The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปัญญาปทีโปนุสรณ์ หลวงปู่เปลี่ยน ปัญญาปทีโป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-28 22:04:45

ปัญญาปทีโปนุสรณ์ หลวงปู่เปลี่ยน ปัญญาปทีโป

ปัญญาปทีโปนุสรณ์ หลวงปู่เปลี่ยน ปัญญาปทีโป

Keywords: ปัญญาปทีโปนุสรณ์,หลวงปู่เปลี่ยน ปัญญาปทีโป

แก่นศีลสมบูรณ์

จะได้ศีลสมบูรณ์ต้องมีตัวเจตนา ศีลองค์ ๕
องค์ ๘ องค์ ๑๐ องค์ ๒๒๗ องค์นั้นเป็นองค์
ของศีล ไม่ใช่ตัวของศีลจริง ๆ ตัวของศีลก็คือ
เจตนาอยู่ที่ใจเท่านั้น ก็รักษาตัวเดียวคือเจตนา
ทีใ่ จ พอใจงดเว้นได้หมดทุกอย่างก็รักษาศีลได้
หมดทุกข้อเลย

สติ สัมปชัญญะ

สติ คือความระลึกได้ สัมปชัญญะ คือความรู้ตัว
รู้ตัวว่าเราทำาอะไร อะไรเกิดขึ้น อะไรตั้งอยู่ อะไร
ดับไป อย่างไร เพือ่ จะได้ทำาความเข้าใจให้รู้ใน
สิง่ นัน้ บุคคลใดมีสติสัมปชัญญะมาก ระลึกเร็ว
รู้เร็วได้ยิ่งดี เป็นธรรมะทีม่ ีอุปการะในการทำา
กจิ การงานขา้ งนอกกด็ ี การงานภายใน การฝกึ ฝน
อบรมจิตใจก็ดี เพือ่ ชำาระสะสางกิเลสให้หมดสิน้
ไปจากดวงใจ โดยอาศัยสติสัมปชัญญะเป็น
ผู้มองเห็น เป็นผู้รู้ เป็นกระจกส่องเงา ระลึกจิต
ระลึกถึงความนึกคิดได้ รู้ว่าคิดเรือ่ งอะไรอยู่
ก็อาศัยสติสัมปชัญญะเป็นสำาคัญ ถ้ามีสติพร้อม
สัมปชัญญะพร้อม จิตใจจะสงบเป็นสมาธิเร็ว
ที่สุดเลยทีเดียว สมาธิเป็นพืน้ ฐานที่จะสร้าง
ปัญญา

จิตสงบ จึงเห็นทุกข์

จิตของบุคคลทีไ่ ม่สงบระงับเป็นสมาธิ จิตวุ่นวายแส่ส่ายไปตามสัญญาอารมณ์ภายนอก ให้กิเลส
หลอกลวงไปอยู่ไม่รู้จักจบจักสิ้น จิตใจไม่หนักแน่นมัน่ คง ไม่อยู่เป็นสมาธิย่อมมีความทุกข์
ถ้าหากเราทำาจิตใจของเราให้สงบระงับเป็นสมาธิ เราจึงจะสามารถมองเห็นทุกข์ได้ชัด มองเห็น
จิตใจของตนเองสัน่ สะเทือนและมีความทุกข์ได้ชัด ปัญญาจึงจะเกิดขึ้นเห็นทุกข์จริง
จิตทเี่ ป็นสมาธิจะไม่รัว่ ไหลไปกับส่งิ ปรุงแต่งทัง้ หลาย

ปญญฺ าปทโี ปนุสรณ์ | 149

สังขาร

สงั ขารการปรุงแต่งของจิตใจนีเ้ ป็นสงิ่ ทจี่ ัญไรทสี่ ุด
ท�าให้คนเกิดทกุ ข์และวุ่นวาย เวียนว่ายตายเกิด
ในวัฏสงสารไม่มีสนิ้ สุด

