ค่มู ือการชว่ ยเหลอื
ผูห้ ญงิ ต้ังครรภ์ไม่พรอ้ ม
ของศนู ยพ์ ่ึงได้
สำ�นักบรหิ ารการสาธารณสขุ
สำ�นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ
กระทรวงสาธารณสขุ
คมู่ อื การช่วยเหลอื ผูห้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ ม่พร้อมของศูนยพ์ ่งึ ได้
ISBN : 978-616-11-2364-2
ท่ปี รึกษา : นายแพทยช์ าญวทิ ย์ ทระเทพ
นายแพทย์ธงชัย เลิศวไิ ลรตั นพงศ์
นายแพทยพ์ รเพชร ปญั จปยิ ะกุล
แพทยห์ ญิงจรรยาภรณ์ รตั นโกศล
เภสัชกรหญงิ ภัทร์อนงค์ จองศิริเลศิ
เภสัชกรหญงิ พรพิมล จนั ทร์คุณาภาส
กองบรรณาธิการ : ทศั นัย ขันตยาภรณ์ บุญพลอย ตลุ าพันธ์ุ ศุภอาภา องคส์ กุล
นชุ นารถ เทพอุดมพร กาญจนา ช่วยกลู สุทธาพร ขขุ ันธิน
มณที ิพย์ วรี ะรตั นมณี เยาวเรศ คำ� มะนาด วรภทั ร แสงแกว้
สุมาลี โตกทอง อชิมา เกิดกลา้ ปรีติ สำ� ราญทรพั ย์
ผู้จดั ท�ำ : ส�ำนกั บรหิ ารการสาธารณสขุ สำ� นกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ
กระทรวงสาธารณสุข
พิมพ์คร้ังที่ 1 : ธันวาคม 2557
จำ� นวน : 1,000 เลม่
พิมพท์ ่ี : โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำกดั
2 คู่มือการช่วยเหลือผหู้ ญิงต้ังครรภ์ไมพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ึ่งได้
ค�ำนำ�
ปัญหาความรุนแรงในเด็กและสตรี เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยมานาน
นับวันจะเพ่ิมและทวีความรุนแรงมากข้ึน ดังปรากฏให้เห็นตามส่ือต่างๆ รูปแบบของ
การกระท�ำรุนแรงมีหลากหลาย ท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจ และทางเพศ ผลกระทบของ
ความรุนแรงมีหลายระดับ ทั้งระดับบุคคล ครอบครัวและสังคม โดยอาจท�ำให้เกิดอาการ
บาดเจบ็ ตง้ั แตบ่ าดเจบ็ เล็กนอ้ ย จนถึงบาดเจ็บสาหสั บางรายอาจถึงข้ันเสียชีวิต นอกจากนี้
ยังท�ำให้เกิดความหวาดกลัว วิตกกังวลจนถึงหวาดระแวง ซึมเศร้า และเป็นโรคจิตในที่สุด
กรณคี วามรนุ แรงทางเพศ อาจทำ� ใหเ้ กดิ การตง้ั ครรภไ์ มพ่ งึ ประสงค์ การตดิ เชอื้ ทางเพศสมั พนั ธ์
และการตดิ เช้อื เอดส์ เป็นต้น
มติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 29 มิถุนายน 2542 ได้เห็นชอบให้มีการจัดตั้งศูนย์บริการ
ชว่ ยเหลอื เดก็ และสตรใี นภาวะวกิ ฤตจิ ากความรนุ แรงขน้ึ ในโรงพยาบาลของรฐั ทกุ แหง่ ซงึ่ กระทรวง
สาธารณสุขได้รับนโยบายดังกล่าวไปด�ำเนินการ โดยส่ังการให้โรงพยาบาลในสังกัดจัดตั้งศูนย์ฯ
ดงั กลา่ วขนึ้ ตง้ั แตป่ ี 2543 และปจั จบุ นั ไดข้ ยายใหค้ รอบคลมุ โรงพยาบาลในสงั กดั ทว่ั ประเทศและ
ใชช้ อื่ วา่ ศนู ยพ์ งึ่ ได้ มบี ทบาทในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื เดก็ และสตรที ถี่ กู กระทำ� รนุ แรงอยา่ งครบวงจร
ครอบคลุมทัง้ ทางดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข กฎหมายและสวัสดิการสังคม รวมท้ังเป็นศนู ย์
ข้อมลู ในการประสานการให้ความช่วยเหลือระหวา่ งหน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
ในปี 2556 รฐั บาลได้ประกาศนโยบาย OSCC ศนู ย์ช่วยเหลอื สงั คม เพื่อใหค้ วามชว่ ยเหลอื
ประชาชนทีป่ ระสบปญั หา 4 กลมุ่ เปา้ หมายหลัก ได้แก่ 1) การกระทำ� ความรนุ แรงตอ่ เด็ก สตรี
ผสู้ งู อายุ และคนพกิ าร 2) การกระทำ� รนุ แรงทางเพศ (รวมถงึ ปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ ม หรอื คณุ แมว่ ยั ใส)
3) การใชแ้ รงงานเดก็ และ 4) การคา้ มนษุ ย์ โดยมอบหมายใหห้ นว่ ยงานหลกั 4 หนว่ ยงาน รบั ผดิ ชอบใน
แต่ละประเด็น ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบปัญหาการต้ังครรภ์ไม่พร้อม กระทรวง
แรงงานรับผิดชอบปัญหาการใช้แรงงานเด็ก ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติรับผิดชอบปัญหาการค้า
มนุษย์ และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์รับผิดชอบปัญหาความรุนแรง
ต่อเดก็ สตรี ผูส้ งู อายุ และ คนพิการ
ดงั นน้ั เพอ่ื ใหก้ ารดำ� เนนิ การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาการตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ ม โดยมกี ารบรู ณาการ
รว่ มกบั การดำ� เนนิ งานปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาความรนุ แรงในเดก็ และสตรี เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
สำ� นกั บรหิ ารการสาธารณสขุ ในฐานะหนว่ ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบในการจดั บรกิ ารศนู ยพ์ ง่ึ ได้ กระทรวง
สาธารณสขุ จงึ ไดจ้ ดั ทำ� คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ทตี่ งั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ไดข้ นึ้ เพอื่ เปน็
แนวทางในการให้บริการช่วยเหลือเด็กและผู้หญิงที่ถูกกระท�ำรุนแรงทางเพศ รวมทั้งผู้ท่ีประสบ
ปญั หา
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 3
การตั้งครรภ์ไม่พรอ้ มในโรงพยาบาล โดยมกี ารบูรณาการการด�ำเนินงานรว่ มกับหนว่ ยงาน
ที่เก่ียวข้องอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ซึ่งหวังว่าคู่มือฯ ฉบับน้ี คงจะเป็นประโยชน์ใน
การนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาการตงั้ ครรภไ์ มพ่ งึ ประสงค์ เพอื่ ใหผ้ ทู้ ปี่ ระสบ
ปญั หาไดม้ ที างเลอื กในการแกไ้ ขปญั หาและสามารถดำ� เนนิ ชวี ติ อยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ตอ่ ไป
นายแพทยธ์ งชยั เลิศวิไลรัตนพงศ์
ผ้ชู ่วยปลดั กระทรวงสาธารณสุข รักษาราชการแทน
ผู้อำ� นวยการส�ำนักบรหิ ารการสาธารณสุข
กันยายน 2557
4 คู่มอื การชว่ ยเหลอื ผูห้ ญงิ ตั้งครรภ์ไมพ่ ร้อมของศูนย์พง่ึ ได้
ค�ำนยิ ม
ปัญหาการต้ังครรภ์ไม่พร้อมในประเทศไทยมีแนวโน้มเพ่ิมมากขึ้น ส่งผลกระทบใน
ทางลบต่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรไทย เพราะการพัฒนาประชากรควรเริ่มต้ังแต่การ
ตงั้ ครรภท์ ที่ ง้ั หญงิ และชายมคี วามพรอ้ มและตงั้ ใจ โดยควรเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นการตง้ั ครรภ์
ดูแลครรภข์ ณะคลอด และหลงั คลอดทัง้ มารดาและทารก รวมทง้ั การเลย้ี งดูภายใต้ครอบครัว
ทมี่ คี วามพรอ้ มเพอ่ื ใหเ้ ดก็ ไดเ้ ตบิ โตเปน็ ผใู้ หญท่ ม่ี คี ณุ ภาพ โดยปราศจากความรนุ แรงในครอบครวั
และมีสุขภาวะท่ีดี การท่ีผหู้ ญิงท่ตี ้ังครรภ์ไม่พร้อม ไมส่ ามารถหาทางออกได้เมอื่ ประสบปัญหา
อกี ทงั้ ยงั ถกู ตตี ราในเชงิ ศลี ธรรมจากสงั คม ทำ� ใหห้ ลบซอ่ นไมเ่ ปดิ เผยตนเองเพอ่ื ขอความชว่ ยเหลอื
ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนและสูญเสียชีวิตอันเน่ืองมาจากการยุติการต้ังครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย
ทางออกหน่งึ ท่ีสำ� คญั ของการแก้ปัญหานี้ คอื การสร้างแนวปฏบิ ตั ใิ นการดแู ลชว่ ยเหลอื ของสถาน
บริการสขุ ภาพในสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข เพ่อื ให้เกิดบริการท่ีเป็นมิตรและเข้าใจ ทีผ่ ูป้ ระสบ
ปัญหาสามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็วทันการ โดยมีเครือข่ายการให้ความช่วยเหลือรอบด้านและ
สอดคล้องกับสภาพปัญหาของผ้ใู ชบ้ รกิ าร
กระทรวงสาธารณสุข ในฐานะทเี่ ปน็ หนว่ ยงานหลักของประเทศ ที่มีภารกจิ ที่ส�ำคญั ในการ
พฒั นาคุณภาพชวี ิตประชากรไทยให้มสี ุขภาพทดี่ ี ทัง้ ในด้านกาย ใจ และสังคม ตงั้ แต่การเกิดท่ี
มคี ณุ ภาพจากการตง้ั ครรภท์ มี่ คี วามพรอ้ ม และดแู ลสขุ ภาพในทกุ มติ ใิ นทกุ ชว่ งของชวี ติ ของคนไทย
ทุกเพศทกุ วัยอย่างมคี ุณภาพ รวมทง้ั ดแู ลเยียวยาจากการถูกกระท�ำด้วยความรุนแรงต่างๆ ผมจงึ
เหน็ ดว้ ยเปน็ อยา่ งยง่ิ ทส่ี ำ� นกั บรหิ ารการสาธารณสขุ และหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งไดร้ ว่ มกนั จดั ทำ� “คมู่ อื
การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ทตี่ งั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได”้ เพอื่ เปน็ แนวทางในการปอ้ งกนั และแกไ้ ข
ปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมต่อไป หวังว่าศูนย์พึ่งได้ของโรงพยาบาลจะใช้คู่มือดังกล่าวในการ
บูรณาการการท�ำงานการป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้ังครรภ์ไม่พร้อมในโรงพยาบาลให้เกิดผล
สัมฤทธิ์ ในการช่วยเหลอื ผู้ประสบปญั หาได้ผ่านพ้นภาวะวกิ ฤตใิ นชวี ติ อันเกิดจากความผิดพลาด
หรอื ความไมต่ ง้ั ใจ และสามารถใชช้ วี ติ อยใู่ นสงั คมอยา่ งมคี ณุ ภาพเพอื่ เปน็ กำ� ลงั สำ� คญั ในการพฒั นา
ประเทศให้เจริญก้าวหนา้ สืบไป
(นายณรงค์ สหเมธาพฒั น์)
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 5
คำ� นิยม
ทุกข์ที่สุดในชีวิตของลูกผู้หญิง คือ “ท้องไม่พร้อม” สภาวะเช่นนี้ น�ำมาซ่ึงความกลัว
ความเครยี ด ความวติ กกงั วล ซมึ เศรา้ สบั สน วา้ วนุ่ ใจ ไมร่ วู้ า่ จะหาทางออกใหก้ บั ชวี ติ อยา่ งไร
จนผู้หญิงบางคนถึงกับต้องฆ่าตัวตายเพ่ือหลบหนีปัญหา เพราะถูกบีบคั้นจากเง่ือนไขหลาย
ประการ ไมว่ า่ ครอบครวั คนรอบขา้ ง ภาวะเศรษฐกจิ ทศั นคตทิ างสงั คมวฒั นธรรม จนเกนิ กวา่ ท่ี
จะทนมชี วี ิตอย่บู นโลกใบน้ีต่อไปได้
ปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ ม กำ� ลงั ขยายตวั รนุ แรงมากในประเทศไทย ผลกระทบทตี่ ามมาเปน็ ปญั หา
สาธารณสขุ ท่ีสำ� คญั ในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างย่ิง การทำ� แทง้ ท่ไี มป่ ลอดภยั และปัญหาแม่วยั รนุ่
นอกจากนี้ ยงั พบปญั หาการทอดท้งิ ทารกไวท้ ีโ่ รงพยาบาล หรือผ้รู บั จา้ งเลยี้ งเด็ก รวมถึงท้ิงไวใ้ น
ที่สาธารณะ ท�ำให้เด็กเติบโตข้ึนมาอย่างขาดความรัก ความเอาใจใส่ กลายเป็นพลเมืองท่ี
ด้อยคณุ ภาพไปในทส่ี ดุ
ผมเปน็ คนหน่ึงทีต่ ่อส้ใู นเร่ืองนอ้ี ย่างจริงจงั และต่อเนือ่ งมาตลอดระยะเวลา 40 ปี วันนดี้ ใี จ
ท่ีสุด ที่เห็นสังคมไทยตื่นตัวหันมาเหลียวแลปัญหานี้กันมากข้ึน ภายใต้การน�ำของกระทรวง
สาธารณสขุ ไดค้ ดิ คน้ หาหนทางตา่ งๆ ในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื แกผ่ หู้ ญงิ กลมุ่ นี้ และหนง่ึ ในแนวทาง
การช่วยเหลอื ก็คือ การใหบ้ รกิ ารปรกึ ษาทางเลือกเพ่ือช่วยเหลอื ผูห้ ญงิ ท้องไมพ่ รอ้ มทศ่ี ูนย์พึง่ ได้
ในโรงพยาบาลต่างๆ ซึง่ ไดเ้ รมิ่ ต้นนำ� ร่องด�ำเนนิ การมาแลว้ ตงั้ แตป่ ี 2550
เพราะปัญหาท้องไม่พร้อม เป็นปัญหาที่ซับซ้อน อ่อนไหว การท�ำหน้าท่ีให้บริการปรึกษา
ทางเลอื กแกห่ ญงิ ทที่ อ้ งไมพ่ รอ้ ม จงึ ตอ้ งอาศยั ความเขา้ ใจอยา่ งละเอยี ดลกึ ซงึ้ และดำ� เนนิ งานอยา่ ง
พิถพี ถิ ันเป็นพิเศษ เพื่อหลีกเล่ียงการซ้ำ� เตมิ สถานการณ์ชวี ติ ให้เลวร้ายไปกว่าเดมิ ดังนั้น ผมจึง
ขอช่ืนชมทก่ี ระทรวงสาธารณสุขไดถ้ อดบทเรียนการดำ� เนินงานทผี่ ่านมา ออกมาเป็น “คู่มือการ
ช่วยเหลือผู้หญิงต้ังครรภ์ไม่พร้อมของศูนย์พ่ึงได้” เพื่อให้บุคลากรท่ีเกี่ยวข้องได้มีแนวทางการ
ปฏิบัตงิ านใหบ้ ริการปรึกษาทางเลอื กทสี่ อดคลอ้ งกับความต้องการ เงื่อนไขชวี ิต และสภาพสังคม
ของหญิงทท่ี ้องไมพ่ รอ้ ม
ท้ายนี้ ผมขอขอบคณุ คณะผู้จัดท�ำคู่มอื ฯ เปน็ อยา่ งสงู ทม่ี สี ว่ นส�ำคัญในการชว่ ยให้ผ้หู ญงิ ที่
มีความทกุ ข์จากการทอ้ งไม่พรอ้ ม ไม่ต้องโดดเดี่ยว เผชิญปญั หาชวี ติ ตามลำ� พงั ภายใตแ้ นวทาง
การใหบ้ ริการปรึกษาทางเลือกทป่ี รากฏอยใู่ นคู่มอื เลม่ นี้ พวกเขาจะไดร้ ับการดูแลอย่างอบอุ่นใน
ฐานะเพื่อนมนุษย์ โดยปราศจากอคติใดๆ ไม่ว่าผู้หญิงคนน้ันจะเป็นใคร และเคยมีวิถีชีวิต
ทางเพศมาอย่างไร
มีชยั วรี ะไวทยะ
6 คู่มอื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภ์ไมพ่ ร้อมของศูนยพ์ ึง่ ได้
ค�ำนิยม
ปัญหาของการต้ังครรภท์ ่ไี มไ่ ดว้ างแผนหรือเมอ่ื ยงั ไม่พร้อม เปน็ ปัญหาทใ่ี นหลายๆ กรณี
ผู้หญิงถูกท้ิงไว้กับปัญหาให้ต่อสู้แต่เพียงล�ำพังอย่างโดดเดี่ยว…อย่างทรมานจิตใจ…อย่าง
มืดมัว…หลายคนหาทางออกไมไ่ ด้ โดยเฉพาะทีเ่ กิดกับวยั รนุ่ และวยั เรยี น
เปน็ ทท่ี ราบกนั ดอี ยวู่ า่ ปญั หาการตงั้ ครรภโ์ ดยไมพ่ รอ้ มมหี ลากหลายมติ ทิ จี่ ะตอ้ งมองใหร้ อบ
สาเหตุของปัญหาน้ัน สืบเนื่องมาจากโครงสร้างทางสังคม จารีต ประเพณีท่ีตีกรอบและสร้าง
มาตรฐานพฤติกรรมทางเพศท่ีเป็นท่ียอมรับได้ไม่เหมือนกันระหว่างหญิงชาย บรรทัดฐานของ
สังคมทส่ี รา้ งเบา้ หลอมความสัมพันธท์ ี่ทำ� ให้ผู้หญิงขาดอ�ำนาจในการต่อรอง วฒั นธรรม คา่ นิยม
ที่เกี่ยวกับสุขภาวะทางเพศท่ีอาจสร้างช่องโหว่ท่ีท�ำให้เกิดความไม่รู้และการเข้าไม่ถึงข้อมูลส�ำคัญ
ส�ำหรับสุขภาพทางเพศ รวมไปถึงการขาดบริการด้านอนามัยเจริญพันธุ์ และการมีทางเลือกที่
จ�ำกัดสำ� หรบั ผู้หญิง
เมอื่ เกดิ ปญั หาขน้ึ ความกลวั เปน็ ความรสู้ กึ เบอ้ื งแรกทเี่ กดิ ขน้ึ ...กลวั ทจ่ี ะไมไ่ ดร้ บั การยอมรบั
วา่ เกดิ ปญั หาขน้ึ แลว้ จากผู้ใกล้ชดิ ผปู้ กครอง กลัวท่จี ะถูกสังคมประณามไมว่ ่าจะตดั สนิ ใจเลอื ก
ทจี่ ะตง้ั ครรภต์ อ่ หรอื ยตุ กิ ารตง้ั ครรภ์ กลวั ทจี่ ะแสวงหาความชว่ ยเหลอื ดว้ ยไมม่ นั่ ใจในความเขา้ ใจ
และความเห็นใจที่จะได้รับจากผู้ให้บริการ...ความกลัวต่างๆ เหล่านี้ ในหลายกรณีส่งผลท�ำให้
ปญั หานน้ั กลายเปน็ ปญั หาทห่ี นกั ขน้ึ ยากขน้ึ แต่ ณ วนั ทผ่ี เู้ ผชญิ ปญั หากา้ วขา้ มความกลวั เหลา่ นน้ั ได้
และแสวงหาความชว่ ยเหลอื ทศั นคตขิ องผใู้ หก้ ารชว่ ยเหลอื ดแู ล และกระบวนการในการใหบ้ รกิ าร
ทล่ี ะเอยี ดออ่ น เป็นเงอื่ นไขท่ีส�ำคญั สดุ
นับเป็นคุณูปการอย่างใหญ่หลวงที่กระทรวงสาธารณสุขได้บูรณาการประเด็นการ
ทอ้ งไมพ่ รอ้ มใหอ้ ยใู่ นกระบวนการใหบ้ รกิ ารของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ และไดส้ รา้ งรปู ธรรมของความพยายาม
ท่ีจะดูแลแก้ไขปัญหาของผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมด้วยการจัดท�ำคู่มือท่ีมีคุณค่ายิ่ง เพราะเป็น
เคร่ืองมอื ส�ำหรับผู้ให้บรกิ ารเพื่อที่จะได้ท�ำงานอยา่ งครอบคลุม ละเอียดอ่อน และ ให้ทางเลอื กแก่
ผู้หญิงท่ีตั้งอยู่บนฐานของความเข้าใจและให้ความส�ำคัญต่อความต้องการของผู้ท่ีท้องไม่พร้อม
อย่างลกึ ซึง้ และรอบด้าน ความสมบรู ณข์ องคู่มอื นี้ สะทอ้ นใหเ้ ห็นถงึ ความมุ่งมนั่ ตัง้ ใจของทมี งาน
กระทรวงสาธารณสขุ ทมี่ ีอย่างเข้มข้นและต่อเนอื่ งในการแกไ้ ขปญั หาท่ีน่าชืน่ ชมยิง่ ซึ่งในบริบท
ของภาครัฐท่ีมขี อ้ จำ� กัดไม่นอ้ ย ความพยายาม ความมุ่งมนั่ ตัง้ ใจเช่นนี้ หาไมไ่ ด้ง่ายนกั
คมู่ อื ฉบบั น้ี นบั เปน็ กา้ วทสี่ ำ� คญั ทชี่ ว่ ยใหท้ างเลอื กของผหู้ ญงิ ทที่ อ้ งไมพ่ รอ้ ม เปน็ ทางเลอื ก
ทม่ี คี วามหมายเต็มความหมายของคำ� ว่า “ทางเลอื ก” อยา่ งแทจ้ รงิ
ดร. เมทินี พงษ์เวช
เลขาธิการสมาคมส่งเสรมิ สถานภาพสตรี
ในพระอุปถัมภ์พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ โสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 7
สารบญั 3
5
ค�ำนำ� 6
ค�ำนิยม นายแพทยณ์ รงค์ สหเมธาพฒั น์ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข 7
ค�ำนิยม คณุ มชี ัย วรี ะไวทยะ นายกสมาคมพัฒนาประชากรและชมุ ชน 11
คำ� นยิ ม ดร.เมทินี พงษ์เวช เลขาธกิ ารสมาคมสง่ เสริมสถานภาพสตรี 13
1. สถานการณท์ อ้ งไมพ่ รอ้ ม และแนวนโยบายทเ่ี กีย่ วขอ้ ง 16
21
1.1 สถานการณ์ท้องไมพ่ รอ้ ม และผลกระทบต่อประเทศไทย 22
1.2 นโยบายของประเทศท่ตี อบสนองตอ่ ปัญหา 22
