The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ท่านเจ้าคุณพระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-05-05 23:15:05

ท่านเจ้าคุณพระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)

ท่านเจ้าคุณพระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)

Keywords: ท่านเจ้าคุณพระธรรมเจดีย์ (จูม พนฺธุโล)

ปฐมพุทธพจน : ความสิน้ ไปแหงตณั หาท้งั หลาย
เราเม่ือแสวงหาอยู ซงึ่ นายชา งผูส รางเรือน,

เมอ่ื ยังไมพ บ จึงแลนไป; สูสงสารเปนอเนกชาต,ิ
การเกดิ แลว เกดิ อกี เปนทุกข.

นายชา งผสู รา งเรอื น เราเหน็ ทา นแลว ,
ทานจกั ไมไ ดสรา งเรือนอกี ;

โครงเรอื นทง้ั ปวงของทาน ถูกเราหัก พังส้นิ แลว ,
จิตของเราไดส ภาวะธรรมซึ่งไมป รุงแตง ,
เราไดถึงส้ินความสิ้นไปแหง ตัณหาทง้ั หลาย.

(พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกายะ ธัมมปทปาิ เลม ๑๘ ขอ ๑๕๓-๑๕๔ ยอ หนา ๑๖๔-๑๖๕)

“พระมหากษัตริยท รงเปนพุทธมามกะ” สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ภูมิพลอดลุ ยเดชไดเสดจ็ ออกผนวช วัดบวรนเิ วศวิหาร กรุงเทพมหานคร
เม่อื วันท่ี ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๙ ณ พระอุโบสถ วดั พระศรีรัตนศาสดาราม (สมเด็จพระสังฆราช รูปท่ี ๑๙ แหงกรุงรัตนโกสินทร)
ทรงรบั การบรรพชาอุปสมบทเปน ภกิ ษุในพระพทุ ธศาสนา ทรงไดร บั สมณนามวา “ภูมพิ โล”
คนที่มบี ุญนั้น บุญยอ มคอยจองท่จี ะเขา ชวยอยแู ลว
...พระพทุ ธศาสนานั้น ถามองถึงคำส่งั สอน เพียงแตเ ปดโอกาสใหเขา ชวย คอื เปดใจรับน่ันเอง
ของสมเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจาแทๆ แลว การเปดใจรับกค็ อื เปดอารมณทหี่ มุ หอ ออกเสยี แมชว่ั ขณะหนง่ึ
ก็หาภัยอนั ตรายมิได ไมม ีผใู ดหรอื เหตุใดๆ
จะเบียดเบยี นทำลายไดเ ลย เพราะคำสงั่ สอน ดวยสตทิ ีก่ ำหนดทำใจตามวธิ ขี องพระพุทธเจา
ของพระบรมศาสดา เปนธรรมะ คือหลักความจริง เม่อื บญุ ไดโ อกาสพรง่ั พรเู ขา มาถงึ ใจ หรือโผลขึ้นมาไดแ ลว
ท่ีคงความจริงอยูตลอดกาลทุกเม่อื ไมแ ปรผัน...
จติ ใจจะกลบั มีความสขุ อยางย่ิง อารมณท ั้งหลาย
(พระราชดำรัส พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูห วั ฯ) ท่ีเคยเห็นวาดีหรือรา ย ก็จะกลบั เปนเรื่องธรรมดาโลก

(พระโอวาท สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก)



ชือ่ หนังสือ : จากวันวารจวบจนวนั น้ี (วัดโพธิสมภรณ จ.อดุ รธาน)ี ประวตั วิ ดั โพธสิ มภรณ
วตั ถปุ ระสงค : เพือ่ สืบสานปณิธานของ ทานเจา คณุ พระอดุ มญาณโมลี
ตอนปลายรัชกาลท่ี ๕ พ.ศ. ๒๔๔๙ มหาอำมาตยตรี
(จนั ทรศ รี จนทฺ ทีโป) พระยาศรีสุริยราชวรานุวัติ (โพธิ เนติโพธ์ิ) สมุหเทศาภิบาล
พิมพคร้งั แรก : วนั ที่ ๑๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๒ มณฑลอดุ รธานี ไดพ จิ ารณาเหน็ วา ในเขตเทศบาลเมอื งอดุ รธานี
จำนวนพิมพ : ๔,๐๐๐ เลม นี้ มีเพียง วัดมัชฌิมาวาสวัดเดียวเทาน้ัน สมควรท่ีจะสราง
ดำเนินการผลิต : กอ นเมฆแอนดก นั ยก รปุ ๐๘๙-๑๐๓-๓๖๕๐ วัดข้ึนอีกสักวัดหน่ึง จึงไดไปตรวจดูสถานท่ีดานทิศตะวันตก
สงวนลิขสิทธิ์ : หามคดั ลอก ดดั แปลง แกไข ดว ยวธิ ีการใด ๆ หนองประจักษ เห็นวาเปนทำเลท่ีเหมาะสมควรแกการสรางวัด
โดยแท จากน้นั ก็ไดชกั ชวนราษฎรในหมบู านหมากแขงแหงนน้ั
เพือ่ จำหนาย หากประสงคพมิ พเพอื่ แจกเปน ถากถางปา ออกพอควรแกการปลกู กุฏิ ศาลาโรงธรรม สำหรบั
ธรรมทาน อนุญาตใหด ำเนนิ การไดตามความ เปนท่ีบำเพ็ญบุญ และสำหรับเปนสถานท่ีถือน้ำพระพิพัฒน
ประสงค และขออนโุ มทนา อำนวยพร สัตยาประจำปของหนวยราชการ ในสมัยเม่ือยังใชพิธีถือน้ำ
ท่ีปรกึ ษาฝายบรรพชิต : พระครูปลัดสุวฒั นมงคลคณุ (สมภาร ธมฺมโสภโณ) พระพิพฒั นส ัตยาอยู (สาบานนำ้ ) คร้ันลงมอื สรางอยปู ระมาณ
ผจู ดั ทำ : คุณนรนิ ทร -คุณธีรประภา เศวตประวชิ กลุ
คณุ ชวนิ - คณุ มะลิวัณย ยงยทุ ธ
ผูพมิ พข อมูล : คณุ พิรุณ จติ รยงั่ ยืน - คุณณัฐชกานต วายุภกั ตร
ที่มา : อางองิ ตามทา ยหนงั สอื เลม นี้

ป ร ะ วั ติ ๖ ๗ ป ร ะ วั ติ
วัดโพธิสมภรณ
วดั โพธิสมภรณ
พระยาศรีสุริยราชวรานุวัติ ๑ ป ก็เปนสำนักสงฆได จึงไดอาราธนา
(โพธิ เนตโิ พธ์)ิ สมหุ เทศาภิบาล พระครธู รรมวินยานยุ ตุ (หนู) เจา คณะ ศรเี มอื ง จงั หวดั หนองคายเพอ่ื ความสะดวกในการปรนนบิ ตั ิ และ
เมอื งอุดรธานี จากวดั มชั ฌมิ าวาส มา บน้ั ปลายทีส่ ุดทานกไ็ ดถ งึ แกมรณภาพ
มณฑลอุดรธานี เปนเจาอาวาสวัดใหมที่ยังมิไดต้ังช่ือตอมา
พระยาศรีสุริยราชวรานุวัติ (โพธิ เนติโพธิ์) พ.ศ. ๒๔๕๖ มหาเสวกโท พระยา
จึง ได นำ ความ ข้ึน กราบทูล ตอ สมเด็จ ราชนกุ ลู วบิ ลู ยภ กั ดี(อวบเปายโ รหติ )ครง้ั
พระมหาสมณเจากรมหลวงชินวรสิริวัฒน ดำรงตำแหนง อปุ ราชมณฑลภาคอสี าน และ
(หมอมเจาภุชงค ชมพูนุช สิริวุฑฺฒโร) วัด เปน สมหุ เทศาภบิ าลมณฑลอดุ รธานี ตอ มา
ราชบพธิ กรงุ เทพฯ โดยไดท รงประทานนาม ไดเลื่อนบรรดาศักด์ิเปน พระยามุขมนตรี
วา “วัดโพธิสมภรณ” ใหเปนอนุสรณแก ศรีสมุหพระนครบาล ไดมาเสริมสราง
พระยาศรีสุริยราชวรานุวัติ (โพธิ เนติโพธิ์) วัดโพธิสมภรณ โดยไดขยายอาณาเขต
ผสู รา งวัดนี้ ใหกวางออกไป ตลอดถึงกอสรา งเสนาสนะ พระครธู รรมวินยานุยุต (หน)ู
เพ่ิมข้ึนอีกหลายหลังพรอมกับพระอุโบสถ เจา คณะเมืองอุดรธานี
สมเด็จพระมหาสมณเจา ประมาณ๓ปต อ มาพระยาศรสี รุ ยิ ราชวรา จนเสร็จ และจัดการขอพระราชทานวิสุงคามสีมา ใหเปน
กรมหลวงชินวรสิรวิ ัฒน นวุ ตั ิ(โพธิเนตโิ พธ)์ิ กบั ทา นเจา อาวาสกไ็ ดเ รมิ่ หลกั ฐาน ทง้ั เหน็ วา ภายในเขตเทศบาลของจงั หวดั น้ี ยงั ไมม วี ดั
วัดราชบพิธสถติ มหาสมี าราม สรางโบสถไมข้ึน พอเปนท่ีอาศัยทำอุโบสถ พระธรรมยตุ ตกิ นกิ าย สกั วดั สมควรจะจดั วดั นใี้ หเ ปน วดั ของ
ทรงประทานนามวา สงั ฆกรรม และตอมาอีกไมนานนกั กไ็ ดเ ร่ิม คณะธรรมยตุ โดยแท แตท วา ยงั ขาดพระภกิ ษผุ จู ะเปน เจา อาวาส
สรางโบสถกอดวยอิฐถือปูนแตยังไมสำเร็จ และตอมาเม่ือกิจการพระพุทธศาสนาไดเจริญกาวหนาข้ึนโดย
“วัดโพธสิ มภรณ” พระยาศรีสุริยราชวรานุวัติ (โพธิ เนติโพธ์ิ) ลำดบั เชน นี้ พระยามขุ มนตรฯี ไดป รกึ ษาหารอื กบั พระเทพเมธี
ก็ไดถึงแกอนิจกรรมเสียกอน หลังจากนั้น (อว น ตสิ โส) เจา คณะมณฑลอบุ ลราชธานี มคี วามเหน็ พอ งตอ ง
ทา นพระครธู รรมวนิ ยานยุ ตุ (หน)ู เจา อาวาส กนั วา สมควรจดั หาพระเปรยี ญมาเปน เจา อาวาสวดั โพธสิ มภรณ
ซ่ึงชราภาพลงมาก คณะศิษยานุศิษยและ มณฑลอุดรธานี ดังนั้นพระยามุขมนตรีฯ จึงเขาไปกรุงเทพฯ
ลูกหลานทางเมืองหนองคายเห็นพองกัน แลว นำความคดิ เหน็ กราบเรยี นตอ พระสาสนโสภณ เจา อาวาส
วา ควรอาราธนาทานไปอยูจำพรรษาที่วัด วดั เทพศริ นิ ทราวาส กอ น แลว จงึ นำความขนึ้ กราบทลู พระเจา
วรวงศเ ธอกรมหลวงชนิ วรสริ วิ ฒั น สมเด็จพระสังฆราชเจา วดั
ราชบพธิ ฯ ขอพระเปรียญ ๑ รูป จากวัดเทพศิรินทราวาส ไปเปน

ป ร ะ วั ติ ๘
วัดโพธิสมภรณ

เจาอาวาสวดั โพธสิ มภรณส ืบไป ทั้งจะได

เปนผูจัดการพระศาสนาฝายปริยัติ และ

ฝายปฏิบัติใหกวางขวางยิ่งขึ้นอีกสักแหง

หนงึ่ ฉะนั้น สมเดจ็ พระสังฆราชเจาฯ จึง

ทรงรบั สงั่ ใหเ จา อาวาสวดั เทพศริ นิ ฯ เลอื ก

เฟน หาพระเปรยี ญ กไ็ ด พระครสู งั วฒุ กิ ร ประวัตศิ าสตรความสำคัญ

(จูม พนฺธโุ ล ป.ธ.๓ น.ธ.โท) ซึง่ ไดศ กึ ษา ลำดบั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๔๔๘
เปนสถานท่ีถือน้ำพระพิพัฒนสัตยาบัน (พิธีด่ืมน้ำ
เลา เรยี นอยใู นสำนกั วดั เทพศริ นิ ฯ นน้ั เปน สาบาน) ของหนวยราชการในสมัยราชาธิปไตยใชพิธีถือน้ำพระ
พพิ ฒั นส ตั ยาบนั อนั เปน เหตใุ หข า ราชการมใี จสจุ รติ ตอ หนา ทกี่ าร
พระสาสนโสภณ เวลา ๑๕ ป วาเปนผูเหมาะสมท้ังเปนท่ี งานทท่ี กุ คนกระทำอยทู กุ แผนกมาตามลำดบั นบั แตเ ปลย่ี นแปลง
เจาอาวาสวดั เทพศิรินทราวาส ชอบใจของพระยามขุ มนตรฯี ดวย เพราะ การปกครองเปนระบอบประชาธปิ ไตยปจ จุบนั พธิ ีถูกยกเลกิ ไป

ทา นเคยเปน ผอู ปุ ถมั ภบ ำรงุ อยกู อ นแลว เปน อนั วา พ.ศ. ๒๔๖๖ ลำดับที่ ๒ พ.ศ. ๒๔๔๙
สมเด็จพระมหาสมณเจากรมหลวงชินวรสิริวัฒน วัด
พระครสู ังฆวุฒกิ ร (จมู พนฺธโุ ล) ไดยายจากวัดเทพศริ ินฯ ราชบพิธฯ กรุงเทพฯ ทรงประทานนาม “วัดโพธิสมภรณ” ให
เปน อนสุ รณแก พระยาศรีสรุ ยิ ราชวรานวุ ตั ิ (โพธิ เนตโิ พธิ)์ ผกู อ
มาเปนเจาอาวาสวัดโพธิสมภรณ วัดโพธิสมภรณจึงเปนวัด ตงั้ วัด

คณะธรรมยตุ แตบ ัดนัน้ เปนตน มา จนถึงปจจุบนั ลำดบั ท่ี ๓ พ.ศ. ๒๔๖๖
พระเจาวรวงศเธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน สมเด็จ
ผปู กครองวดั โพธสิ มภรณ นับตั้งแตทไ่ี ดร ับพระราชทาน พระสังฆราชเจา วัดราชบพธิ ฯ กรงุ เทพฯ มีพระบัญชาให

ชือ่ จนถงึ ปจ จุบัน มี ๓ รปู ดว ยกันคือ

๑. พระครธู รรมวินยานุยุต (หน)ู ตง้ั แต พ.ศ. ๒๔๔๘

-๒๔๖๕ รวมระยะเวลาได ๑๗ ป

๒. ทา นเจา คุณพระธรรมเจดยี  (จมู พนฺธุโล) ตั้งแต

พ.ศ. ๒๔๖๖-๒๕๐๕ รวมระยะเวลาได ๓๙ ป มีสิริอายุ ๗๔ ป

๒ เดอื น ๑๕ วนั

๓. ทานเจา คุณพระอุดมญาณโมลี (จันทรศรี จนฺท

ทโี ป) ตั้งแต พ.ศ. ๒๕๐๗ - ปจจบุ ัน

ประวัติศาสตร ๑๐ ๑๑ ประวัติศาสตร
วัดโพธิสมภรณ
วดั โพธิสมภรณ
พระครสู งั ฆวฒุ กิ ร (จมู พนธฺ โุ ล น.ธ.โท ป.ธ.๓) ดำรงตำแหนง
เจาอาวาสวัดโพธสิ มภรณ อ.เมือง จ.อดุ รธานี และขาราชการพอ คา ประชาชนเปน จำนวนมาก มารอรับเสด็จ
พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั ฯ ทรงมพี ระราชปฏิสนั ถาร
ลำดับท่ี ๔ พ.ศ. ๒๔๖๗ กับทานเจาคุณพระธรรมเจดียอยูในพระอุโบสถประมาณ
ในระหวางวันท่ี ๖-๙ มีนาคม ประกอบพิธีผูกพัทธสีมา ๒๐ นาที ทานเจาคุณฯ ไดถวายพระทองคำแทปางมาร
ณ วดั โพธสิ มภรณ อ.เมือง จ.อุดรธานี วชิ ยั องคเลก็ (ประมาณ ๑ น้วิ ) ซึ่งเปนของประจำตระกลู
ของทาน แด พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหวั ฯ และทรงพระ
ลำดบั ที่ ๕ พ.ศ. ๒๔๙๒ กรณุ าโปรดเกลา ฯ พระราชทานกปั ปย ภณั ฑเ ปน จำนวน ๑,๐๐๐
เปนสถานท่ีสำคัญใหการบรรพชาอุปสมบทพระเถระ บาท (หนึ่งพันบาทถวน) เพ่ือบำรุงวัดจากน้ันไดเสด็จฯ เยี่ยม
กรรมฐาน สายพระอาจารยมั่น ภูริทตฺโต ในยุคสมัยพระธรรม ราษฎรทม่ี ารอเฝา อยบู รเิ วณหนา พระอโุ บสถประมาณ ๔๐ นาที
เจดยี  (จมู พนธฺ โุ ล) พระอาจารยม น่ั ภรู ทิ ตโฺ ต ไดน ำศษิ ยานศุ ษิ ยม า พอสมควรแกเ วลาจงึ เสด็จพระราชดำเนินกลับ
อปุ สมบท และอบรมธรรมแกประชาชนชาวอุดรธานตี ลอดเวลา
ลำดับที่ ๘ พ.ศ. ๒๕๐๖
ลำดับท่ี ๖ พ.ศ.๒๔๙๗ เปน ศนู ยศ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย โดยมนี กั เรยี น
สมเดจ็ พระสังฆราชเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศ (ม.ร.ว. ตามโรงเรียนตางๆ มาเรยี นต้ังแตช ้นั ป.๕ จนถงึ มธั ยมตน เพอ่ื
ชื่น นพวงศ ป.ธ.๗) ทรงมีพระบัญชาใหพระครูสิริสารสุธี อบรมใหนักเรียนมีความรูความเขาใจในพระพุทธศาสนาใหถูก
(จนั ทรศ รี จนทฺ ทโี ป) มาอยวู ดั โพธสิ มภรณเ พอ่ื ชว ยแบง เบาภาระ ตอ งลกึ ซง้ึ ย่ิงขน้ึ
ของพระธรรมเจดยี  (จูม พนธฺ ุโล) เนือ่ งดวยชราภาพมากแลว
ลำดับท่ี ๙ พ.ศ. ๒๕๐๗
ลำดบั ที่ ๗ พ.ศ. ๒๔๙๘ วันที่ ๗ พฤษภาคม พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ
วนั ท่ี ๑๐ พฤศจกิ ายน เวลา ๑๗.๐๐ น. ไดทรงโปรดเกลาฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหวัด
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ พรอมดวยสมเด็จ โพธสิ มภรณเ ปน พระอารามหลวงช้ันตรี ชนดิ สามญั
พระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ ไดเสด็จเย่ียมวัดโพธิสม
ภรณ จ.อุดรธานี มที านเจา คณุ พระธรรมเจดีย (จมู พนธฺ โุ ล) ลำดับที่ ๑๐ พ.ศ.๒๕๐๗
เจาอาวาส พระอริยคุณาธาร (เส็ง ปุสโส) พระครูสิริสารสุธี วันท่ี ๒๘ ตุลาคม เวลา ๑๔.๐๐ น. สมเด็จพระศรี
(จนั ทรศ รี จนฺททโี ป) ผูชว ยเจา อาวาส และผูชวยเจาคณะ นครินทรา บรมราชชนนี เสด็จเย่ียมวัดโพธิสมภรณ พระ
จังหวัดอุดรธานี (ธรรมยุต) พรอมดวยพระภิกษุ สามเณร ราชเมธาจารย (จันทรศรี จนทฺ ทโี ป) รกั ษาการเจา อาวาส