ปัญญาเห็นไตรลักษณ์

ปัญญาทรี่ ู้จริงนั้น จะต้องรู้ให้จริงถึง
ความเกิดขึ้นและความดับไป
ถ้าเรามีสติปัญญาเฉลียวฉลาดมองซ้าย
แลขวาเป็นธรรมะ มองเห็นไตรลักษณ์อยู่
ประจำา มีไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
อยรู่ อบดา้ นไปหมด จิตใจกย็ อ่ มนิ่งสงบอยู่
ถ้าเรารู้จักไตรลักษณ์แล้ว เราจะละความ
ยึดมัน่ ถือมั่น เราจะสบาย เป็นคนฉลาด
มองทุกสิง่ ทุกอย่างเป็นไตรลักษณ์หมด
ชีวิตน้รี าบร่นื เลยทเี ดยี ว

นิพพิทา

นิพพิทา คือความเบือ่ หน่าย เบือ่ อย่าให้เป็นโทสะ ให้เบื่อ
ด้วยเป็นผู้มีสติปัญญา เบื่อด้วยความแช่มชืน่ เบิกบาน
เบื่อด้วยความรู้ ไม่ใช่เบือ่ แล้วหงุดหงิดหน้าเห่ียวหน้าแห้งไป
เดินก้มหน้ามุดหนีไป นัน่ เบือ่ เป็นกิเลส

152 | ปญญฺ าปทโี ปนสุ รณ์

วิราคะ

ค่อย ๆ ศึกษาไป ๆ ก็จะเข้าใจในทุกข์เรือ่ ย ๆ
ก็รวบรวมลงที่ปัญญา ปลงวาง เปรียบเหมือน
เราถือตะกร้าผลไม้อยู่ใส่ผลไม้ต่าง ๆ แอปเปิ้ล
สาลี่ องุ่น หิว้ หนักอยู่ มันหนักก็เอาออก
เก็บออกทิง้ ไป ก็เบาลงเรือ่ ย ๆ เหมือนละ
กิเลส บัดนี้ทิ้งหมดแล้วเหลือแต่ตะกร้า
เปล่า ตะกร้ายังติดมืออยู่ก็ทิ้งตะกร้าด้วยเลย
เดินไปแต่ตัวเปล่า เดินตัวเปล่าก็เลยสบาย
เบาสบาย จิตใจก็เหมือนกัน ละกิเลสได้หมด
จะเบาแค่ไหน พระอรหันต์ สบายทั้งวันทั้งคืน
ยืนเดินนั่งนอน เบาสบาย จิตว่าง ไม่มีทุกข์

สมมุติ วิมุตติ

หลงในความสมมุตินีแ้ หละ จึงเรียกว่ามันหลงโลก โลกธรรมก็คือโลก โลกมันสมมุติไว้
เราก็หลงไปตามความสมมุติของโลก น้ีแหละเป็นข้อที่สำาคัญทีเ่ ราจะศึกษา
พระพุทธองค์ทรงสัง่ สอนให้รู้ ให้ศึกษา ให้เข้าใจถึงที่สุดทุกอย่างจึงจะไม่หลง เมื่อหาก
เราไม่หลง เราจึงจะปล่อยวางได้ ถ้าเราเข้าใจในสมมุติแจ่มแจ้งชัด เราจึงจะถึงวิมุตติ
คือหลุดพ้นจากสมมุตินี้

154 | ปญญฺ าปทีโปนสุ รณ์

ความว่างสุดท้าย

เราต้องการความว่างสุดท้าย
ว่างไม่ยึดมัน่ ถือมั่นในขันธ์ห้า
ต้องเป็นผู้มีสติปัญญาว่องไว
เฉลียวฉลาด สอนจิตของตนเอง
ให้รู้โทษของสิง่ เหล่านี้ จึงจะ
ปล่อยวางได้
บุคคลใดท่ีไม่ยึดมั่นถือมัน่ ใน
อุปาทานขันธ์ห้า จิตของบุคคล
นั้นแลจะหลุดพ้นไป เข้าสู่เมือง
นฤพานได้

