149
วศนิ อินทสระ
“ภกิ ษทุ งั้ หลาย มหาสมทุ รแมจ้ ะมนี ำ้� มากอยา่ งไรกไ็ มล่ น้ ฝง่ั
คงรกั ษาระดบั ไว้ได้ฉันใด ในธรรมวนิ ัยนกี้ ็ฉนั น้ัน ภิกษสุ าวกของ
เรายอ่ มไมล่ ว่ งละเมดิ สกิ ขาบททเ่ี ราบญั ญตั ไิ ว ้ แมจ้ ะตอ้ งลำ� บาก
ถงึ เสียชวี ิตกต็ าม
“ภิกษุท้ังหลาย มหาสมุทรย่อมซัดสาดซากศพท่ีตกลงไป
ข้ึนฝั่งเสีย ไม่ยอมให้ลอยอยู่นานฉันใด ในธรรมวินัยก็ฉันนั้น
สงฆ์ย่อมไม่อยู่ร่วมด้วยภิกษุผู้ทุศีลมีใจบาป มีความประพฤติ
ไมส่ ะอาดนา่ รงั เกยี จ มกี ารกระทำ� ทต่ี อ้ งปกปดิ ไมใ่ ชส่ มณะปฏญิ าณ
ตนวา่ เปน็ สมณะ ไมใ่ ชพ่ รหมจาร ี เปน็ คนเนา่ ใน รงุ รงั สางไดย้ าก
เหมอื นกองหยากเยอ่ื สงฆป์ ระชมุ พรอ้ มกนั แลว้ ยอ่ มขบั ภกิ ษนุ นั้
ออกเสยี จากหม ู่ ภกิ ษเุ ชน่ นน้ั แมจ้ ะนง่ั อยทู่ า่ มกลางสงฆ ์ กช็ อ่ื วา่
อยหู่ า่ งไกลจากสงฆ ์ และสงฆก์ ช็ อื่ วา่ อยหู่ า่ งไกลจากภกิ ษเุ ชน่ นน้ั
“ภิกษุท้ังหลาย แม่น�้ำสายต่างๆ ย่อมหลั่งไหลลงสู่มหา-
สมุทร และเม่ือไปรวมกับน�้ำในมหาสมุทรแล้ว ย่อมละช่ือเดิม
ของตนเสีย ถึงซ่ึงการนับว่ามหาสมุทรเหมือนกันหมดฉันใด ใน
ธรรมวนิ ยั นก้ี ฉ็ นั นน้ั กลุ บตุ รผมู้ ศี รทั ธาปรารถนาจะออกบวชจาก
ตระกูลต่างๆ วรรณะต่างๆ เช่น วรรณะพราหมณ์บ้าง กษัตริย์
บา้ ง ไวศยะบา้ ง คนเทหยากเยอื่ บา้ ง จณั ฑาลบา้ ง แตเ่ มอ่ื มาบวช
ในธรรมวนิ ยั นแ้ี ลว้ ละวรรณะ สกลุ และโคตรของตนเสยี ถงึ ซง่ึ
การนบั ว่าสมณศากยบตุ รเหมือนกันหมด
“ภกิ ษทุ งั้ หลาย ความพรอ่ งหรอื ความเตม็ เออ่ ยอ่ มไมป่ รากฏ
แก่มหาสมุทร แม้พระอาทิตย์จะแผดเผาสักเท่าใด น้�ำในมหา-
1พ5ทุ 0ธอุทาน
สมทุ รกห็ าเหอื ดแหง้ ไปไม ่ แมแ้ มน่ ำ�้ สายตา่ งๆ และฝนจะหลง่ั ลง
สู่มหาสมุทรสักเท่าใด มหาสมุทรก็ไม่เต็มฉันใด ในธรรมวินัยน้ี
ก็ฉันนั้น แม้จะมีภิกษุเป็นอันมากนิพพานไปด้วยอนุปาทิเสส-
นพิ พานธาต ุ แตน่ พิ พานธาตกุ ค็ งอยอู่ ยา่ งนนั้ ไมพ่ รอ่ งไมเ่ ตม็ เลย
แม้จะมีผู้เข้าถึงนิพพานอีกสักเท่าใด นิพพานก็คงมีให้ผู้น้ันอยู ่
เสมอ ไมข่ าดแคลน ไม่คับแคบ
“ภิกษุท้ังหลาย มหาสมุทรมีภูตคือสัตว์น้�ำเป็นอันมาก ม ี
อวัยวะใหญ่และยาว เช่น ปลาติมิ ปลาติมิงคละ ปลาวาฬ
เป็นต้นฉันใด ในธรรมวินัยนี้ก็ฉันน้ัน มีภูตหรือพระอริยบุคคล
เป็นจ�ำนวนมาก มีพระโสดาบันบ้าง พระสกทาคามีบ้าง พระ
อนาคามีบา้ ง พระอรหนั ต์บ้าง จ�ำนวนมากหลายเหลอื นบั
“ภิกษุท้ังหลาย มหาสมุทรมีนานารัตนะ เช่น มุกดา มณ ี
ไพฑูรย์ เป็นต้น ฉันใด ในธรรมวินัยก็ฉันนั้นมีนานาธรรมรัตนะ
เชน่ สตปิ ฏั ฐาน ๔, สมั มปั ปธาน ๔, อทิ ธบิ าท ๔, โพชฌงค ์ ๗,
มรรคมอี งค ์ ๘ เป็นต้น
“ภิกษุทั้งหลาย น�้ำในมหาสมุทรย่อมมีรสเดียวคือรสเค็ม
ฉันใด ธรรมวินัยนี้ก็ฉันนั้นมีรสเดียวคือวิมุตติรส หมายถึงความ
หลุดพ้นจากกิเลสเป็นจุดมุ่งหมายส�ำคัญแห่งพรหมจรรย์ที่เรา
ประกาศแลว้ ”
เม่ือตรัสความอัศจรรย์แห่งพระธรรมวินัย ๘ ประการจบ
แลว้ ไดท้ รงเปล่งอุทานในเวลานนั้ ว่า
151
วศนิ อนิ ทสระ
“ฝนคอื กเิ ลสย่อมร่วั รดภิกษุผปู้ กปิดอาบตั ิไว ้
แตย่ ่อมไม่รัว่ รดภกิ ษผุ เู้ ปดิ เผยอาบัตแิ ล้ว
เพราะฉะนน้ั ภกิ ษุพงึ เปดิ เผยอาบตั ทิ ี่ปกปิดไว ้
ฝนคือกเิ ลสกจ็ ะไมร่ ว่ั รด”
อธิบายความ
ทพ่ี ระอานนทท์ ลู ขอใหพ้ ระผมู้ พี ระภาคทรงแสดงปาตโิ มกข์
นนั้ หมายถงึ พระโอวาทปาตโิ มกขไ์ มใ่ ชภ่ กิ ขปุ าตโิ มกข ์ ซง่ึ หมาย
ถึงการสวดวินัย ๒๒๗ ข้อ ซ่ึงภิกษุประชุมท�ำกันทุกก่ึงเดือน
มาจนถึงบดั นี้
เรอ่ื งความอศั จรรยข์ องพระธรรมวนิ ยั ๘ ประการเทยี บดว้ ย
ความอศั จรรยแ์ หง่ มหาสมทุ รนนั้ เปน็ พระพทุ ธพจนท์ น่ี า่ สนใจยง่ิ
ภกิ ษุบรษิ ทั ควรตระหนกั ใหม้ าก
พระพทุ ธอทุ านทเ่ี กยี่ วกบั การปกปดิ อาบตั แิ ละการเปดิ เผย
อาบตั นิ นั้ เปน็ พระพทุ ธพจนท์ ภี่ กิ ษบุ รษิ ทั ควรใหค้ วามสนใจและ
ให้ความส�ำคัญ เม่ือต้องอาบัติใดแล้วควรรีบปลงอาบัติน้ันเสีย
หรอื ท�ำวธิ ีออกจากอาบตั ิตามทท่ี รงบญั ญตั ไิ ว้ มฉิ ะนน้ั แลว้ กเิ ลส
จะเพ่มิ พูนขน้ึ เหมือนฝนรั่วรดบ้านเรอื นทห่ี ลังคาไมด่ ี
๔๐
พระพุทธอุทาน เรื่อง
ผูไ้ ม่ยนิ ดีในบาป
(โสณสตู ร)
ความเบอ้ื งต้น
ครงั้ หนง่ึ พระมหากจั จานะอยทู่ ปี่ วฏั ฏบรรพต เมอื งกรุ รุ ฆระ
แค้วนอวันตี ครั้งน้ันมีอุบาสกคนหนึ่งช่ือโสณะ โกฏิกัณณะ
เลื่อมใสท่านพระมหากัจจานะ เป็นอุปัฏฐากท่าน วันหนึ่งอยู่
ในที่สงัด คิดว่าการอยู่ครองฆราวาสจะประพฤติพรหมจรรย์ให้
บริสุทธิ์บริบูรณ์เป็นสิ่งท่ีท�ำได้ยาก ไฉนหนอเราจะพึงบวช เขา
เขา้ ไปหาพระมหากจั จานะ เรยี นใหท้ า่ นทราบถงึ ความคดิ นนั้ และ
ขอบวชในส�ำนักของท่าน พระมหากัจจานะกล่าวว่า ชีวิตของ
ผู้บวชเป็นอยู่ยาก ต้องฉันอาหารหนเดียวและอ่ืนๆ ไม่สะดวก
สบายเหมือนเป็นคฤหัสถ์ เพราะฉะน้ันขอให้โสณะเป็นอยู่อย่าง
เดิมเถิด อยา่ บวชเลย
153
วศิน อินทสระ
ในครั้งต่อมาและต่อมา โสณอุบาสกได้เข้าไปอ้อนวอน
พระมหากัจจานะเช่นน้ันอีก เป็นคร้ังที่ ๔ พระเถระจึงยอมรับ
ใหอ้ ปุ สมบท แตเ่ นอื่ งจากทก่ี รุ รุ ฆระนนั้ มภี กิ ษอุ ยนู่ อ้ ย คอยอยถู่ งึ
๓ ปีจึงรวบรวมภิกษุได้ ๑๐ รูปพอท�ำการอุปสมบทได้ เม่ืออุป-
สมบทแล้ว วันหน่ึงพระโสณะคิดว่า เราเคยได้ยินแต่กิตติศัพท ์
ของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ แตย่ งั ไมเ่ คยไดเ้ ขา้ เฝา้ เลย ปรารถนาจะ
ไปเขา้ เฝา้ พระศาสดา จงึ กราบเรยี นความคดิ นน้ั ใหพ้ ระมหากจั จานะ
ทราบ พระเถระเห็นดีด้วย อนุโมทนา ขอให้ทูลถามถึงพระ
สขุ ภาพของพระผมู้ พี ระภาคในนามของทา่ น ภกิ ษโุ สณะเมอื่ ไดร้ บั
อนญุ าตจากพระอปุ ชั ฌายแ์ ลว้ จงึ ออกเดนิ ทางไปยงั เมอื งสาวตั ถ ี
เขา้ เฝา้ พระพุทธเจา้ ณ วดั เชตวัน
พระผมู้ พี ระภาคตรสั ถามถงึ การเดนิ ทาง อาหารบณิ ฑบาต
ว่าพอเป็นไปได้หรือไม่ พระโสณะกราบทูลว่าพอเป็นไปได ้
ไม่ล�ำบาก พระศาสดารับสั่งให้พระอานนท์จัดเสนาสนะให ้
พระโสณะพกั อยใู่ นทเ่ี ดยี วกบั ทปี่ ระทบั ของพระองค์ ในปฐมยาม
และมัชฌิมยาม พระพุทธองค์และพระโสณะน่ังพักอยู่ในท่ีแจ้ง
(อพั โภกาส) เมอ่ื ปจั ฉมิ ยามจงึ เสดจ็ เขา้ พระคนั ธกฎุ พี รอ้ มกบั พระ
โสณะ ตอนใกล้รุ่งรับส่ังให้พระโสณะแสดงธรรมโดยสรภัญญะ
