The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการช่วยเหลือผู้หญิงตั้งครรภ์ไม่พร้อมของศูนย์พึ่งได้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by soon.nw, 2021-09-22 23:17:41

คู่มือการช่วยเหลือผู้หญิงตั้งครรภ์ไม่พร้อมของศูนย์พึ่งได้

คู่มือการช่วยเหลือผู้หญิงตั้งครรภ์ไม่พร้อมของศูนย์พึ่งได้

ภาคผนวก

ภาคผนวก

ภาคผนวกที่ 1 ขอ้ บังคบั แพทยสภา พ.ศ. 2548
ภาคผนวกท่ี 2 พระราชบญั ญตั คิ า่ ตอบแทนผ้เู สยี หาย
ภาคผนวกที่ 3 มาตรการและแนวทางการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียนทป่ี ระสบปญั หา
การตัง้ ครรภ์ในวยั เรยี น ส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
ภาคผนวกที่ 4 ขั้นตอนการขอรับเด็กเปน็ บตุ รบุญธรรม
ภาคผนวกที่ 5 เครือข่ายสง่ ตอ่ ชว่ ยเหลือดแู ล และใหบ้ ริการตามทางเลอื ก
ภาคผนวกที่ 6 ภาคีเครอื ข่ายแนวรว่ มป้องกนั และยตุ คิ วามรุนแรงตอ่ เดก็ และสตรี
กลุม่ จังหวัดรอ้ ยแกน่ สารสินธ์ุ
ภาคผนวกท่ี 7 ค�ำสง่ั กระทรวงสาธารณสุขที่ 780/ 2557 เร่อื ง แตง่ ตั้งคณะท�ำงานจดั ทำ� ค่มู อื
การชว่ ยเหลอื ผูห้ ญงิ ต้ังครรภ์ไม่พรอ้ มของศูนยพ์ ่ึงได้

คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 101

ภาคผนวกท่ี 1

ขอ้ บังคับแพทยสภา
หนา้ ๗

เล่ม ๑๒๒ ตอนท่ี ๑๑๘ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๕ ธันวาคม ๒๕๔๘
ขอ้ บังคบั แพทยสภา

ว่าดว้ ยหลกั เกณฑ์การปฏิบัติเก่ียวกบั การยุตกิ ารตงั้ ครรภท์ างการแพทย์
ตามมาตรา ๓๐๕ แห่งประมวลกฎหมายอาญาพ.ศ. ๒๕๔๘
อาศยั อ�ำนาจตามความในมาตรา ๒๑ (๓) (ฎ) และด้วยความเหน็ ชอบของสภานายกพเิ ศษตามมาตรา ๒๕
แหง่ พระราชบัญญตั วิ ิชาชพี เวชกรรม พ.ศ. ๒๕๒๕ อนั เปน็ พระราชบัญญัติทีม่ ีบทบญั ญตั ิบางประการเก่ียวกับ
การจำ� กดั สทิ ธแิ ละเสรภี าพของบคุ คล ซง่ึ มาตรา ๒๙ ประกอบกบั มาตรา ๕๐ ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั ร
ไทยบญั ญตั ใิ หก้ ระท�ำได้ โดยอาศัยอำ� นาจตามบทบญั ญตั แิ ห่งกฎหมาย คณะกรรมการแพทยสภาออกขอ้ บงั คบั
ดังตอ่ ไปนี้
ขอ้ ๑ ขอ้ บงั คบั นเ้ี รยี กวา่ “ขอ้ บงั คบั แพทยสภา วา่ ดว้ ยหลกั เกณฑก์ ารปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การยตุ กิ ารตง้ั ครรภท์ างการ
แพทย์ ตามมาตรา ๓๐๕ แหง่ ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. ๒๕๔๘”
ข้อ ๒ ขอ้ บังคับน้ีให้ใชบ้ ังคบั ตงั้ แต่วนั ถัดจากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป
ขอ้ ๓ การยตุ กิ ารตงั้ ครรภ์ทางการแพทย์ ตามมาตรา ๓๐๕ แห่งประมวลกฎหมายอาญานน้ั จะกระท�ำไดเ้ ม่อื
หญงิ มีครรภน์ ้นั ยินยอม
ข้อ ๔ แพทย์ผูก้ ระทำ� การยตุ กิ ารต้งั ครรภท์ างการแพทยต์ ามข้อบงั คับน้ี ตอ้ งเปน็ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ตามกฎหมาย
ข้อ ๕ การยตุ กิ ารต้งั ครรภท์ างการแพทย์ ตามมาตรา ๓๐๕ (๑) แห่งประมวลกฎหมายอาญาใหเ้ ปน็ ไปตาม
เง่อื นไข ดงั นี้
(๑) เปน็ กรณที จี่ ำ� เปน็ ต้องกระทำ� เนอ่ื งจากปัญหาสขุ ภาพทางกายของหญิงมคี รรภ์ หรือ
(๒) เป็นกรณีที่จ�ำเป็นต้องกระท�ำเนื่องจากปัญหาสุขภาพทางจิตของหญิงมีครรภ์ ซึ่งจะต้องได้รับการรับรอง
หรอื เหน็ ชอบจากผปู้ ระกอบวชิ าชพี เวชกรรมทมี่ ใิ ชผ่ กู้ ระทำ� การยตุ กิ ารตง้ั ครรภ์ อยา่ งนอ้ ยหนงึ่ คนในกรณที หี่ ญงิ
นั้นมคี วามเครียดอยา่ งรุนแรง เน่ืองจากพบวา่ ทารกในครรภ์มหี รือมีความเสยี่ งสูงท่ีจะมคี วามพิการอย่างรุนแรง
หรือเป็นหรือมีความเสี่ยงสูงที่จะเป็นโรคพันธุกรรมอย่างรุนแรง เมื่อหญิงนั้น ได้รับการตรวจวินิจฉัยและการ
ปรึกษาแนะน�ำทางพนั ธศุ าสตร์ (genetic counseling) และมีการลงนามรับรอง

102 คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผู้หญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ่งึ ได้