2. แนวทางการช่วยเหลือผู้หญิงท้องไมพ่ รอ้ ม 25
2.1 หลักการของแนวทางช่วยเหลือ 28
2.1.1 การคัดกรองและน�ำเข้าผู้ประสบปญั หา 28
2.1.2 การปรกึ ษาทางเลือก 30
2.1.3 ทางเลือกคอื การตั้งครรภต์ ่อไป 30
2.1.4 ทางเลือกคือการยุตกิ ารตัง้ ครรภ ์ 32
2.2 ตวั อยา่ งแนวทางการใหบ้ รกิ าร 35
2.2.1 ศนู ยพ์ ่งึ ได้ โรงพยาบาลขอนแก่น 39
2.2.2 ศูนย์พึ่งได้ โรงพยาบาลสวรรคป์ ระชารักษ์ 41
2.2.3 ศูนย์นเรนทรพง่ึ ได้ โรงพยาบาลสมทุ รปราการ 43
2.2.4 ศนู ยพ์ ึ่งได้ โรงพยาบาลศรีสะเกษ
2.2.5 ศูนยพ์ ึง่ ได้ โรงพยาบาลพระนครศรอี ยธุ ยา 45
2.2.6 ศนู ยพ์ ง่ึ ได้ โรงพยาบาลรตั ภูมิ จังหวัดสงขลา 46
3. การให้บริการปรกึ ษาทางเลอื กของศูนย์พึ่งได้ 48
3.1 หลักการของการปรกึ ษาทางเลือก 48
3.2 แนวทางการใหบ้ ริการปรกึ ษาทางเลือกในกรณตี า่ งๆ 48
3.2.1 กังวลวา่ จะตั้งครรภ์ 50
3.2.2 ผปู้ ระสบปญั หาอายุนอ้ ยและทางเลอื กไม่ตรงกบั ผ้ปู กครอง 51
3.2.3 ยงั ไม่ตัดสนิ ใจทางเลอื ก 52
3.2.4 ตอ้ งการยุติการตง้ั ครรภ์ 53
3.2.5 ตอ้ งการตั้งครรภ์ตอ่ ไป
3.2.6 ต้องการยุติการตัง้ ครรภ์ แต่อายคุ รรภเ์ กนิ กว่ายุติได ้
8 คูม่ ือการชว่ ยเหลอื ผ้หู ญงิ ต้งั ครรภไ์ มพ่ ร้อมของศูนย์พ่ึงได้
4. การให้บริการเม่อื ทางเลือกคอื การตง้ั ครรภต์ อ่ 55
4.1 ข้ันตอนและแนวทางการดแู ล 57
4.1.1 การประเมนิ ผใู้ ช้บริการ 57
4.1.2 การดแู ลระหวา่ งการต้งั ครรภ ์ 59
4.1.3 การดูหลงั คลอดและการตัดสินใจทางเลือก 61
4.1.4 การตดิ ตามดูแลชว่ ยเหลอื ต่อเนอื่ ง 66
4.2 ตัวอยา่ งการดูแลผหู้ ญงิ ทอ้ งไม่พร้อม: บา้ นพักฉกุ เฉิน 69
5. การใหบ้ ริการเมอ่ื ทางเลอื กคือการยตุ ิการตง้ั ครรภ ์ 71
5.1 เกณฑ์การยุติการตงั้ ครรภ์และการประเมิน 72
5.2 การปรึกษากอ่ นการยตุ กิ ารตง้ั ครรภ์ 75
5.3 แนวทางการสง่ ต่อบรกิ ารยุตกิ ารต้ังครรภ ์ 77
5.4 การปรึกษาดแู ลหลงั ยตุ ิการต้ังครรภ ์ 80
6. การสร้างความเข้าใจและเครือขา่ ยการท�ำงาน 85
6.1 สร้างความเขา้ ใจเรือ่ งสิทธิในทางเลอื ก 86
6.2 การสรา้ งเครือข่ายสนับสนนุ การทำ� งาน 89
99
บรรณานุกรม 101
ภาคผนวก 102
ภาคผนวกที่ 1 ข้อบังคบั แพทยสภา พ.ศ. 2548 104
ภาคผนวกที่ 2 พระราชบญั ญัตคิ ่าตอบแทนผเู้ สียหาย 105
ภาคผนวกท่ี 3 มาตรการและแนวทางการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี น
ทปี่ ระสบปญั หาการตัง้ ครรภ์ในวัยเรยี น 107
ของส�ำนกั งานคณะกรรมการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 112
ภาคผนวกท่ี 4 ขนั้ ตอนการขอรบั เด็กเป็นบตุ รบุญธรรม
ภาคผนวกที่ 5 เครือขา่ ยส่งต่อชว่ ยเหลอื ดแู ล และใหบ้ รกิ ารตามทางเลอื ก 121
1) บ้านพักเดก็ และครอบครวั จังหวดั 123
2) ส�ำนักงานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์
3) เครอื ข่ายสนับสนนุ ทางเลือกของผ้หู ญงิ ทอ้ งไม่พร้อม
ภาคผนวกท่ี 6 ภาคีเครือขา่ ยแนวรว่ มป้องกันและยตุ ิความรุนแรงต่อเด็กและสตรี
กลมุ่ จงั หวดั ร้อยแกน่ สารสนิ ธุ์
ภาคผนวกท่ี 7 คำ� สง่ั กระทรวงสาธารณสุขท่ี 780/ 2557 เร่อื ง
แต่งตัง้ คณะทำ� งานจัดทำ� คู่มือการช่วยเหลอื ผู้หญงิ ต้ังครรภ์ไมพ่ ร้อม
ของศูนย์พึ่งได้
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 9
สารบญั ตาราง
ตารางที่ 1 จ�ำนวนผใู้ ชบ้ รกิ ารดว้ ยความรนุ แรงทศ่ี นู ยพ์ ง่ึ ไดป้ ีงบประมาณ 2547-2556 12
ตารางท่ี 2 ตวั อยา่ งแบบคดั กรองผ้หู ญงิ ทสี่ งสยั ว่าท้องไม่พร้อมทใี่ ชใ้ นโรงพยาบาลน�ำรอ่ ง 24
ตารางที่ 3 ประเดน็ ปรึกษาและตัวอย่างค�ำถามกรณผี ูใ้ ช้บริการอายุน้อยและทางเลอื ก 49
ไมต่ รงกับผปู้ กครอง
ตารางท่ี 4 ประเด็นปรึกษาและตัวอย่างคำ� ถามกรณที ี่ผใู้ ช้บรกิ ารยังไมต่ ัดสินใจทางเลอื ก 50
ตารางที่ 5 ประเด็นปรึกษาและตวั อย่างคำ� ถามกรณีทีผ่ ใู้ ช้บรกิ ารต้องการยุตกิ ารตง้ั ครรภ ์ 51
ตารางที่ 6 ประเด็นปรกึ ษาและตัวอย่างค�ำถามกรณที ี่ผใู้ ช้บริการต้องการต้ังครรภ์ตอ่ ไป 52
ตารางที่ 7 ประเดน็ ปรกึ ษาและตวั อยา่ งค�ำถามกรณีท่ผี ้ใู ชบ้ ริการต้องการยตุ กิ ารตัง้ ครรภ์ 53
แต่อายุครรภเ์ กนิ กว่ายุตไิ ด้
ตารางท่ี 8 ประเดน็ และรายละเอยี ดในการประเมนิ ทางเลอื กในการเลย้ี งดูทารกทีเ่ กิดมา 63
ตารางท่ี 9 เกณฑ์ทยี่ ตุ กิ ารตง้ั ครรภไ์ ด้ และค�ำอธบิ ายเพมิ่ เตมิ 73
ตารางที่ 10 แนวทางการตอบปัญหาสุขภาพกายและใจ ในการปรกึ ษาก่อนยุตกิ ารตง้ั ครรภ ์ 75
ตารางที่ 11 แนวทางในการสังเกตุ เพอื่ ประเมินความรู้สกึ และให้ข้อมลู กอ่ นยตุ ิการตงั้ ครรภ์ 76
ตารางที่ 12 อาการขา้ งเคียงและอาการที่ตอ้ งมาพบแพทยห์ ลังยุตกิ ารตงั้ ครรภ์ 81
ตารางที่ 13 การคมุ ก�ำเนดิ ดว้ ยวิธีต่างๆ หลังยตุ กิ ารต้ังครรภ์ 82
สารบญั ผงั ภาพ
ผังภาพท่ี 1 ภาพรวมของแนวทางการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาทอ้ งไมพ่ ร้อม 25
ผังภาพท่ี 2 ศนู ยพ์ ึง่ ได้รว่ มกับกลุ่มงานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลขอนแก่น 31
ผังภาพท่ี 3 การใหบ้ ริการของศนู ย์พึง่ ได้ โรงพยาบาลสวรรคป์ ระชารกั ษ ์ 34
ผงั ภาพที่ 4 ศูนย์พ่งึ ได้และคลินกิ ใหค้ �ำปรกึ ษาที่เปน็ มติ รกบั วยั ร่นุ โรงพยาบาลปทุมธาน ี 36
ผงั ภาพท่ี 5 ศนู ยน์ เรนทรพ่งึ ไดแ้ ละคลนิ กิ ที่เป็นมติ รกบั วัยร่นุ โรงพยาบาลสมุทรปราการ 38
ผังภาพท่ี 6 แนวทางการใหบ้ รกิ ารผู้ประสบปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ ม โรงพยาบาลศรีสะเกษ 40
ผงั ภาพที่ 7 ศูนยพ์ ึง่ ได้-อนามัยวยั ใส โรงพยาบาลพระนครศรอี ยุธยา 42
ผงั ภาพที่ 8 ศูนย์พึ่งได้ โรงพยาบาลรัตภูมิ จงั หวัดสงขลา 43
ผังภาพท่ี 9 ทางเลอื กเม่ือท้องไม่พร้อม 47
ผงั ภาพท่ี 10 แนวทางการให้บริการเมื่อทางเลือกคอื ตงั้ ครรภ์ต่อไป 57
ผงั ภาพที่ 11 ข้ันตอนการขอรับเด็กเป็นบุตรบญุ ธรรม 65
ผังภาพที่ 12 การปฏิบตั ิการดแู ลชว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบปัญหาทอ้ งไมพ่ รอ้ มในบา้ นพักฉกุ เฉิน 70
ผังภาพท่ี 13 แนวทางการส่งตอ่ บรกิ ารยตุ กิ ารตง้ั ครรภท์ ี่ปลอดภัย 79
ผังภาพท่ี 14 ตวั อย่างการปฏิบัตกิ ารช่วยเหลอื เดก็ และเยาวชนทตี่ ้ังครรภ์ไมพ่ ร้อม 93
ผังภาพที่ 15 เครือข่ายสนับสนนุ การปฏิบตั งิ านของพนักงานเจ้าหน้าที่ 94
10 คมู่ อื การช่วยเหลือผู้หญงิ ตั้งครรภ์ไม่พร้อมของศูนยพ์ ึง่ ได้
บทที่ 1
สถานการณ์
ทอ้ งไม่พร้อม
และแนวนโยบาย
ทเี่ ก่ียวข้อง
ท้องไมพ่ ร้อม ไมเ่ พยี งแต่เป็นปัญหาในระดับปัจเจกบุคคลเทา่ นนั้
แต่หากการป้ องกันดูแลขาดประสิทธิภาพ
ก็จะส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวติ ของประชากรไทย
ปจั จบุ นั นานาชาตติ า่ งตระหนกั และใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ ประเดน็ ปญั หาการกระทำ� รนุ แรง
ตอ่ ผหู้ ญงิ และเดก็ และจดั ใหเ้ ปน็ ปญั หาสาธารณสขุ และสงั คมทส่ี ำ� คญั ในลำ� ดบั ตน้ ๆ สำ� หรบั
ประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุขก็ได้ขานรับเพื่อตอบสนองต่อการแก้ไขปัญหาดังกล่าว
โดยในปี พ.ศ. 2542 ไดด้ ำ� เนนิ การพฒั นาระบบบรกิ ารเพอ่ื ชว่ ยเหลอื เดก็ และสตรที ถี่ กู กระทำ�
รุนแรง โดยใช้ชือ่ วา่ ศูนย์พึง่ ได้ ประจำ� อยูท่ โ่ี รงพยาบาลในระดบั จังหวดั และระดบั อ�ำเภอ
ทุกแห่ง เป็นศูนย์ให้ความช่วยเหลือแบบครบวงจรแก่เด็กและสตรีท่ีถูกกระท�ำรุนแรง
ทางกายและจิตใจ ตลอดจนการถูกกระท�ำรุนแรงทางเพศรวมถึงการถูกข่มขืน หลังจาก
ศูนย์พึ่งได้ เปิดให้บริการ สถิติจ�ำนวนผู้ใช้บริการในศูนย์พึ่งได้ของโรงพยาบาลในสังกัด
กระทรวงสาธารณสุขพบว่ามีจำ� นวนผูใ้ ช้บริการเพ่มิ ข้ึนทกุ ปี ดังแสดงในตารางตอ่ ไปน้ี
ตารางที่ 1 จ�ำนวนผใู้ ชบ้ ริการด้วยความรนุ แรงท่ีศูนย์พ่งึ ไดป้ ีงบประมาณ 2547-2556
ปงี บประมาณ จ�ำนวน(รผาใู้ ยช)บ้ รกิ าร คดิ(คเฉนล/ว่ยี ันเป)็น
2547 6,951 19 ราย/วนั
2548 11,542 32 ราย/วนั
2549 15,882 43 ราย/วัน
2550 19,067 52 ราย/วนั
2551 26,631 73 ราย/วัน
2552 23,511 64 ราย/วนั
2553 25,767 70 ราย/วนั
2554 62 ราย/วัน
2555 22,565 57 ราย/วัน
2556 20,695 87 ราย/วัน
31,886
ทม่ี าของขอ้ มลู สำ� นกั บรหิ ารการสาธารณสขุ สำ� นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ , 2547-
2556
หากพจิ ารณาสัดสว่ นผ้ถู กู กระท�ำดว้ ยความรุนแรงในภาพรวมในปี 2556 พบว่าเป็นเดก็
60.3% และ สตรี 39.7 % ผลกระทบของปญั หาความรนุ แรง นอกจากเด็กและสตรีจะไดร้ ับ
บาดเจบ็ และพกิ ารทางรา่ งกายแลว้ ทางดา้ นจติ ใจยงั กอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาโรคจติ โรคประสาท ความ
วิตกกังวล ซึมเศรา้ รวมทัง้ ปัญหาการตดิ เชื้อโรคติดต่อทางเพศสมั พันธ์ การตดิ เชอื้ เอชไอวี/
เอดส์ และปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม เป็นต้น ซ่ึงหากปัญหารุนแรงมากจนสภาพจิตใจ
ไม่สามารถรบั ได้ จะท�ำใหผ้ ้ปู ระสบปัญหาเกิดความเครียดอย่างรนุ แรง มภี าวะซึมเศรา้ และ
อาจน�ำไปสกู่ ารฆ่าตวั ตายได้
12 คู่มือการช่วยเหลือผ้หู ญงิ ต้ังครรภ์ไม่พร้อมของศนู ย์พึ่งได้
จากการทศี่ นู ยพ์ ง่ึ ได้ เปน็ ศนู ยใ์ หค้ วามชว่ ยเหลอื แบบครบวงจรใหแ้ กเ่ ดก็ และสตรที ถ่ี กู กระทำ�
รนุ แรงทางกาย จิตใจ และสังคม ซงึ่ เกือบครึง่ เป็นความรนุ แรงทางเพศและขม่ ขนื ผลท่ีตามมาคอื
ท�ำใหเ้ กดิ การตง้ั ครรภ์ที่ไมพ่ ึงประสงค์ ตงั้ แตป่ ี 2552 เป็นต้นมา ส�ำนกั บรหิ ารการสาธารณสุข
สำ� นักปลัดกระทรวงสาธารณสุขจงึ ไดร้ ่วมกับหน่วยงานต่างๆ พัฒนาให้เกดิ การบรู ณาการปัญหา
ท้องไม่พร้อม ซึ่งเป็นความรุนแรงทางสังคม เข้ามาในงานของศูนย์พึ่งได้ ต่อมาเมื่อปัญหา
ท้องไม่พรอ้ มได้ถูกก�ำหนดให้เปน็ วาระประเทศและมยี ทุ ธศาสตรร์ องรบั ในปี 2554 และติดตาม
มาด้วยนโยบายศูนย์ช่วยเหลือสังคมในปี 2556 กระทรวงสาธารณสุขได้รับมอบหมายให้เป็น
เจ้าภาพหลักในการดูแลประเด็นท้องไม่พร้อมในวัยรุ่น และได้ใช้แนวทางการบูรณาการปัญหา
ท้องไม่พร้อมกับศูนย์พึ่งได้ดังกล่าว เป็นแนวทางในการให้ความช่วยเหลือท่ีศูนย์พึ่งได้ของ
โรงพยาบาลในสงั กดั กระทรวงสาธารณสุขท้ังประเทศ
1.1 สถานการณท์ อ้ งไม่พรอ้ ม และผลกระทบตอ่ ประเทศไทย
1) สถานการณ์ทอ้ งไมพ่ ร้อม
ผคู้ นในสงั คมไทยยงั ขาดความเขา้ ใจทถี่ กู ตอ้ งในเรอ่ื งเพศศกึ ษาและอนามยั เจรญิ พนั ธ์ุ อกี ทงั้
หญงิ ชายจำ� นวนมาก โดยเฉพาะวยั รนุ่ ยงั เข้าไม่ถึงบรกิ ารคมุ ก�ำเนดิ ที่มีประสิทธิภาพ การขาด
ความเขา้ ใจและตระหนกั ตอ่ ความสำ� คญั ของอนามยั เจรญิ พนั ธข์ุ องตนเอง ทำ� ใหเ้ พกิ เฉย ไมค่ มุ กำ� เนดิ
หรือใช้อย่างผิดพลาด ประกอบกบั การทีผ่ ูห้ ญิงมักขาดอำ� นาจตอ่ รองในเรื่องเพศในด้านตา่ งๆ ซง่ึ
รวมทัง้ การมีเพศสัมพันธ์และเลอื กวธิ ีการคมุ กำ� เนิด การทีผ่ หู้ ญงิ จำ� นวนหนึง่ ประสบความรนุ แรง
ในครอบครัว และสังคม รวมท้ังการท่ีสังคมขาดความตระหนักถึงสิทธิของผู้หญิง ทำ� ให้ผู้หญิง
จ�ำนวนมากถกู กระทำ� รนุ แรงทางเพศในรปู แบบของการล่วงละเมดิ ทางเพศ ลอ่ ลวงมีเพศสัมพันธ์
และการข่มขืน สิ่งเหล่าน้ีเป็นปัจจัยส�ำคัญท่ีท�ำให้ผู้หญิงจ�ำนวนมากในประเทศไทย โดยเฉพาะ
วยั รนุ่ ต้องเผชญิ กับปญั หาการตั้งครรภ์ไมพ่ รอ้ ม
ในประเทศไทย อายเุ ฉลยี่ เมอื่ มเี พศสมั พนั ธค์ รง้ั แรกของวยั รนุ่ ลดลงจาก 18-19 ปี ในปี 2539
เปน็ 15-16 ปี ในปี 25521 จากรายงานของสำ� นกั ระบาดวทิ ยาในปี 2555 พบวา่ จำ� นวนวยั รนุ่ ไทยที่
มปี ระสบการณก์ ารมเี พศสมั พนั ธเ์ พม่ิ ขนึ้ อยา่ งชดั เจน การสำ� รวจในกลมุ่ นกั เรยี นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2
พบว่า นักเรยี นชายเคยมีเพศสมั พันธเ์ พ่มิ ขน้ึ จากร้อยละ 3.6 ในปี 2547 เปน็ รอ้ ยละ 5.3 ในปี
2555 ในขณะทก่ี ลุม่ ผ้หู ญิงเพ่ิมข้ึนจากรอ้ ยละ 1.1 เปน็ ร้อยละ 5.1 ในช่วงเวลาเดยี วกัน ส�ำหรับ
วยั รุ่นทีอ่ ายมุ ากขนึ้ คือในกลุ่มนกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 และกลมุ่ อาชีวศกึ ษาปที ่ี 2 พบวา่
รอ้ ยละของการมเี พศสัมพนั ธ์เพม่ิ ข้ึนอยา่ งมากทัง้ หญงิ และชาย โดยเฉพาะในกลุม่ นักเรียนหญงิ 2
1 กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข, 2555
2 บญุ ฤทธิ์ สขุ รัตน์, 2557
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 13
ส�ำหรับการคุมก�ำเนิดเม่ือมีเพศสัมพันธ์ จากการส�ำรวจอนามัยการเจริญพันธุ์ในปี 2552
พบว่า ในประชากรอายุ 15-24 ปี วิธีการคมุ กำ� เนิดท่ีใชก้ ันมากคอื การใช้ถงุ ยางอนามัย (ร้อยละ
71.9) รองลงมาคอื ยาเมด็ คุมก�ำเนิด (รอ้ ยละ 18.9) และ ยาเม็ดคุมกำ� เนดิ ฉุกเฉิน (รอ้ ยละ
4.1) และการนบั วนั ปลอดภัย (ร้อยละ 2.0) โดยมสี ดั สว่ นที่นอ้ ยมากท่ีใช้วธิ กี ารคมุ ก�ำเนิดทมี่ ี
ประสทิ ธภิ าพสูง
ข้อมูลของส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข ปี 2547-2554 และที่
รายงานโดย United Nations Statistic Division พบว่า อัตราการคลอดบุตรจากแม่วัยรนุ่ อายุ
10-19 ปมี แี นวโน้มสูงขึ้น โดยในปี 2547 อตั ราการคลอดตามสถิตสิ าธารณสุข (ตอ่ ประชากร
หญิง 1000 คน) คิดเปน็ 47.3 และเพม่ิ เป็น 53.8 ในปี 2555 และเมอ่ื เปรยี บเทียบอัตราการ
คลอดของผู้หญงิ ในกลมุ่ อายุน้กี บั ประเทศตา่ งๆ ในโลก พบว่าประเทศไทยนนั้ อยู่ในล�ำดับท่ี 107
ของโลก เปน็ อันดบั ที่ 15 ของเอเซีย และ อันดบั ท่ี 6 ในภมู ิภาคตะวนั ออกเฉยี งใต3้
ส�ำหรับมาตรการป้องกนั การต้ังครรภไ์ ม่พร้อมในประเทศไทย โดยเฉพาะการจัดการศึกษา
เร่ืองเพศและการบริการคุมก�ำเนิดยังคงมีความไม่ชัดเจน คือ สถานศึกษาในสังกัดกระทรวง
ศึกษาธิการ ยังมีแนวปฏิบัติท่ีแตกต่างกัน ท้ังในเรื่องการสนับสนุนให้เยาวชนเข้าถึงข้อมูลและ
บรกิ ารการปอ้ งกนั การตงั้ ครรภ์ และการจดั การใหไ้ ดร้ บั การศกึ ษาตอ่ เนอื่ งแมเ้ มอื่ เกดิ การตง้ั ครรภ์
ขณะอยู่ในวยั เรยี น และทส่ี ำ� คญั การจัดหลกั สูตรเพศศกึ ษาในระดบั การศึกษาต่างๆ ทเี่ หมาะสม
มีประสิทธิภาพ และมคี วามตอ่ เนอื่ งในทุกระดับชั้น อยา่ งย่งั ยืน แม้จะมีผลการวิจยั ยืนยนั จาก
การศึกษาของโครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจ4 ทีส่ อดคลอ้ งกับผลการวจิ ัย5 6 จากหลายประเทศ
ท่วั โลกวา่ การมีหลักสูตรเพศศกึ ษาท่ีรอบด้านในระดบั ช้นั เรียนต่างๆ ช่วยลดอตั ราการตั้งครรภ์
ในวัยเรียนและการติดโรคทางเพศสัมพันธ์ได้มากกว่าการไม่จัดหลักสูตรเพศศึกษา อีกท้ังสังคม
ไทยยังขาดความตระหนักและการสื่อสารที่ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้เข้าใจและทักษะการใช้ชีวิต
ทางเพศอยา่ งรอบดา้ น ประกอบกบั การเขา้ ถงึ สอ่ื ตา่ งๆ อยา่ งงา่ ยดาย โดยเฉพาะสอ่ื ทางอนิ เทอรเ์ นต็
ทสี่ ว่ นใหญก่ ระตนุ้ ใหเ้ กดิ อารมณท์ างเพศมากกวา่ การเรยี นรอู้ ยา่ งถกู ตอ้ งเขา้ ใจ ทำ� ใหว้ ยั รนุ่ มโี อกาส
มเี พศสมั พนั ธม์ ากยงิ่ ขนึ้ นอกจากน้ี การบรกิ ารคมุ กำ� เนดิ ทเ่ี หมาะสมและบรกิ ารทเ่ี ปน็ มติ รสำ� หรบั
วัยรุ่น แม้ว่าจะได้รับความส�ำคัญมากข้ึนตามล�ำดับ แต่ก็ยังให้บริการเพียงบางแห่งเท่านั้น
ไม่ครอบคลมุ และไม่เพียงพอต่อความต้องการ อกี ทั้งคอ่ นข้างเขา้ ถึงยาก ท�ำให้วยั รุ่นจ�ำนวนมาก
หาซอ้ื อปุ กรณค์ มุ กำ� เนดิ เองจากรา้ นยาและรา้ นชำ� สง่ ผลใหไ้ มไ่ ดร้ บั ขอ้ มลู ทร่ี อบดา้ น และมกั เลอื ก
