่ังแมน่ ้�ำ เหน็ ปลา ๒ ตวั ไปถามเตา่ วา่ ใครงามกวา่ กัน แต่เต่ากลับ
ตอบว่าเตา่ งามกวา่
๑๔. ชาดกท่ี ๒๐๙ กุกกุฏชาดก (เล่มที่ ๕๗ ขอ้ ท่ี ๒๖๗)
พระโพธิสตั วเ์ สวยพระชาติเป็นรกุ ขเทวดา ได้เห็นเหตทุ ่ไี ก่กลา่ วเยาะเย้ยนายพรานท่ีมาลวงดักไก่
๑๕. ชาดกที่ ๒๑๗ เสคคุชาดก (เลม่ ที่ ๕๗ ขอ้ ที่ ๒๘๓)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นรุกขเทวดา เห็นพ่อค้าผักจับมือธิดาชื่อเสคคุ เพื่อทดลองใจก่อนยกให้ตระกูลอ่ืน
(ตรงกับชาดกที่ ๑๐๒ ปัณณกิ ชาดก)
๑๖. ชาดกท่ี ๒๒๗ คถู ปาณกชาดก (เลม่ ที่ ๕๗ ข้อท่ี ๓๐๓)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ รกุ ขเทวดา ไดเ้ หน็ หนอนเมาสรุ าทา้ ชา้ งสู้ แตช่ า้ งไมย่ อมสกู้ ลบั ถา่ ยอจุ จาระทบั หนอนตาย
๑๗. ชาดกที่ ๒๗๒ พยคั ฆชาดก (เล่มท่ี ๕๘ ขอ้ ท่ี ๔๑๕)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นรุกขเทวดา ห้ามไม่ให้เพ่ือนเทวดาขับไล่ราชสีห์และเสือโคร่งไป แต่เพื่อนไม่เช่ือฟัง
กลับขบั ไลส่ ัตว์ทั้ง ๒ ไป ตอ่ มาเม่ือไม่มสี ตั ว์ทงั้ ๒ แล้ว ชาวบ้านกเ็ ขา้ มาตัดตน้ ไมจ้ นส้นิ
๑๘. ชาดกที่ ๒๘๓ วัฑฒกีสูกรชาดก (เลม่ ที่ ๕๘ ข้อที่ ๔๔๘)
พระโพธสิ ตั ว์เสวยพระชาติเปน็ รกุ ขเทวดา เหน็ สกุ รของช่างไม้ที่ถูกปลอ่ ยเข้าป่า รวบรวมฝงู สกุ รปา่ สกู้ บั เสือโคร่งจน
ได้ชยั ชนะดว้ ยความสามคั คี จึงให้ค�ำสรรเสรญิ
23 ประตสู ่ชู าดก
๑๙. ชาดกท่ี ๒๙๔ ชมั พขุ าทกชาดก (เลม่ ที่ ๕๘ ขอ้ ท่ี ๔๘๑)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ รกุ ขเทวดา กลา่ วตเิ ตยี นกากบั สนุ ขั จงิ้ จอกทกี่ ลา่ วยกยอ่ งกนั และกนั ดว้ ยคำ� อนั ไมเ่ ปน็ จรงิ
๒๐. ชาดกที่ ๒๙๕ อันตชาดก (เล่มท่ี ๕๘ ข้อที่ ๔๘๔)
พระโพธสิ ตั ว์เสวยพระชาตเิ ป็นรกุ ขเทวดา สถิตอยทู่ ี่ต้นละหงุ่ กล่าวตเิ ตียนกากบั สุนขั จง้ิ จอกพรอ้ มกบั ไมล้ ะหงุ่ ลว้ น
เลวพอๆ กัน
๒๑. ชาดกที่ ๒๙๘ อทุ มุ พรชาดก (เลม่ ที่ ๕๘ ข้อท่ี ๔๙๓)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ รกุ ขเทวดา ตเิ ตยี นวานรแกท่ หี่ ลอกวานรหนมุ่ ใหอ้ อกไปหาผลมะเดอ่ื กนิ เพอื่ แยง่ ทอ่ี ยู่
๒๒. ชาดกท่ี ๓๐๗ ปลาสชาดก (เล่มท่ี ๕๘ ข้อที่ ๕๒๖)
พระโพธิสัตวเ์ สวยพระชาติเปน็ รุกขเทวดาสถิตอยู่ท่ตี น้ ทองกวาว ไดส้ งเคราะห์พราหมณ์ผ้นู อบนอ้ มดูแลเอาใจใสใ่ ห้
ไดท้ รัพยเ์ ป็นจำ� นวนมาก
๒๓. ชาดกท่ี ๓๑๑ ปุจิมันทชาดก (เล่มที่ ๕๘ ขอ้ ที่ ๕๔๒)
พระโพธสิ ัตว์เสวยพระชาติเป็นรุกขเทวดา สถติ อยูท่ ต่ี น้ สะเดา ไดบ้ อกโจรที่มานอนหลับใตต้ ้นไมใ้ หร้ ีบหนไี ป เพราะ
เกรงวา่ ถา้ ถูกทางการบ้านเมอื งจบั ไดจ้ ะถูกเสยี บด้วยไมท้ ่ีโจรมานอนหลบั อยู่
๒๔. ชาดกท่ี ๓๖๑ วณั ณาโรหชาดก (เลม่ ท่ี ๕๘ ขอ้ ท่ี ๗๕๓)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ รกุ ขเทวดา เหน็ เหตทุ ส่ี นุ ขั จงิ้ จอกอยากจะกนิ เนอื้ ราชสหี แ์ ละเสอื โครง่ จงึ ยยุ งใหส้ ตั ว์
ทัง้ ๒ ทะเลาะกนั แตส่ ัตวท์ งั้ สองรทู้ ัน สนุ ขั จ้ิงจอกจงึ ต้องหนไี ปอยู่ทอ่ี ่นื
๒๕. ชาดกท่ี ๔๐๐ ทพั ภปุปผชาดก (เลม่ ที่ ๕๙ ข้อที่ ๙๙๗)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ รกุ ขเทวดา เหน็ สนุ ขั จง้ิ จอกโกงเอาเปรยี บในการแบง่ ปลาใหแ้ กน่ าก ๒ ตวั ทท่ี ะเลาะกนั
๒๖. ชาดกท่ี ๔๑๒ โกฏสมิ พลชิ าดก (เลม่ ท่ี ๕๙ ข้อที่ ๑๐๘๖)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นรุกขเทวดา สถิตอยู่ที่ต้นงิ้วใหญ่ ได้ขอร้องให้พญาครุฑช่วยไล่นกตัวเล็กๆ ซ่ึงไปกิน
ผลไทรมา แลว้ จะท�ำให้เกิดตน้ ไทรท�ำลายวมิ านของตนขนึ้ พญาครฑุ สรรเสริญวา่ มปี ญั ญารอบคอบดี
๒๗. ชาดกที่ ๔๓๗ ปตู มิ งั สชาดก (เล่มท่ี ๕๙ ข้อท่ี ๑๓๐๑)
พระโพธสิ ัตว์เสวยพระชาติเปน็ รุกขเทวดา ได้เหน็ เหตุท่ีสุนขั จ้ิงจอกลวงจะกนิ แม่แพะ แต่แม่แพะรู้ทัน จงึ ลวงตอบ
ดว้ ยปญั ญา ท�ำให้สนุ ัขจงิ้ จอกสองผัวเมียต้องหนไี ปอยู่ท่ีอน่ื ไมก่ ลับมารบกวนอกี
๒๘. ชาดกท่ี ๔๖๕ ภัททสาลชาดก (เลม่ ที่ ๖๐ ขอ้ ที่ ๑๖๑๓)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ รกุ ขเทวดา อาศยั อยทู่ ตี่ น้ สาละ ไดบ้ อกอบุ ายในการตดั ตน้ สาละ ซง่ึ เจรญิ อยทู่ า่ มกลาง
หม่ญู าตใิ หแ้ ก่พระเจา้ พรหมทัตสดบั พระราชาสดับแล้วจงึ รบั สั่งงดการตดั ต้นสาละ เพราะเปน็ การทำ� ให้ต้นไมอ้ ื่นเดอื ดรอ้ น
ด้วย เทวดากไ็ มม่ ที ี่อาศัย
ประตูส่ชู าดก 24
๒๙. ชาดกที่ ๔๗๕ ผนั ทนชาดก (เล่มท่ี ๖๐ ข้อท่ี ๑๗๓๘)
พระโพธสิ ัตว์เสวยพระชาติเป็นรกุ ขเทวดา เหน็ เหตุทหี่ มีกับไม้สะคร้อผูกเวรกัน เพราะเทวดาบนต้นไมส้ ะคร้อแกลง้
หมีก่อน ท้งั หมีและไมส้ ะครอ้ ตา่ งถึงความพินาศดว้ ยกนั ทัง้ คู่
๓๐. ชาดกท่ี ๔๙๒ ตัจฉสกู รชาดก (เลม่ ท่ี ๖๐ ขอ้ ท่ี ๑๙๗๕)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ รกุ ขเทวดา เหน็ สกุ รชอ่ื ตจั ฉะชกั ชวนฝงู สกุ รตอ่ สกู้ บั เสอื ได้ จงึ ชมเชยและกลา่ วพรรณนา
คุณของการมญี าติทีพ่ ร้อมเพรียงกนั เป็นการดี
๓๑. ชาดกท่ี ๕๒๐ คันธตินทุกชาดก (เล่มที่ ๖๑ ข้อท่ี ๒๔๑๙)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ รกุ ขเทวดาชอ่ื คนั ธตนิ ทกุ ะ ไดถ้ วายโอวาทแดพ่ ระเจา้ ปญั จาละผปู้ ระมาทมวั เมา ไมส่ นใจ
ราชกิจ ให้ต้ังอยใู่ นความไม่ประมาท และให้พระราชาเสด็จประพาสต้น ท�ำให้พระองคไ์ ดท้ ราบความเป็นอยขู่ องประชาชน
อย่างแท้จรงิ จากนน้ั พระราชากป็ ระพฤติมั่นอยูใ่ นราชธรรมสืบไป
(ชาดกที่ ๙๒ มหาสารชาดก เอกกนบิ าต เลม่ ที่ ๕๖ ขอ้ ท่ี ๙๒)
25 ประตูสูช่ าดก
“อกตญฺญสุ ฺส โปสสฺส นจิ ฺจํ วิวรทสฺสิโน
สพฺพํ เจ ปถวึ ทชฺชา เนว นํ อภริ าธเย”
สำ�หรบั คนอกตัญญู ผคู้ อยหาช่องอยู่เสมอ
แม้หากจะใหแ้ ผน่ ดนิ ทัง้ สิ้นได้ กท็ ำ�ใหเ้ ขาพอใจมิไดเ้ ลย
(ชาดกท่ี ๗๒ สีลวนาคชาดก เอกกนบิ าต เลม่ ท่ี ๕๖ ขอ้ ท่ี ๗๒)
พพรระะโโพพธธสสิิ ตตัั ววเเ์์ สสวว((๓๓ยย๕๕พพ๓๓รร))ะะชชาาตตเเิิ ปปนน็็ มมนนษษุุ ยย์์
ประตสู ู่ชาดก 26
“นสิ มมฺ วตตฺ ํ โลกสสฺ วายามสฺส จ เทวเต
ตสฺมา มชฺเฌสมทุ ฺทสฺมึ อปสสฺ ํ ตีรมายเุ ห”
ดูกอ่ นเทพธิดา เพราะคำ�นงึ ถึงแบบอยา่ งของโลกและความเพยี ร
แม้กลางมหาสมุทรมเิ หน็ ฝง่ั เรายงั คงมงุ่ ไปมิไดท้ ้อ
(ชาดกที่ ๕๓๙ มหาชนกชาดก มหานิบาต เลม่ ท่ี ๖๓ ข้อท่ี ๔๔๓)
พระราชา พระเจ้าพรหมทตั และ พระราชโอรส (๘๒)
พระราชา (๓๗)
๑. ชาดกท่ี ๙ มฆเทวชาดก (เลม่ ที่ ๕๕ ขอ้ ที่ ๙)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้ามฆเทพ ทรงเห็นพระเกศาหงอกเพียงเส้นเดียว ทรงสลดพระทัยว่าเมื่อวัย
ล่วงเลยไป พระเกศาก็หงอก เทวทูตปรากฏชัด เป็นเวลาทีจ่ ะบวช จงึ สละราชสมบัตอิ อกผนวช
๒. ชาดกที่ ๕๑ มหาสีลวชาดก (เลม่ ท่ี ๕๖ ขอ้ ที่ ๕๑)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระเจา้ สลี วมหาราช ทรงดำ� รถิ งึ ผลแหง่ ความเพยี รและความอดทน ทที่ ำ� ใหพ้ ระองค์
ประสบผลส�ำเรจ็ ได้ราชสมบัตคิ นื
๓. ชาดกท่ี ๕๒ จฬู ชนกชาดก (เลม่ ที่ ๕๖ ขอ้ ที่ ๕๒)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระมหาชนก ดำ� รถิ งึ ผลแหง่ ความเพยี รทท่ี ำ� ใหพ้ ระองคข์ า้ มนำ�้ ไดว้ า่ เปน็ คนไมค่ วรทอ้ แท้
๔. ชาดกท่ี ๙๕ มหาสุทสั สนชาดก (เลม่ ท่ี ๕๖ ขอ้ ท่ี ๙๕)
พระโพธิสตั ว์เสวยพระชาตเิ ปน็ พระราชาพระนามว่ามหาสทุ ัศน์ ไดส้ อนพระนางสุภัททาเทวแี ละบรวิ ารทั้งหลายให้
เห็นว่าสงั ขารทงั้ หลายไมเ่ ที่ยงเกดิ ขึ้นแลว้ เสือ่ มไปเปน็ ธรรมดา