(เป็นการสวดวิธีหน่ึง เอื้อนเสียงเพียงเล็กน้อยพอเป็นท�ำนอง)
พระผมู้ พี ระภาคทรงพอพระทยั เมอ่ื ทรงตงั้ เอตทคั คะ (ความเปน็
ผู้เลิศ) ทรงตั้งให้พระโสณโกฏิกัณณะเป็นเอตทัคคะในทางกล่าว
ธรรมโดยท�ำนองสรภัญญะได้ไพเราะ มีเอตทัคคบาลีดังน ้ี
1พ5ทุ 4ธอุทาน
เอตทคคฺ ํ ภกิ ขฺ เว มม สาวกาน ํ ภกิ ขฺ นู ํ กลยฺ าณวากกฺ รณาน ํ ยททิ ํ
โสโณกฏุ ิกณฺโณ (๒๐/๓๑)
ทรงปรารภเรอ่ื งพระโสณะน้ี ทรงเปลง่ อุทานว่า
“เพราะได้เหน็ โทษในโลก เพราะได้รูธ้ รรมท่ไี ม่มอี ปุ ธิ
พระอรยิ เจา้ จงึ ไมย่ นิ ดใี นบาป ผสู้ ะอาดยอ่ มไมย่ นิ ดใี นบาป”
อธบิ ายความ
พระมหากจั จานะ บางแหง่ กเ็ ปน็ พระมหากจั จายนะ ถนิ่ เดมิ
ทา่ นอยทู่ นี่ ครอชุ เชน ี แควน้ อวนั ต ี เคยเปน็ ราชปโุ รหติ ของพระเจา้
จัณฑปัชโชตได้รับการยกย่องจากพระศาสดาว่า เป็นเอตทัคคะ
ในทางขยายธรรมให้พิสดารคือหมายความว่า เมื่อพระผู้มีพระ
ภาคเจ้าตรัสธรรมใดแต่โดยย่อ ภิกษุท้ังหลายยังไม่ค่อยเข้าใจจะ
พากนั ถามพระมหากจั จานะ ทา่ นจะอธบิ ายใหเ้ ขา้ ใจ แมก้ ระนนั้
ทา่ นกย็ งั ถอ่ มตนวา่ ถา้ ทา่ นทงั้ หลายยงั ไมแ่ นใ่ จกข็ อใหไ้ ปทลู ถาม
พระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด เมื่อภิกษุทั้งหลายพากันไปทูลถามพระ
ผมู้ พี ระภาค พระพทุ ธองคก์ จ็ ะตรสั วา่ “พระมหากจั จานะอธบิ าย
ถกู ตอ้ งแลว้ ถา้ พระองคอ์ ธบิ ายกจ็ ะอธบิ ายเหมอื นกบั ทพี่ ระมหา
กัจจานะอธิบายแล้ว” ดังน้ีเสมอพระเถระจึงได้รับการยกย่องให ้
เปน็ เอตทคั คะทางการขยายธรรม ดงั พระพทุ ธพจนท์ ว่ี า่ เอตทคคฺ ํ
ภกิ ขฺ เว มม สาวกานภํ กิ ขฺ นู ํ สงขฺ ติ เฺ ตน ภาสติ สสฺ วติ ถฺ าเรน อตถฺ ํ
วิภชนตฺ าน ํ ยทิท ํ มหากจจฺ าโน (๒๐/๓๑)
155
วศนิ อินทสระ
พระโสณโกฏกิ ณั ณะกวา่ จะไดอ้ ปุ สมบทตอ้ งรออยถู่ งึ ๓ ป ี
จึงได้ภิกษุมีจ�ำนวนมากพอท่ีจะท�ำการอุปสมบทได้ คือ ๑๐ รูป
ขนึ้ ไป (ทสวรรค) พระพทุ ธเจา้ ทรงเหน็ ความลำ� บากในเรอื่ งน ี้ จงึ
ทรงผ่อนปรนพระพุทธบัญญัติลงมาว่า ส�ำหรับชนบทที่ห่างไกล
ภิกษุ ๕ รูป (ปัญจวรรค) ก็สามารถท�ำการอุปสมบทได้ เร่ืองน้ี
เปน็ เรอื่ งหนงึ่ ทแ่ี สดงถงึ นำ้� พระทยั ทเ่ี ปย่ี มดว้ ยพระเมตตาและการณ-
วสกิ ตาคณุ (ผอ่ นปรนตามเหตุการณ)์ ของพระศาสดา
เก่ียวกับพระพุทธอุทานในที่น้ี ตรัสถึงการได้เห็นโทษของ
โลก และการไดร้ ธู้ รรมอนั เปน็ ทด่ี บั กเิ ลส เปน็ เรอื่ งยง่ิ ใหญข่ องคน
ในโลก เพราะว่าคนในโลกส่วนมากไม่เห็นโทษของโลก ซ่ึงมีอยู่
มากมายสุดท่ีจะพรรณนาได้ โทษของโลกแสดงตัวออกมาเป็น
ความทุกข์ของชาวโลก เช่น ความทุกข์ในเรื่องการท�ำมาหากิน
ความทกุ ขเ์ พราะตอ้ งแกต่ อ้ งเจบ็ ดว้ ยโรคตา่ งๆ ความทกุ ขเ์ พราะ
ถกู กเิ ลสเผาใหร้ ้อน เป็นตน้ ในทบี่ างแห่งจงึ ตรสั ว่า
“ร่าเริงอะไรกันนัก เพลิดเพลินอะไรกันนัก ในเม่ือโลกน ี้
ถกู เพลงิ โหมอยโู่ ดยทวั่ อยเู่ ปน็ นติ ย ์ ทา่ นทง้ั หลายถกู ความมดื คอื
โมหะห่อหุ้มแล้ว ทำ� ไมจึงไมแ่ สวงหาดวงประทีปคอื ญาณเล่า”
(ธรรมบท)
การรธู้ รรมอนั เปน็ ทด่ี บั กเิ ลส ควรเหน็ เปน็ เรอื่ งสำ� คญั ยง่ิ ใหญ ่
ของมนษุ ย ์ เพราะกเิ ลสเปน็ ศตั รหู มายเลข ๑ ของมวลชน กเิ ลส
1พ5ทุ 6ธอทุ าน
เป็นเหตุให้ท�ำบาปกรรมมีผลเป็นทุกข์ ชาวโลกไม่ค่อยตระหนัก
วา่ บาปหรอื ความช่ัวเป็นสาเหตสุ ำ� คญั ของความทุกข์ พระพทุ ธ
องค์จึงตรัสว่า “พระอริยะไม่ยินดีในบาป ผู้มีใจสะอาดก็ไม่ยินด ี
ในบาป” บาปมีผลน่ากลัว บญุ มีผลน่ารกั น่ายินดี พระพุทธองค ์
จงึ ตรสั วา่ “การสง่ั สมบาปเปน็ เหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ข์ การสง่ั สมบญุ เปน็
เหตุใหเ้ กิดสขุ (ทุกโฺ ข ปาปสฺส อุจจฺ โย สโุ ข ปุญฺญสสฺ อจุ ฺจโย)”
๔๑
พระพุทธอุทาน เรื่อง
คนดที ำ� ดีได้งา่ ย
(อานันทสตู ร)
ความเบือ้ งตน้
วันหนึ่งพระอานนท์เข้าไปบิณฑบาตในเมืองราชคฤห์ ได้
พบกับพระเทวทตั พระเทวทัตได้กลา่ วกับพระอานนท์ว่า ตงั้ แต่
บัดน้ีเป็นต้นไปจะไม่ท�ำอุโบสถสังฆกรรมร่วมกับภิกษุทั้งหลาย
ท่ีเป็นบริวารของพระผู้มีพระภาค แต่จะท�ำอุโบสถสังฆกรรม
กับภิกษุท้ังหลายซ่ึงเป็นฝักฝ่ายของตน พระอานนท์กลับจาก
บิณฑบาตแล้ว ฉันอาหารแล้วเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคที่วัด
เวฬุวัน กราบทูลเรื่องน้ันให้ทรงทราบ พระพุทธองค์ทรงเปล่ง
อทุ านวา่
“คนดที �ำดไี ดง้ า่ ย ทำ� ชว่ั ไดย้ าก คนชว่ั ท�ำชวั่ ไดง้ า่ ย ทำ� ดไี ด ้
ยาก พระอรยิ เจ้าทัง้ หลายท�ำความชั่วไดย้ าก”
1พ5ทุ 8ธอุทาน
อธิบายความ
พระเทวทัตได้เคยพยายามเพ่ือปลงพระชนม์พระผู้มีพระ
ภาค ดว้ ยการกลงิ้ ศลิ าลงมาเพอ่ื ใหท้ บั พระศาสดาทภ่ี เู ขาคชิ ฌกฏู
แต่สะเก็ดศิลากระเด็นมาถูกน้ิวพระบาทจนพระโลหิตห้อ ท่าน
กล่าวว่า ใครๆ ไม่สามารถท�ำพระโลหิตให้ออกจากพระวรกาย
ของพระพทุ ธเจา้ ได ้ เพยี งเทา่ นพ้ี ระเทวทตั กไ็ ดท้ ำ� อนนั ตรยิ กรรม
ประการหนง่ึ แลว้ ตอ่ มาพระเทวทตั ขอใหพ้ ระเจา้ อชาตศตั รปู ลอ่ ย
ช้างนาฬาคิรี เพื่อปลงพระชนม์พระผู้มีพระภาค แต่ก็ไม่ส�ำเร็จ
ก่อนหน้านี้ได้ว่าจ้างนายขมังธนูหลายคนให้ไปยิงพระผู้มีพระ
ภาคเจา้ แตน่ ายขมงั ธนเู หลา่ นนั้ ทำ� ไมส่ ำ� เรจ็ กลบั เลอื่ มใสในพระ
ศาสดาและขอบวช ต่อมาพระเทวทัตได้ทูลขอวัตถุ ๕ ประการ
แตพ่ ระพุทธเจา้ ไม่ทรงอนญุ าต วัตถุ ๕ ประการน้นั คือ
๑ ขอใหภ้ กิ ษทุ งั้ หลายถอื บงั สกุ ลุ จวี รเปน็ วตั ร ไมค่ วรรบั จวี ร
ทีม่ ผี นู้ ำ� มาถวาย
๒. ขอให้ภิกษุท้ังหลายถือบิณฑบาตเป็นวัตร ไม่ควรรับ
อาหารท่มี ีผนู้ ำ� มาถวาย
๓. ขอใหภ้ ิกษุทั้งหลายอยู่ป่าเป็นวตั ร
๔. ขอให้ภิกษุท้งั หลายไม่ฉันเน้อื หรอื ปลา
๕. ขอใหภ้ กิ ษุทัง้ หลายอยู่โคนไม้เป็นวตั ร
ถ้าจะถามวา่ การอย่ปู า่ กบั อยูโ่ คนไมต้ า่ งกนั อยา่ งไร ตอบ
วา่ “อยปู่ า่ ” นนั้ อาจมกี ฏุ เิ ลก็ ๆ อยใู่ นปา่ ได ้ สว่ นการอยโู่ คนไม้
กค็ อื อยเู่ ฉพาะบริเวณโคนไม้เทา่ นั้น ไม่ปลกู เสนาสนะอยู่
159
วศนิ อินทสระ
เมื่อพระผู้มีพระภาคไม่ทรงอนุญาตตามที่ขอ และตรัสว่า
“ภกิ ษใุ ดปรารถนาจะทำ� เชน่ นนั้ กท็ ำ� ไดต้ ามความสมคั รใจของตน
ถา้ ไมป่ รารถนากไ็ มต่ อ้ งทำ� ” พระเทวทตั จงึ ประกาศแยกตนออกมา
และโฆษณาว่าพระสมณโคดมไม่ยอมให้ภิกษุปฏิบัติขัดเกลา ม ี