วิธกี ารคุมก�ำเนดิ ทป่ี ระสทิ ธิภาพตำ�่
3 อา้ งแลว้ ใน 2
4 ชะนวนทอง ธนสกุ าญจน์ และคณะ, 2554
5 Alford S et al., 2008.
6 Kirby D., 2007
14 คู่มือการช่วยเหลือผูห้ ญิงตงั้ ครรภ์ไมพ่ ร้อมของศูนยพ์ ึ่งได้
ไมอ่ าจปฏเิ สธไดว้ า่ ปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ มนอกจากจะเกดิ จากเหตแุ หง่ ความรนุ แรงทางเพศแลว้
ยงั เปน็ ผลพวงแหง่ ความรนุ แรงเชงิ โครงสรา้ งระหวา่ งหญงิ ชาย ซงึ่ สง่ ผลตอ่ ความสมั พนั ธเ์ ชงิ อำ� นาจ
ทกี่ อ่ ให้เกิดสังคมทีช่ ายเปน็ ใหญ่ ทำ� ให้วยั รุ่นหญงิ รวมทั้งผู้หญิงในสงั คมไทย ไมส่ ามารถปฏเิ สธ
การมีเพศสมั พนั ธ์ทปี่ ลอดภยั ได้ การเกิดความรนุ แรงในครอบครัว และสมั พนั ธภาพระหวา่ งคทู่ ี่
ไม่ม่ันคง การถูกทอดทิ้งจากฝ่ายชาย การมีปัญหาทางจิตใจ และปัญหาด้านเศรษฐกิจระหว่าง
ต้ังครรภ์ ซึ่งท�ำให้วัยรุ่นหญิงและผู้หญิงท่ีท้องไม่พร้อมต้องตัดสินใจยุติการตั้งครรภ์ หรือหาก
ตง้ั ครรภต์ ่อไป ก็มักประสบความยากลำ� บากในการเล้ียงดเู ดก็ ท่ีเกิดมา
2) ผลกระทบตอ่ ประเทศไทย
ประเทศไทยกำ� ลงั มปี ญั หาการทอ้ งไมพ่ รอ้ มทข่ี ยายตวั รนุ แรงมากขน้ึ มาก ผลกระทบจากการ
ต้งั ครรภ์ท่ไี ม่พร้อมท่ีเปน็ ปัญหาสาธารณสขุ ทส่ี �ำคญั คือการทำ� แท้งทีไ่ มป่ ลอดภัย องค์การอนามยั
โลกไดค้ าดประมาณว่าในแตล่ ะปี มผี ูห้ ญงิ จำ� นวน 22 ล้านคนทั่วโลกตดิ เชื้อและเสยี ชีวติ จากการ
ทำ� แทง้ ทไ่ี มป่ ลอดภยั โดยเพม่ิ ขน้ึ จากปี 2546 ทคี่ าดประมาณไว้ 20 ลา้ นคน ในจำ� นวนนเ้ี สยี ชวี ติ
47,000 คน และจำ� นวนถงึ 5 ลา้ นคนตอ้ งพกิ ารจากการทำ� แทง้ ทไี่ มป่ ลอดภยั 7 สำ� หรบั สถานการณ์
การทำ� แท้งในประเทศไทย8 เปน็ การทบทวนเวชระเบียนของโรงพยาบาลรัฐเปน็ หลกั ในปี 2542
ได้ศกึ ษาในโรงพยาบาลของรฐั 787 แห่ง จากผูป้ ว่ ยทเ่ี ขา้ รบั การรกั ษาด้วยภาวะแทรกซ้อนจาก
การทำ� แทง้ 45,990 ราย โดยไดร้ ายงาน induced abortion ratio อย่ทู ี่ 19.5 ต่อ 1,000 การเกดิ
มีชีพ และ Spontaneous abortion ratio อยทู่ ี่ 49.1 ตอ่ 1,000 การเกิดมชี พี แตก่ ม็ ิได้มกี าร
ค�ำนวณอัตราการทำ� แทง้ เองและการทำ� แทง้ ด้วยเหตุผลสำ� คญั คอื ค่าทไี่ ดจ้ ะต�่ำกวา่ ความเปน็ จริง
เน่ืองจากเป็นการศึกษาเฉพาะผู้ป่วยท่ีมีภาวะแทรกซ้อนที่เข้ารักษาในโรงพยาบาลเท่าน้ัน ไม่ใช่
ผทู้ ่ีทำ� แท้งทง้ั หมด ท�ำให้ประเทศไทยไมส่ ามารถรายงานอัตราการทำ� แท้งอยา่ งเปน็ ทางการได้
ทางส�ำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข จึงได้จัดท�ำระบบ
เฝ้าระวงั สถานการณก์ ารแท้งในประเทศ พบวา่ สถานการณใ์ นประเทศไทยมแี นวโน้มดีขึ้น โดย
มกี ารยตุ กิ ารตง้ั ครรภโ์ ดยบคุ ลากรทางการแพทยเ์ พม่ิ ขนึ้ จากรอ้ ยละ 28.7 ในปี 2542 เปน็ รอ้ ยละ
77.6 ในปี 2555 อยา่ งไรก็ตาม การแพรห่ ลายของยายตุ ิการตั้งครรภ์ทางอนิ เทอรเ์ น็ต ทำ� ให้มี
สดั สว่ นของผยู้ ตุ กิ ารตงั้ ครรภด์ ว้ ยตนเองมสี งู ถงึ รอ้ ยละ 20 ในปี 2554 และรอ้ ยละ 14.5 ในปี 2555
และมีประมาณร้อยละ 5 ที่ยังคงใช้วิธีการท่ีไม่ปลอดภัย เช่น การใส่ของแข็งและของเหลว
ทางชอ่ งคลอด หรอื การบบี หน้าทอ้ ง
7 World Health Organization, 2012.
8 อา้ งแลว้ ใน 2
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 15
นอกจากความเสย่ี งตอ่ การเขา้ สกู่ ารยตุ กิ ารตงั้ ครรภท์ ไ่ี มป่ ลอดภยั แลว้ การตงั้ ครรภท์ ไ่ี มพ่ รอ้ ม
โดยเฉพาะในวยั รนุ่ ยงั มโี อกาสเสย่ี งตอ่ ภาวะแทรกซอ้ นในระหวา่ งการตง้ั ครรภส์ งู กวา่ การตงั้ ครรภ์
ท่ัวไป เช่น ภาวะซีดในระหว่างการตั้งครรภ์ การติดเช้ือเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ภาวะตกเลือดหลังคลอด ทารกคลอดก่อนก�ำหนด น้�ำหนักแรกคลอดต่�ำกว่ามาตรฐาน ทารก
มีความผดิ ปกตแิ ตก่ ำ� เนิด ทารกเสยี ชวี ิตหลงั คลอด และภาวะปว่ ยทางจิตของผู้ตั้งครรภ์
นอกจากนี้ ยงั พบปญั หาการทอดทง้ิ ทารกไวท้ โ่ี รงพยาบาล หรอื ทง้ิ ไวก้ บั ผรู้ บั จา้ งเลยี้ ง รวมถงึ ทงิ้
ไวใ้ นท่สี าธารณะ ทำ� ใหเ้ ดก็ ขาดผ้ปู กปอ้ งดูแล ขาดความรักและการเอาใจใสจ่ ากพ่อแม่ผปู้ กครอง
ถกู ทอดทงิ้ และอาจตอ้ งเตบิ โตในสถานสงเคราะหใ์ นทสี่ ดุ องคก์ ารยนู เิ ซฟไดร้ ายงานวา่ ประเทศไทย
มีทารก 1 ใน 10 ทีเ่ กิดจากแม่วัยรุ่นท่ีมีอายุนอ้ ยกว่า 20 ปี โดย 1 ใน 5 จะเกิดจากแมท่ ี่ไม่พรอ้ ม
หรอื ไม่ตง้ั ใจทีจ่ ะตั้งครรภ์ ทั้งน้ี แม่วัยรนุ่ จะใหก้ ำ� เนิดทารกแรกเกดิ น�ำ้ หนกั น้อยเป็น 2.8 เท่าของ
แม่วัยผใู้ หญอ่ ายุ 20-34 ป9ี ทำ� ใหท้ ารกท่ีเกิดจากการตัง้ ครรภไ์ ม่พรอ้ ม ต้องได้รับการดแู ลเป็น
พเิ ศษเพอ่ื ใหม้ ชี วี ติ รอดปลอดภยั และมสี ขุ ภาพแขง็ แรง ทงั้ น้ี ยงั สง่ ผลกระทบทางสงั คม การรายงาน
ของกรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ พบวา่ แมว่ ยั รนุ่ มโี อกาสออกจากโรงเรยี นกลางคนั หรอื เรยี น
ไมจ่ บ เนอื่ งจากการตงั้ ครรภใ์ นขณะทเ่ี รยี นยงั เปน็ เรอ่ื งอบั อาย และนกั เรยี นทตี่ ง้ั ครรภม์ กั ถกู บงั คบั
ทางออ้ มใหอ้ อกจากการเรยี น ทำ� ใหแ้ มว่ ยั รนุ่ มโี อกาสไดร้ บั การศกึ ษาตำ่� กวา่ ทคี่ วรจะเปน็ เสยี โอกาส
ในการศกึ ษาและการทำ� งานทดี่ หี รอื ตกงาน และทำ� ใหเ้ ดก็ ทเี่ กดิ จากภาวะความไมพ่ รอ้ มมคี วามเสย่ี งที่
จะเกี่ยวขอ้ งกับยาเสพตดิ อาชญากรรม และความรุนแรงตา่ งๆ
ประเทศไทยยงั ขาดขอ้ มลู เกย่ี วกบั ผลกระทบจากการตงั้ ครรภใ์ นวยั รนุ่ ในภาพรวมของประเทศ
ทั้งด้านผลกระทบต่อสขุ ภาพ และผลกระทบทางดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คม การศึกษาโดยกองทนุ
เดก็ แหง่ สหประชาชาตกิ ม็ รี ายงานทชี่ ดั เจนวา่ การคลอดบตุ รกอ่ นอายุ 20 ปี ทำ� ใหแ้ มว่ ยั รนุ่ มฐี านะ
ทางเศรษฐกิจและสังคมด้อยกว่าแม่ท่ีคลอดบุตรหลังอายุ 20 ปี ดังน้ัน การดูแลแม่วัยรุ่นท่ี
ท้องไมพ่ ร้อมท่ตี ัดสินใจท้องตอ่ จึงควรตอ้ งได้รบั การสนบั สนุนสง่ิ ช่วยเหลอื ทีจ่ ำ� เป็น และพัฒนา
ศักยภาพให้สามารถดูแลบตุ รได้ เพ่ือใหเ้ ตบิ โตอยา่ งมีคณุ ภาพได้ในระดับหน่ึง ในอันที่จะไมเ่ ปน็
ภาระตอ่ สงั คมในระยะยาว
1.2 นโยบายของประเทศที่ตอบสนองตอ่ ปญั หา
1) นโยบายและยทุ ธศาสตร์การพฒั นาอนามยั เจรญิ พันธแุ์ หง่ ชาติ
ในปี 2553 ส�ำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้จัดท�ำ
ยุทธศาสตร์การพฒั นาอนามัยการเจริญพันธ์ุแห่งชาติ ฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2553-2557 ซง่ึ ชีใ้ หเ้ หน็
การประสบความสำ� เรจ็ ในการวางแผนครอบครวั ประกอบกบั สภาพสงั คมทเ่ี ปลย่ี นไป ไดส้ ง่ ผลให้
อัตราการเกิดของประเทศไทยลดลงเหลือเพียงร้อยละ 1.3 ท�ำให้สังคมไทยต้องเผชิญกับปัญหา
9 องคก์ ารยนู ิเซฟ ประเทศไทย, สบื คน้ เมอื่ 25 พฤษภาคม 2557
16 คมู่ อื การช่วยเหลือผูห้ ญิงตง้ั ครรภ์ไมพ่ รอ้ มของศูนย์พ่ึงได้
เดก็ เกดิ น้อย แต่ด้อยคณุ ภาพ จงึ ม่งุ เปา้ หมายไปท่ีการพัฒนาคุณภาพประชากร เน้นพัฒนาการ
เกดิ ท่ีมีคณุ ภาพท่เี ปน็ ผลมาจากการตง้ั ครรภท์ ่ีผ้หู ญงิ มคี วามพรอ้ มและต้งั ใจ เพ่ือใหผ้ หู้ ญิงไม่ตอ้ ง
เสย่ี งจากภาวะแทรกซอ้ นและตายจากการแทง้ ทไี่ มป่ ลอดภยั ทารกแรกคลอดมนี ำ�้ หนกั สอดคลอ้ ง
กบั เกณฑ์ แข็งแรง ไมม่ ลี ักษณะผดิ ปกติหรือไมต่ ดิ เช้ือแรกคลอด และปราศจากภาวะการขาด
สารอาหาร รวมทงั้ ไดร้ บั การเลยี้ งดใู นครอบครวั ทมี่ คี วามพรอ้ มเพอื่ เตบิ โตเปน็ ประชากรทมี่ คี ณุ ภาพ
ในปี 2557 สำ� นกั อนามยั การเจรญิ พนั ธไ์ุ ดม้ กี ารพฒั นายทุ ธศาสตรฉ์ บบั ท่ี 2 โดยยงั คงสาระสำ� คญั
ในดา้ นการพัฒนาคณุ ภาพประชากรโดยการพฒั นาการเกิดทม่ี ีคณุ ภาพ
2) ยทุ ธศาสตร์ป้องกันและดูแลวัยรุ่นทอ้ งไม่พรอ้ ม
ในปี พ.ศ. 2553 กระทรวงพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ ในฐานะเจ้าภาพหลัก
ในการด�ำเนินงานตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 ได้บูรณาการความร่วมมือกับ
หน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่เก่ียวข้อง จัดตั้งคณะทำ� งานเพ่ือขับเคลื่อนการท�ำงาน และจัดท�ำ
ยุทธศาสตร์เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชนที่ต้ังครรภ์ไม่พร้อม ยุทธศาสตร์ฯ น้ีมี
วัตถุประสงค1์ 0 เพ่ือ 1) เป็นแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชนท่ีต้ังครรภ์
ไม่พร้อมในด้านต่างๆ เพ่ือให้เกิดการบูรณาการความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย และ 2) เป็น
แนวทางในการพัฒนาระบบการช่วยเหลือให้มีรูปแบบเป็นเอกภาพท่ีชัดเจน รวมท้ังการรณรงค์
รว่ มกบั ภาคเี ครอื ขา่ ยใหส้ งั คมเกดิ ความตระหนกั และรว่ มกนั แกไ้ ขปญั หาเดก็ และเยาวชนทตี่ งั้ ครรภ์
ไมพ่ ร้อม
ยทุ ธศาสตร์ฯ น้ี ประกอบไปดว้ ยยุทธศาสตรย์ อ่ ย 6 ดา้ น คือ 1) การป้องกัน 2) การ
ช่วยเหลอื และบำ� บัดฟืน้ ฟู 3) การเสรมิ บทบาทและองคค์ วามรแู้ กก่ ลมุ่ ผู้นำ� ทางความคิดของเด็ก
และเยาวชน 4) การขจัดสิ่งยวั่ ยุและอิทธิพลจากสอ่ื 5) การผลกั ดันนโยบาย และ 6) การสำ� รวจ
ขอ้ มูล การพัฒนาระบบงาน และการติดตามผล โดยยุทธศาสตร์นี้ กระทรวงการพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ ในฐานะกระทรวงเจ้าภาพในงานด้านสังคม ได้รับมอบหมายให้
บูรณาการก�ำหนดวธิ ีการแกไ้ ขปญั หาร่วมกับหนว่ ยงานที่เก่ยี วข้อง ไดแ้ ก1่ 1
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จดั ระบบใหแ้ มว่ ยั เยาวท์ คี่ ลอดบตุ รแลว้ ไดก้ ลบั มาเรยี นตอ่ และพฒั นา
หลักสตู รการสอนวิชาเพศศึกษาให้เหมาะสมกับเด็กแต่ละชว่ งวัย
กระทรวงแรงงาน ช่วยใหแ้ ม่วยั เยาว์ไดร้ ับการอบรมวชิ าชีพและจดั หางานใหท้ ำ� รวมท้ังควร
มกี ารพฒั นาฝมี อื แรงงานใหก้ ลมุ่ แมว่ ยั เยาวเ์ ปน็ แรงงานทมี่ ที กั ษะและแรงงานทมี่ คี ณุ ภาพในอนาคต
กระทรวงสาธารณสุข ให้ความรู้เรื่องสุขภาวะทางเพศ และการจัดบริการให้ค�ำปรึกษา
10 กระทรวงพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย,์ 2553
11 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, สืบคน้ เม่ือ 3 กนั ยายน 2557
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 17
ในรูปแบบตา่ งๆ รวมท้ังการดแู ลระหวา่ งตงั้ ครรภ์และหลังคลอด
กระทรวงวฒั นธรรม ดแู ลในเร่ืองมติ ิทางสงั คมและวัฒนธรรมไทย เพ่อื ใหเ้ ด็กและเยาวชน
มคี วามเป็นไทย รกั นวลสงวนตัว
กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ตรวจสอบเรอื่ งการเผยแพรร่ ปู ภาพ คลปิ
เวป็ ไซต์ ทเี่ กยี่ วกบั เรอื่ งเพศทสี่ อ่ ไปในทางลามกอนาจาร ในสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละสอื่ ประเภทตา่ งๆ
สำ� นกั งานตำ� รวจแหง่ ชาติ ตรวจตราสถานทเี่ สย่ี งสำ� หรบั เดก็ และเยาวชน และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ
การบงั คับใชก้ ฎหมายตา่ งๆ ที่เกย่ี วข้องกบั เด็กและเยาวชน
กระทรวงมหาดไทย ผลกั ดนั ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ทกุ แหง่ ทวั่ ประเทศ รว่ มดำ� เนนิ การ
ตามยุทธศาสตร์ เพื่อลดปัญหาเดก็ และเยาวชนในแตล่ ะพนื้ ที่ ใหไ้ ด้ผลอย่างจริงจัง
มีข้อสังเกต คือ ยุทธศาสตร์น้ียังขาดการบูรณาการร่วมกันระหว่างกระทรวงต่างๆ มุ่ง
กลุ่มเป้าหมายไปที่วัยรุ่นเท่านั้น ท้ังๆ ที่ปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมเกิดข้ึนกับผู้หญิงในทุกช่วง
อายุของวยั เจริญพนั ธุ์ และการปอ้ งกันทีม่ ีประสิทธิภาพควรได้ขยายไปสู่การดแู ลกลุ่มกอ่ นวัยร่นุ
ด้วย สาระส�ำคญั ของยุทธศาสตรฯ์ เน้นท่มี าตรการป้องกันการต้งั ครรภ์ไม่พร้อมทั้งในดา้ นบคุ คล
และสภาพแวดลอ้ ม รวมทงั้ การดแู ลชว่ ยเหลอื และบำ� บดั ฟน้ื ฟทู เี่ นน้ มติ ใิ นดา้ นสงั คมเปน็ หลกั โดย
แนวทางการดูแลในด้านสุขภาพในรายละเอียด ครอบคลุมการให้ความรู้เร่ืองสุขภาวะทางเพศ
การจัดบริการปรึกษา และการดูแลระหว่างการต้ังครรภ์ และหลังคลอด ได้มอบหมายให้เป็น
บทบาทของกระทรวงสาธารณสุข
ในเดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2557 กระทรวงสาธารณสขุ ไดก้ ำ� หนดใหม้ ยี ทุ ธศาสตรถ์ งุ ยางอนามยั
แห่งชาติ 2558 - 2562 โดยมีเป้าหมายเพอื่ ปอ้ งกนั โรคตดิ ต่อทางเพศสัมพนั ธแ์ ละปอ้ งกันการ
ท้องไม่พร้อม ยทุ ธศาสตร์นม้ี แี นวทางการดำ� เนินงาน 5 ขอ้ ไดแ้ ก่ 1) การส่งเสรมิ การยอมรบั
และลดอคติเกย่ี วกบั ถุงยางอนามัยและสารหล่อลน่ื 2) การส่งเสรมิ การเขา้ ถงึ และการใช้ถงุ ยาง
อนามัยและสารหล่อล่นื 3) การพัฒนาระบบรหิ ารจดั การและการควบคมุ คุณภาพถงุ ยางอนามัย
4) การสร้างสิ่งแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการส่งเสริมการใช้ถุงยางอนามัย และ 5) การติดตามและ
ประเมนิ ผลการสง่ เสริมการดำ� เนนิ การใชถ้ งุ ยางอนามัย12
ในส่วนของกระทรวงศึกษาธกิ าร โดยเฉพาะสำ� นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
ซ่ึงเป็นหน่วยงานท่ีมีกลุ่มเป้าหมายเป็นวัยรุ่นจ�ำนวนมาก ก็ได้น�ำแนวทางตามยุทธศาสตร์น้ี
มาพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนเพม่ิ เตมิ กลา่ วคอื จากเดมิ ทเ่ี นน้ การสอนเพศศกึ ษาและทกั ษะ
ชีวิตในโรงเรียน ได้พัฒนาต่อยอดมาเป็นแนวทางป้องกันและแก้ปัญหาการต้ังครรภ์ในวัยเรียน
และมอบหมายให้ศูนย์เฉพาะกิจคุ้มครองและช่วยเหลือเด็กนักเรียน ซ่ึงเป็นหน่วยงานในสังกัด
สำ� นักงานคณะกรรมการศึกษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พฒั นาค่มู ือแนวทางทสี่ อดคล้อง
กบั ยุทธศาสตร์ ดังต่อไปน1ี้ 3 1) มาตรการและแนวทางการดูแลช่วยเหลือนกั เรยี นท่ีประสบปัญหา
12 ASTVผจู้ ัดการออนไลน์ เข้าถงึ เมือ่ 29 กนั ยายน 2557
13 ศูนยเ์ ฉพาะกจิ คุ้มครองและช่วยเหลอื เด็กนักเรียน, 2557
18 คู่มอื การชว่ ยเหลือผู้หญิงตัง้ ครรภ์ไมพ่ รอ้ มของศูนยพ์ ่ึงได้
ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ ม 2) การพฒั นาเพศศึกษาในระบบการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 3) แนวทางการปอั งกัน
และชว่ ยเหลอื ปัญหาทางเพศของเดก็ และวัยรนุ่ และ 4) แนวทางการจัดการศึกษาทางเลือกเพอ่ื
เด็กกา้ วพลาด ทั้งนีเ้ พ่อื เปน็ กรอบแนวทางใหส้ ถานศกึ ษาในสงั กัดส�ำนกั งานคณะกรรมการศึกษา
ขนั้ พ้นื ฐาน ดำ� เนนิ การพฒั นาปรับปรุงการจดั การเรยี นร้เู พศศกึ ษาและพฒั นาคุณภาพระบบการ
ดูแลช่วยเหลือและการคุ้มครองนักเรียนให้มีความเข้มแข็งเหมาะสม และเน้นย้�ำให้สถานศึกษา
บูรณาการภาระงานท่ีเกย่ี วขอ้ งกับระบบดแู ลชว่ ยเหลอื และคุ้มครองเดก็ นกั เรยี นต่อไป
3) นโยบาย OSCC ศูนยช์ ว่ ยเหลอื สังคม
ในปี 2556 ประเทศไทยได้มีนโยบายการจัดระบบบริการแบบบูรณาการเพ่ือช่วยเหลือ
กล่มุ เปา้ หมายผปู้ ระสบปัญหาทางสงั คม ภายใตช้ ่อื OSCC ศนู ยช์ ่วยเหลือสังคม โดยมปี ระเด็น
ปญั หาท่ี ดูแล 4 ประเด็น ได้แก่ 1) การกระทำ� ความรุนแรงตอ่ เดก็ สตรี (รวมถึงผสู้ งู อายุ และ
ผูด้ ้อยโอกาส) 2) ปญั หาท้องไมพ่ ร้อม/คณุ แม่วัยใส 3) การใชแ้ รงงานเด็ก และ 4) การคา้ มนษุ ย์
และไดก้ ำ� หนดหลกั เกณฑก์ ารใหบ้ รกิ ารของ OSCC ศนู ยช์ ว่ ยเหลอื สงั คม วา่ จะตอ้ งมจี ดุ รบั แจง้ เหตุ
ที่เข้าถึงได้ง่าย มีระบบการประสานแจ้งเหตุ การตรวจสอบและคัดแยกระบุปัญหา การส่งต่อ
การตดิ ตามประเมนิ ผล และการเฝ้าระวงั ไม่ใหเ้ กิดเหตุตอ่ ไป มีกระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศ
และการสอ่ื สาร พฒั นาระบบสารสนเทศและข้อมูลในข้นั ตอนการให้บรกิ ารตา่ งๆ และกระทรวง
การพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ยเ์ ปน็ หนว่ ยงานหลกั ในการบรู ณาการกบั หนว่ ยงานตา่ งๆ