ปญญฺ าปทโี ปนุสรณ์ | 155

พระนิพพาน

มทนมิ ฺมทโน ทำาคนเมาให้สรา่ ง ไม่เมาแลว้ ฉลาดแลว้
ปปิ าสวนิ โย นาำ ความกระหายออกจากทีม่ ันเคยกระหายมันหิว
อาลยสมุคฆฺ าโต ส้ินไปแห่งความอาลัย ไมม่ ีอาลยั อาวรณ์
วฏฏฺ ูปจเฺ ฉโท ตัดวัฏสงสาร
ตณฺหกฺขโย สน้ิ ไปแหง่ ตณั หาความทะเยอทะยานอยาก
วิราโค คลายความกำาหนดั สิ้นความยนิ ดี ไมป่ รารถนา
นิโรโธ ดบั สนทิ
นิพพฺ านํ จงึ จะเขา้ นิพพานได้

นี้ช่ือของนพิ พานหมดเลย ได้ข้อไหนก็ได้ หลดุ ได้

156 | ปญญฺ าปทีโปนสุ รณ์

คนหมดกิเลส

คนหมดกิเลสก็เหมือนคนนัง่ อยู่เฉย ๆ มันไม่มีอะไรจะคิด
ก็เหมือนบุคคลทีท่ ำางานเสร็จแล้วทุกอย่าง แล้วมานั่งอยู่เฉย ๆ
นั่งดูงานที่ตนเองทำาเสร็จแล้ว มันสบาย

ปญญฺ าปทโี ปนุสรณ์ | 157

บรรณานกุ รม

วดั อรัญญวิเวก. ๒๕๔๖. พระอาจารยเ์ ปล่ียน ปัญญาปทีโป ประวตั ิสว่ นตวั การจาำ พรรษา และการออกธุดงค์. พิมพค์ ร้ังท่ี ๒. กรุงเทพฯ: บริษัท ศิลปส์ ยาม
บรรจภุ ัณฑ์และการพิมพ์ จาำ กดั .

พระอาจารยเ์ ปล่ียน ปญั ญาปทโี ป. ๒๕๖๐. ปญั ญาปทีปธรรม. พมิ พ์คร้งั ที่ ๑. กรุงเทพฯ: สาำ นกั พมิ พธ์ รรมดา.

บันทึกเสียงการสนทนาธรรม รวมพระธรรมเทศนาระบบ MP3
ที่วดั อรญั ญวเิ วก เชยี งใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๐, ๒๕๕๑, ๒๕๕๒, ๒๕๖๐ ซดี ีชดุ หลวงพอ่ เปลย่ี น ปญญฺ าปทีโป ครบรอบ ๘๐ ปี
ที่ประเทศออสเตรเลยี พ.ศ. ๒๕๔๕ ซดี ีชุด สนทนา ตอบปญั หาธรรม
ทป่ี ระเทศอังกฤษ พ.ศ. ๒๕๔๘ ซีดชี ดุ วดั อรัญญวิเวก ๑
ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา พ.ศ. ๒๕๕๐ ซดี ีชดุ พญานาค
ทวี่ ัดปา่ เลไลยก์ สาธารณรฐั สงิ คโปร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ซดี ีชุด รวมเทศนพ์ ญานาคแผน่ ท่ี ๒
ทีป่ ระเทศมาเลเซีย พ.ศ. ๒๕๕๐
ทีป่ ระเทศอนิ เดีย พ.ศ. ๒๕๕๒