๕. ชาดกที่ ๑๒๖ อสิลักขณชาดก (เลม่ ท่ี ๕๖ ขอ้ ท่ี ๑๒๖)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระราชนดั ดา ทำ� อบุ ายจนไดพ้ ระราชธดิ าพระเจา้ กรงุ พาราณสมี าเปน็ พระชายาและ
ได้ครองราชสมบตั สิ บื มา
๖. ชาดกที่ ๑๕๖ อลีนจติ ตชาดก (เลม่ ท่ี ๕๗ ขอ้ ท่ี ๑๖๑)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นอลีนจิตตกุมาร อาศัยพญาช้างเผือกจับพระเจ้าโกศลได้ ทรงได้รับชัยในสงคราม
27 ประตสู ชู่ าดก
๗. ชาดกท่ี ๑๖๐ วนิ ีลกชาดก (เลม่ ที่ ๕๗ ขอ้ ท่ี ๑๖๙)
พระโพธิสตั ว์เสวยพระชาตเิ ปน็ พระเจา้ วิเทหราช ทอดพระเนตรลกู หงส์ ๒ ตัว นำ� ลกู กาวนิ ลี กะไปทางอากาศดว้ ย
การคาบปลายไม้ตัวละข้างให้ลูกกาจับตรงกลาง แต่ลูกกากล่าวเปรียบตนเองเหมือนพระราชา จึงถูกพญาหงส์ทองผู้เป็น
พ่อให้กลบั ไปอยู่กบั แมก่ า
๘. ชาดกที่ ๑๙๓ จฬู ปทมุ ชาดก (เลม่ ท่ี ๕๗ ขอ้ ที่ ๒๓๕)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาติเป็นพระเจา้ ปทมุ ทรงใหอ้ ภยั แก่พระชายาผคู้ ิดปลงพระชนม์พระองค์
๙. ชาดกที่ ๒๒๙ ปลายติ ชาดก (เลม่ ที่ ๕๗ ขอ้ ที่ ๓๐๗)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาตเิ ป็นพระราชาเมืองตักกสลิ า ทรงมีอิสรยิ ยศมากสร้างเมืองอย่างมนั่ คง พระเจา้ พรหมทตั
ทรงยกกองทัพไปรบ พอทอดพระเนตรประตเู มอื งก็ตอ้ งถอยทพั กลับ
๑๐. ชาดกท่ี ๒๓๐ ทตุ ิยปลายติ ชาดก (เลม่ ที่ ๕๗ ขอ้ ท่ี ๓๐๙)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้ากรุงพาราณสี มีพระราชาเมืองตักกสิลาทรงยกกองทัพมาล้อมเมือง เมื่อ
ทอดพระเนตรกองทพั ของพระเจา้ กรุงพาราณสเี ข้ากท็ ้อพระทัยยอมถอยทพั กลบั
๑๑. ชาดกที่ ๒๕๘ มันธาตรุ าชชาดก (เลม่ ท่ี ๕๘ ขอ้ ท่ี ๓๗๓)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระเจา้ มนั ธาตุ ไดเ้ สวยราชสมบตั ใิ นมนษุ ยท์ ง้ั หมดและไดค้ รองเทวโลก แตต่ อ้ งพลดั
ตกลงมาเพราะกามวติ ก
๑๒. ชาดกที่ ๒๖๐ ทูตชาดก (เลม่ ที่ ๕๘ ขอ้ ที่ ๓๗๙)
พระโพธิสตั ว์เสวยพระชาติเป็นพระเจา้ โภชนสุทธิครองกรุงพาราณสี ถกู บุรุษโลเลคนหน่ึงแย่งอาหารเสวย โดยเขา
ใหเ้ หตผุ ลว่าเขาเปน็ ทตู ของท้อง เป็นทูตของตณั หา ทรงพอพระทยั จึงพระราชทานยศใหญ่แก่เขา
๑๓. ชาดกที่ ๒๗๖ กรุ ุธมั มชาดก (เลม่ ท่ี ๕๘ ขอ้ ท่ี ๔๒๗)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้ากุรุราช ทรงรักษากุรุธรรมพร้อมกับบุคคลรอบข้างพระองค์ คือพระมารดา
พระมเหสี มหาอปุ ราช ปโุ รหติ อำ� มาตยผ์ วู้ ดั นา นายสารถี มหาเศรษฐี อำ� มาตยผ์ ตู้ วงขา้ วคา่ นา คนเฝา้ ประตเู มอื งและนางงาม
ประจำ� เมอื ง เปน็ เหตทุ ำ� ใหบ้ า้ นเมอื งสมบรู ณ์ จนชาวเมอื งกาลงิ คะมาขอกรุ ธุ รรมไปใหพ้ ระราชาของตนประพฤตแิ กค้ วามแหง้ แลง้
๑๔. ชาดกที่ ๓๐๒ มหาอสั สาโรหชาดก (เลม่ ท่ี ๕๘ ขอ้ ท่ี ๕๐๖)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้ากรุงพาราณสี เสด็จไปปราบโจรแต่ปราชัย ได้ไปอาศัยคหบดีชาวชนบทอยู่
ตอ่ มาไดแ้ บง่ ราชสมบัตกิ ง่ึ หน่งึ แก่สหายผ้มู ีน้ำ� ใจนนั้
๑๕. ชาดกที่ ๓๔๓ กนุ ตินีชาดก (เลม่ ท่ี ๕๘ ขอ้ ที่ ๖๗๐)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้ากรุงพาราณสี ขอร้องให้นางนกกระเรียนอยู่ในราชส�ำนักต่อไป แม้จะเคย
บาดหมางกนั บัณฑิตยอ่ มใหอ้ ภยั กันได้ แตน่ างนกกระเรียนไมย่ อมจงึ จากไป
ประตสู ชู่ าดก 28
๑๖. ชาดกที่ ๓๔๗ อยกฏู ชาดก (เลม่ ที่ ๕๘ ขอ้ ท่ี ๖๘๖)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระเจ้ากรุงพาราณสี ทรงหา้ มชาวเมอื งฆา่ สตั วท์ ำ� พลกี รรม พวกยกั ษโ์ กรธจะทำ� รา้ ย
พระองค์ ทา้ วสกั กเทวราชจึงเสด็จมาคุ้มครองพระองค์
๑๗. ชาดกท่ี ๓๔๙ สนั ธิเภทชาดก (เลม่ ท่ี ๕๘ ขอ้ ท่ี ๖๙๔)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระเจา้ กรงุ พาราณสี ทรงแสดงโทษของการเปน็ คนหเู บา โดยทรงยกเรอื่ งราชสหี แ์ ละ
โคผซู้ ง่ึ เป็นสหายกัน แต่ต้องมาฆา่ กันตายเพราะเชอ่ื คำ� ส่อเสยี ดของสนุ ขั จ้ิงจอก
๑๘. ชาดกที่ ๓๕๑ มณกิ ณุ ฑลชาดก (เลม่ ท่ี ๕๘ ขอ้ ท่ี ๗๐๒)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้ากรุงพาราณสี ถูกพระเจ้าโกศลจับขังไว้ แต่มิได้ทรงแสดงความเศร้าโศก
เสยี พระทยั แต่อยา่ งใด กลับทรงเขา้ ฌานให้พระราชาโจรเหน็ จนเกิดความเลอ่ื มใสจงึ คนื ราชสมบตั ิให้
๑๙. ชาดกท่ี ๔๑๑ สุสีมชาดก (เลม่ ท่ี ๕๙ ขอ้ ที่ ๑๐๗๙)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระเจา้ สุสีมะ ทรงเบ่ือหน่ายในการครองเรือน ทรงเห็นพระเกศาหงอกสะดงุ้ พระทยั
วา่ ตนเองแก่แล้ว จึงออกผนวช
๒๐. ชาดกที่ ๔๑๕ กุมมาสปิณฑิชาดก (เลม่ ท่ี ๕๙ ขอ้ ท่ี ๑๑๐๗)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระราชา ทรงเหน็ กริ ยิ าอาการของตนในชาตกิ อ่ นปรากฏชดั ดว้ ยความรรู้ ะลกึ ชาตไิ ด้
พระองค์ตรสั บอกถงึ ผลกรรมของตนโดยพิสดารวา่ พระองค์เคยเป็นลกู จ้างในนครนี้ เม่ือไปท�ำงานได้ถวายขนมกมุ มาส (ถว่ั )
๔ ชน้ิ แด่พระปจั เจกพุทธเจา้ ท้ังหลาย จงึ ได้ถือก�ำเนิดในที่น่ี เพราะผลของกรรมนน้ั
๒๑. ชาดกที่ ๔๒๑ คงั คมาลชาดก (เลม่ ที่ ๕๙ ขอ้ ที่ ๑๑๕๕)
พระโพธสิ ตั ว์เสวยพระชาตเิ ป็นพระเจ้าอุทยั ราช เม่ือพระเจา้ อฑั ฒมาสกราชผนวชแลว้ พระเจ้าอุทัยราชตรสั ว่าการ
ทที่ รงไดเ้ ปน็ พระเจา้ อทุ ยั ราช เปน็ ผลแหง่ กรรมเลก็ นอ้ ย ผใู้ ดละกามราคะออกบวชแลว้ ชอื่ วา่ ไดล้ าภดแี ลว้ เนอ่ื งจากในอดตี ชาติ
พระองคเ์ สวยพระชาติเปน็ คนจน ไปอาศัยรบั จ้างในเรือนสุจิเศรษฐี ไดร้ ักษาอุโบสถศลี เพียงคืนเดียวแล้วส้ินชวี ิตมาเกดิ เปน็
อุทัยราชกุมารและได้ครองราชสมบตั ิในกรุงพาราณสีสืบมา
๒๒. ชาดกท่ี ๔๒๔ อาทติ ตชาดก (เลม่ ที่ ๕๙ ขอ้ ที่ ๑๑๘๐)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าโรรุวะ ครองราชสมบัติในกรุงโรรุวะ ทรงยึดมั่นในการบ�ำเพ็ญทาน ทรงพอ
พระทยั ในการใหท้ านแกพ่ ระทกั ขไิ ณยบคุ คล และทรงสดบั ธรรมจากพระปัจเจกพทุ ธเจา้ ถงึ ๗ พระองค์
๒๓. ชาดกท่ี ๔๔๕ นโิ ครธชาดก (เลม่ ท่ี ๕๙ ขอ้ ที่ ๑๓๙๐)
พระโพธสิ ัตวเ์ สวยพระชาตเิ ป็นนโิ ครธกมุ าร เรยี นวชิ าทเ่ี มืองตกั กสิลากับเพ่ือน ๒ คน จบมาแลว้ ได้รับเลอื กใหค้ รอง
กรุงพาราณสี หลังบริโภคเน้ือไกท่ เี่ พื่อนจัดสรรให้ ได้พระราชทานต�ำแหน่งเสนาบดแี ละตำ� แหนง่ ขุนคลังแกเ่ พ่อื นทัง้ ๒ คน
เพ่ือนท่ีเปน็ เสนาบดเี ปน็ คนไมด่ ี จะทรงลงอาญา แต่เพอื่ นทเ่ี ป็นขนุ คลงั ขอพระราชทานอภยั โทษให้
29 ประตสู ่ชู าดก
๒๔. ชาดกท่ี ๔๕๖ ชุณหชาดก (เล่มท่ี ๖๐ ข้อท่ี ๑๕๐๔)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระเจา้ ชณุ หะ ทรงทำ� การสงเคราะหพ์ ราหมณแ์ กค่ นหนง่ึ ดว้ ยเหตเุ พยี งเลก็ นอ้ ยโดย
พราหมณ์อ้างว่าคืนหนึง่ เคยเดินกระทบไหลก่ ับพระราชาและสนทนากันในเร่ืองทถ่ี ูกคอ
๒๕. ชาดกท่ี ๔๖๘ ชนสันธชาดก (เลม่ ที่ ๖๐ ขอ้ ที่ ๑๖๔๙)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าชนสันธะ ตรัสเหตุ ๑๐ ประการท่ีบุคคลท�ำแล้วท�ำให้เดือดร้อนใจภายหลัง
แต่เหตุ ๑๐ ประการเหลา่ น้ีผู้ประพฤตโิ ดยถูกตอ้ งยอ่ มไม่เดือดรอ้ นใจในภายหลัง
๒๖. ชาดกท่ี ๔๙๔ สาธินราชชาดก (เล่มท่ี ๖๐ ขอ้ ที่ ๑๙๙๔)
พระโพธิสตั วเ์ สวยพระชาตเิ ป็นพระเจา้ สาธินะ ครองราชสมบตั ิในกรุงมถิ ิลา เพราะบ�ำเพญ็ กศุ ลมกี ารใหท้ าน รกั ษา
ศีล เป็นต้นไว้มาก ท้าวสักกะจึงอัญเชญิ ให้เสดจ็ ไปเสวยราชยใ์ นสวรรคช์ ั้นดาวดงึ ส์เปน็ เวลา ๗๐๐ ปี จึงเสดจ็ กลบั