หน้า ๘
เลม่ ๑๒๒ ตอนที่ ๑๑๘ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๕ ธนั วาคม ๒๕๔๘
ในเร่อื งดังกลา่ วข้างต้น โดยผปู้ ระกอบวิชาชพี เวชกรรมทม่ี ใิ ช่ผกู้ ระท�ำการยตุ ิการตงั้ ครรภอ์ ย่างนอ้ ยหนง่ึ คนให้
ถอื ว่าหญงิ มคี รรภน์ ้ันมีปัญหาสุขภาพจติ ตาม (๒)
ทั้งนี้ ต้องมีข้อบ่งช้ีทางการแพทย์ที่ชัดเจนว่าหญิงนั้นมีปัญหาสุขภาพทางกายหรือทางจิตและต้องมีการบันทึก
การตรวจและวินจิ ฉยั โรคไว้ในเวชระเบียนเพ่อื เปน็ หลกั ฐาน
ขอ้ ๖ การยุติการต้งั ครรภท์ างการแพทย์ ตามมาตรา ๓๐๕ (๒) แห่งประมวลกฎหมายอาญานั้นตอ้ งมหี ลัก
ฐานหรือขอ้ เทจ็ จรงิ อันควรเชอื่ ได้ว่า หญิงมคี รรภเ์ นอ่ื งจากการกระทำ� ความผิดอาญา ตามทบ่ี ัญญตั ิไวใ้ นมาตรา
๓๐๕ (๒) แห่งประมวลกฎหมายอาญา
ข้อ ๗ การยตุ กิ ารตั้งครรภท์ างการแพทยต์ ามข้อ ๕ และข้อ ๖ ต้องกระท�ำในสถานพยาบาลดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) โรงพยาบาลหรือหนว่ ยงานของรฐั ท่ีให้บรกิ ารรับผปู้ ่วยไว้ค้างคืน หรอื สถานพยาบาลเวชกรรมท่มี เี ตยี งรบั
ผู้ป่วยไว้ค้างคืน ตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล ทั้งน้ี โดยสามารถปฏิบัติเก่ียวกับการยุติการต้ังครรภ์
ทางการแพทย์ได้ตามความเหมาะสม
(๒) คลนิ กิ เวชกรรม ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยสถานพยาบาล โดยสามารถปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การยตุ กิ ารตงั้ ครรภท์ างการ
แพทย์ทอี่ ายคุ รรภ์ไมเ่ กนิ สิบสองสัปดาห์
ข้อ ๘ ผ้ปู ระกอบวชิ าชพี เวชกรรมทป่ี ฏบิ ัตเิ ก่ียวกบั การยตุ ิการต้งั ครรภ์ทางการแพทยต์ ามขอ้ บังคบั นี้ จะต้องท�ำ
รายงานเสนอตอ่ แพทยสภา ตามเง่ือนไขและระยะเวลาในแบบฟอรม์ ทีแ่ พทยสภาก�ำหนด
ข้อ ๙ ในกรณีทผ่ี ู้ประกอบวชิ าชีพเวชกรรมผูก้ ระท�ำการยุตกิ ารตงั้ ครรภ์ทางการแพทย์ไมป่ ฏิบตั ิตามข้อบังคบั นี้
ให้ถือว่าผูป้ ระกอบวิชาชพี เวชกรรมผู้นั้นประกอบวิชาชพี เวชกรรมโดยไม่รกั ษามาตรฐานในระดบั ที่ดที สี่ ดุ
ข้อ ๑๐ ผ้ปู ระกอบวิชาชพี เวชกรรมทปี่ ฏบิ ัตเิ กย่ี วกบั การยตุ กิ ารตั้งครรภท์ างการแพทยต์ ามข้อบงั คบั นี้
ให้ถือว่าไดก้ ระทำ� ตามมาตรา ๓๐๕ แหง่ ประมวลกฎหมายอาญา

ประกาศ ณ วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘
สมศกั ดิ์ โลห่ เ์ ลขา
นายกแพทยสภา

คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 103

ภาคผนวกท่ี 2

พระราชบัญญัตคิ า่ ตอบแทนผเู้ สียหาย
และค่าทดแทนและค่าใชจ้ า่ ยแก่จำ� เลยในคดอี าญา

พ.ศ. 2544
กรณีคา่ ตอบแทนผเู้ สียหายในคดอี าญา

ผู้เสยี หายทีไ่ ด้รบั ความเสยี หายจากการกระทำ� ผิดอาญาของผ้อู ืน่ มสี ทิ ธริ บั ค่าตอบแทนจากรฐั ได้ในกรณีดังตอ่
ไปนี้
• ไดร้ ับบาดเจ็บทางร่างกาย จติ ใจ หรอื ถึงแกค่ วามตายเนือ่ งจากถกู ท�ำรา้ ย ฆา่ ตาย ถูกลูกหลง ถกู ทำ� ให้

แทง้ ลูก ถกู ขม่ ขืน ถกู กระทำ� อนาจาร
• ไดร้ บั บาดเจบ็ สาหัส หรือตายจากการกระทำ� โดยประมาทของผูอ้ ่ืน
• เด็ก คนชรา คนปว่ ยที่ชว่ ยเหลือตวั เองไมไ่ ด้และถกู ทอดทิ้ง
ให้ปฏิบตั ิดังนี้
1. แจ้งต่อเจา้ พนกั งานต�ำรวจ ณ.ทอ้ งทเี่ กดิ เหตุ เพอื่ ดำ� เนนิ คดี
2. พบแพทยท์ โี่ รงพยาบาลเพือ่ ตรวจรักษา กรณเี สยี ชวี ิตใหแ้ จ้งหน่วยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ งเพือ่ ออกมรณบัตร
3. รวบรวมเอกสารหลกั ฐานทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
4. ย่ืนค�ำขอรบั เงนิ ค่าตอบแทนภายใน 1 ปี นับแต่วนั ท่ไี ดร้ ู้ถงึ การกระท�ำผดิ
หลกั ฐานทตี่ ้องน�ำมายื่น
1. ส�ำเนาบตั รประจำ� ตวั ประชาชน และ สำ� เนาทะเบียนบ้าน
2. สำ� เนาใบเปลย่ี นช่ือตวั ชอ่ื สกุล (ถ้ามี)
3. หนังสอื มอบอำ� นาจ (ถ้าม)ี
4. สำ� เนาทะเบยี นสมรส (ถ้าม)ี
5. สำ� เนาสตู บิ ตั ร
6. หนงั สอื ให้ความยนิ ยอม(กรณีมีทายาทหลายคน)
7. หลักฐานค่าใชจ้ า่ ยในการรักษาพยาบาล
8. หลักฐานคา่ ใช้จา่ ยในการฟื้นฟสู มรรถภาพ
9. ใบมรณบัตร (กรณีเสยี ชีวติ )
10. บนั ทึกประจำ� วนั เกย่ี วกบั คดี
11. ใบรับรองแพทย์/หนังสอื ความเห็นแพทย์
12. สำ� เนารายงานการชันสตู รพลกิ ศพ (กรณีเสยี ชีวิต)
13. สำ� เนารายงานการชนั สูตรบาดแผลของแพทย์ (กรณบี าดเจบ็ )
14. หนงั สือรับรองรายได้ (กรณีประกอบอาชีพ)