บรรณานกุ รมภาพ

รศ.ดร.ปฐม – รศ.ภทั รา นิคมานนท์. ๒๕๔๙. หลวงปตู่ ้อื อจลธมฺโม. พมิ พ์ครัง้ ท่ี ๑. กรุงเทพฯ: บริษทั พี.เอ.ลีฟวงิ่ จาำ กัด.
พระมหาธีรนาถ อคคฺ ธโี ร. ๒๕๕๒. ที่ระลึกงานพระราชทานเพลงิ ศพหลวงปอู่ ่อนศรี ฐานวโร พระผู้มปี ฏปิ ทาเสมอต้นเสมอปลาย. กรงุ เทพฯ: พ.ี เพรส.
พระอาจารยม์ หาบวั ญาณสมั ปนั โน. ๒๕๒๓. อนุสรณง์ านพระราชทานเพลงิ ศพ หลวงปขู่ าว อนาลโย. พิมพ์คร้ังท่ี ๑. กรงุ เทพฯ: หจก. ป.สมั พันธ์พาณิชย.์
มูลนิธิพทุ ธสมุนไพรคู่แผ่นดินไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ.์ ๒๕๖๐. ชวี ประวตั ิและพระธรรมเทศนา พระจริ ปุญฺโญ หลวงปู่พรหม. พิมพ์ครัง้ ที่ ๑. กรงุ เทพฯ:

บรษิ ทั ศลิ ปส์ ยามบรรจภุ ัณฑ์และการพมิ พ์ จาำ กดั .
มลู นธิ ิหลวงปูแ่ หวน สุจณิ โณ. หลวงปู่แหวน สุจณิ ฺโณ. พิมพค์ ร้ังที่ ๑. นครนายก: โรงพมิ พม์ ลู นธิ ินวมราชานุสรณ.์
พระราชวรคุณ (สมศกั ด์ิ ปณฺฑิโต). ๒๕๕๒. อตโุ ลไมม่ ีใดเทียม. พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๖. กรงุ เทพฯ: บริษัทอมรินทรพ์ ริน้ ต้งิ แอนด์พบั ลชิ ชง่ิ จาำ กดั (มหาชน).
คุณหญิงสรุ พี ันธุ์ มณีวัต. ๒๕๕๖. กลุ เชษฐาภิวาท ฉบบั สมบูรณ.์ พมิ พค์ รง้ั ที่ ๓. กรุงเทพฯ: หจก. ป.สัมพนั ธพ์ าณชิ ย.์
คณุ หญิงสุรพี ันธุ์ มณวี ตั . ๒๕๕๙. ฐานสโมบชู า ฉบบั สมบูรณ์. พมิ พ์ครั้งท่ี ๑๑. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั ศิลปส์ ยามบรรจภุ ณั ฑ์และการพิมพ์ จาำ กดั .
อตั โนประวตั ิ พระราชนิโรธรงั สคี มั ภีรปญั ญาวศิ ษิ ฏ์. ๒๕๓๘. พิมพค์ รง้ั ท่ี ๑. กรุงเทพฯ: บริษทั อมรินทร์พร้ินต้งิ แอนด์พบั ลชิ ชิ่ง จาำ กดั (มหาชน).

ช่อื หนงั สอื ปญญฺ าปทีโปนสุ รณ ์
ISBN 978-616-478-938-8
พิมพค์ รัง้ ที่ ๑ กุมภาพันธ ์ ๒๕๖๒
จ�ำ นวนพมิ พ์ ๕๐,๐๐๐ เลม่
ผู้จัดทำ� คณะศิษยานศุ ษิ ย์
พมิ พ์ที่ บรษิ ัทอมรินทรพ์ ริน้ ติง้ แอนด์พับลิชช่ิง จำากัด (มหาชน)

© สงวนลขิ สิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลขิ สทิ ธิ์
วัดอรัญญวิเวก (บา้ นปง) ต.อินทขลิ อ.แม่แตง จ.เชยี งใหม่
พมิ พแ์ จกเปน็ ธรรมทาน ห้ามจาำ หน่าย

วิมุตติ คือความหลุดพ้นจากสมมุติไป
เป็นบทสุดท้ายเรียนธรรมะนี่

ท่านสามารถศกึ ษาธรรมะอนั ลึกซง้ึ เปน็ ระบบครบถ้วน
ของหลวงปู่เปลย่ี น ปฺ าปทีโป

ไดจ้ าก “พพิ ิธภณั ฑ์ธรรมเปลย่ี นโลก” และ “ปัญญาปทปี ธรรม”






Click to View FlipBook Version