หลักการทำบญุ และปฏิบัตธิ รรมในชวี ติ ประจำวนั ๑๐๑
สดุ ทา ย ดว ยอ านุภาพแ หงคุณพระศ รีรตั นตรัย และด วย
อานภุ าพแ หง ศ ีล สมาธ ิ ปญญา อนั เกดิ จ ากก ารท่ีไดบ รรพชา
อปุ สมบท ในพ ระพุทธศาสนา และท ีเ่ คยไดบ ำเพญ็ ม าต ง้ั แต
อดตี ชาติตลอดถงึ ชาติ ปจ จุบัน ขอใหโยมพอใหญโยมแ มใหญ
มพี ระพุทธเจา มีพระธรรมเจา และม ีพ ระสงั ฆอ ริยเจา เปน ท ่ี
พ่ึงท รี่ ะลกึ อยเูสมอ อยาไดป ระมาท ขอให มีสุขภาพกายทดี่ ี
และสุขภาพใจแชมชื่นร่ืนเริงเบิกบานในธรรมขององคสมเด็จ
สมเด็จพระสัมมาสัมพ ทุ ธเจา ต ลอดไป
มาฆบชู า, ขนึ้ ๑๕ คำ่ เดอื น ๓ ปพ ทุ ธศกั ราช ๒๕๔๓
หมายเหตุ จดหมายฉ บบั น ้ีเขียนต ั้งแตพ อใหญย งั มชี วี ติ อยู แตไมไดส ง คาง
มาจนบดั นี้
จดหมายฉบับทสี่ าม
ทขนึ้ าย๑พ๕รรคษาำ่ ๑เ๓ดอื ตนลุ า๑ค๑มปมพะุทโรธงศกั ราช ๒๕๔๓
เจรญิ พรโยมแมใหญ
จดหมายฉบบั นเี้ ปนฉ บับทส่ี ามแ ลว ทีอ่ าตมาเขียนถงึ โยม
แมใ หญ การข้ึนตน จ ดหมายฉบบั น ้ ี กแ็ ปลกไปจากฉ บบั ก อนๆ
เพราะขาดโยมพ อใหญไปค นหนงึ่ และค งไมมโี ยมพ อใหญใหเขียน
ถงึ อกี ตลอดไป วนั นอ้ี าตมาไดรแู ลว วา การจ ากไปข องโยมพ อ
ใหญอยางไมมวี ันก ลับ ไดต อกยำ้ ถ ึงค วามเปนจรงิ ตามคำส อน
เรอ่ื ง ไตรลกั ษณของพ ระพทุ ธเจา
“สรรพสิ่งล วนไมเทย่ี งแทค งทน เปนทุกข ไมม ีตวั ตน
ทแี่ ทจ รงิ ไมอยไู ดต ลอดกาล ตัง้ อยชู ว่ั ก าล นดิ หนอ ย เหมอื น
น้ำคางบนใบหญา เหมือนเปลวแดด เหมือนฟองนำ้ ”
หลกั การทำบุญ และปฏบิ ัตธิ รรมในชวี ติ ประจำวนั ๑๐๕
แตอยา งไร อาตมาก ถ็ อื วา เปน วาสนาท ยี่ งั มโี ยมแ มใหญ
ใหเ ขยี นถึงอ ยอู ีกคน ดว ยตระหนักวา การท ่ีลกู หลานเกิดม าแลว มี
โอกาสไดท นั พ บทนั เหน็ ป ูยา ต าย ายนนั้ นับวาเปนบ ุญวาสนาอยา ง
หน่งึ เพราะคนโดยส ว นมากไมม ีโอกาสไดท นั พ บท ันเหน็ ดว ย
ชวี ติ ค นน้นั ส น้ั น ัก สน้ั จ นปู ยา ตา ยาย โดยส วนมากมิทันไดเ หน็
หลานๆ หรือเห็นกม็ ิทันท หี่ ลานเจริญเติบโต ย่ิงถาท ันพบท ันเห็น
แลว มีโอกาสไดทำบญุ ทำก ุศลรว มกนั ก็น ับวา เปนโชควาสนาม าก
เพราะเราม ีโอกาสไดป ลดหนี้บญุ คุณทา น
อาตมาเขียนจดหมายฉ บบั น ้ี กด็ วยระลกึ ถงึ เรอื่ งท ีโ่ ยมแม
ใหญเคยถามอ ยเู สมอ ถึงเร่อื งก ารบ วชและอ านสิ งสข องการบ วช
วา “ถา ลกู ชายไมไดบ วชเปน พ ระ แตห ลานบ วช จะไดอ านิสงส
บางไหม” อาตมารูส กึ ใสซอ่ื บริสุทธิ์กับค ำถามของโยม นหี่ าก
โยมพอใหญย ังมีช วี ิตอยู ก็คงจะตำหนิทีโ่ ยมแมใหญถ ามอ าตมา
เชน น้ ี แลว กค็ งเหน็ รอยยมิ้ จ ากใบหนาโยมแมใหญ ตามที่เคย
เห็นจนชินตา
แตร อยย ้มิ น ้ี กท็ ำใหอ าตมาอบอนุ ใจอยา งประหลาดใจ
มาต ้งั แตเยาวว ัย
แทจ ริงแ ลว ลกู ห รือห ลานบ วชก ไ็ ดอ านิสงสเหมือนกัน
เพราะแ มเลือดเนอ้ื แ ละชีวติ ของหลานๆ ผูบวชจ ะไดมาจากพอแม
แตเ ลือดเน้อื ของพอ แมกม็ าจากปู ยา ตา ยายเชน กัน พอ แมได
อานิสงส ปู ยา ตา ยายก ็ตองไดด ว ย
๑๐๖ พระวจิ ิตรธรรมาภรณ์
อยา วาแตป ู ยา ตา ยาย เลยท ี่ไดอ านสิ งสจ ากก าร
บวช แมญ าติๆ คนอ น่ื ๆ กไ็ ดเชน เดียวกนั ขึ้นอยกู บั จ ิตแ ละ
การขวนขวายในการท ำบุญ ของค นน ้นั ๆ ดว ยตามท่ีไดเคย
กลาวไวแ ลว ในจดหมายฉ บับก อน
แทจริง มใิ ชพ อล ูกหลานบ วชแ ลว จะไดบ ญุ เลยท เี ดยี ว
ตองข ้ึนอยกู บั ก ารกระทำของเราด ว ย คอื การท ำจ ติ ใหเปน บุญ
เปน กศุ ล ใหน อ มไปในส ิ่งท ่กี ำลงั ทำ
ในขณะท่ลี กู หลานบวชเปนพ ระภกิ ษุอยู กป็ รารภเอา
การทีล่ ูกหลานของเราไดบ วช เปนโอกาสในก ารทำบุญ ใหทาน
รักษาศลี และเจรญิ ภาวนา ปรารภเอาผ าเหลอื งล ูกหลานเปน
ตราประทบั ในจ ติ แลวรืน่ เริงเบิกบาน(อนโุ มทนา) ในการบวชน ั้น
บุญอ ยตู รงน ้ี มใิ ชอ ยูทกี่ ารบวชข องลกู หลาน เพราะล ูกหลาน
บวช เขาก ไ็ ดบ ุญส วนตวั ข องเขาเอง สวนเราผูเปนป ู ยา ตา ยาย
ก็ต องป รารภก ารท ล่ี ูกหลานบ วช ไดมีโอกาสทำบญุ เปน พเิ ศษ จงึ
เปนบ ุญกศุ ลของเรา
ยกตวั อยา งใหเห็นช ัดเจนม ากขน้ึ เม่ือลูกหลานเราบวช
แตเ ราไมไ ดใสใ จ รูส ึกเฉยๆ ไมร ับรสู งิ่ ใดท ง้ั นน้ั อยา งน ี้ลกู หลาน
เราบ วชกไ็ มต า งจ ากล ูกหลานคนอ ื่นบวช
หลกั การทำบุญ และปฏบิ ัตธิ รรมในชีวติ ประจำวนั ๑๐๗
แลว อานสิ งสจะเกดิ ขึน้ ไดอ ยางไร
บางคน เมอื่ ลกู หลานบวช แทนท่จี ะไดบ ุญกลบั ไดบ าป
เพราะอ าศัยก ารทล่ี กู หลานบวช เปน ช องทางในการแ สวงหา
ผลประโยชนจ ากพ ระศาสนา หรอื ยุแยงพ ระสงฆใ หเกดิ ค วาม
วนุ วายส ับสน ก็ไดบาป คดิ อยวู า อนั นกี้ ข็ องพระลูกชายฉัน
อนั นน้ั ก ข็ องพ ระห ลานชายฉนั ลกู ฉ ันหลานฉ นั จะต องไดอ ยาง
นั้นจะต องไดอยา งนี้ จนุ จานวุนวายไปห มด บางคนก ค็ อยจ บั ผดิ
พระสงฆส ามเณร วา เปน อ ยางน ัน้ เปน อยางน ี้ ก็ย่งิ ไปก ันใหญ ขอ
น้พี อ แม ปู ยา ตา ยายไมไดบ ญุ จ ากการบวช ของล ูกหลาน แต
ไดบ าปเพราะมาท ำบุญ แทนที่จะป รารภบ ญุ ก ลบั ปรารภบาป มา
วัดเพือ่ แ สวงหาความเบิกบานผองใส แหง จ ิต กลับป รารภค วาม
เศรา หมองแหง จิต
ความจ ริง ต้งั ใจจะเขียนเกย่ี วกบั เรอ่ื งน ้ีม านานแ ลว แต
ยงั ไมม โี อกาสเหมาะ มีหลายสิง่ หลายอยางค่งั คางอยจู นลวง
เลยม าถึงบ ัดนี้
ทีเ่ ขยี นเกยี่ วกบั การบ วช เพราะอยากใหโ ยมแมใหญร ู
และเกิดค วามเขา ใจ ตลอดจนมที าทที ีถ่ ูกตอ งเกีย่ วกับก ารบ วช
ถารแู ละเขาใจเรื่องก ารบ วชอยา งถกู ตองแลว จะปฏบิ ตั ิตอการ
บวชไดอ ยางเปนบญุ เปน ก ศุ ล
๑๐๘ พระวิจิตรธรรมาภรณ์
แตถ งึ อยางไร อาตมาก เ็ ขยี นจ ดหมายฉบับนี้ ตอ เน่อื ง
มาจากความก ตัญูในฉ บบั ท่แี ลว เพราะแมจ ะเขียนเรอื่ งการบวช
แตก ม็ คี วามเก่ยี วเนอื่ งก บั ความกตญั อู ยไู มน อย เนื่องจากผูบ วช
มักปรารภค วามกตญั ตู อพ อแม และผมู ีพ ระคณุ เปนท ีต่ ัง้ และห า
เวลาบ วชระยะห น่ึง โดยม เี จตนาอันงดงามวา จะต อบแทนบ ญุ
คณุ พอ แม ผ ูมีพระคณุ
แมจ ะมดี วยเหตผุ ลอ ่ืนบ าง เชน ลา งซวย แกบน
พักผอ น สงบจติ ใจฯลฯ บา งกต็ าม แตก ไ็มไดทำใหจุดประสงค
การบ วชค ลาดเคลือ่ นไปเสียท เี ดียว
พระพทุ ธองคไดต รัสไววา พอ แมเปนบคุ คลท่สี ำคัญทสี่ ดุ
ในช ีวิตข องลูกๆ เพราะเปนผใู หล ูกเกิด และเปนผ สู รา งบ ญุ แกลูก
กอ น แตก อนทจี่ ะพ ดู ถึงเรื่องน ี ้ ขออ ธิบายถ งึ เร่ืองการบ รรพชา
อุปสมบทก อ น
หลกั การทำบุญ และปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวนั ๑๐๙
แกนสารก ารบ วช
การบ วช หรือ การบ รรพชาอุปสมบทในพ ระพทุ ธศาสนา
นน้ั ถอื วา เปน การเจรญิ รอย ตามแบบอยางข ององคส มเดจ็
พระสมั มาสมั พ ุทธเจา พระองคท รงเปนโอรสข องก ษัตริย ควร
ทจ่ี ะห าความสำราญ อยางโอรสกษตั รยิ ท งั้ หลาย แตพ ระองค
กลบั ท รงเสียสละท ุกอยา ง เพ่อื ออกผนวช คอื การบวช ทรง