สทิ ธกิ ารไดร้ บั เงนิ ชว่ ยเหลือของผเู้ สียหาย
กรณีทั่วไป
1. ค่าใช้จา่ ยทีจ่ �ำเปน็ ในการรักษาพยาบาลเทา่ ที่จา่ ยจริง แตไ่ มเ่ กิน 30,000 บาท
2. คา่ ฟ้ืนฟสู มรรถภาพทางรา่ งกายและจิตใจเท่าท่จี ่ายจริง แตไ่ มเ่ กิน 20,000 บาท
3. คา่ ขาดประโยชนท์ ำ� มาหาไดใ้ นระหวา่ งทไ่ี มส่ ามารถประกอบการงานไดต้ ามปกติ อตั ราวนั ละไมเ่ กนิ 200 บาท

ระยะเวลาไมเ่ กิน 1 ปี
4. คา่ ตอบแทนความเสียหายอื่นตามท่ีคณะกรรมการเหน็ สมควรแต่ไม่เกิน 30,000 บาท
กรณเี สียชีวติ
1. ค่าตอบแทนกรณผี เู้ สียหายถงึ แก่ความตาย ตัง้ แต่ 30,000 บาท แต่ไม่เกิน 100,000 บาท
2. ค่าจดั การศพ จ�ำนวน 20,000 บาท
3. ค่าขาดอุปการะเล้ียงดู ไมเ่ กิน 30,000 บาท

104 คมู่ อื การชว่ ยเหลือผู้หญงิ ตั้งครรภ์ไม่พรอ้ มของศูนย์พ่งึ ได้

4. คา่ เสยี หายอนื่ ตามทคี่ ณะกรรมการเห็นสมควร แตไ่ มเ่ กิน 30,000 บาท

สถานทตี่ ดิ ต่อขอรบั เงนิ คา่ ตอบแทน
ส�ำนักงานช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้เสียหายและจ�ำเลยในคดีอาญา กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
กระทรวงยุติธรรม ศนู ย์ราชการเฉลมิ พระเกียรติ อาคารเอ ช้นั 2 ถนนแจง้ วฒั นะ แขวงทุง่ สองหอ้ ง เขตหลกั ส่ี
กรุงเทพฯ 10210 โทรศัพท์ 0 2141 2838 – 89 และทส่ี �ำนกั งานยุติธรรมจังหวดั ทกุ จังหวดั

ภาคผนวกที่ 3

มาตรการและแนวทางการดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี นที่ประสบปญั หาการตั้งครรภใ์ นวัยเรียน
ของสำ� นกั งานคณะกรรมการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

มาตรการและแนวทางการดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีประสบปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียน โดยศูนย์
เฉพาะกจิ คมุ้ ครองและชว่ ยเหลอื เดก็ นกั เรยี น สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
จดั ทำ� ขนึ้ เพอ่ื ใหส้ ถานศกึ ษาและสำ� นกั เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาทกุ แหง่ ไดม้ ขี อ้ มลู ความรคู้ วามเขา้ ใจและการดำ� เนนิ งานให้
เปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกนั จึงไดก้ �ำหนดมาตรการและแนวทางเป็น 4 ดา้ นดงั ตอ่ ไปนี้
1. การจดั การเรียนรู้เรื่องเพศศึกษาและการสรา้ งภมู คิ ุ้มกันให้กบั เด็กนักเรยี น
2. การเฝา้ ระวงั การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาการต้ังครรภใ์ นวัยเรียน
3. การดแู ลใหค้ วามช่วยเหลอื และคุ้มครองนักเรียนที่ตัง้ ครรภ์ในวยั เรยี น
4. การสรา้ งความตระหนักและการพัฒนาการมสี ่วนรว่ มของสงั คม

ส�ำหรับการดูแลให้ความช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรียนที่ตั้งครรภ์ในวัยเรียน ได้ก�ำหนดแนวทาง
ช่วยเหลือเปน็ สองระดบั คอื ระดับสถานศึกษา และ ระดบั ส�ำนกั เขตพ้นื ที่การศกึ ษา ดงั ต่อไปน้ี
ระดับสถานศึกษา
การช่วยเหลือนกั เรยี นท่ีตงั้ ครรภ์ในวยั เรียน โดยมีตวั ช้วี ดั คอื รอ้ ยละของนักเรยี นที่ประสบปญั หาได้รับความ
ช่วยเหลอื มีแนวทางการดำ� เนินงานดงั ตอ่ ไปน้ี
1. จัดบริการปรึกษาแนะน�ำและท�ำหน้าท่ีผ่อนคลายระบายทุกข์ให้แก่นักเรียนและผู้ปกครองท่ีก�ำลังประสบ

ปญั หา
2. เปดิ ชอ่ งทางการสอื่ สารขอความชว่ ยเหลอื อยา่ งหลากหลายเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นไดส้ ง่ สญั ญานขอความชว่ ยเหลอื

