The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปัญญาปทีโปนุสรณ์ หลวงปู่เปลี่ยน ปัญญาปทีโป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-02-28 22:04:45

ปัญญาปทีโปนุสรณ์ หลวงปู่เปลี่ยน ปัญญาปทีโป

ปัญญาปทีโปนุสรณ์ หลวงปู่เปลี่ยน ปัญญาปทีโป

Keywords: ปัญญาปทีโปนุสรณ์,หลวงปู่เปลี่ยน ปัญญาปทีโป

พระอาจารย์ถริ ติ ธมโฺ ม หลงั ออกพรรษ�แลว้ ท�่ นไดอ้ อกธดุ งคไ์ ปเย่ยี มบ�้ นและพกั ทว่ี ดั ทงุ่ สว�่ ง ตอ่ จ�กนน้ั
ธุดงค์ลงม�ท�ง จ.อุดรธ�นี

มรณานสุ ติ

หลวงปู่เปลี่ยนไปพักอยู่กับพระอ�จ�รย์ถิร ติ ธมฺโม วัดทิพยรัฐนิมิตร (วัดบ้�นจิก)
ต.หม�กแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธ�นี ท่�นได้รับนิมนต์ให้อยู่ร่วมพิธีสวดศพน�ยทห�รอ�ก�ศ
ผู้หนึง่ แต่ท่�นรู้สึกไม่สบ�ย เนือ่ งจ�กชั้นล่�งของกุฏิทีพ่ ักเป็นที่ไว้ศพ จึงได้ยกเอ�ธรรม
ข้อมรณ�นุสติขึ้นม�พิจ�รณ� เริม่ ตัง้ แต่ก�รเกิดแล้วต้องดับไปของสังข�รตัวท่�นเอง
พิจ�รณ�ตั้งแต่ศีรษะลงไปถึงเท้� ถึงผมที่งอกย�วออกม�ต้องตัดทิง้ หรือร่วงโรยหลุดไป
นำ้�ต�ที่ไหลออกม�ชะล้�งสิง่ สกปรก ขี้ต� ขีม้ ูก เสลด นำ้�ล�ย ขี้เหงือ่ ขี้ไคล หนังอ่อน
หนังกำ�พร้� มีก�รทดแทนเปลีย่ นแปลง ขับกันออกม�ตลอดเวล� สิง่ เหล่�น้ีคือคว�ม
สกปรกของร่�งก�ย คว�มสวยง�มคือสิง่ ทีอ่ ยู่ภ�ยนอกหุ้มห่อคว�มสกปรก เมื่อต�ยลง
คว�มสวยง�มก็ไม่ส�ม�รถนำ�ติดตัวไปได้ ตัวเร�ก็ต้องต�ยอยู่ทุกลมห�ยใจ จะต�ยเมือ่ ใด
ก็ไม่มีใครรู้ ฉะนัน้ เร�จึงต้องพิจ�รณ�คว�มต�ยที่จะเกิดขึ้นกับตัวเร�เองอยู่ตลอดเวล�
เร�ไม่รู้ว่�จะต�ยเมื่อไร เมื่อพิจ�รณ�ธรรมข้อมรณ�นุสติจบลง อ�ก�รไข้ของท่�นก็ห�ย
เป็นปลิดทิ้ง

หนองคาย

วดั ทิพยรฐั นมิ ติ ร หนองบัวลำ�ภู เมอื ง สว่�งแดนดนิ นครพนม
วัดถ้า� กลองเพล อทุ ยานแห่งชาติ สกลนคร
อุดรธานี
หนองวัวซอ ภูพาน

อทุ ยานแห่งชาติ มุกดาหาร
ภูผายล

วดั ป่านิโครธาราม

ปญญฺ าปทีโปนุสรณ์ | 97

หลวงปอู่ ่อนกับหลวงป่ขู าว

หลวงปอู่ ่อน ญาณสริ ิ

หลวงป่เู ปลี่ยนน่งั รถไฟไปหาหลวงป่อู ่อน ญาณสิริ วดั ป่านิโครธาราม บ้านหนองบัวบาน
ต.หมากหญา้ อ.หนองววั ซอ จ.อดุ รธานี แตห่ ลวงปไู่ มอ่ ยู่ ทา่ นเดนิ ทางไปทา่ รถเพอ่ื ไป จ.หนองคาย
หลวงปูเ่ ปลีย่ นจึงตามมาทที่ า่ รถ เมอื่ หลวงปทู่ ราบวา่ หลวงป่เู ปลี่ยนมาขอฟังเทศน์ จงึ กลบั ไปวัด
แลว้ เทศน์เร่อื งอนัตตา ความไมเ่ ป็นตนให้ฟงั เม่ือเทศนจ์ บจงึ เดินทางไป สว่ นหลวงปูเ่ ปลย่ี นพกั
อยทู่ ก่ี ฏุ ิหลวงปู่ เมอื่ หลวงปกู่ ลบั มา ไดเ้ ทศนเ์ ร่ืองอสภุ กรรมฐานใหห้ ลวงป่เู ปลี่ยนฟังอีกเรื่องหน่ึง

หลวงปขู่ าว อนาลโย

หลวงปเู่ ปล่ยี นเดนิ ทางตอ่ ไปหาหลวงปขู่ าว อนาลโย ทว่ี ดั ถา้ำ กลองเพล ซง่ึ อยไู่ มไ่ กลกนั นกั
หลวงปู่เปลีย่ นได้มีโอกาสสรงน้ำาหลวงปู่ขาว เมื่อมีโอกาสได้เรียนถามเรื่องการปฏิบัติธรรมของ
หลวงปู่ ซึ่งหลวงปู่เล่าว่า เมื่อภาวนาไป เกิดความรู้ว่านีค่ ือไตรลักษณ์ และเมื่อหลวงปู่ภาวนา
มากขึน้ ๆ ก็พบว่า จิตไม่ได้ไปไหน มันนิง่ อยู่ มันไม่ไปข้างหน้า มันไม่ไปข้างหลัง ไม่ขึ้นฟ้า
มันไม่ได้ลงดิน หลวงปู่บอกให้หลวงปู่เปลี่ยนฟังแค่นี้ก็พอเอาไปปฏิบัติได้ เมื่อหลวงปู่ขาวเทศน์
ได้รวมเอามุตโตทัยของหลวงปู่มัน่ เข้าไปด้วย

98 | ปญญฺ าปทโี ปนุสรณ์

พรรษาท่ี ๑๗–๒๑๘๕๒๑ • ๒๒๒๕
วดั อรญั ญวิเวก บ้านปง ต.อนิ ทขิล
อ.แมแ่ ตง จ.เชยี งใหม่

หลวงปเู่ ปลี่ยนยังคงจำาพรรษาทีว่ ัดอรัญญวิเวก ตามธรรมชาติ และนัง่ ดูชาวเขาเผ่าม้งพากันทำาไร่สวน
ตามเดิม ท่านตัง้ ใจปฏิบัติธรรมอย่างเต็มทีแ่ ละเจริญ ปลูกพืชต่าง ๆ นงั่ พิจารณาดู คนเรานีเ้ กิดมาแล้วก็มีแต่
ก้าวหน้าในธรรมขึ้นตามลำาดับ เป็นทีน่ ับถือและเลือ่ มใส ความทกุ ขใ์ นการทาำ มาหากนิ ไปตลอดจนตาย นา่ เบ่อื หนา่ ย
ของศรัทธาญาติโยมมาก ในชีวิตที่เกิดมา จิตใจก็นิง่ สงบเป็นสมาธิ

หลงั ออกพรรษาแล้ว หลวงปู่เปลีย่ นจะเดินทาง ใน พ.ศ. ๒๕๒๒ ท่านได้รับนิมนต์ไปประเทศ
ไปเย่ียมบา้ น และกราบนมัสการครบู าอาจารยใ์ นภาคอสี าน อนิ เดยี และเนปาลเปน็ ครงั้ แรก ระหว่างวนั ที่ ๒๗ มีนาคม
ทีเ่ คยไปเป็นประจำาทุกปี ถงึ ๑๐ เมษายน

ใน พ.ศ. ๒๕๑๘ ท่านได้ไปงานเปิดพิพิธภัณฑ์
หลวงปู่มั่น ทวี่ ัดป่าสุทธาวาส อ.เมือง จ.สกลนคร ต่อ
จากนนั้ ได้ไปงานถวายเพลิงศพหลวงปู่ตือ้ อจลธมฺโม
ทีว่ ัดป่าอรัญญวิเวก อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม แล้วจึง
เดินทางกลับ เมือ่ กลับถึงวัดอรัญญวิเวก บ้านปง แล้ว
ท่านได้ไปงานฉลองอายหุ ลวงปแู่ หวน ฉลองศาลา กุฏิ ฯลฯ
ทีว่ ัดดอยแม่ปั๋ง ซึ่งท่านจะไปงานฉลองอายหุ ลวงปู่แหวน
ทกุ ปไี ม่เคยขาด

ใน พ.ศ. ๒๕๑๙ หลังจากไปกราบครูบาอาจารย์
ในภาคเหนือแล้ว ท่านได้ขึ้นไปที่ดอยปุย ซึ่งอยู่สูงจาก
ระดับน้ำาทะเล ๑,๖๘๕ เมตร อากาศหนาวเย็นตลอด
เวลา อยู่สูงเลยจากวัดพระธาตุดอยสุเทพขึ้นไปอีก
หลายกิโลเมตร มีหมู่บ้านชาวเผ่าม้ง ปัจจุบันเป็นที่ตัง้
ของพระตำาหนักภูพิงคราชนิเวศน์