ทั้งนี้ ตามนโยบาย OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม กระทรวงสาธารณสุขเป็นหน่วยงานหลัก
รับผิดชอบตอ่ ปญั หาทอ้ งไม่พรอ้ ม
ชอ่ งทางการรบั แจง้ เหตุ 4 ชอ่ งทางไดแ้ ก่ การเดนิ เขา้ มาขอรบั บรกิ ารโดยตรง การใชโ้ ทรศพั ท์
ผ่าน call center หมายเลข 1300 การขอรบั บริการผ่านทางเวบ็ ไซต์ ของศนู ยช์ ่วยเหลอื สังคม
(www.osccthailand.go.th) และการขอรับบริการผ่านทางระบบโทรศัพท์มือถือ (Mobile
Application) ซ่ึงจะรับเรื่องและลงบันทึกข้อมูลพื้นฐาน ลงใน OSCC Application หลังจาก
คดั กรองปญั หาและพบวา่ เปน็ การตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ ม จะประสานสง่ ตอ่ ไปยงั ศนู ยพ์ งึ่ ไดข้ องโรงพยาบาล
เพ่ือซักประวัติ สง่ ประเมินอายคุ รรภ์ และให้การปรกึ ษาทางเลือก โดยการตดั สินใจของผมู้ ารับ
บรกิ ารจะมี 2 กรณี คอื 1) ตง้ั ครรภต์ ่อ และ 2) ยตุ ิการตง้ั ครรภ์ โดยศนู ย์พ่งึ ไดจ้ ะมีบทบาท
ท�ำงานในลักษณะสหวชิ าชีพ เพอ่ื ประสานกับหนว่ ยงานตา่ งๆ ดำ� เนินการช่วยเหลอื ตามทางเลือก
ทสี่ อดคลอ้ งกบั สภาพปญั หาตอ่ ไป ดงั นนั้ จะเหน็ ไดว้ า่ ศนู ยพ์ ง่ึ ไดม้ บี ทบาทโดยตรงในการดำ� เนนิ งาน
ตามแนวนโยบายนีค้ ่อนขา้ งชัดเจน
ในภาพรวมของนโยบายของประเทศไทย แนวทางการป้องกันดูแลท้องไม่พร้อม สามารถ
แบ่งออกเปน็ 3 ระยะหลักๆ โดยในค่มู ือช่วยเหลือผู้หญงิ ตงั้ ครรภ์ไม่พรอ้ มของศูนยพ์ ง่ึ ได้เลม่ น้ี
จะเนน้ แนวทางการดูและในระยะท่ี 2 และ 3
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 19
1) ระยะก่อนเกิดปัญหา: เน้นการเล้ียงดูในครอบครัวและการกล่อมเกลาทางสังคม
รวมทง้ั การจดั การเรียนการสอนเพศศกึ ษาในโรงเรียน เพือ่ เสริมสร้างภูมิคมุ้ กันในการ
ปอ้ งกันทอ้ งไมพ่ รอ้ ม รวมทัง้ บรกิ ารทางด้านการคมุ ก�ำเนิดทีเ่ ป็นมติ รและเข้าถึงไดอ้ ยา่ ง
มีประสิทธภิ าพ
2) ระยะทเี่ กดิ ปญั หา: เปน็ บทบาทตง้ั แตก่ ารรบั แจง้ ปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ ม เชน่ สายดว่ นศนู ย์
ช่วยเหลือสงั คม ฝา่ ยแนะแนวในโรงเรยี น ครอบครวั และชุมชน เปน็ ตน้ เข้าสู่บรกิ าร
ปรกึ ษาทางเลอื กทศี่ นู ยพ์ ง่ึ ไดข้ องโรงพยาบาล หรอื หนว่ ยงานภาคเอกชนตา่ งๆ ทมี่ ภี ารกจิ
ในดา้ นน้ี เพอ่ื ให้ความชว่ ยเหลอื ตา่ งๆ ตามทางเลอื ก ใหไ้ ด้รบั บริการ ดูแลชว่ ยเหลอื ท่ี
ปลอดภัยและมีคุณภาพ
3) ระยะคล่ีคลายปัญหา: ท้ังในกลุ่มที่ตัดสินใจต้ังครรภ์ต่อและยุติการต้ังครรภ์ จะได้รับ
การฟืน้ ฟรู า่ งกาย จิตใจ และสงั คม รวมทั้งการช่วยเหลอื ในกระบวนทางกฎหมายและ
สวัสดิการสังคม ป้องกันการตั้งครรภ์ซ้�ำ และสามารถมีศักยภาพในการด�ำเนินชีวิต
ต่อไปได้อย่างมีคุณภาพ
20 คู่มือการชว่ ยเหลอื ผู้หญงิ ตง้ั ครรภไ์ ม่พร้อมของศนู ย์พ่งึ ได้
บทท่ี 2
แนวทาง
การชว่ ยเหลอื
ผหู้ ญงิ ทอ้ งไม่พร้อม
เม่อื ผู้หญิงเกดิ ตงั้ ทอ้ งขึ้นมาโดยไม่ตัง้ ใจ-ไม่พรอ้ ม ก็มักถูกครอบครวั
คนรอบข้างและสังคมรังเกียจ
หากไม่ให้โอกาสผูห้ ญิงกจ็ ะแย่ แต่ถา้ ใหโ้ อกาส..ให้กำ� ลงั ใจ
เขากจ็ ะดขี ึ้น..และการตัดสินใจก็จะดีข้ึน
การบรู ณาการปรกึ ษาทางเลอื กเพือ่ ช่วยเหลือผหู้ ญิงท้องไมพ่ รอ้ มท่ีศนู ย์พึง่ ได้ ได้มกี าร
พัฒนามาตั้งแต่ปี 2550 เพ่ือศึกษาหารูปแบบการให้บริการที่โรงพยาบาลสมุทรปราการ14
ตอ่ มาในปี 2554 ส�ำนกั บรหิ ารการสาธารณสุข สำ� นักปลดั กระทรวงสาธารณสุข ไดน้ ำ� รปู แบบที่
ได้จากการพัฒนาต้นแบบที่โรงพยาบาลสมุทรปราการน้ี ไปขยายบริการปรึกษาทางเลือกไปยัง
โรงพยาบาลน�ำร่อง 5 จังหวัด ได้แก่ โรงพยาบาลปทุมธานี โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา
โรงพยาบาลสวรรคประชารักษ์ (จังหวัดนครสวรรค์) โรงพยาบาลขอนแก่น และโรงพยาบาล
ศรีสะเกษ รูปแบบการด�ำเนินงานที่มีการด�ำเนินงานน�ำร่องน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาระบบ
คัดกรอง รูปแบบการปรกึ ษาทางเลอื ก และระบบการส่งตอ่ ทางสุขภาพและสงั คม เพ่ือช่วยเหลอื
ผู้หญิงที่ประสบปัญหาท้องไม่พร้อมตามความเหมาะสม และตามศักยภาพของสถานพยาบาล
โดยมีศูนย์พ่ึงได้เป็นจุดเชื่อมและบูรณาการการท�ำงานระหว่างหน่วยบริการต่างๆ ภายใน
โรงพยาบาลเข้าด้วยกัน รวมท้ังประสานงานกับหน่วยงานภายนอก เพื่อให้การช่วยเหลือผู้หญิง
ทป่ี ระสบปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ มไดอ้ ยา่ งเปน็ องคร์ วม ทงั้ นพี้ บวา่ บทเรยี นจากการพฒั นาการดำ� เนนิ งาน
พฒั นาทผี่ า่ นมา ไดใ้ ชเ้ ปน็ ตวั อยา่ งใหก้ บั โรงพยาบาลอนื่ ๆ ในการนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื เปน็ แนวทาง
ในการพัฒนาระบบบริการแบบบูรณการเพ่ือช่วยเหลือผู้หญิงท่ีประสบปัญหาท้องไม่พร้อมอย่าง
เปน็ องคร์ วมไดเ้ ป็นอย่างดี โดยทางกระทรวงสาธารณสขุ ได้ใช้แนวทางที่ได้พฒั นานไี้ ปใชใ้ นการ
กำ� หนดแนวปฏบิ ตั เิ พอื่ ชว่ ยเหลอื กลมุ่ วยั รนุ่ และผหู้ ญงิ ทป่ี ระสบปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ ม ภายใตโ้ ครงการ
OSCC ศนู ยช์ ่วยเหลอื สงั คม ในปี 2556
2.1 หลักการของแนวทางชว่ ยเหลือ
แนวทางการช่วยเหลือดูแลผู้หญิงท่ีประสบปัญหาท้องไม่พร้อม โดยใช้แนวทางปรึกษา
ทางเลอื กท่ีศนู ยพ์ ึ่งได้ มีกระบวนการดำ� เนนิ งานตัง้ แต่การคัดกรองผ้ปู ระสบปัญหา ใหก้ ารปรึกษา
ทางเลือก ใหค้ วามชว่ ยเหลือตามทางเลอื ก ไม่ว่าจะเปน็ การตง้ั ครรภต์ อ่ อย่างมคี ณุ ภาพ และการ
ยุติการตั้งครรภ์ที่ปลอดภัย รวมท้ังการติดตามดูแลต่อเนื่องหลังจากรับบริการตามทางเลือก
โดยมรี ายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี
2.1.1 การคดั กรองและน�ำเขา้ ผู้ประสบปัญหา
โดยทั่วไป วัยรุ่นและผู้หญิงท่ีประสบปัญหาท้องไม่พร้อมมักไม่เปิดเผยตนเอง ส่วนใหญ่มี
ความอับอายกับสิ่งทเี่ กดิ ขน้ึ และกลัวการตอ่ ต้านประณามจากคนรอบขา้ งและสงั คม โดยเฉพาะ
วัยรุ่นที่มักจะไม่ปรึกษาผู้ปกครองเนื่องจากกลัวว่าจะท�ำให้ พ่อแม่ ผู้ปกครอง หรือผู้เล้ียงดู
เกิดความรู้สึกผิดหวัง ดังนั้น จึงมักปรึกษาเพ่ือน คู่ของตนเอง หรือหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
ท�ำให้เส่ียงตอ่ การลอ่ ลวงจากการขายยาทำ� แท้งที่ไมป่ ลอดภัย ดังนัน้ การคน้ หาคัดกรองผ้ปู ระสบ
ปัญหาตั้งแตเ่ นิน่ ๆ ในอายุครรภท์ ย่ี ังนอ้ ยๆ หรือตำ่� วา่ 12 สปั ดาห์ จงึ มีความส�ำคญั โดยสามารถ
ทำ� ได้ท้ังในและนอกโรงพยาบาล ดงั ตอ่ ไปน้ี
14 โดยองค์การแพธ และคณะ, 2553
22 คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญิงตัง้ ครรภไ์ ม่พร้อมของศูนย์พึง่ ได้
• คัดกรองภายในโรงพยาบาล จากการพัฒนาการด�ำเนินงาน พบว่าสามารถคัดกรอง
ผปู้ ระสบปญั หาท้องไม่พร้อมได้จากฝ่ายตา่ งๆ ภายในโรงพยาบาล จากการสงั เกตและ
ประเมนิ โดยผใู้ หบ้ รกิ าร โดยใชแ้ บบคดั กรองผหู้ ญงิ ทเี่ ขา้ ขา่ ยทอ้ งไมพ่ รอ้ ม (ดตู ารางที่ 2)
เน่ืองจากผู้ประสบปัญหามักไม่กล้าบอกปัญหาโดยตรงแก่เจ้าหน้าที่ แผนกต่างๆ
เหล่านีไ้ ด้แก่ ฝากครรภ์ สตู ินรีเวช จิตเวช สังคมสงเคราะห์ และคลินิกวัยร่นุ เปน็ ตน้
รวมท้ังแผนกประชาสัมพันธ์ ผู้ป่วยนอกต่างๆ และแผนกอุบัติเหตุฉุกเฉิน ที่เป็น
ด่านหนา้ ในการรบั ผู้ปว่ ยทวั่ ไปของโรงพยาบาลด้วย
ความไม่พร้อมของการตงั้ ครรภ์ อาจเกิดหลังจากทผี่ ูป้ ระสบปัญหาท้องไม่พรอ้ มไดผ้ ่าน
การคลอดบตุ รแล้ว โดยอาจตอ้ งการความช่วยเหลือในการเล้ียงดูบตุ รท่เี กดิ มา หรือมี
แนวโน้มในการทิ้งเด็กได้ รวมทั้ง มีผู้ใช้บริการจ�ำนวนหนึ่งท่ีมารับบริการติดเช้ือใน
กระแสเลอื ดทห่ี อผปู้ ว่ ยนรเี วช อนั เกดิ จากการแทง้ ทไี่ มป่ ลอดภยั จากการยตุ กิ ารตง้ั ครรภ์
ท่ไี ม่สำ� เร็จ โดยทต่ี วั ออ่ นในครรภย์ งั มีชีวติ รอดอยู่ หรือ หากพบว่าไมร่ อด ผู้ป่วยแท้ง
ไม่ปลอดภัย กย็ งั ตอ้ งไดร้ บั บรกิ ารปรึกษาและคมุ กำ� เนดิ ที่มีประสทิ ธภิ าพ เพอ่ื ป้องกัน
การทอ้ งไม่พรอ้ มในอนาคต
• คดั กรองภายนอกโรงพยาบาล ผปู้ ระสบปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ ม อาจไดร้ บั การสง่ ตอ่ มาจาก
สายดว่ น 1300 ศนู ยช์ ว่ ยเหลอื สงั คม หรอื จากหนว่ ยงานอนื่ ๆ ทเ่ี ปน็ เครอื ขา่ ยการทำ� งาน
ร่วมกับทางโรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล สถานศึกษาต่างๆ ได้แก่
โรงเรียนประถมขยายโอกาส โรงเรียนมัธยม โรงเรียนอาชีวศึกษา บ้านพักเด็กและ
ครอบครวั ประจำ� จงั หวดั สำ� นกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั เปน็ ตน้
การเขา้ สูร่ ะบบบรกิ าร อาจมาจากสายดว่ นสุขภาพทมี่ อี ยขู่ องโรงพยาบาลเอง หรอื จาก
สายการแพทย์ฉุกเฉินศูนย์นเรนทรท่ีมีการประสานงานให้ความช่วยเหลือตามนโยบาย
ของแตล่ ะโรงพยาบาล หรอื จากการทำ� งานเชงิ รกุ ในดา้ นสขุ ภาพตา่ งๆ ของฝา่ ยเวชกรรม
สงั คม เป็นต้น
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 23
ตารางท่ี 2 ตัวอยา่ งแบบคดั กรองผู้หญิงท่ีสงสยั ว่าทอ้ งไม่พร้อมที่ใชใ้ นโรงพยาบาลนำ� รอ่ ง
รายการประเมิน ใช่ ไม่ใช่
สขุ ภาพ 1. พิการ ทุพลภาพ มีโรค/อาการทางจติ
ของผู้หญิงที่มา 2. ติดเชื้อ เอชไอว ี
ฝากท้องเป็น 3. การต้งั ครรภ์ส่งผลตอ่ สขุ ภาพของผูห้ ญิง
ดังตอ่ ไปน้ี 4. การตง้ั ครรภส์ ่งผลตอ่ สุขภาพของตัวอ่อนในท้อง
5. ตั้งครรภ์เมื่ออายุน้อยกว่า 15 ปี หรือเกิน 40 ปี
โดยไม่ตงั้ ใจ
6. มกี ารยตุ กิ ารต้ังครรภด์ ว้ ยวิธใี ดวธิ ีหนึง่ แตล่ ้มเหลว
ครอบครัวของ 7. มปี ระวัตหิ รือมีความรนุ แรงในครอบครวั เกิดขึ้น
ผหู้ ญงิ เปน็ ดงั ตอ่ 8. สัมพันธภาพของคู่สมรสไม่ดี มีโอกาสแยกทางกับ
ไปนี้ คู่สมรส
9. ปจั จุบนั แยกทางกบั คู่
10. เปน็ การตง้ั ครรภ์นอกสมรส
11. มปี ญั หาเศรษฐกจิ ไมม่ คี วามสามารถเลย้ี งลกู ไมม่ งี านทำ�
12. ไม่สามารถเลย้ี งลกู ทีเ่ กดิ ขึ้นได้ ไม่มญี าติพ่ีนอ้ งรองรบั
สภาพทางสงั คม 13. เปน็ การตง้ั ครรภจ์ ากการถกู ขม่ ขนื ลอ่ ลวง บงั คบั ขม่ ขู่
ของผู้หญิงเป็น 14. ตัง้ ครรภ์โดยไม่ได้ตง้ั ใจและไม่ไดค้ มุ ก�ำเนิด (แตไ่ มใ่ ช่
ดงั ตอ่ ไปน้ี การขม่ ขนื )
15. ฝ่ายชายไม่รบั ผิดชอบการตั้งครรภ์ ถกู ทอดท้ิง
16. ต้องการศึกษาต่อ ไมต่ อ้ งการลาออก
17. ต้องการท�ำงานต่อ ไม่อยากตกงาน
18. ไมส่ ามารถเปดิ เผยการตงั้ ครรภต์ อ่ สงั คม หรอื ครอบครวั ได้
19. มีอาชีพใหบ้ ริการทางเพศและคมุ กำ� เนิดผิดพลาด
ความลม้ เหลว 20. คุมก�ำเนดิ ลม้ เหลว (ระบุวธิ ีทใี่ ช้ กนิ ยาคมุ ฯ ยาฉดี ฯ
ของการ ใสห่ ว่ งฯ ยาฝงั ฯ ถงุ ยางอนามยั ยาคมุ ฉกุ เฉนิ หมนั หญงิ
คมุ ก�ำเนดิ หมันชาย หรืออนื่ ๆ
ถ้าพบว่ามขี ้อใดขอ้ หน่ึง อาจเข้าขา่ ยการตงั้ ครรภไ์ ม่พร้อม ให้ซักถามผูม้ ารับบริการดงั นี้
• การต้งั ครรภน์ ี้เปน็ “การตงั้ ครรภ์ทไ่ี ม่พรอ้ ม” ใช่หรือไม่ ?
ไมใ่ ช่ ให้รบั บรกิ ารตามปกติ
ใช่ ใหส้ ่งเข้ารบั บรกิ ารทางเลือก ก่อนใหบ้ ริการตามปกติ
24 คู่มอื การชว่ ยเหลือผู้หญิงต้ังครรภไ์ ม่พรอ้ มของศูนย์พ่ึงได้
2.1.2 การปรึกษาทางเลือก
การปรกึ ษาทางเลอื ก เปน็ รปู แบบการปรกึ ษาเพอื่ มงุ่ หวงั ทจ่ี ะเสรมิ พลงั ใหก้ บั ผหู้ ญงิ ทป่ี ระสบ
ปัญหาท้องไม่พร้อมสามารถเผชิญกับปัญหาและตัดสินใจเลือกท่ีสอดคล้องกับเง่ือนไขชีวิต และ
ศกั ยภาพของตนเอง ภายใตข้ อ้ มลู ทางเลอื กทถี่ กู ตอ้ งและรอบดา้ น ในขนั้ ตอนการปรกึ ษาทางเลอื ก
น้จี ะเกิดขนึ้ ทศ่ี ูนยพ์ ่ึงได้ โดยมีบุคลากรคอื นกั สงั คมสงเคราะห์ พยาบาล พยาบาลจิตเวช หรอื
บคุ ลากรอืน่ ๆ ที่ได้รับการอบรมพัฒนาทกั ษะการให้การปรกึ ษาทางเลอื กเป็นผูใ้ ห้บรกิ าร
ข้อมูลท่ีต้องทราบประกอบการตัดสินใจทางเลือกคือ การตรวจอายุครรภ์ เพราะมีผลต่อ
ทางเลือกยุติการต้ังครรภ์ ท่ีไม่สามารถทำ� ไดใ้ นอายุครรภ์ทีม่ ากกวา่ 22-24 สปั ดาห์ เนือ่ งจาก
ถือว่าเป็นการคลอดก่อนก�ำหนด การประเมินอายุครรภ์ จึงควรส่งตรวจและทราบผลภายใน
วันเดียวกัน เพื่อน�ำข้อมูลมาใช้ประกอบการปรึกษาทางเลือก การนัดหมายฟังผลอายุครรภ์
ในวันต่อๆ มาเพื่อปรึกษาทางเลือกอีกครั้ง อาจท�ำให้เกิดการไม่มาตามนัดหมายได้ ข้อมูลอีก
ดา้ นหนง่ึ ทส่ี ำ� คญั คอื การประเมนิ สภาพจติ ใจและศกั ยภาพในการตดั สนิ ใจ เพอ่ื ใหก้ ารชว่ ยเหลอื ฟน้ื ฟู
ร่วมกับการดูแลทางกาย ทั้งน้ี ควรพิจารณาความซับซ้อนของปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
ประกอบด้วย ซึ่งอาจสบื เนื่องมาจากปัญหาความรุนแรงในครอบครัว การถูกลว่ งละเมิดทางเพศ
การถูกทอดทง้ิ รวมท้งั ปัญหาทางเศรษฐกจิ และสงั คม เปน็ ตน้ เพื่อหาแนวทางการชว่ ยเหลอื อื่นๆ
ประกอบไปด้วย (ดรู ายละเอยี ดและวิธกี ารใหบ้ ริการปรกึ ษาทางเลอื กในบทท่ี 3)
ผงั ภาพที่ 1 ภาพรวมของแนวทางการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาท้องไม่พรอ้ ม 25
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้
จากผังภาพขา้ งต้น หลังการใหบ้ รกิ ารปรึกษาทางเลือก ผู้ใช้บริการจ�ำนวนหนึง่ จะสามารถ
ตดั สนิ ใจทางเลอื กไดจ้ ากการปรกึ ษาในครงั้ แรก แตบ่ างรายอาจยงั ไมต่ ดั สนิ ใจ หรอื ตดั สนิ ใจไมไ่ ด้
เนื่องจากสาเหตุต่างๆ เช่น ต้องการกลับไปคิดให้รอบด้านจากข้อมูลที่ได้ ต้องการปรึกษา
คนใกล้ชิดหรือคนในครอบครัวก่อน ผู้ประสบปัญหาท้องไม่พร้อมท่ีอายุต�่ำกว่า 18 ปีต้องมี
ผ้ปู กครองมารว่ มในการตดั สนิ ใจดว้ ย เป็นตน้ จึงควรมกี ารนัดหมายใหก้ ลับมารบั บริการปรึกษา
อีกครั้ง ข้อควรระวังคือ ผ้ใู ชบ้ ริการอาจไมม่ าตามนัดได้ โดยเฉพาะหากรู้สกึ วา่ ผู้ใหบ้ รกิ ารปรกึ ษา
พยายามหว่านล้อมให้ตนเองเลือกแนวทางที่ไม่สอดคล้องกับความต้องการ หรือ เสนอในสิ่งที่
ตนเองไม่สามารถทำ� ได้ โดยเฉพาะในเด็กอายุตำ่� กวา่ 18 ปี ที่ไมส่ ามารถน�ำผู้ปกครองมารว่ ม
ปรกึ ษาดว้ ย การสร้างสมั พนั ธภาพท่ดี แี ละไว้วางใจจงึ เปน็ สงิ่ ส�ำคัญต้งั แต่การปรกึ ษาครงั้ แรก และ
ควรยำ�้ เตอื นใหผ้ ใู้ ชบ้ รกิ ารเกดิ ความสบายใจวา่ กระบวนการปรกึ ษาและการใหบ้ รกิ ารการตงั้ ครรภ์
ไม่พร้อมน้ันเป็นความลับ
ในกรณที ผ่ี ปู้ ระสบปญั หาเปน็ นกั เรยี น ควรแสวงหาความรว่ มมอื กบั สถานศกึ ษาเพอ่ื คมุ้ ครอง
สทิ ธใิ หไ้ ดร้ บั โอกาสในการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง ไมว่ า่ ทางเลอื กจะเปน็ การตงั้ ครรภต์ อ่ ไป หรอื การยตุ กิ าร
ตง้ั ครรภ์ ทงั้ นี้ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดอ้ อกมาตรการดแู ลใหค้ วามชว่ ยเหลอื และคมุ้ ครองนกั เรยี น
ทต่ี ง้ั ครรภใ์ นวยั เรยี น ซงึ่ ทางศนู ยพ์ งึ่ ไดค้ วรไดศ้ กึ ษาเพอ่ื ประสานความรว่ มมอื ตอ่ ไป (ดรู ายละเอยี ด
ในภาคผนวกท่ี 2)
ระหว่างการปรึกษาทางเลือก ควรมีการประเมินโรคซึมเศร้าและการฆ่าตัวตายด้วย เพ่ือ
ประเมินความรุนแรงของปัญหาทางจิต และหาทางดูแลช่วยเหลือได้ต่อไป โดยใช้แบบคัดกรอง
โรคซึมเศร้า ท่ีใชใ้ นศูนย์พ่ึงได้ในกรณีความรนุ แรงได้ ดังตอ่ ไปน้ี
26 คูม่ อื การชว่ ยเหลือผู้หญิงตงั้ ครรภไ์ ม่พรอ้ มของศูนย์พึ่งได้
แบบคัดกรองโรคซึมเศร้า
วันท.ี่ .....................
ชอ่ื -สกุล ............................................................................................................. อายุ .............................ปี
HN ………....................................................................…....……….........………………...........…………….
เลขทบ่ี ตั รประชาชน .....................................................................................................................................
