The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-book_สังคมน่าอยู่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kittisita1, 2021-11-05 03:50:03

E-book_สังคมน่าอยู่

E-book_สังคมน่าอยู่

4ยุติสังคมบั่นทอนคนอ่ืน เพื่อสังคมที่นาอยู

สภาพสงั คมที่บน่ั ทอนคนดี

สภาพสังคมที่บั่นทอนคนดีเปšนเร่ืองที่ทุกคนควรไดŒตระหนักการเรียนรูŒที่
จะปฏิเสธการมีส‹วนร‹วมและการไม‹ละเลยต‹อสภาพดังกล‹าวเปšนความจําเปšน
รว‹ มกนั ทั้งนี้เพ่ือเราจะมิไดŒถกู ลอ‹ ลวงใหŒเขาŒ ไปเปนš เครื่องมือแหง‹ การบ่ันทอน
น้ัน

การใสรา ยปา ยสี

อาวธุ แห‹งการทาํ ลายลาŒ งท่ลี งทุนนอŒ ยท่ีสุด เกิดผลราŒ ยแรงที่สุด สมั ฤ
ทธิผลมาแลŒวทกุ ยุคสมัย คือ “การใสร‹ Œายปา‡ ยสี” การปล‹อยขา‹ วลือเลวราŒ ย
เพอื่ การกลนั่ แกลงŒ ผอŒู นื่ สว‹ นใหญม‹ กั มสี าเหตจุ ากการขดั ผลประโยชนห รอื อคติ
สว‹ นบคุ คล การสราŒ งขา‹ วหรอื สราŒ งเหตกุ ารณแ งล‹ บเพอ่ื ทาํ ใหผŒ อŒู นื่ เขาŒ ใจผดิ นบั
ไดŒวา‹ เปนš เรื่องท่ีสรŒางความเสียหายต‹อผูทŒ ไ่ี ดŒรบั ผลน้ันอย‹างอยุติธรรมท่สี ดุ แต‹
ก็ยังปรากฏว‹าคนส‹วนใหญ‹ที่ไดŒรับทราบข‹าวลือมักจะใหŒความเชื่อถือโดย
ปราศจากหลกั ฐานท่พี สิ ูจนไ ดŒ คนสว‹ นใหญท‹ ไี่ ดŒช่ือวา‹ เชอื่ ข‹าวลือทเี่ ปนš เท็จจึง
ถือไดŒว‹าเปšนเคร่ืองมือของคนเลวที่ต้ังใจจะบั่นทอนคนดีที่ปราศจากความผิด
โดยมไิ ดŒต้ังใจ

ความแตกแยกและบนั่ ทอนดวŒ ยการใสร‹ าŒ ยปา‡ ยสเี พอ่ื การทาํ ลายลาŒ ง เปนš
อาวธุ ท่สี ‹งผลรนุ แรงในทุกระดับ หากเราจะปลอ‹ ยปละละเลยสงั คมใหŒขา‹ วลอื
แหง‹ การใสร‹ าŒ ยปา‡ ยสี สงั คมนน้ั ยอ‹ มไมน‹ า‹ อยแ‹ู ละเราคงไมอ‹ าจดาํ รงอยใ‹ู นสงั คม
เช‹นนีไ้ ดอŒ ย‹างมีศกั ด์ิศรี

37

สังคมนาอยู

การวิพากษว จิ ารณแ งลบโดยไมมมี ลู เหตุ

แมŒว‹าเราต‹างก็ตระหนักว‹าเราไม‹ชอบการวิพากษวิจารณแง‹ลบในทาง
ทําลายและใหŒรŒาย ไม‹ชอบการเหยียบย่ําซ้ําเติมในความผิดพลาดลŒมเหลว
รงั เกยี จคาํ พดู เยาะเยยŒ ถากถางหรอื ระบายความสะใจไรคŒ วามเหน็ อกเหน็ ใจ แต‹
สงิ่ เหลา‹ นน้ั อาจเกดิ ขนึ้ ไดทŒ ง้ั โดยเจตนาและไมเ‹ จตนา หลายคนจงึ รว‹ มกนั ทาํ ราŒ ย
คนท่ตี ง้ั ใจทําดี บน่ั ทอนคนท่ีทาํ งานดŒวยความจริงใจเพื่อสงั คมน้ี แทนที่จะ
บงั เกดิ กาํ ลงั ใจทจ่ี ะแกคŒ วามผดิ พลาดลมŒ เหลวและพฒั นาสงั คมใหดŒ ขี น้ึ ไดŒ เขา
เหล‹าน้ันก็อาจบาดเจ็บดŒวยคําวิพากษวิจารณแง‹ลบของบางคนท่ีไม‹ไดŒทําอะไร
เลย นอกเสยี จากการวพิ ากษวิจารณผ อŒู น่ื หากเราจะไม‹ไดชŒ ‹วยทําส่ิงใดเลย
เราก็น‹าจะช‹วยกันคิดในทางสรŒางสรรคมากกว‹าเพียงแต‹การวิพากษวิจารณใน
ทางราŒ ยโดยปราศจากมูลเหตุ

คาํ วิพากษวิจารณทีม่ ิไดเŒ สรมิ สราŒ งใหผŒ Œูใดดขี นึ้ นบั ไดŒว‹าเปนš ส่ิงท่บี ันดาล
ความบั่นทอนแก‹จิตใจของผูŒท่ีถูกวิพากษวิจารณน้ัน และหากเปšนคําวิพากษ
วิจารณเลวรŒายทปี่ ราศจากมลู เหตทุ ่ีมาท่ีไปก็ยิ่งนับไดŒว‹าเปนš เครอ่ื งทําลายคนดี
เราจงึ ควรฟง˜ อยา‹ งยับย้งั ชงั่ ใจหรอื ไม‹ควรรับฟง˜ เลย

การยดึ ถอื คานยิ ม “คา ของคนอยทู ีผ่ ลของงาน”

ค‹านิยมของคนยุคน้ีอาจสะทอŒ นปรากฏอยู‹ตามทอŒ งถนน เชน‹ ตามทาŒ ย
รถบรรทกุ สิบลอŒ ท่ีเราพบเห็นสโลแกนที่วา‹ “คา‹ ของคนอยู‹ท่ผี ลของงาน” อาจ
เปนš สง่ิ ทีเ่ ราเหน็ คุณคา‹ แตท‹ ว‹าเปšนคา‹ นยิ มผดิ ๆ ของสงั คมน้ี

38

4ยุติสังคมบ่ันทอนคนอื่น เพื่อสังคมท่ีนาอยู

แทŒจรงิ แลวŒ “คน” มีคณุ คา‹ อยู‹ในตวั เอง ไม‹ว‹าเขาจะทํางานหรือไม‹
ทํางานก็ตาม เขากย็ งั ดํารงความมคี ุณค‹าแห‹งความเปนš คนอยู‹ดี คนแก‹ คน
พกิ าร หรอื คนปญ˜ ญาออ‹ น แมจŒ ะไมไ‹ ดผŒ ลติ ผลอะไรแกส‹ งั คมเลย เรากย็ งั ถอื วา‹
เขามคี ณุ คา‹ เพราะเหตทุ เ่ี รามอิ าจวดั คณุ คา‹ ของคนไดจŒ ากผลของงาน การยดึ ถอื
คา‹ นิยมทบ่ี ดิ ๆ เบ้ียวๆ อยา‹ งท่ปี รากฏตามทŒายรถสบิ ลอŒ เช‹นน้ี ทําใหŒชวี ติ
ของหลายคนถูกทํารŒาย คนดŒอยโอกาสจํานวนมากกําลังถูกละเลย คนไรŒ
ผลิตผลกําลังถูกรังเกียจว‹าเปšนกาฝากแห‹งสังคม และเปšนภาระของชาติคน
จาํ นวนมากมายในสงั คมยงั ขาดการสนบั สนนุ เพอ่ื ความเปนš อยท‹ู ดี่ ี หลายคนไม‹
อยากมชี วี ติ อยต‹ู อ‹ ไป เพราะสงั คมไมย‹ อมรบั และการแสดงออกของผคŒู นรอบ
ขาŒ งในการกระทําท่ที ําใหŒเห็นวา‹ เขาหมดคณุ ค‹าแห‹งความเปนš คนเสยี แลวŒ

ความคิดวา ตนเองดกี วา ผอู ื่น

พฤติกรรมอีกอย‹างหนึ่งท่ีบ่ันทอนผูŒอ่ืน และมีส‹วนทําใหŒสังคมไม‹น‹าอยู‹
คือ การไม‹รจŒู ักมองเหน็ สว‹ นดีของผŒอู ่ืน คนจํานวนมากมักวัดความไม‹ดีของ
ผูŒอ่ืนโดยเอาตนเองเปšนมาตรฐาน มักเขŒาขŒางตนเองว‹าดีกว‹าผูŒอ่ืนและจะมอง
เหน็ ขอŒ ผิดพลาดของผูŒอ่นื ไดงŒ า‹ ย แทŒจริงแลŒวไมม‹ ีผใูŒ ดเลยในโลกนท้ี ี่เรยี กไดŒวา‹
“ดพี รอŒ ม” การรูŒจกั แยกแยะไดใŒ นส่งิ ท่ีดแี ละไมด‹ ีนบั วา‹ เปšนส่งิ ท่ีประเสรฐิ แต‹
การคดิ สาํ คญั ผดิ วา‹ ตนเองดกี วา‹ ผอŒู น่ื นบั ไดวŒ า‹ เปนš ความเลวราŒ ย เราไมอ‹ าจสรปุ
ไดวŒ ‹าบคุ คลหนึ่งบุคคลใดเปšนคนไมด‹ ีเพียงเพราะเหตทุ ่ีเราเห็นขอŒ ผิดพลาดบาง
อย‹างของเขา และเราไมค‹ วรตัดสนิ ว‹าเราดีกว‹าผูอŒ ่นื เพราะเหตุวา‹ เราอาจมอง
ไม‹เห็นความผดิ พลาดของตวั เอง

39

สังคมนาอยู

การท่เี รามโี อกาสทดี่ กี วา‹ คนบางคนในสังคม ชาติตระกลู ดี การศกึ ษา
ดี หรือความสามารถดีนน้ั อาจทาํ ใหŒมคี วามทะนงและคดิ ไปว‹าเราดกี วา‹ คน
อื่นไดŒ ปจ˜ จัยเหลา‹ นแ้ี มŒอาจมีสว‹ นสง‹ เสริมเราใหดŒ ดู ไี ดŒ แตก‹ ็ไม‹ไดหŒ มายความ
วา‹ เราจะดกี ว‹าคนอนื่ ในเนื้อแทเŒ สมอไป

แมเŒ ราอาจจะเปนš คนสตั ยซ อื่ มคี วามยตุ ธิ รรมเปนš เลศิ กย็ งั มอิ าจถอื ไดวŒ า‹
เราเปนš คนสตั ยซ อ่ื ยตุ ธิ รรมอยา‹ งสมบรู ณไ ดŒ ไมม‹ ใี ครสามารถกลา‹ วไดวŒ า‹ ตนเอง
มีส่ิงดียอดเย่ียมเหนือกว‹ามาตรฐานจนสามารถนําไปดูถูกความดีของผูŒอื่นอัน
เปนš เหตใุ หŒคนอืน่ ตอŒ งถกู บ่ันทอนในการทําดียิ่งๆ ขึน้ ไดŒ

พฤตกิ รรมในการเปรยี บเทยี บความดกี นั เชน‹ นอ้ี าจเปนš สว‹ นหนงึ่ ทบี่ นั่ ทอน
สงั คมไดŒ เราไมค‹ วรเปรยี บเทียบกันและกันเพ่อื จะแสดงใหŒผŒอู ืน่ เห็นว‹า “เรา
ดกี วา‹ ” แตเ‹ ราควรใหกŒ าํ ลงั ใจและสง‹ เสรมิ กนั และกนั ใหทŒ าํ ดขี น้ึ กวา‹ เดมิ ความ
ตั้งใจเช‹นนี้จะช‹วยลดความไม‹ไววŒ างใจ ความอาฆาตมาดรŒาย จิตใจรษิ ยา

40

4ยุติสังคมบั่นทอนคนอ่ืน เพ่ือสังคมที่นาอยู

การวิพากษวิจารณแ บบทาํ ลายลาŒ งและย้ําความผิดพลาดของกันและกนั ใน
ทางตรงกนั ขาŒ มหากเราเปลยี่ นเปนš ความเชอ่ื ในสง่ิ ทดี่ ี การใหอŒ ภยั กนั สนบั สนนุ
กันและส‹งเสริมหนุนกําลังใจกันและกัน เสนอทางออกท่ีดีข้ึนใหŒกันและกัน
สังคมนี้จะไดŒรบั การยกชูขึ้นใหเŒ ปนš ความเกื้อกูล ไม‹แก‹งแยง‹ ชงิ ดี หรือคดิ แต‹
จะทาํ เพอื่ ประโยชนแ ละชอ่ื เสยี งของตนเอง แตจ‹ ะใหเŒ กยี รตแิ กผ‹ ทŒู สี่ มควรไดรŒ บั
เกยี รติ และไมแ‹ ยง‹ เกยี รตขิ องผูŒอนื่ มาเปนš ของตน

สังคมน้ีตอ งไดรับการเยียวยา
เราตอ งเหน็ ทุกคนมีคุณคา

ครง้ั หนง่ึ ไมน‹ านมาน้ี ผจŒู ดั รายการโทรทศั นเ พอ่ื ความคดิ เหน็ ทางการเมอื ง
รายการหนงึ่ ถามผมวา‹ “ระหวา‹ งการพายเรอื ใหโŒ จรนัง่ กับน่ังในเรอื ท่โี จรพาย
นัน้ อาจารยค ิดว‹าจะเลือกแบบไหน” …แทŒจริงแลŒวการเลือกแบบไหนคงไม‹
สาํ คญั เทา‹ กบั วา‹ เราจะสามารถพาเรอื นน้ั ไปสจ‹ู ดุ หมายทถ่ี กู ตอŒ งไดอŒ ยา‹ งไร หาก
เราจาํ เปšนตŒองนงั่ อย‹ใู นเรอื ลําเดียวกนั และรบั หนาŒ ที่เปนš ผูŒพาย เรากต็ ŒองใชสŒ ติ
ปญ˜ ญาพาเรือนั้นไปถงึ ฝ›ง˜ ใหŒจงไดŒ แมรŒ ูŒวา‹ กาํ ลังอย‹ใู นเรอื ที่มโี จรกต็ ามที เรา
ควรเปนš คนทมี่ คี ณุ คา‹ เพอื่ เราจะมกี าํ ลงั ใจในการพายเรอื นน้ั ตอ‹ ไปไดตŒ ามหนาŒ ท่ี
ของเรา และแมŒอาจไมอ‹ ยใ‹ู นฐานะเปšนผพŒู ายเรือและจาํ เปนš ตอŒ งน่ังในเรือทโ่ี จร
พาย เรากย็ ังเห็นคุณค‹าของโจรและควรพยายามมีส‹วนทําใหŒโจรกลับใจเปšน
พลเมืองดขี องสงั คมต‹อไปอยา‹ งสดุ กําลังความคิด แทนที่จะนง่ั เฉยและปล‹อย
โจรใหŒพายเรือไปตามใจโจร เราก็ควรโนŒมนŒาวโจรใหŒพายเรือไปยังจุดหมาย
ปลายทางทด่ี สี ุดความสามารถ