ท่านพักอยู่สำานักสงฆ์ดอยปุยกับพระอาจารย์
ไพโรจน์ วิโรจโน การปฏิบัติธรรมภาวนาที่ดอยปุยนั้น
เมื่อฉันเสร็จแล้วจะเดินขึ้นไปตามหลังเขาหาที่นั่งปฏิบัติ
ภาวนา ก็มีความสงบดีมาก เห็นป่าไม้เขียวชอุ่มสวยงาม

ปญญฺ าปทีโปนุสรณ์ | 99

พรรษาท่ี ๒๒–๒๕๒๒๕๓ • ๖๒๕๒
วัดอรญั ญวิเวก บา้ นปง ต.อินทขลิ
อ.แมแ่ ตง จ.เชยี งใหม่

เมือ่ ออกพรรษา พ.ศ. ๒๕๒๓ แล้ว ลูกศิษย์ทางกรุงเทพฯ ได้นิมนต์ให้ หลวงปูค่ �าแสน คณุ าลก� าโร
หลวงปู่เปลีย่ นไปตรวจร่างกายอย่างละเอียดทีโ่ รงพยาบาลจุฬาฯ เมือ่ วันที่ ๖ หลวงปู่อ่อน ญาณสิริ
มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๔ ท่านไปนอนพักอยู่ทีโ่ รงพยาบาลจุฬาฯ เกือบ ๒ เดือน หลวงป่ขู าว อนาลโย
เพื่อตรวจร่างกาย ไม่พบโรคอะไรนอกจากร่างกายอ่อนเพลียเท่านัน้ ออกจาก
โรงพยาบาลแล้วไปพักทีว่ ัดดวงแข หลังสถานีรถไฟหัวลำาโพง

หลังออกพรรษา หลวงปูเ่ ปลยี่ นจะไปกราบนมสั การครูบาอาจารย์ทที่ า่ น
เคารพนับถือเป็นประจำา เมือ่ เดินทางไปภาคอีสาน ท่านจะไปกราบนมัสการ
หลวงปู่ขาว ทีว่ ัดถ้ำากลองเพล จ.อุดรธานี หลวงปู่เทสก์ ทีว่ ัดหินหมากเป้ง
จ.หนองคาย แวะไปเยีย่ มบ้านและกราบนมัสการพระครูพิพิธธรรมสุนทร และ
พระอาจารย์สุภาพ ธมฺมปญฺโญ ทีว่ ัดทุ่งสว่าง จ.สกลนคร

ทุกปีท่านจะไปงานทำาบุญคล้ายวันเกิดของหลวงปู่สิม ทีว่ ัดถำ้าผาปล่อง
หลวงปู่แหวน ที่วัดดอยแม่ปั๋ง และหลวงปู่แว่น ที่วัดสำาราญนิวาส โดยเฉพาะ
หลวงปู่แหวน ซึง่ มาเตือนท่านในนิมิตว่า “เราอยู่ในทีใ่ ดภาวนาดี เราก็ตัง้ ใจ
ทำาความเพียรอยู่ทีน่ ั้น จนกว่าจิตใจของเราจะหลุดพ้นจากกิเลสหมด ก็ไม่มี
ปญั หาอะไรเลย” ทาำ ใหห้ ลวงปเู่ ปล่ยี นซาบซ้งึ ใจในความหว่ งใยของหลวงปแู่ หวน
มาก ท่านจึงได้พยายามไปกราบเยี่ยมหลวงปู่แหวน ที่วัดดอยแม่ปั๋งบ่อย ๆ หรือ
อย่างน้อยที่สุดเดือนละครัง้ เท่าทีจ่ ะทำาได้

เมื่อหลวงปู่คำาแสน คุณาลำกาโร มรณภาพ ท่านได้เดินทางไปร่วมงาน
ถวายเพลิงศพที่วัดป่าดอนมูล เมือ่ วันที่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๔ ในปีถัดมา
ท่านได้ไปในงานถวายเพลิงศพหลวงปู่อ่อน ญาณสิริ ที่วัดป่านิโครธาราม
เมือ่ วันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๕ และต่อมาเมื่อวันที่ ๑๖ พฤษภาคม
พ.ศ. ๒๕๒๖ หลวงปู่ขาว อนาลโย มรณภาพ หลวงปู่เปลีย่ นเดินทางไปกราบ
นมัสการศพของท่านทีว่ ัดถ้ำากลองเพล และได้ไปร่วมงานพระราชทานเพลิงศพ
ระหว่างวันที่ ๙-๑๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๗

100 | ปญญฺ าปทโี ปนุสรณ์

หลวงปู่เปลีย่ นได้รับนิมนต์ไปภาคใต้เป็นประจำา ท่านมักจะไปพักที่วัดปลักกริม
อ.หาดใหญ่ เทศน์อบรมภาวนาญาติโยมทีว่ ัด บางครั้งก็ได้รับนิมนต์ไปเทศน์ทีม่ หาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์ด้วย ท่านจะใช้เวลาเยี่ยมชมวัดที่มีชื่อเสียงต่าง ๆ ในบริเวณใกล้เคียง เช่น วัด
พะโคะ (หลวงปู่ทวด) วัดพระบรมธาตุ และไปเยี่ยมโยมวันหนึง่ ๆ อย่างน้อยวันละ ๕-๖ บ้าน

ระหว่างวันที่ ๑๖-๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๒๖ ท่านได้รับนิมนต์จากญาติโยม เพือ่
เดนิ ทางไปประเทศศรลี งั กา และไดท้ าำ บญุ ตามวดั ตา่ ง ๆ เชน่ วดั อโศการาม วดั เชตวนั วดั กลั ยาณี
(เกาลานี) ฯลฯ

วันที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๗ ท่านได้รับนิมนต์ไปตรวจโรคทีโ่ รงพยาบาลมหาราช
จ.เชยี งใหม่ แพทยไ์ ดท้ าำ การผา่ ตดั ฝที ข่ี าซา้ ย ฝนี ้เี ร่มิ ตน้ เปน็ ตมุ่ แดง ๆ คลา้ ยยงุ กดั มหี นองเลก็ นอ้ ย
เมือ่ ให้แพทย์ทีม่ ากราบท่านที่วัดตรวจดู แพทย์แนะนำาว่าต้องเจาะฝีออก และนำาเครือ่ งมือจาก
โรงพยาบาลมาเจาะให้ทีว่ ัดทันที แพทย์บอกว่าจะหายภายใน ๘ วัน แต่หลวงปู่เปลีย่ นเห็น
ในนิมิตก่อนแล้วว่า ฝีนี้เกิดจากวิบากกรรมที่ท่านใช้ลูกธนูยิงไก่ป่าเมื่อสิบเจ็ดชาติที่แล้ว
ถูกขาไก่ ทำาให้ไก่ตกลงจากต้นไม้ ตกลงแล้วก็บินขึน้ แต่หนักลูกธนูก็ตกลงมาอีก ลูกธนูหลุดออก
ก็บินเข้าป่าไป เวลาผ่านไปสัก ๑๓ วัน ฝีก็ไม่หายแต่มีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ จนเท่าไข่เป็ด
แพทย์แนะนำาว่าต้องผ่าตัด เมื่อท่านไปผ่าตัด ก็ขอให้หมอผ่าตัดโดยไม่ต้องใช้ยาชาเพื่อเป็น
การทดสอบความแข็งแกร่งของจิตใจทีท่ ่านได้ฝึกมา แพทย์ปฏิเสธการผ่าตัดโดยไม่ฉีดยาชา
แต่ท่านยืนยันทีจ่ ะไม่ใช้ยาชา ในทีส่ ุดแพทย์จึงยินยอมผ่าตัดให้ โดยการคว้านเนือ้ ออก
ลึกเกือบถึงกระดูก ผ่าตัดเสร็จแล้วจึงได้กลับไปพักฟื้นทีว่ ัด ก่อนกลับท่านได้บริจาคเงิน
ให้มูลนิธิตึกสงฆ์จำานวน ๑๐,๐๐๐ บาท แผลที่ผ่าตัดนี้ไม่สามารถเย็บได้ ท่านต้องค่อย ๆ
ทำาความสะอาดเองในแต่ละวัน ใช้เวลาสองเดือนยี่สิบหกวันกว่าเนื้อจะกลับเต็มขึ้นมา ขาไก่
ก็ต้องใช้เวลาสองเดือนกว่าเช่นกันจึงจะหาย เป็นการยืนยันชัดเจนในเรื่องผลของกรรม

ปญญฺ าปทีโปนุสรณ์ | 101

พรรษาที่ ๒๖๗๒๕๒ วดั อรัญญวเิ วก บ้านปง ต.อินทขลิ
อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่

ในพรรษาน้ี หลวงป่เู ปลย่ี นได้นิมิตเหน็ หลวงปู่แหวน งานผกู พัทธสมี า วดั ศรสี วา่ ง
มาเทศนใ์ ห้ฟงั หลวงปงู่ ามมาก หม่ จวี รเหมือนทองคาำ และมี แจกอุปกรณ์การศึกษาท่โี รงเรยี นบา้ นปง
พระอาจารยห์ นอู ยดู่ ว้ ย เหมอื นกบั ในหลวงนมิ นตไ์ ปรว่ มงาน
ทาำ บญุ ดว้ ยกนั มคี นมากมาย ในขณะนน้ั ทา่ นเองยงั คดิ ไมอ่ อก
ว่าเป็นงานอะไร ไดแ้ ตเ่ กบ็ ความสงสัยไวใ้ นใจเทา่ นั้น