แสวงหาธรรมะท่ีจะเปนเคร่ืองกำจดั ค วามทุกข จนไดตรสั รพู บ
ธรรมะตามทีท่ รงประสงคใ นที่สุด ไมเพยี งแตเทา น้ัน พระองคยัง
อาศัยพ ระมหาก รณุ าอันย ่งิ ใหญ ออกเทศนาส งั่ สอนผ คู นใหรคู วาม
เปนจรงิ ของชวี ิต ถอนผ ูคนจากความทุกขความเศรา โศกเสยี ใจ ผู
ท่มี ีศรทั ธาเลอื่ มใสอ อกบวชตามพ ระพุทธองคเ ปน จำนวนมาก แม
ผทู ่บี วชในปจ จบุ ันน ้ี กถ็ ือวา เปนการบ วชต ามองคพระส มั มาสมั
พทุ ธเจา เชนกนั
ในทางพระพุทธศาสนาไดแสดงเรือ่ งการบวชไววา เปน ส่ิง
ท่ีใหส ำเร็จประโยชนไ ดอ ยา งสมบูรณ ประโยชนท ว่ี า น ้ีเก่ียวเน่ือง
กบั การประพฤตปิ ฏิบัติดีดว ยก าย วาจา ใจนน่ั เอง
ประโยชนจากก ารบวชนน้ั มหี ลายอยางด ว ยกนั จะข อ
ก ลา วแต ยอๆ ๓ อยา งเทา นน้ั
๑๑๐ พระวิจิตรธรรมาภรณ์
ประโยชนอ ยา งแ รก การบวชเปน ความต อ งการข องผูคน
ท้งั หลาย ผูคนท้งั หลายตอ งการความเปนผูมีความส ขุ กายส ขุ ใจ
ความเปนผ มู ีชอ่ื เสยี ง คนน บั ห นาถอื ต าในสังคม ดว ยถอื วา ผทู ่ี
ผา นก ารบวชเรยี นเขยี นอ า นแลว กจ็ ะเปนคนดนี าคบคา สมาคม
เม่อื คบเขาแ ลว กเ็ ปนท ่ีหวงั ห รืออ นุ ใจไดวา จะไมทำใหเ กิดค วาม
เสียหายแ กชอ่ื เสียงเกยี รตยิ ศ พอ แมหวงั จ ะป ระกาศใหผ คู นรวู า
ลูกทา นเปน ค นดีนา คบคา สมาคม จงึ อ ุตสาหข วนขวายใหล ูกไดบ วช
ประโยชนอ ยา งท สี่ อง การบวชเปน ป ระโยชนเก่ยี วกับ
จิตใจ ถา จิตใจไมมีค วามวติ กกังวลใดๆ ไมมีไฟ คือ ความ
โกรธ ความเกลียด ความอิจฉาริษยา เปน ตน แผดเผา
ใหรุม รอ น จิตใจก จ็ ะสงบ ทำใหเ กดิ ความส ุขไดในระดับหน่ึง
เชน กนั คนท ผี่ านการบวชกเ็ทา กับวา ผา นก ารฝก กลน่ั กรองไม
ใหค วามกังวลเขา ม าสจู ติ ฝก ป องกันไมใหไ ฟ ค ือ ความโกรธ
แ ผดเผาตน เปนตน ผูทผี่ านการบ วช และไดร บั ก ารฝกหดั
ขดั เกลาทีด่ ี จงึ มักจะม คี วามละเอียดส ขุ ุมลุมลึก มีความยับยัง้
ช่ังใจได มากข้นึ
ประโยชนอ ยา งท ีส่ าม การบวชเปน ป ระโยชนท ีเ่ กิด
หลักการทำบุญ และปฏิบตั ิธรรมในชีวิตประจำวนั ๑๑๑
ประโยชนอ ยา งท ส่ี าม การบวชเปน ประโยชนท่ีเกดิ จาก
การทำลายกเิ ลสใหห มดส ิ้นไป ซง่ึ เปนประโยชนส งู สดุ ท ีพ่ ระพทุ ธ
ศาสนาสอน แมจะปฏิบัติใหสำเร็จไดย าก ถงึ อยางนน้ั การบ วชก็
เปน การฝ กหัดข ัดเกลาจ ติ ใจใหออ นโยนงดงาม ไ มหยาบกระดา ง ไ ม
กา วรา ว ร นุ แรง ม ีความโอบออมอารี เ หน็ อกเห็นใจผอู ่นื มากย ิ่งข้ึน
บวชแลวไดเห็นใจตนเอง ยังไดเ หน็ อกเหน็ ใจผ ูอ ื่นอกี ดวย
ประโยชนทเ่ี กี่ยวกับจติ ใจ และการละกิเลสด งั กลาวน ้ี
เปน ประโยชนโ ดยตรงต อจ ิตใจข องผบู วช ถงึ แมว าอาจไมเกิด
ขน้ึ อยางส มบูรณ แตก็เปน การส รา งบ ารมี เพ่ือความส มบูรณ
ยิง่ ขนึ้ ในภ ายหนา ท่วี าการบ วชไดเห็นใจเหน็ ตนเอง คอื ไดเหน็
ความรสู กึ น ึกคิดข องต นเอง ชัดเจนม ากย ง่ิ ข้นึ เนื่องจากม เี วลา
ปฏิบัติฝกหัดขัดเกลาจิตอยางสมบูรณจึงมีโอกาสไดเห็นตัวตนที่
แทจริงของเราวาเปนค นอยางไร
นอกจากก ารบ วชจ ะมุง ป ระโยชน ดังที่กลา วไปแลว การ
บวชย ังไดช อื่ วา เปนการต อบแทนบ ญุ คณุ ข องม ารดาบ ดิ าอ กี ทาง
หน่ึงดว ย เพราะพ อ แมเ ห็นวา เปนทางหนึ่งท ีจ่ ะชวยเสรมิ ชีวติ ลูกให
ดีขนึ้ เสรมิ บ ุญ เสริมบารมี เสรมิ จ ติ ใจ เสริมค วามเจรญิ กาวหนา
เสรมิ เกาะป อ งกันจ ากผูจองเวร ฯลฯ โดยเฉพาะส ง เสริมทางด า น
จิตใจ เชน ทา นอาจจะเห็นวา ลูกเปนคนไมล ะเอียดออน ใจรอน
ววู าม หุนหนั พลนั แ ลน เจา โทสะ ทานก ต็ อ งการเหน็ ลูกเปน คน
๑๑๒ พระวจิ ิตรธรรมาภรณ์
สุขมุ เยือกเย็น จงึ อยากใหลกู เขา ไปบ วชในพระพุทธศาสนา เพื่อ
อบรมขัดเกลาจิตใจใหเยน็ ลง เปนการแ สดงถงึ ความป รารถนาดี
ของพอแม เมอื่ ล ูกไดบวช ก็เปน การสนองความปรารถนาดีของ
พอแม
ลกู ท่ีรูจักตอบสนองค วามป รารถนาดขี องพอแมนั้น ถือ
ไดว า เปนการต อบแทนพ ระคุณทาน อกี ทางห นึง่ เพราะเมือ่ ล ูก
บวช พอ แมก ็เกดิ ความเบาใจ แ ละยังมโีอกาสไดท ำบญุ ทำทาน มี
โอกาสไดเขาวดั สวดมนตฟ ง เทศน รกั ษาศีล หรอื ท ท่ี ำอยูแลวก ไ็ ด
ทำมากขึ้นเปนพิเศษ ซึ่งส ่งิ เหลา นี้เกดิ ขึน้ แ กพอ แม ลวนม าจาก
การบ วชข องลูก กเ็ทา กบั วา ลูกผูบวชน่นั เอง เปน ส ่อื ใหพ อ แม
ไดทำบุญ
นอกจากนน้ั ในทางพ ระพุทธศาสนายังถ อื วา การบวช
เปน การชวยสืบต อ อายพุ ระพุทธศาสนา เพราะชว งเวลาท ่ีเขา
ไปบ วชเรียนอยนู นั้ จะตองใชช ีวติ อยางสมถะ สงบเสงย่ี ม
เรียบงาย ไมก ลาวรา ย ไมวาราย ไมท ำรายใครๆ อยางทเ่ี รียกวา
“บรรพชติ ” คอื เปนผ ทู ีล่ ะเวน ในสิ่งท ่ไีมควรไมเหมาะสม
หลักการทำบุญ และปฏบิ ัติธรรมในชวี ิตประจำวนั ๑๑๓
การดำเนนิ ช ีวิตเชน นี้ ชอื่ วา เปนการสืบตออายุ
พระพทุ ธศาสนาใหย ืนยาวออกไป เพ่ือเปนป ระโยชนแ กค น ในรงุ
หลัง เปรยี บเสมือนนำเอาชีวติ ข องเราเขาไปเพอ่ื สบื ตอพระศาสนา
นัน่ เอง และพอ แมก็ช่ือวา ไดสบื ตอ อายุพระศาสนาดวย เพราะ
ชวี ิตข องล กู ท ่ไี ปบวช ก ็เปนช ีวติ ทเ่ี กิดจ ากพ อ แมเลอื ดและเนอ้ื ที่
เจริญเติบโตอยใู นรา งกาย เปนตวั เปนต นของล กู กเ็ปน เลือดเนอ้ื
จากอกของพ อแมนั่นเอง เลือดเน้ือที่พ อ แมใหไ ว เกิดเปน ชวี ติ ข อง
ลูกข ึ้นมา ก็ไดน ำไปต อ อายพุ ระศาสนา
การต ออายพุ ระศาสนา ดวยก ารบรรพชาอ ปุ สมบทข อง
ลกู น้ัน จงึ มอี านิสงสม าถึงพ อแมผ ูใหกำเนดิ อกี ดวย
อน่งึ ในเรือ่ งอ านิสงสข องก ารบวช เพอื่ ตอบแทน
คาน้ำนมข องมารดาบดิ าน ้ ี โบราณจ ารยทา นแ สดงอปุ มาไววา
ถึงแมม ีบุคคลผูทรงฤทธ์ิเหาะไปเก็บดอกไมจ ากปาอัน
กวา งใหญไพศาล มาส กั การะ บูชาองคพระส ัมมาสมั พุทธเจาต ้งั
พันอ งค กระทำอยูอ ยา งน ท้ี ุกวนั มิไดข าด ตลอดกาล อานิสงส
นนั้ จ ะนำมาเปรียบกบั การไดบวช ในพ ระพทุ ธศาสนาไมไดเลย
หรือแมจ ะถวายจ ตปุ จ จัยท ้งั ๔ คือ จวี ร บณิ ฑบาต เสนาสนะ
และยารกั ษาโรค แดพ ระพทุ ธเจาถงึ โกฏอิ งค อานสิ งสน นั้ จ ะน ำมา
เปรยี บกบั ก ารไดบ วชในพระพทุ ธศาสนาไมไ ดเลย หรือถึงแมจ ะม ี
๑๑๔ พระวิจิตรธรรมาภรณ์
มหาเศรษฐีจดั ส รางพระพทุ ธรปู ใหเตม็ หว งจกั รวาลน ี้ แลวก ระทำ
การส กั การะดว ยแกวทัง้ ๗ ประการ กองป ระมาณเทา ภ เู ขาส งู
หลายรอยห ลายพนั โยชน อานิสงสน น้ั จ ะนำมาเปรียบกับการได
บวช ในพ ระพุทธศาสนาไมไดเลย และห ากจะมีเทพบตุ รอ งค
หน่งึ เปน ผ มู ีฤทธานภุ าพม าก เสกเอาพ ้ืนปฐพอี นั หนาไดส องแ สน
สห่ี มื่นโยชนม าขยที้ ำใหเปนผงใชแ ทนห มกึ แลว เอาม หาสมุทรลกึ
แปดหมน่ื สพ่ี ันโยชน มาละลาย เอาภเู ขาส ิเนรสุ งู ถ ึงแปดห ม่นื สพ่ี ัน
โยชนเปนป ากกา สำหรับเขยี น เอาท อ งฟา อันราบเรียบกวา งใหญ
ไพศาล หาท ี่สดุ ม ิไดเปนส มุด จดจารึกบ ันทกึ ผ ลบญุ ข องบ คุ คลผ ู