๒๗. ชาดกที่ ๔๙๙ สีวริ าชชาดก (เลม่ ท่ี ๖๑ ข้อท่ี ๒๐๖๖)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระเจา้ สวี ริ าช ทรงบรจิ าคพระเนตรเปน็ ทาน ตอ่ มากลบั ไดพ้ ระเนตรทพิ ยด์ ว้ ยอำ� นาจ
สัจจะ และทรงแนะน�ำให้ประชาชนยินดีในการบรจิ าคทาน
๒๘. ชาดกที่ ๕๐๔ ภัลลาติยชาดก (เลม่ ท่ี ๖๑ ขอ้ ท่ี ๒๑๕๓)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเปน็ พระเจา้ ภัลลาติยะ เสดจ็ ไปล่าเนื้อ พร้อมกับฝูงสุนัข ไดไ้ ปพบกนิ นร ๒ สามภี รรยา
รอ้ งไหเ้ ศรา้ โศกอยู่ ทรงสอบถามไดค้ วามวา่ พลดั พรากจากกนั เพยี งคนื เดยี วยงั ไมห่ ายเศรา้ โศก พระองคจ์ งึ เสดจ็ กลบั พระนคร
๒๙. ชาดกที่ ๕๑๙ สัมพุลาชาดก (เลม่ ที่ ๖๑ ข้อที่ ๒๔๐๖)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระราชาบวชเป็นฤษี ประทานโอวาทแก่พระเจ้าโสตถิเสนพระราชโอรสผู้ลุ่มหลง
มัวเมาในสตรอี น่ื ๆ จนลมื พระอคั รมเหสผี ูเ้ คยทุกขย์ ากด้วยกนั มาในป่า ให้ยกย่องใหเ้ กยี รติแกพ่ ระนาง
๓๐. ชาดกที่ ๕๒๔ สังขปาลชาดก (เล่มท่ี ๖๑ ขอ้ ท่ี ๒๔๙๕)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าทุยโยธนะ ทรงให้ทานปรารถนาสมบัติในนาคพิภพ และเมื่อได้เกิดเป็น
สงั ขปาลนาคราชกลบั อดึ อดั เพราะหาโอกาสทำ� บญุ ไดย้ าก จงึ ออกมารกั ษาอโุ บสถศลี บนพนื้ พภิ พ เพอื่ ใหไ้ ดเ้ ปน็ มนษุ ยต์ ามเดมิ
๓๑. ชาดกท่ี ๕๒๕ จูฬสุตโสมชาดก (เลม่ ท่ี ๖๑ ข้อท่ี ๒๕๑๙)
พระโพธสิ ตั ว์เสวยพระชาตเิ ปน็ พระราชกุมารพระนามว่าจฬู สุตโสม พิจารณาเห็นความไมเ่ ทย่ี งของสงั ขารและโทษ
ในการครองเรือน จึงเสด็จออกผนวช สอนประชาชนให้หมัน่ เจริญเมตตาและไมต่ งั้ อยูใ่ นความประมาท
๓๒. ชาดกที่ ๕๒๙ โสณกชาดก (เล่มท่ี ๖๒ ข้อท่ี ๖๖)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระราชกุมารพระนามว่าอรินทมะ และมีพระสหายช่ือว่าโสณกกุมาร เมื่อทั้ง ๒
เจรญิ วยั แลว้ ไดเ้ ดนิ ทางไปศกึ ษาศลิ ปศาสตรท์ เ่ี มอื งตกั กสลิ าดว้ ยกนั ตอ่ มาอรนิ ทมราชกมุ ารไดร้ บั อภเิ ษกเปน็ กษตั รยิ ค์ รองราช
สมบตั ิ ณ กรงุ พาราณสี ส่วนโสณกกมุ ารไดอ้ อกบวชบำ� เพญ็ สมณธรรมบรรลุเปน็ พระปัจเจกพุทธเจ้า ภายหลงั ไดแ้ สดงธรรม
โปรดพระเจา้ อรินทมะ โดยอุปมาดว้ ยคนบรโิ ภคกามว่าเหมอื นการบรโิ ภคซากชา้ งไมน่ านก็จะจมลงในหว้ งน้�ำใหญ่ พระเจ้า
อรนิ ทมะทรงเกิดความเบ่ือหนา่ ยจงึ ไดส้ ละราชสมบัตอิ อกผนวช
ประตูสูช่ าดก 30
๓๓.ชาดกท่ี ๕๓๑ กสุ ชาดก (เลม่ ท่ี ๖๒ ข้อท่ี ๙๔)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้ากุสราช ครองราชสมบัติ ณ กรุงกุสาวดี พระองค์มีพระรูปไม่งามแต่มีพระ
ปญั ญามาก ทรงเอาชนะพระนางประภาวดซี ง่ึ มพี ระรปู งามดว้ ยพระปญั ญาและความเพยี รของพระองค์ และยงั ทรงเอาชนะ
ข้าศึกด้วยพระปญั ญาและพระปรีชาสามารถของพระองค์อกี เช่นเดียวกนั
๓๔. ชาดกที่ ๕๓๗ มหาสตุ โสมชาดก (เลม่ ที่ ๖๒ ข้อที่ ๓๑๕)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระเจ้าสตุ โสม ถกู โจรโปรสิ าทผเู้ ปน็ พระสหายจบั ตวั ไปเพอ่ื บชู ายญั แตพ่ ระองคก์ ไ็ ด้
ทรงสง่ั สอนใหพ้ ระสหายรจู้ กั ผดิ ชอบชวั่ ดจี นสามารถกลบั ใจไดแ้ ละยงั ไดท้ รงชว่ ยปลดปลอ่ ยพระราชาผเู้ ปน็ พระสหายอกี ๑๐๑
พระองคใ์ ห้พน้ จากอันตรายอกี ด้วย
๓๕. ชาดกท่ี ๕๓๙ มหาชนกชาดก (เล่มท่ี ๖๓ ข้อที่ ๔๔๒)
พระโพธสิ ัตว์เสวยพระชาตเิ ปน็ พระเจ้ามหาชนก ขณะพระมารดาทรงพระครรภไ์ ด้หนขี า้ ศกึ ไปอาศัยอยู่กับอาจารย์
ทิศาปาโมกข์ที่เมืองกาลจัมปากะ เมื่อเจริญวัยได้ศึกษาจบไตรเพทและศิลปศาสตร์ แล้วขออนุญาตพระมารดาเดินทางไป
คา้ ขายท่สี วุ รรณภมู ิ แตเ่ รอื แตกจมลงในมหาสมทุ ร ในขณะทก่ี �ำลงั ว่ายน้�ำช่วยเหลอื ตนเองอยใู่ นมหาสมุทรเป็นวนั ที่ ๗ น้ัน
นางมณีเมขลาซ่ึงเปน็ เทพธิดาผู้รักษามหาสมทุ รได้ชว่ ยเหลอื น�ำท่านไปสง่ ขน้ึ ฝั่งทกี่ รุงมิถิลา
ต่อมาอ�ำมาตย์และปโุ รหติ ไดอ้ ภเิ ษกพระมหาชนกขึ้นเปน็ กษัตริย์ครองราชสมบัติ ณ กรุงมิถลิ า สืบตอ่ จากพระเจ้า
โปลชนกผู้เป็นพระเจ้าอาซ่ึงไม่มีพระราชโอรสมีแต่พระราชธิดา พระองค์ทรงรับสั่งไว้ก่อนสวรรคตว่า ถ้าผู้ใดรู้ปริศนาธรรม
๑๖ ขอ้ และท�ำใหพ้ ระราชธดิ าสวี ลีพอพระทัยได้ กใ็ ห้พร้อมใจกนั อภิเษกผ้นู น้ั ข้ึนเป็นกษัตริยค์ รองราชสมบตั ิสืบไป
พระเจา้ มหาชนกทรงครองราชสมบตั ดิ ว้ ยทศพธิ ราชธรรม ทรงสรา้ งความเจรญิ มนั่ คงและประชาชนกอ็ ยเู่ ยน็ เปน็ สขุ
จากนนั้ จงึ เสดจ็ ออกผนวช แมพ้ ระมเหสจี ะทลู ออ้ นวอนอยา่ งไรกไ็ มเ่ สดจ็ กลบั ทรงบำ� เพญ็ ฌานใหเ้ กดิ ขน้ึ และเมอ่ื สวรรคตแลว้
กไ็ ดไ้ ปส่พู รหมโลก
๓๖. ชาดกท่ี ๕๔๑ เนมิราชชาดก (เล่มท่ี ๖๓ ข้อที่ ๕๒๕)
พระโพธิสัตวเ์ สวยพระชาติเปน็ พระเจา้ เนมิราช ทรงบ�ำเพ็ญฌาน สมาทานอุโบสถศลี มไิ ด้ขาด ทรงชแี้ จงทางสวรรค์
แก่ประชาชนเปน็ จ�ำนวนมาก ประชาชนเหลา่ นน้ั ทำ� บญุ แลว้ ตายไปเกิดในสวรรค์ เม่ือระลกึ ถงึ อปุ การคุณของพระราชาจงึ ให้
มาตลีเทพบุตรน�ำเวชยนั ตร์ าชรถไปรับพระเจ้าเนมิราชใหข้ ้ึนไปเย่ียมชมสวรรค์
มาตลเี ทพบตุ รไดน้ ำ� พระเจ้าเนมริ าชไปชมนรกตา่ งๆ แลว้ แสดงบุพกรรมของสตั วน์ รกเหลา่ นน้ั ให้สดับ จากนัน้ ไดน้ ำ�
ไปชมสวรรค์ช้ันต่างๆ และแสดงบุพกรรมของเทวดาในสวรรค์แต่ละช้ันให้สดับ ต่อจากนั้นจึงน�ำไปเยี่ยมท้าวสักกเทวราช
พระเจ้าเนมิราชทรงแสดงธรรมแก่ท้าวสักกเทวราชและเทพบรวิ ารเป็นจ�ำนวนมาก
เมอื่ มาตลเี ทพบตุ รนำ� พระเจ้าเนมริ าชกลบั มาสง่ ทมี่ นษุ ยโลกแลว้ พระองคท์ รงสง่ั สอนประชาชนใหต้ ง้ั อยใู่ นบญุ กศุ ล
มีการให้ทานเป็นต้น เมอื่ พระเกศาหงอกแลว้ กไ็ ดเ้ สด็จออกผนวช บ�ำเพญ็ ฌานสมาบตั ใิ หเ้ กดิ ข้ึน และเม่ือสวรรคตแลว้ จึงได้
ไปสพู่ รหมโลก
๓๗. ชาดกที่ ๕๔๗ เวสสันตรชาดก (เลม่ ท่ี ๖๔ ข้อท่ี ๑๐๔๕)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระเวสสันดร พระองคท์ รงประสตู ิในวนั ทพี่ ระราชบดิ าทรงทำ� ประทกั ษณิ พระนคร
และพระราชมารดากำ� ลงั เสดจ็ ชมรา้ นตลาด จงึ ทรงไดพ้ ระนามวา่ เวสสนั ดร พระองคท์ รงพอพระทยั ในการบรจิ าคทาน โดยท่ี
สดุ แม้ร่างกายและชวี ติ ก็ทรงพอพระทัยท่ีจะบรจิ าคใหเ้ ปน็ ทานได้
31 ประตสู ชู่ าดก
เมอ่ื พระเวสสนั ดรเสด็จขนึ้ ครองราชสมบัตแิ ล้วได้บริจาคพญาช้างปัจจยั นาคให้แกพ่ ราหมณ์ ๘ คนทม่ี าทูลขอ ท�ำให้
ชาวเมืองโกรธแค้นจึงรวมตัวกันขับไล่ให้ไปอยู่ท่ีเขาวงกต แต่ก่อนท่ีจะเสด็จไปก็ทรงบริจาคสัตตสดกมหาทาน แม้ในขณะท่ี
กำ� ลงั เสด็จออกจากพระนครก็มผี ู้มาขอราชรถพร้อมทั้งม้าทรง พระองคก์ ็ทรงบรจิ าคให้เปน็ ทานอกี
พระเวสสันดรทรงพาพระนางมัทรี พระโอรสและพระธิดา ด�ำเนนิ ด้วยพระบาท ผา่ นเมืองเจตราชไปถือเพศเปน็ ฤษี
อยู่ ณ บรรณศาลาท่เี ขาวงกต เสวยผลหมากรากไมเ้ ปน็ อาหาร เวลาผา่ นไป ๗ เดือน พราหมณ์ขอทานช่ือชชู กได้เดินทางไป
ขอพระโอรสและพระธิดา คือ ชาลีและกัณหาเพื่อน�ำไปเป็นทาสรับใช้ พระองค์พระราชทานให้ วันรุ่งข้ึนท้าวสักกเทวราช
แปลงเพศเปน็ พราหมณ์มาขอพระนางมัทรี พระองค์กพ็ ระราชทานใหอ้ กี
พราหมณ์ชชู กพา ๒ กมุ าร เดินทางไปถึงเมอื งเชตุดร พระเจ้าสญชัยทรงเห็นเขา้ จึงโปรดให้นำ� พระราชทรพั ยม์ าไถ่
พระราชนดั ดาทั้ง ๒ ไว้ ต่อมาไดใ้ ห้พระราชนัดดาน�ำทางไปรบั พระเวสสันดรกลับพระนคร
เมอื่ พระเวสสนั ดรเสดจ็ กลบั มาถงึ พระนคร ฝนแกว้ ๗ ประการไดต้ กลงมาทว่ั พระนคร พระองคท์ รงปกครองแผน่ ดนิ
โดยธรรม ทรงบริจาคมหาทานและรักษาอโุ บสถศีลตลอดพระชนมายุ หลังจากสวรรคตแลว้ จงึ ไปสูส่ วรรค์ช้ันดสุ ติ
พระเจา้ พรหมทตั ( ๒๐)