หลังออกพรรษาแล้ว ท่านได้รับนมิ นต์ไปอินเดีย
ระหว่างวันที่ ๕-๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๗ ท่านได้ไป
สังเวชนียสถานทั้ง ๔ แห่ง แล้วเดินทางต่อไปเมืองลัคเนา
เมืองนวิ เดลี แลว้ จงึ เดินทางกลบั กรุงเทพฯ และกลบั เชียงใหม่

วันท่ี ๒๔-๒๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๘ ท่านไดร้ บั นิมนต์
ไปประเทศสงิ คโปร์ และได้เลยไปดสู ถานทีท่ ี่จะสร้างวัดไทยที่
ประเทศบรูไน ตามคาำ นิมนตข์ องลูกศษิ ย์

หลงั จากนัน้ หลวงปู่เปลยี่ นได้กลบั ไปเยยี่ มบ้านทีอ่ ีสาน
และได้ไปในงานผูกพัทธสีมาที่วัดศรีสว่าง อ.สว่างแดนดิน
จ.สกลนคร และไปชมพระอุโบสถวัดธาตมุ ชี ัย เม่อื กลับวัดแลว้
วนั ท่ี ๒๘ เมษายน ไดร้ บั นมิ นตไ์ ป อ.หาดใหญ่ ไปพกั ท่ีวดั ปลกั กรมิ
ไปเยี่ยมสาำ นกั อาจารยม์ หาสมจติ อ.นาทวี จ.สงขลา ไปจังโหลน
(ประเทศมาเลเซยี ) แลว้ ไปเย่ยี มญาตโิ ยมท่นี ิมนตไ์ ปถงึ ๑๖ บา้ น
ใน อ.หาดใหญ่ และ จ.สงขลา แลว้ จงึ เดนิ ทางกลับวดั อรญั ญวเิ วก

ในเดอื นพฤษภาคม หลวงปเู่ ปล่ียนไดไ้ ปแจกสมดุ ดนิ สอ
แก่นักเรียนโรงเรียนหางดง โรงเรียนบ้านปง โรงเรียนบ้านเด่น
โรงเรยี นสนั ปา่ ตอง โรงเรยี นปางกวา้ ง และโรงเรยี นบา้ นหนองบวั
รวม ๖ โรงเรียน มีนกั เรยี นทงั้ หมด ๖๗๐ คน และไดไ้ ปแจกใน
โรงเรียนอ่นื ต่อมาอกี เร่อื ย ๆ

102 | ปญญฺ าปทีโปนสุ รณ์

หลวงป่แู หวนกับหลวงปเู่ ปลย่ี น หลวงปูเ่ ปล่ยี นในงานสวดพระอภิธรรมถวายหลวงปแู่ หวน

เมื่อหลวงปู่แหวนอาพาธ เข้าโรงพยาบาลมหาราช เชียงใหม่ หลวงปู่เปลีย่ นได้ไปเยี่ยมหลวงปู่ที่โรงพยาบาล
หลายครั้ง ครัน้ หลวงปู่มรณภาพที่โรงพยาบาลเมือ่ วันอังคารที่ ๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๒๘ หลวงปู่เปลีย่ นได้ช่วยงาน
และเป็นผู้นำาคณะศรัทธาญาติโยมมากราบศพหลวงปู่ จัดอาหารและน้ำาปานะถวายพระและแจกผู้ทีม่ าในงาน
สวดพระอภิธรรมร่วมกับลูกศิษย์ของหลวงปู่ด้วยความเคารพและระลึกถึงพระคุณของหลวงปู่อย่างยิง่ ระหว่างนัน้
หากมีลูกศิษย์หรือคณะศรัทธาญาติโยมนิมนต์ให้ท่านไปร่วมในงานสวดตอนคำ่า หรือนิมนต์ไปฉันตอนเช้าในงาน
ของหลวงปู่แล้ว ท่านจะไปด้วยทุกครั้ง ไม่เคยปฏิเสธเลย แสดงให้เห็นถึงความกตัญญูกตเวทีที่ท่านมีต่อหลวงปู่

ท่านได้รับแต่งตัง้ เป็นกรรมการฝ่ายสงฆ์จัดงานพระราชทานเพลิงศพหลวงปู่แหวน สุจิณฺโณ ซึ่งท่านก็ได้
ช่วยงานอย่างเต็มที่จนกระทั่งเสร็จงานเมือ่ วันที่ ๑๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๐

ปญญฺ าปทโี ปนุสรณ์ | 103

พรรษาท่ี ๒๗–๓๐๘๒๕๒ • ๕๑๓๒
วัดอรญั ญวิเวก บ้านปง ต.อนิ ทขิล
อ.แม่แตง จ.เชยี งใหม่

หลวงปู่เปลี่ยนได้รับนิมนต์ไปแสดงธรรมในทีต่ ่าง ๆ
มากข้นึ ทาำ ใหท้ า่ นตอ้ งเดนิ ทางระหวา่ งเชยี งใหมแ่ ละกรงุ เทพฯ
อยู่เสมอ สถานทีท่ ี่นิมนต์ท่านไปในเชียงใหม่ เช่น วัดอุโมงค์
วดั เจดยี ห์ ลวง วดั สนั ตธิ รรม สว่ นทก่ี รงุ เทพฯ นอกจากวดั ตา่ ง ๆ
เช่น วดั บวรนเิ วศ วดั เบญจมบพติ ร วดั สังฆทาน วัดอโศการาม
วัดบรมนวิ าส วัดดวงแข กม็ หี น่วยงานหลากหลายทั้งราชการ
และเอกชนทีม่ ีชมรมพุทธศาสตร์หรือกลุ่มปฏิบัติธรรม เช่น
กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงอุตสาหกรรม การไฟฟ้าฝ่าย
ผลิตแห่งประเทศไทย ธนาคารกรุงเทพ บริษัทปูนซีเมนต์ไทย
โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลจฬุ าฯ
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ฯลฯ
แสดงพระธรรมเทศนาทีว่ ดั ดวงแข ทางภาคใต้ ทา่ นจะไดร้ บั นมิ นตไ์ ปท่ี อ.หาดใหญ่ เป็น

ประจำา ส่วนใหญ่ท่านจะไปเทศน์อบรมคณะศรัทธาญาติโยม
ทีว่ ัดปลักกริม ในบางโอกาสก็ไปเทศน์ทีม่ หาวิทยาลัยสงขลา
นครินทรด์ ว้ ย หลังจากนัน้ กจ็ ะไปเยยี่ มญาตโิ ยมท้งั วัน วนั หนึง่ ๆ นับเปน็ สิบแห่ง บางครั้งทา่ นกจ็ ะ
เดนิ ทางต่อไปประเทศสงิ คโปร์และมาเลเซยี

ทา่ นไดร้ บั นิมนต์ไปประเทศออสเตรเลียเป็นครั้งแรกระหว่างวนั ที่ ๑๒ กมุ ภาพนั ธ์ ถึงวนั ที่ ๖
เมษายน พ.ศ.๒๕๒๙ ซง่ึ ทา่ นไดเ้ ทศนอ์ บรมคณะศรทั ธานานาชาติ ซ่งึ มี ไทย ลาว พมา่ เขมร ญวน ฝร่งั
ใหท้ าำ สมาธิและสนทนาธรรมกันทกุ เยน็ บางวนั ทา่ นก็ไดเ้ ทศน์อบรมทง้ั ตอนเชา้ และคา่ำ ส่วนญาตโิ ยม
ก็ผลดั กันนิมนตห์ ลวงปู่เปล่ยี นไปฉันเช้าและทาำ บุญที่บา้ นกนั ไมไ่ ด้ขาด

สว่ นประเทศสหรฐั อเมรกิ าและประเทศแคนาดา ทา่ นไดร้ บั นมิ นตไ์ ประหวา่ งวนั ท่ี ๑ เมษายน
ถงึ วนั ท่ี ๒ มถิ นุ ายน พ.ศ.๒๕๓๒ ทา่ นไดไ้ ปเทศนอ์ บรมคณะศรทั ธาญาตโิ ยมท่วี ดั ไทยในแตล่ ะเมอื งและ
ไปรว่ มในงานเทศกาลทท่ี างวดั เหลา่ น้นั จดั ขน้ึ นอกจากนน้ั ทา่ นไดไ้ ปเย่ยี มศนู ยป์ ฏบิ ตั ธิ รรมอกี สองแหง่
ในรัฐแมสซาชูเซตส์ ประจวบกับท่านมหาสีสยาดอ พระมหาเถระชาวพม่าก็กำาลังอบรมสั่งสอน
นักปฏิบัติที่ศูนย์แห่งหนึ่ง หลวงปู่เปลีย่ นจึงได้พบกับท่านมหาสีสยาดอและสนทนาแลกเปลี่ยน
ปัญหากนั การท่ที า่ นเดนิ ทางไปเผยแผ่ธรรมในต่างประเทศ ทำาให้มลี กู ศิษย์ชาวไทยท่อี ยตู่ ่างประเทศ
และชาวตา่ งชาตเิ ดนิ ทางมาหาท่านทีว่ ัดในปตี อ่ ๆ มา

104 | ปญญฺ าปทโี ปนุสรณ์

พรรษาท่ี ๓๑–๓๔๕๒๒๓ • ๒๓๕๕
วดั อรัญญวเิ วก บา้ นปง ต.อินทขลิ
อ.แมแ่ ตง จ.เชียงใหม่