41

สังคมนาอยู

เพราะวา‹ สงั คมนนั้ มที ง้ั คนดแี ละคนเลวปะปนกนั ไมม‹ ีใครดพี รอŒ ม
และไม‹มีใครเลวสมบรู ณ เราจึงพดู ไดŒว‹าทกุ คนมคี วามดแี ละความเลว
ปะปนกันในสัดส‹วนท่แี ตกตา‹ ง

ตลอดชวี ติ ของคนๆ หนง่ึ คงไมม‹ ใี ครสามารถบอกไดวŒ า‹ เขาไมเ‹ คยกระทาํ
ผิดใดๆ มากอ‹ นเลยแมแŒ ตค‹ ร้ังเดียว จงึ ไม‹มใี ครสามารถพพิ ากษาคนอนื่ ไดŒ
เพราะทกุ คนตา‹ งกอ็ ยู‹ในฐานะเดยี วกนั คือเปšนผูทŒ ี่มคี วามผดิ ติดตัวทั้งสิน้ คนที่
มคี วามผดิ เชน‹ นใี้ ครจะทาํ หนาŒ ทพี่ พิ ากษาผอŒู น่ื ไดโŒ ดยไมเ‹ หน็ ความผดิ ของตนเอง
ไดเŒ ลา‹ เราทกุ คนตา‹ งเคยทาํ สง่ิ ทผี่ ดิ ไมด‹ แี ละไมน‹ า‹ จะทาํ มากบาŒ งนอŒ ยบาŒ งตา‹ งๆ
กัน บางคนพดู โกหก พดู เสแสรงŒ พูดเอาประโยชน ละเมิดกฎจราจร หรือ
คิดรŒายตอ‹ ผอŒู น่ื สิ่งเหล‹านน้ี บั ไดŒวา‹ เปšนพน้ื ฐานดาŒ นศีลธรรมท่ไี ม‹พงึ มี หากเรา
จะถือวา‹ ทกุ คนตกจากมาตรฐานเหล‹าน้ี เราทุกคนในสังคมนก้ี ็ยงั ไดŒช่อื ว‹าเปนš
“โจร” เชน‹ กันแมŒจะเปšน “โจรเล็ก” ก็ตาม

เราจึงตŒองเชื่อในส‹วนดีของกันและกัน ดังนั้นจังไม‹ควรมีใครอุปมา
พฤตกิ รรมคนในเรือใหŒเปšนโจรดŒวยซา้ํ หากเราคดิ ว‹ามีโจร เราก็ตอŒ งคิดวา‹ โจร
มคี ณุ คา‹ ของความเปนš คนและมบี างสว‹ นทด่ี หี ลงเหลอื อยบ‹ู าŒ ง เราไมค‹ วรมองโจร
เปนš ศตั รู แตม‹ องเขาใหเŒ ปนš จอมโจรทยี่ งั คงหลงเหลอื คณุ ธรรมอยบ‹ู าŒ งในบางดาŒ น
ของชีวิต เราตอŒ งถือวา‹ ไมม‹ ใี ครอยากถูกประณามใหเŒ ปšนโจร ไมม‹ ีใครในสงั คม
นที้ อี่ ยากถกู ตราหนาŒ วา‹ เปนš คนเลว เมอ่ื เขากระทาํ ผดิ พลาดกค็ วรใหโŒ อกาสเขา
ไดŒกลับตัวกลับใจ เพ่ือเขาจะไม‹ย่ิงทําตวั ใหเŒ ปšนโจรทเี่ ลยยง่ิ ขน้ึ แต‹กลาŒ ยอม
รบั ผดิ และกลบั ตัวกลายเปšนคนมีคณุ ธรรมไดŒ สังคมน้ีจงึ ควรไดŒรับการเยียวยา
ดวŒ ยการเหน็ คุณค‹าของผูŒอ่นื ตามสภาพทเี่ ขาเปšน

42

4ยุติสังคมบั่นทอนคนอ่ืน เพื่อสังคมที่นาอยู

เราไม‹ควรเสียเวลาพิพากษาผูŒอื่นเพราะการทําเช‹นนั้นเปšนเร่ืองหา
ประโยชนเกือบมิไดŒ เราควรร‹วมกันสรŒางสรรคส่ิงที่ดีเพ่ือทําใหŒสังคมน‹าอยู‹
แทนทจี่ ะมาเลน‹ แงเ‹ รอื่ งหยมุ ๆ หยมิ ๆ เรานา‹ จะไดหŒ นั หนาŒ เขาŒ หากนั ใหโŒ อกาส
กนั และกัน เชือ่ ในสว‹ นดีของกันและกัน เสนอแนะในสิ่งท่ดี ีและยอมรบั ในส่งิ
ท่ดี กี วา‹ ไดŒ แลวŒ เรากจ็ ะเห็นว‹าสังคมน้ีนา‹ อยู‹ สังคมวนั นยี้ งั รอคนมาร‹วมกนั
เยียวยาดŒวยความจริงจงั และยังตอŒ งการผŒูที่เรยี นรŒูที่จะประสานประโยชนเพ่อื
สว‹ นรวมและทําเพ่อื คนอน่ื มากกว‹าเพื่อส‹วนตวั ใหŒโอกาสคนอ่นื มากกวา‹ ฉวย
โอกาสไวเŒ พ่อื ตนเอง หากเราต‹างคนตา‹ งมใี จทจ่ี ะยกผอŒู ื่นใหไŒ ดŒรบั เกยี รติ เรา
คงไดรŒ บั เกยี รตโิ ดยถวŒ นหนาŒ แตห‹ ากเราตา‹ งคนตา‹ งจะเอาประโยชนแ ละกดคน
อ่ืนและต‹างแยง‹ เกยี รตจิ ากกันและกนั เรากค็ งไมเ‹ หลอื อะไรเลย!

43

ͧ¤»ÃСͺ 3 »ÃСÒÃ
Íѹä´áŒ ¡‹

¤ÇÒÁ¶Ù¡μÍŒ § ¤ÇÒÁàÊÂÕ ÊÅÐ
áÅСÒáÃзíÒã¹Ê§Ôè ·è¨Õ Ð

à¡´Ô ¼Å´ÊÕ §Ù ÊØ´μÍ‹ ¼ÙŒ·èàÕ ÃÒáÑ
àÁ×Íè ¹íÒÁÒãªÍŒ ÂÒ‹ §ÊÁ´ÅØ

àÃÒ¨ÐÊÒÁÒö¡ÃзÒí ʧèÔ ·¶èÕ Ù¡μÍŒ §
·Ø¡àÃÍ×è §ã¹¡ÒôÒí à¹Ô¹ªÕÇμÔ

μéѧáμ‹àÃÍè× §àÅç¡æ ¨¹¶Ö§àÃÍè× §ãËÞ‹

5

ปฏิรูปนยิ าม “รกั ” ฿นสังคม
3 องคป ระกอบรกั สรา งสรรค

สังคมนาอยู

เร่ืองท่ีผมอยากกล‹าวในวันนี้เปšนเรื่องที่ไดŒสรŒางป˜ญหาใหญ‹ใหŒเกิดข้ึนใน
สังคมไทยเพ่มิ ข้ึนมาโดยตลอด คือความสบั สนในการตีความของสงั คมต‹อคํา
วา‹ “ความรกั ” ท่มี ีการใหŒคณุ คา‹ ของความรกั แบบบดิ เบี้ยวและไมส‹ มดุลเกิด
ข้นึ ในสงั คมไทยและสงั คมโลกน้ี สงั คมป˜จจบุ ันขาดค‹านิยมของการใหคŒ ุณค‹า
ว‹าความรกั ทแ่ี ทŒจรงิ น้นั คืออะไร

มีคนมากมายในสังคมทีค่ ิดวา‹
ความรักคือการมองตากัน ชอบพอกนั และจบลงดวŒ ยการมีเพศสมั พนั ธ

ความรกั คอื การฆา‹ คนหน่ึงเพอ่ื ครอบครองหวั ใจอีกคนหนงึ่
ความรกั คอื ตŒนเหตุทที่ ําใหตŒ อŒ งตดั สนิ ใจจบชวี ิตคนดŒวยการทําแทงŒ
ความรกั คอื การยอมทาํ ลายความถูกตอŒ งชอบธรรมเพื่อใหคŒ นทเี่ รารักพงึ พอใจ
ความรกั คือสงิ่ ทน่ี าํ ไปถึงการสิ้นสุดดŒวยการหยา‹ รŒางและการเคยี ดแคŒนชิงชงั
ความรกั คอื การยอมไปเปšนโสเภณีเพือ่ สาํ แดงความกตญั ตู อ‹ บุพการี
ความรกั ชาติคอื การโกงประเทศเพอ่ื นบŒานเพ่ือผลประโยชนสงู สุด

ของประเทศของตน
ฯลฯ

46

5ปฏิรูปนิยาม “รัก” ฿นสังคม 3 องคประกอบรักสรางสรรค

เหล‹านี้เปšนเพียงส‹วนหนึ่งของ “ผลสะทŒอน” ท่ีเกิดจากนิยามคําว‹า
“ความรัก” ของคนในสังคมป˜จจบุ นั จากบคุ คล 3 ระดบั คอื ระดบั วัยรุ‹น
หนม‹ุ สาว ระดับครอบครัว และระดบั สงั คมประเทศชาติ

ระดบั ทหี่ นงึ่ ระดับวยั รนุ หนมุ สาว

มผี ŒูเคยใหŒนยิ ามความรักในวัยนไ้ี วŒวา‹ “ความรัก คอื เสนŒ ตรงเสŒนหนงึ่ มา
ต้งั อยบ‹ู นเสนŒ ตรงอกี เสŒนหนึ่ง บังเกดิ เปšนมุมแห‹งความรักข้นึ ” ความหมายก็
คือ เมอื่ คน 2 คนมาพบกนั ก็เกิดความชอบพอ เรียกวา‹ “ปง ” กนั เมื่อ
แรกพบกค็ บกนั เปšนแฟน โดยตีคา‹ ความรักเพียงผิวเผินบนพืน้ ฐานของอารมณ
ความรสŒู กึ ความพอใจรปู รา‹ งหนาŒ ตาของเพศตรงขาŒ ม และการตอบสนองความ
พอใจระหวา‹ งกัน มคี วามเชือ่ ว‹าความรักนั้นเปนš สงิ่ ท่ีมีพลงั สามารถกระทาํ
ไดŒทกุ สิ่งแมสŒ ิ่งที่ไมถ‹ กู ตŒองเพียงพอเพื่อใหคŒ นที่รักพอใจ และมักจะดว‹ นตัดสิน
ใจใชŒชีวติ ร‹วมกัน มีเพศสัมพันธก ันโดยมิไดแŒ ตง‹ งาน
วัยรุ‹นบางคนเพ่ิงพบปะกันเพียงขŒามคืนก็ตัดสินใจ
เปšนแฟนกัน นยิ ามความรกั เช‹นนน้ี เ่ี องทที่ ําใหสŒ ถติ ิ
การทาํ แทงŒ และจาํ นวนสถานบรกิ ารทาํ แทงŒ เถอ่ื นเพมิ่
ข้นึ โดยตลอด จํานวนเดก็ ทารกถกู ทงิ้ ตามพงหญาŒ
ถามถังขยะ ตามโรงพยาบาลเพมิ่ ขน้ึ และสถติ เิ ปนš
โรคเอดสส งู ข้นึ

47

สังคมนาอยู

ระดับทส่ี อง ระดับครอบครัว

ครอบครัวไทยป˜จจุบันมีป˜ญหาการหย‹ารŒางเพิ่มสูงข้ึนอย‹างต‹อเน่ืองทุกป‚
เหตผุ ลสบื เนอื่ งจากการประเมนิ นยิ ามความรกั แบบวยั รน‹ุ มคี วามคดิ ทว่ี า‹ เพยี ง
ชอบพอกันก็จะทําใหŒสามารถอย‹ูกนั ไดอŒ ย‹างยืดยาว จงึ ตดั สินใจแตง‹ งานหรือ
ใชŒชีวิตร‹วมกัน เมอ่ื อยูด‹ วŒ ยกันสกั พกั กร็ ูŒวา‹ ไม‹ไดŒรกั กันจรงิ ไม‹สามารถยอมรบั
ในสง่ิ ทไ่ี มด‹ ขี องกนั และกนั ไดŒ คส‹ู มรสไมส‹ ามารถใหปŒ ระโยชนแ กเ‹ ราในทางหนงึ่
ทางใดไดเŒ ท‹าท่เี ราคาดหวัง จงึ เรม่ิ เบอื่ เริ่มไม‹ไวŒวางใจกนั เริ่มเห็นอกี ฝ†ายไม‹
ยตุ ธิ รรม ความรกั ท่ีเคยฝ˜นไวŒกอ‹ นแต‹งงานกลบั ไม‹ไดŒรบั การตอบสนอง กลาย
เปšนความอกหัก หมดอาลัยตายอยากในชีวิต บางคนจะเคียดแคŒนชิงชัง
ความรักเช‹นนีไ้ ม‹ใช‹ความรักทแ่ี ทจŒ ริง

ระดบั ทส่ี าม ระดับสังคม ประเทศชาติ

ความรกั ชาตทิ ตี่ กขอบ ทาํ ใหหŒ ลายครงั้ มไิ ดคŒ าํ นงึ ถงึ ความถกู ตอŒ ง ความ
ชอบธรรม คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม มนี กั การเมอื งทา‹ นหนงึ่ เคยพูดทํานองที่
ว‹าเราสามารถจะโกงประเทศหนึ่งเพ่อื ช‹วยเหลอื ประเทศเราไดŒ