๑. ชาดกที่ ๑๔ วาตมคิ ชาดก (เล่มที่ ๕๕ ขอ้ ท่ี ๑๔)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจา้ พรหมทัต ทรงติเตียนเนื้อสมันซึ่งติดในรสหญา้ ทาน�้ำผ้ึง ยอมติดตามคนเฝา้
สวนไปจนถงึ พระลานหลวง
๒. ชาดกที่ ๖๒ อัณฑภตู ชาดก (เล่มที่ ๕๖ ข้อที่ ๖๒)
พระโพธิสตั ว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าพรหมทตั ไดต้ รสั กบั ปุโรหติ ถงึ หญิงผ้ตู อ้ งการชายคนเดยี วไมม่ ี
๓. ชาดกท่ี ๖๗ อจุ ฉังคชาดก (เล่มท่ี ๕๖ ข้อท่ี ๖๗)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระเจา้ พรหมทตั หญงิ คนหนงึ่ มาทลู ขอพระราชทานอภยั โทษใหพ้ ช่ี ายเปน็ อนั ดบั แรก
ทรงสอบถามแล้วพอพระทัยในเหตผุ ล จึงทรงยกโทษให้ทงั้ สามีและลูกชายของนางด้วย
ประตสู ู่ชาดก 32
๔. ชาดกท่ี ๑๐๐ อสาตรูปชาดก (เลม่ ที่ ๕๖ ขอ้ ที่ ๑๐๐)
พระโพธสิ ัตวเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระเจา้ พรหมทตั เมอ่ื พระเจา้ โกศลทรงยกทพั มาลอ้ มเมอื งและปลงพระชนม์ พระโอรส
เสด็จหนีไปทางทอ่ ระบายนำ้� ตอ่ มาได้ไปลอ้ มเมืองและยดึ ราชสมบตั ิคืนได้
๕. ชาดกท่ี ๑๕๑ ราโชวาทชาดก (เลม่ ท่ี ๕๗ ขอ้ ที่ ๑๕๑)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าพรหมทัต ได้พระราชทานโอวาทแก่พระเจ้ากรุงสาวัตถีให้ตั้งอยู่ในธรรมคือ
ชนะความโกรธด้วยความไม่โกรธ ชนะความไม่ดดี ้วยความดี เป็นตน้
๖. ชาดกท่ี ๑๙๑ รุหกชาดก (เลม่ ท่ี ๕๗ ข้อที่ ๒๓๑)
พระโพธสิ ัตว์เสวยพระชาติเปน็ พระเจา้ พรหมทตั ทรงเกล้ียกล่อมให้ปุโรหิตคืนดีกับภรรยา แต่ไมส่ ำ� เรจ็
๗. ชาดกที่ ๒๒๕ ขนั ติวณั ณนชาดก (เลม่ ที่ ๕๗ ขอ้ ที่ ๒๙๙)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระเจา้ พรหมทตั ไดท้ รงอดโทษใหแ้ กป่ โุ รหติ ผปู้ ระพฤตผิ ดิ ประเวณกี บั นางสนมของ
พระองค์
๘. ชาดกท่ี ๒๓๓ วกิ ัณณกชาดก (เลม่ ท่ี ๕๗ ขอ้ ที่ ๓๑๕)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจา้ พรหมทัต รับส่ังให้เล้ียงปลาและเตา่ ที่มาฟังดนตรี แต่มีจระเข้มากินปลาจึง
รบั สัง่ ใหเ้ อาชนกั แทงให้หนีไป
๙. ชาดกท่ี ๒๔๘ กิงสโุ กปมชาดก (เลม่ ที่ ๕๗ ขอ้ ที่ ๓๔๖)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระเจา้ พรหมทตั ทรงวนิ จิ ฉัยลักษณะของต้นทองกวาวท่ีพระกุมารท้งั ๔ ถกเถยี งกนั
๑๐. ชาดกท่ี ๒๖๒ มุทุปาณชิ าดก (เลม่ ท่ี ๕๘ ขอ้ ที่ ๓๘๕)
พระโพธิสัตวเ์ สวยพระชาติเป็นพระเจ้าพรหมทตั ไม่อาจจะรักษาพระราชธิดาไว้ได้ จ�ำเปน็ ต้องยกให้เปน็ คูค่ รองของ
พระราชภาคไิ นย และใหค้ รองราชยต์ อ่ ไป
๑๑. ชาดกที่ ๒๖๙ สชุ าตาชาดก (เลม่ ที่ ๕๘ ข้อท่ี ๔๐๖)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระเจา้ พรหมทตั ทรงหาอบุ ายสอนพระราชมารดามใิ หต้ รสั คำ� หยาบ ดว้ ยการเปรยี บ
เทยี บเสยี งนกต้อยตวี ดิ และนกดเุ หวา่ ให้พจิ ารณา
๑๒. ชาดกท่ี ๒๘๒ เสยยชาดก (เลม่ ท่ี ๕๘ ขอ้ ท่ี ๔๔๕)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าพรหมทัต ถูกพระราชาต่างเมืองจับขังไว้ในเรือนจ�ำ ทรงแผ่เมตตาให้กับ
พระราชาพระองคน์ ั้น จนไดก้ ลบั มาครองราชยต์ ามเดมิ
๑๓. ชาดกที่ ๒๘๙ นานาฉันทชาดก (เลม่ ที่ ๕๘ ข้อที่ ๔๖๖)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเปน็ พระเจ้าพรหมทัต รบั สัง่ ใหเ้ รียกปุโรหิตที่ถูกออกจากราชการให้กลับเขา้ รบั ราชการ
อีกคร้งั เพราะเปน็ ผู้มคี วามรู้วิชาดูดาว
33 ประตูสู่ชาดก
๑๔. ชาดกท่ี ๓๐๓ เอกราชชาดก (เล่มที่ ๕๘ ข้อที่ ๕๑๐)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระเจ้าพรหมทัต ทรงเจริญเมตตาพรหมวิหารจนสามารถสลัดเคร่ืองจองจ�ำของ
พระราชาโจรได้
๑๕. ชาดกที่ ๓๒๗ กากวตีชาดก (เล่มที่ ๕๘ ขอ้ ที่ ๖๐๖)
พระโพธสิ ัตว์เสวยพระชาติเปน็ พระเจา้ พรหมทตั ถูกพญาครฑุ ลักพระเทวไี ป ทรงใช้ใหน้ กั ฟ้อนไปตาม นกั ฟ้อนกลับ
เปน็ ช้กู บั พระเทวีอีก พญาครุฑจงึ น�ำพระเทวมี าคืน
๑๖. ชาดกที่ ๓๕๕ ฆฏชาดก (เลม่ ท่ี ๕๘ ข้อที่ ๗๒๒)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระเจา้ พรหมทตั ไดท้ รงแสดงเหตทุ ไ่ี มเ่ ศรา้ โศกเพราะถกู แยง่ ชงิ ราชสมบตั วิ า่ ความโกรธ
ไม่ก่อประโยชน์อะไร แก้ปญั หาไม่ได้ พระองคจ์ ึงไม่เศรา้ โศก
๑๗. ชาดกท่ี ๓๗๘ ทรีมขุ ชาดก (เลม่ ที่ ๕๙ ข้อท่ี ๘๔๓)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พรหมทตั ตกมุ าร ไดค้ รองราชสมบตั ใิ นกรงุ พาราณสี ตอ่ มาเหน็ โทษในกามจงึ ออกผนวช
๑๘. ชาดกที่ ๔๒๐ สุมงั คลชาดก (เลม่ ที่ ๕๙ ข้อท่ี ๑๑๔๖)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระเจา้ พรหมทตั ทรงอดกลนั้ ไมล่ งโทษนายสมุ งั คละทฆ่ี า่ พระปจั เจกพทุ ธเจา้ เพราะ
ความเขา้ ใจผิดคิดว่าเปน็ เนื้อ
๑๙. ชาดกท่ี ๔๕๙ ปานียชาดก (เล่มที่ ๖๐ ข้อที่ ๑๕๔๒)
พระโพธสิ ตั ว์เสวยพระชาตเิ ป็นพระเจา้ พรหมทตั ทรงสดบั เหตุในการบวชที่พระปจั เจกพุทธเจา้ ๕ พระองค ์ ตรสั เลา่
ใหฟ้ งั ทรงพอพระทัยในการผนวช จึงสละราชสมบตั ิออกผนวชเปน็ ฤษี
๒๐. ชาดกที่ ๕๑๑ กิงฉันทชาดก (เล่มที่ ๖๑ ข้อที่ ๒๒๘๕)
พระโพธิสตั ว์เสวยพระชาตเิ ปน็ พระเจ้าพรหมทัต ทรงเห็นโทษในกามจงึ ออกผนวชเป็นดาบส อธษิ ฐานจติ เพื่อใหไ้ ด้
มะมว่ งมีรสอรอ่ ย กไ็ ด้ดังปรารถนาและสามารถบำ� เพญ็ ฌานสมาบตั ใิ ห้เจรญิ ย่งิ ขึน้
ประตสู ูช่ าดก 34
พระราชโอรส (๒๕)
๑. ชาดกท่ี ๖ เทวธมั มชาดก (เล่มที่ ๕๕ ข้อท่ี ๖)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระโอรสของพระเจ้าพรหมทัต พานอ้ งชาย ๒ คนไปอยปู่ า่ น้องทง้ั ๒ ถูกผีเสอ้ื นำ้�
จับไป พระโพธสิ ตั ว์แสดงเทวธรรมให้ฟงั ว่า คนมีหิริโอตตัปปะเปน็ คนมีเทวธรรมในโลก ท�ำใหไ้ ด้นอ้ งทงั้ ๒ คืนมา
๒. ชาดกที่ ๗ กัฏฐหาริชาดก (เล่มท่ี ๕๕ ขอ้ ท่ี ๗)
พระโพธิสตั ว์เสวยพระชาติเปน็ พระโอรสของพระเจา้ พรหมทัตกบั หญิงหาฟืน แตพ่ ระราชบิดาไมย่ อมรับ ท�ำใหน้ าง
ตอ้ งตง้ั สจั อธษิ ฐานโยนพระโอรสขน้ึ บนอากาศ พระโอรสไมต่ กลงมาดว้ ยแรงอธษิ ฐาน และกราบทลู พระราชาวา่ ขอใหย้ อมรบั
วา่ เป็นลูก คนอืน่ ยังทรงเลี้ยงดไู ดท้ ำ� ไมจะเลย้ี งดูพระโอรสไมไ่ ด้
๓. ชาดกที่ ๕๐ ทุมเมธชาดก (เล่มที่ ๕๖ ข้อท่ี ๕๐)
พระโพธิสตั ว์เสวยพระชาติเปน็ พรหมทตั ตกุมาร ได้แสดงอบุ ายบวงสรวงเทวดาด้วยคนโง่ เพื่อให้ชาวเมอื งเกรงกลวั
จะไดไ้ ม่กลา้ ทำ� บาป
๔. ชาดกท่ี ๕๕ ปญั จาวุธชาดก (เลม่ ท่ี ๕๖ ขอ้ ท่ี ๕๕)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระราชโอรสพระนามว่าปัญจาวุธกุมาร ทรงศึกษาศิลปะการใช้อาวุธ ๕ อย่าง
พระองค์ถกู ยกั ษ์จบั ได้แตไ่ มม่ ีความกลวั ทรงสอนจนยกั ษ์เกิดกลวั ตายและตั้งอยใู่ นศลี
๕. ชาดกท่ี ๙๖ เตลปัตตชาดก (เลม่ ที่ ๕๖ ขอ้ ที่ ๙๖)
พระโพธสิ ตั ว์เสวยพระชาตเิ ปน็ พระโอรสองคส์ ดุ ทา้ ยในพระโอรส ๑๐๐ องคข์ องพระเจา้ พรหมทตั ยดึ ม่ันในคำ� สอน
ของพระปจั เจกพุทธเจา้ ไมห่ ลงอุบายนางยักษ์จงึ ได้ไปครองเมอื งตักกสลิ าโดยปลอดภยั
๖. ชาดกที่ ๑๓๒ ปญั จภีรกุ ชาดก (เล่มที่ ๕๖ ข้อท่ี ๑๓๒)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระโอรสองค์สุดท้าย ต้ังม่ันอยู่ในโอวาทของพระปัจเจกพุทธเจ้าท�ำให้ได้ครอง
เมอื งตกั กสิลา
35 ประตูสชู่ าดก
๗. ชาดกท่ี ๑๘๑ อสทสิ ชาดก (เล่มท่ี ๕๗ ข้อท่ี ๒๑๑)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ อสทสิ ราชกมุ าร เรยี นจบวชิ า ๑๘ ศาสตร์ เกง่ ในการยงิ ธนู ทรงขบั ไลพ่ ระราชาขา้ ศกึ ๗
พระองคใ์ ห้หนไี ป