กิจวัตรของทา่ นในแตล่ ะพรรษา สรุปไดด้ ังน้ี

ปฏิสนั ถารญาติโยม

ในช่วงเวลาเข้าพรรษา หลวงปู่เปลี่ยนจะรับนิมนต์เฉพาะงานทีท่ ่านจะไปและกลับวัดได้
ในวันเดียว ท่านจะไม่ไปจำาวัดทีอ่ ืน่ โดยไม่จำาเป็น จึงปรากฏมีคณะศรัทธาญาติโยมจากทุกภาค
ของประเทศไทยและจากตา่ งประเทศท่ที า่ นไปเยี่ยม เช่น ออสเตรเลยี สหรัฐอเมริกา มาทำาบญุ ทวี่ ดั
และพักค้างคืนเพื่อฟังเทศน์และทำาสมาธิกันมาก หลวงปู่เปลี่ยนจะให้การต้อนรับอย่างดี นอกจาก
เทศนอ์ บรมแลว้ ยังพาไปทำาบญุ วัดอนื่ ๆ เชน่ ไปกราบหลวงป่สู ิม ทว่ี ดั ถาำ้ ผาปล่อง และไปชมสถานท่ี
สำาคัญใน จ.เชียงใหม่ ปรกติหลวงปู่เปลี่ยนจะเทศน์อบรมสมาธิแก่ญาติโยมและภิกษุสามเณร
ทกุ วนั พระ ในเวลา ๒๐.๐๐ น. แตถ่ า้ มคี ณะศรทั ธามาจากกรงุ เทพฯ หรอื จากทอ่ี น่ื ทา่ นจะเทศนอ์ บรม
ให้เป็นพิเศษ ทำาให้แต่ละคณะนัน้ ซาบซึ้งในความเมตตาของท่านเป็นอย่างยิง่

ปญญฺ าปทโี ปนุสรณ์ | 105

แสดงพระธรรมเทศนาทีท่ ้องสนามหลวง
วันวสิ าขบชู า พ.ศ. ๒๕๓๔

เทศนาในประเทศ

หลวงปเู่ ปลย่ี นไดร้ บั นมิ นตไ์ ปแสดงธรรมในเชยี งใหมแ่ ละจงั หวดั ใกลเ้ คยี ง เชน่ ลาำ พนู และจงั หวดั
อืน่ ๆ ทัว่ ประเทศ เช่น กรุงเทพฯ นครปฐม ราชบุรี เพชรบูรณ์ พิษณุโลก สงขลา (อ.หาดใหญ่)
ปตั ตานี ฯลฯ โดยเฉพาะท่ี อ.หาดใหญ่ ท่านจะได้รบั นมิ นต์ไปเป็นประจาำ ทุกปี

สว่ นที่กรุงเทพฯ นอกเหนอื จากไปเทศน์ในสถานที่ต่าง ๆ ท่ีเคยนิมนต์มาในปีก่อน ๆ แล้ว หากมี
เทศกาลสาำ คญั เชน่ วนั วสิ าขบชู า ทา่ นก็ได้รบั นมิ นตไ์ ปแสดงธรรมที่ทอ้ งสนามหลวง

เผยแผ่ธรรมในต่างประเทศ

ชว่ งออกพรรษา ท่านได้รบั นมิ นตไ์ ปตา่ งประเทศอกี หลายครงั้ ดังนี้
พ.ศ. ๒๕๓๒ เดินทางไปประเทศอนิ เดยี ระหว่างวันท่ี ๓-๑๘ พฤศจกิ ายน
พ.ศ. ๒๕๓๔ เดนิ ทางไปประเทศสิงคโปร์ ระหวา่ งวนั ที่ ๓-๖ มกราคม

ประเทศออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนด์ ระหว่างวันที่ ๑๔ มกราคม-๒๙ มีนาคม
พ.ศ. ๒๕๓๕ เดนิ ทางไปประเทศอินโดนีเซีย ระหวา่ งวันที่ ๒๑-๒๘ กุมภาพันธ์

ประเทศอนิ เดีย ระหว่างวนั ท่ี ๒๓ พฤศจกิ ายน - ๗ ธนั วาคม

106 | ปญญฺ าปทโี ปนสุ รณ์

กราบคารวะเยย่ี มเยยี นหลวงปสู่ ิม กราบคารวะเยยี่ มเยยี นพระอาจารย์สภุ าพ ธมมฺ ปญโฺ ญ

กตัญญูกตเวทตี อ่ ครูบาอาจารย์

หลวงปู่เปลีย่ นจะไปกราบคารวะเยีย่ มเยียนครูบาอาจารย์เป็นประจำา ท่านไปกราบ
หลวงปู่สิม ในวันคล้ายวันเกิดครบรอบ ๘๐ ปี ใน พ.ศ. ๒๕๓๒

เมอ่ื พระอาจารยส์ ภุ าพ ธมมฺ ปญโฺ ญ พระอาจารยผ์ สู้ อนทา่ นขานนาคทว่ี ดั ทงุ่ สวา่ ง มรณภาพ
ลง ท่านได้ไปช่วยเตรียมงานถวายเพลิงศพ ทีถ่ ูกกำาหนดในวันเสาร์ที่ ๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๔
เสร็จงานแล้ว ท่านได้ไปแวะเยีย่ มหลวงปู่เทสก์ ทีว่ ัดหินหมากเป้ง จ.หนองคาย ในปีต่อมา
ท่านได้เดินทางไปอีสาน ระหว่างวันที่ ๖-๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๕ เพ่ือร่วมในงานวันทำาบุญ
คล้ายวันมรณภาพของพระอาจารย์สุภาพ ธมฺมปญฺโญ แวะกราบนมัสการหลวงปู่เทสก์
ทีว่ ัดหินหมากเป้ง และท่านพระอาจารย์มหาบัว ญาณสมฺปนฺโน ที่วัดป่าบ้านตาด

ในวันที่ ๒๖-๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๕ ท่านได้รับนิมนต์ไปในงานทำาบุญประจำาปี
วันมรณภาพของท่านอาจารย์สิงห์ทอง ธมฺมวโร ที่วัดป่าแก้วชุมพล บ้านชุมพล ต.ค้อใต้
อ.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร

ต่อมาหลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร (พระญาณสิทธาจารย์) มรณภาพลง เมื่อวันที่ ๑๔ สิงหาคม
พ.ศ. ๒๕๓๕ ท่านได้ไปกราบศพหลวงปู่และได้เป็นเจ้าภาพสวดพระอภิธรรมด้วย ท่านได้รับ
แตง่ ตั้งให้เปน็ กรรมการฝ่ายสงฆเ์ พ่อื จดั งานพระราชทานเพลิงศพหลวงปู่ ในวนั ท่ี ๒๒ กุมภาพันธ์
พ.ศ. ๒๕๓๖ จนแล้วเสร็จ

ปญญฺ าปทโี ปนุสรณ์ | 107

แจกทานภกิ ษุ นักเรียน และคนยากไร้

นอกเหนือจากการบริจาคเฉพาะเป็นครั้งคราวในทีต่ ่าง ๆ แล้ว หลวงปู่เปลีย่ นจะถวายทานแด่วัดและ
แจกทานสงเคราะหโ์ รงเรยี น โรงพยาบาล และหมบู่ า้ นใกลเ้ คียงเป็นประจำา เช่น แจกเครอ่ื งเขยี นแก่นักเรยี นยากจน
บรจิ าคเงินคา่ อาหารกลางวนั แก่เด็กนักเรียน และแจกผา้ ห่มใหค้ นยากจน

108 | ปญญฺ าปทีโปนสุ รณ์



พรรษาที่ ๓๕–๕๙๖๒๓๕ • ๒๐๕๖
วัดอรญั ญวิเวก บา้ นปง
ต.อนิ ทขิล อ.แม่แตง จ.เชยี งใหม่