เม่ือเกดิ เหตฉุ ุกเฉินหรอื ประสบปญั หาท่อี าจนำ� ไปสกู่ ารต้งั ครรภ์ในวยั เรยี น
3. ประสานความรว่ มมอื กบั แพทย์ นกั จติ วทิ ยา นกั สงั คมสงเคราะห์ และผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นกระบวนการยตุ ธิ รรม

เพ่อื ด�ำเนินการให้ความชว่ ยเหลือนักเรยี นตามระดับความรุนแรงของปัญหา
4. สถานศึกษาต้องรีบน�ำนักเรียนออกจากสถานการณ์ปัญหาให้เร็วที่สุดและด�ำเนินการให้ความช่วยเหลือ

เบอ้ื งต้นอย่างรวดเรว็
5. ประสานส่งต่อนักเรียนที่ประสบปัญหาไปยังหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพื่อช่วยให้นักเรียนได้รับการดูแล

ชว่ ยเหลือบ�ำบัด ฟน้ื ฟอู ยา่ งถกู วธิ แี ละทนั เวลา

การใหค้ วามค้มุ ครองนกั เรียนทปี่ ระสบปญั หาการตัง้ ครรภ์ในวยั เรียน โดยมีตวั ชีว้ ัดคือ รอ้ ยละของนักเรยี นท่ี
ประสบปญั หาการตง้ั ครรภใ์ นวัยเรียนท่ีได้รบั การคุม้ ครองสิทธแิ ละโอกาส มแี นวทางในการด�ำเนนิ งานตอ่ ไปนี้
1. ด�ำเนินการดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีประสบปัญหาโดยหลีกเลี่ยงการลงโทษหรือให้นักเรียนออกจากระบบ

การศกึ ษา
2. สร้างและพัฒนารูปแบบการให้บริการทางการศึกษาให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพของนักเรียนท่ีก�ำลัง

ประสบปัญหา
3. คุ้มครองสิทธแิ ละโอกาสทางการศกึ ษา โดยใช้กระบวนการประชุมสหวชิ าชพี เพือ่ พิจารณาและคมุ้ ครอง

สทิ ธิตามสมควรแก่กรณี

คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 105

4. จดั กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจและสรา้ งตน้ ทนุ ชวี ติ ใหแ้ กน่ กั เรยี น ทงั้ กลมุ่ เสยี่ ง และกลมุ่ ทป่ี ระสบ
ปญั หาการตัง้ ครรภใ์ นวยั เรียน

ระดับส�ำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา
ส�ำนักงานพื้นท่ีการศึกษา ให้จัดมาตรการให้ความช่วยเหลือและคุ้มครองนักเรียน โดยมีตัวช้ีวัดคือ
รอ้ ยละของสถานศึกษาที่ประสบความสำ� เร็จในการดำ� เนินงาน และมแี นวทางดงั ต่อไปนี้
1. สนบั สนุนให้สถานศึกษา มีนักจิตวิทยาประจ�ำโรงเรยี น
2. ส่งเสริมให้สถานศึกษา ดำ� เนินการจัดการศึกษาทางเลือก (Alternative Education Program)
3. เป็นท่ีให้คำ� ปรกึ ษาแนะนำ� และช่วยประสานความร่วมมือกับหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชนที่เก่ียวข้องเพือ่ ให้

ความชว่ ยเหลอื สถานศึกษา
4. เรง่ ตดิ ตามและรายงานขอ้ มลู ผลการใหก้ ารดแู ลชว่ ยเหลอื และคมุ้ ครองนกั เรยี นทป่ี ระสบปญั หาแกห่ นว่ ยงานท่ี

เกี่ยวข้อง

106 คมู่ ือการชว่ ยเหลือผู้หญิงตง้ั ครรภ์ไม่พร้อมของศูนยพ์ ง่ึ ได้

ภาคผนวกท่ี 4

ขั้นตอนการขอรบั เด็กเป็นบตุ รบญุ ธรรม27
การรบั เดก็ เปน็ บตุ รบญุ ธรรม ดำ� เนนิ การโดยศนู ยอ์ ำ� นวยการรบั เดก็ เปน็ บตุ รบญุ ธรรม สงั กดั กรมพฒั นาสงั คม
และสวสั ดิการ กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์ ซึง่ จดั ตั้งขึ้นเม่อื พ.ศ.2520 ตามมตคิ ณะ
รัฐมนตรี เมอ่ื วันที่ 20 กรกฎาคม 2520 และตามมาตรา 15 แห่งพระราชบญั ญตั ิการรับเดก็ เปน็ บุตรบญุ ธรรม
พ.ศ. 2522 เป็นหน่วยงานรับผิดชอบด�ำเนินการและดูแลด้านการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมท่ัวราชอาณาจักร
รวมทงั้ ทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ สำ� นกั งานเลขานกุ ารของคณะกรรมการการรบั เดก็ เปน็ บตุ รบญุ ธรรม โดยปฏบิ ตั งิ านใหเ้ ปน็
ไปตามพระราชบัญญตั ิการรับเดก็ เป็นบตุ รบุญธรรม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2533 และตามกฎกระทรวงท่อี อกตาม
ความในพระราชบญั ญตั ดิ ังกล่าว ในสว่ นภูมภิ าคได้แตง่ ตงั้ ให้มีคณะอนุกรรมการการรับเด็กเปน็ บตุ รบุญธรรม
ประจ�ำจังหวัดข้ึนทุกจังหวัดเพ่ือท�ำหน้าท่ี โดยมีส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดเป็น
ส�ำนักงานเลขานุการ
การรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมเป็นการให้บริการด้านสวัสดิการเด็ก การด�ำเนินงานให้รับเด็กเป็นบุตร
บญุ ธรรมจำ� เปน็ ตอ้ งอาศยั หลกั ของกฎหมายควบคกู่ บั หลกั การทางสงั คมสงเคราะห์ ซงึ่ กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งไดแ้ ก่
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พระราชบญั ญตั กิ ารรับเด็กเปน็ บตุ รบุญธรรม พ.ศ.2522 พระราชบัญญัติ
การรบั เดก็ เป็นบุตรบุญธรรม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2533 กฎกระทรวงฉบับท่ี 9 (พ.ศ.2543) ออกตามความใน
พระราชบญั ญตั กิ ารรบั เดก็ เปน็ บตุ รบญุ ธรรม พ.ศ.2522 พระราชบญั ญตั จิ ดทะเบยี นครอบครวั พระราชบญั ญตั ิ
ทะเบยี นราษฎร เปน็ ตน้
การขอรบั เดก็ (ผเู้ ยาว)์ เปน็ บตุ รบุญธรรม ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ และตามพระราชบญั ญตั ิ
การรบั เด็กเป็นบตุ รบุญธรรม
คณุ สมบตั ติ ามกฎหมายของผ้ขู อรบั เดก็ เปน็ บตุ รบญุ ธรรม
1. ตอ้ งมีอายไุ มต่ ำ่� กวา่ 25 ปี (นับตงั้ แต่วนั เกดิ ถึงวนั ทีย่ น่ื คำ� ร้อง)
2. ต้องมีอายมุ ากกว่าเดก็ ทีจ่ ะรบั เป็นบุตรบุญธรรม ไม่น้อยกวา่ 15 ปี
3. ต้องเป็นผู้ทไี่ มต่ อ้ งหา้ มเป็นผ้ปู กครองเด็กตามมาตรา 1587 แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชยไ์ ด้แก่