๘. ชาดกที่ ๒๔๐ มหาปิงคลชาดก (เลม่ ท่ี ๕๗ ขอ้ ที่ ๓๒๙)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพระโอรสของพระเจ้ามหาปิงคละ ตรัสปลอบนายทวารไม่ให้กลัวว่า พระเจ้ามหา
ปิงคละจะกลับมาทำ� ร้ายอกี เพราะถูกเผาไปหมดแลว้
๙. ชาดกท่ี ๒๕๗ คามณจิ นั ทชาดก (เล่มท่ี ๕๘ ข้อท่ี ๓๗๐)
พระโพธสิ ตั ว์เสวยพระชาตเิ ป็นอาทาสมขุ กมุ าร ถกู อำ� มาตย์ทดลองปัญญาก็ทรงแก้ไขไดห้ มด
๑๐. ชาดกท่ี ๒๖๓ จฬู ปโลภนชาดก (เลม่ ท่ี ๕๘ ข้อที่ ๓๘๘)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ อนติ ถคิ นั ธกมุ าร ใหส้ ตแิ กด่ าบสผเู้ สอ่ื มจากฌานเพราะมาลกั ลอบเปน็ ชกู้ บั พระชายา
ของพระองค์ ต่อมาดาบสสามารถเจริญฌานใหเ้ กดิ ข้นึ ไดแ้ ลว้ เหาะหนไี ป
๑๑. ชาดกที่ ๓๕๘ จฬู ธัมมปาลชาดก (เลม่ ที่ ๕๘ ขอ้ ที่ ๗๓๗)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ จฬู ธรรมปาลกมุ าร มอี ายุ ๗ เดอื น ถกู พระเจ้ามหาปนาทะพระราชบดิ าสง่ั ใหป้ ระหาร
ชีวิตด้วยการตัดข้อมือ ข้อเท้า และตัดพระเศียร แล้วให้ท�ำอสิมาลกะโยนขึ้นไปในอากาศแล้วรับด้วยปลายดาบจนร่างกาย
แหลกเหลวไมม่ ชี ้นิ ดี โทษฐานเพราะพระมารดารกั มากเกนิ ไป
๑๒. ชาดกที่ ๓๗๑ ทฆี ีติโกสลชาดก (เล่มที่ ๕๘ ข้อท่ี ๘๐๓)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นทีฆาวุกุมาร ยึดม่ันในค�ำสอนของพระราชบิดา ทรงให้อภัยแก่พระเจ้าพรหมทัต
ทป่ี ระหารชีวิตพระราชบดิ าพระราชมารดาของตน จงึ ไดร้ ับพระราชทานพระราชธดิ าและไดค้ รองแควน้ โกศล
๑๓. ชาดกท่ี ๔๑๖ ปรนั ตปชาดก (เล่มท ่ี ๕๙ ข้อท่ี ๑๑๑๔)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาติเปน็ พระราชโอรสของพระเจ้ากรงุ พาราณสีและได้เปน็ อุปราช แตพ่ ระราชบดิ าไมท่ รงไว้
วางพระทยั คดิ จะท�ำรา้ ย ท่านจึงพาบรวิ ารหนไี ป ตอ่ มาได้กลับมาครองราชสมบตั แิ ละพระราชทานตำ� แหนง่ อุปราชแด่พระ
กนิษฐภาดา
๑๔. ชาดกที่ ๔๒๘ โกสมั พิยชาดก (เลม่ ท ี่ ๕๙ ขอ้ ท่ี ๑๒๑๖)
พระผู้มีพระภาคประทานโอวาทแก่ภิกษุชาวเมืองโกสัมพีที่ก่อการทะเลาะวิวาทกันให้สามัคคีกัน ทรงยกเร่ืองขันติ
ธรรมและเรอ่ื งทพี่ ระองคเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ ทฆี าวกุ มุ ารมาเปน็ อทุ าหรณ์ แลว้ เสดจ็ เขา้ ไปจำ� พรรษาในปา่ ปาลไิ ลยกะเพยี งลำ� พงั
พระองค์ (ตรงกับชาดกที่ ๓๗๑ ทฆี ีตโิ กสลชาดก)
๑๕. ชาดกที่ ๔๖๐ ยธุ ญั ชยชาดก (เลม่ ท่ี ๖๐ ข้อที่ ๑๕๕๓)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระกมุ ารยธุ ญั ชยั ทรงเหน็ นำ้� คา้ งบนยอดหญา้ เหอื ดแหง้ ไป เกดิ ความสลดพระทยั วา่
ชวี ิตของสตั วท์ ั้งหลายมีความตายเปน็ ทีส่ ดุ จึงออกผนวช
ประตูสูช่ าดก 36
๑๖. ชาดกท่ี ๔๗๒ มหาปทมุ ชาดก (เล่มท่ี ๖๐ ข้อที่ ๑๖๙๘)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นปทุมกุมาร ถูกพระมารดาเลี้ยงใส่ร้ายให้ประหารชีวิต เพราะไม่ตอบสนองความ
ปรารถนาของพระนาง แต่ทรงรอดพ้นมาไดด้ ว้ ยสจุ รติ ธรรมแลว้ บวชเปน็ ฤษี ภายหลังทรงสอนใหพ้ ระราชบดิ าตั้งอย่ใู นธรรม
๑๗. ชาดกที่ ๕๐๕ โสมนัสสชาดก (เล่มที่ ๖๑ ขอ้ ที่ ๒๑๖๔)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นโสมนัสกุมาร ทรงแสดงโทษของชฎิลโกงท่ีสะสมทรัพย์ไว้มากว่าไม่ต่างจากคฤหัสถ์
และกราบทลู พระราชบิดาให้ประพฤติแต่สุจริตธรรม สว่ นพระองค์กราบทูลลาเขา้ ปา่ บวชเป็นดาบส
๑๘. ชาดกท่ี ๕๐๗ มหาปโลภนชาดก (เลม่ ท่ี ๖๑ ข้อท่ี ๒๒๐๘)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นอนิตถิคันธกุมาร ไม่ปรารถนากามแม้เพียงถูกต้องสตรี แต่ภายหลังถูกสตรีประเล้า
ประโลมใหห้ ลงผดิ จงึ ถกู ขบั ไลอ่ อกจากพระนครไปอยปู่ า่ พรอ้ มกบั พระชายา แตพ่ ระนางกม็ ไิ ดซ้ อ่ื สตั ย์ กลบั ไปพอใจในดาบส
องคอ์ ื่น จงึ นำ� พระนางไปส่งคนื ถิ่นมนษุ ย์แลว้ บ�ำเพ็ญฌานไดไ้ ปเกดิ ในพรหมโลก
๑๙. ชาดกที่ ๕๐๙ หตั ถิปาลชาดก (เลม่ ที่ ๖๑ ขอ้ ที่ ๒๒๔๕)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาตเิ ปน็ หัตถิปาลกมุ าร ไม่ต้องการราชสมบัตพิ รอ้ มด้วยน้องชายอีก ๓ คน พาบริวารของตน
ออกบวชไดบ้ ำ� เพญ็ สมณธรรม เพราะไมป่ ระมาทต่อชวี ิต
๒๐. ชาดกที่ ๕๑๐ อโยฆรชาดก (เล่มท่ี ๖๑ ขอ้ ท่ี ๒๒๖๑)
พระโพธิสัตวเ์ สวยพระชาติเปน็ อโยฆรกมุ าร ทรงสลดพระทยั ตรสั โทษท่อี ย่ใู นพระครรภ์ ๑๐ เดือนและถกู ขังอยู่ใน
เรอื นเหล็กอกี ๑๖ ปี ไมป่ รารถนาราชสมบัตจิ งึ ไปแสดงธรรมโปรดพระราชบิดาและชวนกนั ออกบวชทงั้ เมอื ง
๒๑. ชาดกท่ี ๕๑๓ ชยัททิสชาดก (เลม่ ที่ ๖๑ ข้อที่ ๒๒๙๖)
พระโพธสิ ัตว์เสวยพระชาติเป็นพระโอรสของพระเจา้ ชัยทศิ ทรงพระนามวา่ อลีนสัตตุกุมาร ทรงแสดงความกตัญญู
ยอมสละพระชนม์ชีพของพระองค์ให้มนุษย์ยักษ์ซ่ึงเป็นพระปิตุลา (ลุง) กินแทนพระราชบิดา แตม่ นษุ ยย์ กั ษเ์ กดิ เลอื่ มใสจงึ
ยอมปล่อยและต้งั อยู่ในโอวาทของพระองค์
๒๒. ชาดกท่ี ๕๑๕ สมั ภวชาดก (เล่มท่ี ๖๑ ข้อที่ ๒๓๕๒)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นสัมภวกุมาร อายุ ๗ ขวบได้แสดงหลักการเคารพในธรรม (ธัมมยาคปัญหา) แก่
พราหมณ์สุจิรตั ว่าถ้าประโยชน์เกิดขึ้นควรทำ� เสียแต่วันนี้ ไมค่ วรเดินทางผดิ ไม่ควรประพฤติอธรรมเป็นต้น
๒๓. ชาดกท่ี ๕๒๗ อมุ มาทันตีชาดก (เลม่ ที่ ๖๒ ข้อที่ ๒๐)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระราชโอรสของพระเจา้ กรงุ สพี ี กษตั รยิ แ์ หง่ กรงุ อรฏิ ฐบรุ ี แควน้ สพี ี เมอ่ื พระราชกมุ าร
ทรงสำ� เรจ็ การศกึ ษาศิลปศาสตรจ์ ากเมืองตักกสลิ าแล้วก็ไดค้ รองราชสมบัติสืบต่อจากพระราชบิดา
ตอ่ มาพระองคท์ รงพอพระทยั ในนางอมุ มาทนั ตซี งึ่ เปน็ ภรรยาของเสนาบดขี องพระองค์ แมเ้ สนาบดจี ะกราบทลู ถวายนาง
แตพ่ ระองคก์ ม็ ไิ ดท้ รงรบั เพราะทรงพจิ ารณาเหน็ วา่ การประพฤตผิ ดิ ในภรรยาของผอู้ น่ื เปน็ ความไมถ่ กู ตอ้ ง ชาวเมอื งจะครหา
นินทาได้ และจะได้รบั ความเดือดรอ้ นอยา่ งรา้ ยแรงในสมั ปรายภพอีกดว้ ย
37 ประตูสูช่ าดก
๒๔. ชาดกที่ ๕๓๘ เตมยิ ชาดก (เล่มที่ ๖๓ ข้อท่ี ๓๙๔)
พระโพธสิ ัตวเ์ สวยพระชาติเป็นพระราชโอรสของพระเจ้ากาสกิ ราช ในเวลาทีย่ งั ทรงพระเยาว์ ทรงเหน็ พระราชบิดา
พิพากษาลงโทษพวกโจรแล้ว พระองคท์ รงระลกึ ถึงอดตี ชาติได้ว่าทรงเคยเปน็ พระราชาและพิพากษาลงโทษคนเช่นนี้มาแล้ว
และต้องไปเสวยผลกรรมในนรกเปน็ เวลานาน ในชาตนิ จ้ี งึ ไม่ปรารถนาจะครองราชสมบัติและไดท้ รงแกล้งทำ� เปน็ คนใบ้ แม้
จะถกู ทดลองดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ ตลอดเวลา แตก่ ไ็ มย่ อมเจรจา พระราชบดิ าจงึ รบั สง่ั ใหน้ ำ� ตวั ไปฝงั ในปา่ ชา้ ทำ� ใหไ้ ดโ้ อกาสสอน
นายสารถีแลว้ เสด็จออกบรรพชา ตอ่ มาพระราชบิดาและชาวเมืองก็ได้ออกบรรพชาตาม
๒๕. ชาดกที่ ๕๔๔ จันทกมุ ารชาดก (เล่มที่ ๖๔ ขอ้ ท่ี ๗๗๕)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พระจนั ทกมุ ารราชโอรสของพระเจา้ เอกราชแหง่ เมอื งปปุ ผวดี ถกู พราหมณป์ โุ รหติ ชอื่
ขณั ฑหาละผมู้ จี ติ รษิ ยาออกอบุ ายทลู ยยุ งใหพ้ ระเจ้าเอกราชปลงพระชนมเ์ พอ่ื ทำ� การบชู ายญั ดว้ ยสง่ิ ทส่ี ละไดย้ ากแลว้ จะไดไ้ ป
เกิดในสวรรค์ พระเจ้าเอกราชทรงหลงเช่ือจึงรับส่ังให้จับพระจันทกุมารพร้อมด้วยคนอื่นอีกเป็นจ�ำนวนมากแล้วให้น�ำไปมัด
ไวท้ ่ปี ากหลุมบูชายัญ แม้พระมเหสีจะทลู วิงวอนขอชวี ิตพระจนั ทกุมาร แต่พระเจ้าเอกราชกไ็ ม่ทรงยนิ ยอม ท้าวสกั กเทวราช
จงึ เสดจ็ ลงมาชว่ ยชีวติ พระจนั ทกมุ าร และทรงต�ำหนิการกระทำ� ของพระเจา้ เอกราชว่าไมใ่ ชท่ างที่ถูกต้อง