แสดงพระธรรมเทศนาในงานพระราชทานเพลิงศพหลวงปชู่ อบ ไปบูรณะพระอุโบสถและก�าแพงวัด และติดกระจกล้อม
รอบศาลาอเนกประสงค์ในช่วง พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๖
ใน พ.ศ. ๒๕๓๗ หลวงปู่เทสก์มรณภาพลง ส่วนที่วัดทุ่งสว่างทีท่ ่านพักจ�าพรรษาแรก พรรษาทีส่ าม
เมือ่ วันที่ ๑๗ ธันวาคม หลวงปู่เปลีย่ นได้เดินทางไป และสี่ ท่านได้ช่วยสร้างศาลาการเปรียญในช่วง พ.ศ.
ร่วมงานพระราชทานเพลิงศพเมือ่ วันที่ ๘ มกราคม ๒๕๓๗-๒๕๓๙ และใน พ.ศ. ๒๕๕๙ ท่านก็ได้บูรณะ
พ.ศ. ๒๕๓๙ และเมือ่ หลวงปู่ชอบมรณภาพลงเมือ่ พิพิธภัณฑ์บริขารพระอาจารย์สุภาพ ธมฺมปญฺโญ ผู้เป็น
วันท่ี ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๘ หลวงปู่เปลี่ยนได้ไป ครสู อนทา่ นขานนาค รวมถงึ ขดุ บอ่ นา้� ขนาดใหญท่ ่เี กบ็ น้า�
แสดงพระธรรมเทศนาในงานพระราชทานเพลิงศพ ส�าหรับใช้ภายในวัดทุ่งสว่างด้วย วัดสุดท้ายทีท่ ่าน
เมื่อวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๙ ช่วยสร้างถาวรวัตถุคือวัดป่าบึงโคกสี ซึ่งเป็นวัดตั้งขึน้
ใหมข่ องบา้ นโคกสี อนั เปน็ หมบู่ า้ นท่ที า่ นเตบิ โตมาภายใต้
หลวงปู่เปล่ยี นจ�าพรรษาท่วี ัดอรัญญวิเวกตัง้ แต่ การเลย้ี งดขู องคณุ ตาทา่ น หลวงปเู่ ปลย่ี นไดบ้ รจิ าคปจั จยั
พ.ศ. ๒๕๐๙ เป็นต้นมา ท่านได้พัฒนาวัดและท�าการ เพือ่ สร้างศาลาอุโบสถ โดยมีพระครูธรรมวิวัฒนคุณ
ก่อสร้างเจดีย์ โบสถ์ วิหาร กุฏิ หอฉัน และเสนาสนะ เจ้าอาวาสวัดอรัญญวิเวก มาช่วยดูแลการก่อสร้างด้วย
อื่น ๆ ที่จ�าเป็นของสงฆ์ปีละเล็กละน้อยไปเรื่อย ๆ ตาม
ก�าลัง ท่านได้ซื้อทีด่ ินเพือ่ ขยายอาณาเขตของวัดไปอีก ในด้านการเทศน์ ท่านได้สอนสัง่ คณะศรัทธา
จากเดิม ๒๔ ไร่เศษ เป็น ๑๐๒ ไร่เศษ (พ.ศ. ๒๕๓๖) ญาติโยมให้ประพฤติปฏิบัติธรรมมากขึน้ จนเป็นที่รู้จัก
กันดีทั้งในประเทศและต่างประเทศ บุคคลคณะต่าง ๆ
นอกจากวัดอรัญญวิเวกแล้ว หลวงปู่เปลีย่ น ที่เคยฟังเทศน์อบรมของท่าน พากันมากราบนมัสการ
ยังได้ไปช่วยดูแลบูรณะวัดทีม่ ีความเกี่ยวพันกับท่าน เยย่ี มทา่ นทว่ี ดั แทบจะไมข่ าดสาย มที งั้ ท่มี าจากเชยี งใหม่
เช่น ทีว่ ัดธาตุมีชัยที่ท่านเข้าพิธีอุปสมบท ท่านได้กลับ กรุงเทพฯ และจากภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย รวมทั้ง
ชาวไทยและชาวต่างประเทศจากประเทศอืน่ ๆ ด้วย
บางคณะก็ขอพักค้างคืนเพื่อฟังเทศน์และปฏิบัติธรรม
ต่อ ซึง่ ท่านจะเมตตาให้พระเณรจัดเตรียมสถานที่พร้อม
ท้ังสิ่งอ�านวยความสะดวกอื่น ๆ ให้

หลังออกพรรษาแล้ว ท่านมักจะรับนิมนต์ไป
แสดงธรรมตามทีต่ ่าง ๆ ทัง้ ในกรุงเทพฯ ต่างจังหวัด
และตา่ งประเทศ ทง้ั แถบเอเชยี อเมรกิ า ออสเตรเลยี และ

110 | ปญญฺ าปทโี ปนสุ รณ์

โบสถเ์ ก่า ก่อนทีจ่ ะถกู ทดแทนดว้ ยโบสถใ์ หม่ ใน พ.ศ. ๒๕๕๒ พระอโุ บสถ วดั ธาตุมชี ัย

นิวซีแลนด โดยไม่ได้คํานึงถึงความเหนื่อยยากในการเดินทางไกลนัน้ เลย ท่านกลับยินดีและสนใจทีจ่ ะได้ไปพบกับ
สถานที่และผู้คนใหม่ ๆ ในประเทศเหล่านั้น จะได้สอนเขาให้ปฏิบัติธรรม เพือ่ ยกฐานะความเปนอยู่ในชีวิตให้ดีข้ึน
หากเขามคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ ในอาชพี และการงานดแี ลว้ ทา่ นกจ็ ะสอนเพอ่ื ยกระดบั จติ ใจของเขาใหส้ งู ขน้ึ เปน ลาํ ดบั
เพื่อที่จะได้มีโอกาสหลุดพ้นจากวัฏสงสาร ทําให้เขาซาบซึง้ ใจในความเมตตาห่วงใยของท่าน จึงพากันนิมนตท่าน
ไปเปนประจําทุกปี ทุกโอกาส จะได้ทําบุญเพือ่ ตนเอง ครอบครัว และเพือ่ ความก้าวหน้าของบริษัทหรือกิจการ
ต่าง ๆ ของแต่ละบุคคลด้วย ทําให้ท่านต้องเดินทางเพื่อเผยแผ่พระธรรมคําสัง่ สอนอยู่ตลอดเวลา

ศาลาการเปรยี ญ วดั ทงุ่ สว่าง ศาลาอโุ บสถ วัดป่าบงึ โคกสี

ปญญฺ าปทีโปนุสรณ์ | 111

งานมทุ ติ าจติ หลวงปเู่ ปลยี่ น

112 | ปญญฺ าปทีโปนุสรณ์

ปญญฺ าปทโี ปนสุ รณ์ | 113

เผยแผ่ธรรมกว้างไกล

"อาตมาอยากใหค้ นร้ธู รรมะทัง้ โลกน้ี ถา้ หากคนรธู้ รรมะตามคา� สอนทางพระพุทธศาสนาเรากอ็ ย่ดู ว้ ยกนั
แบบสงบสุข อาตมากอ็ ยากให้แปลหนงั สือครูบาอาจารยห์ ลายท่านหลายองค์ สอนธรรมะดี ๆ แปลเปน็
ภาษาอังกฤษชว่ ยกนั หลายองคม์ ีเทคนิคหลาย องค์ไหนสามารถจูงใจฝร่งั ได้ ท�าใหเ้ ขาเขา้ ใจได้ ก็จะดี
ไมใ่ ช่แปลแต่ของอาตมา แตใ่ ห้แปลของหลาย ๆ องค์ จะได้เข้าใจ บางองค์อาจจะสอนขนั ติ สอนเฉลยี ว
ฉลาด เวลาแปลตอ้ งมาคยุ กนั ความหมายภาษาไทยมนั เปน็ อยา่ งน้ี แตค่ า� เทศนข์ องอาจารยม์ นั เปน็ แบบน้ี
มนั จะใชไ้ ดไ้ หม คนเกง่ ภาษาแตน่ งั่ สมาธไิ มเ่ ปน็ กเ็ ปน็ ปัญหา ตอ้ งคนทา� สมาธิ ตอ้ งปฏบิ ตั กิ อ่ น คนไดภ้ าษา
คนนน้ั จงึ จะแปลได้ เมอ่ื เกดิ อารมณข์ ้นึ ในจติ เสียกอ่ นวา่ อารมณน์ ้เี ปน็ อยา่ งน้ี อารมณเ์ ปน็ อยา่ งน้กี อ่ นจงึ
จะรู้ได้ การแปล ถา้ อยา่ งน้นั ไมไ่ ด้ ถา้ เปน็ ฝรง่ั ได้ภาษาไทยดี คนฝร่งั นง่ั สมาธิจติ ใจสงบดี รเู้ ร่อื งร้รู าวดี
มาแปลหนงั สือน่าจะดี"

114 | ปญญฺ าปทีโปนสุ รณ์

ม้วนเทปที่หลวงปเู่ ปลย่ี นใช้บนั ทกึ เสียงแล้ว "เทศน์ไวม้ าก ท้งั หมดสมัยก่อน
ทา่ นจะเกบ็ รักษาไว้อยา่ งดใี นซองพลาสติกเดมิ มปี ระมาณ ๑,๒๐๐ กว่ากณั ฑ์
อาตมาเทศน์ เรียกว่าท�าหนังสือ
ยงั ไมห่ มดใช่ไหม ๒ ตู้ ตู้ละ ๑๕ ชั้น
มว้ นเทป ค�าสอนในเทปใน MP3
มมี าก กเ็ ลือกเปดิ ให้ฟังก็ได้
เพราะวา่ อาตมาเทศนท์ ้งั สูง
ทง้ั ปานกลาง ทง้ั ต่�า
เทศน์ไวห้ มดทุกอยา่ งแลว้
ถงึ สูงสุดอาตมาก็เทศน์มาแล้ว
กเ็ ลอื กให้เหมาะสม"

"สอนฝรั่งต้องเอาอยใู่ กล้ ๆ ตัวเขา ถึงจะทันสมัย
ถ้าไปตอบไกล ๆ ตัวน่ีไม่ได้ เขาไมเ่ ล่อื มใส เราตอ้ งสอนใหท้ ันกบั ปัจจบุ ัน

ท�ากรรมอย่างไหนก็ต้องรบั ผลของกรรมนน้ั
เราไปพูดถงึ อดีตไมไ่ ด้ ฝรง่ั เราต้องเอาปัจจบุ ันให้เขาเหน็

ถามเขาว่าโยมเคยเหน็ ไหม เราเอามาใชเ้ ลย
พอตเี ขา เขาก็ตีเรา เตะเขา เขาก็เตะเรา เขาจะเข้าใจเลย

วธิ ีสอน นแ่ี หละเทคนคิ สอนฝร่งั "