ภิกษุบางพวกเห็นด้วยกับพระเทวทัต จึงแยกออกมาเป็นบริวาร
ของพระเทวทัต ภิกษุเหล่าน้ันยังใหม่และไม่ฉลาดในพระธรรม
วินัย พระผู้มีพระภาคทรงมีความกรุณาต่อภิกษุเหล่านั้น จึงให้
พระสารีบุตรและพระมหาโมคคัลลานะไปแนะนำ� สั่งสอน ภิกษ ุ
เหล่านั้นจึงเปลี่ยนใจตีตนออกมาจากพระเทวทัต มาเป็นบริวาร
ของพระสารบี ตุ รและพระมหาโมคคลั ลานะ เคารพนบั ถอื พระผมู้ ี
พระภาคอย่างเดิม พระเทวทัตเสียใจมากจนป่วยหนัก อาเจียน
เป็นโลหติ ฯลฯ
พระเทวทตั ทำ� อนนั ตรยิ กรรมทงั้ ๒ อยา่ ง คอื ทำ� พระพทุ ธ-
เจา้ ให้หอ้ พระโลหติ และท�ำสงฆใ์ หแ้ ตกจากกนั
ถ้าจะตงั้ ค�ำถามว่า ความดกี ับความชวั่ อย่างไหนทำ� ไดย้ าก
กวา่ อยา่ งไหนทำ� ไดง้ า่ ยกวา่ ควรจะตอบตามพระพทุ ธอทุ านนว้ี า่
ความดคี นดที �ำได้ง่ายเปน็ ตน้
มีค�ำกล่าวสรรเสริญพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ทรงมีพระทัย
เสมอในบคุ คลทง้ั ปวงคอื นายขมงั ธน ู พระเทวทตั โจรองคลุ มิ าล
ช้างธนบาล (ช้างนาฬาคิรี) และในพระราหุล
(วธเก เทวรตฺตมฺหิ โจเร องฺคุลิมาลเก ธนปาเล ราหุเล จ
สพฺพตฺถ สมมานโส)
๔๒
พระพุทธอทุ าน เร่อื ง
ไม่พงึ เป็น
ผูม้ แี ผลประพฤตธิ รรม
(ปฏิสลั ลานสตู ร)
ความเบื้องตน้
สมยั หนงึ่ พระพทุ ธเจา้ ประทบั ณ บพุ พาราม เมอื งสาวตั ถี
เยน็ วนั หนงึ่ ประทบั นง่ั ณ ภายนอกซมุ้ ประตดู า้ นตะวนั ออก พระ
เจา้ ปเสนทโิ กศลเสดจ็ ไปเฝา้ ขณะทท่ี รงสนทนาปราศรยั กนั อยนู่ น้ั
มนี กั บวชลทั ธติ า่ งๆ เดนิ ผา่ นมา คอื นคิ รนถ ์ ๗ คน, อเจลก ๗
คน, เอกสาฎก ๗ คน, ปริพพาชก ๗ คน และชฎลิ ๗ คน
พระเจ้าปเสนทิโกศลทอดพระเนตรเห็นแล้ว เสด็จลุกจาก
อาสนะ คุกพระชานุลง ทรงประกาศพระนามของพระองค์ให้
161
วศนิ อินทสระ
นกั บวชเหลา่ นน้ั ไดย้ นิ เปน็ ทำ� นองวา่ แสดงความเคารพ เมอ่ื นกั บวช
เหล่านั้นผ่านพ้นไปแล้ว จึงกราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า
นกั บวชเหลา่ นน้ั คงจะเปน็ พระอรหนั ตพ์ วกใดพวกหนงึ่ เปน็ แนแ่ ท้
พระพทุ ธเจา้ ไมท่ รงรบั และไมท่ รงคดั คา้ น แตต่ รสั วา่ “พระ
เจา้ ปเสนทเิ ปน็ คฤหสั ถบ์ รโิ ภคกาม เปน็ การยากทจี่ ะรวู้ า่ ผใู้ ดเปน็
พระอรหนั ตห์ รือไม”่ แล้วตรสั หลัก ๔ ประการ ดังนี้
๑. ศีล คือความประพฤติหรือปกติของคน เราจะพึงรู้ได้
ดว้ ยการอยู่รว่ มกัน
๒. ความสะอาด พึงรู้ไดด้ ว้ ยการงานทเี่ ขาทำ�
๓. ความกลา้ หาญ เรย่ี วแรงกำ� ลงั พงึ รไู้ ดใ้ นเวลามอี นั ตราย
๔. ปญั ญา พงึ รไู้ ด้ด้วยการสนทนา
ธรรม ๔ ประการน ้ี ตอ้ งใชเ้ วลานาน ตอ้ งมโี ยนโิ สมนสกิ าร
ต้องมปี ญั ญาจึงจะร้ไู ด้
เมอื่ พระพทุ ธเจา้ ตรสั ดงั นแ้ี ลว้ พระเจา้ ปเสนทโิ กศลจงึ กราบ
ทลู วา่ ขอ้ ทพี่ ระพทุ ธองคต์ รสั นน้ั เปน็ อศั จรรย ์ เพราะนกั บวชลทั ธิ
ตา่ งๆ ทเี่ ดนิ ผา่ นไปนนั้ อนั ทจี่ รงิ เปน็ จารบรุ ษุ ทพ่ี ระองคท์ รงสง่ ไป
สอดแนมดเู หตกุ ารณบ์ า้ นเมอื งในทต่ี า่ งๆ เปน็ การอำ� พรางตน โดย
ถือเพศเป็นนักบวช เมื่อกลับถึงบ้านแล้วพวกเขาจะเป็นคฤหัสถ์
อยา่ งเดมิ พระพทุ ธองคท์ รงทราบดงั นนั้ แลว้ จงึ ทรงเปลง่ อทุ านวา่
“บคุ คลไมค่ วรพยายามในทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ ง ไมพ่ งึ เปน็ คนของ
คนอ่ืน ไม่พึงอาศัยผู้อ่ืนเล้ียงชีพ ไม่พึงเป็นผู้มีแผลประพฤติ
ธรรม”
1พ6ุท2ธอุทาน
อธบิ ายความ
๑. เมื่อพระเจ้าปเสนทิโกศลทูลว่า นักบวชเหล่านั้นคงจะ
เปน็ พระอรหนั ตพ์ วกใดพวกหนง่ึ พระพทุ ธเจา้ ไมท่ รงปฏเิ สธและ
ไมท่ รงรบั เขา้ ใจวา่ ถา้ ทรงปฏเิ สธกเ็ หมอื นเปน็ การยกตนขม่ ผอู้ นื่
ถ้าทรงยอมรับ พระเจ้าปเสนทิโกศลก็จะดูหมิ่นพระสัพพัญญุต-
ญาณได ้ จงึ ตรสั เปน็ กลางๆ วา่ “ปกตขิ องคนจะเปน็ อยา่ งไร รไู้ ด้
ดว้ ยการอยูร่ ว่ มกนั เปน็ ต้น และต้องใช้เวลานาน ตอ้ งมีโยนโิ ส-
มนสกิ ารและมีปญั ญาจึงจะรไู้ ด้”
๒. ขอ้ วา่ “ความสะอาดพงึ รูไ้ ด้ด้วยการงาน” นัน้ พระบาล ี
วา่ สโํ วหาเรน โสเจยยฺ ํ เวทติ พพฺ ,ํ “สโํ วหาร” มคี ำ� แปลหลายอยา่ ง
แปลว่า ถ้อยค�ำ ก็ได้ อรรถกถาแห่งพระสูตรน้ีก็อธิบายเช่นนั้น
คอื แปลไดห้ ลายอยา่ ง ขา้ พเจา้ พอใจคำ� แปลวา่ ดว้ ยการงานทท่ี ำ�
๓. พระพุทธอุทานที่ว่า “บุคคลไม่ควรพยายามในทุกส่ิง
ทกุ อยา่ ง” นน้ั หมายความวา่ ใหเ้ ลอื กใชค้ วามเพยี รพยายามใน
ส่ิงท่ีเป็นประโยชน์แก่ตนและแก่ผู้อื่น ให้เป็นสัมมาวายามะ
ไมเ่ ปน็ มจิ ฉาวายามะ และควรใชป้ ญั ญาประกอบดว้ ย เพอ่ื จะได ้
เขา้ หลกั ทวี่ า่ แมจ้ ะใชค้ วามพยายามนอ้ ยแตก่ ไ็ ดผ้ ลมาก เหมอื น
คนจะขุดหาทอง ส�ำรวจรู้แน่แล้วว่าตรงน้ีมีทองจึงขุดลงไป การ
เจาะหาบอ่ นำ้� มนั กเ็ ชน่ เดียวกัน
๔. ไม่พึงเป็นคนของผู้อื่น หมายความว่า ให้เป็นตัวของ
ตวั เอง คงจะทรงหมายถงึ นกั บวชเหลา่ นน้ั ซงึ่ เปน็ คนของพระเจา้
ปเสนทโิ กศล จึงต้องท�ำตามคำ� สง่ั ของพระราชา
163
วศนิ อินทสระ
๕. ที่ว่า “ไม่พึงอาศัยผู้อื่นเลี้ยงชีพ” น้ัน หมายความว่า
ไมไ่ ดท้ ำ� ประโยชนอ์ ะไรใหส้ มกบั ทอ่ี าศยั เขาเปน็ อย ู่ บางคนอาศยั
เขาอยู่กจ็ ริง แตไ่ ด้ท�ำประโยชนใ์ หเ้ ขาเกินคมุ้ เกนิ ค่าจา้ ง อยา่ งนี ้
เรยี กวา่ อาศยั ตน อยา่ งพระสงฆอ์ าศยั ศลี ของทา่ นและวตั รปฏบิ ตั ิ
อันดีงามของท่าน และการแสดงธรรมของท่านเป็นส่ิงตอบแทน
ปจั จยั ๔ ของชาวบ้าน
๖. ทว่ี า่ “ไมพ่ งึ เปน็ ผมู้ แี ผลประพฤตธิ รรม” นน้ั หมายความ
ว่า ไม่พึงประพฤติธรรมด้วยการหลอกลวง คือแสดงตนเป็น
ผู้ประพฤติธรรมแต่ไม่ได้ประพฤติธรรมจริง เช่น นักบวชไม่มี
ธรรมของนกั บวช มีแต่แสดงเพศว่าเป็นนักบวช เป็นต้น ไม่พึง
เป็นอยดู่ ว้ ยอาการหลอกลวง
หมายเหตุ
เกีย่ วกับนกั บวช ๕ จ�ำพวก
๑. นคิ รนถ ์ ม ี ๒ จำ� พวกคอื พวกนงุ่ ขาวหม่ ขาว เรยี กวา่ เศวตตมั -
พร พวกเปลือยทั้งหมดเรยี กวา่ ฑฆิ มั พร
๒. เอกสาฎก อรรถกถาบอกว่า มีผ้าเกา่ ผกู ขอ้ มอื และมผี า้ เก่าผืน
เล็กๆ ปกปิดสว่ นหนา้ หนอ่ ยหนึง่
๓. อเจลก ไม่มีผ้านุ่งหม่ เลย ทเ่ี ราเรยี กกันวา่ ชเี ปลือย
๔. ชฎลิ พวกท่เี กลา้ ผมสูงขน้ึ ไป ท่ีเรยี กวา่ ชฎา
๕. ปรพิ พาชก นกั บวชลทั ธหิ นง่ึ ตงั้ สำ� นกั อยบู่ า้ ง เทยี่ วเรร่ อ่ นไปบา้ ง
๔๓
พระพุทธอทุ าน เรอื่ ง