ประวัติศาสตร ๑๒
วดั โพธิสมภรณ

ผูช วยเจา คณะจงั หวดั อดุ รธานี (ธรรมยุต) พรอ มดว ย พระภกิ ษุ ปชู นียวตั ถุสำคัญ
-สามเณร รอรับเสด็จฯ ในพระอุโบสถทรงมีพระราชปฏิสันถาร ของวดั โพธสิ มภรณ
ถามสขุ ทกุ ขก บั พระราชเมธาจารย ประมาณ ๒๐ นาที ทรงถวาย
กปั ปย ภัณฑ เปนจำนวน ๑,๐๐๐ บาท (หนง่ึ พันบาทถว น) เพอ่ื ๑. พระพุทธรัศมี พระพุทธรูปทอง พระพทุ ธรศั มี
บำรุงวัดจากน้ันจึงเสด็จฯ เย่ียมขาราชการ พอคา ประชาชน สัมฤทธ์ิ มอี ายปุ ระมาณ ๖๐๐ ป ปางมารวชิ ยั พระพทุ ธรปู ศลิ าแลง
ที่รอเฝารับเสด็จประมาณ ๔๐ นาที สมควรแกเวลาจึงเสด็จ สมัยกรุงศรีสัตตนาคนหุต (เวียงจันทร)
พระราชดำเนนิ กลบั เจาหญิงแกวยอดฟากัลยาณี พระธิดาของ
พระเจาพรหมวงศ อปุ ราชติสสะ พระเจา แผน
ลำดับที่ ๑๑ พ.ศ. ๒๕๐๗ ดินกรุงศรีสัตตนาคนหุต เปนผูสรางไวใน
วนั ที่ ๒๖ พฤศจกิ ายน ใหพ ระราชเมธาจารย (จนั ทรศ รี พระพุทธศาสนา ตอมา เจาพระยามุขมนตรี
จนฺททีโป ป.ธ.๔) เปนเจาอาวาสวัดโพธิสมภรณ (อวบเปาโรหติ ย) ไดอ ญั เชญิ ขนึ้ ประดษิ ฐานไว
บนแทนชุกชี เปนพระประทานในพระอุโบสถ
ลำดับที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๑๖ วัดโพธสิ มภรณ อดุ รธานี เม่อื พ.ศ. ๒๔๖๗
วันท่ี ๑๓ กรกฎาคม สมเด็จพระสังฆราชเจา (ปุน
ปณุ ณฺ สริ ิ ป.ธ. ๖) วดั พระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม ทรงประทาน ๒. พระพุทธรูปศิลาแลง ปาง
พัด, ยาม, ใบยกยอ งใหว ัดโพธิสมภรณ เปนวัดพัฒนาตวั อยา ง ประทานพร สมัยลพบุรีมีอายุ ๑,๓๐๐ ป
พระยาอุดรธานีศรโี ขมสาครเขต (จิตร จติ ตะ
ลำดบั ที่ ๑๓ พ.ศ. ๒๕๑๗ ยโสธร ป.ธ.๖) ผูวาราชการจังหวัดอุดรธานี
ต้ังศูนยศึกษาบาลีอีสาน (ธรรมยุต) ณ วัดโพธิสมภรณ ไดเชิญมาประดิษฐานไวท่ีซุมฝาผนังพระ
โดยความเห็นพองตองกันของพระสังฆาธิการทุกระดับในภาค อุโบสถดานหลงั พ.ศ. ๒๔๖๙
๘-๙-๑๐-๑๑ เปนตนมาจนกระทั่งบัดน้ี

ลำดบั ท่ี ๑๔ พ.ศ. ๒๕๔๔
เปนศูนยพัฒนา คุณธรรมจริยธรรม จังหวัดอุดรธานี
เพ่ืออบรมเผยแผศีลธรรมใหกับพุทธศาสนิกชนทั่วไป โดย
เฉพาะเยาวชนใหห า งไกลจากยาเสพตดิ เหน็ โทษภยั ของสง่ิ ยวั่ ยุ
มอมเมา ใหเ ปน คนดีคนเกงของชาติสบื ตอไป

ปูชนยี วตั ถุสำคญั ๑๔ ๑๕
วัดโพธสิ มภรณ
ทา นพระครูธรรมวินยานยุ ุต (หนู)
ตน พระศรมี หาโพธ์ิ ๓. ตนพระศรีมหาโพธิ์
รัฐบาลสมัย ฯพณฯ ทาน จอมพล ผูปกครองวัดโพธสิ มภรณ รูปท่ี ๑
ป.พบิ ลู สงครามเปน นายกรฐั มนตรี ตง้ั แต พุทธศักราช ๒๔๔๘ - ๒๔๖๕ รวมระยะเวลาได ๑๗ ป
ซึ่งรัฐบาลประเทศศรีลังกาใหแก
รัฐบาลไทย พ.ศ. ๒๔๙๓ นำมา สิริอายุรวม ๙๘ ป
ปลูกไวดานทิศเหนือพระอุโบสถ
วัดโพธิสมภรณวันอาทิตยท่ี ๒๐
พฤษภาคม ๒๔๙๔ เวลา ๑๓.๓๗ น. ตรงกบั วนั ขน้ึ
๑๕ ค่ำ เดอื น ๖ ปเ ถาะ เปน วนั วิสาขบชู าพอดี

พระบรมสารีริกธาตุ ๔. พระบรมสารรี กิ ธาตุ บรรจุ
ไวในพระเศียรพระพุทธรูปพระ
ประธานมีนามวา พระพุทธ
รัศมี และบรรจุไวหนาบันพระ
อโุ บสถ

๕. ธรรมาสนก บู ชา ง ลงรกั ปด

ทองชน้ั โท จ.ป.ร พ.ศ. ๒๔๕๓ ธรรมาสนก ูบชา ง
๖. ตูพระไตรปฎกลายทอง

รดนำ้ ในพระนามสมเดจ็ พระเจา ฟา มหดิ ลอดลุ ย

เดช กรมหลวงสงขลานครนิ ทร พ.ศ. ๒๔๗๒

รอยพระพทุ ธบาทจำลอง ๗. รอยพระพุทธบาทจำลอง สรางดวยศิลา
แลง ทานเจาคุณพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) ไดนำมาจาก อ.
ทาอเุ ทน จ.นครพนม พ.ศ.๒๔๗๒ มีอายุ ๒๐๐ ปเศษ ประดษิ ฐาน
ไวในมณฑปดานทิศเหนอื พระอุโบสถ

๑๖ ๑๗

ทานเจา คุณพระธรรมเจดีย ทา นเจา คุณพระอดุ มญาณโมลี

(จมู พนธฺ ุโล น.ธ. โท. ป.ธ. ๓) (จนั ทรศรี จนทฺ ทโี ป น.ธ. เอก. ป.ธ. ๔)

ผปู กครองวดั โพธิสมภรณ รูปท่ี ๒ ผูป กครองวดั โพธสิ มภรณ รปู ท่ี ๓
ตั้งแต พุทธศักราช ๒๔๖๖ - ๒๕๐๕ รวมระยะเวลาได ๓๙ ป ตง้ั แต พุทธศักราช ๒๕๐๗ - ปจจบุ นั

สิริอายุ ๗๔ ป ๒ เดอื น ๑๕ วัน ๖๓ พรรษา อายุ ๙๘ ป ๗๘ พรรษา

คำปรารภ สารบัญ หนา

“ทา นเจา คณุ พระธรรมเจดยี  โดยสว นมากคนไมค อ ยรจู กั เทา กบั หลวงปู หลวง ทา นเจา คณุ พระธรรมเจดยี  (จูม พนฺธโุ ล)
พอ ทง้ั หลาย ทเี่ ปน ศษิ ยส ายกรรมฐานของทา น เพราะอะไร? เพราะไมไ ดท ำประวตั ขิ อง
ทานออกเผยแผเ วน ไวแตผูทส่ี นใจจริงๆ” ๑. ชาติภูมิ ........................................................................................... ๒๔

ทา นเจา คณุ พระอดุ มญาณโมลี (จนั ทรศ รี จนทฺ ทโี ป) เจา อาวาสรปู ปจ จบุ นั แหง ๒. อัธยาศยั นอมนำมาทางธรรม ...................................................... ๒๖
วดั โพธสิ มภรณ ไดปรารภดงั ขอ ความขางตน ถึงเจา อาวาสรูปที่ ๒ แหง วัดโพธสิ มภรณ
อนั เปน มลู เหตใุ หค ณุ นรนิ ทร เศวตประวชิ กลุ คณุ ชวนิ ยงยทุ ธ และคณุ พริ ณุ จติ รยง่ั ยนื ๓. ใตร ม กาสาวพัสตร ........................................................................ ๒๘
ไดร ำลกึ ถงึ คำปรารภและนอ มนำมาปรกึ ษาหารอื กนั เพอ่ื สบื สานตอ เจตนารมณข องทา น ๓.๑ บรรพชาเปนสามเณร ............................................................. ๒๘
เจา คณุ ฯ จงึ ไดพ ยายามมงุ มนั่ คน ควา ศกึ ษา ชวี ประวตั อิ นั บรสิ ทุ ธ์ิ ขอ วตั รปฏปิ ทาตลอด ๓.๒ อปุ สมบท ............................................................................. ๒๙
จนหลกั ธรรมคำส่งั สอนอันทรงคณุ คา ซึ่งเปนระยะเวลากวาหกสบิ สามป ภายใตร มเงา
ผากาสาวพกั ตรของทา นเจา คณุ พระธรรมเจดีย (จูม พนธฺ ุโล) ๔. ตามรอยอรยิ สงฆแ หงกรงุ รตั นโกสินทร ..................................... ๓๑
๔.๑ สามเณรนอ ย... ฉายแวว ......................................................... ๓๑
ทา นเจาคณุ พระธรรมเจดยี  (จูม พนฺธุโล) เปน พระเถรานุเถระผูปฏิบัตดิ ี ปฏิบัติ ๔.๒ ในแดนธรรม...........................................................................๓๒
ชอบ ประพฤตพิ รหมจรรยบ รสิ ทุ ธ์ิ บรรพชาและอปุ สมบทมาแตเ บอื้ งตน ทา มกลาง จวบจน ๔.๓ กลับมาตภุ ูมิ ........................................................................... ๓๓
บน้ั ปลายแหง ชวี ติ ในฐานะพระสมณศากยบตุ ร ผสู บื ทอดมรดกธรรม ดำรงพระพทุ ธศาสนา ๔.๔ วันท่รี อคอย ........................................................................... ๓๖
ดำเนนิ รอยตามแนวทางพระยคุ ลบาท ทอ่ี งคส มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธเจา ไดท รงวางไวอ ยา ง ๔.๕ ตอ นรบั ... พระนวกะ ............................................................... ๓๗
เครงครดั และในฐานะพระอปุ ชฌาย ผูกอ กำเนดิ ภิกษุสงฆธ ุดงคก รรมฐานมากมาย ปฏบิ ัติ ๔.๖ ศึกษาพระปรยิ ตั ธิ รรมฯ .............................................................. ๓๘
ศาสนกจิ เปน คณุ ประโยชน แกค ณะสงฆแ ละพระพทุ ธศาสนาเปน อเนกประการ จนอาจกลา ว ๔.๗ เมือ่ วัดศรเี ทพฯ ขาดผูนำ ......................................................... ๔๐
ไดว า “หากไมม ที า นเจา คณุ พระธรรมเจดยี  (จมู พนธฺ โุ ล) คนภาคอสี านคงไมม โี อกาสไดพ บ ๔.๘ สมเด็จพระสังฆราชเจา ฯ ประทานพระโอวาท ........................... ๔๑
ทา นอาจารยใหญ ฝา ยวิปส สนาธุระอยางทา นพระอาจารยมั่น ภูริทตฺโต อกี ครั้ง” ๔.๙ ตนทุนดี ................................................................................. ๔๓

ทานยังเปนผูมีความกตัญูสูง และมีความเพียรเปนเลิศ สมกับนามฉายา ๔.๑๐ ธรรมะ... ของสตั บรุ ษุ ............................................................ ๔๔
พนธฺ ุโลภิกขุ อันมีความหมายเปน มงคลวา ผูปรารภความเพียร ๔.๑๑ อานภุ าพ ! กัลยาณมติ ร ......................................................... ๔๕

ดวยปณิธานมุงม่ันใหบรรลุตามเจตจำนงคของทานเจาคุณพระอุดมญาณโมลี ๕. ทางอันประเสรฐิ สปู ระตแู หงความสำเร็จ .................................. ๔๖
(จนั ทรศ รี จนฺททีโป) ทีจ่ ุดประกายใหจ ดั ทำหนงั สอื จากวนั วารจวบจนวนั น้ี ขอนอมถวาย
เปนพุทธบูชาและกราบบูชาอาจาริยคุณอันยิ่งใหญของทานเจาคุณพระธรรมเจดีย (จูม ๖. รบั สนองพระบัญชาดำรงตำแหนง ผูปกครองฯ .......................... ๕๕
พนฺธุโล) เพ่ือมอบเปนธรรมทานแกพุทธศาสนิกชน ประดุจดังบุพนิมิตแหงชีวิตที่ดีงาม
จกั ไดศ กึ ษาประวตั ขิ องพระอรยิ สงฆผ เู ปน แบบอยา งและความสงา งามแหง วดั โพธสิ มภรณ ๗. อำลาวดั เทพศิรนิ ทราวาส สูผปู กครองวัดโพธสิ มภรณ ........... ๕๙
อนั พึงไดย ึดถอื เปนสรณะอันประเสริฐ และนอ มนำมาประพฤตปิ ฏบิ ัติ เพ่ือถงึ ทส่ี ุดแหง
ความพนทกุ ขจ ากสงั สารวัฏ พบพระนพิ พาน ในกาลอนั ใกล…เทอญ ๘. พรหมวิหารธรรมสำหรับผูป กครอง ............................................ ๖๑
๘.๑ ดา นการปกครอง.....................................................................๖๓
อนงึ่ เรอื่ งราวเหตกุ ารณ หลกั ฐานทนี่ ำมาลงในหนงั สอื หากมสี ว นผดิ พลาดหรอื ๘.๑.๑ กฎระเบียบภายในวดั โพธิสมภรณ ............................ ๖๓
บกพรอ ง ดว ยประการใดๆ คณะผจู ดั ทำหนงั สอื ขอนอ มรบั ความผดิ พลาดนนั้ ๆ และหวงั ๘.๑.๒ บทตักเตือนและลงโทษ ........................................... ๖๕
ไดรับเมตตา ใหอภยั จากทกุ ทา น ในโอกาสน้ี. ๘.๒ ดา นการศกึ ษา.........................................................................๖๕
๘.๓ ดา นการเผยแผ.......................................................................๖๗

๘.๔ ดานสาธารณูปการและสาธารณะสงเคราะห..............................๗๐ สารบัญ
๘.๔.๑ สาธารณะสงเคราะห ................................................ ๗๓
ทา นเจาคุณพระอดุ มญาณโมลี (จันทรศ รี จนทฺ ทีโป) หนา
๙. ขอวตั รปฎปิ ทา ............................................................................... ๗๔
๑๐. ตอนรับพระอาคนั ตกุ ะ .................................................................. ๗๘ ๑. ชาตภิ ูมิ .......................................................................................... ๑๕๗
๑๑. เปรียบเสมอื นพระธรรมเสนาบดี ................................................. ๘๐
๒. โยมบิดาภายใตรมเงาผา กาสาวพัสตร ...................................... ๑๕๘
๑๑.๑ ทา นเจาคณุ ฯ ขน้ึ เหนือพบทา นพระอาจารยมัน่ ฯ ...................... ๘๑
๑๑.๒ จากเมอื งเหนือ สู แดนอสี าน ................................................... ๘๓ ๓. นิมติ ...การมาของผมู บี ญุ ............................................................ ๑๖๓
๑๑.๓ ทา นเจา คณุ ฯ เตรยี มเสนาสนะ.................................................๘๔ ๓.๑ เม่ือ “จนั ทรศรี” สองแสงธรรม ................................................ ๑๖๕
๑๑.๔ ฟนฟูคณะธรรมยตุ ...ในภาคอสี าน...........................................๘๕
๑๑.๕ วดั โพธิสมภรณตน กำเนดิ พระธรรมยุต.....................................๘๘ ๔. ถึงเวลารักษาสจั จาธฐิ าน ............................................................ ๑๖๖

๑๒. พระเถระชัน้ ผูใ หญศ ษิ ยส ายพระอาจารยมั่นฯ ........................... ๙๐ ๕. กา วสูรม กาสาวพสั ตร .................................................................. ๑๖๙
๕.๑ มงุ มน่ั ...ในทางธรรม ............................................................ ๑๖๙
๑๓. หลกั ใจหลกั ธรรมของทานเจา คุณฯ ........................................... ๑๑๐ ๕.๒ บรรพชาเปน สามเณร ............................................................ ๑๗๐
๕.๓ เมือ่ ... ญตั ตเิ ปนธรรมยตุ ........................................................ ๑๗๑
๑๔. คำสดุดีพระคณุ ............................................................................ ๑๑๓ ๕.๔ กวาจะถงึ วนั นี้... อปุ สมบท ..................................................... ๑๗๓

๑๕. คำยกยองเกยี รติคุณจากศษิ ยานศุ ษิ ย ...................................... ๑๑๕ ๖. ประสบการณทางวญิ ญาณ ......................................................... ๑๗๔

๑๖. อดตี แหงความผกู พนั ................................................................. ๑๑๙ ๗. พบกองทพั ธรรม .......................................................................... ๑๗๙
๑๖.๑ มหศั จรรย. .. ความรกั .......................................................... ๑๑๙
๑๖.๒ สมเหตสุ มผล ...................................................................... ๑๒๐ ๘. ดจุ ดงั่ เข็มทิศแหง ชีวิต .................................................................. ๑๘๔
๑๖.๓ หวงใย ............................................................................... ๑๒๑ ๘.๑ สามเณรจนั ทรศรีเที่ยวธดุ งค...................................................๑๘๕
๑๖.๔ คอยเฝา ตดิ ตาม .................................................................. ๑๒๒ ๘.๒ มหศั จรรย ! จติ สงบ .............................................................. ๑๘๖
๑๖.๕ ยอดกตัญู........................................................................๑๒๒ ๘.๓ ขอธรรม... ท่ีตองจารนัย ........................................................ ๑๘๘
๑๖.๖ เมื่อถึงกาลแตกดับ ............................................................. ๑๒๓ ๘.๔ จาริกสู... นครเวยี งจันทร ...................................................... ๑๘๙
๑๖.๗ มงคลนาม ......................................................................... ๑๒๘ ๘.๕ ปลกี วเิ วก... ไมก ลวั ตาย ........................................................ ๑๘๙
๑๖.๘ ปพุ เพนวิ าสานุสสติญาณ .................................................... ๑๒๙ ๘.๖ วถิ .ี .. แหง ศากยบตุ ร .............................................................. ๑๙๑
๘.๗ เผยแผ... สัมฤทธิผ์ ล ............................................................. ๑๙๔
๑๗.พระธรรมเทศนา ........................................................................... ๑๓๒ ๘.๘ กลับคนื ส.ู .. ถ่นิ เดิม ............................................................... ๑๙๕
๑๘. ทกุ ชวี ติ มคี วามตายเปน เบอ้ื งหนา .................................................๑๔๒
๙. ศกึ ษาแผนทก่ี อนเดนิ ทาง ............................................................ ๑๙๖

๙.๑ ระยะทาง... มิใชอ ปุ สรรค ...................... ...................... ๑๙๘

๙.๒ เหตแุ หง ความเจรญิ ............................... ................ ๒๐๐

๑๐. เสนทางสู วดั บวรนิเวศวิหาร ......................... .......................... ๒๐๓
๑๐.๑ อาคันตุกะ... วดั นรนาถฯ .......................... .......................... ๒๐๓

๑๐.๒ อาคันตกุ ะ... วดั บวรมงคล ..................................................... ๒๐๔ ทา นเจาคุณพระธรรมเจดีย (จมู พนฺธุโล)
๑๐.๓ อญั มณี... แหงชวี ติ ................................................................ ๒๐๕
ฉายา “พนธฺ ุโลภกิ ขุ”
๑๐.๓.๑ ระเบยี บวดั บวรนิเวศวิหารในสมยั นั้น ................... ๒๑๐ อนั มคี วามหมายเปนมงคลวา
๑๐.๓.๒ เนนระเบียบการเรยี นในสำนักเรียน ...................... ๒๑๑
๑๐.๓.๓ ปกครองโดยพระธรรมวนิ ัย .................................. ๒๑๒ ผปู รารภความเพียร

๑๑. จากวัดบวรนิเวศวิหารสู...วัดโพธสิ มภรณ ................................ ๒๑๔

๑๒. เมอ่ื ตอ งยตุ ปิ ริยัติ ......................................................................... ๒๑๖

๑๓. ดำรงตำแหนงเจาอาวาสวัดโพธิสมภรณ .................................. ๒๑๙
๑๓.๑ ดา นการปกครอง ................................................................ ๒๒๐
๑๓.๒ ดานการศกึ ษา ................................................................... ๒๒๐
๑๓.๒.๑ ดา นการศึกษาสงเคราะห .................................... ๒๒๑
๑๓.๓ ดา นการเผยแผ .................................................................... ๒๒๒
๑๓.๓.๑ โครงการศูนยพ ฒั นาคณุ ธรรมฯ ............................ ๒๒๓
๑๓.๓.๒ โครงการบรรพชาสามเณรฯ ................................. ๒๒๔
๑๓.๓.๓ โครงการธรรมศกึ ษาฯ ......................................... ๒๒๔
๑๓.๓.๔ การจดั ทำหนังสอื ธรรมะฯ .................................... ๒๒๔
๑๓.๔ ดานสาธารณปู การ และสาธารณะสงเคราะห ......................... ๒๒๕
๑๓.๔.๑ สาธารณะสงเคราะห .......................................... ๒๒๙

๑๔. ขอ วตั รปฏบิ ตั ิ ................................................................................ ๒๓๐

๑๕. เสน ทางแหง ความสำเรจ็ ..............................................................๒๓๗

๑๖. ความกตัญูเปนเครือ่ งหมายของคนดี .................................... ๒๕๖
๑๖.๑ ทีม่ ีตอสมเด็จพระสงั ฆราชเจาฯ .......................................... ๒๕๖
๑๖.๒ ท่ีมตี อทา นเจาคุณพระธรรมเจดียฯ ...................................... ๒๖๔
๑๖.๓ ทีม่ ตี อทา นเจา คุณพระวสิ ุทธาจารยฯ .....................................๒๖๖