ปญญฺ าปทีโปนุสรณ์ | 115

ธรรมกจิ ในตา่ งแดน

มาเลเซีย

เกาะปีนงั
"เหมือนอากงอาม่าของเรา เม่ือก่อนอยูท่ ีป่ ระเทศจีน ก็ต้องแสวงหาว่าจะอยู่ที่ไหนจึงจะสร้างความดี
เอาไวไ้ ด้ อากงอาม่าป๊ะป๋าก็เลยพามาถงึ ประเทศมาเลเซยี นี้ กต็ ง้ั หลกั ตง้ั แหลง่ ทา� งานหาเงนิ ทา� คณุ งามความดี
กส็ บาย วัตถุสมบูรณ์ก็ละความโลภได้ รักษาศีลดีก็ไม่โกรธไม่เกลียดใคร ภาวนาดีก็ยิ้ม ใจสบายเลย
มีความสุข เหมือนอามา่ นย่ี ้มิ ตลอดเลย มีความสุขลกู หลานกส็ ุขด้วย เห็นไหมอาม่าเขานง่ั เฉย ฟังภาษา
อังกฤษภาษาไทยก็ไมร่ ู้ แตน่ ั่งสงบเฉย เพราะจติ ใจเปน็ บุญอยู่ มาทา� ความดจี ิตใจกเ็ ลยสบายอยู่"

ปญญฺ าปทีโปนสุ รณ์ | 117

สาธารณรัฐอินเดยี

"ก็ถือว่าเป็นมงคลของชีวิตที่ได้มากราบไหว้ในสถานที่เป็นมงคลอันประเสริฐ เป็นบ่อเกิดแห่ง
คุณงามความดีของพวกเราทั้งหลาย เราได้มากราบมาไหว้มาสรรเสริญพระรัตนตรัย ก็น้อมนึก
ระลึกถึงพระพุทธองค์ที่มาบ�าเพ็ญอยู่ในสถานที่นี้ จนได้บรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ
บัดนี้ เราได้มาถึงสถานที่นีไ้ ด้ก็เรียกว่าเป็นโชคดี ได้มาเห็นสถานที่เป็นเคร่ืองยืนหยัดมั่นคงว่า
มีจรงิ ๆ มหี ลักฐานจริง ๆ เร่อื งพุทธศาสนานีใ้ นเมอื งชมพูทวีปนี้"

มหาเจดยี พ์ ุทธคยา ธมั เมกขสถปู

"ไปคร้ังแรกไปอินเดียนี่ ปล้ืมปีติยินดี "พวกเราทั้งหลายได้มาถึงสถานทีส่ �าคัญ เราก็
เหมือนลอยอยู่ในที่สูง ๆ เกือบเท่าเจดีย์ นอ้ มระลกึ ถงึ พระพุทธองคต์ รสั สอนปัญจวคั คยี ์
พุทธคยาเลย กเ็ ลยสูง น่ีพุทธคยา" ฤๅษีทั้ง ๕ พระอัญญาโกณฑัญญะได้ฟังแล้ว
ไตร่ตรองใคร่ครวญด้วยสติปั ญญาของท่าน
118 | ปญญฺ าปทโี ปนสุ รณ์ แล้วเข้าใจในเน้ือหาธรรมพระพุ ทธองค์ตรัส
เทศนาสั่งสอนว่า สิ่งใดสิ่งหน่ึงมีความเกิดข้ึน
เป็นธรรมดา ส่ิงทั้งปวงน้ันย่อมแตกดับเป็น
ธรรมดา"

"น่ีโรงเรียนปัญจศีลา พุทธคยา ผมไปจะต้อง
ไปแจกสมุดดินสอปากกาที่น่ัน ๓,๕๐๐ ด้าม
อยา่ งนอ้ ย ทแี รกน่พี ้ืนทด่ี นิ เขาเอาฟางมาปูแลว้
ก็เอาเส่ือปูน่ังอยูใ่ นที่น่ันแหละ เรียนหนังสือ
หลังคาก็มุงเหมือนใบจาก ผมก็ให้เงินอีก
๓๐,๐๐๐ รปู เี ปน็ ค่าเทคอนกรตี แลว้ กเ็ อาเงิน
ให้มุงหลังคา โรงเรียนนีต้ ้องรับศีล ๕ ก่อน
ถงึ เขา้ โรงเรียนได้ พระเปน็ ครใู หญ่"

ปญญฺ าปทีโปนุสรณ์ | 119

สาธารณรฐั สงิ คโปร์

"อาตมามาสิงคโปร์คร้งั แรก ค่�ามาก็ไปพักโรงแรม มี
๗ ช้ัน ถึงเทีย่ งคืนแล้วสวดธรรมจักร เปิดหน้าต่าง
ช้ัน ๗ ก�าลงั นอนก�าหนดนี่ เหน็ หลวงปู่ขาวลอยมาเลย
หลวงปู่ขาวลอยเขา้ มาทางหนา้ ตา่ งแลว้ มายนื อยใู่ กล้ ๆ
หลวงปู่วา่ "มาเมอื งสิงคโปร์ มานอนซบิ ไ่ ด้ ตอ้ งภาวนา"
เลยไมน่ อนเลย ลกุ ข้ึนนง่ั สมาธยิ นั รงุ่ เลย ไมไ่ ดน้ อนเลย
หลวงปู่อยู่ถ้�ากลองเพล เราก็อยูส่ ิงคโปร์ ด้วยความ
เมตตาของครูบาอาจารย์ตามมาเมตตาเรา เรารูด้ ีว่า
หลวงปู่มเี มตตา นน่ั ตอนมาสิงคโปรค์ ร้งั แรก"

หลวงปู่ขาว อนาลโย

ปาเซอร์ปนั จัง

120 | ปญญฺ าปทีโปนสุ รณ์

นติ ยสารธรรมะ Vaidurya ขอสัมภาษณ์
หลวงปเู่ ปลยี่ นชว่ งที่ไดร้ บั นมิ นต์ไป
ประเทศสงิ คโปร์ ใน พ.ศ. ๒๕๕๐

"เรามีศรัทธาอยากพ้นทุกข์ เช่ือมั่นในค�าสอนทางพระพุทธศาสนา รูจ้ ักดีรูจ้ ักชั่ว รู้จักบุญรูจ้ ักบาป
รูจ้ ักทุกข์รูจ้ ักสุข พระพุทธองค์สอนสัจธรรมของจริง ถ้าสิ่งน้ีท�าลงไปแล้วผิดก็เกิดทุกข์แน่นอน
ทกุ ขจ์ รงิ สิ่งนีถ้ า้ ปฏบิ ตั แิ ลว้ ท�าใหม้ คี วามสุขกส็ ุขจรงิ "

วดั ป่าเลไลยก์ "การท�าบุญ บุญคือความสุขใจ ในประเทศสิงคโปร์นี้
บางบุคคลก็ทุกขย์ ากล�าบาก บางบุคคลก็มีทรัพย์สมบัติ
มากมบี า้ นอย่สู บายอาศัยซ่งึ บญุ กศุ ลทต่ี นเองสรา้ งเอาไว้
น้นั เปน็ ท่พี ่ึงของตน เหตุฉะน้นั พวกเราทั้งหลายพากนั มี
ศรัทธาเล่ือมใส มาจากทใ่ี ดกด็ มี าถึงวัดป่าเลไลยก์แห่งน้ี
พากนั สรา้ งคณุ งามความดที ่จี ะทา� ใหพ้ วกเรานม้ี คี วามสุข
การทา� บญุ จงึ เปน็ พ้ืนฐานทด่ี ขี องชวี ติ การสรา้ งบญุ สรา้ ง
กศุ ลน้ันท�าไปทลี ะเลก็ ละนอ้ ย สะสมไปเร่ือย ๆ กเ็ ปน็ คน
มมี าก ฝากไวท้ ่ธี นาคารเหมอื นธนาคารทส่ี ิงคโปรม์ หี ลาย
หมน่ื หลายแสนหลายลา้ นลา้ น กเ็ รยี กวา่ การสั่งสมบญุ ให้
มีพ้ืนฐานท่ีดีของชีวิต"

ปญญฺ าปทโี ปนสุ รณ์ | 121

ออสเตรเลีย

"ประเทศชาติบ้านเมืองของชาวฝรั่งหรือต่างชาติต่าง ๆ เจริญรุง่ เรืองทางด้านวัตถุ แต่จิตใจยังมี
ทุกขอ์ ยู่ เราก็ต้องพัฒนาจิตใจ เหมือนกับคนทีม่ ีโลภะอยากได้มาก ๆ ท�าให้เกิดทุกข์ เม่ือเราศึกษา
ธรรมะแล้วเรารูจ้ ักละความโลภมาก ไม่เห็นแก่ตัวก็จึงเจือจานผูอ้ ่ืนให้ความสุขแก่ผู้อ่ืน บัดนี้ ถ้าหาก
เรารักษาศีลกท็ �าใหเ้ ราระงับความโกรธได้ เรามีศีล เราไมเ่ บียดเบียนใคร ไม่ทา� ร้ายใคร เม่อื เรามีสมาธิ
จติ ใจสงบ เราก็มคี วามฉลาดรู้จกั ทางถกู ทางผดิ ด�ารงชวี ิตของตนไปในทางท่ีถูกต้อง บดั นี้ ถา้ ชาวฝร่งั
เมืองเพิร์ท หมดออสเตรเลียของเรามาฝึกจิตใจให้สงบแล้วยิ่งจะฉลาดยิ่งจะสงบยิ่งจะดีกว่านี้ ยิ่งจะ
อยสู่ บาย"