ปญ˜ หาท่ีเกดิ ขึน้ จากค‹านยิ มในนิยามแห‹ง “ความรกั ” ทีบ่ ิดเบยี้ วเชน‹ นี้
เกิดขน้ึ เนอื่ งจากองคป ระกอบของความรกั ทไี่ มค‹ รบถวŒ น ผมคดิ วา‹ ถงึ เวลาแลวŒ
ทสี่ งั คมไทยจะตอŒ งไดรŒ บั การปลกู ฝง˜ คา‹ นยิ มของความรกั ทแ่ี ทจŒ รงิ เพอื่ สราŒ งสรรค
สงั คมใหอŒ ยก‹ู นั อยา‹ งราบรน่ื ความรกั ทแี่ ทจŒ รงิ จะตอŒ งลกึ ซงึ้ กวา‹ และเปนš มากกวา‹
ความรูสŒ กึ ทด่ี ตี อ‹ กนั พงึ พอใจกนั ความรกั ตอŒ งเปนš มากกว‹าคําพูด การใหŒ
คําม่ันสัญญาความหมายของความรักท่ีแทŒจริงนั้นจะตŒองเก่ียวขŒองกับการกระ

48

5ปฏิรูปนิยาม “รัก” ฿นสังคม 3 องคประกอบรักสรางสรรค

ทาํ พฤตกิ รรมตอŒ งสอดคลอŒ งกบั สง่ิ ทพี่ ดู หมายความวา‹ เราจะสามารถแกปŒ ญ˜ หา
มากมายท่ีเกิดข้นึ ดงั กล‹าวไดŒ โดยนิยามแหง‹ ความรักท่ีต้ังอย‹บู นหลักการของ
ความถกู ตŒองโดยใชŒเหตผุ ลขอŒ เทจ็ จริง สตปิ ˜ญญา ควบค‹ูไปกับอารมณความ
รŒูสึกออ‹ นโยนท่เี ปนš พื้นฐาน

องคป ระกอบ 3 ประการ
ความหมาย “รักท่ีแทจรงิ ”

นิยามความรักที่แทŒจริงจะตŒองเปšนการประสานกันอย‹างสมดุลขององค
ประกอบ 3 องคประกอบ ดังนีค้ อื 1 ความถูกตอŒ ง 2 ความเสยี สละ
และ 3 การเกิดผลสูงสดุ แกผ‹ ทŒู ี่รบั ความรักนั้น ท้ังสามประการนตี้ Œองควบคู‹
กันไปอยา‹ งสมดุล ตŒองไมใ‹ หขŒ อŒ ใดมากเกนิ ไปหรอื นŒอยเกินไป ไมว‹ า‹ จะเปนš
ความรักในระดับใด จะมีเพียงส่ิงใดสิ่งหน่ึงเพียงอย‹างเดียวไม‹ไดŒ แต‹ตŒอง
ประสานกนั จงึ จะเรยี กว‹า “ความรกั ” ความรักเช‹นน้ีจึงเปšนความรกั ที่ไมส‹ รŒาง
ป˜ญหาแต‹เปนš ความรกั เชิงสรŒางสรรค

เราอาจเขยี นเปšนสูตรไดŒวา‹

“ความรัก = ความถูกตŒอง + การเสยี สละ
+ การเกดิ ประโยชนสงู สุดแกผ‹ Œทู ี่รับความรกั ”

49

สังคมนาอยู

องคป ระกอบท่ี 1 ความถกู ตอ ง

ความรักตŒองอยูบ‹ นฐานของความถกู ตอŒ ง เราตŒองยาํ้ ไปว‹า “การกระทํา
ทถ่ี กู ตอŒ งเปนš สว‹ นหนง่ึ ความรกั ” หมายความวา‹ คนทท่ี าํ ผดิ สมควรไดรŒ บั โทษ จะ
มาอาŒ งวา‹ ไมต‹ Œองรับโทษเพราะความรักไมไ‹ ดŒ เม่ือลูกของเราไปตลี กู ของเพอื่ น
บาŒ น เราตอŒ งมคี วามยตุ ธิ รรม คอื รวŒู า‹ ลกู กระทาํ ผดิ ตอŒ งรบั โทษ แตต‹ อŒ งลงโทษ
ดŒวยความรกั และไม‹ใชŒอารมณ เราตอŒ งสอนใหเŒ ขาเขŒาใจและไมก‹ ลับไปทําเชน‹
นัน้ อีก เราตอŒ งยนื หยัดอย‹บู นความถูกตอŒ ง ถาŒ คนกระทาํ ความผดิ แต‹เรากลบั
ยกโทษใหŒเฉยๆ โดยอาŒ งความรัก หากเปนš เช‹นนี้แลวŒ ใครจะยอมรบั นับถอื เรา
ไดŒ เชน‹ ถŒาเราเปนš ผูŒมีอํานาจ รักความยุตธิ รรมในบŒานเมืองแต‹ใชอŒ าํ นาจส่ัง
การอยา‹ งลบั ๆ ใหŒปล‹อยคนใกลŒชดิ ท่เี รารักซ่ึงเปšนผกŒู ระทําความผดิ ความ
ยตุ ิธรรมกเ็ สอ่ื มสลายไป และคงไมม‹ ใี ครนับถอื ในการกระทําเช‹นน้ี ดงั น้ัน
ความรักแทจŒ งึ ตอŒ งวางอย‹บู นความถกู ตอŒ งดŒวยความรกั และความยตุ ิธรรม

50

5ปฏิรูปนิยาม “รัก” ฿นสังคม 3 องคประกอบรักสรางสรรค

ความรกั ไมส‹ ามารถประกอบดวŒ ยความถกู ตอŒ งแตเ‹ พยี งอยา‹ งเดยี วไดŒ หาก
เปนš เชน‹ นน้ั จะทาํ ใหเŒ กดิ ปญ˜ หาขน้ึ ทนั ที เพราะเราจะคดิ แตเ‹ รอ่ื งความชอบธรรม
ศลี ธรรม ยตุ ิธรรม เกดิ ความไมต‹ อŒ งการใหใŒ ครไดเŒ ปรยี บเสยี เปรยี บ ใหนŒ ้ําหนกั
มากกับความถูกตŒองสิ่งที่ถูกท่ีผิด คิดอยู‹เสมอว‹าตŒองไม‹มีการเอาเปรียบกัน
ถาŒ เอาเปรียบเม่อื ไหรจ‹ ะเรยี กรอŒ งสทิ ธิทันที ในทีส่ ุดความรกั จะสญู สลายเหลือ
แต‹การตัดสินกันบนพ้นื ฐานความถูกตอŒ งอย‹างเดียว

สังคมคอมมวิ นิสตน ับเปนš ตวั อย‹างท่ีอธบิ ายประเด็นน้ีไดอŒ ยา‹ งดี เพราะ
เปšนสังคมท่ีเนŒนความถูกตŒองมาก ทําอะไรตŒองอยู‹ในกฎเกณฑเนŒนระเบียบ
เครง‹ ครดั ละเมดิ ไมไ‹ ดŒ เรมิ่ ตนŒ จากความตอŒ งการใหทŒ กุ คนไดรŒ บั อยา‹ งเสมอภาค
กนั โดยมองวา‹ ทกุ คนเทา‹ เทียมกนั ไม‹มกี ารแบ‹งชนช้ัน แต‹ผลทเ่ี กดิ ขึน้ คือผอŒู ย‹ู
ในระบบเกดิ ความหวาดกลวั เกิดความตงึ เครียด ไมส‹ นใจใคร ต‹างคนต‹าง
อย‹ู เพราะสงั คมลกั ษณะนจ้ี ะขาดความเมตตา ขาดการใหอŒ ภยั แกก‹ นั จะวดั คน
บนมาตรฐานความถกู ผิด ไมม‹ กี ารใหกŒ ําลังใจ ปราศจากความรัก ที่มาจาก
แนวคดิ วา‹ ทุกคนเท‹าเทียมกนั จงึ น‹าจะทําถกู ตอŒ งไดŒ ในท่สี ดุ สังคมคอมมวิ นิสต
จงึ ไมส‹ ามารถอย‹ูรอดไดแŒ ละพงั ทลายลงในท่ีสุด

ในระดบั ครอบครวั ปญ˜ หาทเี่ ปนš อยท‹ู กุ วนั น้ี สามภี รรยาหลายคร‹ู ว‹ มชวี ติ
กันบนพ้ืนฐานของความยุติธรรมมากจนเกินไป ไม‹มีใครยอมเสียเปรียบใคร
เช‹น สามตี อŒ งสง‹ เสียคา‹ เล‹าเรยี นลกู ถŒาไมส‹ ‹งเสยี กเ็ กิดการฟอ‡ งรŒอง การแบ‹ง
มรดกระหวา‹ งพนี่ อŒ งถาŒ ไมเ‹ ทา‹ เทยี มกนั กเ็ กดิ การทะเลาะเบาะแวงŒ การฟอ‡ งรอŒ ง
จะมกี ารเรยี กรอŒ งสทิ ธิ เรยี กรอŒ งความยตุ ธิ รรม มหี ลายครอบครวั ทสี่ ามภี รรยา
พี่นŒองตŒองแตกแยกเพราะวางตัวเองบนพื้นฐานของความยุติธรรมมากเกินไป
จนปราศจากความรกั

51

สังคมนาอยู

หากเราเนŒนหนักเร่ืองความยุติธรรมมากกว‹าองคประกอบท่ีเหลืออ่ืนๆ
แลวŒ อะไรกต็ ามไมว‹ า‹ จะเปนš ประเทศหรอื คนหนม‹ุ สาวหรอื ความคดิ จะพงั ทลาย
หมดสน้ิ ทงั้ นเ้ี พราะคนเราจะสนใจแตค‹ วามถกู ความผดิ จนเกดิ การลงโทษและ
ตัดสินกันบนพื้นฐานการไดŒเปรียบเสียเปรียบกัน นอกจากน้ีจะทําใหŒคนขาด
ความคดิ สราŒ งสรรค ไม‹มีแรงจูใจในการทําอะไรใหดŒ เี ลิศและไมม‹ ีบรรยากาศ
ความกระตือรอื รนŒ เพราะไม‹รŒูจะทาํ ไปทําไม ทําเพียงใหถŒ กู กฎอยใ‹ู นระเบียบ
ทําเฉพาะสิง่ ทถี่ ูกสงั่ ว‹าถูกผดิ กเ็ พยี งพอแลŒว อนั เปšนเหตทุ ําใหŒไม‹มกี ารพัฒนา
ใหŒดขี ้ึน

องคป ระกอบท่ี 2 ความเสยี สละ

ความรักเร่มิ ตนŒ ดวŒ ยความถกู ตŒองน้ันเปนš ส่งิ ทส่ี ําคญั แต‹มีเพยี งสงิ่ เดียวคง
ไม‹ไดŒตŒองประกอบไปดŒวยความเสียสละดŒวยแมŒเรารูŒว‹าส่ิงที่เรารักมากท่ีสุดน้ัน
คอื ชวี ติ เราเอง แตถ‹ าŒ เรายอมแลกชวี ติ เรากบั ใครแสดงวา‹ เรารกั คนนน้ั มากกวา‹
หรือประดจุ ด่งั ชีวิตของเรา นนั่ คอื การสาํ แดงความเสียสละ ความเสยี สละ
เปนš องคป ระกอบทสี่ ําคญั ของความรกั เพราะความเสยี สละเปนš การสาํ แดงออก
ถงึ ความรัก ความเมตตา ความเตม็ ใจในการเอ้อื อาทรต‹อกนั และเปšนความ
ห‹วงใยทมี่ ีใหกŒ นั และกัน

จากปญ˜ หาทเี่ กดิ ในเวลานีก้ ลา‹ วคือ การมีคนมากมายในสังคมยึดนิยาม
ความหมายของความรักไวŒว‹า “ความรกั คือการใหŒ” ในแงม‹ ุมเดียวและนิยม
นําไปปฏบิ ัติตาม เม่ือความรักเปšนเร่ืองของการใหŒเปนš เรอ่ื งของความเสียสละ
เขาจึงท‹ุมเทความรกั เกล่อื นกลาดไปหมด จนสามารถมองขาŒ มความผดิ และ

52

5ปฏิรูปนิยาม “รัก” ฿นสังคม 3 องคประกอบรักสรางสรรค

เขาŒ ทาํ นอง “ความรักทําใหคŒ นตาบอด” “เหน็ ผิดเปนš ชอบ” เพราะเราใหŒนา้ํ
หนกั ความเมตตาและการยกโทษมากจนเกินไปกว‹าความถูกตอŒ ง การกระทาํ
เชน‹ นจี้ งึ เปนš การใชคŒ วามรกั อยา‹ งผดิ ๆ และเปนš การใหนŒ า้ํ หนกั ในเรอื่ งของความ
เสียสละจนเกินไปเช‹นน้ีจึงกลายเปšนเสมือนดาบสองคมที่กลับมาทํารŒายแทนที่
จะสง‹ ผลดี

สงั คมไทยยกยอ‹ งความรกั ทแี่ สดงออกดวŒ ยการเสยี สละแตเ‹ พยี้ นออกไปจน
น‹าเปนš หว‹ ง คอื การอŒางความกตญั ูตอ‹ พ‹อแม‹ เพอื่ แกปŒ ญ˜ หาความยากจน
ลูกสาวจึงยินดีขายตัวเพื่อทดแทนบุญคุณโดยเอาเงินมาช‹วยครอบครัว สิ่งที่
กระทาํ แทนทจี่ ะถกู ตอ‹ วา‹ เพราะเปนš เรอ่ื งผดิ ศลี ธรรมกลบั ไดรŒ บั การยอมรบั เปนš
เหตใุ หมŒ กี ารเลยี นแบบกนั กลายเปนš คา‹ นยิ มผดิ ทส่ี ง‹ ผลราŒ ยตามมา บางแหง‹ พอ‹
แมเ‹ องเปนš ผขŒู ายลกู ตวั เองอาŒ งวา‹ ลกู ตอŒ งเสยี สละเพอ่ื ทดแทนบญุ คณุ ทพ่ี อ‹ แมเ‹ ลยี้ ง
มา หญงิ สาวกตญั จู าํ นวนไมน‹ อŒ ยตอŒ งจมปลกั อยภ‹ู ายใตซŒ อ‹ งนรกบางหมบ‹ู าŒ น
กลายสภาพเปšนหม‹บู าŒ นโรคเอดสก็เพราะเหตุนี้