๑๗. สองอริยสงฆผ เู ปน เพชรนำ้ หน่ึง ............................................... ๒๗๐

๑๘. หญงิ เปนมลทินของพรหมจรรย .................................................๒๗๓

๑๙. ปฐมบทแหง พระบรมธาตธุ รรมเจดีย........................................๒๗๗

๒๐. เทศนาธรรมฯ ................................................................................ ๒๘๐

๑ ชาตภิ ูมิ ๒๕ ชี ว ป ร ะ วั ติ

วันพฤหสั บดี ที่ ๒๔ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๑ ทานเจาคณุ พระธรรมเจดยี 
(จมู พนฺธโุ ล)

ท าน เ จา คุ ณ พ ระ ธ รรม เ จ ดีย
(จูม พนฺธุโล) ทานเกิดในตระกูล
จนั ทรวงศ บดิ าชอ่ื คำสงิ ห มารดา
ชอ่ื เขยี ว เกดิ วนั พฤหสั บดี ท่ี ๒๔
เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๑ ซงึ่ ตรงกบั
วันข้ึน ๖ ค่ำ เดือน ๖ ปช วด (ตน
รชั กาลที่ ๕)

อาชพี ของครอบครวั ทำไร
ทำนา ณ บา นทา อเุ ทน ต.ทา อเุ ทน
อ.ทา อเุ ทน จ.นครพนม ทานเปนบตุ ร
คนที่ ๓ ในจำนวนพ่ีนองรวม ๙ คน

ราว ๑๒๐ ปเ ศษลว งมา ณ บา นทา อเุ ทน ผมู บี ญุ ญาบารมี
วาสนาทางธรรม ไดลืมตามามองโลกเปนทารกเพศชาย ในวัน
นนั้ มมิ ใี ครลว งรไู ดว า ตระกลู จนั ทรวงศ ไดใ หก ำเนดิ บตุ รชาย ผู
จกั เปน กำลงั หลกั ใหแ กว งการพระพทุ ธศาสนา ในฐานะพระสงฆ
สาวกของพระผูมีพระภาคเจา ผูปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ และอีก
ฐานะคือ อภิชาตบุตรแหงตระกูลจันทรวงศ เพราะกาล
ตอมา ทารกนอยผูนี้ไดเปนถึงพระเถรานุเถระผูใหญ ทรงภูมิรู
ทรงภูมิธรรม เชี่ยวชาญจนแตกฉาน ทั้งพระปริยัติธรรม และ
พระปฏิบัติธรรม ยังคุณประโยชนแกคณะสงฆ และพระพุทธ
ศาสนาเปนอเนกประการ นับวาเปนพระเถรานเุ ถระทีส่ ำคญั ยิ่ง
รปู หน่ึงในยคุ กรงุ รัตนโกสินทร

๒ ๒๗ ชี ว ป ร ะ วั ติ

อธั ยาศยั นอมนำมาทางธรรม ทา นเจา คุณพระธรรมเจดยี 
(จูม พนฺธโุ ล)
กาลเวลาผา นไปโดยลำดบั ทารกนอ ยเรมิ่ เตบิ โตขน้ึ ดว ย
ผลแหงบุญท่ีไดส ะสมไวใ นอดีตชาติ เร่มิ ฉายแสงเขา สูดวงจติ ประเพณีและโอกาสเทศกาลตางๆ
ของ เดก็ ชายจมู จนั ทรวงศ เปน เหตปุ จ จยั ใหม อี ปุ นสิ ยั นอ มนำ ในวดั วาอาราม กข็ อตดิ ตามไปดว ย
มาในทางพระพุทธศาสนาต้ังแตเยาววัยยังใหเกิดจิตสำนึกที่ ทุกครั้ง มีความสุภาพออนนอม
ดีงาม มีสติต้ังมนั่ ดำรงตนอยูบนความดี รงั เกียจความชวั่ ที่ ถอมตน เคารพยึดม่ันในพระ
ทำใหตนเปน คนชัว่ รตั นตรยั เชอื่ ถอ ยคำ ใหค วาม
เคารพผใู หญ แสดงออกถงึ
เดก็ ชายจมู รใู นบาปบญุ คณุ โทษ ใสใ จในการทำบญุ ทำ ความ พรอม ท่ี จะ ซึมซับ
กุศล เมือ่ เหน็ บิดามารดา ปูยา ตายาย เดนิ ทางไปทำบุญ ตาม เรยี นรูวถิ แี หง ความดี จึง
เปนเหตุให เด็กชายจูม
จันทรวงศ เปน ทายาท
แหงธรรม มาแตเบ้ือง
ตน

พ ฤ ติ ก ร ร ม ใ น
ปจ จบุ นั บง ชถ้ี งึ วถิ ชี วี ติ ใน
อนาคต พอแมผูปกครอง
ที่ฉลาด จะตองคอยเฝาดู
พฤติกรรมบตุ รหลานของตน วา โนม เอยี งไปทางไหน ชอบอะไร
ถาไมผิดศีลธรรม และคำสอนของพระผูมีพระภาคเจา ก็ควร
สงเสริมสนับสนุนไปทางน้ัน อยาไปขัดขวางเด็กจะไดมีความ
เจริญกา วหนา ในแนวทางทีต่ นปรารถนา

๒๙ ชี ว ป ร ะ วั ติ

ทานเจาคุณพระธรรมเจดยี 
(จมู พนฺธุโล)

จึงไดบรรพชาเปนสามเณรในพระพุทธศาสนา ตามความ

ปรารถนาของบิดามารดา

ณ วัดโพนแกว ต.ทา อเุ ทน อ.ทาอเุ ทน จ.นครพนม

ในวันอาทิตยท่ี ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๔๒ ขึ้น ๘ ค่ำ

เดือน ๑ (เดือนอาย) ปก นุ โดยมี

พระครขู นั ต์ิ ขนตฺ ิโก เปน พระอปุ ชฌาย (วัดโพนแกว)

พระครูเหลา ผูใหสรณคมนและศลี

๓ ใตรมกาสาวพสั ตร (วดั โพนแกว ) เปนพระอาจารย
พ.ศ. ๒๔๔๒
พระครสู ีดา เปนพระโอวาทกาจารย
ผูที่สะสมบุญบารมี มาดีแลวแตปางกอน บุญยอมผูก
อุปนิสัยใหผูน้ันมีจิตใจนอมนำมาดำเนินตามหนทางพนทุกข (วัดโพนแกว) และเปน ครูผสู อนอักษรสมยั
เพ่อื จักมไิ ดมาเวยี นวา ยตายเกิดในสังสารวฏั อีกตอ ไป
๓.๒ อุปสมบท (พ.ศ. ๒๔๕๐)
๓.๑ บรรพชาเปนสามเณร (พ.ศ. ๒๔๔๒)
พระอาจารยจันทร เขมิโย ได พระอาจารยจ ันทร เขมิโย
บดิ ามารดาของเด็กชายจูม จนั ทรวงศ มคี วามประสงค พิจารณาเห็นวาสามเณรจูม จันทรวงศ มี (พระอนสุ าวนาจารย)
อยากใหบ ตุ รชายไดบ วชเรยี นในพระพทุ ธศาสนาและศกึ ษาเลา ความมุงม่ันขยันหมั่นเพียร ตั้งใจสนใจ วดั ศรีเทพประดิษฐาราม
เรยี นหาความรใู นดา นหลกั ธรรม เมอื่ อายคุ รบ ๑๒ ป เดก็ ชายจมู ศึกษา ขอ วัตร ปฏิบัติ และ แนวทาง เจริญ อ.เมอื ง จ. นครพนม
กรรมฐาน มคี วามประพฤตอิ อ นนอ ม ถอ มตน
ไมเคยทำใหครูบาอาจารยลำบากใจ ทาน
พระอาจารยจันทร มีความปติช่ืนชมยินดีใน

ตัวสามเณรจมู ผูเ ปนศษิ ยย่ิงนกั

คร้ันสามเณรจูม อายุครบ ๒๐ ปบริบูรณ สมควรจะ
ทำการอุปสมบทเปนพระภิกษุไดแลว ทานพระอาจารยจันทร
จึงจัดเตรียมบริขารเคร่ืองใชท่ีจำเปนในการเดินทางใหแก

ใตร มกาสาวพัสตร ๓๐

สามเณรจูม เพอ่ื เดินทางจากเมอื งนครพนม ไปยังอำเภอเมอื ง

หนองบัวลำภู จังหวัดอดุ รธานี (อำเภอหนองบัวลำภู ปจจบุ นั
เปน จงั หวดั หนองบวั ลำภ)ู เพอื่ เขา รบั การอปุ สมบทเปน พระภกิ ษุ
ในบวรพระพุทธศาสนา (คณะทีเ่ ดินทางไปรบั การอปุ สมบทครงั้

นนั้ มีทั้งหมด ๗ นาค)

ทานเจาคุณพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) ไดเมตตา

เลาใหฟ งวา “การเดินทางในครง้ั นั้นลำบากมาก เดนิ ดวยเทา

เปลา จากเมืองนครพนม ถึงอำเภอเมืองหนองบัวลำภู เปนเวลา

๑๕ วันเต็ม เดินทางไปถึงก็พักผอนพอสมควร” เขารับการ ๔ ตามรอย

อุปสมบท เปน พระภกิ ษุสงฆในพระธรรมวินัย ณ พัทธสีมาวัด อริยสงฆแ หง กรุงรตั นโกสนิ ทร

มหาชยั ต.หนองบวั อ.หนองบวั ลำภู จ.อดุ รธานี ในวันจันทร ทา นเจาคณุ พระธรรมเจดยี  (จมู พนธฺ ุโล)

ที่ ๙ มนี าคม ๒๔๕๐ ขึน้ ๘ ค่ำ เดือน ๔ ปมะแม อุปสมบท ๔.๑ สามเณรนอย... ฉายแวว (พ.ศ. ๒๔๔๒)

เสรจ็ ส้นิ เวลา ๑๗.๑๐ น. โดยมี เมือ่ บรรพชาเปนสามเณรแลว ทา นไดอ ยูจ ำพรรษา ณ วัด
โพนแกว และไดศกึ ษาเลาเรยี นพระปรยิ ัติธรรม รวมทง้ั ระเบยี บ
พระครูแสง ธมมฺ ธโร เปน พระอปุ ชฌาย ขนบธรรมเนยี มประเพณีของวัดโพนแกว เปน เวลา ๓ ป

เจา อาวาสวดั มหาชัย การศึกษาเลาเรียนในสมัยนั้น เปนการเรียนอักษรสมัย
คอื อักษรขอม อักษรธรรม และภาษาไทย สามเณรจูมมีความ
พระครูสมี า สีลสมฺปนฺโน เปนพระกรรมวาจารย

วัดจันทราราม(เมืองเกา ) อำเภอเวียง จังหวดั ขอนแกน

พระอาจารยจนั ทร เขมโิ ย เปนพระอนุสาวนาจารย

(จนั ทร เขมิโย) เจา อาวาสวดั ศรีเทพประดิษฐาราม

อ.เมือง จ. นครพนม

ไดร ับฉายาวา “พนฺธุโลภิกข”ุ

อันมคี วามหมายเปนมงคลวา ผปู รารภความเพียร

ตามรอยอริยสงฆ ๓๒ ๓๓ ชี ว ป ร ะ วั ติ
แหงกรงุ รัตนโกสินทร
ส่ิงนี้แสดงใหเห็นวา ทา นเจา คุณพระธรรมเจดีย
ทานเจาคุณฯ เปนผูมีอุปนิสัย (จูม พนฺธโุ ล)
นอมไปในวิปสสนากรรมฐาน
สนใจในการศึกษาเลาเรียน ขยันหม่ันเพียรอานออกเขียนได มาแตคร้ังยังเปนสามเณรก็
อยางคลองแคลวรวดเร็วจนแตกฉานดวยสติปญญาอันเฉลียว วาได ยอมเปนเนตติอันดี
ฉลาด เปน ทีร่ ักใครข องครูบาอาจารย นอกจากนั้น สามเณรจมู ของกุลบุตรกุลธิดาท่ีเกิดมา
ยงั ฝก หดั เทศนม หาชาติ (เวสสนั ดรชาดก) เปน ทำนองภาคอสี าน สุดทายภายหลัง ควรถือ
ปรากฏวา เปน ทนี่ ยิ มชมชอบของบรรดาญาตโิ ยมทง้ั บา นใกลแ ละ เอาเปน เยย่ี งอยา งสบื ไป
บานไกล
๔.๓ กลบั มาตภุ ูมิ (พ.ศ. ๒๔๔๙)
๔.๒ ในแดนธรรม (พ.ศ. ๒๔๔๖)
พ.ศ. ๒๔๔๙ พระอาจารยจันทร เขมิโย ไดน ำคณะ
เมื่อ ป พ . ศ . ๒๔๔๖ สาม เณร จูม ได ติดตาม พระภิกษุสามเณรจากจังหวัดอุบลราชธานี มุงกลับสูจังหวัด
พระอาจารยจันทร เขมิโย ผูเปนพระอาจารยพรอมดวยคณะ นครพนมอันเปนมาตุภูมิแหงตน ไดทราบจากคำบอกเลาวา
ไปจำพรรษาอยูท่ีสำนักวัดเลียบ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง ในขณะที่เดินทาง เดินทางดวยเทาเปลา เน่ืองดวยขณะนั้น
จังหวัดอุบลราชธานี อันเปนสำนักของพระอาจารยเสาร ยานพาหนะหาไดยาก และกอปรดวยการเดินทางก็มสี ามเณร
นอยๆ อยูหลายรูป จงึ จำตองพักแรมมาตามหมบู านตา งๆ ตาม
กนฺตสีโล และ พระ อาจารยม่ัน ระยะทางบานละคืน ๒ คืน ๓ คืนบางตามอัธยาศัย โดยมาก
ภูริทตฺโต ซ่ึงเปนอาจารยฝายวิปสสนา เม่ือพักแรมหมูบานใด ชาวบานในหมูบานนั้นก็จะชักชวนกัน
ธุระและไดศึกษาขอวัตรปฏิบัติในดาน มาฟง ธรรม โดยทา นพระอาจารยจ ันทร เขมิโย เปน ผแู สดง
สมถวิปสสนากรรมฐานกับพระอาจารย ธรรม เมื่อแสดงธรรมจบลงจะมีการสวดสรภัญญะ จึงเปน
เสาร กนฺตสีโล และพระอาจารยม่ัน มลู เหตุใหช าวบา นเหลา น้ันเกิดความเลื่อมใสเปนอยา งยิ่ง ครั้น
ภูริทตฺโต เปนระยะเวลา ๓ ป ไดความรู ถงึ วันที่ ๘ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๔๙ ตรงกบั วันอาทติ ย
ความเขาใจดีในดานสมถกรรมฐานและ
วิปสสนากรรมฐาน อันเปนมูลเหตุให
สามเณรจูมหรือทานเจาคุณพระธรรม
หลวงปเู สาร กนตฺ สีโล วัดเลยี บ เจดยี  (จูม พนฺธุโล) ประพฤติปฏิบตั สิ บื ตอ
อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี เน่อื งมาจวบจนวันอวสานแหง ชีวิต

ตามรอยอรยิ สงฆ ๓๔ ๓๕ ชี ว ป ร ะ วั ติ
แหงกรงุ รตั นโกสินทร
ทานเจา คุณพระธรรมเจดยี 
ข้ึน ๑๕ ค่ำ เดือน ๕ ป (จมู พนฺธโุ ล)
มะเมยี อนั ถอื เปน วนั มหา
ฤกษมหาไชย ที่คณะ (น่ังแถวหลงั จากซายไปขวา) หลวงปูฝน อาจาโร, หลวงปูขาว อนาลโย,
พระธรรมยุต เดนิ ทางเขา ทานเจาคณุ พระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล), หลวงปอู อ น าฺ ณสริ ิ, หลวงตามหาบัว าฺ ณสมปฺ นโฺ น,
เขตจังหวัดนครพนมโดย
ลำดับ ลุถงึ ณ บานหนอง (น่งั แถวกลางจากซา ยไปขวา) หลวงปจู ันทร เขมปตฺโต, หลวงปูก งมา จิรปุฺโ,ฺ
ขุนจันทน อยูดานทิศใต (นั่งแถวหนาจากซายไปขวา) หลวงปูบัว สริ ปิ ุณโณ, หลวงปอู อนสา สุขกาโร
ภาพถายในอดีต วัดศรเี ทพประดษิ ฐาราม จ.นครพนม เมืองนครพนม ไดหยุด
พักอยูที่นั้นกอน และไดสงคนนำขาวเขาไปบอกให พระยา ภาพน้ถี ายใตต นพระศรมี หาโพธ์ิ ณ วัดโพธสิ มภรณ อ.เมือง จ.อุดรธานี
สุนทรเทพกิจจารักษ เจาเมืองนครพนมทราบลวงหนา
พระยาสุนทรฯจึงสั่งใหขาราชการทุกแผนกประกาศใหพอคา วา เปน อดุ มมงคลอันหนง่ึ ซ่ึงคณะพระธรรมยุต ไดเ ดินทางจาก
ประชาชนทราบโดยทันที เพื่อรวมกันเปนขบวนพรอมดวย เมอื งอบุ ลราชธานี มาถึงเมอื งนครพนม กเ็ ปน วันเพ็ญเดอื น ๕
เครอ่ื งประโคมตา งๆ มฆี อ ง กลอง และปพ าทยเ ปนตน โดย พอดบิ พอดี โดยมไิ ดม กี ำหนดกาลไวก อ น นบั วา เปน นมิ ติ อนั ดี
พระยาสุนทรฯเปนหัวหนา นำขบวนออกจากเมอื งไปรบั ถึงบาน ทจี่ ะทำใหว งศธ รรมยตุ วัฒนาถาวรสืบไปตลอดกาล”
หนองขุนจันทน คร้ันไปถึงแลวไดกราบนมัสการพระคุณเจา
เหลาน้ันใหข้นึ น่ังเม็ง (เตยี ง) ซง่ึ มชี ายฉกรรจ ๔ คน เปนผูหาม ก็เปนจริงดั่งที่ทานเจาคุณพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล)
แหเ ขา สเู มอื งนครพนม ทา นเจา คณุ พระธรรมเจดยี  (จมู พนธฺ โุ ล) ไดกลาวไว ในกาลตอมาไดมีคณะพระธุดงคกรรมฐาน ในสาย
ไดเมตตาเลาใหฟงวา “ขบวนแหครั้งน้ันมีประชาชนมากหลาย ของทานพระอาจารยเสาร กนฺตสีโล และทานพระอาจารยมั่น
มีเสียงสน่ันหวั่นไหวไปดวยคล่ืนแหงมนุษยและคล่ืนแหงเสียง ภูริทตฺโต ไดออกเดินธุดงคไปเผยแผพระสัจธรรมอันบริสุทธิ์
ประโคมตา งๆ อยา งสนกุ สนาน อนั หาไดโ ดยยาก เพราะนานๆ ของพระผูมีพระภาคเจา พรอมทั้งกอต้ังวัดปาขึ้นมากมายใน
จะมสี กั ครงั้ หนง่ึ เมอื่ ขบวนแหเ ขา ถงึ วดั ศรีขุนเมอื ง (ปจ จบุ นั วัด จ.นครพนม
ศรีเทพประดิษฐาราม) ก็เปนเวลาพลบค่ำพอดี นาอัศจรรยใน
คนื วนั นนั้ ไดเ กดิ ฝนลกู เหบ็ ตกอยา งหนกั ใหเ ปน เหตทุ คี่ วรสงั เกต

ตามรอยอรยิ สงฆ ๓๖ ๓๗ ชี ว ป ร ะ วั ติ
แหง กรุงรัตนโกสินทร
ทานเจา คุณพระธรรมเจดยี 
๔.๔ วนั ท่ีรอคอย... (พ.ศ. ๒๔๕๐) (จมู พนธฺ โุ ล)