ไดบ รรพชา อุปสมบท ในพระพทุ ธศาสนา เขียนดวยป ากกาค อื
ภูเขา จนสิ้นหมึกค อื พ ืน้ พสธุ า ส้ินก ระแสชลคอื ม หาสมทุ รข ีดเขยี น
ไปจนหมดหนงั สอื ค ือทอ งฟา จะพ รรณนาค ณุ แหงก ารบ วชใหห มด
นัน้ ไมมี
พระบรมศาสดาสมั มาสมั พทุ ธเจา ไดต รสั ก ับพ ระเจา
ปส เสนทิโกศลวา
“ผูใ ดสำนึกในบ ญุ คุณข องพอ แมแ ลว มีค วาม
ปรารถนาจ ะตอบ แทนคณุ ทานอันมากล น ตองไดบ วชใน
พระพทุ ธศาสนา จงึ จ ะไดชื่อวา ตอบแทนบ ญุ คุณท า นอยา ง
แทจริง” หมายความวา การบวชมอี านิสงส มาก จึงส ามารถ
ตอบแทนบุญคณุ ท านได ขอ น้ีทานใชโวหารแ สดงอปุ มาไวเ พื่อ
เปนสง่ิ เปรียบเทยี บ ใหเหน็ ความย ิ่งใหญข องพระคณุ พ อแม
หลกั การทำบญุ และปฏบิ ตั ิธรรมในชวี ิตประจำวัน๑๑๕
พอแมน น้ั เปนผูม ีพระคณุ ส ูงสดุ ในชวี ิตของล กู ๆ จงึ ค วร
ปฏิบัติ อปุ ฏฐากบ ำรงุ ทานใหไดรบั ค วามส ุข
การต อบแทน บญุ คุณของทา น หรือการเลยี้ งดทู าน
อาจท ำได ๒ ทาง คือ เลยี้ งอ าหารกาย คอื ตอบแทนด วย
วตั ถุส ่งิ ของ อยางห นง่ึ เลี้ยงอ าหารใจ คอื ตอบแทนด ว ย
การต ั้งอยใู นโอวาทคำแนะนำส่ังสอนข องทาน อยางห นง่ึ
พฤติกรรมของล ูกๆ ท ่ีแสดงออกนัน้ เปนอ าหารห ลอ เลยี้ ง
ใจและ เปนยาพิษทำลายความรูสกึ ข องพ อ แม ถาล ูกๆ ประพฤตดิ ี
งดงาม ดวยกริ ยิ ามารยาท สังคมยกยอ งส รรเสรญิ ก็น ำความ
ปลาบปลมื้ ม าสจู ิตใจพอ แม เปนการห ลอ เล้ียงท านด ว ยอ าหารใจ
ถาประพฤติเสียหายสังคมนินทา กน็ ำค วามเจบ็ ปวดม าสใูจพ อ แม
เรียกวา หลอเลย้ี งพอ แมด ว ยค วามเจบ็ ปวดหรือ เลย้ี งพ อแมด ว ย
ยาพษิ ผูท่เี ปน ลกู ๆ กค็ วรตระหนกั วา จะเลี้ยงพ อแมดว ยอ าหาร
ใจ คือ ความป ลาบปล้มื หรือดวยย าพษิ คอื ความเจบ็ ปวด
พอ แมเ ปน ผ มู ีพ ระคุณสงู สดุ ย ่งิ ดงั พ ระพุทธองคไ ดต รัสไว
เปน คำบ าลวี า
พรหมาติ มาตา ป ต โร
แปลวา
มารดาบิดา เปนพรหมของล ูก
๑๑๖ พระวจิ ติ รธรรมาภรณ์
พอแมนนั้ มนี ำ้ ใจอ นุเคราะหล กู ๆ ของทา น จึงเรียกท าน วา
เปน พ รหมข องล กู เปน ครอู าจารยค นแรกของ ลูก และเปน
พระอรหันตของล กู
ประการแรก ทเ่ีรียกพอแมวา “เปนพระพรหม” ของล ูก
น้นั เนื่องจากท า นมพี รหมวิหารธรรม คือ ความรกั ความเอื้ออาทร
ตอลกู ๆ อยใู นใจ เม่ือกอนศาสนาพ ราหมณสอนวา พระพรหม
เปนผูใ หช วี ิตค น และดลบันดาลใหเปน ตางๆ พรหมเปนผูสูงสดุ ใน
โลก คนจึงค วรเคารพ บชู าพรหม
เม่ือพ ระพุทธเจาไดตรสั รูแ ลว
พระองคไ ดต รัสวา แ ทจรงิ แลว พอแมน ั่นแหละเปนผ ูส ูง
สุดในช วี ิตของคนเรา เพราะทา นประกอบดว ยพรหมวิหารธรรม
๔ ประการอยา งเปยมลน คอื มเีมตตาธ รรม มกี รุณาธรรม มี
มุทติ าธรรม และม ีอุเบกขาธ รรม
“เมตตาธ รรม” ความรักท พ่ี อ แมม ตี อล ูก เปน ความรักท่ี
บรสิ ุทธ ์ิ มิไดห วังสงิ่ ตอบแทนใดๆ จะมกี ็เพยี งอยากเห็นลูกเปน
คนดี ปฏิบตั ิดี อยูในโอวาทของท าน ความรักของพ อแมน้ันไม
เปล่ยี นแปลงแ ปรผัน เม่อื ต อนทีล่ ูกเกิด พอ แมรักอยอู ยา งไร แม
จะเจรญิ เติบโตเปนหนุมเปนสาว จนล กู แ กช ราถ าทา นย ังมีช ีวติ
หลกั การทำบญุ และปฏบิ ตั ิธรรมในชีวติ ประจำวนั ๑๑๗
อย ู ทานก็ยังคงรักอยอู ยา งน ั้นเสมอ จะเปนล กู หญิงล ูกชายทา นก ็
รัก เรียกวา เสมอต นเสมอป ลาย แมจะพ ิกลพิการไมส มประกอบ
ประการใด คนอื่นอาจรังเกียจ ทานกร็ กั ข องทา น พยายามท ำ
ทุกวิถีทางเพอ่ื ทจี่ ะใหล กู สมบูรณ จนตองบนบานศ าลกลา ว
ในอีกท างห นึ่ง การท่ีพอ แมมีลกู เกดิ ม าอ วัยวะรางกาย
สมประกอบ ไมเจ็บไขไดปวยเปน นจิ เตบิ โตขนึ้ มาอยใูน
โอวาทของพ อแม ปฏบิ ตั ติ ัวดีไมเกเรเปนอันธพาล สรา งความ
เดือดรอ นใหสงั คม มคี วามรักใครก ลมเกลยี ว พึ่งพาอาศัยซ ่ึง
กนั และกนั ระหวา งพนี่ อ งรว มทอ ง ไมดูหมน่ิ ดแู คลนผ อู น่ื ก็ถอื
ไดวา เปน ผ ลบญุ ที่ไดก ระทำม าของตวั พ อ แม หรือแ มว าลูก
จะประพฤตติ วั ไมด ีอยางไร พอ แมก็ตัดลูกไมข าดเพราะทาน
มีเมตตาธรรมอ ันย ิง่ ใหญ คือ ความรกั อันบรสิ ทุ ธ ิ์ เปนเยอื่ ใยฝ ง
อยูในจติ ใจต ลอดเวลา
ความร กั ความผูกพันของพ อแมท ่ีมตี อ ลูก เปนความรัก
ทีไ่ รขอบเขต ไมมีพรมแดนข ีดกน้ั แผไ พศาลไปไมม ีประมาณ
กาวข ามกาลเวลา งดงามตราบชว่ั นิรนั ดรก์ าล
๑๑๘ พระวจิ ิตรธรรมาภรณ์
“กรณุ าธรรม” คอื ความหว งใย เออ้ื อาทรในล กู ๆ
เปนความหว งใยท ม่ี มี ากกวาค วามห ว งใยในตวั เอง นอกจาก
ความรัก ความเมตตาท ่ที านม ตี อบ ุตรแลว ทา นย งั มีความ
กรณุ าดูแลเอาใจใสล กู อยูต ลอดเวลา จนบางคร้ังด ูเหมอื นวา
ทานเปนย ายแกขบ้ี น จูจีจ้ กุ จิก ไมเหน็ ลกู โตส ักที ลกู ควรค ดิ
วา มีพอ แมบนให ยังดีก วาไมม ีพอแ มตลอดชวี ติ หากจ ะนับ
ตงั้ แตเ ปนเดก็ ก็จะสงั เกตไดวา เวลาที่ลูกป วยไข ถาล ูกยงั
นอนไมห ลบั พอแมก น็ อนไมห ลับ ในค ราวท ่ลี กู กนิ ไมไ ด พอ แมก็
ทานอาหารไมลง เพราะความเปนหวงเปน ใยเออื้ อาทร ดว ยอ ำนาจ
กรุณาธ รรม อยา งค นท ีร่ วู าจ ะม ีลกู ก็เร่มิ เกดิ ความหว งใยขึ้นมา
ทันท ี แมก ต็ อ งรกั ษาส ุขภาพรา งกายต นเองใหด ี
สวนพอก็มีหนาที่ในการจัดหาอาหารสิ่งของมาบำรุงรักษา
แมข องล กู ใหดี เพื่อลกู จะไดเกิดม าอ ยางป ลอดภยั เมอื่ ค ลอดลกู
แลว ถึงแมพ อจ ะต อ งไปท ำงาน แตใจก อ็ ย กู ับลกู เปน หว งสารพัด
อยากจะอ ยูใกลๆ คอยด ูแลเอาใจใสลกู ด วยต วั เอง
เมื่อล ูกโตเปน หนุมเปน สาว ตอ งจากพ อ แมไ ปอ ยหู างไกล
หรอื ไปสอู อ มอกข องค นห นง่ึ เมอื่ วัยม าถึง กเ็ ปนหวงวา ลูกจ ะอยู
อยา งไร เ ขาจะด แู ลก นั และกนั ไดอ ยา งใจห วงั ห รอื เปลา ความเปน อยู
สะดวกด หี รอื เปลา ขาดเหลือสิ่งใดไหมชวงน้ี เวลาน้ลี ูกเคยท ำส ิง่ น ี้
เคยพูดส ิง่ นี้ ตอนนลี้ กู จ ะท ำอ ะไรอย ู เมอ่ื กอ นพอแม เคยทำสิง่ น ีใ้ ห
หลักการทำบญุ และปฏิบตั ิธรรมในชีวติ ประจำวัน๑๑๙
ตอนนใี้ ครจ ะท ำให สารพัดทจ่ี ะเปน กงั วล น่กี ็เปน ความหวงของ
ทาน เปน เครอ่ื งแสดงใหเ ห็นวา พอ แมเ ปนหว งเปนใยล ูก ดวย
อำนาจแหง “กรณุ าธ รรม”
ความเอ้ืออาทรของพอ แมท ม่ี ีตอ ลกู น้ัน เปน ความ
เอ้ืออาทรท เี่ ตม็ เปยมในจติ ใจ ไรข อบเขต ไมม ีพรมแดนข ีดก ้นั
แผไ พศาลไปไมมีประมาณ กา วข ามก าลเวลา งดงามอ ยูตราบ
ชัว่ นิรันดร์กาล
“มุทติ าธ รรม” คือ ความพลอยย นิ ดี พอแมน น้ั จะ อ่มิ
อกอม่ิ ใจในความเจริญรงุ เรอื งของลูก เวลาเปนเดก็ ล กู เลนอะไร
กเ็ พลินต ามทลี่ ูกเลน แมในเวลาท่ีต วั เองเจริญรงุ เรอื งประสบ
ความส ำเร็จ ก็ไมปล้มื อกป ลืม้ ใจดใี จเปน ท่สี ดุ เหมอื นเห็นความ
เจรญิ ก าวหนา ของล กู ๆ แมแตค วามเจริญก ายเจริญวยั ของล กู
ทานก ย็ งั ด ีใจอิม่ ใจ ซ ึ่งจ ะส ังเกตเห็นหรือไดย ินอ ยูบอ ยวา นี่ลูกเดนิ