เมื่อพระจันทกุมารทรงรอดพ้นจากความตายแล้ว ประชาชนพากันรุมประชาทัณฑ์ขัณฑหาลปุโรหิตด้วยก้อนดิน
จนถึงแกค่ วามตาย และปลดพระเจา้ เอกราชออกจากตำ� แหนง่ พระราชาแล้วขับไล่ใหไ้ ปเป็นคนจณั ฑาลอยนู่ อกเมือง พร้อม
ท้งั อภเิ ษกพระจนั ทกมุ ารขึ้นเป็นกษัตริย์ครองราชสมบัติต่อไป
พระจันทกมุ ารทรงปกครองแผน่ ดนิ โดยธรรม ทรงยดึ มนั่ อยูใ่ นกุศล และเสดจ็ ไปบำ� รุงพระราชบดิ าซ่งึ ถกู ขบั ไล่ใหไ้ ป
อยนู่ อกเมอื งเป็นประจำ� เมือ่ สวรรคตแลว้ ได้ไปเกดิ ในสวรรค์
ปุโรหติ และ บตุ รปโุ รหติ (๑๒)
๑. ชาดกที่ ๓๔ มัจฉชาดก (เล่มที่ ๕๕ ขอ้ ท ่ี ๓๔)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ ปโุ รหติ ของพระเจา้ พรหมทตั เปน็ ผรู้ เู้ สยี งสตั ว์ วนั หนงึ่ ไปอาบนำ้� กบั บรวิ ารไดย้ นิ เสยี ง
ปลาที่ถกู นายพรานจบั โยนไว้บนทรายคร�่ำครวญถงึ นางปลา จงึ ขอรอ้ งให้เขาปล่อยปลานั้นไปเพราะกลวั อบายภมู ิ
ประตสู ูช่ าดก 38
๒. ชาดกที่ ๘๖ สลี วมี งั สชาดก (เลม่ ที่ ๕๖ ขอ้ ที่ ๘๖)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ ปโุ รหติ ของพระเจา้ พรหมทตั ตอ้ งการจะทดลองพระราชาวา่ นบั ถอื ตนดว้ ยชาตติ ระกลู
หรือดว้ ยศีล
๓. ชาดกที่ ๑๑๙ อกาลราวชิ าดก (เล่มท่ี ๕๖ ขอ้ ท่ี ๑๑๙)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ ปโุ รหติ ของพระเจ้าพรหมทตั ตำ� หนไิ กท่ ไ่ี มเ่ คยอยใู่ นสำ� นกั ครอู าจารยจ์ งึ ขนั ไมถ่ กู เวลา
จนถกู ฆ่าตาย
๔. ชาดกท่ี ๑๒๐ พันธนโมกขชาดก (เลม่ ท่ี ๕๖ ขอ้ ที่ ๑๒๐)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ ปโุ รหติ ของพระเจา้ พรหมทตั ถกู พระมเหสใี สค่ วาม แตก่ เ็ อาตวั รอดมาไดด้ ว้ ยปญั ญาของตน
๕. ชาดกท่ี ๒๑๔ ปุณณนทชี าดก (เลม่ ที่ ๕๗ ข้อท่ี ๒๗๗)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นปุโรหิตของพระเจ้าพรหมทัต ถูกพระราชาขับไล่ให้ไปอยู่ในชนบทเพราะถูกค�ำยุยง
แตต่ ่อมาก็เขา้ ใจในปรศิ นาที่พระราชาสง่ ไปเชิญกลบั เขา้ เมือง
๖. ชาดกที่ ๒๑๖ มัจฉชาดก (เล่มท่ี ๕๗ ขอ้ ที่ ๒๘๑)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ ปโุ รหติ ของพระเจ้าพรหมทตั ไปเทย่ี วชายหาด ไดย้ นิ ปลาตวั หนงึ่ ซงึ่ จะถกู ย่างไฟรำ� พงึ
ร�ำพันถงึ ภรรยา จึงเขา้ ไปหาชาวประมงขอให้ปล่อยปลาตวั นั้นไป
๗. ชาดกท่ี ๒๒๐ ธมั มทั ธชชาดก (เลม่ ท่ี ๕๗ ขอ้ ที่ ๒๘๙)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ ปโุ รหติ ของพระเจา้ ยสปาณี ถกู เสนาบดผี พู้ พิ ากษาโกงใสค่ วามใหพ้ ระราชาประหารชวี ติ
แตไ่ ด้ท้าวสกั กะเสดจ็ ลงมาช่วยทำ� ใหร้ อดชวี ิต
๘. ชาดกที่ ๒๔๑ สัพพทาฐชาดก (เล่มที่ ๕๗ ข้อที่ ๓๓๒)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ ปโุ รหติ ของพระเจา้ พรหมทตั แกก้ ลอบุ ายของสนุ ขั จงิ้ จอกทใ่ี หร้ าชสหี แ์ ผดเสยี งจะให้
ชาวเมืองตกใจกลัวเพ่ือจะยดึ เอาเมือง แต่สุนัขจง้ิ จอกกลับถูกชา้ งเหยียบตาย
๙. ชาดกท่ี ๓๓๐ สีลวมี ังสกชาดก (เล่มที ่ ๕๘ ข้อที่ ๖๑๘)
พระโพธสิ ตั ว์เสวยพระชาตเิ ปน็ ปโุ รหิตของพระเจา้ พรหมทัต ได้ทดลองศีลวา่ เปน็ ส่ิงส�ำคญั ท่ีสดุ แล้วทูลลาพระราชา
ออกบวช
๑๐. ชาดกท่ี ๔๓๓ โลมสกสั สปชาดก (เลม่ ที่ ๕๙ ขอ้ ที่ ๑๒๖๕)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นบุตรปุโรหิต ออกบวชเป็นฤษีชื่อโลมสกัสสปะ บ�ำเพ็ญสมณธรรมได้อภิญญาและ
สมาบตั ิ ตอ่ มาถกู ท้าวสกั กะร่วมมอื กบั พระเจา้ พรหมทตั หลอกลอ่ ด้วยสตรี และจะให้ทำ� พิธบี ูชายัญให้ กลับไดส้ ติเจริญฌาน
ให้เกิดข้ึนใหม่ได้
๑๑. ชาดกท่ี ๔๘๗ อทุ ทาลกชาดก (เล่มท่ี ๖๐ ขอ้ ที่ ๑๙๐๗)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ ปโุ รหติ ของพระเจา้ พรหมทตั ไดต้ เิ ตยี นการบชู ายญั และการถอื ผดิ ของอทุ ทาลกดาบส
ผู้เปน็ บุตรพรอ้ มด้วยบรวิ าร ทูลขอใหพ้ ระราชาจบั สกึ และใหเ้ ข้ารบั ราชการท้ังหมด
39 ประตูสชู่ าดก
๑๒. ชาดกที่ ๕๓๐ สงั กจิ จชาดก (เลม่ ท่ี ๖๒ ข้อท่ี ๙๐)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ สงั กจิ จกมุ ารบตุ รของปโุ รหติ และเปน็ สหายของพรหมทตั ราชกมุ ารแหง่ กรงุ พาราณสี
เม่อื ทง้ั ๒ เจริญวัยแล้วได้เดินทางไปศึกษาศิลปศาสตร์ทเี่ มอื งตกั กสลิ าด้วยกนั ต่อมาพรหมทัตราชกมุ ารมีความด�ำรทิ จี่ ะปลง
พระชนมพ์ ระเจา้ พรหมทตั ราชบิดา แม้สงั กจิ จกุมารจะทูลทัดทานไว้ แตพ่ รหมทตั ราชกมุ ารก็ไมท่ รงเชื่อฟงั สังกิจจกมุ ารคดิ
ว่าไม่มีประโยชน์ท่ีจะอยู่ร่วมด้วย จึงออกบวชเป็นฤษีไปบ�ำเพ็ญฌานและอภิญญาอยู่ในป่าหิมพานต์ มีฤษี ๕๐๐ ตน เป็น
บริวาร เม่ือได้ฌานอภิญญาแล้ว จึงกลับมาแสดงเรื่องนรกและสวรรค์ท่ีผู้ท�ำกรรมช่ัวและกรรมดีจะพึงได้รับในสัมปรายภพ
โปรดพรหมทัตราชกุมาร
พราหมณ์ และ พราหมณ์ออกบวชเป็นฤษี (๖๗)
๑. ชาดกที่ ๑๐ สขุ วหิ าริชาดก (เลม่ ที่ ๕๕ ข้อท่ี ๑๐)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์มีทรัพย์มาก ออกบวชเป็นฤษี แสดงธรรมแก่พระเจา้ พรหมทัตว่าคนท่ีไม่
ต้องคมุ้ ครองผอู้ ื่น ไม่ตอ้ งให้ผ้อู ืน่ คมุ้ ครองและไมห่ วงั กามคุณนนั้ อยู่เป็นสุข
๒. ชาดกท่ี ๗๓ สจั จังกริ ชาดก (เลม่ ที่ ๕๖ ข้อที่ ๗๓)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชเปน็ ฤษี ไมส่ ะทกสะทา้ นในการทถ่ี กู พระราชกมุ ารประทษุ รา้ ย แต่
ไดก้ ล่าววา่ ขอนไม้ลอยน�้ำยังประเสรฐิ กว่าคนประทุษรา้ ยมิตร
๓. ชาดกท่ี ๗๖ อสงั กยิ ชาดก (เล่มท่ี ๕๖ ขอ้ ที่ ๗๖)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี ได้แสดงธรรมแก่พวกพ่อค้าเกวียนว่าท่านไม่กลัวทั้ง
ในบา้ นและในปา่ เพราะมแี ตเ่ มตตากรณุ า
๔. ชาดกท่ี ๗๗ มหาสปุ ินชาดก (เล่มที่ ๕๖ ขอ้ ท่ี ๗๗)
พระโพธสิ ัตว์เสวยพระชาติเปน็ พราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี ได้ท�ำนายพระสุบินของพระเจ้ากรุงพาราณสี ๑๖ ข้อ
ประตสู ูช่ าดก 40
๕. ชาดกที่ ๘๑ สุราปานชาดก (เลม่ ที่ ๕๖ ข้อที่ ๘๑)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชเปน็ ฤษี ตเิ ตยี นลกู ศษิ ยข์ องตนผอู้ ยหู่ ่างจากอาจารยแ์ ลว้ พากนั ดมื่
สรุ าแสดงอาการวิปลาสไมน่ า่ ดูว่าเป็นส่ิงไม่ควรทำ�
๖. ชาดกท่ี ๘๗ มังคลชาดก (เล่มที่ ๕๖ ข้อท่ี ๘๗)
พระโพธิสตั ว์เสวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี ได้แสดงธรรมแก่พราหมณ์ ๒ พ่อลูกไม่ให้ถือมงคลใน
ทางทผี่ ิด
๗. ชาดกที่ ๑๐๑ ปโรสตชาดก (เลม่ ที่ ๕๖ ข้อท่ี ๑๐๑)
พระโพธิสตั ว์เสวยพระชาตเิ ป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี กล่าวยกยอ่ งศิษยผ์ ูร้ ูเ้ หตผุ ลของภาษิต
๘. ชาดกท่ี ๑๑๗ ติตตริ ชาดก (เลม่ ที่ ๕๖ ขอ้ ท่ี ๑๑๗)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชเปน็ ดาบส สอนลกู ศษิ ยผ์ เู้ ปน็ คนปากรา้ ยเปรยี บเทยี บกบั นกกระทา
ตายเพราะปาก
๙. ชาดกท่ี ๑๒๔ อัมพชาดก (เล่มท่ี ๕๖ ข้อท่ี ๑๒๔)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี ได้สรรเสริญฤษีผู้มีวัตรดีท่ีได้ช่วยเหลือสัตว์ไม่ให้
อดน�้ำตายในฤดูแล้ง
๑๐. ชาดกท่ี ๑๔๔ นังคฏุ ฐชาดก (เล่มท่ี ๕๖ ข้อที่ ๑๔๔)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณบ์ ชู าไฟ เมอื่ รวู้ า่ การบชู าไฟไมม่ ปี ระโยชน์ จงึ หมดศรทั ธาหนั กลบั มาบำ� เพญ็
เพียรทางจิต
๑๑. ชาดกที่ ๑๔๙ เอกปัณณชาดก (เลม่ ที่ ๕๖ ข้อที่ ๑๔๙)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชเปน็ ฤษี ไดส้ อนพระราชกมุ ารผโู้ หดรา้ ยดว้ ยการอปุ มาดว้ ยหนอ่ สะเดา