พ.ศ. ๒๔๕๐ พระอาจารยจ นั ทร เขมโิ ย ไดพิจารณา ๔.๕ ตอ นรบั ... พระนวกะ (พ.ศ. ๒๔๕๐)
เห็นวาหมูลูกศิษยทั้ง ๗ ทานน้ี ไดแก สามเณรจูม จันทรวงศ,
สามเณรสังข, สามเณรเกต, สามเณรดำ, นายสอน, นายสาร, พระอาจารยจ นั ทร เขมโิ ย ไดน ำคณะพระนวกะทเี่ ปน ลกู
ศิษยเดินทางกลับจังหวัดนครพนม ทานเจาคุณพระธรรมเจดีย
และนายอินทร มีอายุ ครบ ๒๐ ป (จูม พนธโุ ล) ทานเลา วา
บริบูรณ ควรจะ ทำการ อุปสมบท
ไดแลว จึงพรอมกันเดินทางจากเมือง “ ครั้น ออก เดิน ทาง จาก
นครพนมไปยงั อำเภอเมอื งหนองบวั ลำภู อำเภอหนองบัวลำภู มิไดกลับ
จังหวัดอุดรธานี เพื่อรับการอุปสมบท ทางเดิม ไดผานจังหวัดอุดรธานี
เปนพระ ภิกษุ ใน พระ ธรรมวินัย ได มุงสูจังหวัดหนองคาย เพราะทาน
เดนิ ทางดว ยเทา เปลา จากเมอื งนครพนม พระยาสุนทรเทพกิจจารักษ เจา
สนิ้ เวลา ๑๕ วนั จงึ ถงึ เมอื งหนองบวั ลำภู เมือง หรือ ผู วา ราชการ จังหวัด
ครน้ั ถงึ วนั ที่๙ เดอื นมนี าคม พทุ ธศกั ราช นครพนม ทานไดจัดเรือชะลามา
พระอาจารยจ นั ทร เขมโิ ย ๒๔๕๐ ตรงกับวันจันทร ขึ้น ๘ ค่ำ รับที่จงั หวัดหนองคาย” รปู ลักษณ
(พระเทพสิทธาจารย) เดือน ๔ ปม ะแม เวลา ๑๗.๑๐น. เสร็จ ของเรือชะลาน้ี เปนเรือขุด ลำเรือ
การอุปสมบทในพัทธสีมา วัดมหาชัย ตำบลหนองบัว อำเภอ ยาวเพรียวลม ไมมีกง มีฝพาย ๔
หนองบัวลำภู จังหวัดอุดรธานี โดยมี พระครูแสง ธมฺมธโร คนบา ง ๖ คนบา ง ๘ คนบา ง สดุ แต พระสงฆคณะธรรมยตุ วัดศรเี ทพฯ
วัดมหาชัย เปนพระอุปชฌาย พระครูสีมา สีลสมฺปนฺโน ลำเรือยาวแคไหน คนโบราณถือวาเปนเรือแจวชนิด ๖ แจว
วัดจันทราราม (เมืองเกา) อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแกน ๔ แจว ชนิดโตมาก เหน็ ๘ แจว มีประทุนตรงกลาง เปนเรอื
เปนพระกรรมวาจาจารย กับ พระอาจารยจันทร เขมิโย ของหนวยราชการ หรือเจานายผูมีฐานะ ภายหลังจากลงเรอื ท่ี
เจา อาวาสวดั ศรเี ทพประดษิ ฐาราม อ.เมอื ง จ.นครพนม เปน พระ จังหวดั หนองคายแลว ก็ลอ งไปตามแมน้ำโขง สิน้ เวลาการเดนิ
อนสุ าวนาจารย ทางเปนเวลา ๑๒ วันเตม็ ไดพกั อยจู ำพรรษา ณ วัดศรขี ุนเมอื ง
(ปจ จบุ ัน คอื วัดศรเี ทพประดษิ ฐาราม) ๑ พรรษา

ตามรอยอริยสงฆ ๓๘ ๓๙ ชี ว ป ร ะ วั ติ
แหงกรุงรัตนโกสนิ ทร
ทา นเจา คุณพระธรรมเจดยี 
๔.๖ ศึกษาพระปรยิ ตั ธิ รรม... (จูม พนธฺ โุ ล)
ณ สำนกั เรียนวดั เทพศิรินทราวาส (พ.ศ. ๒๔๕๑)
(ซาย) ภาพโบสถว ดั เทพศริ นิ ทราวาสในอดีต
พระภกิ ษจุ ูม พนธฺ ุโล ในฐานะสมณศากยบตุ ร ผูสบื ทอด (ขวา) ภาพโบสถว ัดเทพศิรนิ ทราวาสในปจ จุบนั
มรดกธรรม เปนพระภิกษุหนมุ ทมี่ คี วามขยัน อดทน มิยอ ทอ
ตอ ความยากลำบาก รบั ภาระธรุ ะ บำเพ็ญศาสนกจิ แทนครูบา จนถงึ จงั หวดั นครราชสมี า สน้ิ เวลา ๒๔ วนั และไดโ ดยสารรถไฟ
อาจารย เพ่อื ตอบสนองพระเดชพระคุณ มุงมั่นกระทำดที ่ีสุดที่ จากจังหวัดนครราชสีมา ถึงกรุงเทพฯ ไปพำนักอาศัย ณ วัด
จกั พงึ กระทำไดต อ ผมู พี ระคณุ ตลอดจนถงึ ความกตญั กู ตเวที เทพศริ นิ ทราวาส ขณะนน้ั เจา อาวาสไมอ ยู จงึ นำหนงั สอื ฝากของ
ซ่ึงทานพระอาจารยจันทร เขมิโย ใหความรัก ความอบอุน พระยาสนุ ทรเทพกจิ จารกั ษ ไปหารองเจา อาวาส รองเจา อาวาส
เมตตาปราณี ตอลูกศิษยดวยดีเสมอมา และในฐานะเปน ไดโอภาปราศรัยพอสมควรแกการปฏิสันถารแลว ไดความวา
ครบู าอาจารยตอ งใหการสงเสริม สนับสนุนใหล ูกศิษย มคี วาม มาจากจงั หวดั นครพนม จงึ ไดแ นะนำใหไ ปอยวู ดั บรมนวิ าส แต
เจริญกาวหนา ในดานการศึกษา มีความรู ความสามารถ พระอาจารยจันทร เขมิโย ผูเปนหัวหนาคณะเดินทาง ไมยอม
เพอ่ื ใหย กวทิ ยะฐานะของตนใหส งู ขน้ึ อกี ทง้ั ในการสบื ทอดอายุ ปฏิบัติตามคำแนะนำน้ัน และขอพักอาศัยชั่วคราวเพื่อขอพบ
พระพุทธศาสนาก็ตอ งอาศยั การศึกษา เจาอาวาสกอน ตามความประสงคของพระยาสุนทรฯ ผฝู าก
โดยทางหนังสอื ฉบบั ท่ี ๑ ถา ไมไ ดอ ยูวดั เทพศริ นิ ทราวาส ตาม
และแลว ก็ไดฤกษงามยามดี พ.ศ. ๒๔๕๑ ปวอก เจตนารมณแลวก็ใหนำหนังสือฉบับท่ี ๒ ไปถวายเจาอาวาส
ทานพระอาจารยจ นั ทร เขมโิ ย ไดออกเดนิ ทางพรอ มคณะศิษย วดั บวรนเิ วศวหิ ารตอไป ครนั้ พกั อยูวัดเทพศริ ินทราวาสไมก ว่ี นั
อนั มี เจาอาวาสก็กลับมา จึงไดนำคณะข้ึนกราบเรียนความเปนไป
ตง้ั แตต น จนอวสาน ทา นเจา อาวาสไดท ราบเจตนจ ำนงแลว ก็
๑.พระภิกษุจูม พนฺธุโล ๒.พระภิกษุสาร สุเมโธ อนมุ ตั ใิ หอ ยใู นสำนกั วดั เทพศริ นิ ทราวาสไดท ง้ั ๕ รปู ตามความ
๓.สามเณรจันทร บุตตะเวส ๔.สามเณรทัศน พรอมดวย ประสงคของผฝู ากและจนกวาจะศกึ ษาเลา เรยี นจนสำเร็จ
พระอาจารยจ นั ทร เขมโิ ย รวมเปน ๕ รปู ไดเ ดนิ ทางไปกรงุ เทพฯ
เพ่ือศึกษาพระปริยัติธรรมใหมีวิทยฐานะสูงขึ้น ในการเดินทาง
ครง้ั กระโนน ไดอ าศยั พอ คา หมเู ปน ผนู ำทาง ผา นจงั หวดั สกลนคร
และจงั หวดั กาฬสินธุ ตอ งนอนคา งคนื ทสี่ ันภูพาน ๒ คืน ออก
จากนนั้ ผานเมืองขอนแกน เมืองชนบท และผานหมูบา นตางๆ

ตามรอยอรยิ สงฆ ๔๐ ๔๑ ชี ว ป ร ะ วั ติ
แหงกรุงรตั นโกสินทร
ทา นเจาคุณพระธรรมเจดยี 
๔.๗ เมอ่ื วดั ศรเี ทพฯ ขาดผูนำ (พ.ศ. ๒๔๕๖) (จูม พนฺธโุ ล)

ตอมาประมาณ ๕ ปเศษ ทางวัดศรีเทพประดิษฐาราม จะไปใครจะอยู ทปี่ ระชมุ เห็นพองตองกันวาให พระภกิ ษุจมู
พนฺธุโล อยูศกึ ษาตอไปจนไดเ ปนเปรียญ นอกนัน้ ทั้งหมด
จงั หวดั นครพนม นบั ตง้ั แตว นั ทพ่ี ระอาจารยจันทร เขมิโย ไดนำ กลบั ไปจงั หวดั นครพนม ตามความประสงคข อง พระยาสนุ ทรฯ
และพระเถระผูใหญ
คณะไปศึกษาท่ีกรุงเทพฯ ก็ไดมอบหมายหนาที่การงานใหแก
๔.๘ สมเด็จพระสังฆราชเจา ฯ ประทานพระโอวาท
พระภิกษุสา เปนผูทำหนาท่ีแทนเจาอาวาส แตในระหวาง

น้นั ความเปน ไปของวัดศรีเทพฯ มีแตท รงอยูเ ทา นนั้ อันเปนเหตุ

ใหพ ระยาสนุ ทรเทพกจิ จารกั ษเปน หว งวดั วาอารามตลอดถงึ พระ กอนจะจากกรุงเทพฯ กลับมายังมาตุภูมิ ทานเจาคุณ

สงฆสามเณรคณะธรรมยุต เปนอยา งมาก เพราะขาดผูนำท่ีเขม พระสาสนโสภณ เจาอาวาสวัดเทพศิรินทราวาส ไดนำคณะ

แขง็ จงึ ไดท ำหนงั สอื ขอพระอาจารยจ นั ทร เขมโิ ย ตอ พระสาสน พระภิกษุผูจะไปทำการพระศาสนาที่จังหวัดนครพนม โดยมี

โสภณ เจา อาวาสวดั เทพศริ นิ ทราวาส ๑ ฉบบั ถงึ พระอาจารย พระอาจารยจ นั ทร เขมโิ ย เปน หวั หนา เขา เฝา กราบทลู สมเดจ็

จันทร เขมิโย ๑ ฉบับ ถึง ๓ ครั้ง เพ่ือใหก ลับไปบรหิ ารการพระ พระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส วัดบวร

ศาสนาทางจังหวัดนครพนมตามเดิม ขณะน้ันพระอาจารย นิเวศวิหาร เปน กรณีพิเศษ สมเด็จพระมหาสมณเจาฯ ไดทรง

จันทร เขมิโย กำลังต้ังหนาต้ังตาศึกษาภาษาบาลีอยูอยาง ประทานพระโอวาทเกย่ี วกบั การปกครองหมคู ณะและทรงรบั สงั่

ขะมกั เขมน โดยมไิ ดเ หน็ แกค วามทกุ ขย าก ไวยาวจั กร จดั หนงั สอื หลกั สตู ร น.ธ.ตร,ี

ลำบากเหนด็ เหนอื่ ยเมอื่ ยลา มงุ หนา แตจ ะ โท, เอก, กบั มูลคาอกี ๑ ชัง่ (๘๐ บาท)

สอบเปรียญใหได แตก็นาเสียดายท่ีทาน ใหแกไวยาวัจกรของพระอาจารยจันทร

เพิ่งสอบไดเพียง ๒ ประโยคเทานั้น คร้ัน เขมิโย เพ่ือเปนคาพาหนะเดินทางกลับ

พระยาสุนทรฯรบเราบอยๆ จึงไดตัดสิน นับวา เปน พระคุณอยางลน เกลา ฯ ตอ มา

ใจรับคำอาราธนา และคำบัญชาของพระ อีก ๗ วนั พระอาจารยจนั ทร เขมโิ ย กไ็ ด

สาสนโสภณ (เจริญ าณวโร) เจา อาวาส นำบรรดาพระภกิ ษผุ จู ะเดนิ ทาง เขา ถวาย

พระสาสนโสภณ วดั เทพศริ นิ ทราวาส แลว กไ็ ดป รกึ ษาหารอื ดอกไมธูปเทียนทานเจาอาวาสวัดเทพ สมเด็จพระมหาสมณเจา
เจาอาวาสวดั เทพศริ ินฯ ศริ นิ ทราวาส ตามธรรมเนยี มแลว จงึ จดั ให กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส
กันในคณะพระที่มาจากนครพนมวาใคร

ตามรอยอรยิ สงฆ ๔๒ ๔๓ ชี ว ป ร ะ วั ติ
แหง กรุงรัตนโกสนิ ทร
ทา นเจา คุณพระธรรมเจดยี 
(จมู พนธฺ ุโล)

ภาพถายปจ จบุ นั พระอุโบสถวัดศรีเทพประดษิ ฐาราม จ.นครพนม (นง่ั แถวหนาจากขวาไปซาย) หลวงปอู อ น าณสิริ, หลวงปบู ญุ มา จติ เปโม,
ทา นเจา คณุ พระธรรมเจดยี  (จูม พนฺธโุ ล), หลวงปขู าว อนาลโย, หลวงปูเทสก เทสรังสี
พระภิกษุสาร และพระภิกษจุ นั ทร บตุ ตะเวส นำคณะออกเดิน (ยืนแถวหลงั จากขวาไปซาย) หลวงปจู ันทร เขมปตโต, หลวงตามหาบวั าณสมปฺ นฺโน,
ทางกอ น โดยนงั่ รถไฟจากกรงุ เทพฯ ถงึ จงั หวดั นครราชสมี า ตอ หลวงปพู ระครบู รหิ ารคณานกุ ิจ, หลวงปพู ระธรรมไตรโลกาจารย, หลวงปูพระศรีรตั นวมิ ล,
จากน้ันไปก็ไดวาจางเกวียนบรรทุกเครื่องอัฏฐบริขารตางๆ ถึง
จงั หวดั หนองคาย โดยสารเรือกลไฟของฝร่ังเศส จนถงึ ทา เรือ หลวงปูอ อนสี สเุ มโธ, ภาพน้ถี า ยเม่ือวันท่ี ๒๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๓
จงั หวดั นครพนม เมอ่ื พระยาสนุ ทรฯไดท ราบขา ว กไ็ ดจ ดั ขบวน
ตอนรับเปนการใหญ สวนพระอาจารยจันทร เขมิโยนั้นมีเหตุ ๔.๙ ตนทุนดี… (พ.ศ. ๒๔๖๐-๒๔๖๕)
จำเปน จึงไดกลับถึงจังหวัดนครพนมทีหลังคณะ ถึงอยางไร
ก็ตามเมอ่ื พระอาจารยจ นั ทร เขมิโย กลับถึงจังหวดั นครพนม เม่ือทานพระอาจารยจันทร เขมิโย และหมูคณะเดิน
ภายหลัง พระยาสุนทรฯก็ยงั ไดจ ดั ขบวนแหเ ปน คร้ังที่ ๒ เพอื่ ทางกลบั ไปแลว พระภิกษุจูม พนธฺ โุ ลกต็ ้ังใจศกึ ษาเลา เรยี นพระ
ตอนรบั พระอาจารยจ นั ทร เขมโิ ย ปริยัติธรรมท้ังแผนกนักธรรมและแผนกบาลี ดวยความวิริยะ
อุตสาหะ มไิ ดยอทอตอ ความยากลำบาก ก็เพ่อื ความรคู วาม
เจริญกาวหนา เปน หลกั ประกันในอนาคต ในท่ีสดุ สามารถสอบ
ไดนักธรรมช้ันตรี และนักธรรมชั้นโท มาโดยลำดับ ตอมาก็
เรยี นบาลไี วยากรณ และแปลธรรมบท มีความขยันหมัน่ เพยี ร

ตามรอยอรยิ สงฆ ๔๔
แหง กรุงรตั นโกสนิ ทร

เขม แข็ง ไมท อ ถอย ศกึ ษาเช่ยี วชาญจนสมประสงค สามารถ (จากหนา ซา ย) พระอาจารยเ สาร กนตฺ สีโล, พระสาสนโสภณ (เจริญ าณวโร),
สอบไลไ ด เปรยี ญธรรม ๓ ประโยค บรรลคุ วามสำเรจ็ สมประสงค พระอาจารยม ่ัน ภูรทิ ตโฺ ต, พระอาจารยจันทร เขมโิ ย
ทุกประการ ณ สำนกั เรียนวัดเทพศริ นิ ทราวาส
๔.๑๑ อานภุ าพ ! กัลยาณมติ ร
๔.๑๐ ธรรมะ ... ของสัตบุรุษ (พ.ศ. ๒๔๖๐ - ๒๔๖๕)
พระภิกษุจูม พนฺธุโล ไดรับพระราชทานสมณศักด์ิ
พระภิกษุจูม พนฺธุโล เปนพระภิกษุหนุมที่มีความ เปน “พระคุณสังฆวุฒิกร” ฐานานุกรมในพระสาสนโสภณ
เลื่อมใสหนักแนนมาทางวิปสสนากรรมฐาน เม่ือวางจากการ (เจริญ านวโร) ขณะท่ีกำลังศึกษาเลาเรียนอยู ณ สำนักเรียน
ศึกษาเลาเรียนพระปริยัติธรรม ก็ไมปลอยใหเวลาลวงไปโดย วัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพฯ ปจจัยที่เอื้ออำนวยใหทานมีความ
เปลา ประโยชน ทานกจ็ ะใชเวลาที่มีอยูทมุ เทจติ ใจ ใหกบั การ เจริญกาวหนางอกงามอยางรวดเร็ว คงเปนเพราะทานเจาคุณฯ
ภาวนากรรมฐานอยา งยง่ิ ยวด สมำ่ เสมอเปนประจำทุกวนั เปน มพี ระเถระผใู หญเ ปน กลั ยาณมติ รคอ ยสง เสรมิ สนบั สนนุ ชว ยเหลอื
ผูท่ีมคี วามอดทนอยา งอัศจรรย ผลของการปฏบิ ตั ทิ างจติ ทำให ดูแลทานเจาคุณฯ มาแตเยาววัย กัลยณามิตรของทานเจาคุณฯ
ทานไดรับความสงบภายใน จนช่ือเสียงร่ำลือไปถึงทานพระ แตล ะรปู ลว นเอกอุดมในปญ ญาธรรม มคี ณุ ธรรมสงู อาทิ
สาสนโสภณ (เจริญ าณวโร) เจา อาวาสวัดเทพศิรนิ ทราวาส
๑. พระอาจารยเ สาร กนตฺ สีโล
ทานพระสาสนโสภณ (เจริญ ฺาณวโร) เกิดความ ๒. พระอาจารยม่ัน ภรู ิทตฺโต
ประทับใจในการปฏิบัติธรรมของพระภิกษุจูม พนฺธุโล จึงให ๓. ทา นเจา คุณพระสาสนโสภณ (เจริญ าณวโร)
แสดงธรรมอบรมสง่ั สอนพทุ ธศาสนกิ ชน ประจำวนั ธรรมะสวนะ ๔. พระเทพสทิ ธาจารย (จนั ทร เขมิโย)
ณ พระอุโบสถ และทานพระสาสนโสภณ (เจริญ าณวโร) ดังน้ันหากผูใดก็ตาม ท่มี ีกลั ยาณมิตรดง่ั เชน ทานเจา คณุ
ก็จะมานั่งฟงการแสดงธรรมของพระภิกษุจูม พนฺธุโล เปน พระธรรมเจดยี ( จูม พนฺธโุ ล) นบั เปน หลกั ประกันของชีวิตท่ดี ีงาม
ประจำไมเคยขาด ทานยังซาบซ้ึงในรสพระธรรม กลาวชมเชย
วา “พระภิกษจุ มู พนฺธโุ ล แสดงธรรมไดด พี อใช” และยงั
มอบรางวัลใหเปนผา ไตรจีวร ชนิดอยา งดี ๑ ไตร นับวา ไดรบั
ความเมตตาอยา งสงู สดุ

๕ ทางอนั ประเสริฐ ๔๗ ชี ว ป ร ะ วั ติ

สูประตูแหง ความสำเร็จ ทานเจา คณุ พระธรรมเจดีย
(จูม พนธฺ ุโล)
อริยสาวกผปู ฏบิ ตั ิดปี ฏิบตั ิชอบ
แหงวัดโพธสิ มภรณ ทานเจาคุณพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) ทานมีความ
วิริยะอุตสาหะ พยายามบำเพ็ญเพียรเจริญรอยตามองคสมเด็จ
พระสมั มาสมั พทุ ธเจา จนประสบผลสำเรจ็ มคี วามเจรญิ กา วหนา
มาโดยลำดบั เปน ทป่ี รากฏดังตอไปนี้

พุทธศักราช : ๒๔๔๒
จบประถมบรบิ ูรณ ณ โรงเรียนวดั ศรีเทพประดษิ ฐาราม

อ.เมือง จ.นครพนม

พุทธศักราช : ๒๔๖๐
สอบไดน กั ธรรมชน้ั ตรี ในสนามหลวง จากสำนกั เรยี นวดั

เทพศิรนิ ทราวาส กรุงเทพฯ

พทุ ธศักราช : ๒๔๖๒
เปนกรรมการชำระพระไตรปฎก จากอกั ษรขอม มาเปน

ภาษาไทย

พทุ ธศกั ราช : ๒๔๖๓
ไดรับพระราชทานสมณศักด์ิเปน “พระครูสังฆวุฒิกร”

ฐานานุกรมในพระสาสนโสภณ (เจริญ ฺาณวโร)