ไดแลว นีล่ ูกพ ดู ไดแ ลว ลูกพ ดู วาอ ยางน ้นั ลูกพ ูดวา อ ยา ง
น ้ี ลกู เรียนจบแลว ลูกมงี านทำแลว ลกู ท ำอ ยางน ี่ได ลูกทำ
อยางนน้ั ได
ถงึ แมวา จะรอู ยูแ ลว วา เด็กๆ ทุกคนก ็สามารถท ำได โดย
ธรรมชาติอยูแลว แตดวยค วามปต ิ ยินด ี กไ็มสามารถอดนำไป
พูดกบั ค นรอบขางได
๑๒๐ พระวิจิตรธรรมาภรณ์
ส่งิ ต า งๆ เหลา นเี้ ปน เรอื่ งท ย่ี นื ยัน ถ ึงความย นิ ดีปรดี า
ปลืม้ เปรมใจของพ อ แม ที่เห็นล ูกม ีความเจริญกาวหนา ไดเปน
อยา งดี
ความพลอยย นิ ดที เ่ี ห็นล กู เจริญกา วหนา ทพี่ อ แม
มตี อล ูก เปนความพลอยย ินดีทเ่ีต็มเปยมในจติ ใจ ไรข อบ
เขต ไมมีพรมแดนข ีดก ้ัน แผไพศาลไปไมม ีประมาณ กาวข าม
กาลเวลา งดงามอ ยตู ราบช วั่ นิรนั ดรก์ าล
ขอ สดุ ทาย “อุเบกขาธรรม” คือ การวางใจใหเปน กลาง
ไมด ีใจ ไมเสียใจ บางครง้ั ล ูกๆ อาจทำบางสิ่งบางอยางใหพ อ แม
ไมพ ึงพอใจ แตท านกว็ างอยูใ นอเุ บกขา ไมแ สดงค วามโกรธเกลียด
หรอื เสียใจ และส ง่ิ สำคญั พึงสังเกตในขอน ้วี า ทานจ ะพยายาม
ไมแ สดงอาการใดๆ ใหลกู ๆ ตองพ ลอยเดือดรอนใจ เชน พอ แม
อาจจะมีป ญ หาในก ารหาเงินหาอาหารม าเลี้ยงดลู ูกๆ เราสังเกต
เห็นวา ทา นไมสบายใจ แตเมอื่ เราเขา ไปถามท านกม็ กั จะต อบ
วา ไมม ปี ญ หาไมต องเปน หวงอะไร บางครัง้ เม่ือพอแมแ กช รา
ถาหากลูกถามวาพอแมตองการอะไรก็มักจะไดยินคำปฏิเสธอยู
เสมอวา ไมต องการ จะถ ามวา อยากท านอ ะไรก ็ต อบวา ไมอ ยาก
คราวเจ็บไขไ ดป ว ย ถามวา เจ็บมากห รอื ไม ทานก ็จะบ อกวา
ไมเ ปน ไรเจบ็ เพยี งเลก็ นอ ย
หลกั การทำบญุ และปฏิบตั ิธรรมในชีวติ ประจำวัน๑๒๑
การทีพ่ อแมตอบห รอื ก ระทำอ ยา งน ้ี กเ็ พราะท า นไม
ตอ งการใหล ูกๆ เปน หว ง
ความมใี จเปน กลางท ี่พ อแมม ตี อล กู เต็มเปย มด ว ยพ ลัง
แหง ค วามอ ดกล้นั หนักแนน แมเม่อื ย ามล ูกท ำใหเ จบ็ ป วดใจ ก็
ขม ความเจ็บปวด ไมโ กรธเกลียด แมเ ม่อื ยามล กู ส ุขก ็ข มความส ขุ ไว
ไมอ จิ ฉา มใีจเปน กลางเสมอตนเสมอปลายเชนน้ตี ลอดไป
อุเบกขาทพี่ อ แมมีต อ ลูก เปนอ เุ บกขาท เ่ี ต็มเปย มในจิตใจ
ไรข อบเขต ไมม พี รมแดนข ดี ก้นั แผไ พศาลไปไมมีประมาณ
กาวข ามกาลเวลา งดงามอ ยตู ราบช ั่วนริ นั ดร์ก าล
เพราะพ รหมวหิ ารธรรม ๔ ประการน้ที ี่พอ แมมตี อลูก
พระพทุ ธเจาจ ึงต รสั เรียก พอแมวา “เปนพ ระพรหม” ของล กู
อยา งแ ทจ รงิ
อีกอ ยางหน่ึง พอ แมเปน ค รอู าจารยคนแ รกข องล ูกๆ
กเ็ พราะวา ทา นคอยพ ร่ำสอนล ูกอยตู ลอดเวลา บอกลูกส อนล กู
ใหเรยี กค นน ว้ี า ปา ใหเรยี กคนนั้นวา ลงุ ใหเรยี กค นท ้งั หลาย
รอบตัวเหมอื นญาตขิ องตนเอง เพอื่ ต อ งการจะฝ ากฝงใหทุกคน
รกั ล ูกข องท า น และท า นก เ็ ปน ครขู องล กู ตลอดไปตง้ั แตเล็กจ นโต
เปนครูอยูตลอดไปไมม เี กษยี ณอาย ุ ทา นจ ะเลิกก ารเปนค รกู ต็ อเม่อื
ไดจ ากเราไปแลว เทา นน้ั
๑๒๒ พระวจิ ิตรธรรมาภรณ์
ดังนนั้ ลกู ๆ ทัง้ หลายจ ึงตองเขาใจวา ทพี่ อแมส อน พอแม
แนะนำ ก็เพราะทา นม ีความป รารถนาด ี ทานจงึ เปนครูอาจารยท ่ี
วเิ ศษส ดุ อยางยิง่ ในชวี ติ ลกู ๆ
ทีก่ ลา ววา พอ แมเปนพ ระอรหันตของลูก ความหมาย
ของพระอรหันตน ัน้ คอื ความบ รสิ ุทธ ิ์ พอ แมนั้นเปนผ ูบรสิ ทุ ธ์ ิ
เพราะม กี ายบริสทุ ธ ์ิ มีวาจาบริสทุ ธิแ์ ละม ใีจบริสุทธ์ิตอลกู ต ลอด
เวลา ไมเคยท่จี ะต องทำใหล กู เดือดรอน ไมเ คยคิดทีจ่ ะใหล ูก
ประสบสิ่งทเ่ี ปนอ นั ตราย แมแ ตเ พียงเล็กนอ ย นำ้ ใจอยางน ้แี หละ
ที่ เรยี กวาน้ำใจบริสทุ ธิข์ องพอแม เพราะพ ระคณุ ต า งๆ ของ
ทานม ีมากมายดงั ท่ีกลา วม านี้ องคส มเดจ็ พระส ัมมาสมั พ ทุ ธเจา
ทรงยกยองพอ แมไ วอ ยางสงู ยากทีจ่ ะเทียบได จึงตรัสสอนใหรจู ัก
ตอบแทนพ ระคณุ ของพอ แม
แมจ ะยกแมไวบ นไหลข างห น่ึง ยกพ อ ไวบ นไหลข า ง
หนึ่ง ใหท านถายอ ุจจาระป สสาวะ อุปฏฐากบ ำรงุ เลย้ี งทาน
ตลอดชีวิต กย็ งั ต อบแทนคณุ ไมห มด
หลกั การทำบญุ และปฏบิ ัตธิ รรมในชวี ติ ประจำวนั ๑๒๓
หนาที่ลูก ค อื บ ำรงุ บดิ ามารดา ๕ สถาน
ดวยเหตุน้เี อง แมว าเราจ ะแ สวงบุญดว ยการไปไหวพ ระ
ที่ไหน ก็อยาลืมไหวพระคือแ ม พระคือพอ ซึง่ เปน พ ระประจำบาน
ของเรา แมจ ะไปไหวเทวดาสงิ่ ศกั ดิ์สทิ ธ์ิท่ีไหน ก ็อ ยา ลมื ไหวเคารพ
พอแม ซ่งึ เปนเทวดาศกั ดิส์ ิทธปิ์ ระจำบ า นข องเรา บางคนอ อก
เทีย่ วก ราบไหวพ ระ ทศิ เหนือ ทิศใต ทศิ ตะวันออก ทศิ ตะวันตก
โดยรอบ ดว ยคิดวาพระท ี่น่ันเปนพ ระอรหันต พระทน่ี ่ันศักดิส์ ทิ ธิ์
พระที่นนั้ เปน พ ระอรยิ ะ เท่ยี วก ราบไหวบูชาภ ผู า ตนไม และ
หุบเขา โดยค ิดวา ม ีเทวดาศกั ด์ิสทิ ธส์ิ ิงอยู แตไ มเ คยท ราบไหว
พอแมตนเองเลย เพราะลมื นึกไปวา พระอรหันตอยใู นบ า นแ ลว
กแ็ ลว เทวดาท ่ีไหนจ ะอำนวยป ระโยชนแ กเขา ในเมื่อพอ แมข องตน
ก็ยงั ไมเ ห็นค วามส ำคญั
ลูกท ั้งหลาย เมอื่ หวนนึกถงึ พ อ แมว า มีพ ระคณุ ดว ยส ำนึก
แหง ความเปน ผูมีค วามกตัญู จึงควรบ ำรงุ เลีย้ งพ อ แม ๕ สถาน
คอื
(๑) พอ แมไดเลีย้ งเรามาแลว เลยี้ งท า นต อบ พอแม
ไดเลี้ยงเรามา ต ัง้ แตเ ล็กจนเติบโต พงึ เลีย้ งพ อ แมใหเปน สขุ
ถงึ คราวทานเจ็บปวย หรือแกชราล ง ลกู ๆ พงึ ต ง้ั ใจปฏบิ ัติ
เล้ยี งดรู กั ษาพ ยาบาลทา น
๑๒๔ พระวจิ ติ รธรรมาภรณ์
(๒) ชวยท ำกจิ การงานของพอ แม แสดงค วามก ร
ะตอื รือรน สนใจในก จิ การข องพอ แม ขวนขวายชว ยก จิ การงาน
ของทา น กิจการงานใดท เ่ี ปนของพอแมท ำไว หรอื ทีท่ านใชให
ทำ หากลูกๆ มคี วามส ามารถจ ะชวยเหลือท านได ก็พ ึงกระทำ
เปน การแบง เบาภาระหนาทข่ี องพอ แม
(๓) ดำรงวงศสกุลของพ อแม เกดิ ในตระกูลใดพึง
รกั ษาต ระกลู ข องต น ไมใ หเสื่อมเสียชอ่ื เสยี งเกียรตยิ ศ ไม
ทำใหคนด ูหมิน่ ตระกลู ของตน ควรพยายามทำตระกูลข องต น
ใหเปนทีน่ ยิ มน ับถอื ของค นทวั่ ไป
(๔) ประพฤติตนใหเปนทไี่ วใ จไดวาจะร กั ษาส มบัติ
ของตระกลู ไว ไมใหล มจม ลกู ๆ ผสู มควรรับท รพั ยมรดกข อง
พอ แม ตอ งเปนผูม ีความประพฤตดิ ี นา ไวว างใจ ละเวนจาก
อบายมขุ ละเวนจากการกินเหลาเมาสุรา คอื ทำตนใหน า
ไวใ จไดว า เม่ือรับสมบตั ขิ องตระกูลแลว จะร ักษาไวได ไม
ลางผลาญเสียห มด
(๕) เม่อื พอ แมล วงลบั ไปแลว ทำบญุ อุทศิ ให
ทา น ผูมีค วามกตญั กู ตเวท ี เม่อื พอแมล ว งลับไปแลว ควร
ทำบุญใหท า น อุทิศส วนกุศลไปใหท า นต ามกำลังความสามารถ
ของต น
หลักการทำบญุ และปฏบิ ัติธรรมในชีวิตประจำวนั ๑๒๕
สงิ่ ตา งๆ เหลานี้ ลกู ๆ ควรนำไปปฏบิ ตั ิตอพอแมข องตน
ใหท า นเกดิ ค วามเบาใจจงึ จะได ช อื่ วา เ ปน ผ รู คู ณุ และตอบแทนคณุ
ของพ อแม
วันน้ีเปน วนั ออกพรรษา นกแ จนแวนสงเสยี งรอ งแวว
รับอรุณมาจากภเู ขาทอง บง บอกใหรูวา ใกลส ้ินห นา ฝน และ