แบบคัดกรองโรคซมึ เศร้าด้วย 2 ค�ำถาม (9Q)
ค�ำถาม ไมใ่ ช่ ใช่
1
1. ใน 2 สัปดาห์ทผ่ี ่านมา รวมวนั นี้ ทา่ นรสู้ ึก หดหู่ เศร้า หรือท้อแท้สิน้ หวงั หรอื ไม่ 0 1
2. ใน 2 สัปดาหท์ ผี่ า่ นมา รวมวันนี้ท่านรสู้ กึ เบอื่ ทำ� อะไรก็ไม่เพลดิ เพลนิ หรือไม่ 0 เปน็
ทกุ วัน
แบบคดั กรองโรคซมึ เศรา้ ด้วย 9 คำ� ถาม ( 9Q )
ในชว่ ง 2 สัปดาหท์ ่ผี า่ นมารวมท้งั วันนี้ ไม่มีเลย เปน็ บางวนั เป็นบ่อย 3
ทา่ นมอี าการเหลา่ นี้ บ่อยแคไ่ หน 1-7 วนั > 7 วนั 3
1. เบอ่ื ไม่สนใจอยากทำ� อะไร 01 2 3
2. ไม่สบายใจ ซึมเศร้า ท้อแท้ 01 2 3
3. หลับยากหรือหลบั ๆ ต่ืนๆ หรือหลับมากไป 01 2 3
4. เหนอ่ื ยงา่ ยหรอื ไม่คอ่ ยมีแรง 01 2 3
5. เบืออาหารหรือกนิ มากเกนิ ไป 01 2 3
6. รสู้ ึกไมด่ ีกบั ตวั เอง คดิ ว่าตัวเองล้มเหลวหรือครอบครัวผดิ หวัง 01 2 3
7. สมาธไิ ม่ดี เวลาท�ำอะไร เช่น ดโู ทรทศั น์ ฟงั วิทยุ หรือทำ� งานทีต่ ้อง 0 1 2 3
ใชค้ วามต้งั ใจ
8. พดู ชา้ ทำ� อะไรช้าลงจนคนอนื่ สังเกตเหน็ ได้ หรือกระสบั กระสา่ ยไม่ 0 1 2
สามารถอยนู่ งิ่ ไดเ้ หมือนที่เคยเป็น
9. คดิ ท�ำร้ายตนเอง หรอื คดิ ว่าถา้ ตายไปคงจะดี 01 2
หมายเหตุ คะแนน 9Q > 7 ให้ประเมินการฆ่าตวั ตาย และส่งพบแพทย์ รวมคะแนน
แบบประเมินการฆา่ ตัวตายดว้ ย 8 ค�ำถาม (8Q)
คำ� ถาม ไม่ใช่ ใช่
1. ในเดอื นทผี่ า่ นมารวมทง้ั วนั นีค้ ดิ อยากตายหรอื คดิ ว่าตายไปจะดกี ว่า 0 1
2. ตัง้ แต่เดอื นก่อนจนถึงวันนีอ้ ยากทำ� ร้ายตัวเองหรือทำ� ให้ตัวเองบาดเจบ็ 0 2
3. ตงั้ แตเ่ ดอื นกอ่ นจนถงึ วนั นคี้ ดิ เกยี่ วกบั การฆา่ ตวั ตาย (ถา้ ตอบวา่ คดิ เกยี่ วกบั การฆา่ ตวั ตายใหถ้ ามตอ่ ) 0 6
ได้ ไม่ได้
- ท่านสามารถควบคมุ ความอยากฆา่ ตวั ตาย...ทที่ า่ นคดิ อยนู่ ้ันได้หรอื ไม่ หรือ 0 8
- บอกไมไ่ ด้ว่าคงจะไมท่ ำ� ตามความคิดนนั้ ในขณะนี้ 0 8
4. ตั้งแต่เดือนกอ่ นจนถึงวันนี้มีแผนการท่ีจะฆา่ ตวั ตาย 0 9
5. ตั้งแต่เดอื นกอ่ นจนถึงวันนี้ได้เตรียมการทจ่ี ะทำ� ร้ายตวั เองหรือเตรียมการจะฆ่าตวั ตายโดยต้งั ใจว่า
จะให้ตายจรงิ ๆ 0 4
6. ต้ังแตเ่ ดือนกอ่ นจนถงึ วันน้ี ได้ท�ำใหต้ นเองบาดเจบ็ แต่ไม่ตง้ั ใจทีท่ ำ� ให้เสียชีวิต 0 10
7. ต้ังแตเ่ ดอื นกอ่ นจนถึงวันนี้ ไดพ้ ยายามฆา่ ตัวตาย โดยคาดหวงั /ตง้ั ใจทจี่ ะให้ตาย 0 4
8. ตลอดชวี ิตท่ผี ่านมาทา่ นเคยพยายามฆา่ ตัวตาย
รวมคะแนน
*** หมายเหตุ ต้งั แต่ 1 คะแนนขึ้นไป ถือวา่ มแ่ี นวโน้มทจี่ ะฆ่าตวั ตายในปัจจุบนั 27
ควรได้รับการบ�ำบดั รักษาและดูแลตามระดับความรุนแรง ซ่งึ แบง่ ได้ ดงั น้ี
• คะแนน 1 – 8 คะแนน หมายถงึ แนวโน้มทจ่ี ะฆา่ ตวั ตายระดบั น้อย
• คะแนน 9 – 16 คะแนน หมายถึง แนวโนม้ ท่จี ะฆา่ ตัวตายระดบั ปานกลาง
• คะแนน > 17 คะแนน หมายถึง แนวโน้มที่จะฆ่าตวั ตายระดับรุนแรง
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้
2.1.3 ทางเลอื กคือการต้งั ครรภ์ตอ่ ไป
ในกรณีที่ทางเลือกคือการตั้งครรภ์ต่อไป สิ่งส�ำคัญท่ีควรตระหนักคือ เพราะความท้อง
ไมพ่ ร้อมของการตงั้ ครรภ์คร้งั น้ี ผูใ้ ช้บริการจงึ ตอ้ งไดร้ บั การดูแลที่ละเอียดออ่ น และอาจต้องการ
ความช่วยเหลือมากกว่าผู้ต้ังครรภ์ท่ีมีความพร้อมทั่วไป ดังนั้น การส่งต่อเพ่ือฝากครรภ์
ศนู ยพ์ ง่ึ ไดท้ ใี่ ห้การปรึกษาฯ จงึ ควรมวี ธิ ีแจ้งในเอกสารประวัติผใู้ ช้บรกิ าร ไปยงั แผนกฝากครรภ์
ของสถานพยาบาลทส่ี ามารถสอื่ สารความเขา้ ใจในกลมุ่ ผใู้ หบ้ รกิ ารน้ี เพอื่ ใหท้ ราบถงึ ความไมพ่ รอ้ ม
และความตอ้ งการดูแลเฉพาะ โดยระมดั ระวงั ในการรักษาความลับของผูใ้ ช้บริการ เน่ืองจากอาจ
ถูกตีตราเพราะความไม่เข้าใจได้ การส่งต่อฝากครรภ์อาจเป็นที่โรงพยาบาลท่ีให้บริการปรึกษา
โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำ� บล หรือสถานบรกิ ารอื่นๆ ตามความประสงคข์ องผู้ใชบ้ รกิ าร
บคุ ลากรของงานฝากครรภ์ รวมทงั้ กลุ่มงานสูตกิ รรม หอผ้ปู ่วยหญิงหลังคลอด และแผนก
กุมารเวชของโรงพยาบาล จึงควรมีทศั นะตอ่ ผู้หญงิ ท่ที ้องไม่พรอ้ มที่ตดั สนิ ใจต้งั ครรภต์ อ่ ในทางท่ี
เข้าใจ ไม่ตัดสินคุณค่า เพราะผู้หญิงท้องไม่พร้อมอาจต้องมาฝากครรภ์เพียงล�ำพัง ต้องการ
แรงจูงใจในการดูแลระหว่างการตั้งครรภ์ นอกจากนี้ อาจต้องดูแลเป็นพิเศษเน่ืองจากส่วนใหญ่
ต้องคลอดบตุ รและเล้ียงดทู ารกแรกเกดิ ตามล�ำพัง ท่ามกลางผหู้ ญงิ แรกคลอดอนื่ ๆ ในหอผ้ปู ่วยที่
มีญาติพ่ีน้องรายล้อม รวมทั้งอาจต้องการการสนับสนุนสงเคราะห์ในด้านค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดข้ึน
ดังนั้น โรงพยาบาลควรเอ้ืออ�ำนวยให้มีแนวทางการดูแล ช่วยเหลือสงเคราะห์หญิงท่ีตั้งครรภ์
ไมพ่ รอ้ มที่ตัดสินใจท้องต่อใหช้ ัดเจน รวมทง้ั แนวทางในการประสานกบั ฝา่ ยเวชกรรมสงั คม หรอื
อ่ืนๆ ให้มตี ิดตามเย่ียมบ้านหลังคลอดโดยทีมสหวิชาชีพ
ในระหว่างต้ังครรภ์ หากพบว่า ผู้ใช้บริการมีความต้องการสถานที่พักพิงระหว่างตั้งครรภ์
ศูนย์พึ่งได้ควรประสานหาบ้านพักรอคลอดที่ด�ำเนินงานโดยภาครัฐหรือเอกชน ที่เหมาะสมและ
สอดคลอ้ งกบั เง่อื นไขของผใู้ ชบ้ ริการ ซง่ึ อาจอยภู่ ายในจงั หวดั หรือจงั หวดั ใกล้เคียงในกรณีทีผ่ ู้ใช้
บรกิ ารต้องการปิดเร่อื งการตงั้ ครรภเ์ ปน็ ความลบั
การดแู ลหลังคลอด นอกจากในด้านสุขภาพกายใจ และพฒั นาการของทารกแล้ว ยังตอ้ ง
ประเมนิ ศกั ยภาพและความตอ้ งการในการเลยี้ งดบู ตุ รในระยะยาวดว้ ย เพอื่ พจิ ารณาวา่ ผใู้ ชบ้ รกิ าร
ตดั สนิ ใจเลอื กแนวทางในการใหเ้ ดก็ ทเ่ี กดิ มาเตบิ โตอยา่ งไร ซง่ึ ทางเลอื กมที ง้ั ในดา้ นการเลย้ี งดบู ตุ ร
ด้วยตนเองโดยท่ีมแี หล่งใหค้ วามช่วยเหลือ หรือ ตดั สินใจยกบตุ รบุญธรรม (ดูรายละเอียดการ
ดูแลในกรณีทางเลอื กคอื การต้งั ครรภต์ ่อไปในบทที่ 4)
2.1.4 ทางเลอื กคือการยตุ ิการต้งั ครรภ์
หลังการปรึกษาทางเลือก หากพบว่าผู้ใช้บริการท่ีต้ังครรภ์ไม่พร้อมไม่สามารถต้ังครรภ์ต่อ
ไปได้ ทางเลือกคือการยุติการต้ังครรภ์ การยุติการตั้งครรภ์ในประเทศไทยสามารถท�ำได้โดยมี
กฎหมายรองรบั ภายใต้เกณฑ์ดงั ต่อไปนี้ คอื ปญั หาสขุ ภาพกายและใจของผหู้ ญงิ ตวั ออ่ นในครรภ์
พิการ การถกู ลอ่ ลวง ล่วงละเมิดทางเพศ และขม่ ขนื ในปี 2548 แพทยสภาได้ออกแนวทางการ
28 คูม่ ือการช่วยเหลือผหู้ ญิงต้ังครรภไ์ มพ่ ร้อมของศนู ยพ์ ่งึ ได้
ให้บริการยุติการตงั้ ครรภ์ โดยมีสาระส�ำคญั คอื การยุตกิ ารตงั้ ครรภต์ อ้ งท�ำโดยผ้ปู ระกอบวิชาชพี
เวชกรรม คลินิกเวชกรรม ตามกฎหมายสามารถให้บริการยุติการตั้งครรภ์ท่ีอายุครรภ์ไม่เกิน
12 สปั ดาห์ สว่ นโรงพยาบาล/สถานพยาบาลทใี่ ห้บรกิ ารรับผู้ปว่ ยคา้ งคนื สามารถใหบ้ ริการตาม
ความเหมาะสม ทง้ั นี้ ในกรณปี ญั หาสขุ ภาพทางจติ จะตอ้ งไดร้ บั การเหน็ ชอบจากผปู้ ระกอบวชิ าชพี
เวชกรรมทม่ี ใิ ช่ผกู้ ระทำ� การยตุ ิการตง้ั ครรภอ์ ีก 1 คน (ดูข้อบงั คบั แพทยสภาในภาคผนวกที่ 1)
การตีความตามเกณฑก์ ารยตุ กิ ารตง้ั ครรภ์ แตกต่างกนั ตามดลุ ยพจิ นจิ ของแพทย์ ทำ� ให้
การจดั การในประเดน็ นี้ อาจมกี ารจดั การด้วยวธิ ีการตา่ งๆ ดังตอ่ ไปนี้
• แพทยใ์ หบ้ รกิ ารยุตกิ ารตง้ั ครรภใ์ นกรณมี ขี อ้ บง่ ชท้ี างการแพทยอ์ ยา่ งชัดเจนทกุ ราย แต่
ในกรณขี อ้ บง่ ชท้ี างสขุ ภาพทางจติ จะตอ้ งไดร้ บั การรบั รองหรอื เหน็ ชอบจากแพทยท์ ม่ี ใิ ช่
ผูย้ ุติการตั้งครรภ์อย่างน้อย 1 คน
• จัดตั้งคณะกรรมการยุตกิ ารต้งั ครรภ์ ประกอบไปด้วยแพทย์ และทมี สหวชิ าชพี เพอื่
พิจารณาการเข้าข่ายตามขอ้ บ่งชี้ตามเกณฑก์ ารยตุ กิ ารตั้งครรภ์
§§ กรณีท่ีเข้าขา่ ย รบั การรกั ษาท่โี รงพยาบาลได้เลย
§§ กรณที ไี่ ม่เขา้ ขา่ ยแตผ่ ้ใู ช้บริการยนื ยันทางเลือก โดยอายคุ รรภส์ ามารถยุตไิ ด้อย่าง
ปลอดภัย ทางศูนย์พึ่งได้จะส่งต่อเข้ารับบริการสถานบริการท่ีปลอดภัยอ่ืนๆ
ตามอายคุ รรภ์
• โรงพยาบาลไม่มีศักยภาพเพียงพอในการให้บริการยุติการตั้งครรภ์ ทางศูนย์พึ่งได้จะ
ส่งตอ่ เข้ารบั บรกิ ารสถานบริการท่ปี ลอดภยั อืน่ ๆ ตามอายุครรภ์
• แพทยไ์ มป่ ระสงคจ์ ะใหบ้ รกิ ารยตุ กิ ารตงั้ ครรภเ์ นอื่ งจากเหตผุ ลสว่ นบคุ คล ทางศนู ยพ์ งึ่ ได้
จะสง่ ต่อเข้ารบั บริการสถานบริการที่ปลอดภยั อน่ื ๆ ตามอายุครรภ์
การส่งต่อยุติการตั้งครรภ์ทุกราย ในกรณีท่ีส่งไปยังสถานพยาบาลในสังกัดของรัฐ
ศนู ยพ์ งึ่ ไดค้ วรจดั ทำ� ใบสง่ ตอ่ คนไขท้ กุ ราย เพอื่ ใหผ้ ใู้ ชบ้ รกิ ารสามารถเบกิ จา่ ยไดต้ ามสทิ ธขิ องตนเอง
โดยในเอกสารสง่ ตอ่ ควรมคี วามเหน็ แพทย์ 1 ทา่ น ทม่ี รี ายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ 1) ความเหน็ ของแพทย์
ท่ีวินิจฉัยเห็นสมควรยุติการตั้งครรภ์ และ 2) เหตุผลท่ีสมควรยุติการต้ังครรภ์ตามข้อบังคับ
แพทยสภา
ในกรณีท่ีส่งไปรับบริการยุติการตั้งครรภ์ทส่ี ถานพยาบาลของเอกชน หรือสถานพยาบาล
ท่ีไมใ่ ชส่ ถานพยาบาลเครือขา่ ยของหลกั ประกนั สุขภาพ และประกนั สงั คม ก็ไมส่ ามารถเบิกจ่าย
ได้ตามสิทธิประกันสุขภาพได้ ดังน้ัน ทางศูนย์พ่ึงได้ควรพิจารณาก�ำลังจ่ายของผู้ใช้บริการ
โดยเฉพาะหากเปน็ กรณที เี่ ขา้ ขา่ ยตามขอ้ บง่ ชตี้ ามเกณฑก์ ารยตุ กิ ารตงั้ ครรภท์ ชี่ ดั เจนแตโ่ รงพยาบาล
ไม่สามารถใหบ้ รกิ ารได้ ทางโรงพยาบาลควรพจิ ารณาให้ความชว่ ยเหลอื สงเคราะหค์ ่าบริการและ
คา่ ใชจ้ า่ ยอืน่ ๆ ตามความเปน็ จริง
หลงั การยตุ กิ ารตงั้ ครรภ์ ควรมกี ารนดั หมายเพอ่ื ตดิ ตามประเมนิ ความรสู้ กึ ชว่ ยผใู้ ชบ้ รกิ าร
คล่ีคลายข้อสงสยั และความกังวล ตดิ ตามผลการรกั ษา อาการข้างเคยี งและการดแู ลตนเอง และ
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 29
เลอื กใชว้ ธิ กี ารคมุ กำ� เนดิ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพและเหมาะสมกบั ตนเองเพอ่ื ปอ้ งกนั ทอ้ งไมพ่ รอ้ มในอนาคต
(ดูรายละเอยี ดทางเลอื กคือการยตุ กิ ารตั้งครรภ์ ในบทที่ 5)
2.2 ตัวอย่างแนวทางการใหบ้ ริการ
การพฒั นาแนวทางใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ทอ้ งไมพ่ รอ้ มทศ่ี นู ยพ์ ง่ึ ไดต้ ามหลกั การดงั ทกี่ ลา่ ว
มาแล้ว พัฒนาแนวทางการให้บริการอย่างเป็นรูปธรรม เร่ิมจากการพัฒนาศักยภาพบุคลากร
ศนู ย์พงึ่ ได้ และบุคลากรท่ีเกี่ยวขอ้ งเพื่อเสริมสรา้ งความเข้าใจในเร่อื งเพศภาวะและโครงสร้างเชิง
อ�ำนาจที่ส่งผลต่อปัญหาท้องไมพร้อม และพัฒนาทักษะการให้บริการปรึกษาทางเลือก เพื่อให้
บุคลากรเหล่านั้นได้มีทัศนคติในทางที่เข้าใจต่อปัญหา และน�ำไปออกแบบพัฒนาระบบให้เกิด
บรกิ ารทต่ี อบสนองได้ โดยไดม้ กี ารนำ� รอ่ งดำ� เนนิ งานไปแลว้ ตงั้ แตป่ ี 2550 ในโรงพยาบาลในระดบั
จังหวัด ศนู ยพ์ ง่ึ ได้จะอยใู่ นความรับผดิ ชอบของกลุม่ งานสวัสดกิ ารสังคม หรอื สงั คมสงเคราะห์
หรอื กลมุ่ งานจติ เวช หรอื เปน็ การทำ� งานรว่ มกนั ทงั้ สองฝา่ ย สว่ นในโรงพยาบาลชมุ ชนทม่ี บี คุ ลากร
ไม่มากนัก ศูนย์พึ่งได้ก็อาจด�ำเนินงานโดยบุคลากรท่ีเก่ียวข้อง เช่น พยาบาลจิตเวช ท�ำงาน
ร่วมกับบุคลากรอน่ื ๆ ในโรงพยาบาล เพอ่ื ใหก้ ารช่วยเหลือเปน็ ไปไดอ้ ยา่ งราบรนื่
การชว่ ยเหลอื วยั รนุ่ และผหู้ ญงิ ทปี่ ระสบปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ ม ศนู ยพ์ ง่ึ ไดก้ อ็ าจมกี ารบรู ณการงาน
กบั แผนก/กลมุ่ งานตา่ งๆ ในโรงพยาบาลทม่ี กี ลมุ่ เปา้ หมายเดยี วกนั หรอื มลี กั ษณะปญั หาใกลเ้ คยี งกนั
เชน่ คลนิ กิ ทเี่ ปน็ มติ รกบั วยั รนุ่ กลมุ่ งานสตู นิ รเี วชกรรม กลมุ่ งานเวชกรรมสงั คม และศนู ยน์ เรนทร
เป็นต้น ในสว่ นนจี้ ึงกล่าวถงึ ตัวอยา่ งแนวทางในการให้ช่วยเหลือผปู้ ระสบปญั หาตั้งครรภไ์ ม่พรอ้ ม
ในโรงพยาบาลท่ีได้ด�ำเนินการพัฒนาไปแล้ว และยังคงให้บริการอยู่อย่างต่อเน่ืองจนถึงปัจจุบัน
ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลขอนแกน่ โรงพยาบาลปทมุ ธานี โรงพยาบาลสมทุ รปราการ โรงพยาบาลสวรรค์
ประชารกั ษ์ โรงพยาบาลศรีสะเกษ และโรงพยาบาลรัตภมู ิ จังหวดั สงขลา เพ่ือใหเ้ หน็ ตัวอย่าง
รปู ธรรมในการจดั แนวทางการใหบ้ รกิ ารเพอื่ ชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ทอ้ งไมพ่ รอ้ มในรปู แบบตา่ งๆ และนำ�
ไปปรับใชไ้ ดต้ อ่ ไป
2.2.1 ศูนยพ์ ึง่ ได้ โรงพยาบาลขอนแกน่
โรงพยาบาลขอนแกน่ ได้จัดต้งั ศูนย์คุ้มครองเด็กและสตรี (ศูนยพ์ ง่ึ ได)้ น�ำรอ่ งแห่งแรกของ
ประเทศไทย ในปี 2542 เพ่อื รองรับนโยบายและมาตรการขจัดความรุนแรงต่อเดก็ และสตรี จาก
การท่ีเล็งเหน็ วา่ การตั้งครรภ์ไม่พรอ้ มเป็นความรนุ แรงดา้ นหน่งึ ในปี 2554 ศนู ย์พง่ึ ได้ ร่วมกบั
กลมุ่ งานสตู นิ รเี วชกรรม โรงพยาบาลขอนแกน่ จดั ระบบบรู ณาการชว่ ยเหลอื เดก็ และสตรที ป่ี ระสบ
ปัญหาความรุนแรงทางเพศและทอ้ งไมพ่ รอ้ มให้สมบรู ณย์ ิ่งขน้ึ โดยไดจ้ ัดตั้งคณะกรรมการและมี
แพทยผ์ เู้ ชยี่ วชาญจากกลมุ่ งานสตู นิ รเี วชกรรมเปน็ ประธาน หวั หนา้ กลมุ่ งานพยาบาลเปน็ รองประธาน
และหวั หน้าฝา่ ยสวัสดิการและสงั คมเป็นเลขานกุ าร
ผ้หู ญงิ ทีป่ ระสบปัญหาทอ้ งไมพ่ ร้อม อาจสง่ ต่อมาจากหนว่ ยงานตา่ งๆ ภายในโรงพยาบาล
หรือ หนว่ ยงานภายนอกโรงพยาบาล ทง้ั หนว่ ยบริการปฐมภมู ิ ชมุ ชน หรือ โรงเรยี น ซงึ่ จะมกี าร
ประเมินคดั กรองปญั หา และส่งต่อมาท่ีศูนย์พึ่งได้ ซงึ่ จะท�ำงานรว่ มกับกล่มุ งานสูตนิ รเี วชกรรม
30 คู่มอื การชว่ ยเหลือผู้หญงิ ตงั้ ครรภไ์ ม่พรอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้
เพื่อใหก้ ารปรึกษาทางเลอื ก ซึ่งผ้ใู ชบ้ รกิ ารบางสว่ น กจ็ ะสง่ ตอ่ มาจากโรงพยาบาลชุมชนในจังหวดั
ขอนแก่น ดงั แสดงในผังภาพท่ี 2
ผังภาพท่ี 2 ศนู ย์พงึ่ ได้รว่ มกบั กลุ่มงานสูตนิ รีเวชกรรม โรงพยาบาลขอนแกน่
หลังจากผู้ใช้บริการได้ทางเลือกท่ีสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการแล้ว หาก
ประสงคจ์ ะยตุ กิ ารตงั้ ครรภ์ ทางโรงพยาบาลขอนแกน่ จะใหบ้ รกิ ารในขอ้ บง่ ชด้ี งั ตอ่ ไปน้ี คอื 1) การ
ต้งั ครรภ์เป็นอนั ตรายต่อมารดา 2) ทารกในครรภผ์ ิดปกต/ิ เสยี ชีวติ หรือ 3) การตัง้ ครรภเ์ กดิ
จากการข่มขืน ในกรณีที่นอกเหนือจากเกณฑ์ที่กล่าวมา ทางศูนย์พ่ึงได้จะส่งต่อไปยังเครือข่าย
บริการทงั้ ภาครฐั และเอกชนในจงั หวดั ขอนแกน่
จุดเด่นของโรงพยาบาลขอนแก่น คือ มี “คลินิกพร้อมรัก” ที่ให้บริการส�ำหรับผู้หญิง
ตง้ั ครรภไ์ ม่พร้อมโดยเฉพาะ เพอื่ ใหไ้ ดร้ บั การดแู ลอยา่ งเปน็ องคร์ วม ทงั้ ในดา้ นกาย ใจ และสงั คม
ดูแลภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ และเสริมสร้างความพร้อมในการดูแลบุตรและเลี้ยงลูกด้วย
นมแม่หลังคลอด รวมท้ังการคุมก�ำเนิดเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมซ้�ำ ตลอดจนป้องกัน
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เสริมสร้างความเชื่อมั่นและทักษะในการด�ำรงชีวิตในครอบครัวและ
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 31
สังคม ดังน้นั ในกรณที ่ที างเลอื กคือการตั้งครรภต์ อ่ ไป หากผ้ใู ช้บรกิ ารมีปญั หาเรือ่ งที่พกั อาศัย
การเรยี น หรอื อน่ื ๆ ทางศนู ยพ์ งึ่ ไดจ้ ะประเมนิ ความตอ้ งการ ใหค้ วามชว่ ยเหลอื และสง่ ตอ่ เครอื ขา่ ยให้
ไดร้ ับบรกิ ารท่สี อดคลอ้ ง การฝากครรภ์นนั้ สามารถเลอื กฝากครรภไ์ ด้ทง้ั โรงพยาบาลขอนแก่นที่
มีบรกิ ารคลนิ กิ พร้อมรัก หรือที่โรงพยาบาลชมุ ชน หรือสถานพยาบาลใกล้บ้านได้ แต่ในกรณีท่ี
พบวา่ การตง้ั ครรภม์ คี วามเสย่ี งตอ่ สขุ ภาพของผหู้ ญงิ หรอื ตวั ออ่ นในครรภ์ กจ็ ะแนะนำ� ใหฝ้ ากครรภ์
ท่คี ลินิกพรอ้ มรกั โรงพยาบาลขอนแกน่
ตง้ั แตข่ น้ั ตอนของการปรกึ ษาทางเลอื ก จนกระทงั่ คลอดบตุ ร หรอื ยตุ กิ ารตงั้ ครรภท์ ป่ี ลอดภยั
ศูนย์พ่ึงได้ จะท�ำหน้าท่ีประสานงานตลอดการให้ความช่วยเหลือ รวมทั้งการติดตามเย่ียมบ้าน
และการช่วยเหลือต่อเนื่องร่วมกับครอบครัว ชุมชน หรือเครือข่ายตามความเหมาะสมในแต่ละ
กรณี โดยมกี ระบวนการดำ� เนนิ งานเปน็ สหวชิ าชพี ทง้ั ในโรงพยาบาล และเครอื ขา่ ยการทำ� งานตา่ งๆ
ในทกุ ระดบั ภายในจังหวัด ครอบคลุมทง้ั ในด้านสถานศกึ ษา ต�ำรวจ พัฒนาสงั คมและความม่นั คง