สมณพราหมณ์วิวาทกนั
(ปฐมกริ สูตร)
ความเบ้ืองต้น
สมยั หนง่ึ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ประทบั อย ู่ ณ วดั เชตวนั เมอื ง
สาวัตถี เวลาเช้าภิกษุทั้งหลายออกไปบิณฑบาตในเมืองสาวัตถี
ไดเ้ หน็ และไดย้ นิ นกั บวชลทั ธติ า่ งๆ โตเ้ ถยี งกนั เรอื่ ง อนั ตคาหกิ -
ทิฏฐิ ๑๐ ประการ คอื
๑. เห็นวา่ โลกเที่ยง
๒. โลกไมเ่ ท่ยี ง
๓. โลกมที สี่ ุด
165
วศิน อินทสระ
๔. โลกไม่มที ี่สุด
๕. ชีวะกบั สรีระเปน็ อย่างเดียวกนั
๖. ชีวะกบั สรีระเป็นคนละอย่าง
๗. สัตวต์ ายแล้วเกดิ
๘. สัตวต์ ายแล้วไม่เกดิ
๙. สตั ว์ตายแลว้ เกดิ ด้วยไมเ่ กดิ ดว้ ย
๑๐. สตั วต์ ายแลว้ เกดิ กไ็ ม่ใช ่ ไม่เกดิ ก็ไม่ใช่
เมื่อกลับจากบิณฑบาตแล้ว ภิกษุเหล่านั้นได้เข้าเฝ้าพระ
ผู้มีพระภาคเจ้า กราบทูลให้ทรงทราบ พระพุทธองค์ตรัสว่า
นักบวชเหล่าน้ันเห็นไปข้างเดียวคือไม่รอบด้าน จึงถกเถียงกัน
ววิ าทกนั เหมอื นคนตาบอดคลำ� ชา้ ง ตรสั เลา่ วา่ ในเมอื งสาวตั ถ ี
นี้เอง เคยมีพระราชาพระองค์หน่ึง ให้น�ำคนตาบอดมารวมกัน
แลว้ ใหค้ ลำ� ชา้ งแตล่ ะสว่ น เชน่ หวั ห ู หาง และเทา้ เปน็ ตน้ คน
ตาบอดเหลา่ นน้ั กถ็ กเถยี งกนั ววิ าทกนั วา่ ชา้ งเปน็ เชน่ นๆี้ ตา่ งหาก
ตามท่ีตัวคล�ำได้ ไม่ได้เห็นช้างท้ังตัวจึงไม่เห็นช้างตามที่เป็นจริง
พระราชาทรงสนุกพอพระทัย ทรงพระสรวลอยู่ตลอดเวลาที่คน
ตาบอดเหล่าน้ันถกเถยี งกัน พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ทรงเปล่งอทุ าน
ในเวลาน้นั ว่า
“สมณพราหมณพ์ วกหนง่ึ ขอ้ งอยใู่ นความเหน็ เชน่ นๆี้ พวกเขา
ถือมั่นแล้ววิวาทกันอยู่ เพราะเขาเห็นเพียงด้านเดียว (เหมือน
คนตาบอดคลำ� ชา้ ง)”
1พ6ทุ 6ธอทุ าน
อธบิ ายความ
อนั ตคาหกิ ทฏิ ฐ ิ แปลวา่ ความเหน็ ทสี่ ดุ โตง่ ไปขา้ งใดขา้ งหนงึ่
เช่น เห็นว่าโลกเท่ียง เป็นต้น ปัญหาทั้ง ๑๐ ข้อนี้เป็นปัญหา
ทางอภิปรัชญา ซึ่งพระพุทธเจ้าไม่ทรงประสงค์ที่จะไปเก่ียวข้อง
ดว้ ยทรงมงุ่ สอนจรยิ ธรรมเพอื่ ความผาสกุ ของสงั คม และปรมตั ถ
ธรรม เพอื่ ไมต่ ้องเวยี นว่ายตายเกดิ
ในสมยั พทุ ธกาล เคยมภี กิ ษบุ างรปู ทลู ถามพระองคถ์ งึ เรอ่ื งนี ้
แต่ไม่ทรงตอบ ตรัสว่าไม่เป็นไปเพ่ือประโยชน์และเพื่อดับทุกข์
ตรสั สอนวา่ เหมอื นบคุ คลทถ่ี กู ลกู ศรแทงแลว้ ไมค่ วรจะมวั สบื หา
วา่ ใครเปน็ คนยงิ มาจากทศิ ไหน กจิ เรง่ ดว่ นกค็ อื ควรจะรบี ถอน
ลูกศรเสียโดยพลันแล้ว ทายาให้แผลหาย หมู่ชนเผชิญหน้าอยู ่
กบั ความทกุ ข ์ กจิ เรง่ ดว่ นกค็ อื รบี ดบั ทกุ ขใ์ หห้ มดสน้ิ ไป ไมค่ วรมวั
สนใจปญั หาอภปิ รชั ญาอนั เปน็ เหตใุ หท้ มุ่ เถยี งกนั ไมร่ จู้ กั สนิ้ สดุ ใน
ทบ่ี างแหง่ ตรสั วา่ “ทงั้ ในกาลกอ่ นและบดั น ้ี เราสอนแตเ่ รอื่ งทกุ ข์
และการดับทุกข์เทา่ น้นั ” เป็นการเน้นเรือ่ งอรยิ สัจโดยย่อ
การมองอะไรดา้ นเดยี วคอื ไมร่ อบดา้ น เปน็ เหตใุ หท้ มุ่ เถยี ง
กันและผิดพลาดได้ง่าย เช่น การมองพระพุทธศาสนาต้องมอง
ท้ังระบบ ไม่ใช่มองเพียงส่วนใดส่วนหน่ึงของพระพุทธศาสนา
แล้วน�ำมาทุ่มเถียงกันเพราะมองกันคนละส่วนคนละจุด เปรียบ
เหมือนเรามองดูต้นมะม่วง ต้องมองให้เห็นทั้งต้นและทุกส่วน
เช่น ล�ำต้น ก่ิง ใบ และลูก กจ็ ะรู้จักมะมว่ งทั้งหมด
167
วศนิ อินทสระ
เรอ่ื งตายแลว้ เกดิ หรอื ไมเ่ กดิ นน้ั ทศั นะทางพระพทุ ธศาสนา
มวี า่ ถา้ ยงั มกี เิ ลสอยยู่ อ่ มเกดิ อกี ตามสมควรแกก่ รรม ถา้ ไมม่ กี เิ ลส
กไ็ มต่ อ้ งเวยี นวา่ ยตายเกดิ อกี พระอานนทเ์ คยทลู ถามพระพทุ ธ-
เจ้าว่า “ภพใหม่มีข้ึนได้อย่างไร” พระพุทธองค์ตรัสตอบว่า “ถ้า
กามธาตไุ มม่ ี กามภพกม็ ีขึ้นไม่ได ้ ดว้ ยเหตุน้แี หละ กรรมจงึ เป็น
เหมอื นเนอ้ื ดนิ วญิ ญาณเหมอื นพชื กเิ ลสมตี ณั หาเปน็ ตน้ เหมอื น
ยางในพืช (กมมฺ ํ เขตฺตํ วญิ ฺญาณ ํ พชี ํ ตณหฺ า สเิ นโห)”
คั ม ภี ร์ อุ ท า น
จู ฬ ว ร ร ค
๔๔
พระพุทธอทุ าน เรอื่ ง
ผู้หลดุ พน้
(ปฐมภัททิยสตู ร)
ความเบอื้ งตน้
สมัยหน่ึงพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดเชตวัน เมืองสาวัตถี
พระสารีบุตรแสดงธรรมแก่พระลกุณฏกภัททิยะ เรื่องเบญจขันธ ์
เป็นต้น จนพระภทั ทยิ ะไดบ้ รรลอุ รหตั ตผลแล้ว แต่พระสารบี ุตร
ไมท่ ราบจงึ แสดงธรรมเรอ่ื ยไป พระพทุ ธเจา้ ทรงทราบดว้ ยพระโสต
ทิพย์ จึงตรัสแก่พระสารีบุตรว่า “หยุดแสดงธรรมได้แล้ว เพราะ
ศิษย์ของเธอได้บรรลุอรหัตตผลแล้ว” พระสารีบุตรจึงหยุดแสดง
ธรรม พระพทุ ธเจา้ ทรงเปลง่ อทุ านในเวลานนั้ วา่
“บุคคลผู้พ้นวิเศษแล้วในสิ่งท้ังปวงในเบื้องบนในเบื้องต่�ำ
ไมต่ ามเหน็ วา่ เราเปน็ น ี้ บคุ คลพน้ วเิ ศษแลว้ อยา่ งน ี้ ขา้ มไดแ้ ลว้
ซง่ึ โอฆะที่ตนยงั ไมเ่ คยข้ามเพ่ือความไม่เกิดอกี ”
1พ7ทุ 2ธอทุ าน
อธิบายความ
๑. คำ� วา่ “หลดุ พน้ แลว้ ทง้ั ในเบอื้ งบนและเบอ้ื งตำ�่ ” หมายถงึ
หลดุ พน้ จากสงั โยชนเ์ บอื้ งตำ่� ๕ มสี กั กายทฏิ ฐเิ ปน็ ตน้ หลดุ พน้ จาก
สงั โยชนเ์ บอื้ งบน ๕ มรี ปู ราคะเปน็ ตน้ มอี วชิ ชาเปน็ ทสี่ ดุ คำ� วา่
“โอฆะ” แปลวา่ กเิ ลสประดจุ หว้ งนำ้� ใหญ ่ ทรงแสดงไว ้ ๔ ประการ
คอื
๑.๑ กาม ความใคร ่ แบง่ เปน็ ๒ คอื วตั ถกุ าม สง่ิ ทนี่ า่ ใคร่
มรี ปู เสยี ง เปน็ ตน้ กเิ ลสกาม หมายถงึ ตวั ความใคร่
ความกำ� หนดั พอใจในรปู เสยี ง เปน็ ตน้ พระพทุ ธเจา้
ตรสั วา่ กามเปน็ สง่ิ ทลี่ ะไดย้ ากอยา่ งยงิ่ (กามา ห ิ โล
เก นหิ สปุ ฺปหายา)
๑.๒ ทิฏฐิ หมายถึง มิจฉาทิฏฐิ ความเห็นผิดจากความ
เป็นจริง พระพุทธองค์ตรัสว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ทั้งหลาย มิจฉาทิฏฐิเป็นโทษอย่างยิ่ง (มิจฺฉาทิฏฺฐิ-
ปรมาน ิ ภกิ ขฺ เว วชชฺ าน)ิ ” และตรสั ไวอ้ กี วา่ “ทฏิ ฐเิ ปน็
สงิ่ ท่ปี ลดเปลื้องได้ยาก ขา้ มได้ยาก ลว่ งพ้นได้ยาก”
๑.๓ ภพ หมายถึง ความติดในภพซึ่งมีตัณหาเป็นตัวน�ำ
พระสารีบุตรกล่าวว่า การดับภพเสียได้เป็นนิพพาน
(ภวนิโรโธนพิ พฺ าน)ํ ความตดิ ในภพทำ� ใหส้ ตั วท์ งั้ หลาย
ทอ่ งเที่ยวไปในภพนอ้ ยภพใหญ่ อยากเกิดอีก อยาก
เปน็ นนั่ อยากเปน็ น ี่ ทา่ นแบง่ เปน็ ๒ ได้แก่ กรรมภพ
คอื ความปรารถนาที่จะเกิดอีก อุปปัตติภพ คอื ที่เกิด
ของสตั วท์ ั้งหลาย
173
วศิน อนิ ทสระ