หนา หนาวกำลังจ ะม าเยือน พระสงฆโดยทวั่ ไปตา งเตรียมตวั
ปวารณาออกพรรษา จากนท้ี า นกค็ งมโี อกาสทอ งเที่ยวจารกิ
ไปคางแรมในท่ีตางๆ ได ตลอดระยะเวลาส ามเดอื นในฤ ดูฝนป น้ ี
ดเู หมือนผานไปเร็วมาก ผา นไปเรว็ ราวกบั วา เปนแ คสองส ามวนั
ฝนลงห นาเม็ดต ้งั แตคอ นรงุ จ นถงึ เชามดื แลวซาเม็ดล ง
เมอ่ื ฟ าเริ่มสาง เปนเวลาทต่ี อ งอ อกบณิ ฑบาต ความรสู ึกวันน้ี
แปลกๆ ยังไงช อบกล อาจเปน เพราะก อ นหนาอ อกพรรษาไม
กวี่ นั มพี ระล าสกิ ขาไปรปู หน่งึ บางทเีราอาจคุนเคยก นั เร็ว
เกินไป จนเกิดค วามเปน กันเองเหมือนรูจกั กนั ม าเปน เวลา
สบิ ๆ ป บางคร้ังมีค วามรูส ึกวาเขาเหมอื นญาตคิ นห นง่ึ ทง้ั ๆ ท่ี
พยายามจ ะไมใหเปน เชน นนั้ นอกจากทำตามห นา ที่ของเรา
เมื่อเขาล าสิกขาไป จงึ ดูม ีความรสู กึ วา เหมือนมีอะไรบ างอยาง
หลนหายไปจากชว งช ีวติ ส่งิ ทห่ี ลน่ หายไปคอื ความคนุ้ เคย
น่เี อง ที่พระพทุ ธเจา้ ตรสั ว่า “ความคนุ้ เคยเป็นญาติ
ย่ิงกว่าญาติ”
๑๒๖ พระวจิ ติ รธรรมาภรณ์
ความรสู ึกเชน น้ี เคยเกดิ เมื่อแ รกบ วชเปน ส ามเณร เพอ่ื น
ทบี่ วช ดว ยกันรปู ห น่ึงล าสกิ ขาไป ก็เกดิ ความรูส ึกวังเวงยังไง
ชอบกล เหมอื นเรากำลังเดนิ อ ยบู นเสนทางสายนี้เพียงคนเดยี ว
แตความรสู ึกเชนน ้ี กเ็ขา สูจิตใจไดเ พยี งช ่ัวขณะเทา นั้น แ ลวก็
เลือนหายไป เปนการยืนยันตามหลักคำสอนของพ ระพทุ ธเจา วา
สรรพสิง่ น ้ันไมเ ท่ยี ง แมกระท่งั จติ ใจข องเรา
นั่งมองดสู ายฝนท่ีไหลลงจ ากชายคากฎุ ี แลวโยนตัว
ลงสูพ้นื แตกกระจายไป อดน ึกถงึ วนั ในวัยเด็กไมได นกึ ถงึ วนั ที่
ฝนตกปรอยๆ อาตมาช อบอ อกไปกระโดดโลดเตน กลางส ายฝน มิ
ใสใจแมโ ยมแ มจะดุ ดาวา กลาวอยางไร คงส นุกสนานทา มกลาง
สายฝนไปตามเร่ือง อาตมาชอบฤดฝู นมากกวาฤ ดอู ืน่ เพราะ
แมกไมใ บหญาไดรบั ฝ นแ ตกใบเขยี วชอุม ทำใหสรรพส่งิ ดูมีชีวติ
นกกาบนตนไม กบเขียดในทอ ง ทงุ ฝูงวัวค วาย ก็ดมู ีชีวิตชวี า ตา ง
กระโดดโลดเตน กนั อ ยางราเริง
แตเมื่อบ วชเปน พ ระภิกษุแลว้ วันทฝ่ี นตกในเวลาออก
บิณฑบาต ก็ไมใชเรือ่ งนา สนกุ เลยน ะ โยมแมใหญ พ้นื ดิน
เฉอะแฉะ เนอื้ ตวั กเ็ ปย กปอน ไหนจะอ ุมบาตร ไหนจ ะถ ือรม
ไหนจะหิว้ ข าวของพ ะรงุ พะรงั เคยล ื่นลมคร้ังหน่ึง ขาวป ลา
อาหารก ระจายเจ่ิงน ้ำไปห มดเลย นึกแ ลวยังรสู กึ ล ะอายไมหาย
บางครั้งถ กู หม าไลงบั ก ย็ งั เคย โยมแมไดยินขาวว าอ าตมาลน่ื ลม
ขณะบ ณิ ฑบาต ยงั ต ำหนิวาอาตมาไมเรียบรอย
หลกั การทำบุญ และปฏิบตั ิธรรมในชีวิตประจำวนั ๑๒๗
แตอาตมากเ็ ตอื นตวั เองเสมอวา แมอ ุม ทองม าเกา เดือน
กวาจ ะค ลอดเราออกมาเปนผูเ ปน คน จนไดบ วชเรียนเขยี นอ า น
วันนี้ แมล ำบากมากกวาเราอมุ บาตรต ง้ั รอยเทาพันเทา
ฉบบั หนา ต้ังใจจะเขียนเกี่ยวกบั ภพภ มู ิ และการกำเนิด
ของค น เราตามหลักพระพุทธศาสนา เพอ่ื จะไดแ จง ชัดวาทำไม
พระพุทธเจา จึงสอนวา ตองท ำบญุ -ตอ งทำบุญ อยางนอ ย
ถา ไมไดไปเกดิ เปนเทพเทวา กใ็ หไดก ลับมาเกิดเปน ม นุษยพ บ
พระพุทธศาสนา ยงั ส ามารถส งั่ ส มบญุ ต อ ไปไดอ ีก อยาไดไปเกิด
เปนส ตั วเ ดรัจฉาน เปรต อสูรก าย หรอื สตั วนรกซึง่ ม ดื บอด
ไมสามารถท ำคณุ งามค วามด อี ะไรได
จดหมายฉบับน ี้เห็นทจี ะ พกั ไวก อน หากม เีวลาแ ลว จะเขียน
มาเลาอ ะไรใหฟง อีกคร้งั
ดวยอานุภาพแหงคุณพระศรีรัตนตรัยและดวยอานุภาพ
แหง ศลี สมาธิ ปญญา อนั เกดิ จากก ารที่ไดบ รรพชาอุปสมบทใน
พระพทุ ธศาสนาและท ่เี คยไดบ ำเพญ็ มาตัง้ แตอ ดตี ชาตติ ลอดจ นถึง
ชาติปจจุบนั ขอใหโยมแ มใ หญม ีพระพุทธเจา มพี ระธรรมเจา และ
มพี ระสังฆอรยิ เจา เปนท ี่พึ่งท ่รี ะลกึ อยูเสมออยา ไดป ระมาท มี
สขุ ภาพกายที่ดี และส ขุ ภาพใจแชม ชืน่ รืน่ เรงิ เบิกบานในธ รรมข อง
องคสมเดจ็ พระส ัมมาสมั พทุ ธเจา ตลอดไป
ทายพ รรษา ๑๓ขึ้นต๑ุล๕าคคม่ำ พเดุทธือศนักร๑า๑ช ป๒ม ๕ะ๔โร๓ง
จดหมายฉ บับท ่ีส่ี
กขึ้นรุง๗เทพคม่ำหาเนดคอื รน,๒วันเรมิ่ ตนป พ ทุ ธศักราช ๒๕๔๔
เจริญพรโยมแ มใ หญ
จดหมายฉบบั ท่แี ลว อ าตมาไดเขยี นเก่ียวกับเร่อื งการบวช
จุดประสงคข องการบ วช และสิ่งท ผี่ บู วชต อ งการทราบ ตลอดจน
อานสิ งสท จี่ ะพึงมแี กผบู วช และญ าติพีน่ อ งท อ่ี นุโมทนาในก ารบ วช
แมย งั มีเรื่องเกยี่ วกบั ก ารบ วชที่ต องเขยี นอ ยอู ีกบ าง แตจ ะข อ
พักไวกอน
วนั น้ีอยากเลา เรอ่ื งภพภ ูมิต างๆ ท ีม่ นษุ ยร วมไปถ งึ ส ัตว
ทง้ั หลายเวียนวายตายเกิด ห รอื ท ีส่ ัตวทงั้ หลายไปเกิด ใหโยมแ ม
ใหญฟ ง
๑๓๒ พระวิจติ รธรรมาภรณ์
ที่จรงิ เรือ่ งน เี้ ปนผลสบื เน่อื งม าจากเรื่องก ารบ วช เพราะ
ถ ือวา เปนส วนหน่งึ ของอานิสงส ท เ่ี กดิ จ ากการไดบวชใน
พระพทุ ธศาสนา ห ากบวชด วยศรทั ธา แลว ต ัง้ ใจปฏิบัติตาม
ธรรมวนิ ยั จริง อ ยางนอ ยท่ีสุด ก็ไดกลบั มาเกดิ เปนม นษุ ย ส ูงข้นึ
ไปก ็เปนเทวดา ส ูงขน้ึ ไปก วาน น้ั อ กี ก ็เปน พ รหม ต ามสมควรแ ก
การป ฏบิ ัติข องต น ก ารบวชด ว ยศรัทธาน ี้ สามารถป ด ประตูนรก
ปด เสนทางส ตั วเดรัจฉาน และเสน ทางสสู วรรคเปด รอรับเลย
ทีเดียว
ต อไปนี้ จะก ลา วถงึ ภพภมู ิและก ารเวียน วา ย ตาย เกดิ ใน
สังสารวฏั ต ามห ลกั คำสอนทางพ ระพทุ ธศาสนา ใหโยมแ มใ หญฟง
หลกั การทำบุญ และปฏิบัตธิ รรมในชวี ิตประจำวนั ๑๓๓
ภพภูมิและการเวยี นว ายตายเกดิ
ในพระพทุ ธศาสนา
พระพทุ ธศาสนาสอนวา ส ตั วโลก ม นษุ ยโลก แ ละ
เทวโลก เปน ที่เกดิ แ ละท่ีตายของหมสู ัตวทกุ จ ำพวก คนเรา
ตลอดจนสรรพสตั ว ตา งเวยี นวายต ายเกดิ อ ยูในภพ ๓ น ี้ทง้ั นนั้
ก ารเกดิ และต ายในภพท้ัง ๓ นี้ เรียกวา “ท องเท ยี่ วไปภพ
นอ ยภ พใหญ” คือ ทองเท ย่ี วไปในภพท้งั ๓ น ้นั ดีบาง เลวบ าง
ข ึน้ อ ยกู ับบ ุญและกรรมข องแตละบคุ คล ทำดีก็ไปเกิดในท ท่ี ่ีดี ท ำชวั่
ก็ไปเกิดในท ีท่ ่ีชัว่
ภ พท้ัง ๓ นี้จึงถ ูกเรยี กวา “สงั สารวฏั ”เพราะล ำพังกำลงั
สติ ป ญญาข องมวลมนษุ ย ไมส ามารถเขา ไปวิเคราะหห าจ ดุ เรม่ิ ตน
และ จ ดุ ส ุดทายของการเวียนวายต ายเกิดในสังสารวฏั ได เหมือน
เราไมส ามารถห าจุดเรมิ่ ตน และจ ดุ สดุ ทา ยจากวงกลมได
เพอ่ื ค วามไมป ระมาท ผูทย่ี งั ต อ งเวยี นวายตายเกิดใน
สังสารวฏั จ ึงต องทำบญุ ทำก ุศลไวใ หม าก
๑๓๔ พระวิจิตรธรรมาภรณ์
ส มเด็จพระสังฆราช อยู ญ าโณทยมหาเถร ส มเดจ็
พระสังฆราชองคท ี่ ๑๕ แ หงกรุงรัตนโกสนิ ทร วดั สระเกศ ก รงุ
เทพ ท อี่ าตมาบ วชอยู ไดกลา วสอนเปน ค ติเกี่ยวกบั ก ารทำบญุ ไววา
“บญุ เทา น น้ั ทค่ี วรรีบทำ ไมวาในเวลาไหน
คนท ่ียังต อ งเกดิ แก เจบ็ ตาย
ตอ งข วนขวายท ำบุญ คนท ไ่ี มป ระมาทเรง ท ำบญุ ”
การทำบญุ เปน เรอ่ื งสำคัญ ส ำหรบั ผ ูทยี่ ังต อ งเวียน วาย