เมืองวูลลองกอง รัฐนิวเซาทเ์ วลส์

วัดโพธิญาณ เมืองเซอรเ์ พนไทน์

"เปน็ สัญญา เปน็ วญิ ญาณ แตไ่ มร่ ้ถู งึ เปน็ ปัญญา ปัญญนิ ทรยี ์ ปัญญาพลงั ไมถ่ งึ ตวั นน้ั กเ็ ลยรไู้ มร่ อบตวั
ไมร่ อบคอบ สัญญากเ็ หมอื นเดก็ รเู้ งนิ นเ่ี หรยี ญออสเตรเลยี เดก็ กา� ลงั คลานกา� ลงั นง่ั มนั ไมร่ จู้ กั ราคาของ
เงนิ เข้าใจบ่ ก็เหน็ วา่ มนั สวย ๆ ไม่รจู้ ักราคาของเงิน คอื สัญญา เปรียบเทียบนะ วญิ ญาณเคร่อื งหมายรู้
คอื ผ้ใู หญแ่ ลว้ อนั นค้ี อื เงนิ เกบ็ ไวจ้ ะซอ้ื รถได้ ซอ้ื บา้ นได้ ซอ้ื ของได้ มนั ร้แู คน่ ้ี กเ็ ปน็ วญิ ญาณ กร็ วู้ า่ ใชส้ อย
อย่างน้นั อยา่ งน้ไี ด้ บัดน้เี งินเหรียญนท้ี า� มาจากไหน ท�ามาจากโรงกษาปณ์ โรงงานท�าเงิน เขาเอาอะไร
มาท�าละ่ เงิน ก็ก้อนหินมาถลุง กอ้ นหนิ อยูใ่ นพ้ืนดนิ เปน็ ธาตดุ ิน เอากอ้ นดนิ มาถลงุ แลว้ ก็มาทา� เปน็ เงิน
มีน้�าหนักเท่าไหร่ก็พิมพ์ตัวเลขตัวหนังสือลง เอามาใช้จ่าย ใช้ไปใช้มาตัวหนังสือตัวเลขมันลบหมด
ใช้ไป ๆ มนั กห็ มดกลายเปน็ ธาตุดนิ เหมอื นกัน คนทีร่ ู้แจ้งจะรู้จกั ว่าเปน็ ธาตุเฉย ๆ เราไปหลงว่าเปน็ เงิน
หลงสมมุติ หรอื เพชรจรงิ ๆ ก็เปน็ กอ้ นหิน stone เฉย ๆ"

ปญญฺ าปทีโปนุสรณ์ | 123

สาธารณรฐั ประชาชนจนี

วัดมหาราชฐานสทุ ธาวาส สบิ สองปนั นา
"พระหรือเณรน้อยก็ดี ด้านปริยัติธรรมให้ต้ังใจร่�าเรียนหนังสือ มีฉันทะ
คือมีความพอใจในการศึกษาหลักพระพุทธศาสนา มีวิริยะ เพียร พากัน
เพียรเรียนรู้หนังสือ เรียนฟั งครูอาจารย์สอนหลักของพระพุทธศาสนา
เพ่ือจะไดเ้ ขา้ ใจ อนั ใดถกู อนั ใดผดิ อนั ใดควรทา� อนั ใดไมค่ วรทา� อนั ใดควรพูด
กค็ วรพูด อนั ใดควรคดิ กค็ วรคดิ มาศึกษาหลกั ธรรม มาสรา้ งโครงการในชวี ติ
ของเรา รกั พระศาสนา เปน็ ศาสนาทีท่ ันสมยั ท่ีสุดในโลก"
124 | ปญญฺ าปทีโปนสุ รณ์

สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

นา� คณะสงฆ์ลาวเจรญิ สมณกจิ ทีห่ ลวงพระบาง

ปญญฺ าปทีโปนุสรณ์ | 125

สาธารณรัฐแหง่ สหภาพพม่า

เจดียช์ เวดากอง น่ังสมาธทิ บี่ ริเวณเจดยี ์ชเวดากอง

"พระมหาธาตเุ จดีย์ชเวดากองแหง่ น้ตี ง้ั อยู่บนภเู ขาเตี้ย ๆ และสร้างประตทู างเขา้ สวยงามดี และในทิศ
ทั้ง ๔ ขององค์พระเจดีย์น้ันก็จัดสร้างเป็นซุม้ มีหลังคามุขย่ืนออกมา แต่ละทิศน้นั ก็สร้างพระพุทธรูป
ประจา� เอาไว้ด้านละ ๑ องค์ เขยี นช่อื ประจ�าเอาไว้ ๑) พระกกุสันโธ ๒) พระโกนาคมโน ๓) พระกสั สโป
๔) พระโคตโม เปน็ ชอ่ื ของพระพุทธเจา้ ทง้ั หมดท่มี าตรสั รมู้ าแลว้ ในภทั รกปั ป์ปัจจบุ นั น้ี และมเี จดยี เ์ ลก็ ๆ
ล้อมรอบองค์พระเจดีย์ รอบวงนอกออกไปนั้นก็สร้างศาลาประดิษฐานพระพุทธรูปเอาไว้หลายแห่ง
เหมือนกัน และมสี ถานท่สี �าหรับนง่ั ท�าสมาธมิ บี ริเวณกวา้ ง คนไหนน่งั นานสมควรแลว้ ก็ลุกไป คนใหมก่ ็
มานั่งแทนเปลย่ี นกันไป ตอนเยน็ ขา้ พเจ้ากไ็ ปนง่ั ท�าสมาธอิ ยูท่ ีน่ ่ีด้วย"

126 | ปญญฺ าปทีโปนสุ รณ์

อังกฤษ

วัดปา่ จติ ตวิเวก เมืองปเี ตอรฟ์ ลิ ด์ มณฑลซสั เซกซ์ตะวนั ตก
"เม่ือจิตใจสงบเป็นสมาธิดีแล้ว เราจะมาพิจารณาความโลภ greed ความละโมบ ความละโมบอยาก
ได้มากนั่นนะเปน็ กิเลส ความโกรธก็ angry ความหลง delusion เราจะมาละตัวนี้ เพราะคนเรามัน
ทกุ ขก์ ับความโลภ จดุ มุง่ หมายของเราในการบวชในพุทธศาสนา เราจะฝกึ ฝนอบรมภาวนาให้จิตใจสงบ
เราจะมาดูเร่ืองอย่างนี้ คนเรานีถ้ ้ามันโลภโลภะมาก more desire, suffering. ความโกรธก็ more
angry, more suffering. เปน็ อย่างน้ี เรากจ็ ะมาละเร่ืองนี้ให้มันน้อยลงเรากจ็ ะสบาย หรือจะละได้หมด
จึงจะไดเ้ ปน็ พระอรหนั ต์ ละหมดความโลภ Let go greed, let go angry, let go delusion. More
mindfulness and more wisdom. Oh, very happy. ตรงนี้จุดม่งุ หมายของการบวช"

ปญญฺ าปทโี ปนสุ รณ์ | 127

สหรัฐอเมรกิ า

ศูนย์ปฏบิ ัติธรรมในเคมบรดิ จ์ รัฐแมสซาชูเซตส์
"อาตมาก็มีเมตตาหมดทุกคน ตอนอาตมาไปพูดอยู่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด บอสตัน พาศรัทธาเป็น
ฝรั่งหมด ๔๖ คน นั่งสมาธิทุกวัน คนทีส่ นใจจริง ๆ คือ ดร.ลารี่ เป็นหัวหน้า อาตมาก็ปู ๆ ปลา ๆ
พูดอะไรไม่ค่อยได้มากมายเท่าไหร่ นิด ๆ หน่อย ๆ ไม่มีคนแปล อาตมาไปครั้งแรกนี่ อาตมาก็ว่า
จะเอายังไง อาตมาก็ลุยภาษายาเลย อาตมาก็ว่า Eye ache suffering, headache suffering,
stomachache suffering, toothache suffering. Long standing leg ache, suffering.
Walking, sitting, lying down, suffering. เราเอาอนั นี้เขา้ ใจงา่ ยหนอ่ ย บต่ ้องไปพูดอะไรยาวเนาะ
เร่อื งทุกข์ ฝรัง่ บอก Thank you very much เลย"

128 | ปญญฺ าปทโี ปนสุ รณ์

ศนู ย์ปฏิบตั ธิ รรมในเคมบริดจ์ รัฐแมสซาชูเซตส์ Anapanasati – mindfulness of breathing

You must look at your consciousness at all time.
You must know when you are thinking of

a good deed or a bad deed.
If you are thinking of a bad deed,

you must stop and forget it.
You must think of a good deed only.

Mindful when take a deep breath.
Mindful when take a shallow breath.
Mindful when take a long breath.
Mindful when take a short breath.