๑.๔ อวชิ ชา ความไมร่ ตู้ ามความเปน็ จรงิ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ
ไมร่ แู้ จง้ ในอรยิ สจั ๔ ซงึ่ ประกอบดว้ ยรอบ ๓ (ไตรปวิ ฏั )
อาการ ๑๒ (ทวาทสาการ)
๒. อรรถกถาเลา่ วา่ พระลกณุ ฏกภทั ทยิ ะนน้ั เปน็ ชาวเมอื ง
สาวัตถี ท่านเป็นคนเตี้ยจึงได้ชื่อว่า “ลกุณฏกะ” แปลว่า เต้ีย
“ภัททิยะ” เป็นชื่อจริงของท่าน ท่านได้ฟังธรรมจากพระศาสดา
แลว้ จงึ ออกบวช อรรถกถาธรรมบทเลา่ วา่ ภกิ ษสุ ามเณรทง้ั หลาย
เห็นท่านแล้วนึกว่าเป็นสามเณรน้อย จึงหยอกเล่น เช่น จับหู
เปน็ ตน้ เลน่ แตท่ า่ นกไ็ มเ่ คยโกรธเพราะทา่ นเปน็ พระอรหนั ตแ์ ลว้
แตภ่ กิ ษุสามเณรทัง้ หลายไมท่ ราบ พระพุทธเจ้าทรงทราบเรอื่ งน ้ี
แลว้ ตรัสสรรเสรญิ วา่
“บัณฑิตทั้งหลายย่อมไม่หว่ันไหวในเรื่องนินทาและสรร-
เสริญ เหมือนภูเขาศิลาล้วนเป็นแท่งทึบ ย่อมไม่หวั่นไหวด้วย
แรงลมฉะนน้ั ”
๔๕
พระพทุ ธอุทาน เรื่อง
ผสู้ นิ้ ตณั หา
(ตัณหักขยสตู ร)
ความเบือ้ งตน้
พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่วัดเชตวัน ทรงปรารภเร่ือง
พระอัญญาโกณฑัญญะผู้น่ังเข้าผลสมาบัติอยู่ในท่ีไม่ไกล ทรง
เปล่งอทุ านในเวลานน้ั ว่า
“พระอริยบุคคลใดไม่มีอวิชชาอันเป็นมูลราก ไม่มีแผ่นดิน
คอื อาสวะ นวิ รณ ์ และอโยนโิ สมนสกิ าร ไมม่ เี ถาวลั ยค์ อื มานะ
และอติมานะเป็นต้น ใบคือ ความมัวเมา ประมาท มายา
และสาเถยยะเปน็ ตน้ จะมแี ตท่ ไี่ หน ใครเลา่ จะควรนนิ ทาพระอรยิ -
บุคคลน้ัน ผู้เป็นนักปราชญ์ ผู้พ้นแล้วจากเคร่ืองผูก แม้เทวดา
ก็ชม ถงึ พรหมก็ย่อมสรรเสรญิ พระอรยิ บุคคลนั้น”
175
วศิน อนิ ทสระ
อธบิ ายความ
คำ� วา่ “พระอรยิ บคุ คล” หมายถงึ ทา่ นผไู้ ดบ้ รรลธุ รรมตงั้ แต่
โสดาปัตติมรรค โสดาปัตติผลไปจนถึงอรหัตตมรรค อรหัตตผล
รวมเปน็ พระอรยิ บคุ คล ๔ ค ู่ ๘ จำ� พวก ไมจ่ ำ� กดั วา่ จะเปน็ ภกิ ษ ุ
ภกิ ษณุ ี อบุ าสกหรอื อบุ าสกิ า คอื ไมจ่ ำ� กดั วา่ จะเปน็ บรรพชติ หรอื
คฤหสั ถ์
อวิชชา ท่านถือว่าเป็นมูลรากแห่งกิเลสทั้งหลาย (อวิชฺชา
มูลกา) ในความหมายเบ้ืองสูงท่านหมายถึง ความไม่รู้แจ้งใน
อริยสจั ๔
ค�ำว่า “อาสวะ” แปลว่า สิ่งหมักดองอยู่ในจิต กล่าวคือ
กิเลส มีความพอใจในกามเป็นต้น ค�ำว่า “นิวรณ์” หมายถึง
สิ่งท่ีกีดกันจิตไม่ให้บรรลุความดีกล่าวคือกามฉันทะ พยาบาท
ถีนมิทธะ (ความง่วงงุน) อุทธัจจะกุกกุจจะ (ความฟุ้งซ่านและ
ร�ำคาญ) วิจิกิจฉา (ความลังเลสงสัยไม่อาจตกลงใจได้) ท้ัง ๕
อย่างน้ี ท่านเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ปริยุฏฐานกิเลส แปลว่า กิเลส
ที่กลุ้มรุมอยู่ในจิต ห่อหุ้มจิต กีดกันจิตมิให้บรรลุถึงความดีย่ิงๆ
ขึ้นไป
อโยนิโสมนสิการ แปลว่า การท�ำไว้ในใจโดยไม่แยบคาย
คือ คิดไม่เป็น คิดไม่ถูกต้องตามความเป็นจริง ตรงกันข้ามกับ
โยนิโสมนสิการ ค�ำว่า “มานะ” แปลว่า ความถือตัวทะนงตน
ทา่ นจำ� แนกไว ้ ๙ อยา่ งม ี สำ� คญั ตนวา่ สงู กวา่ เขาหรอื ต่�ำกวา่ เขา
เปน็ ตน้ คำ� วา่ “อตมิ านะ” แปลวา่ ดหู มน่ิ ผอู้ นื่ คอื ไมใ่ หเ้ กยี รติ
1พ7ทุ 6ธอุทาน
เขาตามสมควรแก่ฐานะของเขา ทุกคนมีเกียรติและมีศักดิ์ศรีใน
ตวั เอง (Natural dignity) ไม่ควรดหู มิน่ กนั ไม่ควรขม่ เหงกัน
ค�ำว่า “มวั เมา ประมาท” มาจากค�ำว่า มทะ และปมาทะ
มสี ภุ าษติ ในชาดกหนงึ่ วา่ เพราะมวั เมาจงึ ประมาท เพราะประมาท
จึงเสื่อมส้ิน เพราะเส่ือมส้ินโทษเป็นอันมากจึงเกิดขึ้น เพราะ
ฉะนนั้ ทา่ นอยา่ มวั เมาประมาทเลย คำ� วา่ “มายา” ในทนี่ ี้ แปลวา่
เจา้ เลห่ ์ หลอกลวง มไิ ดแ้ สดงตนตามทเี่ ปน็ จรงิ คำ� วา่ “สาเถยยะ”
แปลวา่ โออ้ วด คอื กลา่ วถงึ คณุ อนั ไมม่ จี รงิ ในตน ถา้ เปน็ พระสงฆ ์
พูดอวดอุตริมนุสธรรมเช่น ฌาน มรรค ผล เป็นต้นอันไม่มี
ในตน ท่านปรับเป็นอาบัติถึงปาราชิก คือขาดจากความเป็น
พระภกิ ษุ
๔๖
พระพุทธอทุ าน เร่ือง
ความส้นิ ไป
แหง่ ปปญั จธรรม
(ปปัญจขยสูตร)
ความเบื้องตน้
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ เมอื่ ประทบั อยทู่ วี่ ดั เชตวนั ทรงปรารภ
ความสน้ิ ไปแห่งปปัญจธรรมของพระองค์ จงึ ทรงเปล่งอุทานว่า
“ผู้ใดมีกิเลสเคร่ืองให้เนิ่นช้าและความต้ังอยู่ (ในสงสาร)
กา้ วลว่ งซง่ึ ทตี่ อ่ คอื ตณั หาทฏิ ฐ ิ และลม่ิ คอื อวชิ ชาได ้ แมโ้ ลกคอื
หมู่สัตว์พร้อมทั้งเทวโลกย่อมไม่ดูหมิ่นผู้น้ัน ผู้ไม่มีตัณหา เป็น
มนุ ีเที่ยวไปอย”ู่
1พ7ุท8ธอุทาน
อธิบายความ
คำ� วา่ “ปปญั จธรรม” แปลวา่ กเิ ลสทที่ ำ� ใหเ้ นน่ิ ชา้ กลา่ วคอื
หนว่ งเหนย่ี วไวใ้ นสงั สารวฏั เหน็ ทา่ นใชใ้ นภาษาองั กฤษวา่ Mental
Diffusion บา้ ง Hindrance to spiritual progress บา้ ง อรรถกถา
แหง่ พระสตู รนร้ี ะบถุ งึ ราคะ โทสะ โมหะ และตณั หา มานะ ทฏิ ฐ ิ
ว่าเป็นปปัญจธรรม แต่โดยทั่วไปหมายถึง ตัณหา มานะ ทิฏฐ ิ
เรอื่ งปปญั จธรรมนี้ขา้ พเจา้ ได้เขยี นไวโ้ ดยละเอยี ดแลว้ ในหนงั สอื
ชอ่ื “ปปญั จธรรม” พมิ พเ์ มอ่ื มนี าคม ๒๕๔๖ เปน็ หนงั สอื ขนาด
๑๖ หนา้ ยก จำ� นวนหนา้ ๑๔๔ หนา้ เปน็ หนงั สอื ทถ่ี อดจากเทป
ค�ำบรรยายทางวทิ ยุกระจายเสยี ง เมอ่ื ป ี พ.ศ. ๒๕๔๑ จงึ ของด
การอธบิ ายในทน่ี ้ี
อรรถกถากลา่ ววา่ “การตง้ั อยใู่ นปปญั จธรรม (ปปญั จฏั ฐติ )ิ
ไม่มีแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นล่วงพ้นวัฏสงสารได้แล้ว” วัฏสงสาร
คือการเวียนว่ายตายเกิดเป็นเรื่องน่ากลัว น่าเบื่อหน่าย เพราะ
เปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ ทกุ ขน์ านาประการสดุ ทจี่ ะพรรณนาได ้ กเ็ พราะยงั ละ
ปปญั จธรรมไมไ่ ด ้ พระพทุ ธเจา้ ตรสั เตอื นวา่ “อยา่ เปน็ ผเู้ ดนิ ทาง
ไกล คือวนเวียนอยู่ในวัฏสงสาร อย่าเป็นผู้ถูกทุกข์ติดตาม”
ตราบใดท่ียังมีวัฏฏะ ทุกข์ก็ยังติดตามอยู่ตราบน้ัน ทุกข์เพราะ
ขนั ธ์บา้ ง ทกุ ข์เพราะกเิ ลสบ้าง
๔๗
พระพทุ ธอุทาน เรอื่ ง
น้ำ� ดื่ม
(อุทปานสูตร)
ความเบือ้ งตน้
สมัยหน่ึงพระผู้มีพระภาคเจ้าพร้อมด้วยพระอานนท์เสด็จ
จาริกไปในแคว้นมัลละ เสด็จถึงหมู่บ้านพราหมณ์ช่ือถูนคาม
พวกพราหมณ์และคหบดีได้ทราบข่าวน้ัน จึงชวนกันเอาหญ้า
และแกลบไปถมบ่อน้�ำ ด้วยหวังว่าพระสมณโคดมจะไม่มีนำ้� ดื่ม
พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ประทบั นง่ั ณ ใตต้ น้ ไมต้ น้ หนง่ึ ตรสั กบั พระ
อานนทว์ า่ ทรงกระหายนำ้� ขอใหพ้ ระอานนทน์ ำ� บาตรไปตกั นำ�้ ท่ ี
บอ่ มา พระอานนทก์ ราบทลู วา่ “พวกพราหมณแ์ ละคหบดชี าวถนู
คามไดน้ ำ� เอาหญา้ และแกลบไปถมบอ่ นำ�้ หมดแลว้ ” พระผมู้ พี ระ
ภาคเจ้าตรัสขอร้องเป็นคร้ังท่ี ๓ พระอานนท์จึงได้น�ำบาตรไปท่ ี
บ่อน�้ำ ขณะน้ันเองน�้ำได้ล้นหญ้าและแกลบขึ้นมาถึงปากบ่อ ใส
สะอาดพอดื่มได้ พระอานนท์จึงตักน้�ำไปถวายพระผู้มีพระภาค
เจ้าพร้อมด้วยกราบทูลถึงความอัศจรรย์น้ัน พระพุทธองค์ทรง
ทราบแลว้ ทรงเปลง่ อทุ านในเวลาน้ันวา่
1พ8ุท0ธอทุ าน
“ถา้ วา่ นำ้� พงึ มใี นกาลทกุ เมอื่ ไซร ้ บคุ คลจะพงึ กระทำ� ประโยชน ์
อะไรด้วยบ่อน้�ำ พระพุทธเจ้าตัดรากแห่งตัณหาได้แล้ว จะพึง
เทยี่ วแสวงหาน�้ำเพราะเหตอุ ะไร”
อธบิ ายความ
เรื่องท�ำนองนี้เคยมีอีกครั้งหนึ่ง เมื่อพระพุทธเจ้าจวนจะ
ปรนิ พิ พาน เสดจ็ ถงึ แมน่ ำ้� กกธุ านท ี ทรงกระหายนำ�้ มาก ใหพ้ ระ
อานนท์ไปน�ำน�้ำจากแม่น้�ำนั้นมาถวาย พระอานนท์กราบทูลว่า
“หมู่เกวียนเพิ่งผ่านพ้นไปสักครู่น้ีเอง น้�ำก�ำลังขุ่นข้นอยู่” พระ
พทุ ธเจา้ ตรสั ออ้ นวอนถงึ ครงั้ ท ่ี ๓ พระอานนทจ์ งึ ถอื บาตรไป นำ้�
กลบั ใสสะอาดดม่ื ได้ เร่อื งน้เี ปน็ ดว้ ยพทุ ธานุภาพโดยแท้
ค�ำว่า “มูล (ราก) แห่งตัณหา” ในพระคาถานี้ หมายถึง
อวชิ ชา นน่ั เอง บางแหง่ พระพทุ ธองคต์ รสั วา่ “อวชิ ชาเปน็ มลทนิ
ยง่ิ กวา่ มลทนิ ทงั้ หลาย และเปน็ มลทนิ อยา่ งยงิ่ (อวชิ ชฺ า ปรม ํ มล)ํ ”
พระพทุ ธพจนน์ สี้ บื เนอื่ งมาจากทตี่ รสั วา่ “ความประพฤตไิ มด่ เี ปน็
มลทนิ ของหญงิ ความตระหนเ่ี ปน็ มลทนิ ของผใู้ ห ้ บาปเปน็ มลทนิ
ทงั้ ในโลกนแี้ ละโลกหนา้ อวชิ ชาเปน็ มลทนิ ยงิ่ กวา่ มลทนิ ทงั้ หลาย
และเป็นมลทินอย่างยิ่ง ท่านท้ังหลายจงตัดมลทินน้ันเสียเถิด
แลว้ เป็นผูไ้ ม่มีมลทนิ ” (พระพทุ ธพจน์จากธรรมบท)
สนฺติ ตสสฺ มนํ โหต
สนตฺ า วาจา จ กมฺม จ
สมมฺ ทญฺา วิมุตตฺ สสฺ
อปุ สนฺตสฺส ตาทิโนฯ
ใจของบคุ คลผู้หลดุ พน้ เพราะรูช้ อบ
ผสู้ งบ ระงบั และคงที่
ย่อมเปน็ ใจท่สี งบ
เม่อื ใจสงบแล้ว
กายและวาจากส็ งบด้วย
คั ม ภี ร์ อุ ท า น
ป า ฏ ล ิ ค า ม ิ ย ว ร ร ค
๔๘
พระพุทธอุทาน เร่อื ง
โทษของศลี วบิ ัติ
และคณุ ของศลี สมบตั ิ
(ปาฏลคิ ามิยสูตร)
ความเบอื้ งตน้
สมยั หนงึ่ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ พรอ้ มดว้ ยภกิ ษสุ งฆจ์ ำ� นวนมาก
เสดจ็ ไปในเมอื งราชคฤหผ์ า่ นปาฏลคิ าม อบุ าสกและอบุ าสกิ าชาว
ปาฏลคิ ามมาเฝา้ กราบทลู ขอใหท้ รงแสดงถงึ โทษของศลี วบิ ตั แิ ละ
คุณของศีลสมบัติ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงให้ฟังว่า ผู้ทุศีล
มีศีลวิบัติยอ่ มประสบโทษ ๕ ประการคือ
๑. เสอื่ มทรัพย์เพราะมคี วามประมาทเปน็ เหตุ
๒. ช่ือเสียงทางไมด่ ียอ่ มฟงุ้ ขจรไป
๓. ไม่แกลว้ กลา้ อาจหาญในทป่ี ระชุม
๔. เม่ือจะตายย่อมหลงตาย
๕. เมื่อส้ินชีพแล้วไปสทู่ ุคติ
1พ8ุท6ธอุทาน
ส่วนคุณของความเป็นผู้มีศีลหรือศีลสมบัติมี ๕ ประการ
เหมอื นกันคือ
๑. ยอ่ มไดก้ องแหง่ โภคะเปน็ อนั มาก เพราะความไมป่ ระมาท
เปน็ เหตุ
๒. ชอื่ เสียงอนั ดงี ามยอ่ มฟงุ้ ขจรไป
๓. เปน็ ผแู้ กล้วกลา้ อาจหาญในทีป่ ระชุม
๔. เม่ือจะตายไม่หลงตาย หมายความว่า ตายด้วยความ
สงบ มสี ติสมั ปชัญญะ
๕. เมอื่ สิน้ ชีพแลว้ ยอ่ มบงั เกิดในสุคตโิ ลกสวรรค์
อบุ าสกและอบุ าสกิ าชาวปาฏลคิ ามชน่ื ชมยนิ ดใี นพระภาษติ
ของพระผมู้ พี ระภาค แล้วลากลับไป
สมัยนั้นสุนีธมหาอ�ำมาตย์และวัสสการพราหมณ์แห่งนคร
ราชคฤหค์ ดิ จะสร้างเมืองใหม ่ ณ ปาฏลคิ าม*
พระพทุ ธองคท์ รงเหน็ ดว้ ยทพิ ยจกั ษแุ ลว้ ตรสั กบั พระอานนท ์
วา่ เทวดาผมู้ ศี กั ดใิ์ หญอ่ ย ู่ ณ พนื้ ทใ่ี ด กท็ ำ� ใหจ้ ติ ของมหาอำ� มาตย ์
ผู้ใหญ่น้อมไปเพ่ือจะสร้างท่ีอยู่ของตน ณ พื้นท่ีน้ัน เทวดาผู้ม ี
ศักดิ์ปานกลางและมีศักด์ิต่�ำก็เช่นเดียวกัน สถิตอยู่ ณ พ้ืนท่ีใด
ก็น้อมจิตของราชมหาอ�ำมาตย์ผู้มีศักดิ์ปานกลางและศักดิ์ต�่ำให้
สร้างที่อยูใ่ นพ้ืนที่ของตนๆ
* ซึง่ ต่อมาเป็นเมอื งปาฏลบี ตุ ร และปัจจุบนั คือเมอื งปตั ตนะ
187
วศนิ อนิ ทสระ
สุนีธมหาอ�ำมาตย์และวัสสการพราหมณ์ได้ทราบข่าวว่า
พระผู้มีพระภาคเสด็จผ่านมาทางน้ัน จึงได้เข้าเฝ้าและกราบทูล
อาราธนาให้ไปเสวย ณ นิเวศของตน พระพุทธองค์เสวยแล้ว
ทรงอนโุ มทนาว่า
“บัณฑิตอยู่ ณ ที่ใด ย่อมเลี้ยงดูผู้มีศีล ผู้ส�ำรวมดีแล้ว
ผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ณ ที่นั้น และอุทิศส่วนกุศลให้แก่เทวดา
ทั้งหลายผู้สถิตอยู่ในท่ีน้ัน เทวดาผู้ได้รับการบูชาแล้ว ย่อมบูชา
ตอบ ผไู้ ดร้ บั การนบั ถอื แลว้ ยอ่ มนบั ถอื ตอบ แตน่ นั้ เทวดายอ่ ม
อนเุ คราะหบ์ คุ คลนนั้ เหมอื นมารดาอนเุ คราะหบ์ ตุ ร บคุ คลผอู้ นั
เทวดาอนเุ คราะห์แลว้ ยอ่ มพบเห็นแต่ส่งิ ที่ดีงาม”
หลังจากภัตกิจและอนุโมทนาแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าจะ
เสดจ็ ขา้ มแมน่ ำ้� คงคาไปทางฝง่ั โนน้ สนุ ธี มหาอำ� มาตยแ์ ละวสั สการ
พราหมณ์ต้ังใจไว้ว่า พระผู้มีพระภาคเสด็จออกทางประตูใดจะ
ตง้ั ชอ่ื ประตนู นั้ วา่ “โคตมะ” เสดจ็ ขา้ มฝง่ั ณ ทา่ นำ�้ ใดกจ็ ะตงั้ ชอื่
ทา่ นำ้� นนั้ วา่ “ทา่ โคตมะ” กส็ มยั นน้ั แล นำ้� ในแมน่ ำ้� คงคาปรมิ่ ฝง่ั
ประชาชนผทู้ ตี่ อ้ งการจะขา้ มไป ตา่ งกเ็ ตรยี มเรอื บา้ งแพบา้ ง แต่
พระผู้มีพระภาคและภิกษุสงฆ์ทรงข้ามไปโดยไม่ต้องอาศัยเรือ
หรือแพเลย ทรงเปล่งอุทานในเวลาน้ันวา่
“ชนเหล่าใดจะข้ามห้วงน�้ำคือสงสาร และสระคือตัณหา
ชนเหล่านั้นกระท�ำสะพานคืออริยมรรค ไม่แตะต้องเปือกตม
คือกามทั้งหลาย จึงข้ามสถานที่ลุ่มอันเต็มด้วยน�้ำได้ ก็ชนแม้
ตอ้ งการจะขา้ มนำ้� มปี ระมาณนอ้ ย กต็ อ้ งผกู แพ สว่ นพระพทุ ธเจา้
และพุทธสาวกท้ังหลายผูม้ ปี ญั ญา เว้นจากแพก็ขา้ มได้”
1พ8ทุ 8ธอทุ าน
อธิบายความ
๑. โทษแหง่ ผทู้ ศุ ลี หรอื ศลี วบิ ตั ิ เชน่ เสอื่ มทรพั ยเ์ พราะความ
ประมาทเปน็ เหต ุ ตวั อยา่ งเชน่ ประมาท มวั เมาในอบายมขุ ตา่ งๆ
ท�ำให้เสื่อมทรัพย์ ล่วงละเมิดศีลเช่นไปฆ่าเขา ลักทรัพย์หรือ