ของมนษุ ย์ และองค์กรในระดับชุมชน โดยแนวทางน้ี ได้มีการสนับสนุนใหร้ ะดับอ�ำเภอ สามารถ
ดำ� เนินงานในลกั ษณะเครอื ขา่ ยสหวชิ าชีพไดเ้ ชน่ เดียวกบั ในระดับจังหวัด
นอกจากการให้ความชว่ ยเหลือผู้ประสบปัญหารายบุคคลแล้ว โรงพยาบาลขอนแกน่ ยงั เปน็
แกนนำ� หนง่ึ ทสี่ ำ� คญั ในการดำ� เนนิ งานในดา้ นตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในประเดน็ ทอ้ งไมพ่ รอ้ ม ครอบคลมุ
ทั้งในมิติการป้องกัน ดูแล และสวสั ดกิ ารสังคม โดยจัดตง้ั เปน็ ภาคี “เครือขา่ ยแนวร่วมปอ้ งกนั
และยตุ คิ วามรนุ แรงในเดก็ และสตร”ี ซง่ึ มกี ารดำ� เนนิ งานกวา่ 15 ปตี ง้ั แตเ่ ปดิ ใหบ้ รกิ ารศนู ยพ์ งึ่ ได้
ในปี 2542 โดยมภี าคสาธารณสขุ เปน็ ผขู้ บั เคลอื่ นหลกั ของเครอื ขา่ ยฯ และมกี ารประชมุ สมำ่� เสมอ
ทกุ ๆ เดือน ตอ่ เนือ่ งตัง้ แต่เรม่ิ เครอื ขา่ ยฯ จนถึงปัจจบุ นั
การด�ำเนินงานท่ีเข้มแข็งของศูนย์พึ่งได้และกลุ่มงานสูตินรีเวชกรรมมาเป็นเวลาช้านาน
สง่ ผลใหโ้ รงพยาบาลขอนแกน่ ไดร้ บั รางวลั ในระดบั นานาชาติ คอื United Nations Public Service
Awards Winners (First Place) สาขาการสง่ เสรมิ การตอบสนองความเทา่ เทียมในการให้บริการ
สาธารณะ (Promoting gender responsive delivery of public service) ในด้าน One Stop
Crisis Center ในปี 2557
2.2.2 ศูนย์พ่ึงได้ โรงพยาบาลสวรรค์ประชารกั ษ์
ศูนยพ์ ่งึ ได้ โรงพยาบาลสวรรคป์ ระชารักษ์ เปิดให้บริการมาตงั้ แต่ปี 2544 เพื่อช่วยเหลอื
เดก็ และสตรที ถี่ กู กระทำ� รนุ แรง รวมทง้ั ปญั หาความรนุ แรงในครอบครวั ซง่ึ ในขณะนนั้ กไ็ ดใ้ หบ้ รกิ าร
ปรึกษาเด็กและผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อมที่เกิดจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศเพียงอย่างเดียว
จนกระท่ังในปี 2553 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ ได้รับคัดเลือกให้เป็น 1 ใน 5 ของ
โรงพยาบาลน�ำร่องในการพัฒนาบริการปรึกษาทางเลือกกับเด็กผู้หญิงท่ีท้องไม่พร้อม โดย
บรู ณาการเข้ากับงานศนู ยพ์ งึ่ ได้
32 ค่มู ือการชว่ ยเหลอื ผู้หญงิ ตั้งครรภไ์ ม่พรอ้ มของศนู ย์พ่ึงได้
ศนู ยพ์ งึ่ ได้ จงึ ไดม้ กี ารดำ� เนนิ งานโดยการจดั ตงั้ คณะอนกุ รรมการปรกึ ษาทางเลอื กขนึ้ ประกอบ
ดว้ ยกลุ่มงานที่เก่ียวขอ้ ง มกี ารพัฒนาการดำ� เนนิ งานด้านตา่ งๆ เช่น ด้านบุคลากร ได้มกี ารสง่
บคุ ลากรเขา้ รับการอบรมปรกึ ษาทางเลือก ดา้ นระบบบริการ ไดม้ กี ารประชุมคณะอนุกรรมการฯ
เพอื่ กำ� หนดบทบาทและแนวทางในการดำ� เนนิ งาน ขนั้ ตอนการใหบ้ รกิ าร การสง่ ตอ่ เปน็ ตน้ ตงั้ แต่
ปี 2553 เปน็ ตน้ มาจึงไดใ้ ห้บรกิ ารปรกึ ษาทางเลอื กสำ� หรบั เด็กและผหู้ ญงิ ท่ที อ้ งไม่พรอ้ มทุกกลมุ่
อายุ และทกุ สาเหตขุ องการทอ้ งไมพ่ ร้อม โดยไดร้ ับความรว่ มมอื จากฝ่ายต่างๆ ในโรงพยาบาลที่
เกยี่ วขอ้ งเปน็ อยา่ งดี ไม่วา่ จะเป็นจุดคดั กรอง ประชาสมั พนั ธ์ ผปู้ ว่ ยนอก สูตนิ รเี วช ผ้ปู ว่ ยใน
เปน็ ตน้ ในการคดั กรองและสง่ ตอ่ ผใู้ ชบ้ รกิ ารทที่ อ้ งไมพ่ รอ้ มมารบั บรกิ ารปรกึ ษาทางเลอื กทศี่ นู ยพ์ งึ่ ได้
นอกจากน้ยี ังมกี ารส่งตอ่ มาจากหนว่ ยงานอน่ื ๆ ภายนอกโรงพยาบาลด้วย
ในปี 2554 โรงพยาบาลสวรรคป์ ระชารกั ษ์ ไดจ้ ดั ตงั้ คลนิ กิ วยั ใสขน้ึ ซง่ึ ใหบ้ รกิ ารปรกึ ษาดา้ น
ต่างๆ กับวัยรุ่น รับผิดชอบโดยกลุ่มงานเวชกรรมสังคม และได้มีการท�ำงานร่วมกับศูนย์พ่ึงได้
ในกรณปี ัญหาการตั้งครรภไ์ ม่พร้อมของวัยร่นุ ทีเ่ ขา้ มารบั บริการท่คี ลนิ กิ วยั ใส ถา้ หากผู้ใช้บริการ
ต้องการยุติการตั้งครรภ์ คลินิกวัยใสจะส่งต่อมายังศูนย์พึ่งได้ ศูนย์พึ่งได้ก็จะให้บริการตาม
ข้ันตอนตอ่ ไป
ผใู้ ชบ้ รกิ ารทเี่ ขา้ มาปรกึ ษาทอ้ งไมพ่ รอ้ ม มาจากหลายชอ่ งทาง มที ง้ั การเขา้ มารบั บรกิ ารดว้ ย
ตนเอง ไดข้ อ้ มลู จากอนิ เทอรเ์ นต็ สง่ ตอ่ มาจากโรงพยาบาลชมุ ชน สายปรกึ ษาทอ้ งไมพ่ รอ้ ม 1663
และเครือข่ายอ่ืนๆ รวมทั้งคลินิกวัยใสของโรงพยาบาล ที่เม่ือพบว่าผู้ใช้บริการต้องการยุติการ
ตั้งครรภก์ จ็ ะส่งมารับบรกิ ารปรกึ ษาทางเลือกทศ่ี นู ย์พง่ึ ได้เชน่ เดยี วกนั
ผ้ใู ช้บริการทตี่ ้งั ครรภ์ไมพ่ ร้อม ทตี่ ัดสินใจเขา้ มารับบริการที่ศนู ย์พง่ึ ได้ สว่ นใหญต่ ้องการยุติ
การตง้ั ครรภ์ โดยวยั รนุ่ มกั มกี ารพดู คยุ ปรกึ ษากบั บคุ คลในครอบครวั มาแลว้ ถา้ เปน็ ผใู้ หญก่ ม็ กั จะ
ตัดสินใจด้วยตัวเองแล้วหรือปรึกษาคู่สมรสมาแล้ว แต่ถึงแม้ผู้ใช้บริการจะตัดสินใจมาแล้วแต่
ผู้ให้การปรึกษาก็ยังเห็นความส�ำคัญต่อการให้บริการปรึกษาทางเลือก เพราะการตัดสินใจของ
ผใู้ ชบ้ รกิ ารอาจจะขาดขอ้ มลู หรอื มองเหน็ ปญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ ไมค่ รบถว้ นทกุ มมุ มอง อาจจะขาดประเดน็
ทใ่ี ชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจ เพราะฉะนนั้ สงิ่ สำ� คญั ในการปรกึ ษาทางเลอื ก ผทู้ ำ� งานจะตอ้ งใชเ้ ทคนคิ
การใหก้ ารปรกึ ษาเพอ่ื รวบรวมขอ้ มลู ใหค้ รบทกุ มติ ขิ องผใู้ ชบ้ รกิ าร มที กั ษะในการตง้ั คำ� ถาม สะทอ้ น
กลับเพื่อให้ผู้ใช้บริการเข้าใจปัญหาได้อย่างชัดเจนและเพ่ือให้ตัดสินใจได้ด้วยตัวเองว่าจะเลือก
ทางใด รวมทัง้ การใหก้ ารปรึกษาเพอ่ื เสริมศักยภาพ การประเมนิ ความเครียด/ซึมเศรา้ นอกจาก
นี้ต้องประเมินถึงแหล่งความช่วยเหลือที่ตัวผู้ใช้บริการมีด้วยซ่ึงอาจจะมีความจ�ำเป็นท่ีต้องขอ
ความชว่ ยเหลือจากแหลง่ น้ันๆ
อายุครรภ์เป็นอีกปัจจัยท่ีส�ำคัญในการตัดสินใจยุติการต้ังครรภ์ เน่ืองจากอายุครรภ์ท่ีมาก
อาจเกดิ อนั ตรายได้ มผี ใู้ ชบ้ รกิ ารบางคนเมอื่ ทราบผลอลั ตราซาวนก์ ม็ กี ารเปลย่ี นใจในการตงั้ ครรภต์ อ่
ดังนั้นการให้ความส�ำคัญในการดูแลเป็นพิเศษกับวัยรุ่นหรือผู้หญิงที่เปล่ียนใจตั้งครรภ์ต่อย่อมมี
ความจำ� เปน็ อยา่ งยงิ่ เพราะในระหวา่ งการตง้ั ครรภอ์ าจเกดิ ความตอ้ งการยตุ กิ ารตง้ั ครรภห์ รอื ความ
รู้สึกด้านลบต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนได้เนอ่ื งจากเปน็ การตั้งครรภท์ ่ไี ม่พรอ้ ม
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 33
การดูแลช่วยเหลือเด็กและผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม ไม่เพียงแต่การดูแลช่วยเหลือให้ได้รับ
การยตุ กิ ารตง้ั ครรภ์ หรอื การทอ้ งตอ่ เทา่ นนั้ แตก่ ารใหค้ วามสำ� คญั ในการดแู ลทงั้ ในดา้ นความรสู้ กึ
การสามารถดำ� เนนิ ชวี ติ ตอ่ ไปในอนาคตของเดก็ และผหู้ ญงิ ทตี่ งั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มยอ่ มเปน็ สงิ่ ทสี่ ำ� คญั
ดว้ ยเช่นกัน
ผังภาพที่ 3 การให้บริการศูนย์พง่ึ ได้ โรงพยาบาลสวรรคป์ ระชารักษ์
34 คู่มือการช่วยเหลอื ผ้หู ญิงตง้ั ครรภ์ไม่พรอ้ มของศูนยพ์ ึ่งได้
ข้อมูลที่ได้จากการพูดคุยกับผู้ใช้บริการท้ังหมดจะถูกบันทึกเก็บไว้ในแบบบันทึกผู้ใช้บริการ
ปรึกษาทางเลือกส�ำหรับเด็กและผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม ข้อมูลเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ในการท่ีจะ
น�ำมาวิเคราะห์ปัญหาและวางแผนในการท�ำงานเพ่ือป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมต่อไป
นอกจากนยี้ งั ไดม้ กี ารบนั ทกึ ขอ้ มลู ลงในโปรแกรม 1300 ศนู ยช์ ว่ ยเหลอื สงั คม ในระดบั โรงพยาบาล
ซึ่งเปน็ ทง้ั Front line 1 และ Front line 2 จะบันทกึ เมื่อมีการใหบ้ ริการปรึกษาและส่งตอ่ ผใู้ ช้
บริการไปยังเครือขา่ ยเรียบรอ้ ยแลว้ โดยจะบันทกึ ข้อมูลเพมิ่ เตมิ หลังจากมีการตดิ ตามการเข้ารบั
บริการ
2.2.3 ศูนย์พงึ่ ได้ โรงพยาบาลปทุมธานี
ศนู ยพ์ ึ่งได้ โรงพยาบาลปทมุ ธานี เปดิ บริการมาต้งั แตเ่ ดือนกนั ยายน พ.ศ. 2545 โดยเป็น
ศูนยพ์ ง่ึ ไดน้ �ำรอ่ งของในยุคแรกๆ ทกี่ ระทรวงสาธารณสขุ มนี โยบายในการช่วยเหลือเดก็ และสตรี
ท่ีถูกกระทำ� ดว้ ยความรุนแรง อย่ใู นความรบั ผิดชอบของฝา่ ยสวสั ดกิ ารสงั คม ต่อมาศูนยพ์ ง่ึ ได้ให้
ความสนใจในการช่วยเหลือผู้หญิงในภาวะวิกฤตกรณีท้องไม่พร้อม และเปิดบริการปรึกษา
ทางเลอื กในปี พ.ศ. 2551 โดยยงั คงใชโ้ ครงสรา้ งการดำ� เนนิ งานเดมิ แตไ่ ดม้ กี ารจดั ตง้ั คณะทำ� งาน
ขึ้นมา 1 ชุด เพอ่ื เป็นทีมคดั กรองผหู้ ญิงทีอ่ าจเข้าข่ายตง้ั ครรภไ์ ม่พร้อมจากทั้งคนไข้ในและคนไข้
นอกของโรงพยาบาล โดยมีผู้หญิงที่ประสบปัญหาท้องไม่พร้อมจ�ำนวนหนึ่งเข้ามารับบริการเอง
หลังเร่ิมด�ำเนินงานให้บริการปรึกษาทางเลือกให้กับผู้ใช้บริการท่ีคัดกรองจากภายในโรงพยาบาล
เป็นหลัก จนกระท่ังศูนย์พ่ึงได้จัดระบบบริการตามทางเลือกและบริการต่างๆ ที่สอดคล้องกับ
ทางเลอื กรองรบั ทชี่ ดั เจน ในปี 2555 ศนู ยพ์ ง่ึ ได้ ไดบ้ รู ณาการงานบรกิ ารปรกึ ษาในวยั รนุ่ เขา้ ดว้ ยกนั
โดยความเห็นของคณะท�ำงานบูรณาการของโรงพยาบาลปทมุ ธานี ซ่ึงมกี ุมารแพทย์เปน็ ประธาน
และมีสูตินรีแพทย์เป็นรองประธาน เนื่องจากเห็นว่าศูนย์พึ่งได้มีความพร้อมเร่ืองสถานท่ีท่ีเป็น
สดั สว่ น เหมาะกบั การใหค้ ำ� ปรกึ ษาวยั รนุ่ และครอบครวั อกี ทงั้ มฐี านการทำ� งานในรปู แบบสหวชิ าชพี
กบั หนว่ ยงานภายนอกหลายหนว่ ยงาน ซง่ึ ประเดน็ ปรกึ ษาสว่ นใหญเ่ ปน็ เรอื่ งเพศ และปญั หาภายใน
ครอบครัว รวมท้งั ปัญหาความสมั พนั ธต์ ่างๆ จงึ ได้ใหบ้ ริการปรกึ ษาร่วมกับกลมุ่ งานทีเ่ กยี่ วขอ้ งคือ
กลุม่ งานกุมารเวช กลุม่ งานสตู นิ รเี วช กล่มุ งานจติ เวช และกลุ่มงานเวชกรรมสังคม โดยเปดิ เปน็
คลินกิ ใหค้ ำ� ปรกึ ษาทเ่ี ป็นมิตรกบั วัยรนุ่ และใชห้ อ้ งปรกึ ษาเดียวกนั กบั ศนู ย์พึง่ ได้
เมื่อระบบบริการและบุคลากรมีความพร้อมในการให้บริการเชิงคุณภาพได้เป็นอย่างดี
โรงพยาบาลปทุมธานี จึงได้ขยายการสง่ ต่อผ้ปู ระสบปัญหาทอ้ งไม่พร้อม จากโรงพยาบาลชุมชน
หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล และอาสาสมัครสาธารณสุข รวมท้ัง
เครอื ขา่ ยที่ท�ำงานในระดบั จังหวดั เชน่ โรงเรยี น สำ� นกั งานสาธารณสขุ จังหวดั พฒั นาสังคมและ
ความม่นั คง ตำ� รวจ และอนื่ ๆ ดังแสดงในผงั ภาพที่ 3
ในข้นั ตอนของการปรกึ ษาทางเลือก มีการให้ขอ้ มลู ทางเลอื กทั้งในกรณีตัง้ ครรภ์ตอ่ เพอ่ื
แนะนำ� การฝากครรภแ์ ละสวสั ดกิ ารสงั คมอน่ื ๆ ทสี่ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ โดยผปู้ ระสบปญั หา
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 35
ทอ้ งไม่พร้อมการฝากทอ้ งอาจท�ำได้ทสี่ ถานบรกิ ารสขุ ภาพใกล้บา้ น หรอื ท่ีโรงพยาบาลปทุมธานี
โดยจะมกี ลไกการดแู ลเปน็ พเิ ศษจากทกุ หนา้ งานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง และหากพบวา่ ผปู้ ว่ ยมปี ญั หาใดกจ็ ะ
รายงานและสง่ ปรกึ ษาทศ่ี นู ยพ์ ง่ึ ไดโ้ ดยเรว็ ทงั้ นหี้ ลงั คลอดบตุ ร กอ่ นจำ� หนา่ ยออกจากโรงพยาบาล
จะตอ้ งสง่ มารบั บรกิ ารปรกึ ษาเพอื่ ประเมนิ ศกั ยภาพทงั้ ตวั ผเู้ ปน็ มารดาและครอบครวั ทชี่ ว่ ยในการ
สนับสนุนการเล้ียงดูเด็กทุกราย หลังจากน้ันจะมีการติดตามดูแลหลังคลอด ประเมินสภาพ
ครอบครวั และทางเลอื กหลังคลอดบตุ รท่สี อดคลอ้ งกับศกั ยภาพและความต้องการ ไม่ว่าจะเปน็
การเลี้ยงดูเอง หรือ การยกบุตรให้กับสถานสงเคราะห์ รวมทั้งการประสานความช่วยเหลือท่ี
สอดคลอ้ งตอ่ ไป
ผังภาพที่ 4 ศนู ย์พ่ึงไดแ้ ละคลินิกให้ค�ำปรกึ ษาท่เี ปน็ มิตรกับวยั รุ่น โรงพยาบาลปทุมธานี
กรณียุติการตั้งครรภ์ สูตินรีแพทย์ของโรงพยาบาลปทุมธานีให้บริการยุติการตั้งครรภ์โดย
พจิ ารณาขอ้ บง่ ชีค้ อื การตง้ั ครรภ์เปน็ อันตรายต่อสุขภาพผู้หญงิ และตัวอ่อนในครรภ์ หรอื ในกรณี
ทผี่ ูห้ ญิงถูกขม่ ขนื และใหบ้ รกิ ารในอายคุ รรภ์ทีต่ �่ำกวา่ 12 สัปดาห์เท่านนั้ และพิจารณาให้บรกิ าร
เปน็ รายๆ ไป สำ� หรบั ในขอ้ บ่งชใ้ี นดา้ นปญั หาสขุ ภาพทางใจ การถกู ลว่ งละเมดิ ทางเพศท่ีไมช่ ดั เจน
ว่าเปน็ การขม่ ขืน หรอื อายคุ รรภท์ ่มี ากกวา่ 12 สัปดาห์ขนึ้ ไป ทางฝา่ ยนรเี วชกรรมจะแจ้งมาท่ี
ศูนย์พ่ึงได้เพื่อประเมินการช่วยเหลือ และส่งต่อไปยังเครือข่ายให้บริการท่ีปลอดภัย หลังยุติ
36 คู่มือการชว่ ยเหลอื ผหู้ ญิงตัง้ ครรภไ์ มพ่ ร้อมของศูนย์พ่ึงได้
การตั้งครรภ์ ทางโรงพยาบาลจะมีบริการคุมก�ำเนิด โดยพิจารณาวิธีการคุมก�ำเนิดกึ่งถาวรท่ีมี
ประสิทธิภาพกว่าวิธีการชั่วคราว เช่น การฝังยาคุมก�ำเนิดในทุกกลุ่มอายุโดยไม่คิดมูลค่า เพ่ือ
ปอ้ งกนั การตงั้ ครรภ์ไม่พรอ้ มในอนาคตได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
2.2.3 ศนู ยน์ เรนทรพึง่ ได้ โรงพยาบาลสมุทรปราการ
ศูนยน์ เรนทรพ่ึงได้ ท่ีโรงพยาบาลสมทุ รปราการ เปิดบรกิ ารปรึกษาทางเลอื กทอ้ งไมพ่ ร้อม
มาต้ังแต่ปี 2550 จากการท่ีมีผู้ใช้บริการที่มาฝากครรภ์และมีการแสดงออกให้เห็นถึงความ
ไม่พร้อมมีบุตร การที่บุคลากรในแผนกฝากครรภ์มีความละเอียดใส่ใจต่อผู้ใช้บริการ ทั้งสีหน้า
น้�ำเสยี ง ประกอบกับการมารบั บริการโดยลำ� พงั ไมม่ สี ามี ไมม่ ีญาติ จึงไดม้ ีการพฒั นาคัดกรอง
ผู้หญงิ ท่สี งสัยวา่ ตงั้ ครรภ์ไม่พรอ้ มเพือ่ คดั กรองและน�ำสง่ บรกิ ารปรกึ ษาทางเลือก โดยเปน็ การให้
บรกิ าร ณ จุดบริการเดยี ว (One Stop Service) ต่อมาโรงพยาบาลมผี ้ใู ช้บริการซ่งึ เป็น แม่ หรอื
ยาย พาวัยรุ่นหญิงในครอบครัวมาปรึกษาเร่ืองตั้งครรภ์ไม่พร้อม โดยมีความต้องการท่ีจะให้
บตุ รหลานไดเ้ รยี นหนงั สอื ตอ่ ทางโรงพยาบาลจงึ ไดพ้ ฒั นาตอ่ ยอดใหเ้ ปน็ คลนิ กิ ทเี่ ปน็ มติ รกบั วยั รนุ่
ศูนยน์ เรนทรพ่ึงได้ เพ่ือใหบ้ รกิ ารผู้หญิงท่มี ีปญั หาท้องไมพ่ รอ้ มในทกุ ชว่ งอายุ
ผู้ใชบ้ ริการทุกราย จะไดร้ ับการปรกึ ษาทางเลือก และลงขอ้ มูลใน “แบบบันทึกผใู้ ช้บริการ
ปรกึ ษาทางเลือกส�ำหรบั ผหู้ ญงิ ทตี่ ัง้ ครรภ์ไมพ่ ร้อม” โรงพยาบาลสมทุ รปราการ ซึ่งมีการสร้าง
และปรบั ปรุงมาตง้ั แต่ ปี 2553 ใหม้ คี วามสอดคล้องและเป็นประโยชนส์ งู สุดแกผ่ ใู้ ชบ้ ริการท่ีเป็น
วัยรนุ่ เยาวชนและผู้หญิงวยั เจริญพนั ธุ์ท่ีตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ ม
สง่ิ ทส่ี ำ� คญั ในการปรกึ ษาทางเลอื กนน้ั ผทู้ ำ� งานใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ การตง้ั คำ� ถามและเกบ็ ขอ้ มลู
จากผู้ใช้บริการ ท่ีครอบคลุมทุกมิติสุขภาพ เน่ืองจากเป็นการสะท้อนกลับให้ผู้ใช้บริการได้คิด
ทบทวนและมีเวลาในการเตรียมพร้อมในการยอมรับถึงผลการปรึกษาทางเลือก การตัดสินใจท่ี
เหมาะสมเป็นทางเลือกสดุ ทา้ ย ซ่ึงอาจเหมือนหรอื แตกตา่ งกบั ความคาดหวังกอ่ นเข้ารบั บริการ
สว่ นใหญผ่ ใู้ ชบ้ รกิ ารทที่ อ้ งไมพ่ รอ้ ม มกั ตอ้ งการยตุ กิ ารตงั้ ครรภ์ แตเ่ มอื่ ไดม้ กี ารประเมนิ อายุ
ครรภ์และขนาดของตัวอ่อนในครรภ์ รับทราบข้อมูลด้านหน่วยงานให้ความช่วยเหลือ การได้มี
โอกาสปรึกษาหารือตอ่ คู่ สามี หรอื ครอบครัว ผใู้ ช้บริการจำ� นวนหน่งึ มกี ารเปลย่ี นแปลงทางเลือก
จากเดิม ประเด็นที่ส�ำคัญคือท่ีอายุครรภ์มากกว่า 20 สัปดาห์ ตัวอ่อนในครรภ์มีขนาดใหญ่
การยุติการต้ังครรภ์อาจเกิดอันตรายทั้งผู้ตั้งครรภ์และตัวอ่อนได้ ดังน้ัน ผู้ให้การปรึกษาจะมี
แนวทางในการใหข้ อ้ มูลเบ้อื งต้นตามมาตรฐาน ให้ความส�ำคัญกบั ผลกระทบด้านความรสู้ กึ และ
รักษาความลับของผู้ใช้บริการ เพื่อให้ทางเลือกเป็นไปโดยสอดคล้องกับความต้องการ สภาพ
รา่ งกาย เง่อื นไขของชวี ิต และมีความปลอดภยั โดยมผี ู้ให้การปรกึ ษาช่วยชีใ้ ห้เหน็ ถึงผลดี ผลเสยี
และความเป็นไปได้ และอยเู่ คียงข้างตลอดเสน้ ทางการตัดสนิ ใจเลือก
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 37
ผงั ภาพที่ 5 ศนู ยน์ เรนทรพง่ึ ไดแ้ ละคลนิ กิ ทเี่ ปน็ มติ รกบั วยั รนุ่ โรงพยาบาลสมทุ รปราการ
การท่ี คลนิ กิ เปน็ มติ รกบั วยั รนุ่ ศนู ยน์ เรนทรพงึ่ ได้ ในโรงพยาบาลสมทุ รปราการ เปดิ บรกิ าร
มากว่า 7 ปี ท�ำใหผ้ คู้ นเขา้ ใจและรบั ทราบบรกิ ารในด้านน้ี ส่งผลใหผ้ ปู้ ระสบปญั หาและครอบครวั
ส่วนใหญ่มารับบริการดว้ ยตัวเอง การลงรายงานในระบบศูนยช์ ่วยเหลือสงั คม1300 จงึ เป็นการให้
บรกิ ารช่วยเหลือกอ่ นและลงขอ้ มูลหลังจากไดร้ บั บรกิ ารแล้ว ทัง้ น้ี ในกรณีทผ่ี ใู้ ชบ้ รกิ ารไมม่ ีสทิ ธิ