พทุ ธศกั ราช : ๒๔๖๕
๑. สอบไดน กั ธรรมชนั้ โท ในสนามหลวง จากสำนกั เรยี น

วดั เทพศริ ินทราวาส กรงุ เทพฯ
๒. สอบไดเปรยี ญธรรม ๓ ประโยค ในสนามหลวง จาก

วัดเทพศริ ินทราวาส กรุงเทพฯ

ทางอันประเสรฐิ ๔๘ ๔๙ ชี ว ป ร ะ วั ติ
สูประตแู หง ความสำเรจ็
ทานเจา คุณพระธรรมเจดยี 
ทานเจาคุณพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) ขึ้นปกครอง (จูม พนธฺ โุ ล)
ดำรงตำแหนงเจาอาวาสวัดโพธิสมภรณ ซ่ึงเปนวัดธรรมยุต
แหง แรกใน อ.เมอื ง จ.อุดรธานี ตอจากเจา อาวาสรปู เดมิ คอื พุทธศกั ราช : ๒๔๗๐
ทา นพระครธู รรมวนิ ยานยุ ตุ (หน)ู ตงั้ แต พทุ ธศกั ราช ๒๔๖๖ ๑ . ไ ด รั บ พ ร ะ ร า ช ท า น เ ลื่ อ น ส ม ณ ศั ก ดิ์ เ ป น
จวบจนวนั อวสานแหง ชวี ิต พ.ศ.๒๕๐๕
“พระญาณดิลก”
พุทธศกั ราช : ๒๔๖๖ ๒. เปนเจา คณะมณฑลอุดรธานี พ.ศ. ๒๔๗๐ - ๒๔๘๔
๑. ดำรงตำแหนง เจา อาวาส วดั โพธสิ มภรณ อ.เมอื ง
รวม ๑๔ ป
จ.อุดรธานี
๒. เปนพระอปุ ช ฌาย พ.ศ. ๒๔๖๖ -๒๕๐๕ รวม ๓๙ ป พทุ ธศกั ราช : ๒๔๗๓
๓. เปนครูสอนนักธรรมและบาลี ณ สำนักเรียนวัด - ไดร บั พระราชทานเลื่อนสมณศักด์ิเปน “พระราชเวท”ี

โพธสิ มภรณ พุทธศักราช : ๒๔๗๗ - ๒๔๘๔ รวม ๗ ป
๔. เปนครูสอนเปรียญธรรม ๓ ประโยค ณ วัด - เปนกรรมการตรวจบาลสี นามหลวง

โพธสิ มภรณ พุทธศกั ราช : ๒๔๗๘
๕. เปน กรรมการตรวจสอบประโยคธรรม ณ สนามหลวง - ไดรบั พระราชทานเลอ่ื นสมณศกั ด์ิเปน “พระเทพกวี”

พ.ศ. ๒๔๖๖ - ๒๔๙๐ รวม ๒๔ ป พุทธศักราช : ๒๔๘๔
- เปน เจา คณะธรรมยุต พ.ศ. ๒๔๘๔ - ๒๔๙๙ รวม ๑๕
พุทธศกั ราช : ๒๔๖๘
๑.ไดรับพระราชทานเล่ือนสมณศักดิ์เปน “พระครู ป
พทุ ธศกั ราช : ๒๔๘๘
ชโิ นวาทธำรง”
๒. เปน ผรู กั ษาการเจา คณะมณฑลอดุ รธานี พ.ศ. ๒๔๖๘ ๑. ไดรับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เปน “พระธรรม
เจดีย”
- ๒๔๗๐ รวม ๒ ป
๒. เปนสมาชิกแหงสังฆสภาโดยตำแหนง พ.ศ. ๒๔๘๘
- ๒๕๐๕ รวม ๑๗ ป

ทางอันประเสรฐิ ๕๐ ๕๑ ชี ว ป ร ะ วั ติ
สปู ระตแู หงความสำเรจ็
ทา นเจา คณุ พระธรรมเจดีย
พทุ ธศกั ราช : ๒๔๙๔ - ๒๕๐๕ รวม ๑๑ ป (จมู พนธฺ ุโล)
- เปน เจาคณะธรรมยตุ ผูชวยภาค ๓, ๔, ๕ รูปที่ ๑
ขอพระคุณจงรับธุระพระพุทธศาสนา เปนภาระสั่ง
พทุ ธศักราช : ๒๔๙๗ - ๒๔๙๘ รวม ๑ ป สอนชวยระงับอธิกรณ และอนุเคราะห พระภิกษุสามเณร ใน
- เปน ผูรักษาการเจาคณะธรรมยตุ จงั หวัดอุดรธานี พระอาราม โดยสมควร จงเจริญสุขสวัสดิ์ ในพระพุทธศาสนา
เทอญฯ
พทุ ธศักราช : ๒๔๙๘ - ๒๕๐๕ รวม ๗ ป
- เปนกรรมการจัดตั้งมูลนิธิ “วัดโพธิสมภรณมูลนิธิ” ตงั้ แตวนั ที่ ๑๙ พฤศจิกายน พทุ ธศักราช ๒๔๖๘ เปนป
ที่ ๑๖ ในรัชกาลปจจุบันน้ี
อ.เมอื ง จ.อุดรธานี
อทํ มยารญฺ า รามาธิบดีศิรสิ ินทรมหาวชริ าวธุ ํ
สยามวชิ เิ ต รชชฺ ํ การยตา”

ฐานนั ดรสมณศักด์ิ ในสมัยรชั กาลที่ ๗

ในรชั กาลที่ ๖ พ.ศ. ๒๔๗๐ วันท่ี ๖ พฤศจกิ ายน
ได รับ พระราชทาน เล่ือน สมณศักด์ิ
พ.ศ. ๒๔๖๓ เปน ฐานานกุ รมของ เปนพระราชาคณะที่ พระญาณดิลก
ตามพระราชโองการ ดังน้ี
พระสาสนโสภณ (เจริญ ฺาณวโร)
“ใหพระครูชิโนวาทธำรง (จูม
ตำแหนง พระครสู ังฆวฒุ กิ ร เปรียญ ๓ ประโยค) วัดโพธิสมภรณ
จังหวัดอุดรธานี เปนพระราชาคณะมี
พ.ศ. ๒๔๖๘ วันที่ ๑๙ พฤศจกิ ายน นามวา “พระญาณดิลก”

ได รับ พระราชทาน สมณศักด์ิ เปน ขอ พระคุณ จง รับ ธุระ พระพุทธ
ศาสนา เปน ภาระสง่ั สอนชว ยระงบั อธกิ รณ
พระครูชิโน วาท ธำรง ตามพระบรม และอนเุ คราะหพระภิกษุสงฆส ามเณร ใน

ราชโองการ ดงั นี้

“ใหพระมหาจูม เปรียญตรี ๓

ประโยค วัดโพธิสมภรณ จังหวัด

พระบาทสมเดจ็ อดุ รธานีเปน พระครชู ิโนวาทธำรง” พระบาทสมเด็จ
พระปกเกลา เจา อยหู ัวรชั กาลท่ี ๗
พระมงกุฎเกลาเจา อยูหัวรัชกาลที่ ๖

ทางอนั ประเสรฐิ ๕๒ ๕๓ ชี ว ป ร ะ วั ติ
สปู ระตแู หงความสำเรจ็
ทา นเจาคุณพระธรรมเจดีย
(จมู พนฺธโุ ล)

พระอารามโดยสมควร จงเจริญสุขสวัสดิ์ในพระพุทธศาสนา ในสมยั รัชกาลท่ี ๘
เทอญฯ”
พ.ศ. ๒๔๗๘ วันท่ี ๑๙ กันยายน ได
ตง้ั แต ณ วนั ท่ี ๖ พฤศจิกายน พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๐ เปน รบั พระราชทานเลอ่ื นสมณศกั ด์ิ เปน พระราชา
ปท ่ี ๓ ในรัชกาลปจ จบุ นั นี้ คณะช้ันเทพที่ พระเทพกวี ตามพระบรม
ราชโองการ ดังนี้
อทิ ํ มยารฺญา ปรมินทรมหาปชาธิปกฯ
สยามวิชิเต รชชฺ ํ การยตา” “ใหพระราชเวที เปนพระเทพกวี ศรี
วิสุทธิดิลก ตรปี ฎกบณั ฑิต ยตคิ ณสิ สร บวร
พ.ศ. ๒๔๗๓ วันที่ ๖ พฤศจิกายน ไดรับพระราชทาน สังฆาราม คามวาสี สถิต ณ วัดโพธิสมภรณ
เลอื่ นสมณศกั ดเ์ิ ปน พระราชาคณะชนั้ ราชท่ี พระราชเวที ตามพ จงั หวดั อดุ รธานี มฐี านานศุ กั ด์ิ ตงั้ ฐานานกุ รม พระบาทสมเด็จพระเจา อยูห ัว
ระบรมราชโองการ ดังน้ี ได ๕ รปู คอื พระครูปลัด ๑ พระครวู ินยั ธร ๑ อานันทมหิดล รชั กาลท่ี ๘
พระครูสงั ฆวชิ ัย ๑ พระครูสมุห ๑ พระครูใบฎกี า ๑
“ใหพ ระญาณดลิ ก เปน พระราชเวที ตรปี ฎ กภษู ติ ธรรม
บัณฑิต ยตคิ ณิสสร บวรสงั ฆาราม คามวาสี สถติ ณ วัด ขอพระคุณจงรับธุระพระพุทธศาสนา เปนภาระสั่งสอน
โพธสิ มภรณ จงั หวดั อุดรธานี พระราชาคณะตำแหนงราช มี ชวยระงับอธิกรณ และอนุเคราะหพระภิกษุสงฆสามเณร ใน
ฐานานศุ ักด์ติ ง้ั ฐานานกุ รมได ๔ รปู คอื พระครปู ลดั ๑ พระครู พระอารามโดยสมควร จงเจริญสุขสวัสด์ิ ในพระพุทธศาสนา
สังฆรักษ ๑ พระครูสมุห ๑ พระครใู บฎีกา ๑ เทอญฯ”

ขอพระคณุ จงรับธุระพระพทุ ธศาสนา เปน ภาระสงั่ สอน ตงั้ แตวันที่ ๑๙ ธันวาคม พุทธศกั ราช ๒๔๗๘ เปนปท ี่
ชวยระงับอธิกรณ และอนุเคราะหพระภิกษุสามเณร ในพระ ๒ ในรัชกาลปจจุบนั
อารามโดยสมควรจงเจริญสุขสวสั ดใิ์ นพระพุทธศาสนาเทอญฯ
ในพระปรมาภิไธยสมเด็จพระเจา อยหู วั อานนั ทมหิดล
ตง้ั แตว นั ท่ี ๖ พฤศจกิ ายน พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๓ เปน ป คณะผูสำเรจ็ ราชการแทนพระองค
ที่ ๖ ในรชั กาลปจ จบุ นั
พระองคเ จา อาทติ ย ทพิ อาภา
อิทํ มยารญฺ า ปรมนิ ทรมหา ปชาธปิ กฯ เจา พระยายมราช
สยามวิชเิ ต รชชฺ ํ การยตา เจา พระยาพิชเยนทรโยธนิ

ทางอันประเสรฐิ ๕๔
สปู ระตแู หง ความสำเรจ็

อิทํ มยารญฺ า ๖ รบั สนองพระบัญชา
สยามวิชิเต รชฺชํ การยตาฯ” ดำรงตำแหนง
ผูปกครองวัดโพธิสมภรณ
ผูรับสนองพระบรมราชโองการ
พ.อ.พระยาพหลพลพยหุ เสนา นายกรฐั มนตรี” อ.เมือง จ.อดุ รธานี พ.ศ. ๒๔๖๖

พ.ศ. ๒๔๘๘ วันท่ี ๑๙ ธนั วาคม ไดร บั พระราชทาน วดั โพธสิ มภรณ เปน วดั ฝา ยคณะธรรมยตุ ตกิ นกิ าย วดั แรก
เลื่อนสมณศกั ดิ์ เปน พระราชาคณะชน้ั ธรรมท่ี พระธรรมเจดยี  ในจงั หวดั อดุ รธานี ในขณะนน้ั กำลงั ดำเนนิ การกอ สรา งถาวรวตั ถุ
ตามพระบรมราชโองการ ดังนี้ ยังไมแลวเสร็จ ก็เกิดประสบปญหา ขาดผูบริหารกิจการงาน
ภานในอาวาส น่ันก็คอื “เจาอาวาส” ผดู ูแลปกครองวดั
“ใหพ ระเทพกวี เปน พระธรรมเจดยี  กววี งศน ายก ตรปี ฎ ก
บัณฑิต มหาคณฤศร บวรสังฆาราม คามวาสี สถิต ณ วัด
โพธสิ มภรณ จงั หวดั อดุ รธานี มฐี านานศุ กั ดคิ์ วรตงั้ ฐานานกุ รมได
๖ รปู คือ พระครูปลัดพรหมจรยิ วฒั น ๑ พระครูวนิ ัยธร ๑ พระครู
ธรรมธร ๑ พระครูสงั ฆพชิ ติ ๑ พระครสู มหุ  ๑ พระครูใบฎีกา ๑

ขอพระคุณจงรับธุระพระพุทธศาสนา เปนภาระส่ังสอน
ชวยระงับอธิกรณ และ อนุเคราะห พระภิกษุสงฆสามเณร ใน
พระอารามโดยสมควร จงเจริญสุขสวัสดิ์ ในพระพุทธศาสนา
เทอญฯ”

ต้งั แตว ันท่ี ๑๙ ธันวาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๘๘ เปน
ปท ่ี ๑๒ ในรัชกาลปจจุบนั

สมเด็จพระเจาอยหู ัวอานันทมหดิ ล
ผูรบั สนองพระบรมราชโองการ
ม.ร.ว. เสนยี  ปราโมช

รบั สนองพระบญั ชา ๕๖ ๕๗ ชี ว ป ร ะ วั ติ
ดำรงตำแหนงผูปกครอง
ทานเจา คณุ พระธรรมเจดยี 
(จมู พนฺธุโล)

เมอื่ ครง้ั ทา นพระครธู รรมวนิ ยานยุ ตุ (หน)ู ทานพระยาราชนุกูลวิบูลยภักดี
เปน เจา อาวาสอยูในขณะน้นั ไดช ราภาพลง
(อวบเปายโ รหติ ) ตอ มาไดเ ลอื่ นบรรดาศกั ด์ิ
มาก คณะศิษยานุศิษยและลูกหลาน
ทาง เมือง หนองคาย มี ความ เห็น เปน “พระยามขุ มนตรศี รสี มหุ พระนครบาล”
พองกันวา ควรท่ีจะอาราธนา
ใหท า นพระครฯู กลบั ไปอยจู ำ ไดปรึกษาหารือกับพระเทพเมธี (อวน
พรรษา ณ วดั ศรเี มอื ง อ.เมอื ง
จ.หนองคาย ซง่ึ ภมู ลิ ำเนาเดมิ ติสโส) วัดสุปฏนาราม เจาคณะมณฑล
ของทา น เพอื่ ความสะดวกใน
การดแู ลปรนนบิ ตั ริ บั ใช เนอื่ ง อบุ ลราชธานีมคี วามเหน็ พอ งตอ งกนั วา ควร

ดว ยทานพระครูฯ ลวงเขา สูว ัยชราภาพ ใหพ ระยามขุ มนตรฯี เดนิ ทางเขา กรงุ เทพฯ
และในที่สุดทานไดมรณภาพลง ในกาล
ตอ มา เพ่ือกราบนมัสการปรึกษาหารือ กับทาน สมเด็จพระมหาวีรวงศ
เจา คณุ พระสาสนโสภณ เจา อาวาสวดั เทพ (อวน ตสิ โส) เกดิ เมอ่ื พ.ศ.๒๔๑๐
วัดโพธิสมภรณ จึงขาดพระภิกษุผูจะมาดำรงตำแหนง ศริ นิ ทราวาส เพอ่ื คดั เลอื กพระเปรยี ญธรรม ท่ีจังหวดั อุบลราชธานี อปุ สมบทเม่ือ
เปนเจาอาวาสเพ่ือดูแลบริหารกิจการภายในวัด จึงไดมีการ ใหม าดำรงตำแหนง เจา อาวาสแทนรปู เดมิ
คัดเลือกหาผูมีคุณสมบัติเหมาะสม ที่จะมาดำรงตำแหนง ซงึ่ มรณภาพลง และไดน ำความขน้ึ กราบทลู พ.ศ.๒๔๓๐ ท่วี ดั ศรที อง
ดังกลาว จึงมีความเห็นตรงกันวาควรเลือกหาพระเถระผูทรง มรณภาพเมอื่ พ.ศ.๒๔๙๙
คุณวุฒิ มีความรูความสามารถ เปนผูสามารถจัดการเผยแผ ณ วดั บรมนวิ าส กรุงเทพฯ
พระศาสนาฝายปรยิ ตั ิธรรม และฝายวิปสสนากัมมัฎฐาน ให
กวางขวางย่ิงขึ้น ตองเปนผูมีจิตใจหนักแนนมั่นคงในพระ สิริรวมอายไุ ด ๘๙ ป
ธรรมวินัย และที่สำคัญตองมีภูมิลำเนาเดิมอยูทางภาค
ตะวันออกเฉียงเหนอื (อีสาน) สมเด็จ พระมหาสมณเจากรม หลวง

ชินวรสิริ วัฒน (หมอม เจาภุชงค

ชมพูนุท สิริวฑฺฒโร ป.ธ.๕) วัด

ราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร

เพื่อขอพระเปรียญธรรม ๑ รูป จาก

สำนกั เรยี นวดั เทพศริ นิ ทราวาสเพอ่ื ไปดำรง

ตำแหนง เจา อาวาสวดั โพธสิ มภรณ อ.เมอื ง

จ.อุดรธานี สมเดจ็ พระมหาสมณเจากรมหลวงชินวร

สมด็จพระมหาสมณเจากรมหลวง สริ วิ ัฒนฯ (สมเด็จพระสังฆราชเจา
พระองคที่ ๑๑) วดั ราชบพิธสถติ มหาสีมาราม

ชินวรสิริวัฒน (หมอมเจาภุชงค ชมพูนุท กรุงรตั นโกสนิ ทร (พ.ศ.๒๔๖๔ - ๒๔๘๐)
พระยศเมื่อประสตู ิเดมิ
สริ วิ ฑฒฺ โร ป.ธ. ๕) วดั ราชบพธิ ฯ ทรงมพี ระ หมอมเจาภชุ งค (ชมพูนทุ )

รับสนองพระบญั ชา ๕๘
ดำรงตำแหนง ผปู กครอง

ทา นเจาคุณพระธรรมเจดีย (จมู พนธฺ ุโล) ปกครองวดั โพธิสมภรณ พ.ศ.๒๔๖๖-๒๕๐๕ ๗

บญั ชาให “พระครูสงั ฆวฒุ ิกร” (จมู พนธฺ โุ ล น.ธ.โท ป.ธ.๓) ให วัดเทพศิรินทราวาส
ไปดำรงตำแหนง เจาอาวาสวดั โพธสิ มภรณ อ.เมือง จ.อุดรธานี สู
วดั คณะพระธรรมยุตตกิ นิกายสบื ตอ ไป
ผูป กครองวดั โพ
ทานเจาคุณพระธรรมเจดยี  (จมู พนฺธุโล น.ธ.โท ป.ธ.๓)
ฐานานุกรมขณะนั้นคือ “พระครูสังฆวุฒิกร” ไดรับการเลือก พ.ศ. ๒๔๖๖
เฟนวาเปน ผูท่ีเหมาะสม ทรงภมู ปิ ญ ญา ไดศึกษาเลาเรียนอยู
ในสำนักวัดเทพศิรินฯน้ันมา เปนเวลา ๑๕ ป มีภูมิลำเนาเดิม
ท่ี จ.นครพนม ตรงตามคุณสมบัติทุกประการ และยังเปนที่พึง
พอใจของทา นพระยามขุ มนตรฯี อกี ดว ย เนอ่ื งจากทา นเคยเปน
ผูอปุ ถัมภบ ำรงุ ทา นพระครูสงั ฆวุฒิกร (จูม พนฺธุโล) มากอน จึง
มีความสนทิ สนมกันเปนอันมาก

อำลาวัดเทพศิรินทราวาสฯ ๖๐

เปนอันวา ๑๕ ป ของการอยูจำพรรษาและการ ๘ พรหมวหิ ารธรรม
ศึกษาพระปริยัติธรรมทั้งแผนกนักธรรมและบาลี ณ วัดเทพ สำหรับผูปกครอง
ศิรินทราวาส กรุงเทพ ไดสิ้นสุดลง ทานเจาคุณพระธรรมเจดีย พ.ศ. ๒๔๖๖ - ๒๕๐๕
(จูม พนธฺ โุ ล) ฐานานุกรมขณะนนั้ คอื “พระครสู งั ฆวุฒิกร” (จมู
พนฺธโุ ล น.ธ. โท ป.ธ. ๓) เมอื่ ไดร ับพระบัญชาจากสมเด็จพระ “นักปราชญผูฉลาดทรงไวดวยคุณธรรม เม่ืออยู
มหาสมณเจา ฯ และพระสาสนโสภณ แตง ตงั้ ใหเ ปน “เจา อาวาส ในสถานท่ีแหงใดยอมทำประโยชนใหแกสถานท่ีแหงน้ัน”
วัดโพธิสมภรณ” อ.เมือง จ.อุดรธานี เปนวัดฝายธรรมยุตติก นบั ตงั้ แตท า นเจา คณุ พระธรรมเจดยี (จมู พนธฺ โุ ล) ดำรงตำแหนง
นกิ าย วดั แรกใน จ.อดุ รธานี ต้ังแตบดั นัน้ เจา อาวาสวดั โพธสิ มภรณ อำเภอเมือง จ.อดุ รธานี