ท่รี าŒ ยยิ่งไปกว‹านั้น ขา‹ วจากหนŒาหนังสอื พิมพ พอ‹ ขม‹ ขืนลกู สาวในไสŒ 3
คน ในวัยทีย่ ังไมเ‹ ดยี งสา โดยอาŒ งสิทธิ์วา‹ ลกู ตอŒ งเสยี สละแสดงความกตัญตู ‹อ
บดิ าผูŒใหกŒ าํ เนดิ เหตุการณดงั กลา‹ วนับเปนš ความกตัญูอัปยศทีส่ ุดท่ีสังคมไดŒ
ใหนŒ ิยามท่ีผดิ ๆ กับการทดแทนบญุ คุณการเลีย้ งดูที่พ‹อมีต‹อลูก

ภายในระดบั ครอบครวั หากผเŒู ปนš พอ‹ หรอื แมเ‹ นนŒ ความเสยี สละเพราะรกั
ลกู มากกวา‹ ความถกู ตŒอง ดวŒ ยการปกปอ‡ งลูกของตัวเองทก่ี ระทําความผดิ คน
กจ็ ะเลกิ ใหŒความนบั ถอื ในตวั เรา ลกู ของเราก็จะไดŒใจเพราะถกู ตามใจ ใน
อนาคตก็มแี ววท่ีจะเสียคนไดŒงา‹ ย

53

สังคมนาอยู

หรือในระดบั ประเทศ หากผูŒนาํ ประเทศเนนŒ ความเสยี สละเพราะรักชาติ
เราจะสามารถคอรร ปั ชนั โกงประเทศอนื่ เพอ่ื สราŒ งความรา่ํ รวยใหตŒ นเองไดŒ ผล
ทเ่ี กดิ ข้ึนคือสังคมจะขาดคุณธรรม ขาดจริยธรรม และเหน็ ผิดเปšนชอบในการ
ใชคŒ ‹านยิ มในความรักทีผ่ ดิ

สรุปไดอŒ ย‹างง‹ายๆ ก็คือวา‹ เราจะเอาความเสียสละ เพราะความรกั
นาํ หนาŒ ความถกู ตอŒ งชอบธรรมไมไ‹ ดŒ เพราะหากเปนš เชน‹ นนั้ กฎหมายและระบบ
ความยตุ ธิ รรมของประเทศจะพิการใชกŒ ารไมไ‹ ดŒ สังคมก็จะมแี ตค‹ วามวุน‹ วาย
ขาดระบบระเบียบ คนเราอาจฆา‹ กันโดยอาŒ งเหตุผลเพื่อความเสียสละ สังคม
ขาดความถูกตŒอง ชอบธรรม เราจึงตŒองสรŒางบรรยากาศใหม‹ใหŒเกิดขึ้นแก‹
คนในสงั คม กลา‹ วคอื การใหคŒ วามรกั และความเสยี สละตง้ั อยบ‹ู นฐานของความ
ถกู ตอŒ ง ไม‹เปšนความรกั ท่ีเจือดŒวยพิษรŒาย ความรกั ตŒองเจอื ดวŒ ยความจริงใจ
บรสิ ทุ ธ์ิ มจี ติ สาํ นกึ แหง‹ ความถกู ตอŒ ง ตอŒ งหยดุ ความไมถ‹ กู ตอŒ งและสราŒ งความ
ถกู ตอŒ งทสี่ มบรู ณแ บบใหเŒ กดิ ในสงั คม หากสงั คมไมพ‹ บแบบอยา‹ งความถกู ตอŒ ง
จะมแี ตก‹ ารทาํ ลายและไม‹มกี ารสรรคส ราŒ ง

องคประกอบที่ 3 การเกดิ ประโยชนส งู สดุ แกผูทร่ี บั ความรกั

หากความรกั ของเรายดึ มนั่ อย‹บู นความถกู ตอŒ งประสานกบั ความเสยี สละ
อีกองคประกอบหนึง่ ท่เี ราจะตอŒ งมเี พ่อื ใหคŒ วามรักเรานั้นสมบูรณ นน่ั คือ การ
กระทําเฉพาะในส่ิงที่จะเกิดประโยชนสูงสุดแก‹คนที่เรารัก เราพบว‹าคุณค‹า
ความรกั สงู สดุ นน้ั จะตอŒ งสง‹ ผลไปสก‹ู ารกระทาํ ทด่ี เี ลศิ สงู สดุ อยา‹ งครบถวŒ นแกค‹ น
ทเ่ี รารัก เราตอŒ งใหนŒ ํา้ หนักสมดลุ ในความรกั ถŒาส่งิ ใดทเี่ ราทําแลวŒ จะไมเ‹ กิด
ผลดีทส่ี ดุ ต‹อคนทเี่ รารกั ส่ิงน้นั เรากจ็ ะตอŒ งไม‹ทํา

54

5ปฏิรูปนิยาม “รัก” ฿นสังคม 3 องคประกอบรักสรางสรรค

ยกตัวอย‹างเช‹น ลูกของเราตŒองการป‚นของเล‹นสักกระบอกหน่ึงและ
รอŒ งไหอŒ ยากไดมŒ าก เราตอŒ งชง่ั ดวู า‹ ถาŒ เราซอ้ื ใหเŒ ขาแลวŒ จะดที ส่ี ดุ สาํ หรบั เขาไหม
ถŒาอนุญาตใหเŒ ขาเล‹นป„น ต‹อไปเขาอาจจะชอบความรุนแรงหรอื ไม‹ เม่ือคิด
อย‹างรอบคอบถงึ ประโยชนตอ‹ ตัวเขาแลวŒ จงึ ตดั สนิ ใจ อยา‹ ตัดสินใจบนพนื้ ฐาน
ความรักและการเสียสละเพียงอย‹างเดียวเพราะหากตามใจลูกคร้ังนี้อาจทําใหŒ
เกิดป˜ญหาไดใŒ นอนาคต

ในวัยหนม‹ุ สาว หากเรามคี วามคิดเพอ่ื ผลดีสงู สุดแกค‹ นท่ีเรารัก เราคง
ตŒองมีการวางแผนในอนาคต และคงไม‹ทําสิ่งใดแบบฉาบฉวยถŒาเราเห็นแก‹
ความถกู ตอŒ งและการเสยี สละเพอื่ ผลดสี งู สดุ ทจี่ ะเกดิ แกค‹ นทเ่ี รารกั เราจะตอŒ ง
คิดใหŒรอบคอบว‹าวัยหนมุ‹ สาวของเรามีเพยี งชว‹ งเวลาสน้ั ๆ ช‹วงเดยี วของชวี ติ
เทา‹ นน้ั และเปนš จดุ จบของวยั เดก็ และจดุ เรมิ่ ตนŒ ของวยั ผŒใู หญอ‹ ันยาวนาน เรา
ตอŒ งคิดใหŒดวี า‹ นิยามความรักของเรานัน้ คือส่ิงใด จะเร่ิมตนŒ และจบลงเช‹นไร
เช‹น หากเราปล‹อยตัวปลอ‹ ยใจในวันน้ี เราจะสรŒางคุณค‹าสงู สุดแกค‹ นท่ีเรารัก
หรอื ไม‹

55

สังคมนาอยู

และสําหรับประเทศชาติของเรา องคประกอบท่ีสามนี้จะเปšนจุดยืนท่ี
ทําใหŒเรากระทําดีบนฐานแห‹งความถูกตŒองขอบธรรมและความเสียสละไดŒเพื่อ
ผลดีที่จะเกิดข้ึนกับประเทศชาติในระยะยาว เราคงไม‹คิดทําอะไรฉาบฉวย
เหน็ แก‹ตัว เอารัดเอาเปรียบ จนนํามาซึ่งการถูกโจมตแี ละความพนิ าศของ
ประเทศในท่สี ุด

นยิ ามขององคป ระกอบนคี้ อื “ความรกั ทาํ ใหŒเราสรรคส รŒางสงิ่ ท่ีดใี หกŒ บั
คนท่ีเรารกั ” เราจะทําอย‹างนีไ้ ดกŒ ็ตŒองมาจากแรงจงู ใจภายในเปนš หลัก ท‹าที
ภายในที่ตŒองการกระทําแต‹ส่ิงท่ีดีเลิศ ดีท่ีสุดบวกกับคิดรอบคอบอย‹างที่สุด
จะไมน‹ าํ ผลรŒายตามมาภายหลงั ดังนน้ั หากเรารักใคร รกั สง่ิ ใด เราจะตŒอง
สราŒ งสรรคส งิ่ ทดี่ ที สี่ ดุ จรงิ ๆ เพอ่ื เขา ในทางกลบั กนั เราเองจะไดรŒ บั สงิ่ ทดี่ ที ส่ี ดุ
จากผูŒท่เี รารักเช‹นเดียวกนั

การแกŒป˜ญหามากมายในสังคมไทย ที่เร่ิมตŒนจากการใหŒนิยามคําว‹า
“ความรกั ” อยา‹ งไมส‹ มบรู ณน น้ั ทาํ ใหเŒ ราทกุ คนทไ่ี ดอŒ า‹ นบทความนไ้ี ดมŒ โี อกาส
ร‹วมกนั สรŒางบรรยากาศของความรักที่มนี ยิ ามแห‹งการสราŒ งสรรค โดยยึดอย‹ู
บนหลักองคประกอบ 3 ประการดังกลา‹ ว อันไดแŒ ก‹ ความถกู ตอŒ ง ความ
เสยี สละ และการกระทาํ ในสง่ิ ทจี่ ะเกิดผลสูงสดุ ต‹อผŒทู ่เี รารัก องคประกอบ
ดังกล‹าวเมื่อนาํ มาใชอŒ ย‹างสมดลุ เราจะสามารถกระทาํ สงิ่ ท่ถี กู ตอŒ งทกุ เร่ืองใน
การดําเนนิ ชวี ิต ต้งั แตเ‹ ร่ืองเล็กๆ จนถึงเรื่องใหญ‹ เราจะไม‹เพียงแตด‹ ําเนิน
ชีวติ ไปตามอารมณ ความรŒูสึก ดาํ เนนิ ชวี ิตในตามสถานการณแ ลวŒ ตŒองมานง่ั
เสยี ใจ มาแกŒไขปญ˜ หาภายหลัง แตเ‹ ปนš ความสาํ เร็จในชวี ิตเพราะเราไดคŒ ิด
อย‹างรอบคอบล‹วงหนาŒ แลŒว

56

5ปฏิรูปนิยาม “รัก” ฿นสังคม 3 องคประกอบรักสรางสรรค

นิยามความรักดังกล‹าวเปนš ประเดน็ หนง่ึ ทสี่ ามารถ ช‹วยแกปŒ ญ˜ หาสงั คม
และลบความคดิ ทบี่ ดิ เบย้ี วของคนในสงั คมดงั กลา‹ วขาŒ งตนŒ ไดŒ ผมคดิ วา‹ เราควร
ช‹วยกันถ‹ายทอดค‹านิยมที่ถูกตŒองไปสู‹คนในสังคมดŒวย เร่ิมตั้งแต‹ตัวท‹านเอง
และถ‹ายทอดไปยงั ครอบครวั สังคม และประเทศชาตใิ นท่สี ุด

ตพี มิ พลงในหนงั สือพมิ พแนวหนา
วันเสารท่ี 14 กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. 2541

57

à¾ÃÒÐ㹤ÇÒÁÊÁÑ ¾¹Ñ ¸
¢Í§ “Á¹ØÉ”
·áèÕ ·Œ¨Ã§Ô ¹Ñ¹é

¨Òí ໚¹μÍŒ §àÃÔÁè ¨Ò¡
ÃÒ¡°Ò¹á˧‹ ¤ÇÒÁ¼¡Ù ¾Ñ¹

ÃÐËÇÒ‹ §¡¹Ñ

â´ÂäÁ¢‹ ¹Öé ÍÂÙ‹

º¹¼Å»ÃÐ⪹
áÅСÒùÒí μÇÑ àͧ
໹š Èٹ¡ ÅÒ§

6

ความรัก฽ละความผกู พัน
ความสัมพันธของสังคมทีส่ มบรู ณ

สังคมนาอยู

หากทกุ สถานที่ในสงั คมมเี สนŒ ใยแหง‹ ความรกั และความผกู พนั ทาํ
หนาŒ ทถี่ กั ทอและรอŒ ยประสานหวั ใจของทกุ คนไวŒ สงั คมนนั้ จะไมม‹ แี มแŒ ต‹
คนเดยี วทถ่ี กู ทอดทง้ิ อยา‹ งโดดเดย่ี วใหเŒ ผชญิ ความทกุ ยากลาํ บากเพยี ง
ลําพัง

ขอŒ คดิ เพื่อความรัก (เกรยี งศกั ดิ์ เจรญิ วงศศักด)ิ์

คนในสงั คมจาํ นวนไมน‹ อŒ ยกาํ ลงั วง่ิ ตามกระแสโลกาภวิ ตั นเ พอ่ื ใหยŒ นื อยา‹ ง
ม่นั คงในโลกทกี่ าํ ลงั เปลี่ยนไป บางคนกําลังสื่อสารผ‹านอินเตอรเ นต็ ขŒามโลก
เพ่อื คนŒ ขŒอมูลของอีกซีกโลกหน่งึ บางคนกาํ ลงั นงั่ ประชมุ ผา‹ นวิดโี อคอนเฟอร
เรนŒ ซข Œามทวีปกับบรษิ ทั แม‹ และบางคนกาํ ลงั สรŒางวสิ ยั ทศั นเ พ่อื นาํ องคก รกาŒ ว
สปู‹ ‚ 2000 ซึ่งต‹อไปคนทงั้ ประเทศจะไมอ‹ าจหลกี เลยี่ งทจ่ี ะตŒองปรับตัวใหŒเขาŒ
กับสภาพความเปนš จรงิ เช‹นเดียวกับทค่ี วามเจรญิ ทางวตั ถแุ ละเทคโนโลยนี าํ
มนษุ ยไ ปสก‹ู ารเปลยี่ นแปลงใหมน‹ บั ตง้ั แตป‹ ระวตั ศิ าสตร ในอดตี ทผี่ า‹ นมา จาก
การปฏิวัติเกษตรกรรมถึงการปฏิวัติอุตสาหกรรม และเขŒาสู‹การปฏิวัติทาง
เทคโนโลยีปจ˜ จบุ นั และจะเพิม่ ขนึ้ ใหเŒ ห็นอกี ในอนาคต