• ผซู้ ่งึ ศาลสงั่ ว่าเป็นคนไร้ความสามารถ หรอื เสมอื นไรค้ วามสามารถ
• ผซู้ งึ่ เป็นบุคคลล้มละลาย
• ผ้ซู ึ่งไม่เหมาะสมที่จะปกครองผู้เยาว์ หรอื ทรัพยส์ นิ ของผูเ้ ยาว์
• ผู้ซ่ึงมีหรือเคยมีคดีในศาลกับผู้เยาว์ ผู้บุพการีหรือพ่ีน้องร่วมบิดามารดา หรือร่วมแต่บิดา

หรือมารดากับผู้เยาว์
• ผซู้ ่ึงบดิ าหรือมารดาที่ตายได้ทำ� หนังสือระบุชอ่ื ห้ามไว้มิให้เป็นผปู้ กครอง
หลกั เกณฑ์การขอรับเดก็ เปน็ บตุ รบญุ ธรรม
1. ผู้ขอรับเด็กเป็นบตุ รบุญธรรมเป็นคนสัญชาติไทย ทม่ี ีภูมิล�ำเนาในประเทศไทย ซึ่งขอรบั เดก็ สัญชาตไิ ทยที่
บิดามารดา หรือบิดาหรือมารดาเป็นผู้ให้ความยินยอม หรือเด็กที่ศาลมีคำ� ส่ังอนุญาตแทนการให้ความ
ยนิ ยอมของบิดามารดา และได้ผ่านการทดลองเลยี้ งดูครบก�ำหนดแล้ว
2. ผขู้ อรบั เดก็ เปน็ บุตรบญุ ธรรมเป็นคนสญั ชาติไทย ท่ีมภี ูมิลำ� เนาในประเทศไทย ซึ่งขอรับเด็กสญั ชาติไทยที่
ไดร้ บั ยกเวน้ การทดลองเลยี้ งดตู ามกฎหมาย

27 สหทยั มลู นธิ ,ิ 2554. เอกสารการขอรบั เดก็ เปน็ บตุ รบญุ ธรรม : ศนู ยอ์ ำ� นวยการรบั เดก็ เปน็ บตุ รบญุ ธรรม. 107
กรมการพัฒนาสงั คมและสวสั ดกิ าร กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์

คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้

คุณสมบตั ิทางสงั คมของผูข้ อรบั เดก็ เปน็ บุตรบุญธรรม
1. เป็นครอบครัวท่ีสมบรู ณ์ ครอบครวั อบอุ่น ความสมั พนั ธ์ในครอบครัวดี
2. ตอ้ งมสี ุขภาพสมบูรณ์ท้งั ร่างกายและจติ ใจ
3. ต้องมฐี านะการครองชีพทีม่ ัน่ คง มีทรัพยส์ ินและรายได้ท่ีแน่นอน ไมม่ ีหนี้สนิ และมปี ญั หาเรอ่ื งค่าใช้จา่ ย

การเลี้ยงดูหรือสนบั สนุนการศึกษาของเดก็
4. ต้องมีที่อยอู่ าศยั เป็นหลกั แหลง่ ถกู สขุ ลกั ษณะ อยูใ่ นส่ิงแวดล้อมทดี่ ี ไมอ่ ยหู่ า่ งไกลจากชมุ ชนมากเกินไป
5. ตอ้ งมเี วลาใหก้ บั เด็กทจี่ ะรับเปน็ บตุ รบญุ ธรรม ให้ความส�ำคญั และเอาใจใส่เดก็ อย่างใกลช้ ดิ
6. ตอ้ งมเี หตผุ ลในการขอรบั เดก็ เปน็ บตุ รบญุ ธรรมทเี่ หมาะสม ไมเ่ ชอื่ ถอื เรอื่ งโชคลาง รบั เดก็ เปน็ บตุ รบญุ ธรรม

อย่างเปดิ เผยและจรงิ ใจ ไม่ไดร้ ับการคดั คา้ นจากสมาชิกในครอบครวั ญาตพิ นี่ อ้ ง
7. ต้องไม่มีบุตร หรือเด็กในความอุปการะมากเกินไป เพื่อให้บุตรบุญธรรมได้รับความรักและการเอาใจใส่

อย่างเต็มท่ี
8. ไม่เคยมปี ระวตั กิ ระท�ำความผิดตามกฎหมาย หรือมพี ฤติกรรมกา้ วรา้ วรุนแรง ตอ่ บคุ คลอื่นหรือประพฤติ

ผิดศลี ธรรมและจารตี ประเพณอี ันดีงาม
9. ต้องมีวุฒิภาวะเหมาะสมที่จะอปุ การะเล้ยี งดู อบรมสัง่ สอนให้บตุ รบญุ ธรรมประพฤตติ นเป็นคนดี