ทานเจาคุณพระธรรมเจดยี  (จูม พนฺธุโล) มีความภมู ใิ จ
และเต็มใจ พรอมนอมรับพระบัญชา ทานตั้งใจที่จะปฏิบัติ
หนาทด่ี วยความวริ ิยะ อตุ สาหะ เต็มกำลงั ความสามารถทจ่ี ะ
กระทำได เพ่ือตอบสนองพระเดชพระคุณที่ทรงยกยองนับถือ
ใหเ กยี รติ ทรงแตงตงั้ ใหเ ปน “เจา อาวาส” ณ วดั โพธิสมภรณ
อารามแหงน้ี

พรหมวิหารธรรม ๖๒ ๖๓ ชี ว ป ร ะ วั ติ
สำหรับนักปกครอง
ทา นเจา คณุ พระธรรมเจดีย
รัศมีของพระธรรมอันบริสุทธิ์ ไดเร่ิมฉายแสงแหงความ (จมู พนฺธโุ ล)
เจริญรุงเรืองมาสูอาวาสแหงน้ี ทานเจาคุณฯเปนผูมีคุณสมบัติ
ของนกั ปกครอง สถิตยม ่นั ในหลกั ธรรม มีจิตใจหนักแนนมน่ั คง ๘.๑ ดานการปกครอง
ดุจแผนดิน มงุ ม่นั บำเพ็ญเพียรทำกิจในหนาท่ีใหสมบรู ณ เพ่ือ
ประโยชนสุขและความรมเย็นมาสูผูใตการปกครอง ไมทอด ทา นเจา คณุ พระ
ธุระในการเก้ือกูลดวยปจจัยลาภท้ัง ๔ ทานเจาคุณฯยึดหลัก ธรรมเจดยี  (จมู พนธฺ โุ ล)
พรหมวิหารธรรม ตามหลักพระพุทธศาสนา ท่ีพระผูมีพระ เปนพระเถรานุเถระที่
ภาคเจา ทรงแสดงไว อันเปนหลกั ธรรมของผูปกครองโดยแท ดำรงมั่นในศีล สมาธิ
ปญญา ยึดมั่นในพระ
๑. เมตตา ความรัก คือ ความปรารถนาดี มีไมตรี ธรรมวินัยเครงครัดใน
ตองการชว ยเหลือใหทกุ คนประสบประโยชนแ ละความสขุ ระเบยี บแบบแผน และ
ทส่ี ำคญั ตรงตอ เวลา มี ตกึ ธรรมเจดีย ภ.ป.ร.
๒. กรณุ า ความสงสาร คอื อยากชวยเหลอื ผูอน่ื ให จิตใจที่หนักแนน ไมมีความเอนเอียงหวั่นไหว มีความสงา
พน จากความทกุ ข ใสใจท่จี ะปลดเปลอื้ งบำบดั ความทุกขย าก งามเปนที่เคารพยำเกรงของพระภิกษุสงฆ สามเณร อุบาสก
เดือดรอ นของคนและสัตวทั้งปวง อบุ าสกิ า กำหนดกฎระเบียบกตกิ ายึดถอื หลักธรรมเปนสำคญั

๓. มทุ ติ า ความเบิกบานพลอยยินดี เมอ่ื เห็นผอู ื่น ๘.๑.๑ กฎระเบยี บภายในวัดโพธิสมภรณ
อยูดีมีสุข ก็มีใจแชมชื่นเบิกบาน เม่ือเห็นเขาทำดีงามประสบ
ความสำเรจ็ กา วหนา ยงิ่ ขนึ้ ไป กพ็ ลอยยนิ ดบี นั เทงิ ใจดว ย พรอ ม ในฐานะศิษยเอกช้ันแนวหนาของทานพระอาจารยมั่น
ทีจ่ ะชวยสงเสรมิ สนบั สนนุ ภูริทตฺโต (พระอาจารยใหญฝายวิปสสนาธุระ) มาแตเบื้องตน
จงึ ไดน อ มรบั ขอ ปฏบิ ตั อิ นั เปน ปฏปิ ทาหลกั ธรรมการปกครองของ
๔. อเุ บกขา ความมใี จเปน กลาง คอื มองตามเปน จรงิ ทานพระอาจารยม่ันฯ มาบริหารปกครองหมูคณะสงฆภายใน
โดยวางจติ เรียบสมำ่ เสมอ มัน่ คง เทยี่ งตรงดุจตาชั่ง มองเห็น อาวาส เพ่ือความอบอุนความสามัคคี และความม่ันคงในหมู
การที่บุคคลจะไดรับผลดี หรือช่ัวสมควรแกเหตุท่ีตนประกอบ คณะพระภกิ ษสุ งฆ และสามเณร ในขณะเดยี วกนั อาจมบี างหมู
พรอมท่ีจะวินิจฉัย วางตน และปฏิบัติไปตามหลักการ เหตุผล คณะท่ีเดินนอกแถวละเมิดไมปฏิบัติตามในการขางหนา อาจ
และความเที่ยงธรรม

พรหมวหิ ารธรรม ๖๔ ๖๕ ชี ว ป ร ะ วั ติ
สำหรบั นักปกครอง
ทา นเจาคุณพระธรรมเจดีย
พระภิกษสุ ามเณรทำวัตรสวดมนต ในพระอโุ บสถวัดโพธิสมภรณ (จมู พนฺธโุ ล)

ทำใหเ สอ่ื มเสยี ประโยชนต อ สว นรวมและศรทั ธาในทส่ี ดุ จงึ ตอ ง ๘.๑.๒ บทตกั เตอื นและลงโทษ
มบี ทตกั เตอื นตลอดจนถงึ ขั้นบทลงโทษในท่ีสดุ
เม่ืออยูในอาวาสเดียวกัน ก็ตองอยูภายใตกฎระเบียบ
๑. พระภิกษุสงฆ และสามเณร ตองลงทำวัตรสวดมนต อนั เดยี วกนั แตถ า ใครละเมดิ ทา นเจา คณุ ฯกจ็ ะดำเนนิ การตาม
๒. พระภกิ ษุสงฆ และสามเณร หา มสวมรองเทาออก หลกั ธรรม
นอกเขตวดั (หามสวมรองเทาเขาบาน)
๓. พระภกิ ษสุ งฆ และสามเณร ตอ งหมจวี รซอน ๒ ผนื จะตกั เตือนในข้นั แรก เมื่อผนู ัน้ เชือ่ ก็ดีไป แตถา ไมเช่ือ
๔. ตรงตอเวลา (ขอน้ีทานเจา คณุ ฯ ใหค วามสำคัญมาก จะ ตัก เตือน เปน ครั้ง ท่ี ๒ เม่ือ ผู นั้น เช่ือ ก็ ดี ไป
เพราะคนตรงตอเวลาจะทำใหงานทุกอยางดำเนินไปไดดวยดี แตถ าไมเ ชอ่ื
กิจวัตรเบื้องตนของพระภิกษุสงฆและสามเณร จำตองบริหาร กจ็ ะตกั เตือนเปนครั้งที่ ๓ เม่ือผนู ั้นเชื่อกด็ ไี ป แตถาไม
เวลาและเปนคนตรงตอ เวลา) เชื่อคราวนที้ า นเจา คณุ ฯจะลงโทษ คือไลอ อกจากอาวาส

๘.๒ ดา นการศึกษา

การศึกษาเปนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย เปน
หนทางอันประเสริฐและทำใหชีวิตประสบผลสำเร็จไดในระดับ
หนึ่ง มนษุ ยเ ปน สัตวพ เิ ศษ ซึ่งแตกตางจากสตั วท ้งั หลาย ส่งิ ท่ี
ทำใหมนุษยเปนสัตวพิเศษคือการศึกษา เรียนรู ฝกฝนพัฒนา
มนุษยทฝี่ ก ศึกษา หรอื พัฒนาแลวชอ่ื วาเปน “สัตวป ระเสริฐ”
เปนผูรูจักดำเนินชีวิตท่ีดีงามดวยตนเองและชวยใหสังคมดำรง
อยูในสันติสขุ

เนื่องดวยทานเจาคุณพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) ได
รับการฝกฝนอบรมส่ังสอน ศึกษาเลาเรียนพระปริยัติธรรมทั้ง
แผนกนักธรรม และแผนกบาลี จนประสบผลสำเร็จการศึกษา

พรหมวหิ ารธรรม ๖๖ ๖๗ ชี ว ป ร ะ วั ติ
สำหรับนักปกครอง
ทานเจาคณุ พระธรรมเจดีย
เปนเปรียญธรรม ๓ ประโยค ณ สำนักเรียนวัดเทพศิรินทรา (จูม พนธฺ โุ ล)
วาส กรุงเทพฯ อันเปนศูนยกลางวิชาการทางพระพุทธศาสนา
เพราะฉะนั้นในฐานะที่ทานเปนเจาอาวาสวัดโพธิสมภรณ ๘.๓ ดา นการเผยแผ (พ.ศ. ๒๔๖๖ - ๒๕๐๕)
ผูมีความรูความสามารถเช่ียวชาญท้ังพระปริยัติธรรม และ
วิปสสนากัมมัฎฐาน จึงรับภาระเปนครูสอนแกพระภิกษุสงฆ พระภกิ ษสุ งฆ ซง่ึ เปน บรรพชติ ในพระพทุ ธศาสนา มหี นา
สามเณร เพ่ืออนุเคราะหใหบรรลุความสำเร็จสมประสงคใน ที่ศึกษาพระปริยัติธรรม และปฏิบัติธรรม เผยแผคำส่ังสอน
ทางการศึกษา ณ สำนักเรียนพระปริยัติธรรม วัดโพธิสมภรณ ประกาศพระสจั ธรรมอนั ประเสรฐิ ของพระผมู พี ระภาคเจา ทท่ี รง
อ.เมือง จ.อุดรธานี แสดงไว

จากผลการสอบของพระภิกษุสงฆ และสามเณรทั้ง ๒ ในฐานะเจาอาวาสวัดโพธิสมภรณ และยังดำรง
นกิ าย จากสำนกั เรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรมวดั โพธสิ มภรณ ไดท ำชอ่ื ตำแหนงที่สูงสุดในภาคอีสานขณะน้ันคือ “ผูชวยเจา
เสียงใหโดง ดงั ทง้ั แผนกนกั ธรรม แผนกบาลีและเปรียญธรรม คณะภาค” เปนพระเถระผูใหญท่ีมีศีลวัตรงดงามทั้งเบื้อง
ตน ทามกลาง และบ้ันปลาย มีบทบาทสำคัญในการเผยแผ
โดยในปหนง่ึ ๆ พระพุทธศาสนา โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาค
แผนกนักธรรม สอบไล ณ สนามหลวง(กรุงเทพฯ) ได อสี าน) รบั ภาระธรุ ะในพระพทุ ธศาสนาสง เสรมิ ฟน ฟวู างนโยบาย
๕๐% ขึน้ ไป ระเบียบแบบแผนของพระภิกษุสงฆคณะธรรมยุติ ใหเปนท่ี
แผนกบาลี สอบ ณ สนามหลวงได ๑๐ รูปถงึ ๒๐ รปู เคารพยึดมั่นของปวงชน และวางแนวทางใหคณะพระภิกษุ
ตั้งแตเปรียญธรรม ๓ ประโยคข้ึนไป จนถึงเปรียญธรรม ๙ สงฆ ไดมีโอกาสส่ังสอนศีลธรรมแกประชาชน ตลอดจนให
ประโยค พทุ ธศาสนกิ ชนชว ยสอดสอ งดแู ลคณะพระภกิ ษสุ งฆใ หป ระพฤติ
ปฏบิ ัตอิ ยูในขอบเขตของพระธรรมวินยั สมควรแกฐ านะ
ผลการสอบเปน เครอ่ื งพสิ จู นไ ดว า ทา นเจา คณุ ฯมคี วาม
วิริยะอุตสาหะ ขะมักเขมน สนใจในดานการศึกษาของกุลบุตร
เปนอยางดี ด่ังเปนที่ปรากฏในหมูพุทธบริษัททั้งฝายบรรพชิต
และฝายคฤหัสถ นับวาทานเจาคุณฯเปนปราชญทางดานการ
ศกึ ษาทสี่ ำคญั ยงิ่ นัก จนทำใหม ีศิษยานุศษิ ยมากมายไพศาล

พรหมวหิ ารธรรม ๖๘ ๖๙ ชี ว ป ร ะ วั ติ
สำหรบั นักปกครอง
ทานเจา คุณพระธรรมเจดยี 
พระภกิ ษสุ งฆค ณะธรรมยตุ ใิ นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื (จมู พนฺธุโล)
(ภาคอีสาน) ภายใตการบริหารการปกครองของ ทานเจา
คุณธรรมเจดยี  (จูม พนธฺ ุโล) มคี วามเจรญิ รงุ เรืองประสบผล “ภิกษุท้ังหลาย..เธอท้ังหลาย จงจาริกไปเพ่ือประโยชน
สำเร็จโดยลำดับ และมีช่ือเสียงโดงดังขจรขจายไปอยางกวาง และความสุขของชนเปนอันมาก เพ่ืออนุเคราะหชาวโลกเพื่อ
ขวางทว่ั ทกุ สารทศิ ดงั พระผูมพี ระภาคเจา ตรัสไว วา ประโยชนเ กอ้ื กูลและความสขุ แกท วยเทพและมนุษยท ้งั หลาย”

น ปปุ ฺผคนโฺ ธ ปฏวิ าตเมติ (วิ นย.มหา.ขอ ๓๒)
น จนทฺ นํ ตครมลฺลิกา วา ทานเจาคุณฯไดยึดถือเปนสรณะ และดวยความวิริยะ
สตฺจ คนฺโธ ปฏวิ าตเมติ อุตสาหะ ไมยอทอตอความยากลำบาก ไดพยายามมุงมั่น
สพพฺ า ทสิ า สปปฺ ุรโิ ส ปวายติ. ประกาศหลักธรรมคำสอนใหเปน ที่พ่งึ ของมวลมนุษยชาติ
กลนิ่ ดอกไมกห็ อมฟุงทวนลมมไิ ด ภายในอาวาส ไดจัดใหมีการอบรมสั่งสอนใหไดรับ
กลิ่นจันทน กล่นิ กฤษณา กลนิ่ มะลิซอ น ประโยชนค วรคา แกภ าระของตน ทงั้ ฝา ยพระภกิ ษสุ งฆ สามเณร
อุบาสก อุบาสิกา ใหความรูดานพระปริยัติธรรม พระปฏิบัติ
กห็ อมฟงุ ทวนลมไปมไิ ด ธรรม แนะแนวทางในการใหท าน รักษาศีล เจริญภาวนา และ
สว นกลิ่นของสตั บุรุษ ยอมหอมฟุงทวนลมไปได ยังไดนำแสงปญญาแหงธรรมมาสูพุทธบริษัท ดวยการแสดง

สัตบรุ ษุ ยอ มหอมฟงุ ไปตลอดทศิ ทัง้ ปวง
พระไตรปฎก เลมที่ ๒๐/๕๑๙/๒๙๑

ทานเจาคุณพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) เปนพระอริย
สงฆส าวกของพระผมู พี ระภาคเจา ผปู ฏบิ ตั ดิ ี ปฏบิ ตั ชิ อบโดยแท
ดำรงตนยดึ มนั่ ในหลกั พระธรรมคำสง่ั สอนอยา งเครง ครดั มงุ มนั่
ที่จะเดินตามรอยบาทพระศาสดา ประกาศสจั ธรรมอันบรสิ ทุ ธิ์
เพอื่ ถวายเปน พทุ ธบชู าซง่ึ เปน พทุ ธกจิ เบอ้ื งตน ของพระศาสนาน้ี
และเปนคำสั่งเบื้องตนของพระผูมีพระภาคเจาที่พระสงฆ
สาวกตองปฏบิ ตั ิตาม

พรหมวิหารธรรม ๗๐ ๗๑ ชี ว ป ร ะ วั ติ
สำหรับนักปกครอง
ทานเจาคณุ พระธรรมเจดีย
ธรรม โดยเลอื กขอ ธรรมใหถ กู ตอ ง เท่ียงตรง บรสิ ุทธิ์ บริบูรณ (จมู พนธฺ โุ ล)
เพ่อื ความเจริญรุงเรืองดวยปญ ญาแหง พระธรรม อนั เปน ธรรม
วิจิตรพิสดารลุมลึก กอใหเกิดความซาบซ้ึงในรสพระสัจธรรม (แถวกลางจากซา ยไปขวา) พระครูสริ สิ ารสธุ ี (จันทรศ รี จนทฺ ทีโป)
เพ่อื เปน หลักในการดำเนนิ ชวี ิต และยงั บรรยายธรรมในการฝก ทานเจา คุณพระธรรมเจดีย (จูม พนธฺ โุ ล) และพระเถระครูสอนพระปริยัติธรรม
อบรมการปฏบิ ตั ิทางจติ ณ พระอุโบสถวัดโพธิสมภรณ
วัดโพธสิ มภรณ
นอกจากนน้ั ยงั ไดส ง เสรมิ กจิ กรรมทางพระพทุ ธศาสนา
การเผยแผประกาศหลักธรรมคำส่ังสอนนอกสถานท่ี อาทิเชน งดงามดวยความพยายามมุงมั่นพากเพียรที่จะพัฒนาวัดใหสม
ตามโรงเรียน หนว ยงานราชการ รัฐวิสาหกจิ บรษิ ัทหางราน กับเปนวัดคณะธรรมยุติ เปนสถานท่ีสัปปายะเหมาะแกการ
ฯลฯ และเดนิ ทางออกไปตา งจงั หวดั เพอ่ื นำแสงแหง ธรรมสอ งไป บำเพญ็ สมณธรรม
ในจติ ใจผทู ย่ี งั มคี วามมดื บอด หวงั ใหม จี ติ ใจนอ มนำมาเลอื่ มใส
ศรัทธาในพระพุทธศาสนา ท้ังนี้ ในระยะแรกทานเจาคุณฯไดจัดสรางสิ่งท่ีจำเปน
และสำคัญกอ น อาทเิ ชน
๘.๔ ดา นสาธารณปู การ และ สาธารณะสงเคราะห
๑. กุฏิตึก ๒ ชั้น จำนวน ๓ หลัง สรางดวยอิฐถือปูน
ถึงแมวาภาระหนาที่ความรับผิดชอบจะมากมายสูง หลงั คามุงกระเบอ้ื งดนิ เผา
ข้ึนเทากับเงาตามตัว ในฐานะที่เปนพระเถรานุเถระผูทรง
ภมู ิปญ ญาดำรงตำแหนง “ผชู ว ยเจา คณะภาค”, เปน เจา อาวาส
วัดโพธิสมภรณ, ครูสอนนักธรรมและแผนกบาลี ณ วัด
โพธสิ มภรณ, กรรมการตรวจนกั ธรรม ณ สนามหลวง, กรรมการ
ตรวจบาลี ณสนามหลวง, กรรมการสงั คายนาพระไตรปฎ ก และ
หนาท่ีภาระอื่นๆ อีกมากมาย แตทานเจาคุณฯก็มิไดทอดธุระ
กลับใหการเอาใจใสควบคุมดูแลรักษาและบูรณะปฏิสังขรณ
ปูชนียวัตถุสถานใหดำรงคงสภาพที่มั่นคงถาวรและเรียบรอย

พรหมวิหารธรรม ๗๒ ๗๓ ชี ว ป ร ะ วั ติ
สำหรบั นกั ปกครอง
ทานเจาคณุ พระธรรมเจดีย
๒. กฏุ ชิ นั้ เดยี ว จำนวน ๑๗ หลงั ขนาดเลก็ บา งและขนาด (จูม พนธฺ ุโล)
ใหญบ าง สรา งดว ยไม หลังคามุงสังกะสบี าง, มุงกระเบื้องดนิ
เผาบาง, มงุ กระเบื้องซีเมนตบาง ๘.๔.๑ สาธารณะสงเคราะห (นอกเขตพทุ ธาวาส)