ตาย เกดิ เพ่อื จ ะไดเปน เกราะป องกนั ภัยที่เกิดในสังสารวฏั ภ ยั ใน
ท่ีนห้ี มายถึง ค วามท กุ ขท จ่ี ะบ ีบคัน้ ใหเจบ็ ปวด ทง้ั ทกุ ขท างกายแ ละ
ทุกขท างใจ อนั เนือ่ งม าจากก ารเกิดในภพช าติท ่ตี ่ำ
ในวันน้ี อาตมาต้ังใจจ ะเลาเรือ่ งส ังสารวัฏ หรือ การเวยี น
วายต ายเกดิ ตามคติท างพระพุทธศาสนาใหโยมฟ ง อ ยา งนอ ยก ็จะ
ทำใหเราเกิดค วามเขา ใจค ำส อนพ ระพุทธศาสนา ในอกี แ งมุมห นึ่ง
มากขึ้น
ในทางพ ระพุทธศาสนาไดแ สดงภ พภูมติ า งๆไว มีสาระควร
ทำ ความเขาใจ ด ังน้ี
หลักการทำบญุ และปฏิบตั ธิ รรมในชีวติ ประจำวนั ๑๓๕
(๑) ภพภูมิชนั้ ตำ่ คอื ภ พภ มู ิของผ ทู ี่เกดิ ในโลกข องส ตั ว
เดรจั ฉาน เปรต อ สรู กาย และส ัตวน รกท ัง้ หลาย ภพภมู ิเหลา นี้
ทา นจ ัด เปน ภ พภ ูมชิ ้นั ตำ่
ภพภ มู ชิ น้ั นไ้ี ดช ื่อวา “ภ พภูมิช นั้ ตำ่ ” ก ็เพราะวาส ัตวท เ่ี กิด
ภพภ ูมิเหลานมี้ ดื บอด ไมม ปี ญ ญา ฆ าก ันก นิ ก ็ไมร วู า โหดราย
ไมส ามารถใชป ญ ญาในก ารด ำเนนิ ชีวิต ไมม ีโอกาสในการสรา งก ุศล
เพราะภพชาตขิ องสตั วป กปดไว ซ งึ่ ก เ็ ปน ผลมาจากแรงกรรมท ำ
ใหเปน อ ยา งน น้ั เชน
ส ตั วเ ดรัจฉานท ัง้ หลายดำเนินช วี ิตตามค วามรูสกึ ค อื รูสกึ
หิวกก็ นิ ไมไ ดก นิ ก ย็ ือ้ แยง ไมมีใหแ ยง ก็อ ด ใครกเ็ สพ โกรธก ็ดุราย
ไมมีการยับย้งั ไมม ีค วามอดทน ไมมเี มตตา ส ว นสัตวจำพวกเปรต
นั้น อ ยูไดด วยค วามหวิ กระหาย ทกุ ขทรมาน อสรู กายอยูไดดวย
ความดุรา ย ส ตั วนรกอ ยูไดด วยความทุกขเวทนาเจ็บปวดแ สน
สาหสั แ ตกตางจากค นอ ยไู ดดวยอาหาร เทพอ ยไู ดดว ยโอชทพิ ย
พรหมอยไูดด วยป ตี จิ ากฌาน
ป ญ ญาท่ีจะม าพ ิจารณาใหเหน็ วา “ควรท ำความดีอยางน ี้ๆ
เพ่ือจ ะไดละภ าวะค วามเปนสตั วเ ดรจั ฉาน”ไมมใี นส ตั วเดรัจฉาน
ทุกจ ำพวก ยิ่งเกดิ เปน ส ตั วห ลายภพห ลายชาติ ส ัญชาตญาณส ตั ว
ก็ยิ่งเพม่ิ มากขึ้น จนค วามรูส ึกนึกคดิ ก ลายเปนส ัตวน้นั ๆ อยาง
สมบูรณ
๑๓๖ พระวิจติ รธรรมาภรณ์
สัญชาตญาณด ังกลา ว คือ ส ญั ญา ค วามจ ำไดห มายรู
ภาวะของสตั วแ ลว เกิดการย ึดมน่ั วา ตนเองเปน ส ตั วช นิดน น้ั จริงๆ
จนไมม คี วามสามารถที่จะค ิดเปนอยางอ่นื ได เพราะชาติข องส ัตว
เดรัจฉานป กปดไว
(๒ )ภ พภูมิชัน้ ก ลาง คอื ภ พภมู ขิ องผทู เี่ กิดในโลกมนุษย
และเทวดาท ่ีอ ยใู นส วรรคช ัน้ ตางๆภพภ มู ิของส ตั วเหลา น ้ี ทาน
จดั เปนภ พภ มู ิช้ันก ลาง
ภพภมู ชิ ้ันน ้ีไดช่ือวา “ภ พภูมชิ ้ันกลาง” เพราะผทู เ่ี กดิ
ในภพภมู ชิ ั้นนี้ สามารถใชป ญ ญาในก ารด ำเนินช วี ติ ได สามารถ
พฒั นาจ ิตของต นใหส งู ขึน้ ด ว ยการใหทาน รักษาศลี เจรญิ สมาธิ
ภาวนา แ ละด วยป ญญาอ ันเกิดจ ากสัมมาทิฏฐิ แตหากประมาท
ไมอ าจรกั ษาระดับจิตข องตนใหอยูใ นศีลทาน กอ็ าจตกลงไปเกิดใน
ภพภ มู ทิ ี่ตำ่ กวา เดมิ ไดเชน กัน ถ งึ จ ะเปนภ พภ มู ิช นั้ ก ลางท ี่ด กี วาโลก
ของส ัตว แ ตม นษุ ยน ั้นก ็ย งั มีม นษุ ยช ั้นตำ่ ม นษุ ยช น้ั ก ลาง แ ละ
มนษุ ยช้นั สูงเชนกนั
มนุษยชนั้ ต่ำนน้ั ไดแก คนท่เี กิดม ารา งกายไมส ม
ประกอบพิกล พิการแ ถมยงั จ ติ ใจห ยาบ หรอื รา งกายส ม
ประกอบ แตจ ติ ใจหยาบกระดางก ราวรา วรนุ แ รง โหดรา ยทารุณ
สวนมนุษยชั้นสูงก็งามท้ังรางกายและจิตใจจะทำจะพูดจะคิดก็
ลวนอ อนโยนงดงามมีเมตตา
หลักการทำบญุ และปฏบิ ตั ิธรรมในชวี ติ ประจำวัน๑๓๗
แ มเทพก ม็ ีค วามแตกตา งเชน ก นั มีท้ังเทพช้ันสงู เทพช้นั
กลาง แ ละเทพช นั้ ตำ่ ต ามแตบ ุญกรรมของแตล ะคนแตล ะท า น
ทที่ ำม าไมเ หมอื นก ัน แตโดยรวมภพภมู ิชัน้ น ้ีก ็ยังนับวา ดี เพราะ
โอกาสในการสรางบุญกุศลบำเพ็ญบารมีมากกวาผูท่ีเกิดในภพภูมิ
ชัน้ ตำ่ ซ่งึ ไมมีสติปญญาส ามารถต ัดสินวาอะไรควร ไมค วร ถ กู
หรอื ผ ิด
(๓ ) ภพภูมิชั้นสงู คือ ภ พภูมิของผ ทู เี่ กดิ ในพ รหมโลก
ชั้นต างๆภ พภ ูมขิ องพ รหมโลกจัดเปน ภ พภมู ชิ ั้นสงู
ภพภูมชิ นั้ นไ้ี ดช ่ือวา “ภ พภูมิชนั้ สงู ” กเ็ พราะเปน ภ พภูมิ
ทล่ี ะเอยี ดป ระณีตม ากกวาภ พภูมิช น้ั กลางท ง้ั ก ายและจ ิต อนั
เปนผลม าจาก จิตทล่ี ะเอียดประณตี จ ิตที่ละเอยี ดป ระณีตน ้ี
มาจากการฝ กสมาธิจ นไดฌาน ผ ูท ี่จะเกิดในภพภูมนิ ี้ ไมใชภ พ
ภมู ขิ องผูท ีท่ ำความดี ในระดับใหท านรกั ษาศีลเทา น น้ั แตเ ปนภพ
ภูมิของผูท ่ีบำเพ็ญจ ติ ฝ กส มาธิ ภ าวนาจนไดข ้ันฌาน หากฌ านไม
เสื่อม ภ ายหลังจากต ายไปก็จะไปเกดิ เปนพรหม
ความแตกตา่ งระหว่างภพภูมิ
เราอาจทำความเขาใจขอแตกตางระหวางผูท่ีจะไปเกิดใน
ภพภมู ิช้ันก ลาง คือ เปนมนษุ ยแ ละเทวดา ก บั ผูทไ่ี ปเกดิ ในภ พภูมิ
ช้ันสงู คือ ไปเกดิ เปน พรหมได ดงั นี้
๑๓๘ พระวิจิตรธรรมาภรณ์
(๑) ผ ทู จ่ี ะไปเกดิ ในภ พภมู ิชนั้ กลาง คอื โลกมนษุ ย
และเทพ ในส วรรคช้นั ต า งๆนัน้ มาจากการท ำความดใี นระดับ
ใหท านรักษาศลี แ ละบำเพ็ญส มาธิในระดับห นึง่ แตย งั ไม
ถงึ ขน้ั ทำสมาธจิ นไดฌ าน
(๒ ) สวนผทู ี่ไปเกิดในช น้ั พ รหมหรือภ พภ มู ิช้ันสงู นั้น
ตอ ง เปนผูฝ กสมาธจิ นไดฌ าน แ ละฌานตอ งไมเ ส่อื มดว ย ภพ
ภมู ชิ ้นั สูงม ที ้งั หมด ๒๐ ชั้น แ บงเปนรปู พรหม ๑๖ ช ั้น แ ละ
อรูปพรหม ๔ ช น้ั มคี วามละเอยี ดประณตี ขึน้ ต ามร ะดับจ ิต
การแบงภพภมู อีกแบบหน่ึง
แตในบ างคร้ัง การแ บง ภ พภมู ทิ สี่ รรพสัตวเวียนวา ยต าย
เกดิ น ั้น ทา นก แ็ บงเปน “โลก” เรียกวา ๓ โลก ค นไทยรูจกั กนั
ในชือ่ “ไตรภูม”ิ คนไทยแ ตโบราณน ยิ มเขยี นภ าพตามฝาผนัง
โบสถเปน ภ าพไตรภมู ไิวสอนล ูก ห ลานเตอื นสตใิ หทำความดี ไมใ ห
ทำความช ่ัว ไตรภมู ิ แ ปลวา ๓ ภ ูมิ หรือ ๓ โลกก็ได ตามแตจ ะ
แปล ม ีรายละเอียด ด งั นี้
(๑)โลกของส ัตว เรยี กวา “สตั วโลก” ไดแ ก โลกข อง
สัตวเดรัจฉานท ั้งหลาย เปรต อ สูรก าย แ ละสัตวนรกทง้ั หลาย
เราอ าจจะแ บง ตามความหนกั เบา ส ูง ต ่ำได ด งั น้ี ส ตั วเ ดรัจฉาน
เปรต อ สรู กาย ส ตั วน รก
หลกั การทำบุญ และปฏบิ ตั ธิ รรมในชีวิตประจำวนั ๑๓๙
(๒ )โลกข องมนุษย เรยี กวา “มนุษยโ ลก” ไดแก คน
เราท่วั ไปท ุกช นชาตทิ ุกเผา พันธุ ตัง้ แตพ กิ ลพิการ รางกายไมครบ
องคประกอบไปจนถ ึงสมบรู ณค รบองคประกอบ ทกุ ประการ
ยากจนห าเชา ก นิ คำ่ จนถึงเศรษฐี และโงเ ขลาเบา ปญ ญาจ น ถึง
ฉลาดหลักแหลม
(๓) โลกข องเทวดา เรยี กวา “เทวโลก” ไดแก เทวดา
ในสวรรค ช ั้นต า งๆส งู ขึ้นไปถึงช ั้นพรหม
แมจ ะม ีรายละเอยี ดค อนขา งมาก แตก ็ขอใหโ ยมแ มใ หญอ ยา
เพิ่งเบ่ือ อาตมาจะเลาถ ึงส าเหตทุ ท่ี ำใหเกดิ ในภ พภ ูมติ า งๆใหฟ ง
เหตุแหง ก ารเกิดในภพภ ูมทิ ีแ่ ตกตา งก ัน
คนเราตายแ ลวไปเกดิ ภ พภมู ทิ น่ี บั วาด ี ก็ตง้ั แ ตภ พภูมริ ะดับ
กลางขน้ึ ไป ค อื เกิดเปน มนุษยขึน้ ไป ผทู ่สี ามารถไปเกิดในภพ