ประกันสุขภาพทโี่ รงพยาบาลสมุทรปราการ ตอ้ งชำ� ระค่าบรกิ ารเอง
38 คู่มือการช่วยเหลือผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ ร้อมของศนู ย์พง่ึ ได้
2.2.4 ศนู ยพ์ ึง่ ได้ โรงพยาบาลศรีสะเกษ
โรงพยาบาลศรสี ะเกษ ไดบ้ ูรณาการปรกึ ษาทางเลือกสำ� หรบั ผทู้ ่ปี ระสบปัญหาทอ้ งไมพ่ รอ้ ม
กบั ศนู ยพ์ ง่ึ ได้ มาตงั้ แต่ปี 2553 โดยเป็นบรกิ ารแบบเบ็ดเสรจ็ ณ จุดเดียวที่ศนู ย์พ่ึงได้ เป็นหนว่ ย
ที่ท�ำงานในลักษณะสหวิชาชีพท้ังในและนอกโรงพยาบาล และมีระบบช่วยเหลือเพ่ือส่งต่อตาม
ทางเลอื กไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และเปน็ ระบบทเี่ นน้ การพทิ กั ษส์ ทิ ธแิ ละคมุ้ ครองสทิ ธขิ องผปู้ ระสบ
ปญั หา
ทมี สหวชิ าชพี ในโรงพยาบาล ไดแ้ ก่ แพทย์ พยาบาลวชิ าชพี นกั จติ วทิ ยา นกั สงั คมสงเคราะห์
ทที่ ำ� งานในแผนกต่างๆ ของโรงพยาบาล เชน่ ฝากครรภ์ นรเี วช จิตเวช สตู กิ รรม กลมุ่ งาน
เวชกรรมสังคม สังคมสงเคราะห์ ส่วนทมี สหวิชาชพี นอกโรงพยาบาล ประกอบไปด้วยบคุ ลากร
จากสำ� นกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ บา้ นพกั เดก็ และครอบครวั จงั หวดั ศรสี ะเกษ
พนกั งานอัยการ/ต�ำรวจ ครู หรือบุคลากรทางการศกึ ษา และ หนว่ ยงานต่างๆ ในชุมชน เชน่
องคก์ รบรหิ ารสว่ นตำ� บล ผนู้ ำ� ชมุ ชนและอนื่ ๆ
การจัดระบบให้บริการส�ำหรับผู้ประสบปัญหาท้องไม่พร้อมของโรงพยาบาลศรีสะเกษ ผู้ใช้
บรกิ ารจะถกู สง่ ตอ่ จากหนว่ ยงานตา่ งๆ ทง้ั ภายใน และภายนอกโรงพยาบาล หรอื เขา้ มารบั บรกิ าร
ดว้ ยตนเอง เม่อื ผปู้ ระสบปัญหาเขา้ รบั บริการ เจ้าหน้าท่ีศูนยพ์ ่งึ ได้จะคน้ ประวตั คิ นไข้ หรอื จัดท�ำ
บัตรคนไขใ้ หมใ่ ห้ ท�ำการสมั ภาษณ์ประวัติ สง่ ตรวจการตัง้ ครรภ์ และตรวจอายคุ รรภ์ ในกรณที ่ี
ผู้ใชบ้ รกิ ารมีภาวะเครยี ด/วติ กกังวล หรือซมึ เศรา้ ก็จะสง่ พบจติ แพทย์
หลังจากนั้น นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์พ่ึงได้ จะให้การปรึกษาทางเลือก อธิบายข้ันตอน
การใหก้ ารชว่ ยเหลอื ของโรงพยาบาลศรสี ะเกษ เพอื่ เปน็ ขอ้ มลู ประกอบการตดั สนิ ใจทางเลอื กของ
ผู้มารับบริการโดยแนวทางการให้บริการปรึกษาทางเลือกส�ำหรับผู้ประสบปัญหาท้องไม่พร้อม
ผู้ใหก้ ารปรึกษามคี วามเชื่อม่นั ว่า “ผใู้ ช้บรกิ ารมีศักยภาพทจ่ี ะแก้ปัญหาของตนเองได้ และเป็น
ผทู้ ร่ี เู้ รอื่ งราวในชวี ติ ของตนเองดที สี่ ดุ ” ผใู้ หก้ ารปรกึ ษาจงึ เพยี งใชท้ กั ษะและความรู้ รวมทง้ั ขอ้ มลู
เพอื่ ชว่ ยประกอบการตดั สนิ ใจ โดยไมช่ น้ี ำ� การตดั สนิ ใจ เพอ่ื พทิ กั ษส์ ทิ ธขิ องผใู้ ชบ้ รกิ าร และ รกั ษา
จรรยาบรรณของผ้ปู ระกอบวชิ าชีพ
ผใู้ ชบ้ รกิ ารในรายยงั ไมต่ ดั สนิ ใจทางเลอื กในวนั มารบั การปรกึ ษา ผใู้ หก้ ารปรกึ ษา จำ� เปน็ ตอ้ ง
ขออนุญาตผใู้ ช้บรกิ ารในการติดตามต่อเน่อื ง
ในกรณีที่ทางเลือกของผู้ประสบปัญหาท้องไม่พร้อม คือการตั้งครรภ์ต่อไป ก็จะส่งต่อ
เขา้ ระบบฝากครรภ์ของโรงพยาบาล ซงึ่ จะไดร้ บั การดแู ลทีเ่ ป็นมติ รและเข้าใจ โดยแบง่ ตามกลุ่ม
อายดุ ังตอ่ ไปนี้
ผทู้ ตี่ งั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มทอี่ ายตุ ำ�่ กวา่ 20 ปี ทางโรงพยาบาลจดั คลนิ กิ บรกิ ารเฉพาะในชว่ งบา่ ย
วันศุกร์ และมกี ิจกรรม “โรงเรยี นพ่อแม”่ ดำ� เนินงานเป็นทมี ประกอบดว้ ย พยาบาลวิชาชีพจาก
คลินิกนมแม่ คลินิกฝากครรภ์ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม นักโภชนาการ นักจิตวิทยาและ
นกั สังคมสงเคราะห์ เพอ่ื เตรียมความพรอ้ มดา้ นสุขภาพ เชน่ ทักษะการเลี้ยงทารก การเล้ียงลกู
ด้วยนมแม่ การป้องกนั การตั้งครรภ์ซ้�ำ และดา้ นสงั คม เช่น การแจง้ เกิดไม่ระบชุ ่ือบดิ าในสตู ิบัตร
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 39
หากฝา่ ยชายไม่รบั ผดิ ชอบ แนวทางการศึกษาต่อ การช่วยเหลือดา้ นสงั คมอ่นื ๆ ตามสภาพปัญหา
ผตู้ ัง้ ครรภ์ไมพ่ ร้อมอายุ 20 ปีข้นึ ไป ให้บริการตามระบบปกติ ไม่แยกคลนิ ิกเฉพาะ แต่มี
การสง่ ตอ่ ข้อมูลผใู้ ช้บริการเพ่ือรับการดแู ลจากคลินิกฝากครรภ์จนกระทง่ั คลอด สว่ นการเตรยี ม
ความพร้อมทางด้านสขุ ภาพและสังคมในลกั ษณะโรงเรียนพ่อแม่ จะพิจารณาเป็นรายๆ ไป
ในกรณีท่ีผู้ใช้บริการต้องการความช่วยเหลือในด้านอื่นๆ ที่นอกเหนือจากด้านสุขภาพ
ศูนย์พ่ึงได้ จะประสานกับส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ในจังหวัด เพื่อร่วม
ประเมนิ สภาพและพิจารณาการใหค้ วามชว่ ยเหลือทเี่ ป็นไปได้ ในกรณที ผ่ี มู้ ารับบรกิ ารไมส่ ามารถ
กลับไปอยู่ในครอบครัว ชุมชน โรงเรยี นได้ และต้องการความช่วยเหลอื ในดา้ นท่พี ักรอคลอดและ
หลังคลอด กจ็ ะประสานสง่ ผู้ใช้บริการไปท่ี บา้ นพักเดก็ และครอบครวั จงั หวดั ซ่ึงจะมเี จา้ หนา้ ที่
บ้านพักฯ ให้การดูแล และน�ำส่งตรวจครรภ์ตามก�ำหนด หลังคลอดหากไม่สามารถรับบุตรไป
เล้ียงได้ เจ้าหน้าท่ีบ้านพักฯ จะด�ำเนินการประสานกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้รับการ
ช่วยเหลอื ทเ่ี หมาะสม ดงั แสดงในผงั ภาพ
ผังภาพท่ี 6 แนวทางการให้บรกิ ารผ้ปู ระสบปัญหาทอ้ งไมพ่ รอ้ ม โรงพยาบาลศรสี ะเกษ
40 ค่มู ือการช่วยเหลือผู้หญิงตัง้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ึง่ ได้
ในกรณีที่ทางเลือกของผู้ประสบปัญหาท้องไม่พร้อมคือ การยุติการต้ังครรภ์ โรงพยาบาล
ศรสี ะเกษ จะพจิ ารณาใหบ้ รกิ ารยตุ กิ ารตง้ั ครรภ์ ตามเกณฑท์ ีก่ �ำหนดไว้ กล่าวคอื 1) การตง้ั ท้อง
เป็นอันตรายต่อชีวิตและสุขภาพของผู้หญิง 2) ผู้หญิงมีอาการทางจิตก่อน หรือขณะต้ังท้อง
3) การต้ังท้องเกดิ จากการถกู ขม่ ขืน และ 4) การตัง้ ทอ้ งโดยท่ีผหู้ ญงิ อายตุ ำ�่ กวา่ 15 ปี
ผใู้ ช้บริการทีต่ ้องการยุติการต้ังครรภ์ และเขา้ เกณฑต์ ามข้อกฎหมาย นักสงั คมสงเคราะห์
ชี้แจงให้ผู้ใช้บริการ ผู้ปกครอง หรือญาติทราบ กรอกแบบฟอร์มขอรับบริการ และเชิญ
คณะกรรมการศนู ยพ์ ง่ึ ได้ หรอื ทมี สหวชิ าชพี ประชมุ ทมี เพอ่ื พจิ ารณาใหบ้ รกิ าร ซงึ่ กรณปี ระชมุ ทมี
การลงความเห็นของทีม จ�ำแนกได้ดงั นี้
เข้าเกณฑ์ท่ีก�ำหนด ทีมสหวิชาชีพ ลงความเห็น สูติแพทย์ให้บริการยุติการต้ังครรภ์ที่
โรงพยาบาลศรีสะเกษ ในบางกรณี ทมี สหวชิ าชพี ลงความเห็นยตุ ิการตั้งครรภ์ แตส่ ูตแิ พทยข์ อสง่
ตอ่ ท่โี รงเรยี นแพทย์ เนือ่ งจากเกนิ ศักยภาพในการใหบ้ รกิ าร กจ็ ะจัดทำ� ใบสง่ ตัวใหผ้ ใู้ ช้บริการไป
รับบริการ
ไม่เข้าตามเกณฑ์ข้อกฎหมาย แต่ผู้ใช้บริการแจ้งความประสงค์ หรือต้องการจะยุติการ
ต้ังครรภ์จะพิจารณาสง่ ต่อเครือข่ายใหบ้ รกิ ารตา่ งๆ ตามอายุครรภ์
ผใู้ ชบ้ รกิ ารทต่ี อ้ งการยตุ กิ ารตง้ั ครรภแ์ ตไ่ มส่ ามารถยตุ กิ ารตง้ั ครรภไ์ ดเ้ นอ่ื งจากอายคุ รรภเ์ กนิ
24 สัปดาห์ นักสงั คมสงเคราะห์จะใหข้ ้อมลู เพ่ิมเติม หากผูใ้ ช้บริการต้งั ครรภ์ตอ่ ไมส่ ามารถกลับ
ไปอยใู่ นครอบครวั ชมุ ชน โรงเรยี นได้ จะประสานสง่ ตอ่ ความชว่ ยเหลอื ทบี่ า้ นพกั เดก็ และครอบครวั
จังหวัด
การดูแลต่อเน่ืองท้ังในกรณีที่ยุติการตั้งครรภ์ หรือต้ังครรภ์ต่อ จะให้การปรึกษาเร่ืองการ
คมุ ก�ำเนดิ ปอ้ งกนั การต้ังครรภ์ซำ้� ทกุ ราย
2.2.5 ศูนยพ์ ง่ึ ได้ โรงพยาบาลพระนครศรีอยธุ ยา
ศูนย์พ่งึ ได้ โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา เปดิ ใหบ้ รกิ ารช่วยเหลอื เดก็ และสตรที ่ถี ูกกระทำ�
รุนแรงในปี 2546 ต่อมาได้รับการสนับสนุนให้เป็นโรงพยาบาลน�ำร่องในการเข้ารับการอบรม
การใหก้ ารปรกึ ษาทางเลอื กแกผ่ หู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มในปี 2553 ประกอบกบั ไดร้ บั นโยบายการ
ให้บริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น จึงร่วมกับงานอนามัยโรงเรียน กลุ่มภารกิจหลักปฐมภูมิและงาน
นรีเวช กลมุ่ งานผ้ปู ว่ ยนอก บูรณาการการให้บรกิ ารเด็กและสตรที ถ่ี ูกกระท�ำรุนแรงในครอบครวั
การตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มและศนู ยบ์ รกิ ารทเี่ ปน็ มติ รกบั วยั รนุ่ เขา้ ดว้ ยกนั ในปี 2556 มคี ณะกรรมการ
สหวชิ าชพี ในการดำ� เนนิ การ พัฒนาการใหบ้ ริการและผใู้ ห้บรกิ าร เพอื่ ลดขั้นตอนการให้บรกิ าร
และทำ� ให้ผู้ประสบปัญหาได้รบั บรกิ ารท่รี วดเรว็ ยง่ิ ข้นึ
ผเู้ ข้ารับบริการ มาจากการคดั กรองภายในโรงพยาบาล จากผใู้ ช้บรกิ ารในแผนกคนไขน้ อก
คนไขใ้ น หรอื มารบั บรกิ ารดว้ ยตนเอง รวมท้งั การส่งต่อมาจากโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพต�ำบล
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 41
และศูนย์แพทย์ของโรงพยาบาล นอกจากนี้ โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา ได้มีการเผยแพร่
ประชาสมั พันธก์ ารให้บรกิ ารศนู ยพ์ ่ึงได้ รว่ มไปกับกิจกรรมเชิงรกุ ภายนอกโรงพยาบาล และมสี ือ่
บอกบรกิ ารทรี่ า้ นขายยา และคลนิ กิ ในเครอื ขา่ ยของโรงพยาบาลฯ และผา่ นการใหค้ วามรเู้ พศศกึ ษาแก่
นกั เรยี นเพอื่ ลดการตง้ั ครรภ์ในวยั รุ่นในสถานศกึ ษาตา่ งๆ
ผังภาพที่ 7 ศูนย์พงึ่ ได-้ อนามยั วัยใส โรงพยาบาลพระนครศรอี ยธุ ยา
การให้บริการปรกึ ษาทางเลือก ศนู ยพ์ ่ึงไดม้ กี ารบูรณาการทำ� งานกับศนู ย์บริการทเี่ ป็นมิตร
กับวัยรนุ่ และเยาวชน หากทางเลือกคือการตั้งครรภ์ต่อไป กจ็ ะมกี ารประสานงานเพอ่ื ฝากครรภ์
ทง้ั ท่โี รงพยาบาล ศูนย์แพทย์ หรอื โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บล โดยจะได้รบั การดแู ลเป็น
พเิ ศษตามสภาพปญั หาของผู้ตง้ั ครรภ์ไม่พร้อม และทางศนู ยพ์ งึ่ ได้ จะมกี ารโทรศพั ท์ติดตามดูแล
เป็นระยะๆ หากพบว่าผตู้ ง้ั ครรภไ์ มพ่ ร้อมตอ้ งการบ้านพกั รอคลอด ทางศูนยพ์ งึ่ ไดก้ ็จะประสาน
กับบ้านพกั เดก็ และครอบครัว เพือ่ ดูแลชว่ ยเหลอื และโทรศพั ท์ตดิ ตามผลการดแู ล
42 ค่มู อื การช่วยเหลอื ผู้หญิงตง้ั ครรภไ์ ม่พร้อมของศนู ย์พ่งึ ได้
ในกรณีทท่ี างเลือกคือการยตุ ิการต้งั ครรภ์ แม้วา่ ทางโรงพยาบาลจะไมม่ กี ารบริการในด้านนี้
แต่ทางศูนยพ์ ึง่ ได้กจ็ ะให้การชว่ ยเหลือโดยการประสานกบั หน่วยบรกิ ารที่สอดคล้องกบั อายุครรภ์
และส่งตอ่ เขา้ รับบรกิ ารทปี่ ลอดภยั ทุกราย หลงั จากน้ันจะโทรศัพท์ติดตามผลการรักษา เพอ่ื การ
ดแู ลหลังยุติการต้งั ครรภ์ รวมทงั้ การแนะนำ� และใหบ้ ริการคุมกำ� เนิดเพื่อป้องกันการท้องไม่พร้อม
ซ�้ำในอนาคต
2.2.6 ศนู ย์พง่ึ ได้ โรงพยาบาลรตั ภมู ิ จังหวัดสงขลา
การใหบ้ รกิ ารผหู้ ญงิ ต้งั ครรภ์ไมพ่ ร้อมของโรงพยาบาลรัตภูมิ จังหวดั สงขลา ได้ออกแบบให้
เปน็ ระบบบรกิ ารแบบบรกิ ารเบด็ เสรจ็ ทจี่ ุดเดยี ว โดยลดข้นั ตอนการรับบริการทแ่ี ผนกผูป้ ่วยนอก
มาที่ศูนย์พ่งึ ได้ โดยมบี ริการดังผังภาพตอ่ ไปนี้
ผังภาพท่ี 8 ศนู ยพ์ งึ่ ได้ โรงพยาบาลรัตภมู ิ จงั หวัดสงขลา 43
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้
จุดคัดกรอง โดยการซกั ประวัติเบ้ืองตน้ หากเปน็ ผใู้ ชบ้ ริการทีท่ ำ� บัตรใหม่ จุดคัดกรองนี้ใช้
สญั ลักษณเ์ ปน็ บตั รแยกจากบตั รคิวเดิม โดยแยกบรกิ ารเปน็ ปรกึ ษาการต้ังครรภ์ และฝากครรภ์
แตถ่ า้ เปน็ ผใู้ ชบ้ รกิ ารทม่ี บี ตั รอยแู่ ลว้ เวชระเบยี นจะเพม่ิ ชอ่ งบรกิ าร 2 ชอ่ ง คอื ปรกึ ษาการตง้ั ครรภ์
และฝากครรภ์ เชน่ เดยี วกบั บตั รใหม่ ผมู้ ารบั บรกิ ารเลอื กปรกึ ษาการตง้ั ครรภจ์ ะสง่ ตอ่ มารบั บรกิ าร
ปรกึ ษา
บริการปรึกษาทางเลือก ให้บริการโดยผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิต กรณีผู้รับผิดชอบ
ไม่สามารถบรกิ ารใหก้ ารปรกึ ษาได้ บคุ ลากรจากหนว่ ยงานต่างๆ จะให้บริการแทนตามวันเวลาที่
กำ� หนด ดงั ตอ่ ไปน:้ี วันจันทร์ งานเวชปฏบิ ัตคิ รอบครวั และชุมชน วันองั คาร: งานห้องคลอด
วันพธุ : งานผู้ปว่ ยใน วันพฤหัสบดี: งานอบุ ัติเหต-ุ ฉุกเฉนิ และ วันศกุ ร์: งานผปู้ ว่ ยนอก/งาน
เวชปฏิบัติครอบครวั และชุมชน
ระบบการเก็บขอ้ มูล ใหใ้ ชใ้ บประวตั ิผูใ้ ช้บรกิ ารแยกซึ่งเป็นแฟม้ เฉพาะ เชน่ เดยี วกับระบบ
บันทึกกรณคี วามรุนแรงทางเพศ
ในกรณีที่ผู้ประสบปัญหาท้องไม่พร้อมมาขอรับบริการนอกเวลาราชการ บุคลากรท่ีปฏิบัติ
หน้าที่ท่ีห้องอุบัติเหตุ-ฉุกเฉิน หรือ ห้องตรวจนอกเวลา จะเป็นผู้ออกบัตรนัดให้ผู้มารับบริการ
มารบั บรกิ ารในวนั /เวลาราชการ พร้อมท้ังใหเ้ อกสาร/แผ่นพับเบอรโ์ ทรศพั ท์ทผี่ ู้ใช้บริการสามารถ
ขอรับบรกิ ารการให้การปรึกษา เชน่ 1323 1699 หรอื 1300 เปน็ ตน้
44 คมู่ ือการชว่ ยเหลือผู้หญิงตง้ั ครรภไ์ ม่พร้อมของศูนยพ์ ึ่งได้
บทที่ 3
การใหบ้ รกิ าร
ปรึกษาทางเลือก
ของศนู ย์พ่ึงได้
“การฟั งดว้ ยหัวใจนนั้ ท�ำให้เกดิ ความเขา้ ใจผู้ประสบปัญหา
ทำ� ใหม้ สี มาธิในการตงั้ คำ� ถาม ให้ผู้ใช้บริการสามารถเขา้ ใจความตอ้ งการ
และศกั ยภาพตนเองอย่างแทจ้ รงิ ”
รายงานวจิ ัยเร่อื ง “บนั ทึกประสบการณข์ องผู้หญิงทีต่ งั้ ทอ้ งเมอื่ ไม่พรอ้ ม” โดยโครงการ
รณรงคเ์ พอ่ื สทิ ธอิ นามยั เจรญิ พนั ธ์ุ15 ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ สง่ิ ทผ่ี หู้ ญงิ ตอ้ งการทนั ทที พ่ี บวา่ ตนเองตงั้ ทอ้ ง
โดยไมม่ ีความพรอ้ มคือ ผู้ทสี่ ามารถรบั ฟงั ปัญหาอยา่ งเปน็ มิตรโดยไม่ซ้ำ� เติม/ไมต่ ัดสินคณุ คา่
และขอ้ มลู รอบดา้ นเพอื่ ใชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจ รวมทง้ั ความชว่ ยเหลอื ทสี่ อดคลอ้ งกบั สถานการณ์
และเงอ่ื นไขชวี ิต เพ่ือน�ำมาชว่ ยคลคี่ ลายและแกป้ ัญหาได้จรงิ
3.1 หลกั การของการปรึกษาทางเลอื ก
การใหก้ ารปรึกษาทางเลือก (Options counselling) มุ่งหวังที่จะเสรมิ พลงั ให้กับผูห้ ญงิ ท่ี
ประสบปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ ม เกดิ การตกผลกึ ทางความคดิ ในการเขา้ ใจและเผชญิ กบั ปญั หา สามารถ
ตดั สนิ ใจเลอื กทางออกภายใตข้ อ้ มลู ทางเลอื กทหี่ ลากหลาย ถกู ตอ้ งและรอบดา้ น ใหส้ อดคลอ้ งกบั
เงอื่ นไขการดำ� เนนิ ชวี ติ หรอื ศกั ยภาพของตนเอง และสามารถปฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ รวมทง้ั มคี วามพรอ้ ม
ในการรับผลท่ีตามมาจากการตัดสินใจได้
การปรึกษาทางเลือกแบบเสริมสร้างพลังและศักยภาพ ผู้ให้บริการต้องพัฒนามุมมองและ
ทัศนคติ ทั้งตอ่ ตวั ผ้หู ญงิ ระบบ โครงสร้างสังคม และปัญหาการท้องไม่พรอ้ มอย่างเขา้ ใจ โดย
ตระหนักถึงระบบโครงสรา้ งสงั คมท่ีหล่อหลอมความเปน็ ผ้หู ญงิ เปน็ ชาย ท่ีเปน็ ปัจจยั ในการสรา้ ง
ระบบความคิดทางสังคมที่สรา้ งอคติต่อผูห้ ญิงทท่ี อ้ งไมพ่ ร้อมในด้านตา่ งๆ รวมท้ังเข้าใจวา่ ผู้หญงิ
ที่ท้องไม่พร้อมเป็นเหยื่อของความรุนแรงทางสังคมรูปแบบหน่ึง ที่ต้องการการดูแล ให้ก�ำลังใจ
และชว่ ยเหลอื มมุ มองเหลา่ นที้ ำ� ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจความเปน็ มาของชวี ติ ของผหู้ ญงิ ทป่ี ระสบปญั หา
ท้องไม่พร้อม มีความเป็นกลาง ไม่ตัดสินคุณค่าของผู้หญิงในทางลบ ท่ีสังคมตัดสินคุณค่าว่า
ไปละเมดิ กรอบของสงั คม
ผู้ใหบ้ รกิ ารปรกึ ษาทางเลือก ต้องไม่มงุ่ ให้ค�ำแนะน�ำ ส่ังสอน หรอื ตดั สนิ ใจแทน แตเ่ ปน็ การ
เสริมพลังและศักยภาพของผู้หญิงท่ีประสบปัญหา ให้เข้าใจปัจจัยและโครงสร้างทางสังคมต่างๆ
ทห่ี ลอ่ หลอมความคดิ ความเชอ่ื และ พฤตกิ รรม ซง่ึ เปน็ สาเหตรุ ากเหงา้ ของปญั หาทเ่ี ขากำ� ลงั เผชญิ
เพื่อเอื้ออ�ำนวยให้ผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม ได้ใช้ศักยภาพในการพิจารณาและใคร่ครวญปัญหาของ
ตนเองอย่างถอ่ งแท้ รวมทัง้ ฟน้ื ฟคู วามรูส้ ึกเหน็ คุณคา่ ภายในของตนเองกลบั คนื มา
การปรกึ ษาทางเลอื ก เปน็ การปรกึ ษาแบบเสรมิ พลงั (Empowerment counselling) ผใู้ หก้ าร
ปรึกษาถือว่าเป็นบุคคลที่มีความส�ำคัญที่ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถในการใช้
ทักษะตา่ งๆ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ เนอื่ งจากผ้ใู ห้การปรกึ ษาจะเป็นผู้เอ้ืออำ� นวยใหผ้ หู้ ญงิ ท่ีประสบ
ปัญหาท้องไม่พร้อม ได้ใช้ศักยภาพในการพิจารณาและใคร่ครวญปัญหาของตนเองอย่างถ่องแท้
15 กนกวรรณ ธราวรรณ, 2545.