๓. โรงเรียนภาษาไทย จำนวน ๑ หลงั สรา งดวยกออิฐ ท้ังนี้ทานเจาคุณฯยังไดใหการสนับสนุนและอุปถัมภ
ถอื ปูน หลังคามงุ กระเบ้ืองดนิ เผา ในการกอ สรางส่งิ สำคัญ นอกเขตพุทธาวาส เพือ่ เหมาะแกการ
บำเพ็ญสมณธรรมของพระภิกษุสงฆ สามเณร และเพื่อความ
๔. โรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม จำนวน ๑ หลงั สรางดวยกอ เจริญรงุ เรืองในพระพทุ ธศาสนา อาทิเชน
อฐิ ถอื ปนู หลงั คามงุ กระเบอ้ื งดนิ เผา
๑. โบสถว ัดไชยาราม ต.เชยี งพณิ อ.เมอื ง จ.อดุ รธานี
๕. ศาลาการเปรียญจำนวน ๑ หลัง ชนั้ เดยี ว สรา งดว ย ๒. โบสถว ดั ศริ ิธรรมนมิ ติ ร บา นบง ต.หนองบวั อ.เมอื ง
ไม หลงั คามงุ กระเบื้องดินเผา จ.อดุ รธานี
๓. โบสถว ดั โยธานิมิตร ต.หนองบวั อ.เมือง จ.อุดรธานี
สำหรบั พระอโุ บสถไดเ รมิ่ กอ สรา งในป พ.ศ.๒๔๖๖ และ ๔. โบสถวัดบุญญานุสรณ บานหนองวัวซอ ต.หมาก
แลว เสร็จในปถดั มา โดยมี พระยามุขมนตรฯี (อวบ เปาโรหิตย) แขง อ.เมอื ง จ.อดุ รธานี
เปน ผอู ปุ ถมั ภผ นงั กอ อฐิ ถอื ปนู โครงหลงั คาใชไ มเ นอื้ แขง็ ทงั้ หมด ๕. โบสถวดั สทุ ธาวาส ต.ธาตุเชิงชุม อ.เมอื ง จ.สกลนคร
หลังคามุงดวยกระเบ้ืองดินเผา พื้นปูดวยกระเบ้ืองดินเผา ไมมี ๖. โบสถวัดมหาชัย ต.หนองบัว อ.หนองบัวลำภู
ชอฟาใบระกา ไมมมี ขุ หนามุขหลัง จ.อดุ รธานี

ในสมัยทานเจาคุณฯไดทำการบูรณะปฏิสังขรณพระ สำหรับโบสถวัดมหาชัยนั้น ขณะกำลังดำเนินการ
อโุ บสถวัดโพธสิ มภรณ มากถงึ ๔ คร้ัง ดังน้ี กอสรางยังไมแลวเสร็จ ทานเจาคุณฯก็มาถึงกาลละธาตุขันธ
เสียกอ น
ครั้งที่ ๑ หลอคานคอนกรีตเสริมเหล็กรบั ใตฝาผนังรอบ
พระอุโบสถ ทานเจาคุณฯไดเพียรพยายามมุงมั่นในการบำเพ็ญ
ศาสนกิจ นับวาเปนผูท่ีมีปรีชาสามารถในการทำนุบำรุง
ครั้งที่ ๒ เปลี่ยนแปลงโครงหลังใหมใหเปนสามลดสาม วัดวาอารามใหเจริญรุงเรืองข้ึนตามลำดับ จนเปนที่ปรากฏใน
ช้นั อโุ บสถ หมูพ ทุ ธบริษัทท้งั ฝา ยบรรพชิต และคฤหสั ถ

ครั้งที่ ๓ ตอเตมิ มขุ หนาและมขุ หลงั อุโบสถ
ครั้งที่ ๔ ปน ชอฟา ใบระกาซมุ ประตูหนา ตา งคันทวยบัว
ปลายเสาและกะเทาะฝาผนัง, เสาเกาออกฉาบปนู ใหม

๗๕ ชี ว ป ร ะ วั ติ

ทา นเจาคุณพระธรรมเจดยี 
(จูม พนธฺ ุโล)

ทา นเจา คณุ ฯ จงึ เปน ทายาทผสู บื ทอดองิ อาศยั เนตตแิ หง
ธรรมคอื ฉายฉานถึงความเปนพระอาจารยม นั่ ฯ ผูเปน ครู จนลุ
มาถึงผูเปนศิษย ใหสมกับเปนศิษย และเปนศิษยคนโปรดท่ี
ทานพระอาจารยมน่ั ฯ รกั และเมตตายิง่ นัก

ทั้งนี้ไมวาภาระธุระจะมากมาย

สักปานใด ทานเจาคุณฯ ก็มิไดละเลย

หนาที่ในการปฏิบัติทางจิต ถือเปนเรื่อง

สำคัญ การทำจิตใหสงบถือเปนกำลัง

การ พัฒนา อริยสัจ ถือ เปนการ ถูก ตอง

ทานเจาคุณฯ ดำรงตนอยูในการเผยแผ

พระธรรมวินัย รักษาขนบธรรมเนียม

๙ ขอ วตั รปฏิปทา ของสมณะท่ีดีไวอยางม่ันคง มีศีลอัน หลวงปูกงมา จริ ปุโ
บริสุทธิ์ มีความเพียรความกตัญูเปน วัดดอยธรรมเจดีย ต.ตองโขบ
ทา นเจา คณุ พระธรรมเจดยี (จมู พนธฺ โุ ล)เปรยี บประดจุ ดงั เลศิ มจี ติ ใจหนกั แนน เดด็ เดยี่ ว เมอ่ื ลงมอื อ.โคกศรสี ุพรรณ จ.สกลนคร
เพชรนำ้ หนงึ่ ในพระพทุ ธศาสนา รบั ขอ ปฏบิ ตั อิ นั เปน ปฏปิ ทา
และหลกั ธรรมของทา นพระอาจารยม น่ั ฯ ไวเ ปน แบบอยา ง ทำการสง่ิ ใดกท็ ำสมำ่ เสมอจนประสบผลสำเรจ็ เมอ่ื วา งจากภาระ
มาแตเ บ้อื งตน
ธุระภายในวัดวาอาราม ทานเจาคุณฯก็จะออกธุดงคแสวงหา

โมกขธรรม บำเพ็ญเพียรตามปาเขา โดยมากมักจะธุดงคไป

กับพระอาจารยก งมา จริ ปุโ

คร้ันถึงเวลาออกธุดงคเพ่ือบำเพ็ญสมณธรรม ทาน
เจา คณุ ฯกจ็ ะแตง ตงั้ ผทู ว่ี างใจไดใ หร กั ษากจิ การพระศาสนาแทน
ทา นเจาคุณพระธรรมเจดยี  (จูม พนฺธโุ ล) ซงึ่ ถือไดว าเปน
ผูเลิศทางธดุ งควตั ร อกี รปู หนง่ึ

ขอ วตั รปฏปิ ทาฯ ๗๖ ๗๗ ชี ว ป ร ะ วั ติ

หลวงปมู ั่น ภูริทตฺโต, หลวงปูหลยุ จันทสาโร, ทา นเจาคุณพระธรรมเจดยี 
หลวงปูขาว อนาลโย, หลวงตามหาบวั าณสมฺปนฺโน (จมู พนฺธโุ ล)

ขอ วัตร ปฏิบัติ ในชีวิตประจำวัน เวลา ๑๑.๐๐ น.
ของทา นเจา คุณพระธรรมเจดีย (จมู พนธฺ ุโล) - นงั่ สมาธเิ จริญกรรมฐาน
และจำวตั ร
ต่ืนนอนเชาตี ๓ เวลา ๑๔.๐๐ น.
- ขึ้นสูทางจงกรม เดินจงกรมกอนออก - ออกบำเพ็ญศาสนกิจ
บิณฑบาต ฉันม้ือเดียว คือฉันเชา โดยการ ภายในพระอาราม ตรวจเยี่ยมให
ตักอาหารใสบาตรแตพอฉัน เมื่อฉันเสร็จลง กำลังใจครูผูสอน และพระภิกษุ
พระอุโบสถ ทำวัตรเชา ทำวัตรเชาเสร็จกลับ สงฆ สามเณร ณ สำนักเรียน
กุฏิเพ่ือบำเพ็ญความเพียรตอ เดินจงกรมอยู
บนเฉลยี งหนากุฏิ ทา นเจา คณุ ฯ เมอื่ ลงมอื ทำ
สิ่งใดจะทำสม่ำเสมอตรงตอเวลา
อาทิเชน ลงพระอุโบสถ ทำวัตรเชา-ทำวัตรเย็น ปฏิบัติทางจิต
ทา นเจา คณุ ฯ ใหเ หตผุ ลวา การทำอะไรตรงเวลาทำใหก ารดำเนนิ
ทุกอยางเปนไปดวยดี และเนนเร่ืองการซอนผาสังฆาฏิเขาสู
โคจรคามสำคญั มาก (ศิษยส ายพระอาจารยมั่นฯ ตองทำตาม)
ทานเจาคุณฯ ปฏิบัติอยางเครงครัดตามคำส่ังสอนของพระผูมี
พระภาคเจา และปฏิบัติตามรอยปฏิทาของทานอาจารยมั่นฯ
จนถึงวันอวสานแหง ชวี ติ

ทา นเจา คณุ พระธรรมเจดยี (จมู พนธฺ โุ ล)เคารพรกั เทดิ ทนู
และกตัญกู ตเวทีตอพระอาจารยม ัน่ ฯ อยางหาที่สุดประมาณ
มิได

๗๙ ชี ว ป ร ะ วั ติ

ทา นเจาคณุ พระธรรมเจดยี 
(จมู พนธฺ โุ ล)

๑๐ ตอ นรบั พระอาคันตุกะ เมื่อวันเวลาผานไป สังขารก็เริ่มเคล่ือนเขาสูปจฉิมวัย
จาก อิรยิ าบถท้ัง ๔ เร่ิมปรากฏอาการปวยกระเสาะกระแสะชราภาพ
วัดบวรนิเวศวหิ าร พ.ศ. ๒๔๙๗ ดวยเหตุน้ี สมเด็จพระสังฆราชเจา กรมหลวงวชิรญาณวงศ
(ม.ร.ว.ชื่น นพ วงศ ป . ธ . ๗ ) จึงมีพระบัญชาให
นับตั้งแตทานเจาคุณพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) ขึ้น พระครูสิริสารสุธี (จันทรศรี จนฺททีโป) ปจจุบันดำรง
ปกครองวัดโพธิสมภรณ ในฐานะเจาอาวาสเปนรูปท่ี ๒ ตอ สมณศักดิ์ที่ พระอุดมญาณโมลี (จันทรศรี จนฺททีโป) มา
จากทานพระครูธรรมวินยานุยุต(หนู) ทานเจาคุณฯไดปฏิบัติ ชวย ทานเจาคุณพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) รับภาระ
ศาสนกิจ อันยังประโยชนแกพระภิกษุสงฆ สามเณร อุบาสก ธรุ ะในพระพุทธศาสนา ตงั้ แต พ.ศ. ๒๔๙๗
อุบาสิกา ภายในพระอาราม ดวยความวิริยะอุตสาหะ
และปรีชาสามารถ จนเปนท่ีปรากฏในหมูพุทธบริษัทท้ังฝาย
บรรพชติ และฝายคฤหสั ถเ ปน อเนกประการ

๑๑ ๘๑ ชี ว ป ร ะ วั ติ

ทา นเจาคณุ พระธรรมเจดีย ทา นเจา คณุ พระธรรมเจดีย
(จมู พนธฺ โุ ล) (จูม พนธฺ ุโล)

เปรยี บเสมอื น พระธรรมเสนาบดี จากทา นพระอาจารยใ หญท ง้ั สองคอื ทา นพระอาจารยเ สาร
กนฺตสโี ล และพระอาจารยม ัน่ ภูริทตฺโต ณ สำนกั
ทานพระอาจารยมัน่ ภูรทิ ตโฺ ต วัดเลียบ ตำบลในเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
โดยเฉพาะทานพระอาจารยม่ันฯ รักและ
ทานเจาคุณพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) หนึ่งในศิษย เมตตาสามเณรจมู เปนอยางมาก
เอกช้ันแนวหนารุนแรก และเปนศิษยคนโปรดของทานพระ
อาจารยมั่น ภูริทตฺโต (พระอาจารยใหญฝายวิปสสนาธุระ) ตอเมื่อกาลเวลาผานไป จวบจน
มาแตเบ้ืองตนตั้งแตเมื่อครั้งเปนสามเณร โดยสามเณรจูมได ทาน เจ า คุ ณฯ ได รับ ภาระ ธุระ ห น าท่ี ใน
อยูจำพรรษาและศึกษาฝกฝนอบรมเลาเรียนในขอวัตรปฏิบัติ พระพุทธศาสนาทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาค
และวิปสสนากรรมฐานจนมีความรูความเขาใจอยางแตกฉาน อสี าน) ในการเผยแผแ ละขยายวดั ธรรมยตุ ใหก วา งขวาง
บุคคลท่ีมีบทบาทและมีความสำคัญคอยใหกำลังใจใหความ
อบอนุ คอยชว ยเหลอื จนประสบผลสำเรจ็ จนมผี มู าศรทั ธาเลอ่ื มใส
มากมายมศี ษิ ยานศุ ษิ ยแ พรห ลายไพศาลยงั ประโยชนต อ พระพทุ ธ
ศาสนาเปนอเนกประการคอื ทา นพระอาจารยมนั่ ภรู ทิ ตโฺ ต

ทา นเจา คณุ พระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) เปรียบเสมอื น
พระธรรมเสนาบดี ฝายวปิ สสนาธรุ ะแหง ยคุ รอยตอกงึ่ พทุ ธกาล
ของทานพระอาจารยมั่นฯ โดยแท

๑๑.๑. ทา นเจา คุณพระธรรมเจดีย (จมู พนฺธโุ ล)
ขึน้ เหนอื พบทานพระอาจารยม่นั ภูริทตฺโต

ดวยความผูกพันระหวางศิษยกับพระอาจารย อยาง
แนน แฟน แมว นั เวลาผา นมาเนนิ่ นานผเู ปน ศษิ ยย งั จดจำเรอื่ งราว
ในอดีต ซึ่งยังกระจางสวางอยูกลางใจตราบจนถึงกาลปจจุบัน
ครนั้ เมอ่ื ทานพระอาจารยมั่นฯ จำพรรษาอยทู างภาคเหนือ ณ

ทานเจา คณุ ฯ เปรยี บเสมอื น ๘๒ ๘๓ ชี ว ป ร ะ วั ติ
พระธรรมเสนาบดีฯ
ทา นเจา คณุ พระธรรมเจดยี 
วดั เจดียห ลวงวรวหิ าร ทานเจาคณุ ฯจะมีจดหมายสงไปถงึ ทา น (จมู พนฺธโุ ล)
พระอาจารยม ั่นฯทุกๆปอ ยางตอเนือ่ ง ประมาณ ๓ - ๔ ฉบบั แต
จดหมายใหญม าเอง คงตองกลับแนนอน” จดหมายใหญ
กเ็ งียบหายไมม ีการตดิ ตอ กลบั มาจากทานพระอาจารยม น่ั ฯ หมายถึง ทานเจาคุณพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) ฝายลูก
ศิษยดีใจยิ่งนัก แลวกลาววา “เกลาขออาราธนานิมนต
กาลและเวลาชา งเปน ใจ เมือ่ ออกพรรษา พ.ศ. ๒๔๘๒ พักอยูกอน เกลาจะเดินทางลวงหนากลับไปกอน เพ่ือ
จัดเตรียมเสนาสนะสถานท่ีพัก ใหเรียบรอยแลวจะสงคน
ทานเจาคุณฯ จึงไดเดินทางขึ้นภาคเหนือดวยตนเอง เมื่อถึง มารบั ทนั ที”

จ.เชียงใหมก็รีบตรงไป ณ วัดเจดียหลวงวรวิหาร สถานท่ี ๑๑.๒. จากเมืองเหนือ สู แดนอีสาน (๒๔๘๓-๒๔๘๔)

จำพรรษาของทานพระอาจารยม ่นั ฯ วางบรขิ ารเปนทีเ่ รียบรอ ย เปนอันวา ๑๒ ป ของ
การอยูภาคเหนือของทานพระ
ก็ เดิน ต รง เขา ไป ก รา บ อาจารยม น่ั ฯ โดยเฉพาะทจี่ งั หวดั
เชยี งใหมเ ปนอนั สิ้นสดุ ลง
นมัสการแทบเทาทานผู
นักปราชญผูฉลาดเมื่อ
มพี ระคณุ สว นดา นทา น อยูในสถานท่ีแหงใด ยอมทำ
ประโยชนให แกสถานท่ีแหง
พระอาจารยม น่ั ฯ ไดล ว ง นั้น แมประโยชนสวนอื่นยัง
ไมปรากฏ แตก็ไดเกิดเปนวัด
รูดวยวาระจิตวาศิษยผู ปาข้ึนตามสถานท่ีที่ทานไดจำ
พรรษา และไมจำพรรษาเปน
เปนท่ีรักย่ิงของทาน จะ จำนวนมาก ย่ิงในปจจุบันน้ี
เม่ือทราบวาเคยเปนแหลงสถานท่ีของทานไดอยูอาศัยแลว
เดินทางมาพบ ทานจึง พระภิกษุและประชาชนจะไดพยายามที่จะทำใหเปนวัดปา
ข้ึน เรียกวามีผลระยะยาว ทำไมจึงเปนเชนน้ี เพราะวาทาน
จัดเตรียมสถานท่ีไวรอ

คอยตอนรับ ทั้งผูเปน

วดั เจดยี ห ลวง ในปจจบุ นั อาจารยและผูเปนศิษย

ตางมีความยินดีปติย่ิงนักก็ดวยจากกันไปนาน สนทนา

ปราศรัยทักทายสักพัก ทานเจาคุณฯ ก็กราบเรียนจุดประสงค

ในการเดินทางมาครัง้ น้ี

ฝายทานพระอาจารยมั่นฯก็ตอบรับ เพ่ือใหสมกับ
เจตนารมย และฉลองศรัทธาของผูเปนศิษย “จะกลับวันไหน
กลับดวยกัน ทุกทีเห็นแตจดหมายเล็กมาก็ไมกลับ น้ี

ทา นเจา คุณฯ เปรยี บเสมือน ๘๔ ๘๕ ชี ว ป ร ะ วั ติ
พระธรรมเสนาบดฯี
ทา นเจาคุณพระธรรมเจดีย
(จมู พนธฺ โุ ล)

ไดปลูกฝงการปฏิบัติท่ีถูกตองและไดผลจริงใหแกศิษย กับ แนะนำ และแกไ ขปฏปิ ทาตางๆ ทงั้ ภายนอกและภายใน เปน
ท้ังศิษยของทานก็ไดปฏิบัติจริงไดผล และสั่งสอนผูอื่นจนเกิด เหตุใหพระภิกษุสามเณรผูสนใจในการปฏิบัติเพ่ือพนทุกข
ผลได จึงเทากับเปนการยกยองเกียรติคุณของทานไปดวย ซึ่ง เมอื่ ไดท ราบขา วอนั เปน มงคล จงึ พากนั หลงั่ ไหลเขา มาถวายตวั
ปรากฏการณเชนนี้ควรถือเปนแบบอยางแกพระภิกษุทั้งหลาย เปน ศิษยจำนวนมาก
ท่ีหวังเห็นความเจริญของพระพุทธศาสนา จะไดจดจำและหา
ทางดำเนนิ ตาม กจ็ ะเปนผลดีแกพระพุทธศาสนาอยา งย่งิ ๑๑.๔. ฟน ฟูคณะธรรมยุต... ในภาคอสี าน
ณ วดั ปา โนนนเิ วศน อ.เมอื ง จ.อุดรธานี
การเดินทางกลับภาคอีสานของทานพระอาจารยมั่นฯ พ.ศ. ๒๔๘๓-๒๔๘๕
คร้ังน้ีก็ไมมีอะไรมาก นอกจากจัดบริขาร ๘ ของพระธุดงค
จะพึงมเี ทา น้ันกเ็ ปน อนั เสร็จ พระอาจารยมั่น ภูริทตฺโต มาพำนักท่ีวัดปาโนนนิเวศน

๑๑.๓. ทานเจา คณุ พระธรรมเจดยี  (จมู พนธฺ ุโล) จ.อดุ รธานี ดว ยเหตวุ า ทา นเจา คณุ พระธรรมเจดยี  (จมู พนธฺ โุ ล)
จดั เตรยี มเสนาสนะ (๒๔๘๓-๒๔๘๔)
มีความประสงคจะอยูใกลชิด เพ่ือ

ทานเจาคุณพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) ไดจัด ขอคำแนะนำในการปฎิบัติทางจิต อัน

เสนาสนะถวายทานพระอาจารยม่ัน โดยจัดใหพักจำพรรษา เปนแนวทางที่ถูกตองและเพื่อความ

ที่วัดปาโนนนิเวศน ในระหวาง พ.ศ. ๒๔๘๓-๒๔๘๔ คร้ัง อบอนุ ของหมคู ณะเพราะเวลานน้ั ความ

นี้ก็เปนการเปดเผยตัวของทานพระอาจารยม่ัน หลังจากที่ มั่นคงของคณะธรรมยุตไมคอยจะดี

ทานไดปลีกตัวอยูในถ้ำ ภูเขา ซอนเรนเพ่ือบำเพ็ญสมณธรรม พระเถระผูใหญฝายกรรมฐานไดไปอยู

อยูเชียงใหม เชียงราย เปนเวลาถึง คนละทิศละทาง การกระทบกระท่ังไม

๑๒ ป ท่ีไดกลาววาทานไดเปดเผย มน่ั คงของหมคู ณะมมี ากและกำลงั พระ

ตัวน้ันก็คือ ทานจำพรรษาอยูใกล ภิกษุสามเณรมีนอ ย ที่เปน เชนนี้เพราะ

บาน และเปดโอกาสใหพระภิกษุ ขาดหลักยึดถือ อันหมายถึง พระเถระ

สามเณรทง้ั หลายเขา ศกึ ษาและปฏบิ ตั ิ ผูทรงคุณวุฒิที่เปนแกนกลาง แมนวา อฐั บริขาร เครอื่ งใชประจำวนั
ของหลวงปูม ัน่ ภูริทัตโต
วดั ปาโนนนเิ วศน อยกู ับทา นได ทานไดอบรมใหโอวาท ทา นเจา คณุ พระธรรมเจดยี (จมู พนธฺ โุ ล) ท่ีเก็บรักษาไวใ นพพิ ิธภณั ฑ
เปนวัดปา สายวปิ สนากรรมฐาน ทา นเปน เจา คณะพระผใู หญก จ็ รงิ แตย งั