อยา‹ งไรกต็ าม ความเจรญิ ทางวตั ถทุ ไี่ มป‹ ระสานสอดคลอŒ งกบั ภาวะความ
เจรญิ ดŒานจิตใจน้ัน ย‹อมนํามาซงึ่ ความเสียหายเสมอ เพราะการเปล่ียนแปลง

60

6ความรัก฽ละความผูกพัน ความสัมพันธของสังคมท่ีสมบูรณ

ทม่ี ไิ ดคŒ ํานงึ ถึงสภาพ “พน้ื ฐาน” ของความเปนš มนุษยซึ่งมี “ความรกั และ
ความผูกพัน” เปšนแกนกลางเชื่อมความสัมพันธระหว‹างกันของคนในสังคม
จะทําใหŒพฤติกรรมของคนในสังคมเบ่ียงเบนไปจากความเปšนจริง และเปšน
ปญ˜ หาเร้อื รงั ทีย่ ากจะแกŒไขเช‹นในป˜จจุบนั

เราสามารถเรยี กความสมั พนั ธข องคนในสงั คมปจ˜ จบุ นั ไดวŒ า‹ อยใ‹ู นลกั ษณะ
ของการ “จดื จางในความสัมพนั ธอ นั ลึกซึง้ และจรงิ ใจ” คนในสังคมคบกัน
อยา‹ งฉาบฉวย คบกนั อยา‹ งผวิ เผนิ ขาดการเรยี นรใŒู นการลงลกึ ในความสมั พนั ธ
สังคมไทยกาํ ลงั ตกอยูภ‹ ายใตสŒ ภาพความเบย่ี งเบนจากปรัชญาความเปšนสงั คม
ท่ีตŒองมี “ความผูกพนั ” เปšนแกนกลางในการประสานความสมั พนั ธของคน
ระดบั ตา‹ งๆ ในสังคม ทัง้ ๆ ทค่ี วามผูกพันน้ีเปนš สง่ิ ที่สาํ คญั ท่สี ดุ ทจ่ี ะทําใหŒ
สงั คมเปนš สงั คมที่สมบรู ณ

61

สังคมนาอยู

ความสมั พนั ธของคนในสังคมปจจุบนั
ขาด “ความรกั ” และ “ความผกู พัน”

ตัวประสานแหง‹ ความผูกพนั ระหว‹างคนในสงั คมทสี่ ขุ สงบ จะตŒองมี
“ความรกั ความเขาŒ ใจ และความผกู พนั ทางใจ” เปนš พนื้ ฐานในความสมั พนั ธ
แตใ‹ นป˜จจุบนั จากสภาพทค่ี นในสังคมแต‹ละคนไดŒรบั อทิ ธิพลของ ลทั ธปิ ˜จเจก
ชนนยิ ม (individualism) กอ‹ ใหเŒ กิดสภาพของการที่ตา‹ งคนตา‹ งอยู‹ ต‹างคน
ต‹างแสวงหาสิ่งที่ตนเองพงึ พอใจ ต‹างคนต‹างมโี ลกส‹วนตวั จึงไมค‹ อ‹ ยมกี าร
ปฏิสัมพันธกันอย‹างลึกซ้ึง อันเกิดขึ้นภายใตŒกระบวนการเคล่ือนไหวสู‹สังคม
อตุ สาหกรรมตลอดระยะเวลา 30 ป‚ ทผ่ี ‹านมา การพฒั นาทางดาŒ นเศรษฐกจิ
สังคม สิ่งแวดลŒอม และอิทธิพลทางการเมืองไดŒทําใหŒการดําเนินชีวิตของ
คนในสังคมเปลย่ี นไป

คนในสังคมเริ่มดําเนินชีวิตโดยมีป˜จจัย “ความอยู‹รอดทางเศรษฐกิจ”
และเงิน เปšนตัวนําหลักท่ีส‹งอิทธิพลบีบบังคับการเบี่ยงเบนในความสัมพันธ
ของคนในสังคมใหŒพŒนจากสภาพความผูกพันตามวิถีทางท่ีแทŒจริง ส‹งผลใหŒ
คนในสังคมตอŒ งออกจากบาŒ นไปทํางานเพ่อื ความอยรู‹ อด คนในสงั คมใชŒเวลา
ดวŒ ยกนั นอŒ ยลง ท้งั กบั ครอบครวั เพือ่ นฝูง ญาติ แต‹ใชเŒ วลาในการทาํ งาน
ในการเรียนเพิ่มข้นึ คนในสังคมเกดิ ความตงึ เครียด เพราะตอŒ งอย‹ภู ายใตŒ
กรอบการทํางานหาเลยี้ งชีพ กรอบของกฎเกณฑแ ละระเบยี บของสงั คม เรา
พบว‹าลักษณะของความสัมพันธข องคนในสังคมป˜จจุบนั มลี กั ษณะดงั นี้

62

6ความรัก฽ละความผูกพัน ความสัมพันธของสังคมท่ีสมบูรณ

ความสมั พนั ธท่ีเอาตนเองเปน ศนู ยกลาง

คนในสังคมต‹างแสวงหาป˜จจัยเพื่อการยังชีพ เพ่ือความสะดวกสบาย
และเพ่ือความปลอดภัยในชีวิต ความสมั พันธร Œาวฉานมากย่งิ ขน้ึ เพราะความ
เห็นแก‹ตวั ของคนทเี่ พม่ิ สูงข้ึน เราจะสังเกตเหน็ ว‹าการเรียกรŒองเพือ่ ตนเองน้ัน
มมี ากขน้ึ เรอ่ื ยๆ ทกุ คนตา‹ งไขวค‹ วาŒ หาความสขุ มาใสต‹ น เมอ่ื ทาํ งานหรอื เลอื ก
งานจงึ เลอื กบนพน้ื ฐานการไดเŒ งนิ เดอื นมากทส่ี ดุ หรอื ตนเองสบายทส่ี ดุ การเลอื ก
คค‹ู รอง ตอŒ งเลอื กสามหี รอื ภรรยาทมี่ เี ครอ่ื งอาํ นวยความสะดวกพรอŒ มการเลอื ก
คบเพื่อนก็เลือกบนพื้นฐานความสามารถในการตอบสนองความสุขแก‹กันและ
กนั ไดŒ ถาŒ ตอบสนองในสงิ่ ทตี่ นเองตอŒ งการไมไ‹ ดหŒ รอื ตอบสนองจนตนเองพอใจ
แลวŒ ก็ส้นิ สดุ ความสัมพันธลงอย‹างงา‹ ยๆ โดยไม‹มีความผกู พนั กัน คนทาํ งาน
จํานวนหนึ่งใชŒเวลาและเงินทองหมดไปกับแหล‹งท‹องเที่ยวกลางคืน ซ่ึงส‹วน
ใหญ‹จะนําคนไปสก‹ู ารผอ‹ นคลายท่ีแหล‹งคŒาบริการทางเพศ

ไดมŒ กี ารวเิ คราะหพ ฤตกิ รรมความเกบ็ กดของคนในสงั คมปจ˜ จบุ นั และพบ
วา‹ คนแต‹ละคนขาดอาํ นาจในการครอบครองและเสรีภาพสว‹ นตัวในช‹วงเวลา
กลางวนั อนั เนอ่ื งมาจากตอŒ งอยภ‹ู ายใตกŒ รอบของการแสวงหาปจ˜ จยั พน้ื ฐานใน
การดํารงชีพ เชน‹ เราตŒองตกอยภู‹ ายใตŒกฎเกณฑข องบริษทั วนั ละ 8 ช่วั โมง
ถาŒ เราขาดงานหรือมาสายบอ‹ ย เรากจ็ ะตอŒ งถกู ลงโทษ หรือถŒาเราทําผิดกฎ
ระเบยี บอยา‹ งมากกจ็ ะถกู ไลอ‹ อกไดŒ หรอื หากไมท‹ าํ งานกไ็ มม‹ กี นิ เปนš ตนŒ นน่ั
เปนš ภาพแสดงใหเŒ หน็ วา‹ คนในสงั คมนยิ มลดสทิ ธเิ สรภี าพของตนในชว‹ งกลางวนั
ตลอดสปั ดาหเพือ่ ไดเŒ งนิ ทองวัตถสุ ิ่งของทดแทน ดงั นน้ั เมอ่ื หลงั เลิกงานจงึ หา
โอกาสปลดปล‹อยและแสดงความมีอํานาจ มีสิทธิเสรีภาพในตัวเองดŒวยการ
เที่ยวเตร‹ตกั ตวงความสุขเขาŒ ใส‹ชวี ิตใหมŒ ากท่สี ดุ

63

สังคมนาอยู

“การตอบสนองดวŒ ยวตั ถ”ุ “ความบนั เทงิ เรงิ รมย” และ “การสราŒ งความ
สัมพันธเพ่ือความสุขอย‹างฉาบฉวย” เปšนสิ่งท่ีภายในเรียกรŒองอยู‹ตลอดเวลา
กลายเปนš ทางลดั สก‹ู ารคนŒ พบความสขุ ของคนในสงั คมเมอื ง เปนš เรอื่ งงา‹ ยทเี่ รา
จะพสิ จู นพ บวา‹ “เพอื่ นกนิ นน้ั หางา‹ ย เพอ่ื นตายหายาก” เพราะความสมั พนั ธ
ทีแ่ ทŒจริงน้ันเปนš สงิ่ ท่ตี อŒ งลงแรงปลกู ฝ˜งและคอ‹ ยๆ กอ‹ รา‹ งขึ้นมา อกี ทั้งตŒอง
อาศัยเวลาและความจรงิ ใจจึงไมม‹ ใี ครจะสามารถอดทนในสภาพเชน‹ นั้นไดŒ

ความสัมพนั ธบนพนื้ ฐานของผลประโยชนท ี่ตนควรไดรับ

การเปรียบเทียบคุณค‹าของคนว‹าเปšนตัวสรŒางผลผลิตของสังคม
อุตสาหกรรม ก‹อใหŒเกดิ การเห็นคณุ ค‹าคนบนพนื้ ฐานใหม‹ ตามคา‹ นยิ มท่วี ‹า
“ค‹าของคนอยท‹ู ผ่ี ลของงาน” ตดั สินวา‹ คนท่ที ําอะไรไม‹ไดŒ หรือไม‹มีผลงาน
เปšนคนไมม‹ คี า‹ สังคมจงึ กลายเปนš สงั คมปากกัดตีนถบี คนแข‹งขันกนั มากย่ิง
ข้ึนเรื่อยๆ โดยม‹ุงไปในดาŒ นวัตถสุ ิ่งของมากกว‹าการยกระดับจิตใจของตนเอง
แตล‹ ะคนในสงั คมหรอื อาจเปนš ตวั เรากไ็ ดทŒ กี่ าํ ลงั เปนš ผทŒู ที่ าํ ราŒ ยตนเองและทาํ ราŒ ย
ผอŒู นื่ อย‹างไม‹รตูŒ ัว เพราะสังคมกาํ ลังขาดคุณลกั ษณะเฉพาะบคุ คลขอŒ หน่ึงคอื
“การไวตอ‹ ความรŒสู กึ ของผอŒู ื่น” การเอาใจเขามาใส‹ใจเรานัน้ เรยี กไดŒวา‹ “ไม‹
ตอŒ งพดู ถึง” หากเขาไมม‹ ผี ลประโยชนใหŒกบั เรา

หลายครงั้ เราลมื คาํ นงึ วา‹ ทกุ คนตอŒ งการความเขาŒ ใจตอŒ งการการยอมรบั
ตอŒ งการความรกั ความรูŒสึกหว‹ งใย และปรารถนาความเอื้ออาทร ความโอบ
ออŒ มอารีท่พี ึงใหแŒ กก‹ ัน เราสังเกตเห็นวา‹ คณุ ธรรมในใจของคนในยุคนีเ้ ร่มิ ลด
ลง คนแต‹ละคนขาดความรกั ความออ‹ นละมนุ และสังคมขาดความอบอ‹ุน

64

6ความรัก฽ละความผูกพัน ความสัมพันธของสังคมที่สมบูรณ

ทางใจ ส่ิงน้ีเปนš สภาพของความสมั พันธท ีแ่ ตกสลายในสงั คม ยกตวั อยา‹ ง
สภาพสังคมอุตสาหกรรมท่ที กุ คนตอŒ งทํางานเพอ่ื เลีย้ งชีพ ผŒปู ระกอบการตŒอง
ทาํ งานแขง‹ กับเวลา โรงงานอุตสาหกรรมหลายแห‹งจึงไดวŒ างรูปแบบไวŒใหคŒ น
ทาํ งาน แผนกไหนก็ทาํ งานเช‹นนัน้ ซา้ํ ๆ กนั อยา‹ งเดียวตลอดทง้ั วัน เช‹น
โรงงานประกอบรถยนต ใครทําหนาŒ ทีข่ นั นอ็ ตก็ทาํ อย‹ูอย‹างเดยี ว ทาํ เช‹นน้ที ้ัง
วนั หกวนั ตอ‹ สัปดาห บางคนทาํ เปšนเวลาหลายสิบป‚จงึ กอ‹ ใหŒเกิดความเบื่อ
หนา‹ ย เกดิ ความเครยี ด ขาดความคดิ สราŒ งสรรค ขาดความสขุ ในการทาํ งาน
แตล‹ ะวนั กเ็ ฝ‡านบั เวลาเมือ่ ไหร‹จะเลิกงาน และยิ่งหากมปี ญ˜ หาครอบครัวดŒวย
แลŒวก็อาจถึงขาดฆ‹าตัวตายไดŒ โดยท่ีผูŒประกอบการคนน้ันไม‹ไดŒตระหนักว‹า
ตนเองมสี ว‹ นเปนš “ตนŒ เหต”ุ ที่กอ‹ ใหเŒ กิดความแตกสลายทางความสัมพันธ
กบั คนในครอบครัว