Purification of the mind or thoughts.
(การท�าจติ ของตนให้ผอ่ งแผ้ว)

คา� สอนภาษาอังกฤษท่ีหลวงปเู่ ตรียมเพอ่ื สอนชาวต่างชาติ

"ผมไปอยอู่ เมรกิ า บอสตนั เคมบรดิ จ์ โยเซฟเปน็ มชิ ชนั นารี
เคยอยู่กรุงเทพฯ ๗ ปี สรา้ งส�านักปฏิบัติ ผมไปสาธิตให้
หน่งึ ชวั่ โมงกวา่ เทา่ นน้ั แหละ กอดแขนผม บว่ างเลย ผมไป
สาธติ ให้ เขาก็อยากได้ผมอยู่น่นั ผมมานง่ั ดู โอ๊ย เคยเปน็
หมเู่ ดยี วกนั อย่กู รงุ เทพฯ บวชรว่ มกนั แตช่ าตกิ อ่ น เรยี นจบ
เปรียญหา้ เหมอื นกัน ผมก็จบเปรียญหา้ เหมือนกนั บัดน้กี ็
ตาย เขาไปเกดิ เปน็ ฝรง่ั อเมรกิ า ผมเกดิ อยเู่ มอื งไทย กลบั
มาหากัน จะสร้างวัดให้ผม ผมยงั บร่ บั เลย ที่ ๔๒ เอเคอร์
๘๐ กวา่ ไร่จะให้ อยูเ่ มืองเคมบริดจ"์

คณุ โยเซฟกบั หลวงปเู่ ปลย่ี น
ปญญฺ าปทโี ปนุสรณ์ | 129

130 | ปญญฺ าปทโี ปนุสรณ์ เทศน์อบรมภิกษุ ณ วัดอภยั ครี ี เมืองซานฟรานซสิ โก
วัดภูรทิ ตั ตวนาราม เมอื งออนแทริโอ รฐั แคลิฟอรเ์ นยี

"If you do something and it makes you or other people unhappy, then you had
better stopped doing it. If you don't stop, you will suffer. If you can stop, you
will be happy. If you can't stop doing it, you will suffer again and again. You
must understand that if you can't let go, it will cause you trouble and suffering.
Doing good deeds by way of body and saying good things and thinking good will
bring you happiness. If you are suffering, stop doing and saying or thinking now.
Stop suffering. When we all understand this thing, we will do very good, speak
very good and think very good thing so everyone in this world can be happy."

มารินเฮดแลนส์ รฐั แคลิฟอรเ์ นีย

กจิ ทวี่ ัดอรัญญวิเวก

132 | ปญญฺ าปทโี ปนุสรณ์

ปญญฺ าปทโี ปนสุ รณ์ | 133

อาพาธ ละสังขาร

สงั ขารไมเ่ ทีย่ ง

หลวงปู่เปลี่ยนเข้ารับการรักษาทีโ่ รงพยาบาลมหาราช เชียงใหม่ ด้วยอาการปวดท้อง และเข้ารับการผ่าตัด
ลำาไส้ใหญ่ เมื่อวันท่ี ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ พกั รักษาอย่ทู โ่ี รงพยาบาลจนถงึ วนั ท่ี ๑๕ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๐
และกลับวดั อรญั ญวิเวก แมท้ า่ นจะมอี าการอาพาธ ความเมตตาไมม่ ปี ระมาณของทา่ นยงั คงเป็นทป่ี ระจักษแ์ ก่ทัง้ ภิกษุ
สามเณรและญาติโยมทั้งหลายที่ยังคงหลั่งไหลมากราบนมัสการท่าน ท่านยังคงชีแ้ นวทางในการปฏิบัติที่ถูกตรงให้แก่
พระภกิ ษสุ ามเณร และเทศนส์ ง่ั สอนญาตโิ ยมเพอ่ื ใหเ้ ขาเหลา่ น้นั ไดม้ ธี รรมะเปน็ หลกั ใจและสามารถดาำ เนินชวี ติ ไดอ้ ยา่ ง
มีความสุข

"เจ็บป่วยนี้ ครั้งนี้จะไม่ขอไปโรงพยาบาล จะขออยู่และจะขอไปแบบธรรมชาติ
ระหว่างร่างกายธาตุขันธ์เครียดหนักทีส่ ุด ก็ขออย่าให้ใครมาแตะมายุ่ง ขอให้ได้
ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีของตวั เองให้สมบูรณ์ท่ีสุด"

คำาปรารภของหลวงปู่เปล่ียน เลา่ โดยพระอาจารย์ทองแดง วรปญโฺ ญ
ขณะแสดงธรรมในงานสวดพระอภิธรรมถวายหลวงป่เู ปล่ียน เมือ่ วันท่ี ๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
134 | ปญญฺ าปทโี ปนสุ รณ์

ปญญฺ าปทโี ปนสุ รณ์ | 135

หลวงปเู่ ปล่ียนได้ละสงั ขารอย่างสงบภายในกฏุ ิ วดั อรัญญวเิ วก (บ้านปง) ต.อนิ ทขลิ อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่
เมือ่ เวลา ๑๕.๐๓ น. วันพฤหสั บดที ่ี ๑๕ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ สิรอิ ายุ ๘๔ ปี ๒ เดอื น ๓๐ วนั พรรษา ๕๙

รา่ งกายของเรา
จะลงที่ไตรลกั ษณห์ มดเลย

บ ริ ข า ร ข อ ง ห ล ว ง ปู่เ ป ล่ี ย น



โอวาทธรรม

พระพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาทีย่ อดเยีย่ ม เป็นศาสนาทีเ่ ปิดกว้าง เป็นศาสนาทีม่ ีเมตตา เป็นศาสนา
ให้วิเคราะห์วิจารณ์ถึงเหตุถึงผลได้ ไม่ปิดบัง บุคคลจะวิเคราะห์วิจารณ์ไปถึงไหน ปฏิบัติไปถึงไหน
ไม่มีความขัดข้อง ไม่มีปกปิดเอาไว้ เป็นศาสนาทีเ่ ปิดเผย เปิดกว้าง เป็นศาสนาสากล เป็นศาสนา
ทีท่ ันสมัย ไม่มีเส่ือม เมือ่ พระพุทธองค์ทรงดับขันธ์ปรินิพพานแล้วก็ตาม ศาสนธรรมคำาสอนของ
พระพุทธองค์นัน้ ไม่เสือ่ มไปไหน ดีอยู่ตลอด ตรงนีแ้ หละจึงเรียกว่า คำาสอนในพระพุทธศาสนานี้
มัน่ คง ถ้าบุคคลใดนำาไปปฏิบัติ ย่อมได้รับความสุขอย่างแท้จริง

ปญญฺ าปทีโปนุสรณ์ | 141

โลก

โลกทั้งโลก มันเป็นของเราไม่ได้
มันเป็นของธรรมชาติของมัน
อยู่อย่างนี้ เราก็เกิดมาพบมัน
ในโลกนี้ โลกมันก็เปลี่ยนแปลง
ไปอยู่อย่างนี้ เคลือ่ นไหวไปมา
พร้อมเป็นอนิจจัง
โลกเขาขังเราไว้ เป็นกรงขัง
มีเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในโลก
ในวัฏสงสาร ติดคุกอยู่ในโลก
ใครจะพ้นโลกได้ ต้องเรียนโลก
ให้รู้ เพื่อจะวางโลก ไม่ติด

ทุกข์

ทุกข์ทีจ่ ะเกิดขึน้ จริง ๆ ก็เกิดขึน้ ที่จิตใจของตนเองไม่ได้เกิดจากบุคคลอืน่ แต่คนทั้งหลาย
ก็คิดว่าคนอื่นท�าให้เราเป็นทุกข์ ทุกข์จริง ๆ นัน้ เป็นเพราะจิตใจของพวกเราเกิดความคิด
ขึน้ มา ก็เลยคิดยึดมัน่ ถือมัน่
การที่จิตคิดเรือ่ งนีข้ ึ้นมาแล้วก็ดับไปครั้งหนึง่ เราก็ตายไปชาติหนึ่ง เมื่อเราทุกคนคิดมาก ๆ
ยิ่งคิดหลายอารมณ์เท่าไร เราก็ยิง่ ตายมากครั้งเท่านัน้ เมื่อจิตคิด เกิด ๆ ตาย ๆ เช่นนี้
ก็ทุกข์มาก

ปญญฺ าปทโี ปนสุ รณ์ | 143

มานะทิฏฐิ

หากบุคคลใดมีมานะทิฏฐิ ถือตนถือตัวอยู่แล้ว ไม่ลดละลงไป ก็เหมือนเราแบกท่อนไม้ซุงอยู่
ทำาให้บ่าของเราหนัก หนักอยู่ทีไ่ หน หนักอยู่ที่จิตใจที่มีมานะทิฏฐิ
ใครวางท่อนไม้ซุงจากใจได้ ก็สบายเลย

144 | ปญญฺ าปทโี ปนสุ รณ์

กรรม – บุญ

บคุ คลกระทาำ กรรมอนั ใดไว้ บคุ คลน้นั กต็ อ้ งไดร้ บั ผลของกรรมท่ตี นเองไดก้ ระทาำ ไวแ้ น่ เม่อื ทกุ คน
เชื่อเหตุเชื่อผลของกรรมที่ตนเองกระทำาแล้ว นัน้ แหละจึงจะเรียกได้ว่าเป็นพุทธบริษัทใน
พระพุทธศาสนาตามคำาสั่งสอนขององค์พระบรมศาสดา
บุญก็คือความสุข สุขก็คืออาหารของใจ ทำาบุญทำากุศลอะไร รักษาศีลก็ดี ภาวนาก็ดี ให้ตั้ง
จุดหมายปลายทางไว้ว่า เราต้องการพ้นทุกข์ คือเข้าสู่นิพพานสันติสุข

ปญญฺ าปทีโปนสุ รณ์ | 145

ศรัทธาแท้ต้องเพียร

หากมีศรัทธาเฉย ๆ ไม่ตั้งใจทำาความ
เพียรแล้ว แม้จะปรารถนาหรือมีศรัทธา
เพียงใดก็ตาม มันก็ไม่สงบสมความ
ปรารถนาของตนเองนัน้ แหละ

146 | ปญญฺ าปทโี ปนุสรณ์


Click to View FlipBook Version