ภมู ิช้นั กลางน ไ้ี ดจะต อ งเปนผ ใู หทาน รักษาศีล เจริญภาวนาบาง
ตามสมควร โดยเฉพาะตอ งเปนผ มู ีศลี ๕ เปน อ ยางน อย เพราะจ ติ
ของค นท มี่ ศี ีล ๕ เปนล กั ษณะจิตของม นุษยไปจนถึงจ ิตข องเทวดา
๑๔๐ พระวจิ ิตรธรรมาภรณ์
ศ ลี ๕ ยงั เปน เครือ่ งบงชไี้ ดวา ล ักษณะจติ เขาเหมาะ
ทจี่ ะเปน มนุษยห รือไม หากข าดศีล ๕ ฐานะจ ิตก ็ต่ำลงกวาจ ิต
มนุษย ลดระดบั ลงเปนลักษณะจิตของสัตวเดรัจฉาน เปรต
อสูรก าย หรือส ตั วน รก แลว แ ตค วามห ยาบข องจ ติ ลกั ษณะ
ของจ ิตท ต่ี ่ำลงเชน น้ี ทำใหภ พภ ูมติ อ ไปของค นต ่ำลงไปด วย
เรยี กวา เปน ลักษณะจ ติ ทเ่ี หมาะสมแกภ พภูมิข องส ตั วเดรัจฉาน
ภพภมู ิข องเปรต ภพภ ูมิของอสูรก าย ห รือภพภูมิของส ัตวนรก
ทัง้ หลาย
เกย่ี วกบั ศ ีล ๕ เคยไดเขียนไวแ ลว แตในท ีน่ ี้จ ะข อน ำมา
ทบทวนใหฟ ง อีกคร้ัง เพ่อื จ ะไดมีเนื้อความส ืบเน่อื งก ัน ศ ีล ๕ ข อ
นน้ั ประกอบดว ย
ศีลข อท่ี ๑ ไมฆา สตั วตดั ช วี ิตโดยเจตนา ซึง่ ก ็ห มายถ ึง
มคี วามเมตตาปราณีส งสารสัตว ใหส งสารส ัตวเหมือนส งสารล ูกๆ
ของต นเอง เรารัก แ ละส งสารล ูกของเราอยา งไร ก็มคี วาม
รักค วามส งสารสตั วอยางน ัน้ เรารักช ีวิตเราอ ยา งไร คนอ น่ื และ
สัตวอ น่ื ก็รกั ช วี ิตเขาอ ยา งนน้ั เราหวาดหว่นั ตอค วามต ายอ ยา งไร
คนอืน่ และส ัตวอ ่นื กห็ วาดหว่นั ตอ ค วามตายอยางน น้ั จ ึงไมค วรฆ า
ไมควรทำลาย ไมควรท ำใหเขาไดร บั ทกุ ขไดรบั ความลำบาก
หลักการทำบญุ และปฏิบตั ิธรรมในชวี ิตประจำวัน๑๔๑
ศีลข อท ่ี ๒ ไมลกั ทรัพย ซึ่งหมายถึงไมปรารถนาส ่ิงของ
ทรัพยส มบตั ิทไี่ดม าโดยมิช อบธรรม มกี ารฉ อ โกงเบยี ดเบยี น คอ
รร ปั ชั่นแลวไดมา เปนตน เราหวงแ หนท รัพยส มบัตขิ องเรา
อยา งไร ค นอ ่นื ก็ห วง แหนทรัพยส มบตั ิของเขาอ ยา งนนั้ จ งึ ไม
ควรลักขโมยห รอื ฉอ โกงเอา ส มบตั ิคนอนื่ ม าเปน สมบตั ขิ องตน อนั
จะเปน สาเหตุทำใหเ ขาเปนทกุ ข เศรา โศกเสียใจ
ศ ลี ขอท ี่ ๓ ไมป ระพฤติผดิ จ ากครองธรรมในเรื่อง
กาม กามเปน เรือ่ งข องช าวโลก เปน ธรรมชาติข องมนุษยป ุถชุ น
ตลอดจนสัตวท กุ จ ำพวก แ ตมขี อแตกตางก ันระหวา งก ามในมนุษย
กับสัตว ตรงท มี่ นุษยมคี รองธ รรมในก ารเสพก าม ส ัตวไมมคี รอง
ธรรมในก ารเสพกาม ส ามารถแสดงกามไดไมมขี อจำกัด คอื
สัตวไ มเลอื กตวั ผูต ัวเมีย ไมเ ลือกพ่เี ลือกน อ ง ไมเลอื กพอเลอื กแ ม
ไมเ ลือกคไู หน เพราะล กั ษณะจ ติ ข องสตั วน ัน้ ไมม คี รองธรรม
เปน ขอบเขต
ครองธ รรมในกามของม นษุ ย ไดแ ก “ข อบเขตของการ
เสพกาม” ซ ่งึ พระพุทธองคก ำหนดไวใ นศีล ๕ ข อท ่ี ๓ ค ือ
มนุษยควรมีกาม แ ตเฉพาะกบั คูครองข องตน ตลอดจนไมแสดง
พฤตกิ รรมเบย่ี งเบนท างก ามผ ดิ ไปจากป ระเวณี เชน ผ ูหญิงแ สดง
กามดว ยก นั เอง ห รอื ผูชายแสดงก ามดว ยกนั เอง การมีก ามแต
๑๔๒ พระวจิ ิตรธรรมาภรณ์
เฉพาะกับคคู รองของต นแ สดงวา เขาค วบคุมค วามอยากไว ใน
กรอบแ หง ครองธ รรม ซ่งึ เปน ลกั ษณะจิต เก่ียวกับกามข องมนษุ ย
ทแี่ ทจริง ถ า ไมสามารถท ำใหจติ อ ยใู นค รองธ รรมแหงก ามได
หลงระเรงิ ไปในกามไมม ที ่สี นิ้ สดุ ไมม ีขอบเขต เรียกวา จ ติ มากไป
ดว ยกามไมมขี อบเขต ลักษณะจ ติ ที่ม ากไปด ว ยก ามไรครองธรรม
เชน นี้ ไมใ ชล ักษณะจ ิตมนุษย เขาไมส ามารถรกั ษาฐานะจิตเดิม
ของมนษุ ยไวไ ด เดินห า งจากค วามเปนม นษุ ยแ ทจ รงิ ไป แ ละเขา
ใกลจ ิตของสัตวมากเขา
ศีลขอ ท ่ี ๔ ไมโกหก ห รอื พ ดู ปด ตอแ หล สอ เสียด ซงึ่
แสดงถ งึ ความเปนค นไมซอ่ื สัตยส จุ รติ ไมมั่นคง กลบั กลอก
ศีลขอท่ี ๕ ไมด่มื นำ้ เมาอันก อ ใหเ กดิ ค วามผิดพลาด
ในการ ค รองส ติ อ าจเปนผลทำใหล ืมตัว เปนสาเหตุในการ
กระทำความผิดอ ยา งรายแ รงจนไมส ามารถแ กไขได การดืม่
น้ำเมารวมถึงส ่ิงเสพตดิ ทั้งหลายทงั้ ปวง นอกจากจ ะม ีผ ลโดย
ตรงตอส ต ิ ซงึ่ เปนสว นท ่รี กั ษาจ ิตใหม นั่ คงแ ลว การด่มื น้ำเมา
และส ิง่ เสพติดตางๆ ยงั ม ีผลตอ รางกาย เปน ท ี่มาข องโรคราย
ด วย ลักษณะของจ ิตที่หลงม ัวเมาเต็มไปดวยโมหะ ม ิใชล กั ษณะ
จิตมนุษย จงึ เปน จิตท ่ีเขาใกลส ตั วเดรัจฉาน
หลกั การทำบุญ และปฏิบตั ธิ รรมในชวี ิตประจำว๑ัน๔๓
สวนโทษท ่ีเกิดจากการลว งละเมิดศีล ๕ น ้ัน ไดกลาวไวแ ลว
ในจดหมายฉบับกอ นๆในท ่นี ้จี ะไมขอน ำมาก ลา วอ กี
กลาวโดยสรปุ ศ ีล ๕ น ัน้ เปนค ุณธรรมเบ้ืองตนของค วาม
เปนมนษุ ย เมอื่ มนษุ ยเรม่ิ บ ังคับต นใหรักษาศลี ๕ ไดแ ลว คุณธรรม
ขั้นสงู อ่ืนๆกจ็ ะตามมา ในขณะเดียวกันทางม าแ หง บ าปกรรมอื่นๆ
ก็จะเบาบางลงจนสามารถป ดกนั้ บาปกรรมไดในท ่ีสุด เชน ก าร
ชอบเลนพนนั ก ารช อบเท ่ยี วผูหญงิ การ เท ่ียวเตร ความ
เยอ หยง่ิ จ องหอง ค วามถ อื ตวั อ วดดี อวดเกง ค วามดูหม่ินผ ูอ ่ืน
ความอ วดด ื้อถ ือดี เปน ตน เขาจะเริม่ รดู วยต ัวเขาเองวา ส ่ิง
เหลา นี้ไมด เี ปน โทษ ค วรงดเวน ไมค วรใหเกิดขึ้นในจิตใจ
ถารักษาศลี ไดมากเทา ไร ระดับจ ิตกจ็ ะสูงขนึ้ เหมาะแ ก
โลกมนุษย ห รอื ส วรรคช ั้นน ั้นๆ ห ากทำไดน อยระดับจิตก ต็ ่ำลง
เหมาะแ กจิตข องสตั ว เปรต อสรู ก าย และส ตั วนรกโดยลำดบั
โลกข องส รรพสัตวท ั้ง ๓ ตามค ติทางพทุ ธศาสนามี
รายละเอยี ดพ อจ ะสรปุ ได ดงั นี้
๑๔๔ พระวจิ ติ รธรรมาภรณ์
สตั วโ ลก
และการท องเท ี่ยวไปในโลกเบื้องตำ่
สัตวโลกนับวา เปนโลกเบือ้ งตำ่ เปนภพภ ูมิข องส ตั วท่ี
มืดบอด ท างด านจติ ไมมปี ญ ญา ไมม ีเมตตา ดำเนินชีวติ ดว ย
สัญชาตญาณ เม่อื หิวกเ็ขน ฆาย ื้อแยง เมื่ออิ่มกน็ อน ผ ทู ไี่ มม ี
ศีล ๕ ซ่งึ เปน ลักษณะจิตของม นุษยมักจ ะเกิดและท อง เทย่ี ว
ไปในภ พภ ูมเิ บ้ืองต่ำน้ี
ภพภ มู เิบื้องต่ำ ป ระกอบดว ย ๔ ภูมิ ค อื
๑ .ตริ ัจฉานภูมิ โลกของสตั วเดรจั ฉาน
๒.เปตติวสิ ยภ ูมิ โลกข องเปรต
๓.อสรุ กายภ ูมิ โลกข องอสรู ก าย
๔ .นริ ยภมู ิ โลกของสตั วน รก
ท้งั ๔ ภ ูมนิ ้ี พระพทุ ธองคสอนใหหลกี เลย่ี ง เพราะเปนภมู ิ
ทม่ี ืดมน มืดเพราะไมมีกำลงั ส ตปิ ญญา ทจ่ี ะคดิ อานท ำบญุ ท ำกุศล
มโี อกาสท ำความด ไีดนอ ย แตม ีโอกาสทำบาปทุก ล มห ายใจ เมอ่ื
ไปเกิดในภ พภ ูมชิ ้นั ตำ่ แลว การจ ะพ นเปน เรอื่ งยาก เพราะค วามที่
ภพชาตปิ กปด ไวไมใ หคิดทจี่ ะพนไปจ ากภพชาตินัน้
หลักการทำบญุ และปฏบิ ัตธิ รรมในชีวติ ประจำว๑ัน๔๕
จะยกตัวอยา งใหเ หน็ งา ยๆ เชน เกิดเปนเสือ ก ารท่ี
เสอื จ ะงดเวนจากก ารลา เนอ้ื เปนอ าหาร เพ่อื ทจ่ี ะพ นจ ากการ
เปนเสอื ในภ พชาตติ อ ไป เปน เรอ่ื งย าก ส ง ผลใหเกิดเปน
สัตวเดรัจฉาน ก็จะเปน สตั วเ ดรัจฉานตอ ไปอกี หลายรอ ยชาติ
จนกวาจ ะพ นจ ากกรรม ค ือ จนกวาก ารย ดึ ติด (ห ลง) ในภพ