65

สังคมนาอยู

ความสัมพนั ธของครอบครัวลมสลาย

ครอบครวั เปนš พนื้ ฐานแหง‹ การถา‹ ยทอดความสมั พนั ธท ด่ี หี รอื ไมด‹ ี ในความ
สัมพันธใกลชŒ ดิ ระหวา‹ ง พอ‹ แม‹ ลูก หรือพนี่ อŒ ง จะเตม็ ไปดวŒ ยความหว‹ งใย
ความสนทิ สนมเออื้ อาทร ความผกู พนั ดวŒ ยความรกั และความเขาŒ ใจ ทกุ คนใน
ครอบครวั เรยี นรทŒู จี่ ะไมเ‹ ปนš ภยั ตอ‹ กนั เพราะเปนš เลอื ดเนอื้ เชอ้ื ไขกนั แตป‹ จ˜ จบุ นั
ความผกู พนั สนทิ สนมดวŒ ยความรกั ความหว‹ งใยของครอบครวั เรม่ิ เหอื ดหายและ
คอ‹ ยๆ เจอื จางลง ตา‹ งคนตา‹ งทาํ งานนอกบาŒ น เรยี นหนงั สอื นอกบาŒ น คนใน
บาŒ น เริม่ ใชเŒ วลาในการทํากิจกรรมต‹างๆ รว‹ มกนั นŒอยลง ความใกลชŒ ดิ สนทิ
สนมระหว‹างกนั ลดลง

สภาพป˜จจุบันคนในครอบครัวเริ่มเอาตนเองเปšนศูนยกลางในความ
สมั พนั ธ และไม‹ไดŒเหน็ คุณคา‹ ของความเปšนครอบครัวเท‹าท่ีควรจะเปนš ก‹อใหŒ
เกดิ ความสัมพันธใ นลกั ษณะฉาบฉวยและไม‹มคี วามอดทนตอ‹ กนั สมาชิกใน

66

6ความรัก฽ละความผูกพัน ความสัมพันธของสังคมที่สมบูรณ

ครอบครัวแตล‹ ะคนมงุ‹ แต‹แสวงหาวัตถุที่ตนเองปรารถนาและพอใจ และเม่ือ
วัตถุสําคัญกว‹าจิตใจแลŒวแมŒแต‹ลูกอาจเปšนส่ิงที่ขัดขวางความสุขไดŒ อันเปšน
เหตใุ หเŒ กดิ ป˜ญหาครอบครัวตามมา อาทิ

จากรายงานขององคการอนามัยโลก พบว‹า ทุกป‚มีหญิงต้ังครรภไม‹พึง
ประสงคท ัว่ โลก 150,000 คนตอ‹ วัน หรอื 53 ลาŒ นคนตอ‹ ป‚ หญิงเล‹านจี้ ะ
แกปŒ ญ˜ หาดŒวยการทาํ แทงŒ เกอื บทงั้ หมด สําหรบั ในประเทศไทยมีหญงิ ต้งั ครรภ
ทําแทงŒ ถงึ รŒอยละ 10 ในจํานวนนเ้ี ปšนหญงิ แต‹งงานแลวŒ รŒอยละ 70 ส‹วน
อกี รอŒ ยละ 25-30 เปนš หญงิ ทต่ี งั้ ครรภก อ‹ นการสมรส นอกจากนเี้ มอ่ื ตอŒ งเผชญิ
กับสภาพความเปšนจรงิ ท่ไี ม‹ไดเŒ ปšนตามทค่ี าดหวงั ไวŒ เช‹น เมอื่ การแตง‹ งานไม‹
สมหวงั กห็ ยา‹ กนั ไดอŒ ยา‹ งงา‹ ยดาย จากการสาํ รวจสถติ กิ ารหยา‹ ราŒ งของครอบครวั
ไทย พบวา‹ มแี นวโนมŒ ทสี่ ูงขน้ึ ในป‚ พ.ศ. 2520 มจี าํ นวนหย‹ารŒาง 62 ราย
ตอ‹ การแตง‹ งาน 1,000 ราย เพ่มิ เปšน 85 ราย ในป‚ พ.ศ. 2532 และ
เปšน 96 ราย ในป‚ พ.ศ. 2536 หรือคิดเปšนรŒอยละ 9.6 ในป‚ พ.ศ.
2537 มคี ‹ูสมรสท้งั ประเทศ 435,425 ค‹ู และมีการหย‹ารŒางถงึ 46,903 คู‹
หรอื คิดเปนš รอŒ ยละ 10.77 (สถิตจิ ากส‹วนการทะเบียนท่วั ไป สํานกั บริหาร
ทะเบียน กรมการปกครอง) สถิติเหล‹าน้ียืนยนั ว‹าชีวิตสมรสกาํ ลงั ตกตํ่าลง
คนในสงั คมจาํ นวนมากคดิ วา‹ การหยา‹ ราŒ งเปนš ทางออกทดี่ สี าํ หรบั การแกปŒ ญ˜ หา
ความขดั แยงŒ ในครอบครัว โดยเฉพาะสังคมในเมืองหลวง

นอกจากนน้ั จากสถติ ยิ งั พบวา‹ จาํ นวนครวั เรอื นทผ่ี หŒู ญงิ ไรคŒ เ‹ู ปนš หวั หนาŒ ครวั
เรือนจะเพ่ิมมากขึ้น และมากกว‹าจํานวนผูŒชายไรŒคู‹เปšนหัวหนŒาครัวเรือนถึง
4-5 เทา‹ จาํ นวนครอบครัวมีคู‹ (คือสามภี รรยาในบŒานเดยี วกนั ) ลดลงจาก
74% เปšน 67% และจะลดจาํ นวนลงอีก เดก็ ๆ ส‹วนใหญจ‹ ะถกู เลี้ยงดโู ดย

67

สังคมนาอยู

มารดาแต‹ผูŒเดียว เมื่อแม‹ตŒองออกไปทํางานขŒางนอก ทําใหŒเด็กขาดความ
อบอน‹ุ จงึ หนั ไปมวั่ สุมกับเพ่ือน เสพยาเสพยติด เปšนอนั ธพาล และอาจ
เปšนอาชญากรไวŒในที่สดุ ทง้ั นเ้ี ปšนผลมาจากครอบครัวทีแ่ ตกแยก ขาดความ
รกั ความเขาŒ ใจในครอบครัว

ความสัมพันธท่ีเส่ือมลงของครอบครัวเปšนจุดกําเนิดของป˜ญหาสังคม
จํานวนมากที่ติดตามมา ไม‹ว‹าจะเปšน ป˜ญหาเด็กเร‹ร‹อน เด็กถูกทอดทิ้ง
ปญ˜ หาโสเภณี ป˜ญหายาเสพยต ดิ ปญ˜ หาเอดส ป˜ญหาอาชญากรรม ปญ˜ หา
ความรุนแรงของสังคมในลักษณะต‹างๆ อันมีสาเหตุเกิดข้ึนเนื่องจากความ
สมั พันธท่ีไม‹ไดŒมคี วามรกั ความเขŒาใจ ความผูกพนั และความไม‹สํานึกใน
หนาŒ ทรี่ ับผดิ ขอบของพ‹อและแม‹อย‹างทคี่ วรจะเปนš

68

6ความรัก฽ละความผูกพัน ความสัมพันธของสังคมท่ีสมบูรณ

รอ้ื ฟนความรักความผกู พัน
ใหค ุณคาคนที่จติ ใจภายใน

ทางแกŒป˜ญหาคือ “ปรับเปลี่ยนความคิดเร่ืองความสัมพันธของคนใน
สังคมใหŒถูกตŒอง” โดยปรับเปล่ียนใหŒคนหันกลับมามุ‹งเนŒนการตอบสนองใน
เร่อื งของจติ ใจใหมŒ ากขนึ้ ความสมั พนั ธข องคนในสังคมตอŒ งอย‹บู นพน้ื ฐานเรม่ิ
ตนจากจิตใจทเี่ หน็ คณุ คา‹ ของผŒูอืน่ เรยี นรŒูทจี่ ะพฒั นาความเขŒาใจผŒูอน่ื และ
ใชหŒ ลกั ใหŒ “คน” เปนš ศนู ยก ลางแหง‹ การพฒั นาตนเองเช‹นเดยี วกบั การพฒั นา
ดŒานอ่นื ๆ ของประเทศในเวลานี้ แสดงออกเปนš การกระทําโดย

1. การกระทําใดๆ ก็ตาม ตŒองคํานกึ ถึงจติ ใจเปนš หลกั ตŒองยตุ คิ วาม
คิดวา‹ คนเปรยี บประดุจเปšนเครอื่ งจกั รกล การทํางานซ้าํ ๆ ซากๆ ใหหŒ มดไป
วนั ๆ คอื การทาํ ลายความคดิ สรŒางสรรคของความเปนš คน ทําใหŒเกิดความ
ตงึ เครยี ด ความเกบ็ กด ซง่ึ เขาจะระบายมาสค‹ู นในครอบครวั เกดิ พฤตกิ รรม
เบี่ยงเบนไดŒ

2. วางรากฐานความคิดใหŒคนเห็นคุณค‹ากันและกันในสภาพที่เขาเปšน
เราตอŒ งเชอ่ื วา‹ คนทกุ คนนน้ั มคี ณุ คา‹ ในตวั เอง แมวŒ า‹ เขาจะมปี ระโยชนใ หกŒ บั เรา
หรอื ไม‹ เขาอาจจะเปนš เด็ก คนพิการ คนชรา ซึ่งไม‹อาจทํางานไดŒ แต‹เขา
ยงั มคี ณุ คา‹ ในสายตาของเรา เราตอŒ งไมด‹ หู มนิ่ เหยยี ดหยามแตต‹ อŒ งยอมรบั และ
เห็นคุณค‹าเขา

69

สังคมนาอยู

3. เราตŒองชมเชยคนบนพ้ืนฐานความพยายามมากกว‹าบนพ้ืนฐานแห‹ง
ชยั ชนะ การยกยอ‹ งชมเชยคนทที่ มี่ ชี ยั ชนะหลายครงั้ เทา‹ กบั เปนš การฆา‹ คนทพี่ า‹ ย
แพŒลงอย‹างส้ินเชงิ บางครอบครัวยกย‹องชมเชยเฉพาะลกู ทเ่ี รยี นดี แตล‹ กู ที่
เรยี นไม‹ดที งั้ ๆ ที่พยายามขยนั เรยี นกลับไม‹ไดรŒ ับการเหลยี วแลเอาใจใส‹

4. เราตอŒ งลงทนุ เวลาแกก‹ นั และกันในการสราŒ งสมั พันธอ นั ดงี าม ความ
สมั พันธท ่ีดไี ม‹ใช‹สงิ่ ฉาบฉวย แต‹เปนš สงิ่ ท่ตี ŒองใชเŒ วลาค‹อยๆ สรŒางข้นึ บคุ คล
ในแตล‹ ะระดับของสงั คม ไมว‹ ‹าจะเปนš ครอบครัว เพอื่ นร‹วมงาน ครูกบั ศษิ ย
รนุ‹ พีก่ บั รน‹ุ นŒอง หรอื แมŒกระท่งั หŒนุ ส‹วนทางธรุ กจิ ตอŒ งมีเวลาใหŒแก‹กนั อย‹าง
เฉพาะเจาะจง ท้ังในดŒานของการทํางานการพกั ผอ‹ น การใชŒเวลาวา‹ งทาน
อาหาร หรือทาํ กจิ กรรมร‹วมกนั เพ่ือเรยี นรจŒู ัก มีความเขŒาใจกนั และกนั มาก
ยิ่งข้นึ โดยไม‹มีผลประโยชนใดๆ เขาŒ มาเกีย่ วขอŒ ง

ผลจากการปฏวิ ตั เิ ทคโนโลยดี าŒ นการสอ่ื สารทาํ ใหกŒ ารตดิ ตอ‹ สอ่ื สารถงึ กนั
สะดวกรวดเร็วและกวาŒ งขวาง ส‹งผลกระทบตอ‹ ความสัมพนั ธข องคนในสังคม
คอ‹ นขาŒ งมาก เพราะเราจะมสี อื่ กลางในการส่ือสารระหวา‹ งกนั มายิ่งขึน้ ผล
กระทบต‹อครอบครัวมีทั้งในแง‹บวกและในแง‹ลบ ผลในแง‹บวก ไดŒแก‹ การ
ตดิ ตอ‹ สอื่ สารกบั คนในครอบครวั มคี วามสะดวกขน้ึ ความสมั พนั ธใ นครอบครวั
และคนในสังคมจึงไม‹ถูกจํากัดดŒวยสถานท่ีและมีความสัมพันธผ‹านเคร่ืองมือ
สื่อสารมากขึ้น คนในครอบครัวและสังคมมีความรูŒเท‹าทันโลกมาย่ิงขึ้น
สามารถปรบั ตวั ตามกระแสการเปลีย่ นแปลงท่ีเกดิ ขึ้นในสังคมไดŒ ผลในแง‹ลบ
ไดŒแก‹ ความใกลŒชิดสนิทสนมกันอาจนŒอยลง เพราะมีเครื่องมือสื่อสารมา
ทดแทนการทต่ี อŒ งใชเŒ วลาดวŒ ยกนั โดยตา‹ งคนตา‹ งไปทาํ งานหาเลย้ี งชพี เพม่ิ พนู

70

6ความรัก฽ละความผูกพัน ความสัมพันธของสังคมที่สมบูรณ

ความรูเŒ พอ่ื แสวงหาวตั ถุเพ่ิมขึ้น อันอาจก‹อนใหเŒ กิดความว‹างเปล‹าเพราะไม‹ไดŒ
รบั การเตมิ เต็มในจติ ใจมากขน้ึ กเ็ ปนš ไปไดŒ

การไมต‹ ระหนกั และไมเ‹ หน็ คณุ คา‹ ของความสมั พนั ธท าํ ใหคŒ นในสงั คมขาด
การเรยี นรทูŒ ีจ่ ะเขาŒ ใจผŒูอนื่ ตดั สินกนั บนพฤตกิ รรมท่แี สดงออกภายนอก ไมม‹ ี
ความเขาŒ ใจกนั ในเบอื้ งหลงั ความคดิ และชวี ติ ของกนั และกนั ไมม‹ คี วามรกั ไมม‹ ี
ความสงสาร ไมม‹ ีความเมตตา กอ‹ ใหŒเกดิ ความรุนแรงเม่ือความตŒองการไม‹
ไดรŒ ับการตอบสนอง สังคมจะไรคŒ ณุ ธรรมละคนในสงั คมจะไมม‹ ีความสขุ เพ่มิ
มากยงิ่ ขึ้น เพราะในความสมั พันธข อง “มนุษย” ท่ีแทจŒ ริงนัน้ จําเปšนตŒอง
เรม่ิ จากรากฐานแหง‹ ความผกู พนั ระกวา‹ งกนั โดยไมข‹ น้ึ อยบ‹ู นผลประโยชนแ ละ
การนาํ ตวั เองเปนš ศนู ยก ลาง แตเ‹ ปนš พน้ื ฐานแหง‹ ความผกู พนั ทางใจทตี่ อŒ งทม‹ุ เท
และแสดงออกดวŒ ยความรกั ดŒวยความเอ้ืออาทร ดŒวยความเขาŒ ใจ และการ
ใชŒเวลาในการกอ‹ รา‹ งความสัมพนั ธร‹วมกัน