เอกสารประกอบการพจิ ารณาของฝ่ายผ้ขู อและค่สู มรส
1. สำ� เนาบตั รประจ�ำตัวประชาชน หรอื ส�ำเนาบัตรขา้ ราชการ คนละ 1 ฉบบั
2. สำ� เนาทะเบียนบา้ น คนละ 1 ฉบบั
3. สำ� เนาทะเบยี นสมรส 1 ฉบบั หรอื ส�ำเนาทะเบียนการหยา่ หรอื ส�ำเนาใบมรณบัตร (กรณีคู่สมรสเสยี ชวี ิต)
4. หลกั ฐานการเปลยี่ นชื่อหรอื นามสกลุ คนละ 1 ฉบับ
5. ใบรบั รองแพทยแ์ สดงว่ามีรา่ งกายและจิตใจสมบรู ณ์ คนละ 1 ฉบับ (ไมเ่ กิน 6 เดือน)
6. รูปถ่ายหนา้ ตรง ขนาด 2 นวิ้ เท่าน้ัน คนละ 1 รปู (ถา่ ยไวไ้ ม่เกิน 6 เดือน)
7. หากผขู้ อมบี ตุ รอายุไม่ต�ำ่ กว่า 15 ปี บตุ รตอ้ งมาลงนามยินยอมใหบ้ ิดามารดารับเด็กเปน็ บุตรบุญธรรมต่อ

หนา้ พนกั งานเจ้าหนา้ ท่ี และแนบสำ� เนาบตั รประชาชนของบุตร คนละ 1 ฉบับ หากบุตรไม่สามารถมาลง
นามได้ ใหผ้ ขู้ อรบั เด็กทำ� บันทึกระบุเหตผุ ลท่บี ตุ รไม่สามารถมาลงนามใหค้ วามยนิ ยอม และใหบ้ ุตรนั้นท�ำ
บนั ทกึ แสดงความยนิ ยอมให้บิดามารดารบั เด็กเป็นบตุ รบญุ ธรรม ตอ่ ผวู้ า่ ราชการจังหวัด
8. หากคู่สมรสไม่ขอรับเด็กเป็นบุตรด้วย คู่สมรสต้องมาลงนามแสดงความยินยอมให้ผู้ขอรับเด็กเป็นบุตร
บญุ ธรรมฝา่ ยเดยี วตอ่ หนา้ พนกั งานเจา้ หนา้ ที่ ในกรณที ค่ี สู่ มรสไมอ่ าจใหค้ วามยนิ ยอมเนอ่ื งจากหายไปจาก
ภมู ลิ �ำเนา หรอื ถิน่ ที่อยู่ และหาตัวไม่พบเปน็ เวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี ตอ้ งมีค�ำสัง่ อนุญาตของศาลแทนการให้
ความยินยอมของคสู่ มรสนัน้
9. กรณีผ้ขู อรบั เด็ก (มีสญั ชาติไทย ไม่ได้ CITIZEN หรอื GREENCARD) ท�ำงานและอาศยั อยตู่ า่ งประเทศ
ให้นำ� ส�ำเนาหนังสอื เดนิ ทาง หนังสืออนญุ าตท�ำงาน หนงั สือรบั รองการทำ� งานและรายได้ และท�ำหนงั สือ
ขอความรว่ มมอื เยย่ี มบา้ นในตา่ งประเทศโดยตอ้ งระบสุ ถานทตู หรอื สถานกงสลุ ไทยทใ่ี กลท้ อ่ี ยขู่ องตน และ
ยนิ ยอมจา่ ยคา่ ใช้จ่ายทัง้ หมดทีเ่ กิดขึน้ ในการติดตามเย่ียมบา้ น และตดิ ตามการทดลองเล้ียงดเู ดก็ (กรณี
ต้องทดลองเล้ียงดูเด็กตามกฎหมาย) ถึงผู้ว่าราชการจังหวัด และอธิบดีกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
(หลักฐานท่เี ป็นภาษาตา่ งประเทศ ต้องแปลเป็นภาษาไทย โดยแปลอยา่ งถกู ต้อง และไดร้ บั การรบั รอง)
10. หากผ้ขู อรบั เด็กมีค่สู มรส ซง่ึ ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน แตอ่ ยูก่ ินรว่ มกนั ฉนั ทส์ ามภี รรยา คูส่ มรสนนั้ ไม่
สามารถขอรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมร่วมได้ และต้องลงนามในเอกสารค�ำร้องขอรับเด็ก พร้อมมีเอกสาร
หลักฐานดังกล่าวข้างต้น

เอกสารประกอบการพิจารณาของบดิ ามารดาเดก็
1. ส�ำเนาบัตรประจำ� ตวั ประชาชนหรือสำ� เนาบัตรขา้ ราชการ คนละ 1 ฉบบั
2. สำ� เนาทะเบียนบ้าน คนละ 1 ฉบับ
3. สำ� เนาทะเบยี นสมรสหรอื สำ� เนาทะเบยี นการหยา่ และบนั ทกึ การหยา่ ซง่ึ ระบวุ า่ ฝา่ ยใดเปน็ ผมู้ อี ำ� นาจปกครอง

บตุ ร หรือสำ� เนาใบมรณบตั ร (กรณคี สู่ มรสเสยี ชีวิต) จ�ำนวน 1 ฉบับ

108 คู่มือการช่วยเหลือผู้หญงิ ต้ังครรภ์ไมพ่ รอ้ มของศนู ย์พ่ึงได้

4. หลักฐานการเปล่ียนช่ือหรอื นามสกุล คนละ 1 ฉบับ
5. รูปถ่ายหนา้ ตรง ขนาด 2 นิ้วเทา่ นน้ั คนละ 1 รปู (ถ่ายไวไ้ มเ่ กิน 6 เดือน)
6. บิดามารดาเด็กต้องมาลงนามแสดงความยนิ ยอมมอบเด็กเป็นบตุ รบุญธรรมต่อหน้าพนักงานเจ้าหน้าที่ ถึง