ฉ้อโกงทรัพย์ของเขา ถูกจับได้ต้องติดคุกหรือต้องเสียทรัพย์
มากมายในการสคู้ ดคี วาม ทรพั ยเ์ กา่ กห็ มดไปทรพั ยใ์ หมก่ ห็ าไมไ่ ด้
เสยี ชอื่ เสยี ง ถกู ดหู มน่ิ ไมก่ ลา้ หาญในทป่ี ระชมุ เพราะเกรงจะถกู
ทว้ งตงิ ถงึ ความผดิ เมอ่ื จะตายระลกึ ถงึ กรรมชวั่ ของตนทำ� ใหห้ ลง
ตาย ตายแลว้ ยังตอ้ งไปทุคติอกี
สว่ นผมู้ ศี ลี ดี มศี ีลสมบตั ิหรอื สลี สัมปทา ย่อมได้รบั ผลตรง
กนั ขา้ มกบั ผมู้ ศี ลี วบิ ตั ิ กลา่ วคอื ไดโ้ ภคะเปน็ อนั มากเพราะความ
ไมป่ ระมาทเปน็ เหต ุ มคี วามเพยี รหมนั่ ประกอบสมั มาชพี ไดค้ วาม
สบายใจ มชี อื่ เสยี งอนั ดงี าม เขา้ ไหนเขา้ ไดไ้ มเ่ กอ้ เขนิ เมอื่ ถงึ คราว
จะตายระลกึ ถงึ คณุ ความดขี องตน ทำ� ใหไ้ ดส้ ขุ โสมนสั ไมห่ ลงตาย
ตายแล้วไปสุคต ิ เปน็ กำ� ไรของชวี ติ
๒. เร่ืองเทวดาประจ�ำพ้ืนท่ีซึ่งปรากฏในเร่ืองน ้ี น่าจะเป็น
ตน้ เคา้ ใหม้ กี ารสรา้ งศาลพระภมู ิ เพอ่ื ใหเ้ ทวดาประจำ� พน้ื ทไ่ี ดอ้ ย่ ู
อาศยั ทา่ นจะอยหู่ รอื ไมอ่ ยกู่ เ็ ปน็ อกี เรอื่ งหนงึ่ ผทู้ จี่ ะรไู้ ดก้ ต็ อ่ เมอ่ื
มีทิพยจักษุหรือสามารถจะติดต่อกับเทวดาได ้ ขอฝากไว้ส�ำหรับ
ทา่ นผอู้ ่านได้พจิ ารณาตอ่ ไปดว้ ย
ในพระพุทธพจน์ท่ีทรงอนุโมทนาในท่ีน้ี ทรงแนะน�ำให ้
ทำ� บญุ อทุ ศิ ใหเ้ ทวดา และตรสั วา่ เมอื่ บชู าและนบั ถอื เทวดา ยอ่ ม
189
วศิน อินทสระ
ไดร้ บั การบชู าและนบั ถอื ตอบ จากนน้ั เทวดายอ่ มอนเุ คราะหเ์ ขา
เหมือนมารดาอนุเคราะห์บุตร ผู้ที่เทวดาอนุเคราะห์แล้วย่อม
พบเหน็ แตส่ ง่ิ ทดี่ งี าม ตามพระพทุ ธพจนน์ แี้ สดงวา่ เทวดาทช่ี ว่ ย
คุ้มครองรักษาคนดีก็มีอยู่ ในอานิสงส์แห่งการเจริญเมตตา ๑๑
ประการก็มีอยู่ประการหน่ึงว่า เทวดาทั้งหลายย่อมช่วยรักษา
เทวดากย็ งั ตอ้ งการบญุ เหมอื นกนั เราจงึ ตอ้ งทำ� บญุ อทุ ศิ ใหเ้ ทวดา
บ้าง เพ่ือท่านจะได้อนุเคราะห์ช่วยเหลือในคราวจ�ำเป็นหรือ
คบั ขนั แตเ่ ราตอ้ งชว่ ยตัวเองดว้ ยให้มาก
๓. เร่ืองพระพุทธอุทานในที่น้ีเกี่ยวกับเร่ืองห้วงน�้ำ ถ้า
พิจารณาตามต้นเร่ือง พระพุทธเจ้าทรงข้ามแม่น�้ำโดยไม่ต้องใช้
เรอื หรอื แพ คงจะทรงใชฤ้ ทธขิ์ า้ มไป รวมทง้ั ภกิ ษสุ งฆผ์ มู้ ฤี ทธด์ิ ว้ ย
เช่น เดินบนน้�ำหรือเหาะไป ส่วนคนทั้งหลายต้องใช้เรือหรือแพ
ข้ามไปเพราะไม่มีฤทธิ์เช่นนั้น แต่พระอรรถกถาจารย์อธิบาย
นอ้ มเขา้ มาทางธรรม เชน่ วา่ หว้ งนำ�้ คอื สงั สารวฏั แมน่ ำ�้ คอื ตณั หา
สะพานคืออริยมรรค ประกอบด้วยองค์ ๘ ส่วนเปือกตมน้ัน
อรรถกถาอธิบายเป็นท่ีลาดลุ่มซึ่งเปี่ยมด้วยน�้ำ แต่มีพระพุทธ
พจนบ์ างแห่งตรัสว่า
“เปือกตมคือกาม หนามคือกาม อันผู้ใดข้ามพ้นได้แล้ว
ย่�ำยีได้แล้ว ผู้นั้นถึงความส้ินไปแห่งตัณหา ย่อมไม่หว่ันไหวใน
สขุ และทุกข์”
(อรรถกถาธรรมบท ภาค ๑
กลา่ วว่าเปน็ พระพทุ ธอทุ าน เกีย่ วกับเรอ่ื งพระนนั ทะ)
๔๙
พระพทุ ธอุทาน เร่อื ง
ผูร้ กู้ บั ผูไ้ มร่ ู้
(ทวธิ าปถสูตร)
ความเบื้องต้น
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จจาริกไปในแค้วนโกศล
กบั พระนาคสมาละ เมอ่ื ถงึ ทางสองแพรง่ แหง่ หนง่ึ พระพทุ ธองค ์
ทรงประสงค์จะเสด็จไปทางหนึ่ง แต่พระนาคสมาละต้องการ
จะไปอีกทางหนึ่งเพราะเห็นว่าเป็นทางตรง พระสุคตเจ้าทรง
ออ้ นวอนถงึ ๓ ครง้ั ใหไ้ ปทางทพี่ ระองคป์ ระสงค ์ แตพ่ ระนาคสมาละ
ไม่ยอม จึงวางบาตรและจีวรของพระพุทธองค์ไว้กับพื้นดินแล้ว
ตนกจ็ ากไป พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรงถอื บาตรและจวี รของพระองค ์
เสดจ็ ไปแตพ่ ระองคเ์ ดยี ว เสดจ็ ไปไดห้ นอ่ ยหนง่ึ จงึ แวะลงขา้ งทาง
ประทบั นงั่ พกั ผอ่ นอยใู่ ตร้ ม่ ไมต้ น้ หนงึ่ ไมน่ านนกั พระนาคสมาละ
ก็กลับมาพร้อมด้วยบาตรแตก จีวรและสังฆาฏิฉีกขาดเพราะถูก
โจรท�ำร้าย ได้กราบทูลเรื่องนั้นให้พระผู้มีพระภาคทรงทราบ
พระพุทธองค์ทรงเปล่งอทุ านในเวลาน้ันว่า
191
วศนิ อนิ ทสระ
“บคุ คลผถู้ งึ เวท ผรู้ ู้ เทยี่ วไปดว้ ยกนั อยดู่ ว้ ยกนั ปะปนกบั
ชนผไู้ มร่ ู้ ยอ่ มละเวน้ คนชวั่ เสยี ได ้ เหมอื นนกกระเรยี น เมอ่ื บคุ คล
เอาน�้ำนมปนน�้ำเขา้ ไปให้ดม่ื แตน่ �้ำนมเท่านนั้ ละเว้นนำ้� ฉะนน้ั ”
อธิบายความ
เร่ืองพระพุทธองค์กับพระนาคสมาละนี้ ข้าพเจ้าได้ใช้เป็น
เร่ืองเร่ิมต้นในเรื่อง “พระอานนท์พุทธอนุชา” ที่เขียนไว้เมื่อป ี
๒๕๐๘ นบั ถงึ เวลานเี้ ปน็ เวลา ๔๗ ปแี ลว้ มผี อู้ า่ นถามอยเู่ สมอวา่
เรื่องพระนาคสมาละกับพระพุทธองค์ตอนน้ีมีปรากฏในพระ
ไตรปฎิ กหรอื อรรถกถาใดๆ หรอื ไม ่ ขา้ พเจา้ ตอบวา่ มปี รากฏใน
พระไตรปิฎก ตามที่ท่านได้อ่านมาแล้วนี้ ผู้ถามสงสัยว่า สาวก
ของพระพทุ ธเจา้ ในพุทธกาลเปน็ ไปไดเ้ พยี งนเ้ี ชียวหรอื
อรรถกถาเล่าว่า พระพุทธองค์ทรงทราบด้วยพระญาณว่า
ทางที่พระนาคสมาละจะไปนั้น เป็นทางอันตรายจึงมิได้เสด็จไป
สว่ นพระนาคสมาละนน้ั ถกู กรรมบนั ดาลใหอ้ ยากไปในทางนน้ั แม ้
พระพทุ ธองคท์ รงห้ามถึง ๓ คร้งั แลว้ ก็ไมย่ นิ ยอม
เร่ืองผู้รู้กับผู้ไม่รู้ คนดีกับคนชั่ว บางคราวก็อยู่ปะปนกัน
แต่คนดีก็เลือกท�ำแต่สิ่งที่ดี คนชั่วเลือกท�ำสิ่งที่ชั่ว ท่านเปรียบ
เหมอื นนกกระเรยี น เมอ่ื มคี นผสมนำ้� กบั นำ�้ นมใหด้ มื่ กเ็ ลอื กดมื่
แตน่ ำ้� นม ทำ� ไดอ้ ยา่ งไรเปน็ เรอื่ งเฉพาะของนกกระเรยี น เหมอื น
เทคโนโลยสี มยั ใหมท่ ำ� ใหเ้ ราประหลาดใจบอ่ ยๆ วา่ ทำ� ไดอ้ ยา่ งไร
แต่ก็ทำ� ได้
๕๐
พระพทุ ธอทุ าน เรื่อง
ความรักกับความทกุ ข์
(วิสาขาสูตร)
ความเบอ้ื งตน้
คร้ังหน่ึงพระผู้มีพระภาคประทับอยู่ที่ปุพพารามของนาง
วิสาขามิคารมารดา นางวิสาขามีผ้าเปียกผมเปียกเข้าไปเฝ้าใน
เวลาเทยี่ งวนั พระพทุ ธองคต์ รสั ถามวา่ “เพราะเหตไุ รจงึ เปน็ เชน่ น”ี้
กราบทูลว่า “หลานคนหนึ่งอันเป็นท่ีรักอย่างย่ิงได้สิ้นชีวิตลง
เขาเป็นคนดีเหลือเกิน” พระพุทธองค์ตรัสถามว่า “ถ้าในเมือง
สาวัตถีมีคนดีอย่างนี้ วิสาขาจะรักเขาไหม” ตอบว่า “รัก” ตรัส
ถามวา่ “ในเมอื งสาวตั ถมี คี นตายวนั ละเทา่ ไร” กราบทลู วา่ “๑ คน
บ้าง...๑๐ คนบ้าง” ตรัสว่า “ถ้ากระนั้น วิสาขาจะมิต้องมีผ้า
เปียกผมเปียกร้องไห้คร�่ำครวญทุกวันหรือ” นางวิสาขาได้สต ิ
จึงหยุดคร�่ำครวญ พระพุทธองค์ตรัสว่า “มีรัก ๑ ก็มีทุกข์ ๑ ...