ทานเจาคุณฯ เปรยี บเสมือน ๘๖ ๘๗ ชี ว ป ร ะ วั ติ
พระธรรมเสนาบดีฯ
ทานเจา คณุ พระธรรมเจดยี 
กฏุ หิ ลวงปมู น่ั วัดปา โนนนเิ วศน อ.เมอื ง ไมสามารถจะรวมกำลัง (จูม พนธฺ โุ ล)
จ.อดุ รธานี จำพรรษา พ.ศ. ๒๔๘๓ - ๒๔๘๔ ของ พระ ภิกษุ สามเณร
ท่ี เปน พระ ปฏิบัติ ได จงั หวดั หนองคาย จงั หวดั นครพนม เปน ตน ความเปน พลงั คณะ
หากสถานการณ เปน สงฆ ปรากฏเดนชัดขึ้นตามลำดับ จนถงึ กับพระปฏิบตั สิ ายทาน
เชน นี้ ความรอ ยหรอของ พระอาจารยมั่นฯ ตองมารับหนาที่ฝายปกครองเปนเจาคณะ
พระภิกษุสามเณรก็จะมี โดยยึดถือขอปฏิบัติอันเปนปฏิปทาของทานพระอาจารยม่ันฯ
มากย่ิงข้ึน ก็จะเปนการ แมจ ะเขา มาบรหิ ารหมคู ณะฝา ยปกครอง กไ็ ดร บั การเชอ่ื ถอื จาก
ออ นแอของหมคู ณะได มหาชนเปน อยา งมาก อนั เกดิ ประโยชนอ ยา งใหญห ลวงแกค ณะ
สงฆน ี้ จนอาจกลา วไดว า ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื (ภ าคอสี าน)
ดงั น้นั ทา นพระอาจารยมัน่ ภรู ิทตโฺ ต จงึ ไดส ละเวลาถึง เปน ขมุ กำลงั พระธรรมยตุ อนั ดบั หนง่ึ ของประเทศไทย คงเปน มลู
๓ ป ในการอยูทวี่ ดั ปา โนนนิเวศน จงั หวัดอดุ รธานี หลังจาก เหตทุ ที่ ำใหท า นพระอาจารยม นั่ ฯ ยอมกลบั จากเชยี งใหมต ามคำ
ทท่ี านพระอาจารยม่ันฯอยูท่นี ีแ้ ลว พระเถรานเุ ถระตางก็พากนั อาราธนาของทานเจาคุณพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธโุ ล) นนั้ เอง
เดนิ ทางมาเพ่ือศึกษาธรรมปฏิบตั ิ เปนเหตุใหเกิดพลงั คณะสงฆ
ข้ึน อน่ึงเพราะพระเถรานุเถระเหลานี้เปนที่เล่ือมใสของอุบาสก
อบุ าสกิ า และพระภกิ ษสุ ามเณรเปน อนั มาก เมอื่ พระเถรานเุ ถระ
มารวมกนั มาก ทา นพระอาจารยม นั่ ฯ กใ็ หแ ยกยา ยกนั ออกไปอยู
แหงละ ๕ องค ๑๐ องค ถึงเวลาอนั ควร พระเถรานเุ ถระเหลา น้ี
กเ็ ขา ไปอยศู กึ ษาธรรมปฏบิ ตั เิ ปน ครง้ั คราวและกไ็ ดร บั ประโยชน
อยา งมากทั้งดานจติ ใจและปฏปิ ทา จนเปน ตน เหตุใหเ กิดวัดปา
ข้ึนอีกนับเปนรอยๆวัด อันเกิดจากการท่ีพระเถรานุเถระไดมา
ศึกษาธรรมจากทานพระอาจารยม ่นั ฯ น่นั เอง

ฉะน้ัน ๓ ปของการพำนักอยูของทานพระอาจารยม่ันฯ
ที่จังหวัดอุดรธานี จึงถือวาเปนการฟนฟูคณะธรรมยุตคร้ังใหญ
ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื (อสี าน) โดยเฉพาะจงั หวดั อดุ รธานี

ทา นเจา คณุ ฯ เปรยี บเสมือน ๘๘ ๘๙ ชี ว ป ร ะ วั ติ
พระธรรมเสนาบดฯี
ทานเจา คณุ พระธรรมเจดยี 
ทง้ั น้ี ตอ งระลกึ ถงึ พระคณุ ของทา นเจา คณุ พระธรรม (จูม พนฺธุโล)
เจดีย (จูม พนฺธุโล) ท่ีทานมีสายตาอันยาวไกล เพ่ือหมูคณะ
มใิ ชเ พยี งเพอื่ ตวั เอง ดว ยความพยายามอยา งยงิ่ เปน เวลาหลาย ครูบาอาจารยพ ระปากรรมฐาน สานศุ ิษยห ลวงปมู ัน่ ภูรทิ ตโฺ ต
ป กวาจะอาราธนาใหท า นพระอาจารยม น่ั ฯ กลบั สูภาคอีสาน รวมกนั ถา ยภาพ ณ วัดศรีเมอื ง อ.เมือง จ.หนองคาย
ได “ลบไมศ ูนย” คือ ความดีงามและความเหน็ ประโยชน
แกส วนรวม ความประเสริฐเลิศย่งิ แหงความบริสุทธใ์ิ จแก ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเวลาน้ันมีพระอุปชฌาย
หมูคณะภาคอีสาน ทจี่ ะตอ งจารกึ ไวนเ้ี อง คอื คำวา “ลบ เพียงไมกี่รูป ลูกศิษยกรรมฐาน ตลอดจนครูบาอาจารยรุนเกา
ไมศูนย” ของทา นเจา คณุ พระธรรมเจดยี  (จมู พนธฺ ุโล) สว นมากลว นเปน สทั ธวิ หิ ารกิ ของทา นเจา คณุ พระธรรมเจดยี (จมู
พนฺธุโล) โดยทา นเปนพระอุปช ฌายอปุ สมบทให
๑๑.๕. วดั โพธสิ มภรณ ตนกำเนิดพระธรรมยตุ
ความสัมพันธระหวางทานพระอาจารยม่ันฯ กับทาน
ในสมัยนั้นพระอุปชฌายไมไดแตงต้ังงายเหมือนใน เจาคุณพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) จึงแนบแนนเปนหนึ่ง
ปจ จบุ นั น้ี ขณะนน้ั ทา นเจา คณุ พระธรรมเจดยี  (จมู พนธฺ โุ ล) เปน เดียว เปนผูนำกองทัพธรรมพระวิปสสนากรรมฐานออกเผยแผ
เจาคณะมณฑลอุดรธานีและเปนพระอุปชฌาย โดยทาน พระสัจธรรมของพระผมู พี ระภาคเจา สูประชาชน ทา นเจาคณุ
พระอาจารยมั่นฯ มักจะนำพระภิกษุมาญัตติเปนพระธรรมยุต พระอุดมญาณโมลี (จันทรศรี จนฺททีโป) เจาอาวาสวัด
กับทานเจาคณุ ฯ อยบู อยๆ โพธสิ มภรณ (รูปปจจุบัน) ไดย กยองเชดิ ชูทา นทั้งสองวา เปน
เจดยี ทองของพระกรรมฐาน
ดว ยเวลาพระอาจารยท งั้ หลายไดเ ขา มาฟง ธรรมกบั ทา น
พระอาจารยม น่ั ฯ จนเกดิ ความซาบซงึ้ ในรสพระธรรม ถา จะญตั ติ
เปนธรรมยุต ทานพระอาจารยม่ันฯ จะทดสอบโดยการทรมาน
อยา งนอ ย ๓ เดอื นคอื ใหฉ นั ในบาตร ใหเ ดนิ จงกรม ใหภ าวนา
จนกระทั่งภาวนาเปน แลวไปวาคำบวชแบบธรรมยุติใหทาน
พระอาจารยมั่นฯฟง หัดนง่ั สมาธิ หดั นิสยั พักอยทู ่วี ัดประมาณ
๓-๔ วัน แลวจึงจะพาไปบวชกบั ทานเจา คุณพระธรรมเจดีย
(จมู พนธฺ โุ ล) ณ วัดโพธิสมภรณ จ.อุดรธานี

๙๑ ชี ว ป ร ะ วั ติ

ทา นเจาคุณพระธรรมเจดีย
(จูม พนฺธโุ ล)

๑๒ พระเถระชั้นผใู หญ พระธรรมวสิ ุทธิมงคล
(หลวงตามหาบวั าณสมปฺ นฺโน)
ศิษยส ายพระอาจารยมั่น ภูรทิ ตฺโต
วดั ปาบา นตาด ตำบลบา นตาด อำเภอเมือง จังหวดั อุดรธานี
ท่ี
ทานเจา คุณพระธรรมเจดีย (จมู พนธฺ โุ ล) เกิด วนั องั คารท่ี ๑๒ สงิ หาคม ๒๔๕๖
ตรงกับวันข้ึน ๑๑ ค่ำ เดอื น ๙ ปฉ ลู
เปน พระอปุ ชฌาย ทบี่ านตาด ตำบลบานตาด อำเภอเมือง
จงั หวดั อุดรธานี

อปุ สมบท เมอื่ วันที่ ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๗๗
ณ วดั โยธานมิ ติ อำเภอเมอื ง จังหวัดอุดรธานี
โดยมพี ระธรรมเจดีย (จมู พนธฺ โุ ล) ขณะดำรง
สมณศกั ดท์ิ ่ี พระราชเวที เปนพระอุปชฌาย

ปจ จบุ ัน ทา นพำนกั ณ วัดปาบา นตาด
อำเภอเมอื ง จังหวดั อุดรธานี

พระเถระชนั้ ผใู หญฯ ๙๒ ๙๓ ชี ว ป ร ะ วั ติ
ที่ทานเจาคุณฯ เปน อปุ ชฌาย
หลวงปูขาว อนาลโย ทา นเจา คุณพระธรรมเจดีย
(จูม พนฺธุโล)
วัดถำ้ กลองเพล
หลวงปูออน าณสริ ิ วดั ปา นโิ ครธาราม ตำบลหนองบวั อำเภอเมอื ง
จังหวัดหนองบวั ลำภู
บานหนองบัวบาน ตำบลหมากหญา
อำเภอหนองววั ซอ จงั หวดั อุดรธานี

เกิด วันอังคารท่ี ๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๔๕ เกดิ วันอาทติ ยที่ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๓๑
ตรงกับวันแรม ๑๓ คำ่ เดอื น ๖ ปขาล ตรงกบั ปชวด
ที่ บานดอนเงิน ตำบลแชแล อำเภอกุมภวาป ณ บา นบอ ชะเนง ตำบลหนองแกว
จังหวดั อุดรธานี อำเภออำนาจเจรญิ จงั หวดั อุบลราชธานี
(ปจจุบนั คอื อำเภอเมือง จงั หวัดอำนาจเจรญิ )
อปุ สมบท อายุ ๒๐ ป ไดอปุ สมบทเปน พระภกิ ษุในคณะ
มหานกิ าย ทวี่ ดั บา นดอนเงนิ อำเภอกมุ ภวาป อปุ สมบท วนั ที่ ๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๒ ณ วดั โพธิ์ศรี
จงั หวัดอดุ รธานี โดยมีพระครูจันทา เปน บา นบอ ชะเนง ตำบลหนองแกว
พระอุปชฌาย แลว ยายไปจำพรรษาอยทู ่ี อำเภออำนาจเจริญ จังหวัดอบุ ลราชธานี
วัดบา นดอนเงิน (ปจ จบุ ันคอื อำเภอเมือง จงั หวัดอำนาจเจรญิ )

ญตั ติเปนพระธรรมยุต ญตั ติเปนพระธรรมยุต
พ.ศ. ๒๔๖๖ ไดท ราบขาว กิตติศัพทข องทา น วันที่ ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๖๘ โดยมี
พระอาจารยมั่น ภรู ิทตฺโต จึงไดม าเมื่อวนั ที่ พระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล)
๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๗ ที่วัดโพธสิ มภรณ เปนพระอุปช ฌาย
จังหวัดอุดรธานี โดยมีพระธรรมเจดยี 
(จมู พนธฺ โุ ล) ขณะดำรงสมณศักดิท์ ่ี มรณภาพ วันจันทรท ่ี ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๒๖
พระครูชิโนวาทธำรง เปน พระอปุ ชฌาย ณ วัดถำ้ กลองเพล อำเภอเมือง
จงั หวดั หนองบัวลำภู สริ ริ วมอายไุ ด ๙๔ ป
มรณภาพ วันพุธท่ี ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๔ ๔ เดอื น ๑๘ วนั พรรษา ๕๗
เวลา ๐๔.๐๐ น. ตรงกบั วันแรม ๙ ค่ำ เดือน ๖
ปว อก สริ ริ วมอายุได ๘๐ ป พรรษา ๕๗

พระเถระชั้นผูใหญฯ ๙๔ ๙๕ ชี ว ป ร ะ วั ติ
ที่ทา นเจา คุณฯ เปนอุปชฌาย
หลวงปูพรหม จิรปุ ฺโ ทา นเจา คุณพระธรรมเจดีย
(จูม พนธฺ โุ ล)
วดั ประสิทธธิ รรม
หลวงปูฝน อาจาโร บานดงเย็น อำเภอบานดุง
จังหวดั อุดรธานี
วัดปา อุดมสมพร
ตำบลพรรณนา อำเภอพรรณานิคม
จังหวัดสกลนคร

เกิด วันอาทติ ยท่ี ๒๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๔๒ เกิด วนั องั คาร พ.ศ. ๒๔๓๑ ปข าล
ตรงกบั วนั ข้ึน ๑๔ คำ่ เดอื น ๙ ปก นุ ณ บา นตาล ตำบลโคกสี
ณ บา นมว งไข ตำบลพรรณา อำเภอพรรณานคิ ม อำเภอสวางแดนดิน จงั หวดั สกลนคร
จังหวัดสกลนคร
อปุ สมบท เมอ่ื อายุ ๓๗ ป พ.ศ. ๒๔๖๘ ทวี่ ดั โพธิสมภรณ
บรรพชา ประมาณ พ.ศ. ๒๔๖๑ อำเภอเมอื ง จงั หวัดอุดรธานี
อุปสมบท พ.ศ. ๒๔๖๒ อายุ ๒๐ ป โดยมี พระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโล) ขณะดำรง
ญตั ตเิ ปนพระธรรมยตุ สมณศกั ด์ิ ท่ี พระราชกวี เปนพระอุปช ฌาย

วันท่ี ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๖๘ ณ มรณภาพ เมอ่ื วันท่ี ๑๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๒
วัดโพธสิ มภรณ อำเภอเมือง จงั หวดั อดุ รธานี ณ วัดประสิทธธิ รรม บา นดงเยน็ อำเภอบานดงุ
โดยมพี ระธรรมเจดีย (จมู พนฺธุโล) จังหวดั อุดรธานี
เปน พระอุปช ฌาย สริ ิรวมอายุ ๘๑ ป พรรษา ๔๔
มรณภาพ วันที่ ๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๒๐
ณ วดั ปาอดุ มสมพร อำเภอพรรณานิคม
จังหวัดสกลนคร
สริ ริ วมอายไุ ด ๗๗ ป ๔ เดือน ๑๕ วนั
พรรษา ๕๒

พระเถระชน้ั ผใู หญฯ ๙๖ ๙๗ ชี ว ป ร ะ วั ติ
ทีท่ านเจา คุณฯ เปน อุปช ฌาย
พระสุธรรมคณาจารย ทานเจาคณุ พระธรรมเจดีย
(หลวงปเู หรยี ญ วรลาโภ) (จูม พนธฺ โุ ล)

หลวงปหู ลุย จนฺทสาโร วดั อรญั ญบรรพต
อำเภอศรเี ชียงใหม
วดั ถำ้ ผาบง้ิ จังหวัดหนองคาย
บานนาแก ตำบลผาบ้ิง
อำเภอวังสะพงุ จังหวดั เลย

เกิด วันองั คารที่ ๑๑ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๔๔ เกิด วนั พุธท่ี ๘ มกราคม พ.ศ.๒๔๕๕
ตรงกับวนั ข้ึน ๔ ค่ำ เดอื น ๓ ปฉ ลู ตรงกับวันขึ้น ๒ ค่ำ เดอื นยี่ ปชวด
ณ ตำบลกดุ ปอ ง อำเภอเมือง จังหวัดเลย ณ บานหมอ ตำบลบานหมอ อำเภอศรีเชียงใหม
จงั หวัดหนองคาย
อปุ สมบท คร้งั แรกเมอ่ื ป พ.ศ.๒๔๖๖ ณ อำเภอแซงบาดาล
จงั หวดั รอ ยเอ็ด อปุ สมบท เดือนมกราคม พ.ศ.๒๔๗๕ ทอ่ี โุ บสถวดั บานหงส-
ทอง อำเภอทาบอ จังหวดั หนองคาย
ญตั ติเปน พระธรรมยตุ
เมอื่ วนั ที่ ๑๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๘ เวลา ๑๓.๐๘ น. ญตั ติเปน พระธรรมยุตอดุ รธานี
โดยมี พระธรรมเจดยี  (จูม พนฺธโุ ล) เมอ่ื วันท่ี ๑๙ เมษายน พ.ศ.๒๔๗๖
ขณะดำรงสมณศกั ดิ์ทีพ่ ระครสู งั ฆวฒุ ิกร ณ วัดโพธิสมภรณ อำเภอเมือง จังหวดั อุดรธานี
เปน พระอุปชฌาย ณ วดั โพธิสมภรณ โดยมพี ระธรรมเจดีย (จูม พนธฺ โุ ล)
อำเภอเมอื ง จงั หวดั อุดรธานี เปน พระอุปชฌาย

มรณภาพ วนั จนั ทรท่ี ๒๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๓๒ เวลา ๐๐.๔๓ น. มรณภาพ วันอาทติ ยท ่ี ๕ มิถนุ ายน พ.ศ.๒๕๔๘
ณ โรงพยาบาลหัวหนิ จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ
สริ ิรวมอายไุ ด ๘๘ ป ๑๐ เดอื น ๑๔ วัน สริ ริ วมอายุ ๙๓ ป ๔ เดือน ๖ วนั พรรษา ๗๒
พรรษา ๖๔

พระเถระชน้ั ผูใหญฯ ๙๘ ๙๙ ชี ว ป ร ะ วั ติ
ทที่ านเจา คุณฯ เปนอุปชฌาย
หลวงตาแตงออน กลยฺ าณธมฺโม ทา นเจาคุณพระธรรมเจดยี 
(จมู พนฺธุโล)
วดั ปาโชคไพศาล บานหนองนาหาร
พระครูปราโมทยธ รรมธาดา ตำบลนาซอ อำเภอวานรนวิ าส
(หลวงปหู ลอด ปโมทโิ ต) จงั หวัดสกลนคร

วดั สิริกมลาวาส
ลาดพรา ว กรงุ เทพฯ

เกิด วนั พฤหสั บดที ี่ ๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๕๘ เกิด วนั เสารที่ ๘ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๔๖๕
ตรงกบั วันข้นึ ๓ ค่ำ เดอื น ๑ ปเ ถาะ ตรงกับวนั ข้ึน ๕ ค่ำ เดอื น ๙ ปจอ
ณ บานขาม ตำบลหัวนา อำเภอหนองบวั ลำภู ณ บานมว งไข อำเภอพรรณานิคม
จังหวดั อุดรธานี (ปจจบุ ันเปน อำเภอเมือง จงั หวดั สกลนคร
จังหวัดหนองบวั ลำภ)ู
อปุ สมบท เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๔๘๕ ณ วัดเสบญุ เรือง
อปุ สมบท เมอื่ เดือนกุมภาพนั ธ พ.ศ.๒๔๗๙ อำเภอวานรนิวาส จงั หวดั สกลนคร
ณ วดั ธาตุหวั เทาว
ญัตติเปนพระธรรมยุต
ญตั ตเิ ปน พระธรรมยุต เมือ่ วันท่ี ๑๓ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๘๗
เมื่อวนั ท่ี ๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๗๙ ณ วดั ทุงสวา ง ณ วดั โพธสิ มภรณ อำเภอเมอื ง จังหวัดอุดรธานี
ตำบลโพธ์ิชัย อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย โดยมีพระธรรมเจดีย (จูม พนธฺ โุ ล)
โดยมี พระธรรมเจดยี  (จมู พนธฺ ุโล) เปน พระอุปชฌาย
ขณะดำรงสมณศักดท์ิ ่ี พระเทพกวี เปนพระอปุ ช ฌาย
ณ วดั โพธสิ มภรณ จังหวดั อดุ รธานี ปจจบุ นั เจาอาวาสวัดกลั ยาณธมั โม (วัดโชคไพศาล)
ต.นาซอ อ.วานรนวิ าส จ.สกลนคร
มรณภาพ วันท่ี ๗ กรกฎาคม ๒๕๕๒ ณ โรงพยาบาลวชิ ยั ยุทธ
กรุงเทพฯ สริ ิรวมอายุ ๙๔ ป พรรษา ๗๓


Click to View FlipBook Version