แมบ้ ดิ ามารดาไม่ได้จดทะเบยี นสมรสกัน เว้นแตฝ่ ่ายใดฝ่ายหนงึ่ เสยี ชวี ิตหรือถูกถอนอ�ำนาจปกครอง
เอกสารประกอบการพจิ ารณาของเด็ก
• ส�ำเนาสูติบตั รเดก็ จำ� นวน 1 ฉบบั
• สำ� เนาทะเบยี นบ้าน จำ� นวน 1 ฉบับ
• สำ� เนาบตั รประจำ� ตวั ประชาชน จ�ำนวน 1 ฉบบั
• ส�ำเนาหลกั ฐานการเปลย่ี นช่ือ- นามสกุล จำ� นวน 1 ฉบับ
• รูปถา่ ยหน้าตรง ขนาด 2 นิว้ เท่านนั้ จ�ำนวน 1 รปู (ถ่ายไว้ไมเ่ กนิ 6 เดอื น) กรณเี ปน็ เดก็
• อายุตัง้ แต่แรกเกดิ - 5 ปี อนโุ ลมให้ใชร้ ปู ขนาดโปสการด์ ได้
• กรณเี ดก็ มอี ายไุ มต่ �ำ่ กวา่ 15 ปี เด็กต้องมาลงนามแสดงความยินยอมเปน็ บุตรบุญธรรมต่อหนา้ พนักงาน

เจา้ หนา้ ท่ี
• กรณเี ดก็ มอี ายุ 12 ปีขึน้ ไป ใหเ้ ดก็ เขยี นบนั ทกึ ระบุเหตุผลท่ีต้องการ และยนิ ยอมเปน็ บุตรบญุ ธรรมของผู้

ขอรับเด็ก
เอกสารประกอบการพจิ ารณาของผู้รบั รอง จำ� นวน 2 คน
ผู้รบั รองตอ้ งรู้จกั กบั ผ้ขู อรบั เดก็ เช่น บดิ ามารดา ญาติพีน่ ้อง เพอ่ื น ผใู้ หญ่บา้ น กำ� นัน หวั หนา้ หนว่ ยงาน
1. ส�ำเนาบัตรประจ�ำตวั ประชาชนหรือส�ำเนาบัตรข้าราชการ คนละ 1 ฉบับ
2. ส�ำเนาทะเบียนบ้าน คนละ 1 ฉบับ
• ผรู้ ับรองไม่ตอ้ งมาในวันทผ่ี ู้ขอรับเด็กน�ำค�ำรอ้ งมายื่น แตต่ ้องรบั รองส�ำเนาเอกสารของตนเองใหเ้ รยี บร้อย
** บคุ คลท่ีเชอื่ ถอื ได้ ในแบบ บธ.4 หนา้ ท่ี 5, ผูร้ ับรองในแบบ บธ. 7 ข้อ 11 และผู้รับรองท่ีลงนามในหนังสือ
รับรองตอ้ งเป็นบคุ คลคนเดียวกันเท่าน้นั  
***การรบั รองใน แบบ บธ. 7   ข้อ 11 ของผ้รู บั รอง ใหเ้ ขยี นรบั รองผูข้ อรบั เดก็ ว่ามคี วามเหมาะสมทจี่ ะเลย้ี ง
ดเู ดก็ อยา่ งไรบา้ งตามความคดิ เหน็ ของผรู้ บั รอง เชน่ ความมนั่ คงของรายได ้ หนา้ ทกี่ ารงาน ความประพฤตนิ สิ ยั
ใจคอ อารมณจ์ ติ ใจ สภาพครอบครวั และใหร้ ะบุระยะเวลาทผี่ ขู้ อรบั เดก็ ไดอ้ ุปการะเลี้ยงดูเด็กดว้ ย
หมายเหตุ 
• เอกสารหลักฐานของทกุ คน (ยกเว้นของผู้รับรอง) ให้นำ� ฉบบั จรงิ มาแสดงดว้ ย ในวนั ทนี่ �ำค�ำรอ้ งขอรับเดก็

เป็นบตุ รบญุ ธรรมมาย่นื
• ไม่อนุญาตใหผ้ ขู้ อรบั เดก็ หรือบุคคลอนื่ ใดน�ำหนงั สือแสดงความยินยอมต่าง ๆ ไปให้ผู้ที่ตอ้ งมาลงนามตอ่

หน้าพนักงานเจา้ หน้าท่ไี ปลงนามทอ่ี น่ื ทุกกรณี

คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 109

กรณีชาวต่างชาตขิ อรบั บุตรตดิ ภรรยาหรือหลานของภรรยาเปน็ บุตรบญุ ธรรม
สถานทต่ี ิดต่อยื่นเรื่อง
ศูนย์อ�ำนวยการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม เลขที่ 255 ถนนราชวิถี เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร
10400 โทรศัพท์ 0-2354-7500, 0-2354-7509 (ตั้งอยใู่ นสถานสงเคราะห์เด็กหญงิ บา้ นราชวถิ )ี
เอกสารที่ต้องเตรียม (พรอ้ มทั้งเตรียมเอกสารฉบบั จริงเพ่ือแสดงตอ่ เจา้ หนา้ ท)่ี
ผขู้ อรบั เด็กและคู่สมรส
1. ส�ำเนาหนังสือเดินทางหรอื เอกสารใช้แทนหนงั สอื เดนิ ทาง
2. ส�ำเนาใบส�ำคญั ประจ�ำตวั คนต่างด้าว หรือ ส�ำเนาบตั รประจ�ำตัวประชาชน คนละ 2 ฉบบั
3. ใบรบั รองจากแพทย์ซ่ึงแสดงว่ามรี า่ งกายและจติ ใจสมบูรณ์ คนละ 1 ฉบับ
4. รูปถา่ ยหน้าตรงขนาด 2 นิว้ คนละ 4 รปู พร้อมท้งั รูปบุตรในครอบครัว (ถ้ามี)
5. เอกสารแสดงทรัพย์สิน
6. เอกสารรับรองการท�ำงานและรายได้ และเอกสารรับรองการเงินยอ้ นหลงั ไมเ่ กนิ 6 เดอื นและใบอนญุ าต