มรี กั ๑๐๐ กม็ ที กุ ข ์ ๑๐๐” ดงั นแี้ ลว้ ทรงเปลง่ อทุ านในเวลานน้ั วา่
“ความโศกกด็ ี ความรำ่� ไรกด็ ี ความทกุ ขก์ ด็ ี มากมายหลาย
อยา่ งนม้ี อี ยใู่ นโลก เพราะอาศยั สตั วห์ รอื สงั ขารอนั เปน็ ทร่ี กั เมอ่ื
193
วศิน อนิ ทสระ
ไมม่ สี ตั วห์ รอื สงั ขารอนั เปน็ ทร่ี กั ความโศก ความร่�ำไรและความ
ทุกข์เหล่าน้ีย่อมไม่มี เพราะเหตุนั้นแล ผู้ใดไม่มีสัตว์หรือสังขาร
อันเป็นที่รักในโลกไหนๆ ผู้น้ันเป็นผู้มีความสุข ปราศจากความ
โศก เพราะเหตุน้ัน ผู้ปรารถนาความไม่โศก อันปราศจากกิเลส
ดุจธุลี ไม่พงึ ท�ำสตั วห์ รอื สังขารใหเ้ ป็นท่ีรกั ในโลกไหนๆ”
อธิบายความ
เรอ่ื งความรกั กบั ความทกุ ขน์ ้ี พดู ถงึ กนั อยโู่ ดยทว่ั ไป ความรกั
ให้ความสุขโสมนัสบ้าง แต่น้อยเม่ือเทียบกับความทุกข์โทมนัส
ทเี่ กดิ จากความรกั นนั้ ขา้ พเจา้ เคยเขยี นเรอื่ ง “รกั อยา่ งไรรกั ใหเ้ ปน็ ”
ไว ้ ๑๐ กวา่ ปแี ลว้ ตอ่ มาไดใ้ ชเ้ ปน็ บทบรรยายธรรมทางวทิ ยแุ ละ
ได้ถอดออกมาเป็นหนังสือช่ือ “ชีวิตกับความรัก” เป็นการมอง
ความรักหลายแง่มมุ
มผี ถู้ ามวา่ ถา้ ไมใ่ หร้ กั จะใหท้ �ำอยา่ งไร ตอบวา่ ความรกั มี
หลายแบบ เชน่ แบบมติ รภาพมคี วามเกอ้ื กลู กนั มเี มตตากรณุ า
ต่อกัน ท่านที่มีจิตหลุดพ้นแล้วจากกิเลสท้ังปวง ท่านไม่รักสิ่งใด
และไมช่ งั สงิ่ ใด มแี ตอ่ เุ บกขาญาณคอื ความหยงั่ รอู้ นั ประกอบดว้ ย
อุเบกขา มีจิตใจสงบราบเรียบไม่ต้องข้ึนลงไปกับความรักและ
ความไม่รัก เปน็ โลกตุ ตรชนชน้ั สงู สดุ คอื พระอรหันต์
นางวสิ าขานน้ั แมจ้ ะเปน็ พระอรยิ บคุ คลกจ็ รงิ แตเ่ ปน็ เพยี ง
พระโสดาบัน ยงั ละรกั โลภ โกรธ หลงไม่ได ้ จึงเผลอสติไปบ้าง
๕๑
พระพทุ ธอทุ าน เรอ่ื ง
การนพิ พานของ
พระทัพพมัลลบตุ ร
(ปฐมทัพพสตู ร)
ความเบือ้ งต้น
สมัยหน่ึง เม่ือพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ท่ีวัดเวฬุวัน
ใกลเ้ มอื งราชคฤห ์ พระทพั พมลั ลบตุ รเขา้ ไปเฝา้ ทลู ลาเพอ่ื นพิ พาน
พระพุทธเจ้าทรงอนญุ าต พระทพั พมัลลบุตรจึงเหาะขนึ้ ไปกลาง
อากาศ เข้าเตโชกสิณสมาบัติ อธิษฐานให้ไฟโพลงขึ้นเผาสรีระ
ของท่าน เมื่อไฟเผาสรีระของท่านหมดแล้ว ไม่ปรากฏอัฏฐิธาตุ
เถา้ ถา่ นใดๆ เหลอื อยเู่ ลย ทกุ อยา่ งหายไปเหมอื นไฟดบั เมอ่ื หมด
น�ำ้ มนั พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเปลง่ อทุ านในเวลานั้นวา่
“รูปกายได้สลายแล้ว สัญญาดับแล้ว เวทนาท้ังปวงเป็น
ธรรมชาติเย็นแล้ว สังขารท้ังหลายสงบแล้ว วิญญาณถึงความ
ตัง้ อยู่ไม่ได”้
195
วศิน อนิ ทสระ
อธบิ ายความ
วัดเวฬุวัน แปลว่า สวนไม้ไผ่มักจะตามมาด้วยค�ำว่า
“กลนั ทกนวิ าปะ” ซงึ่ พระเจา้ พมิ พสิ ารถวายแดพ่ ระพทุ ธองคแ์ ละ
ภกิ ษสุ งฆ ์ เมอ่ื คราวเสดจ็ กรงุ ราชคฤหเ์ ปน็ ครงั้ แรก เปน็ พระอาราม
แห่งแรกในพทุ ธศาสนา
ค�ำว่า “กลันทกนิวาปะ” แปลว่าเป็นท่ีพระราชทานเหย่ือ
แกก่ ระแต มเี รอื่ งเลา่ วา่ ในอดตี กาล (เขา้ ใจวา่ กอ่ นสมยั พระเจา้
พมิ พสิ าร) พระราชาพระองคห์ นง่ึ เสดจ็ ประพาสพระราชอทุ ยาน
ทรงบรรทม ณ ใต้ต้นไม้ต้นหน่ึง งูพิษตัวหนึ่งเลื้อยเข้ามาใกล้
พระองค์ กระแตตัวหน่ึงอยู่บนต้นไม้ ได้เห็นงูเลื้อยเข้ามาใกล้
พระราชา จงึ รอ้ งเสยี งดงั ขนึ้ พระราชาทรงตนื่ บรรทม ทรงทราบ
เหตกุ ารณน์ น้ั แลว้ ทรงเขา้ พระทยั วา่ ทร่ี อดจากงพู ษิ มาไดก้ เ็ พราะ
เสียงร้องของกระแต ตรัสถามราชบุรุษว่า ธรรมดากระแตชอบ
อยู่ ณ ท่ีใด ทรงทราบว่าชอบอยู่ท่ีต้นไผ่ จึงรับสั่งให้ปลูกต้นไผ่
มากมายจนเปน็ สวนไผ ่ แลว้ รบั สงั่ ใหพ้ ระราชทานเหยอ่ื แกก่ ระแต
ทุกวนั
พระอานนทเ์ ถระกน็ พิ พานบนอากาศเชน่ เดยี วกบั พระทพั พ-
มลั ลบตุ ร หลงั พทุ ธปรนิ พิ พานถงึ ๔๐ ป ี แตอ่ ธษิ ฐาน ใหอ้ ฐั ธิ าต ุ
ของท่านแยกเป็น ๒ ส่วน ตกลง ๒ ฝั่งของแม่น�้ำโรหิณี เพื่อ
พระญาตทิ ง้ั ๒ ฝ่ายจะได้อฐั ิธาตไุ ปเท่าๆ กนั
พระทัพพะน้ันมีสร้อยนามว่า “มัลลบุตร” เพราะเป็นพระ
โอรสของมเหสอี งคห์ นง่ึ ของเจา้ มลั ละแหง่ นครกสุ นิ ารา ทา่ นบวช
1พ9ุทธ6อทุ าน
เปน็ สามเณรตงั้ แตอ่ าย ุ ๗ ขวบ และสำ� เรจ็ เปน็ พระอรหนั ตต์ งั้ แต่
จรดมดี โกนลงบนศรี ษะทเี ดยี ว เมอื่ อปุ สมบทแลว้ ไดร้ บั การยกยอ่ ง
จากพระศาสดาใหเ้ ปน็ เอตทคั คะ (เปน็ เลศิ กวา่ ภกิ ษทุ งั้ หลาย) ใน
ทางจดั แจงเสนาสนะแกภ่ กิ ษผุ จู้ รมาทงั้ ๔ ทศิ ทา่ นเปน็ องคห์ นงึ่
ในบรรดาพระสาวกผู้ใหญ่ ๘๐ องค์ (อสตี ิมหาสาวก)
จบคัมภีรอ์ ุทาน
หมายเหตุ
เขียนจบเมื่อวันท ่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๕ ได้เว้นบ้างบาง
พระสตู ร ไดอ้ าศยั พระไตรปฎิ กบาล ี เลม่ ๒๕ คมั ภรี อ์ ทุ าน และ
พระสูตรและอรรถกถาแปลฉบับของมหามกุฏราชวิทยาลัยเป็น
คูม่ ือ ขอขอบพระคุณคณะผจู้ ัดทำ� พระสูตรและอรรถกถาแปลไว ้
ณ โอกาสนดี้ ว้ ย
วศนิ อินทสระ
บันทกึ ท้ายเลม่
ในทส่ี ดุ เรอื่ ง “พทุ ธอทุ าน” กจ็ บลงไดเ้ มอ่ื วนั ท ่ี ๑ ตลุ าคม
พ.ศ. ๒๕๕๕ ด้วยความยากล�ำบาก ใช้เวลาถึง ๑ ปีเต็ม ทั้งนี้
ด้วยเหตุหลายอย่าง เช่น ข้าพเจ้าป่วยเสียบ้าง ผู้จดบันทึกไม่มี
เวลาจดบนั ทกึ บา้ งเพราะมภี ารกจิ อยา่ งอน่ื อยเู่ ปน็ อนั มาก ขา้ พเจา้
ไม่สามารถจะเขียนได้เอง เพราะดวงตาไม่อนุญาตให้ท�ำได้บ้าง
อ่อนแรงอ่อนก�ำลังบ้าง ข้าพเจ้าประหว่ันอยู่เสมอว่าจะเขียน
หนังสือเล่มน้ีไม่จบ ชีวิตของข้าพเจ้าจะจบเสียก่อน โชคดีท ่ี
หนังสือจบลงได้โดยที่ข้าพเจ้ายังมีชีวิตอยู่ แต่จบลงแสนยาก
เหมือนเข็นเรือบนโคลน แต่ก็จบลงได้ด้วยความเพียรพยายาม
และด้วยความหวังว่าจะท�ำให้จบ เขียนบ้างหยุดบ้างไปเร่ือยๆ
วันท่ีหยุดมากกว่าวันท่ีเขียน มีเรื่องท่ีรวบรวมไว้ได้ ๕๑ เร่ือง*
เว้นเสียบ้างเป็นบางเร่ือง หวังว่าหนังสือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน ์
* ในคัมภีร์อทุ านมีพระสตู รทงั้ หมด ๘๒ พระสตู ร
1พ9ุทธ8อุทาน
แก่ท่านผู้อา่ นไม่มากกน็ อ้ ย
ขา้ พเจา้ เรมิ่ เขยี นหนงั สอื เมอ่ื อาย ุ ๒๙ บดั นอ้ี ายขุ องขา้ พเจา้
ย่างเข้า ๗๙ แล้ว อ่อนล้าเต็มที โรคร้ายไข้เจ็บต่างๆ ก็รุมกัน
รบกวนไม่เว้นวัน จะมีชีวิตอยู่ได้นานสักอีกกี่วันกี่เดือนก็ไม่อาจ
ก�ำหนดได ้ สมจริงดังทีพ่ ระสารีบุตรไดก้ ล่าวสอนไว้วา่
“ชีวิตของสัตว์ท้ังหลายในโลกน้ี ไม่มีเคร่ืองหมายรู้ไม่ได ้
(วา่ จะตายในวนั ใด) ท้งั น้อย ทงั้ ฝืดเคือง ทงั้ ประกอบด้วยทุกข์”
ประสบการณใ์ นชวี ติ จรงิ ใครค่ รวญพจิ ารณาทงั้ ชวี ติ ของตน
และชีวิตของผู้อ่ืน ท�ำให้ซาบซ้ึงในเถรภาษิตน้ีเป็นอย่างยิ่ง พระ
พุทธองคย์ ังตรัสไวด้ ้วยวา่
“อายุของมนุษย์นี้น้อยนัก คนดีไม่ควรเพลิดเพลินกับอาย ุ
นั้น พึงประพฤติตน เช่นเดียวกับคนที่ถูกไฟไหม้อยู่บนศีรษะ
ความตายจะไม่มาถงึ เปน็ ไม่มี”
คนทศี่ รี ษะถกู ไฟไหมอ้ ยู่ กจิ ทเี่ ขาควรท�ำโดยเรว็ กค็ อื ดบั ไฟ
บนศีรษะนั่นเสียฉันใด คนเราก็ฉันน้ัน ถูกความทุกข์เผาไหม้อยู ่
ควรรีบดับทุกข์น้ัน ทุกข์มีเพราะความเกิด ความเกิดมีเพราะมี
ภพ ถา้ ดบั ภพไดโ้ ดยการดบั กเิ ลส ความเกดิ กไ็ มม่ ี เมอ่ื ไมเ่ กดิ กไ็ ม ่
ทุกข์ ความทุกข์เป็นภัยใหญ่ของสัตว์โลก (ทุกฺขมสฺส มหพฺภยํ -
พระพุทธพจน)์
อย่างไรก็ตาม คนเราเกิดมาแล้วก็อดหวังความสุขไม่ได้
ผตู้ อ้ งการมที กุ ขน์ อ้ ยจงึ ควรบากบนั่ ประพฤตธิ รรม พระพทุ ธองค์
ตรัสไว้ว่า “ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุขท้ังในโลกนี้และ