ตพี มิ พล งในหนังสือพิมพสยามโพสต
วันอาทติ ยท่ี 15 ธนั วาคม พ.ศ. 2539

71

»Þ˜ ËҢͧ
Êѧ¤Áä·Â»˜¨¨ØºÑ¹

¤Í×
¡Ò÷Õàè ÃÒä´ÂŒ Ô¹¤íÒÊ͹
ËÃÍ× ËÅ¡Ñ ¡Ò÷Õè´ÕÁÒ¡ÁÒÂ
áμ‹ã¹·Ò§»¯ºÔ ÑμáÔ ÅŒÇ
äÁà‹ ¤ÂàËç¹áººÍ‹Ò

§·ÊèÕ Í´¤ÅÍŒ §
¡Ñº¤íÒÊ͹àËÅ‹Ò¹¹éÑ

7

สังคมตองการ฽บบอยาง
การกระทาํ มากกวาคาํ พูด

สังคมนาอยู

แบบอย‹างการกระทําเปšนสิ่งสําคัญและมีความหมายมากย่ิงกว‹าคําพูด
การกระทําที่เปšนแบบอย‹างจากบุคคลระดับผูŒนํานั้นจะส‹งผลและมีอิทธิพลต‹อ
การเลยี นแบบของผตŒู ามอยา‹ งแนน‹ อน ถาŒ ผนŒู าํ สงั คมนาํ ไปในทศิ ทางทด่ี ถี กู ตอŒ ง
สังคมก็จะดาํ เนินไปไดŒอย‹างถกู ตŒอง แต‹ป˜ญหาใหญใ‹ นทุกสว‹ นของสังคมไทย
ปจ˜ จุบนั คือ การขาดแบบอยา‹ งจากบคุ คลระดบั ผูŒนาํ ประเทศ ทเี่ ปšนเครอ่ื งชน้ี าํ
ในการดาํ เนนิ ชวี ิตที่ถูกตŒอง และท่ขี าดแคลนยงิ่ กวา‹ นั้นคือขาดลักษณะชุมชน
ท่ีเปšนแบบอย‹างแกส‹ ังคม ส‹งผลทาํ ใหสŒ ังคมดําเนินไปในทศิ ทางที่บิดเบี้ยวและ
เกดิ ปญ˜ หาต‹างๆ มากมาย

สงั คมไทยตอŒ งการแบบอยา‹ งในการดาํ เนนิ ชวี ติ แมเŒ ราอาจมคี นสอนดวŒ ย
คาํ สอนทีล่ ึกซึ้งและฟ˜งดดู มี าก แต‹หากขาดความเปนš แบบอยา‹ งและกระทําใหŒ
ดกู เ็ กอื บไมม‹ ปี ระโยชนอ นั ใด ปญ˜ หาของสงั คมไทยปจ˜ จบุ นั คอื การทเี่ ราไดยŒ นิ
คาํ สอนหรือหลกั การท่ีดีมากมาย แต‹ในทางปฏบิ ตั แิ ลวŒ ไมเ‹ คยเห็นแบบอยา‹ งที่
สอดคลอŒ งกบั คาํ สอนเหลา‹ นน้ั แตก‹ ลบั มเี พยี งการการทาํ ในทางทตี่ รงกนั ขาŒ ม ซง่ึ
สง‹ ผลใหคŒ นไม‹เห็นคุณค‹าที่จะปฏิบตั ติ ามหลักการหรือคําสอนนน้ั ในทางตรง
กันขŒามหากไดŒเห็นแบบอย‹างแห‹งการปฏิบัติของคนสอนก็จะก‹อใหŒเกิดความ
มนั่ ใจในการกระทาํ ตามในทางท่ถี ูกตŒองไดŒมากย่งิ ขน้ึ

74

7สังคมตองการ฽บบอยางการกระทํามากกวาคําพูด

ยกตัวอย‹างเช‹น เราตŒองการใหŒเยาวชนของชาติเปšนคนที่ซ่ือสัตย มี
คุณธรรม ไม‹คดโกง กจ็ ะมีการสอนดวŒ ยคาํ พูดดวŒ ยการเรยี นทั้งในโรงเรียน
และนอกโรงเรียน แตใ‹ นสภาพความเปนš จรงิ การกระทาํ และการแสดงออก
ของผูŒใหญก‹ ลับเปšนไปทางตรงกนั ขาŒ ม คือ ความไม‹ซอื่ สตั ย เยาวชนจงึ ไม‹
เหน็ คณุ คา‹ ทจี่ ะกระทาํ ตามคาํ สอนจรงิ ๆ หรอื แมกŒ ระทงั้ สง่ิ ทข่ี ดั แยงŒ กนั ระหวา‹ ง
กฎหมายกบั ความถกู ตอŒ งทางศลี ธรรม อนั เปนš เหตใุ หคŒ นในสงั คมตดั สนิ ผดิ ถกู
อย‹างสับสน เชน‹ ตามหลักศลี ธรรมบญั ญตั ิวา‹ การเล‹นการพนันเปนš ส่งิ ท่ผี ดิ
แตก‹ องสลากกนิ แบง‹ รฐั บาลซง่ึ ความจรงิ กเ็ ปนš การพนนั เชน‹ เดยี วกนั กลบั มรี ฐั บาล
เปนš เจาŒ ของ

HONEST

75

สังคมนาอยู

แบบอย‹างการกระทําและกฎหมายมีหลายเร่ืองท่ีตรงขŒามกับคําพูดและ
หลักการทําใหŒคนในสังคมขาดมาตรฐานในการตัดสินความถูกผิด และการ
ช้นี าํ ทีถ่ ูกตอŒ ง สงั คมไทยควรที่จะตŒองสราŒ งความรับผิดชอบรว‹ มกนั เรม่ิ จาก
ผูŒนาํ จนไปถงึ ผŒตู ามในทุกระดบั ทุกหนว‹ ยงาน ทกุ ชมุ ชนในสงั คม ในการทํา
หนาŒ ทเ่ี ปนš ผสŒู ราŒ งลกั ษณะชมุ ชนของตนเองใหเŒ ปนš แบบอยา‹ งแกส‹ งั คม ดวŒ ยการ
แสดงออกเปนš การกระทาํ ทถ่ี กู ตอŒ งเพอื่ ใหผŒ อŒู นื่ กระทาํ ตามไดŒ โดยสราŒ งแบบอยา‹ ง
ที่สามารถชี้นาํ สังคมไดŒอันประกอบดวŒ ยคุณลักษณะ 2 ประการ

แบบอยางแหง ความรบั ผิดชอบ

ประการแรก คอื แบบอย‹างแห‹งความรบั ผิดชอบดŒวยการทาํ หนาŒ ท่ขี อง
ตนเองใหดŒ ที ส่ี ดุ เราแตล‹ ะคนนน้ั มบี ทบาทหนาŒ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบตามสถานภาพ
ท่ตี า‹ งกัน แตไ‹ มว‹ า‹ จะเปšนบทบาทใดในสังคมหรือชุมชนใด เราสามารถช้แี บบ
อยา‹ งแกส‹ งั คมไดดŒ วŒ ยการเลน‹ บทบาทและทาํ หนาŒ ทข่ี องเราใหตŒ รงทสี่ ดุ และใหดŒ ี
ท่ีสุดเพ่ือท่ีเราจะมีส‹วนเปšนแสงสะทŒอนความดีงามท่ีเราทํานั้นออกไปมีอิทธิพล
ต‹อผูŒอ่ืนและมีส‹วนสรŒางสรรคส ังคมไดมŒ ากทสี่ ุด

ชุมชนทเ่ี ราอย‹ูไมว‹ ‹าจะเปนš บริษทั สมาคม องคก ร อาํ เภอ ตําบล
หม‹ูบŒาน หรือแมกŒ ระท่งั ครอบครัว ทุกๆ ท่ีท่ีเรามีส‹วนร‹วมจงึ ควรมลี ักษณะ
ที่เปšนแบบอย‹าง เราควรเปšนผูŒหนึ่งท่ีสรŒางชุมชนท่ีประกอบไปดŒวยบุคคลที่มี
คณุ ภาพ มีความซือ่ สัตย ความยุตธิ รรม และความจรงิ ใจ เปนš ชมุ ชนท่ีมี
อิทธิพลตอ‹ ภายนอกชมุ ชนไดŒ

76

7สังคมตองการ฽บบอยางการกระทํามากกวาคําพูด

แบบอยา งแหง ความดงี าม

ประการท่ีสอง เปนš ชุมชนทที่ าํ ดี เปนš แบบอยา‹ งแห‹งการทําความดจี น
คนอน่ื เหน็ ไดŒ เหมอื นกบั ตะเกยี งทเ่ี มอ่ื จดุ แลวŒ กต็ อŒ งสอ‹ งสวา‹ งแกค‹ นทง้ั ปวง เรา
ตอŒ งทําดีแก‹คนทง้ั ปวงมากจนเขาตระหนักชัดเจนถึงความดีของเรา และตอŒ ง
ประพฤตใิ นสง่ิ ทดี่ อี ยา‹ งเสมอตนŒ เสมอปลายและกระทาํ แกค‹ นทง้ั ปวงไมเ‹ ลอื กเชอื้
ชาติ ฐานะ ตาํ แหนง‹ ไม‹ทาํ ดเี ฉพาะเมอื่ ตนไดรŒ ับผลประโยชน แต‹ทาํ ดีตอ‹
คนท่ีดŒอยโอกาสในสงั คมทีไ่ มม‹ ีทางจะตอบแทนเราไดŒ ชุมชนท่ีมลี ักษณะเช‹น
นี้จะเปนš สังคมท่ใี ครๆ ก็กลา‹ วขวญั ถึง ไดรŒ บั การยอมรบั ยกยอ‹ ง และ
สามารถเปšนดังผูนŒ าํ ทศิ ทางของสงั คมไดŒ

77

สังคมนาอยู

ลองนกึ ภาพว‹าถาŒ เราเห็นคนทีเ่ ปšนคนดี เปšนคนท่ที าํ ความดีใหแŒ กส‹ ังคม
เปšนคนทซ่ี ื่อสตั ยส ุจรติ เปนš คนทมี่ ีหลกั การดาํ เนนิ ชวี ติ ทถี่ ูกตอŒ ง เปนš คนที่เสยี
สละเพ่ือผŒูอื่นอยูเ‹ สมอ เปนš คนทีม่ คี วามเทีย่ งธรรมและยตุ ิธรรม เปšนคนท่มี ี
จติ ใจเมตตากรณุ าปรานี เปšนคนทีท่ ําสงิ่ ดี และทาํ คณุ ประโยชนใ หแŒ กค‹ นใน
สังคมมากมาย คนในชุมชนไดเŒ หน็ แนวการกระทํานนั้ ทเ่ี ปนš เหมอื นแสงสวา‹ ง
แกส‹ ังคม เปนš ผชŒู ้นี ําสงั คมจนสามารถเปลีย่ นคนในชมุ ชนใหดŒ าํ เนินติดตามใน
สงิ่ ทดี่ ดี งั กล‹าวไดŒ สงั คมย‹อมมีคนท่ดี ขี นึ้ ๆ สังคมไทยยงั ตŒองการคนทเี่ ลน‹
บทบาทหนาŒ ที่ของตวั เองใหŒดีทีส่ ุดแบบนใี้ นทุกระดบั อันจะนาํ ไปสก‹ู ารจรรโลง
สงั คมใหŒงดงามดวŒ ยความรว‹ มมอื กันของแตล‹ ะชุมชนอย‹างแทŒจริง

ในทุกๆ ตาํ แหน‹ง ทุกๆ สถานภาพที่เราดํารงอยู‹เราสามารถทจี่ ะเล‹น
บทบาทของเราใหดŒ ที ส่ี ดุ เชน‹ ถาŒ เราเปนš นายจาŒ งเราตอŒ งเปนš นายจาŒ งทยี่ ตุ ธิ รรม
โอบอŒอมอารี ไม‹เอาเปรยี บ ทาํ ใหลŒ ูกจาŒ งไดรŒ ับสวสั ดภิ าพทด่ี แี ละเห็นความดี
ของเขา ถาŒ เราเปšนนกั ธรุ กจิ เราตอŒ งเปนš คนทีซ่ ่อื สัตย ทาํ ธุรกจิ อย‹างไมค‹ ดโกง
และเห็นแกป‹ ระโยชนข องลูกคŒาเสมอ

ถาŒ เราเปนš สามเี ราตอŒ งรกั และหว‹ งใย เสยี สละ ดแู ลภรรยา และครอบครวั
อยา‹ งดีใหŒไดรŒ ับความอบอ‹ุนในชวี ติ และถŒาเราเปนš ภรรยาเราตอŒ งนบนอบเชอื่
ฟ˜งสามี ดูแลสามี และลูกอยา‹ งดี

78

7สังคมตองการ฽บบอยางการกระทํามากกวาคําพูด

และยงิ่ ถาŒ เราเปนš ผบŒู รหิ ารบาŒ นเมอื ง เราตอŒ งบรหิ ารอยา‹ งเหน็ แกป‹ ระโยชน
ของประเทศชาติ ไม‹โกงกินเพ่ือประโยชนส ‹วนตน ใหŒความยุติธรรมแกค‹ นทงั้
หลาย แมกŒ บั คนดอŒ ยโอกาสทไ่ี มส‹ ามารถทาํ ประโยชนใหŒเราไดŒ เราตŒองทําใหŒ
ประเทศชาตมิ ีความสขุ ความเจรญิ รฐั บาลสมัยนายอานันท ปน˜ ยาชนุ มี
การดาํ เนินนโยบายตา‹ งๆ ไดอŒ ยา‹ งคอ‹ นขาŒ งราบรืน่ เพราะทา‹ นเปนš ผŒูนําท่ไี ดŒ
รับการยอมรับจากคนในสังคมว‹าเปšนบุคคลท่ีซื่อสัตย เห็นแก‹ประโยชนของ
บาŒ นเมอื งอยา‹ งแทจŒ รงิ ทาํ ใหกŒ ลายเปนš คนทม่ี อี ทิ ธพิ ลในเชงิ สราŒ งสรรคต อ‹ สงั คม
หรือถŒาเราเปšนสมาชิกสภาผูŒแทนราษฎรเราจะตŒองเปšนคนท่ีเสนอกฎหมายท่ี
จรรโลงศีลธรรมในสังคมไม‹ใช‹กฎหมายท่ีเอื้ออํานวยใหŒคนทําความผิดต‹างๆ
ไดŒ เราก็จะทําใหปŒ ระชาชนนั้นอย‹ูในสงั คมทม่ี ศี ีลธรรมและจริยธรรม