๑๒. ชาดกท่ี ๑๖๑ อนิ ทสมานโคตตชาดก (เล่มท่ี ๕๗ ขอ้ ท่ี ๑๗๑)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชเปน็ ฤษี ไดต้ เิ ตยี นสหายฤษผี ไู้ มเ่ ชอ่ื ฟงั นำ� ลกู ชา้ งมาเลย้ี งจนถกู ชา้ ง
เหยยี บตาย
๑๓. ชาดกที่ ๑๖๒ สนั ถวชาดก (เล่มท่ี ๕๗ ขอ้ ท่ี ๑๗๓)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นดาบส ได้ต�ำหนิการบูชาไฟว่าไม่มีประโยชน์อะไร จึงดับไฟ
แลว้ เข้าปา่ หิมพานต์ ทำ� อภญิ ญาและสมาบตั ใิ หเ้ กดิ ขึน้
๑๔. ชาดกท่ี ๑๖๖ อปุ สาฬหกชาดก (เลม่ ท่ี ๕๗ ข้อท่ี ๑๘๑)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชเปน็ ฤษี สอนพราหมณก์ บั บตุ รใหร้ วู้ า่ ทท่ี ส่ี ตั วไ์ มเ่ คยตายไมม่ ใี นโลก
41 ประตสู ่ชู าดก
๑๕. ชาดกที่ ๑๖๗ สมิทธชิ าดก (เลม่ ที่ ๕๗ ข้อท่ี ๑๘๓)
พระโพธิสัตวเ์ สวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี กล่าวกะนางเทพธิดาว่าไม่รู้จะตายเมื่อไร จงึ บำ� เพ็ญ
สมณธรรมตอนยงั เปน็ หน่มุ เพอ่ื ทำ� ทสี่ ุดแห่งทกุ ข ์ ทำ� ให้นางเทพธดิ ายอมหลกี ไป
๑๖. ชาดกที่ ๑๖๙ อรกชาดก (เลม่ ที่ ๕๗ ข้อที่ ๑๘๗)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี ได้พรหมวิหาร ๔ จนได้เป็นศาสดาช่ืออรกะ สอน
การแผเ่ มตตา มบี ริวารมาก
๑๗. ชาดกท่ี ๑๗๓ มกั กฏชาดก (เลม่ ที่ ๕๗ ข้อท่ี ๑๙๕)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณอ์ อกบวชเปน็ ดาบส สอนลกู ใหร้ จู้ กั วานรทปี่ ลอมตวั เปน็ ฤษี มาขอผงิ ไฟดว้ ย
ในคราวฝนตกหนกั
๑๘. ชาดกท่ี ๑๗๔ ทุพภยิ มกั กฏชาดก (เล่มที่ ๕๗ ข้อที่ ๑๙๗)
พระโพธิสตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ติเตียนวานรทไี่ ม่ร้จู ักบุญคุณใหน้ ำ�้ ดมื่ แล้วยังมาถ่ายคูถรดศีรษะอกี
๑๙. ชาดกท่ี ๑๗๕ อาทิจจุปฏั ฐานชาดก (เล่มท่ี ๕๗ ขอ้ ท่ี ๑๙๙)
พระโพธสิ ัตว์เสวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี สอนชาวเมอื งไม่ใหเ้ ลอ่ื มใสวานรตัวหนึง่ ซึ่งไม่มศี ีล
๒๐. ชาดกที่ ๑๘๐ ทุทททชาดก (เลม่ ท่ี ๕๗ ขอ้ ที่ ๒๐๙)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี ได้สอนชาวบ้านให้รู้ว่าการให้สิ่งของท่ีให้ได้ยากน้ัน
เป็นการดี
๒๑. ชาดกท่ี ๑๙๗ มติ ตามิตตชาดก (เล่มท่ี ๕๗ ขอ้ ที ่ ๒๔๓)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเปน็ ฤษี สอนศิษยใ์ หร้ จู้ ักลักษณะของมติ รและศัตรู
๒๒. ชาดกที่ ๒๐๓ ขันธชาดก (เลม่ ที่ ๕๗ ข้อที่ ๒๕๕)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาติเปน็ พราหมณอ์ อกบวชเปน็ ฤษี สอนใหด้ าบสท้ังหลายเจริญเมตตาในตระกลู พญางทู ้งั ๔
ตระกลู
๒๓. ชาดกท่ี ๒๓๕ วจั ฉนขชาดก (เลม่ ท่ี ๕๗ ขอ้ ที่ ๓๑๙)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชเปน็ ดาบส ถกู เพอ่ื นเศรษฐชี าวกรงุ พาราณสชี วนใหส้ กึ ออกมาบรโิ ภคกาม
จึงติเตียนกามใหเ้ พื่อนฟงั
๒๔. ชาดกท่ี ๒๔๔ วคิ ตจิ ฉชาดก (เลม่ ท่ี ๕๗ ขอ้ ท่ี ๓๓๘)
พระโพธิสตั วเ์ สวยพระชาติเปน็ พราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี ไดโ้ ตว้ าทะกบั ปรพิ าชกจนพ่ายแพห้ นีไป
๒๕. ชาดกที่ ๒๔๖ พาโลวาทชาดก (เล่มที่ ๕๗ ขอ้ ท่ี ๓๔๒)
พระโพธสิ ัตวเ์ สวยพระชาตเิ ป็นพราหมณ์ ออกบวชเปน็ ฤษี ถกู กุฎมุ พีแกลง้ ใหบ้ ริโภคเน้อื สตั ว์ จงึ สอนกฎุ มุ พีว่าผู้ไม่
คดิ ฆ่าสัตว์ ถงึ บรโิ ภคกไ็ ม่บาป
ประตูสชู่ าดก 42
๒๖. ชาดกที่ ๒๕๐ กปชิ าดก (เล่มท่ี ๕๗ ข้อที่ ๓๕๐)
พระโพธสิ ัตวเ์ สวยพระชาติเปน็ พราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี พร้อมกับบตุ รชาย ถกู วานรปลอมเป็นฤษมี าขอไฟ ทา่ น
สอนบตุ รว่าวานรเป็นสัตวเ์ ลวทราม ประทุษรา้ ยบ้านเรือน แลว้ ใหไ้ ลม่ ันออกไป
๒๗. ชาดกท่ี ๒๕๑ สงั กปั ปราคชาดก (เล่มท่ี ๕๘ ข้อท่ี ๓๕๒)
พระโพธสิ ัตว์เสวยพระชาติเปน็ พราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษไี ดฌ้ าน เหาะไปบิณฑบาตเหน็ วิสภาคารมณ์ทำ� ให้ฌาน
เสอื่ ม แตก่ ็บรกิ รรมให้เกิดฌานขึ้นมาใหมไ่ ด้
๒๘. ชาดกที่ ๒๕๓ มณกิ ัณฐชาดก (เลม่ ท่ี ๕๘ ข้อท่ี ๓๕๘)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชเปน็ ดาบส หาอบุ ายใหด้ าบสผเู้ ปน็ นอ้ งชายขอแกว้ มณจี ากพญานาค
เพอ่ื ไม่ให้พญานาคมารบกวน เพราะการขอส่ิงของอนั เปน็ ท่ีรกั ของผูอ้ นื่ เจา้ ของย่อมไม่พอใจ
๒๙. ชาดกที่ ๒๕๙ ตริ ีฏวัจฉชาดก (เลม่ ที่ ๕๘ ขอ้ ท่ี ๓๗๖)
พระโพธิสตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชเปน็ ดาบส ไดช้ ว่ ยพระเจา้ พรหมทตั ทตี่ กบอ่ นำ�้ ใหข้ น้ึ จากบอ่ ต่อมา
พระราชาทรงระลึกถงึ คณุ จงึ ทรงตอบแทนและทรงสอนใหพ้ ระโอรสตอบแทนคณุ ดว้ ย
๓๐. ชาดกที่ ๒๘๐ ปุฏทสู กชาดก (เล่มท่ี ๕๘ ขอ้ ที่ ๔๓๙)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ตเิ ตยี นฝงู วานรทช่ี อบทำ� ลายหอ่ ใบไมท้ คี่ นเฝ้าสวนทำ� ไวว้ ่าเปน็ การทำ� ทไ่ี ม่
เหมาะสม พวกมันตอบวา่ นสิ ยั ของวานรเป็นอยา่ งนี้
๓๑. ชาดกท่ี ๒๘๑ อพั ภนั ตรชาดก (เลม่ ท่ี ๕๘ ข้อที่ ๔๔๒)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชเปน็ ดาบส ถกู ทา้ วสกั กะใสค่ วามวา่ ลกั กนิ มะมว่ งของพระเจา้ พรหมทตั
เพยี งเพ่อื ไม่ตอ้ งการใหด้ าบสบำ� เพ็ญบารมใี ห้ยง่ิ ข้ึนไป
๓๒. ชาดกที่ ๒๘๔ สริ ิชาดก (เล่มท่ี ๕๘ ขอ้ ท่ี ๔๕๑)
พระโพธิสตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชเปน็ ฤษี ช่วยเหลือนายควาญช้างผูเ้ ปน็ อปุ ฏั ฐากของตนให้ไดก้ ิน
เนอ้ื ไกท่ ่มี อี านภุ าพมาก จนนายควาญช้างไดเ้ ปน็ พระราชาและภรรยาได้เป็นพระอัครมเหสี
๓๓. ชาดกที่ ๒๘๕ มณิสกู รชาดก (เลม่ ท่ี ๕๘ ขอ้ ที่ ๔๕๔)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นดาบส ตอบปัญหาของฝูงสุกรป่าท่ีถามถึงวิธีก�ำจัดรัศมีของ
แกว้ มณีในถ�้ำ จงึ บอกให้สุกรเหล่าน้นั หนไี ปอย่ทู ่อี ืน่ เพราะไม่มใี ครสามารถก�ำจดั รัศมีแก้วมณีได้
๓๔. ชาดกท่ี ๒๙๐ สีลวีมังสกชาดก (เล่มท่ี ๕๘ ข้อที่ ๔๖๙)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ปุโรหิตของพระเจา้ พรหมทัต ได้ทดลองศีลให้เห็นวา่ เป็นสิ่งประเสริฐแล้ว
ออกบวช
๓๕. ชาดกท่ี ๒๙๓ กายนิพพินทชาดก (เลม่ ที่ ๕๘ ข้อที่ ๔๗๘)
พระโพธสิ ัตวเ์ สวยพระชาติเปน็ พราหมณ์ ป่วยเป็นโรคผอมเหลือง (โรคดีซา่ น) เม่อื หายแลว้ จึงออกบวชเปน็ ฤษี
43 ประตูสชู่ าดก
๓๖. ชาดกที่ ๓๐๕ สลี วมี งั สชาดก (เลม่ ท่ี ๕๘ ข้อที่ ๕๑๘)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ ์ ไปศกึ ษากบั อาจารยท์ ศิ าปาโมกข์ ถกู อาจารยท์ ดลองใหไ้ ปลกั ทรพั ย์ แตไ่ มไ่ ป
โดยใหเ้ หตผุ ลว่าไมม่ สี ถานทล่ี บั ในการท�ำช่ัว อาจารยพ์ อใจจึงยกธิดาใหเ้ ปน็ ภรรยา
๓๗. ชาดกที่ ๓๑๐ สัยหชาดก (เลม่ ท่ี ๕๘ ข้อที่ ๕๓๘)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี ได้ติเตียนกามคุณและสรรเสริญการออกบวช จึงไม่
ปรารถนาเปน็ ปโุ รหติ
๓๘. ชาดกที่ ๓๑๒ กสั สปมันทิยชาดก (เล่มที่ ๕๘ ข้อที่ ๕๔๖)
พระโพธสิ ตั ว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี ได้ให้โอวาทแก่ดาบสผู้เป็นคนแก่สอนยากว่าให้เข้าใจ
เด็กๆ บา้ ง ไม่ควรถือตวั จดั เกินไป
๓๙. ชาดกที่ ๓๑๓ ขันติวาทชี าดก (เลม่ ที่ ๕๘ ขอ้ ท่ี ๕๕๐)
พระโพธิสตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชเปน็ ฤษี ถกู พระราชาผเู้ ปน็ พาลรบั สง่ั ใหต้ ดั มอื เทา้ ใบหู และจมกู
แตก่ ็หาโกรธไม่ กลับดำ� รงม่ันอยู่ในขันติธรรม