46 ค่มู อื การช่วยเหลือผู้หญงิ ตั้งครรภ์ไม่พรอ้ มของศูนยพ์ ึ่งได้
และเข้าใจ เพื่อที่จะสามารถแกไ้ ขปญั หาและสรปุ แนวทางการตดั สนิ ใจที่ถกู ต้องต่อไป ทง้ั นพ้ี บว่า
กระบวนการปรกึ ษาแบบเสรมิ พลงั และศกั ยภาพ สามารถนำ� ไปปรบั ใช้ไดใ้ นกรณผี ้หู ญงิ และเดก็ ท่ี
ถูกกระท�ำด้วยความรุนแรง และผ้หู ญงิ ที่ต้องการฆ่าตวั ตายได้อยา่ งมีประสทิ ธิผลด้วย
ผูใ้ ห้การปรึกษาทางเลือก ควรมคี ุณสมบตั ิดงั ต่อไปนี้
• มที กั ษะในการใหบ้ รกิ ารปรกึ ษา
• มที ศั นะทีเ่ ป็นกลาง และเทา่ ทนั ต่ออคตทิ ่เี กีย่ วข้องกับท้องไม่พรอ้ ม
• มคี วามละเอียดอ่อนต่อประเดน็ เชิงเพศภาวะ
• สามารถประเมินความรู้สึก ประเมินศักยภาพตามทางเลือกของผู้ใช้
บรกิ ารได้
โดยสรุป การปรึกษาทางเลือกท้องไม่พร้อม มีความเฉพาะ และแตกต่างจากการ
การปรกึ ษาอนื่ ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี
• เปน็ การปรึกษาแบบเสรมิ พลัง (empowerment counselling) เพ่อื ใหผ้ ้ปู ระสบปญั หา
สามารถตัดสนิ ทางเลือกได้ดว้ ยตนเอง
• เป็นการใหข้ อ้ มลู รอบด้านท่ใี ห้ผู้ใชบ้ รกิ ารตัดสนิ ทางเลอื กเองได้
• สิทธใิ นการเลือกทางออก เปน็ ของผูใ้ ช้บริการ ไม่ใช่เปน็ ของผู้ใหบ้ รกิ าร
• ผใู้ หบ้ รกิ ารปรกึ ษารว่ มกบั ผใู้ ชบ้ รกิ ารในการยนื ยนั ทางเลอื กทตี่ ดั สนิ ใจแลว้ รว่ มประเมนิ
ศักยภาพ และร่วมวางแผนการจัดการตามทางเลอื ก
• ทำ� ใหเ้ กดิ การคลคี่ ลายความรสู้ กึ ตา่ งๆ ของผใู้ ชบ้ รกิ ารทอ่ี าจตดิ ตามมาจากทางเลอื กนนั้ ๆ
ในภาพรวม การปรกึ ษาทางเลอื กจงึ มงุ่ ใหผ้ ปู้ ระสบปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ ม ไดท้ างออกทส่ี อดคลอ้ ง
กบั เง่ือนไขชวี ิตของตนเอง โดยมีแนวทางเลือกและการใหบ้ ริการตอ่ เนอ่ื งดงั ผงั ภาพตอ่ ไปนี้
ผังภาพที่ 9 ทางเลือกเม่อื ท้องไมพ่ ร้อม 47
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้
3.2 แนวทางการใหบ้ รกิ ารปรึกษาทางเลือกในกรณตี า่ งๆ
ผใู้ ชบ้ ริการทปี่ ระสบปัญหาทอ้ งไม่พรอ้ ม อาจมารับบรกิ ารปรกึ ษาทางเลือกดว้ ยสถานะของ
การตดั สนิ ใจทมี่ มี ากอ่ นทจี่ ะเขา้ รบั บรกิ ารแตกตา่ งกนั ไปหลายรปู แบบ บางรายกงั วลวา่ จะตง้ั ครรภ์
บางรายยังสบั สนกบั ปญั หาทีเ่ กิดข้นึ และไม่ทราบว่าจะเลอื กทางออกอย่างไร จำ� นวนมากทม่ี าดว้ ย
ความตอ้ งการยุติการต้งั ครรภ์ หรอื พบสว่ นหน่ึงที่ตัดสนิ ใจตง้ั ครรภ์ตอ่ แล้วมาขอค�ำปรึกษาและ
ความชว่ ยเหลอื แนวทางการใหก้ ารปรกึ ษาในกรณตี า่ งๆ ดงั กลา่ ว จงึ มรี ายละเอยี ดทไี่ มเ่ หมอื นกนั
โดยมีเป้าหมายของการใหบ้ ริการปรึกษา ขอ้ มูลทีค่ วรให้ ขอ้ พงึ ระวงั และการปดิ บรกิ ารปรึกษาท่ี
แตกต่างกนั ดงั ตอ่ ไปนี้
3.2.1 กงั วลว่าจะตง้ั ครรภ์
กรณนี ผี้ ใู้ ชบ้ รกิ ารมาปรกึ ษาความกงั วลตอ่ การตงั้ ครรภ์ เนอื่ งจากมเี พศสมั พนั ธโ์ ดยไมป่ อ้ งกนั
หรือใช้วิธีท่ีประสิทธิภาพต�่ำ เช่น หลั่งภายนอก นับระยะปลอดภัย ใช้ยาคุมฉุกเฉิน เป็นต้น
บางรายอาจคุมก�ำเนดิ แตผ่ ิดพลาด เช่น ถุงยางอนามัยแตก ลืมกินยา หรอื ลืมฉีดยาคมุ กำ� เนดิ
มจี ำ� นวนมากที่ยังไม่ทราบการตัง้ ครรภ์ แต่พบว่าประจ�ำเดือนขาด
แนวทางการปรึกษาในกรณีนี้ มีเป้าหมายที่การลดความกังวล โดยการตรวจการต้ังครรภ์
เพ่ือใหท้ ราบผลทแี่ น่ชดั ทง้ั นี้ หากผลการตรวจพบวา่ ตัง้ ครรภ์ กด็ �ำเนนิ ตามแนวทางการปรึกษา
ทางเลอื กตอ่ ไป แตห่ ากพบวา่ ไมต่ งั้ ครรภ์ ควรแนะนำ� วธิ กี ารคมุ กำ� เนดิ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพเพอื่ ปอ้ งกนั
การตง้ั ครรภ์ไมพ่ รอ้ มในอนาคต
3.2.2 ผปู้ ระสบปญั หาอายุนอ้ ยและทางเลือกไมต่ รงกับผปู้ กครอง
กรณนี ้ีผูใ้ ชบ้ ริการมอี ายตุ ำ่� กวา่ 18 ปี จำ� เป็นต้องมีผปู้ กครองมารว่ มรบั ทราบและรับผิดชอบ
ดว้ ย ไมว่ า่ ทางเลอื กจะเปน็ การยุตกิ ารตั้งครรภ์ หรือตั้งครรภ์ตอ่ ไป ซ่งึ ทางเลอื กของผใู้ ชบ้ รกิ ารท่ี
อายุนอ้ ยกบั ผปู้ กครองอาจไม่สอดคล้องกนั ได้ สำ� หรับผู้ประสบปัญหาที่มีอายตุ �่ำกวา่ 18 ปี และ
พบวา่ มวี ฒุ ภิ าวะในการตดั สนิ ใจในระดบั หนงึ่ ควรเคารพการตดั สนิ ใจของผปู้ ระสบปญั หาเปน็ หลกั
และมกี ระบวนการเสรมิ พลงั (Empower) ใหส้ ามารถสื่อสารกบั ผู้ปกครองไดด้ ียิ่งขึน้
เปา้ หมายของการบริการปรกึ ษาในกรณี คอื สองฝา่ ยได้มกี ารหารือกันเพื่อใหท้ างเลอื กเป็น
ที่ยอมรับของท้ังสองฝ่ายภายใต้ข้อมูลที่รอบด้าน โดยแนวทางการให้ปรึกษาอาจแยกให้บริการ
ปรกึ ษา ผปู้ ระสบปญั หา และ ผปู้ กครอง หลงั จากนน้ั นำ� ทง้ั สองมาเขา้ สกู่ ระบวนการปรกึ ษารว่ มกนั
การตัดสินใจทางเลือกจึงขึ้นอยู่กับสัมพันธภาพ และบริบทการเล้ียงดูแลภายในครอบครัวนั้นๆ
รวมทง้ั การยอมรบั ความเหน็ ของผปู้ ระสบปญั หาและผปู้ กครอง นอกจากนใ้ี นบางบรบิ ทอาจตอ้ งมี
บุคคลอ้างอิงท่ีได้รับการยอมรับของครอบครัวหรือชุมชน เพื่อให้ความคิดเห็นเพิ่มเติมในการ
ตัดสินใจ รวมท้ังใช้ทีมสหวิชาชีพในการร่วมกันประเมินผู้ใช้บริการและครอบครัวในแง่มุมต่างๆ
อยา่ งรอบดา้ น
48 คมู่ ือการช่วยเหลอื ผู้หญิงต้งั ครรภไ์ ม่พรอ้ มของศูนย์พึ่งได้
ตารางท่ี 3 ประเดน็ ปรกึ ษาและตวั อยา่ งคำ� ถาม กรณผี ใู้ ชบ้ รกิ ารอายนุ อ้ ยและทางเลอื กไมต่ รงกบั
ผปู้ กครอง
ผู้ใชบ้ ริการ ประเดน็ ปรึกษา ตวั อย่างค�ำถาม
ผปู้ ระสบปญั หา คิดอย่างไรกบั การตั้งครรภ์ครั้งนี้
ทอี่ ายุนอ้ ย ความคดิ เหน็ ตอ่ การตงั้ ครรภ์ หากตงั้ ครรภต์ ่อไป ตวั เองจะเป็นอยา่ งไร
ผลกระทบตอ่ การตง้ั ครรภ์ ตวั ออ่ นในทอ้ งจะเป็นอยา่ งไร
คดิ วา่ จะเตรียมตัวอยา่ งไร คลอดแล้วจะจดั การเรือ่ งดูแลอย่างไร
ทางเลือกยตุ ิการตงั้ ครรภ์ คดิ อยา่ งไร จะมผี ลกระทบอะไรบ้าง
ในครอบครวั ไวใ้ จใครมากทสี่ ุด
มีอะไรไมส่ บายใจปรกึ ษาใคร
สมั พนั ธภาพกบั ผปู้ กครอง สนิทกับใครในครอบครวั
หากมปี ัญหาน้ีจะบอกกับใคร และจะบอกอย่างไร
ผปู้ กครอง ความคดิ เหน็ ตอ่ การตงั้ ครรภ์ คิดอยา่ งไรกับการต้ังครรภ์ของลกู (หลาน หรอื อืน่ ๆ) ครั้งน้ี
หากเด็กตัง้ ครรภ์ต่อไป ครอบครัวจะเปน็ อยา่ งไร
คิดอย่างไรต่อตัวอ่อนในครรภ์
ผลกระทบตอ่ การตง้ั ครรภ์ คดิ วา่ จะเตรยี มตวั อย่างไร คลอดแลว้ จะจดั การเรอ่ื งดแู ลอยา่ งไร
ทางเลือกยตุ กิ ารต้งั ครรภ์ คิดอยา่ งไรจะมผี ลกระทบอะไรบา้ ง
ใชช้ วี ติ ประจ�ำวันรว่ มกับเด็กอย่างไรบา้ ง
ลูก (หลาน) เป็นคนอยา่ งไร
สัมพันธภาพกับผู้ประสบ เวลาลกู (หลาน) ท�ำผิดจดั การอย่างไร
ปัญหา นิสัยใจคอของลกู (หลาน) เป็นอยา่ งไร
ความคาดหวังตอ่ ลกู (หลาน) คนนเี้ ปน็ อย่างไรบา้ ง
ขอ้ มลู ท่ีควรให้ กระบวนการตั้งครรภ์ ภาวะเส่ียงของการตัง้ ครรภเ์ มือ่ อายุนอ้ ย ภาระการ
เลี้ยงดเู ดก็ ท่ีเกิดมาในระยะยาว รวมทง้ั ความคิดเหน็ และความต้องการของผปู้ ระสบปญั หาและ
ผู้ปกครอง
การปดิ บริการ ได้ทางเลือกที่เปน็ ทย่ี อมรบั ของทัง้ สองฝ่ายภายใตข้ ้อมลู ทร่ี อบดา้ น
ข้อควรระวัง ไมว่ า่ ทางเลือกจะเป็นยตุ ิ หรอื ท้องตอ่ ใหพ้ ิจารณาการปรกึ ษาในข้อ 3.2.4
และ 3.2.5 เพื่อยนื ยนั การตดั สินใจในทางเลอื กดังกล่าวดว้ ย ในกรณผี ูป้ ระสบปญั หาเป็นเดก็ ท่ี
อายนุ อ้ ยมากๆ เช่น ต�่ำกวา่ 15 ปี อาจต้องพจิ ารณาประเมินวุฒิภาวะของเดก็ ดว้ ย
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 49
ถาม: เด็กอายุต่ำ� กวา่ 18 ปี ตดั สนิ ใจทางเลือกเองได้หรือไม่?
ตอบ: โดยทั่วไปควรตอ้ งอยูภ่ ายใตค้ วามเห็นของพ่อแม่หรอื ผ้ปู กครอง เว้นแต่จะมเี ง่ือนไขอ่ืนๆ
ทีซ่ ับซ้อน เช่นความรนุ แรงในครอบครัว การละเมิดทางเพศจากบคุ คลในครอบครัว การละเลย
ไม่ได้เลี้ยงดูจากผู้ปกครอง หรือเด็กอยู่ในภาวะยากล�ำบากต้องได้รับการสงเคราะห์ช่วยเหลือ
พเิ ศษเปน็ กรณไี ป โดยการชว่ ยเหลือเดก็ นั้นจะต้องคำ� นงึ ถึงประโยชน์ที่เด็กจะไดร้ ับท้ังระยะสัน้
และระยะยาว และเหมาะสมตอ่ ศกั ยภาพ พัฒนาการของเด็ก
ถาม: หากตอ้ งแจ้งผลทางเลือกของเดก็ อายตุ ่�ำกว่า 18 ปีให้กบั ครอบครัว มวี ธิ กี ารอยา่ งไร
ตอบ :ควรต้องท�ำงานกับครอบครัวประเมินความสัมพันธ์และศักยภาพครอบครัว หรือเป็น
ตัวกลางในการประสานงาน พูดคยุ ท�ำความเขา้ ใจกับครอบครัวเดก็ ในประเดน็ ต่างๆ สนับสนนุ
ครอบครัวตามความจำ� เป็นเฉพาะด้าน
ถาม: การปรึกษาทางเลอื ก จะเปน็ ความลบั หรือไม่
ตอบ: ข้อมูลการปรึกษาทางเลือก จะเป็นความลับเช่นเดียวกับข้อมูลผู้ใช้บริการทั่วไปของ
ศูนย์พึง่ ได้
3.2.3 ยงั ไม่ตดั สินใจทางเลือก
กรณีนี้ผู้ใช้บริการทราบว่าตนเองต้ังครรภ์แน่นอนแล้ว และรู้สึกว่าการตั้งครรภ์น้ีไม่พร้อม
ด้วยสาเหตุตา่ งๆ กัน และยังไม่ชดั เจนในเรอื่ งทางเลอื กและทางออก เป้าหมายในการปรึกษาน้ี
คอื ให้ผู้ใช้บรกิ ารสามารถเลอื กทางออกที่สอดคล้องกับความตอ้ งการและเงอื่ นไขชวี ติ และสภาพ
ทางสังคมของตนเอง โดยมตี ัวอย่างประเด็นปรกึ ษาและคำ� ถามดังตอ่ ไปนี้
ตารางท่ี 4 ประเดน็ ปรกึ ษาและตวั อย่างคำ� ถาม กรณีทีผ่ ูใ้ ช้บรกิ ารยงั ไม่ตดั สนิ ใจทางเลอื ก
ประเดน็ ปรึกษา ตัวอยา่ งค�ำถาม
สำ� รวจ อารมณ์ ความคดิ ความ ตอนนค้ี ณุ ตัง้ ครรภ์กเ่ี ดอื นแล้ว มีใครรูเ้ รือ่ งน้ีแลว้ หรอื ยงั
รสู้ กึ ตอ่ การตั้งครรภใ์ นคร้ังน้ี คณุ ร้สู กึ อยา่ งไรตอ่ การตั้งครรภ์น้ี
การทอ้ งครั้งนีม้ อี ะไรท่ีกังวลมากทีส่ ดุ
ผลกระทบต่อตนเอง/ ค/ู่ พอ่ ค/ู่ พ่อแม/่ ญาติ ทราบเรื่องน้แี ลว้ หรือยัง ถา้ ทราบจะเกดิ อะไร
แม/่ ญาติ ขน้ึ ไดบ้ า้ ง
ใครท่ีคุณไว้วางใจและสามารถสนับสนุนคณุ ได้
คิดว่าจะท�ำอยา่ งไรตอ่ ไป
ทางเลือกท้องต่อหรือยุติการ คุณทราบขอ้ มลู ทางเลือกเมอ่ื ทอ้ งไมพ่ รอ้ มไหม มอี ะไรบ้าง
ตัง้ ครรภ์
การท้องตอ่ มีขอ้ ดขี ้อเสยี (ส�ำหรบั คุณ) อยา่ งไรบา้ ง
เข้าใจว่ายุติการต้ังครรภ์เป็นอย่างไร มีข้อดีข้อเสีย (ส�ำหรับ
คณุ ) อยา่ งไรบา้ ง
ขอ้ มลู ทคี่ วรให้ : รายละเอยี ดของทางเลอื กแตล่ ะดา้ น ตรวจสอบความเขา้ ใจและควรอธบิ าย
วธิ ีการ ขั้นตอนอย่างชัดเจน พรอ้ มทัง้ บอกเงื่อนไขเวลาของการตดั สินใจ
50 คู่มือการชว่ ยเหลือผ้หู ญิงตง้ั ครรภ์ไม่พรอ้ มของศนู ย์พึง่ ได้