79

สังคมนาอยู

เราตอŒ งเปด ตวั เองใหเŒ ปนš แบบอยา‹ งแกส‹ งั คมและโลกนี้ ไมป‹ ด ซอ‹ นตวั เอง
เกบ็ ตวั หรอื ถอนตัวออกจากสงั คม เพ่อื ใหเŒ กดิ คุณประโยชนส งู สุดตŒองเขŒาไปมี
สว‹ นในสังคมในเร่อื งทถ่ี กู ตŒอง ตอŒ งสนับสนนุ แนวทางทีส่ ตั ยช่ือและชอบธรรม
ตŒองมีจุดยืนที่แน‹ชัดและมีมาตรฐาน เช‹น หากเราเห็นว‹าการใหŒสินบนแก‹
ขาŒ ราชการในการทาํ ธุรกิจนนั้ ไมด‹ ี ในฐานะทเี่ ราดาํ เนนิ ธุรกิจเราจะตŒองไมเ‹ หน็
แก‹การใหŒสินบนเพื่อใหŒไดŒงานแต‹เราควรจะเรียกรŒองใหŒสังคมดําเนินการเพ่ือ
ความถูกตŒอง อาจจะรวมตัวกับองคกรหรือสมาคมเดียวกันในการเรียกรŒอง
ความชอบธรรม กระตนŒุ ใหสŒ งั คมทเี่ ลวราŒ ยเกดิ การเปลย่ี นแปลง และเปนš แบบ
อย‹างแกผ‹ อŒู ืน่ ใหŒมีความกลŒาทีจ่ ะไม‹โอนออ‹ นตามส่งิ ทไ่ี มถ‹ ูกตŒอง

80

7สังคมตองการ฽บบอยางการกระทํามากกวาคําพูด

ในแต‹ละบทบาทหนาŒ ท่ขี องเราทด่ี ําเนินอยู‹ในสังคมใหญน‹ ี้ หากเราเลน‹
บทบาทของเราใหดŒ ที สี่ ดุ อยใ‹ู นกรอบแหง‹ ความดงี าม ความสราŒ งสรรค ความ
ยุตธิ รรม การเปšนแบบอยา‹ งทีด่ ใี นทกุ ๆ ชมุ ชนทีเ่ ราอาศยั อย‹ู เราจะสามารถ
แกŒไขสังคมไดŒอย‹างเปšนรูปธรรมจริงจังมากกว‹าการแกŒไขตามหลักการหรือคํา
พดู เพราะสิง่ นี้จะเปนš แบบอย‹างการกระทาํ เพ่ือใหŒคนอนื่ สามารถเดินตามไดŒ
งา‹ ยอย‹างเปนš รูปธรรม

เราแตล‹ ะคนในชมุ ชนทต่ี ง้ั ใจเปนš แบบอยา‹ งในการชน้ี าํ สงั คม เมอ่ื มารวม
กนั เขาŒ จะเปนš พลงั อนั มหาศาลทเ่ี ปนš แสงสวา‹ ง สอ‹ งนาํ ทศิ ทางแกส‹ งั คม เปรยี บ
เสมือนเทียนเล‹มเล็กๆ ท่ีนาํ มารวมกันเปšนเทียนพันๆ หมืน่ ๆ แสนๆ เล‹ม
เกดิ เปนš ความสวา‹ งทลี่ กุ โชตชิ ว‹ งและสามารถทาํ ใหเŒ กดิ ความสวา‹ งในรศั มที ก่ี วาŒ ง
ไกล ทาํ ใหŒคนในสงั คมเห็นแบบอย‹างทดี่ ีในการดาํ เนนิ ชีวติ การท่ีเราเปนš คน
ดีในสังคมที่กําลังเสื่อมลงอยู‹นจ้ี ะทําใหŒเราแตกต‹างจากคนอ่ืน และเปšนแบบ
อยา‹ งใหแŒ กค‹ นทป่ี รารถนาจะทําความดแี ตไ‹ มม‹ ีโอกาส หรอื ไมก‹ ลาŒ ทาํ เพราะไม‹
เห็นแบบอย‹าง ก็จะชว‹ ยใหŒสังคมเราดีขนึ้ คนในสังคมมคี วามหวังในความ
มดื และจะเรม่ิ มีบทบาทเพ่ือการสรŒางสรรคสงั คมมากยง่ิ ข้ึน

81

·¡Ø æ ¤¹μŒÍ§ÃÇ‹ ÁÁ×Í¡¹Ñ
ÍÂÒ‹ §¹ÍŒ ·ÊèÕ ´Ø ¡âç ´Â

¡ÒÃäÁá‹ Ê´§ÍÒ¡ÒÃÃѧà¡Õ¨à´Õ´©¹Ñ ·
μÍ‹ à¾Í×è ¹Á¹ÉØ Â

·èàÕ ¤Â¡ÃзÒí ¤ÇÒÁ¼´Ô

äÁÁ‹ ͧNjÒà¢Ò໚¹¾ÅàÁ×ͧªé¹Ñ Êͧ

Íѹ໚¹àËμãØ ËàŒ ¢Ò
μŒÍ§¡ÅºÑ ä»·Òí ¼´Ô «Òéí Í¡Õ

8

ผเู คยกระทําผิด
สังคมควร฿หอภัย฽ละเหในคุณคา

สังคมนาอยู

ความพยายามของกรมราชทณั ฑใ นการฟนœ„ ฟผู ตŒู อŒ งขงั นบั เปนš สงิ่ ทด่ี ี และ
คนในสงั คมคาดหวังวา‹ ทณั ฑสถานจะสามารถช‹วยใหผŒ ูตŒ Œองขังนนั้ มโี อกาสที่จะ
กลบั ตวั กลบั ใจเปนš คนดขี องสงั คมไดŒ แตอ‹ ยา‹ งไรกต็ าม การแกไŒ ขดงั กลา‹ วยงั ไม‹
สามารถทําใหŒคนท่ีเคยกระทําผิดกลบั เปšนคนดขี องสงั คมไดŒ

ในปจ˜ จบุ นั นี้ ตวั เลขจาํ นวนของอาชญากรในประเทศไทยคอ‹ นขาŒ งนา‹ กลวั
จากรายงานของเจŒาหนŒาที่กองทะเบียนประวัติอาชญากรที่ไดŒกว‹าวไวŒใน
หนังสือพิมพฉบับหน่ึงว‹า ป˜จจุบันจํานวนประวัติของคนรŒายที่เก็บสะสมไวŒมี
จํานวนมากถงึ 10 % ของจํานวนประชากร หรอื ประมาณ 6 ลาŒ นคน อกี
ทง้ั ยังมีตัวเลขอาชญากรทีอ่ ยใ‹ู นหมายจบั อีกถงึ ประมาณ 1 แสนคน ตวั เลข
เหล‹านี้นับว‹าเปšนตัวเลขที่น‹ากลัวและแสดงว‹าความไม‹ปลอดภัยในชีวิตและ
ทรพั ยส นิ ของประชาชนกาํ ลงั เพมิ่ มากยง่ิ ขน้ึ อยา‹ งรวดเรว็ ยง่ิ ในภาวะทเี่ ศรษฐกจิ
กําลังอยู‹ในภาวะทรุดตัวลงเช‹นนี้ โอกาสแห‹งความตึงเครียดและความวิตก
กงั วลเรอื่ งความอย‹รู อดของประชาชนย‹อมมอี ย‹ูสงู แนวโนŒมของการหางานทํา
ย‹อมยากและฝ„ดเคอื งมากขน้ึ การแก‹งแย‹งในสังคมมีสูงขึ้น นอกจากนี้ยังมี
สาเหตุอีกหลายๆ ประการท่ีทําใหŒคนจํานวนไม‹นŒอยอาจตัดสินใจกระทําส่ิง
ท่ีผิดเปšนครั้งแรก หรือตัดสินใจกระทําความผิดซํ้าเพราะไม‹สามารถอยู‹ใน
สังคมไดŒ

84

8ผูเคยกระทําผิดสังคมควร ฿หอภัย฽ละเหในคุณคา

สงั คมควรยอมรับความเสมอภาค
เหน็ “คุณคา” ผู “เคย” กระทําผดิ

“นักโทษท่ีคนในสงั คมเห็นว‹าเปšน ‘กากเดน’ ของสังคม
เขากจ็ ะทาํ ตวั เปนš กากเดนของสังคมจริงๆ”

การทเ่ี ราจะใหสŒ งั คมมคี วามสขุ สงบไดŒ ประชาชนทกุ คนตอŒ งใหคŒ วามรว‹ ม
มือดŒวย และทุกๆ คนตŒองร‹วมมืออย‹างนŒอยท่ีสุดก็โดยการไม‹แสดงอาการ
รงั เกยี จเดยี ดฉนั ทต อ‹ เพอ่ื นมนษุ ยท เ่ี คยกระทาํ ความผดิ ไมม‹ องวา‹ เปนš พลเมอื ง
ชั้นสองอันเปšนเหตุใหŒเขาตŒองกลับไปทําผิดซ้ําอีกวัตถุประสงคที่นําเสนอ
บทความนม้ี ุง‹ หวงั ใหŒสงั คมไทยเห็นคณุ ค‹าของคนที่ “เคย” กระทาํ ความผิด
อยา‹ งเหมาะสมและเพอื่ เปšนการเปดโอกาสใหŒเขาสามารถกลบั ตัวเปนš คนดีและ
ก‹อประโยชนต อ‹ สงั คมในชวี ติ ทเ่ี หลอื ของเขา

ปรัชญาความคดิ หน่งึ ทผี่ มยึดถือมาโดยตลอด กค็ ือ ผมเชอื่ มั่นวา‹ “คน
นั้นมคี ณุ ค‹าสูงสดุ ในฐานะแหง‹ ความเปนš คน” คนทกุ คนนัน้ มี “คณุ คา‹ ในตัว
เอง” ที่ไมส‹ ามารถเปรยี บเทยี บคณุ คา‹ กบั สงิ่ ของหรือวตั ถอุ ื่นๆ ที่อย‹ภู ายนอกไดŒ
ไม‹วา‹ จะเปนš ทรัพยศ ฤงคาร ความรูคŒ วามสามารถ รูปรา‹ งผิวพรรณ ทกุ ๆ
คนควรไดรŒ บั เกยี รติ จากเพอื่ นมนษุ ยใ นการปฏบิ ตั อิ ยา‹ งเทา‹ เทยี มและเหมาะสม
ดงั นน้ั จาํ เปนš อยา‹ งยง่ิ ทส่ี งั คมจะตอŒ งเปด โอกาสใหทŒ กุ คนสามารถยกระดบั ความ
ภาคภูมิใจในฐานะทีเ่ กดิ มาเปนš มนษุ ยไ ดŒอยา‹ งสมศักดิศ์ รี และไม‹เลือกวา‹ เขา
เปนš ใคร เช้อื ชาตใิ ด ฐานะเชน‹ ใด หรือเคยประพฤติเชน‹ ใดมากอ‹ น

85

สังคมนาอยู

ความพยายามทจี่ ะใหผŒ ทŒู เ่ี คยกระทาํ ผดิ กลบั ตวั กลบั ใจเปนš คนดขี องสงั คม
น้ันจะไมม‹ ีทางสัมฤทธผิ ลเลยหากคนในสงั คมและระบบตา‹ งๆ ในสังคมไม‹เอ้ือ
อาํ นวยหรอื เปด โอกาสใหกŒ ลม‹ุ คนเหลา‹ นกี้ ลบั ตวั ใหมไ‹ ดŒ ปจ˜ จบุ นั คนทเี่ คยกระทาํ
ผิดแทบจะไมส‹ ามารถกลบั เขŒาสูส‹ ังคมไดŒอยา‹ งมีเกียรตเิ ท‹าเดิมเขาจะกลายเปšน
บุคคลที่น‹าหวาดกลัวของสังคม คนเหล‹านี้จะหางานทําไดŒอย‹างยากลําบาก
หรือถาŒ ไดทŒ ํางาน กไ็ มส‹ ามารถทาํ งานที่ดีไดŒเท‹ากับ ความรูŒความสามารถที่เขา
มีหรือไม‹เขาก็ตŒองปกปดว‹าเคยเปšนผูŒกระทําความผิดมาก‹อน อันเปšนเหตุใหŒ
คณุ ค‹า ในความเปนš มนษุ ย ของเขาลดลง ทั้งจากสายตาของคนในสงั คม และ
จากสายตาของเขาเองการมองตนเอง ดอŒ ยคุณคา‹ นีเ่ องท่เี ปšนอันตรายอย‹างยงิ่
ทเ่ี ปนš เหตใุ หเŒ ขากลบั ไปกระทาํ สง่ิ ทผี่ ดิ เปนš การประชดทไี่ มไ‹ ดรŒ บั การยอมรบั จาก
สงั คม ทาŒ ยทสี่ ดุ การรบั ความรนุ แรงและภยนั ตรายยอ‹ มตอŒ งเกดิ แกค‹ นทว่ั ไปใน
สังคมอยา‹ งหลีกเล่ยี งไมไ‹ ดŒ

การลดจาํ นวนอาชญากรจงึ ไมส‹ ามารถหวงั พง่ึ เพยี งระบบของกระบวนการ
ยตุ ิธรรมไดแŒ ตต‹ Œองเปนš ความรว‹ ม มือรว‹ มกนั ขององคกรภาครฐั องคกรภาค
เอกชน และประชาชนทกุ ๆ คนทจี่ ะมีสว‹ นชว‹ ยในการ “ฟœ„นคนื คุณค‹าที่เคย
กระทาํ ความผดิ ” ใหŒกลับเปนš ผูŒท่ีสามารถสาํ แดงประโยชนใหเŒ กิดขึ้นแก‹สังคม

86


Click to View FlipBook Version