๔๐. ชาดกที่ ๓๑๔ โลหกุมภชิ าดก (เลม่ ท่ี ๕๘ ข้อที่ ๕๕๔)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาติเปน็ พราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี ไดท้ �ำนายเสยี งของเปรต ๔ ตน แก่พระเจ้าพรหมทตั ผูไ้ ด้
ยินเสยี งเปรตในเวลากลางคืน
๔๑. ชาดกท่ี ๓๑๙ ติตติรชาดก (เลม่ ท่ี ๕๘ ข้อที่ ๕๗๔)
พระโพธสิ ตั ว์เสวยพระชาตเิ ป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี ได้ตอบปญั หาขอ้ ข้องใจทีน่ กกระทาต่อขันจนเปน็ เหตุให้
เพอื่ นนกมาติดข่ายนายพราน และถกู ฆา่ เปน็ จ�ำนวนมาก
๔๒. ชาดกท่ี ๓๒๘ อนนโุ สจยิ ชาดก (เลม่ ที่ ๕๘ ข้อที่ ๖๑๐)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ไม่ยินดีครองเรือน คิดออกบวช แต่บิดามารดาได้หาภรรยามาให้จึงอยู่
ครองเรอื น เม่ือบิดามารดาถึงแก่กรรมแล้วจึงไดภ้ รรยาออกบวช เม่ือภรรยาตายกไ็ มเ่ ศร้าโศกเสียใจ
๔๓. ชาดกที่ ๓๓๔ ราโชวาทชาดก (เล่มที่ ๕๘ ขอ้ ที่ ๖๓๔)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชเปน็ ดาบส ถวายโอวาทแกพ่ ระเจา้ พรหมทตั โดยยกอปุ มาหมมู่ นษุ ย์
คล้ายกับฝงู โคขา้ มน้�ำ
๔๔. ชาดกท่ี ๓๔๖ เกสวชาดก (เล่มท่ี ๕๘ ขอ้ ที่ ๖๘๒)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชเปน็ ฤษชี อ่ื กปั ปดาบส เปน็ อนั เตวาสกิ ของเกสวดาบส ไดช้ ว่ ยรกั ษา
เกสวดาบสให้หายจากโรคลงแดงด้วยเพียงคำ� พูดท่ีคุ้นเคยและอาหารที่เคยฉันเทา่ นนั้
๔๕. ชาดกที่ ๓๔๘ อรญั ญชาดก (เล่มท่ี ๕๘ ขอ้ ที่ ๖๙๐)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี สอนบุตรของตนท่ีจะออกจากป่าไปอยู่ในเมืองให้เลือก
คบแต่คนดเี ท่านั้น เม่ือดาบสผู้เป็นลกู ได้ฟงั แลว้ เกิดทอ้ ใจจงึ ไมย่ อมสกึ
ประตูสชู่ าดก 44
๔๖. ชาดกท่ี ๓๕๔ อรุ คชาดก (เลม่ ที่ ๕๘ ข้อที่ ๗๑๗)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณช์ าวนา สง่ั สอนภรรยา บตุ รธดิ า สะใภ้ และทาสใี หห้ มน่ั เจรญิ มรณสติ เพราะ
การตายของคนอุปมาเหมอื นงลู อกคราบ
๔๗. ชาดกที่ ๓๖๒ สลี วมี งั สชาดก (เล่มท่ี ๕๘ ขอ้ ท่ี ๗๕๘)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ปุโรหิต ใคร่จะทดลองศีลหรือการเล่าเรียนว่าส่ิงใดประเสริฐกว่ากัน เม่ือ
ทราบว่าศลี ประเสริฐกว่า จึงทลู ลาพระเจา้ พรหมทัตออกบวช
๔๘. ชาดกท่ี ๓๗๖ อวาริยชาดก (เล่มที่ ๕๙ ข้อที่ ๘๓๑)
พระโพธสิ ัตวเ์ สวยพระชาติเปน็ พราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี ได้บอกวิธเี ก็บคา่ จ้างได้ครบแก่คนแจวเรือ แต่คนแจวเรือ
เป็นคนพาล จึงท�ำร้ายท่าน
๔๙. ชาดกที่ ๓๘๐ อาสงั กชาดก (เลม่ ท่ี ๕๙ ขอ้ ท ่ี ๘๕๕)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชเปน็ ฤษี ไดน้ างอาสงั กากมุ ารผี เู้ กดิ จากดอกบวั มาเปน็ บตุ รบญุ ธรรม
ต่อมาได้ยกให้เป็นอคั รมเหสขี องพระเจา้ พรหมทัต
๕๐. ชาดกที่ ๓๙๐ มยั หกสกณุ ชาดก (เลม่ ที่ ๕๙ ขอ้ ที่ ๙๓๑)
พระโพธสิ ัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี ได้สอนน้องชายที่ฆ่าบตุ รของทา่ นเพราะอยากได้ทรพั ย์
ว่าไม่ต่างกับนกมัยหกะเท่ยี วบินร้องหวงผลไมแ้ ตไ่ มก่ ิน นกอืน่ จึงมากนิ หมด
๕๑. ชาดกท่ี ๓๙๒ อุปสงิ ฆปปุ ผชาดก (เล่มท่ี ๕๙ ข้อท่ี ๙๔๔)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี ถูกเทพธิดาติเตียนว่าแอบดมดอกไม้ที่เขายังไม่ให้ จึง
ขอบคณุ เทพธดิ าท่ีได้ใหส้ ติ
๕๒. ชาดกท่ี ๔๐๓ อฏั ฐิเสนกชาดก (เล่มท่ี ๕๙ ขอ้ ที่ ๑๐๒๑)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี รับปวารณาจากพระเจ้าพรหมทตั แลว้ แต่ไมอ่ อกปากขอ
สงิ่ ใด พระราชาทรงเล่ือมใสได้พระราชทานสง่ิ ของเป็นอนั มาก
๕๓. ชาดกที่ ๔๑๔ ชาครชาดก (เล่มที่ ๕๙ ขอ้ ท่ี ๑๑๐๐)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชเปน็ ฤษี ปฏบิ ตั ธิ รรมตลอดคนื เทวดาเกดิ ศรทั ธาไดม้ าถามปญั หาวา่
ในโลกน้ี ใครตื่น ใครหลบั จงึ ตอบวา่ คนตื่นคอื คนร้ทู ว่ั ถึงธรรม คนหลับคือคนประมาท
๕๔. ชาดกที่ ๔๑๘ อัฏฐสทั ทชาดก (เล่มที่ ๕๙ ขอ้ ที่ ๑๑๒๙)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี ได้ท�ำนายเสียง ๘ อย่างแก่พระเจ้าพรหมทัตว่าไม่เป็น
อันตรายแตอ่ ยา่ งใด ขอใหง้ ดการบชู ายญั ด้วยสัตว์จำ� นวนมาก
๕๕. ชาดกท่ี ๔๒๒ เจตยิ ราชชาดก (เลม่ ท่ี ๕๙ ข้อที่ ๑๑๖๓)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ กบลิ พราหมณ์ ออกบวชเปน็ ดาบส ไดแ้ สดงโทษแหง่ มสุ าวาทและแสดงคณุ แหง่ สจั จะ
แก่พระเจา้ เจติยราช แตพ่ ระองค์ไมท่ รงเช่อื ถอื เพราะคบปาปมิตร จงึ ถกู แผน่ ดินสบู ไปเกิดในอเวจมี หานรก
45 ประตูสูช่ าดก
๕๖. ชาดกที่ ๔๒๓ อินทรยิ ชาดก (เล่มท่ี ๕๙ ขอ้ ที่ ๑๑๗๑)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ บตุ รพราหมณภี รรยาปโุ รหติ ชอื่ โชตปิ าลกมุ าร เจรญิ วยั แลว้ ออกบวชเปน็ ฤษ ี ตเิ ตยี น
ความไมส่ ำ� รวมอนิ ทรีย์และสรรเสรญิ ความส�ำรวมอนิ ทรยี ์
๕๗. ชาดกท่ี ๔๓๑ หริตจชาดก (เลม่ ที่ ๕๙ ข้อท ี่ ๑๒๔๖)
พระโพธิสัตวเ์ สวยพระชาตเิ ป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษีชื่อหรติ จดาบส ไดอ้ ภิญญา ๕ สมาบัติ ๘ ตอ่ มาไปเสพ
อภิรมย์กบั พระเทวีของพระเจ้าพรหมทตั เมื่อพระราชาทรงทราบได้ขอใหท้ า่ นบ�ำเพญ็ ฌานขึน้ ใหม่
๕๘. ชาดกท่ี ๔๔๐ กณั หชาดก (เล่มท่ี ๕๙ ข้อท่ี ๑๓๒๙)
พระโพธิสตั วเ์ สวยพระชาติเปน็ พราหมณ์ ออกบวชเปน็ ฤษี ถอื สนั โดษ ไมย่ อมไปหากนิ ท่ีอ่นื กินแต่ผล ดอก ใบ และ
สะเกด็ ของตน้ ไมท้ ตี่ นอาศยั เทา่ นนั้ ทา้ วสกั กะตอ้ งลงมาประสาทพร ๔ ประการตามทขี่ อ คอื อยา่ ใหโ้ กรธ อยา่ ใหร้ า้ ย อยา่ ใหโ้ ลภ
และอยา่ ให้รัก
๕๙. ชาดกท่ี ๔๔๒ สังขชาดก (เลม่ ท่ี ๕๙ ขอ้ ท่ี ๑๓๕๗)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นสังขพราหมณ์ ได้ถวายร่มและรองเท้าแก่พระปัจเจกพุทธเจ้าก่อนออกเดินทางไป
คา้ ขายทส่ี ุวรรณภมู ิ เมื่อเรือแตกกลางทะเล ก็กลับได้ที่พ่ึงเพราะอานสิ งส์แห่งทานน้นั
๖๐. ชาดกที่ ๔๔๔ มัณฑัพยชาดก (เลม่ ที่ ๕๙ ข้อที่ ๑๓๘๐)
พระโพธสิ ตั วเ์ สวยพระชาตเิ ปน็ พราหมณ์ ออกบวชชอ่ื กณั หทปี ายนดาบส ไดท้ ำ� สจั วาจาใหพ้ ษิ งคู ลายออกจากรา่ งกาย
ของเดก็ ผเู้ ป็นบุตรของสหาย และใหบ้ ดิ ามารดาของเดก็ ท�ำสจั วาจาต่อจนเด็กรอดตายจากพษิ งู
๖๑. ชาดกท่ี ๔๗๗ จฬู นารทกสั สปชาดก (เลม่ ที่ ๖๐ ข้อที่ ๑๗๖๔)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี สอนบุตรผู้คิดจะติดตามสตรีคนหนึ่งไปอยู่ในถ่ินมนุษย์
ใหเ้ ว้นจากยาพษิ เหว เปอื กตม และอสรพิษ จนบตุ รเปลยี่ นใจไมไ่ ป
๖๒. ชาดกที่ ๔๗๙ กาลิงคโพธิชาดก (เลม่ ที่ ๖๐ ข้อท่ี ๑๗๙๐)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ปุโรหิตชื่อภารทวาชะของพระเจ้ากาลิงคะ ได้กราบทูลจักรวรรดวิ ัตรแด่
พระราชา พระเจ้ากาลิงคะกท็ รงดำ� รงอยใู่ นจกั รวรรดวิ ตั รนน้ั
๖๓. ชาดกที่ ๔๘๘ ภสิ ชาดก (เล่มที่ ๖๐ ข้อท่ี ๑๙๒๑)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ช่ือมหากาญจนกุมาร เห็นโทษในกามจึงพาน้องๆ และคนใช้ชายหญิง
ออกบวช ได้ตำ� หนิทา้ วสกั กะทีม่ าแกลง้ ลักเหงา้ บวั เพ่อื ดวู า่ เหล่าฤษียงั น้อมใจไปในกามอยหู่ รอื ไม่
๖๔. ชาดกที่ ๔๙๐ ปญั จโุ ปสถกิ ชาดก (เล่มที่ ๖๐ ข้อที่ ๑๙๕๑)
พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ ออกบวชเป็นฤษี ได้รักษาอุโบสถศีลเพ่ือต้องการข่มมานะ มีนกพิราบ งู
หมี สุนขั จิ้งจอก มารักษาอโุ บสถเพอื่ ตอ้ งการข่มกิเลสด้วย
ประตสู ูช่ าดก 46