ชาตสิ ตั วจ ะเบาบางลง จึงจ ะเปลี่ยนภพช าติใหม ไปเกิดเปน
ส่ิงอ่ืน ตามกำลังบญุ ก ุศล
เราค งเคยไดย นิ ไดฟง พ ระสงฆเทศนวา ค นทำกรรมอยาง
น้นั ๆต ายแลวจะไปเกิดเปน ห มู ห มา ก า ไก เทา น น้ั ช าติเทาน้ี
ชาติ เมือ่ กอนคิดไมไ ดวา ทำไมเกิดเปน ไกแลว ต อ งเกดิ เปน ไกซำ้
อกี ค ร้งั แลว ค รง้ั เลา บ ดั นเ้ีรม่ิ เขา ใจ คำวา “อ ปุ าทาน”
การยึดติดมากขึ้นเพราะอาศัยกรรมและการหลงยึดติดในภพชาติ
ดังกลา ว จ ึงน ำไปสูการเกิดเปน สัตวช นิดน ัน้ ๆบอยๆ
พอจะก ลา วใหเ หน็ เปนต ัวอยา งไดวา ผูท่ีเกิดเปน ค นก ไ็มม ี
ใคร อ ยากต ายจ ากความเปน ค น เกิดเปนส นุ ัขก ไ็ มม ีสุนขั ต วั ไหน
อยากต ายจ ากความเปนส ุนขั โดยท ีส่ ดุ แ มส ตั วตวั เล็กตวั นอย
อยางม ด ป ลวก ยุง หรือ แ มลงวนั ก ไ็ มอยากตายจากช าตมิ ด
ชาตปิ ลวก ช าตยิ ุง และช าตแิ มลงวัน เชน เราจ ะตยี ุงมนั
ก็บินหนี ท่ีบนิ หนีกเ็ พราะม ันก ลวั ว า มนั จ ะตายจ ากความเปน ยงุ
เกดิ ช าติหนา ม ันกเ็ ปน ยุงอีก เพราะอ ปุ าทาน ค อื ก ารห ลง
ยึดติดค ิดไปว า ชาตยิ ุงด ี
๑๔๖ พระวจิ ติ รธรรมาภรณ์
คนเรากเ็ หมือนก ัน ท ี่เราเกดิ เปนคนชาติแลวช าติเลา เวยี น
วาย ต ายเกดิ อยูเ ชนนี้ก็อาศัยการท ี่เรามอี ุปาทานห ลงยดึ ตดิ ไป
วา ชาตคิ นดเี ลิศ ประเสริฐ จึงไมอ ยากต ายจากค วามเปน คน ท ี่
เราต อ งด นิ้ รนขวนขวายจ นสายตัวแทบขาด กเ็ พราะก ลัวจ ะต าย
จากค วามเปนชาตคิ น หรือแ มกระทง่ั ส ตั วท้ังหลาย เชน ห ม า
กา ไก เปน ตน ท ี่มันไมย อมอดตาย ก เ็ พราะมันก ลวั จะต ายจาก
ความเปนช าตหิ มา เนือ่ งจากหลงคิดวาช าตหิ มาด ีน ัน่ เอง
หากไม่มีบุญหรือกรรมอยา่ งอ่นื มาตดั รอนขดั ขวาง ก็จะทำใ
หก้ ลับชาตมิ าเกดิ เป็นชาตคิ นหรอื ชาติหมาเหมือนเดมิ
อยา งน ้ีเรียกวา มีความมืดบอด คือ มีอวชิ ชาค วามไมร ู
ปกปดส ตปิ ญ ญาไว เกดิ อ ปุ าทานการย ึดตดิ ไมใ หคิดหาท างออก
ไปจากค วามเปนมด ความเปน ป ลวก ค วามเปนส ุนัข ค วามเปน
คน ความเปนเทวดา ห รอื แ มก ระทงั่ จากความเปนพ รหม
หลักการทำบญุ และปฏบิ ตั ธิ รรมในชีวิตประจำวัน๑๔๗
ม นษุ ยโลก โลกข องค วามเปน ม นษุ ย
มนุษยโลกเปนภพภูมิชั้นกลางท่ีสัตวทองเที่ยวเวียนวายตาย
เกดิ เปนภ พภ มู ิข องผ ทู ่บี ำเพญ็ บญุ กุศล คอื ใหทาน รักษาศลี
บำเพ็ญ ส มาธภิ าวนาตามสมควรแกฐานะ สำหรับม นษุ ยโลกคง
ไมต องก ลาวใหก วางขวางออกไป เพราะเรารูก นั ดีอ ยูแลว วา เปน
อยา งไร
ในท ี่นี้จะขอ ก ลา วแ ตเพยี งทท่ี า นจำแ นกมนุษยไวเปน ๔
ประเภท คอื
(๑ )ม นษุ ยนรก จำพวกคนท ี่มคี วามเปน อยูท ุกขท รมาน
คนท ่ัวไป อยบู านอ ยูเรือน แตเขาก ลบั ถูกจองจำ ติดคกุ ตดิ ตาราง
ถกู ลงโทษทรมานแ สนสาหัส
(๒)มนุษยเปรต จ ำพวกคนท่เีปน อ ยลู ำบากอัตคัดข ัดสน
แสวงหาขา วป ลาอาหาร ก วา จะไดมาพ อป ระทงั ช วี ติ ก็แสน
จะลำบากฝดเคือง ข ยนั ห าจ นส ายตวั แ ทบข าด ก็ไมพออ ยูพอก นิ
มแี ตค วามอ ดอยากยากแคน
(๓ ) ม นุษยเ ดรัจฉาน จ ำพวกค นท ่ตี องอาศยั คนอืน่ จ ึงจะ
ดำรงชวี ติ อ ยไู ด ไมม สี ตปิ ญ ญาพ อท ี่จ ะค ิดท ำมาห าเลี้ยงชพี ดวยตน
เองในการป ระกอบอาชพี ก ส็ ดุ แ ทแ ตว าเขาจะใหท ำอ ะไร จะชอบ
ใจหรือไมชอบใจ ก ต็ องก ม หนาท ำไป เหมอื นหมู ห มา ก า ไก วัว
ควาย บ า งค รงั้ บ างคราวก ็ดรุ า ยเหมอื นสตั วเดรจั ฉาน
๑๔๘ พระวจิ ิตรธรรมาภรณ์
(๔ ) มนุษยภ ูต เปนม นษุ ยจำพวกท่เี ปนคนจรงิ ๆ รจู ักบ าป
บญุ คณุ โทษ รูวา อ ะไรถกู อ ะไรผ ดิ อ ะไรควรทำไมควรท ำ มี
สตปิ ญญาในการประกอบอ าชีพ
ความแตกตางของมนุษยขึ้นอยูกับบุญและกรรมของ
แตละบคุ คล
เทวโลก โลกของผูเขาถงึ
ค วามเปนเทวดา อันนบั เนือ่ งในส วรรค
เทวโลกน นั้ แบงออกไปอ ีกเปน ๒ ระดับ ค อื โลกของเทวดา
เรยี กวา “ส วรรค” และโลกข องพรหม เรยี กวา “พ รหมโลก”
ส วรรคเ ปน ภ พภมู ทิ ม่ี คี วามวจิ ิตรแตกตา งกนั ไปตามบ ญุ กศุ ล
ของผทู ีไ่ ปเกิดบ นสวรรคชนั้ น น้ั ๆสวรรคเปนท อ่ี ยูข องเทวดาม อี ยู ๖
ชัน้ ดงั นี้
หลกั การทำบญุ และปฏิบตั ิธรรมในชวี ิตประจำวัน๑๔๙
จาตุมหาราชกิ าภ ูมิ โลกของเทวดาช น้ั ท่ี ๑
เทวโลกชน้ั น ้มี ที าวมหาราชท ง้ั ๔ เปน ใหญปกครองเทพใน
ทิศท้งั ๔ เราเรียกเทวดาท ้งั ๔ ทา นนวี้ า “ทา วจตุโลกบาล”แปลวา
เทวดาท ้งั ๔ ผ ดู แู ลโลก ทา วม หาราชท้ัง ๔ นเี้อง เม่ือพ ระพุทธเจา
ตรัสรใู หมๆ ไดน อมนำบาตรม าถวายพระพทุ ธเจา เพื่อรับอาหาร
ม้อื แ รกจ ากตปุสสะ และภ ัลลิกะ ส องพ อคาวาณชิ ท่เี ดนิ ทาง
ผานมาพ บพ ระพุทธเจาห ลงั ก ารตรสั รู ต อนแรกท า วม หาราชได
นอมนำบ าตรท่ที ำดว ยแกวมรกตม าถวาย แ ตพ ระพุทธเจา ไมทรง
รับ จะเพราะเหตุไรไมอ าจทราบได อาจทรงเห็นวาเปน ของมคี า
มากเกินไป ไมเหมาะสำหรบั นักบวชอยางพ ระองคก ็ได จากนนั้ ได
นอ มนำบาตรท ่ีทำดวยศ ิลาม าถวาย พ ระพทุ ธเจา ของเราจึงทรง
รับไว ท า วมหาราชท ัง้ ๔ นำบาตรม าอ งคละใบ รวมเปน ๔ ใบ
แลวพระพุทธองค ไดอ ธษิ ฐานประสานใหเ หลือเพียงใบเดียว
ในย ุคห ลังจึงน ิยมท ำบาตร ใหม ีรอยตะเขบ็ แบง เปน
สว นๆเหน็ จ ะถอื ค ตมิ าจากก ารป ระสานบาตรศลิ า ๔ ใบใหเหลือ
ใบเดียวของพระพทุ ธองคน้กี ระมงั
เรอ่ื งท้งั หมดน อี้ ยูในคมั ภีรท างศาสนา อาตมาน ำม าเลา
ใหโ ยมแมใหญฟง อาจดูเปน เร่ืองนาอ ศั จรรย แตก เ็ ปนเรื่องท ่ี
ถูกบันทึกไวจ รงิ โดยพระส งฆส มยั พ ระพุทธเจา
๑๕๐ พระวจิ ิตรธรรมาภรณ์
เทวดาท อ่ี ยูเ ทวโลกช ัน้ จาตุมหาราชิกาน ี้ มคี วามใกลช ิด
กับมนษุ ยม ากท ีส่ ุด มคี วามเปน อ ยูคลายมนษุ ย และใหคณุ ใหโทษ
แกม นุษยไดงาย ชื่อเทวดาช ้ันนที้ เ่ี ราค นุ หูมาก ค อื พระภูมเิ จา
ที่ เทวาอ ารกั ษ รุกขเทวดา อากาสเทวดา ท าวจ ตุโลกบาล
ยมฑูต พ ระยายม พระยายมราช ฯ ลฯ แ ลว แ ตเราจ ะเรยี กก นั
เกย่ี วกบั เทวดาในชัน้ น ี้ ม ีเร่อื งเลาอยูใ นพระไตรปฎ ก วา
พระภกิ ษุรปู หนง่ึ จ ะต ัดต น ไม ที่เปน วิมานข องรุกขเทวดาตนหนง่ึ ไป
สรา งกุฎี เทวดาห า มวา “ทานตองการจ ะท ำท อี่ ยทู า น กอ็ ยาได
ทำลายท่ีอ ยูข องเราเลย” พระภกิ ษรุ ปู น ้นั ไมใ สใจค ำรองขอข อง
เทวดา ไดตัดต นไมลง แ ละ ฟน แขนทารกล กู ของเทวดานน้ั ข าด
เทวดาคดิ จ ะต บ ภิกษุน้ันใหต ายคามอื ก็กลบั ไดค ิดวาจะเปนบ าป
นอกจากนั้น กจ็ ะไมไดเ ขา ไปท ป่ี ระชมุ เทวดาทุกๆ ๑๕ วนั
วาก ันวา รุกขเทวดาก ม็ ีรุกขธ รรมท ี่ประพฤตริ วมกนั รุกขธ รรม
หรอื ธ รรมะของรุกขเทวดาทีว่ า น ั้นก ็คือ ถา ตนไมซ ่งึ เปน วมิ าน
ของเทวดาถ ูกมนษุ ยต ดั ก ็จะไมโ กรธ ไมค ดิ รายต อ ผตู ัด
หากรุกขเทวดาตนใดโกรธ และทำรา ยผ ทู ำลายวมิ านของต น ก็จะ
ไมไ ดเขาสูท ีป่ ระชมุ ของรกุ ขเทวดา
นเ้ี ปน รกุ ขธ รรมของรกุ ขเทวดา