ท�ำงานของคนตา่ งด้าว (WORK PERMIT)
7. สำ� เนาทะเบยี นสมรส หรือสำ� เนาทะเบยี นหย่า
8. ส�ำเนาใบสำ� คัญถ่นิ ท่อี ยู่ หรือ สำ� เนาทะเบียนบ้าน คนละ 2 ฉบบั
9. เอกสารจากหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งของประเทศทผ่ี ขู้ อมภี มู ลิ ำ� เนาอยรู่ บั รองวา่ สามารถรบั เดก็ เปน็ บตุ รบญุ ธรรม

ไดต้ ามกฎหมาย
10. เอกสารจากหน่วยงานตรวจคนเข้าเมืองท่ีผู้ขอมีภูมิล�ำเนาอยู่ ซึ่งรับรองว่าสามารถน�ำเด็กที่จะเป็นบุตร

บุญธรรมเข้าประเทศได้
11. เอกสารรบั รองความประพฤติและความเหมาะสมทั่วไปจากบุคคลท่เี ชือ่ ถือได้ 2 คน เอกสารจะตอ้ งได้รับ

การรบั รองจากสถานทูตหรอื สถานกงสุลของประเทศผู้ขอดว้ ย
บดิ ามารดาเด็กหรอื ผู้ปกครอง
1. สำ� เนาบัตรประจ�ำตัวประชาชนของบดิ ามารดาหรือผปู้ กครอง คนละ 2 ฉบบั
2. ส�ำเนาทะเบียนบา้ นคนละ 2 ฉบบั
3. สำ� เนาทะเบยี นสมรส หรือส�ำเนาทะเบยี นหย่า พร้อมบันทึกการหยา่ หรอื ส�ำเนาใบมรณบัตรหรอื คำ� สั่งศาล
4. รูปถ่ายหน้าตรงขนาด 2 นว้ิ คนละ 2 รปู (ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน)
5. หลกั ฐานการเปลยี่ นชือ่ –สกลุ
เด็กท่จี ะเปน็ บตุ รบญุ ธรรม
1. สำ� เนาสูตบิ ตั รเด็ก 2 ฉบับ
2. สำ� เนาทะเบยี นบ้านเด็ก 2 ฉบับ
3. สำ� เนาการเปลี่ยนช่ือ–สกุล (ถ้าม)ี
4. รูปถ่ายหนา้ ตรงขนาด 2 นิ้ว 2 รปู (ถ้าเปน็ เด็กอนโุ ลมใหใ้ ช้รูปถา่ ยขนาดโปสการ์ดได)้
5. ถ้าเดก็ อายเุ กิน 15 ปี บริบรู ณ์ ถ่ายสำ� เนาบตั รประจ�ำตัวประชาชน 2 ฉบับ
หมายเหตุ ติดตอ่ ศูนยอ์ �ำนวยการรับเดก็ เป็นบตุ รบุญธรรม E-mail Address: [email protected]
*** กรณีชาวต่างประเทศยน่ื คำ� ขอรบั เดก็ ผา่ นหน่วยงานตา่ งประเทศ จะไม่อนุญาตใหบ้ ิดามารดาเด็กลงนามใน
หนังสือแสดงความยินยอม (บธ.6) ก่อนท่ีศูนย์อ�ำนวยการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมจะได้รับเอกสารค�ำขอรับ
เด็กจากหน่วยงานของประเทศที่ผู้ขอรับเด็กมภี มู ิลำ� เนาหรือถ่นิ ทอี่ ยู่

110 คมู่ อื การช่วยเหลือผู้หญงิ ตัง้ ครรภไ์ มพ่ ร้อมของศนู ย์พึ่งได้

สถานทต่ี ิดตอ่ ย่นื เร่ืองการรบั เด็กเป็นบตุ รบญุ ธรรม
• ศนู ย์อำ� นวยการรบั เดก็ เปน็ บุตรบญุ ธรรม เลขที่ 255 ถนนราชวถิ ี เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400

โทรศัพท์ 0-2354-7500 , 0-2354-7509 (ตั้งอยใู่ นสถานสงเคราะห์เดก็ หญิงบ้านราชวถิ ี)
• สำ� นกั งานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ทกุ จงั หวดั (ยกเวน้ กรณรี บั บตุ รบญุ ธรรมระหวา่ ง

ประเทศ)
• องค์การสวสั ดภิ าพเดก็ เอกชนทีไ่ ด้รบั อนุญาตด�ำเนนิ การเพ่ือให้มีการรับบุตรบุญธรรม (ตาม พรบ. การรับ

เดก็ เป็นบุตรบุญธรรม) 4 องค์การ ได้แก่
1. สหทัยมูลนธิ ิ 850/33 ซอยปรดี ีพนมยงค์ 36 ถนนสขุ มุ วทิ 71 แขวงคลองตันเหนอื เขตวัฒนา
กรงุ เทพมหานคร 10110 โทร. (+66) 2 381 8834-6, (+66) 2 392 9397 อเี มล:์ [email protected]
2. มลู นธิ มิ ติ รมวลเดก็ 25 ซอยรณชยั 2 ถนนเศรษฐศริ ิ กรงุ เทพมหานคร 10400โทร. (+66)2 279 1058-9
โทรสาร (+66) 2 617-1995 อีเมล์: [email protected]
3. มูลนธิ ิสงเคราะหเ์ ดก็ พทั ยา 440 หมู่ที่ 9 ถนนสุขมุ วิท กม.145 ตำ� บลหนองปรอื อ�ำเภอบางละมงุ
จงั หวดั ชลบรุ ี 20260 โทร: (+66) 3871 6628 โทรสาร (+66) 3871 6629 อเี มล:์ [email protected]
4. มูลนิธิสงเคราะห์เด็กสภากาชาดไทย ตึกวชิราลงกรณ์ โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ ถนนองั รดี ูนังต์
เขตปทมุ วนั กรงุ เทพมหานคร 10500 โทร. (+66) 2 256 4207 (+66) 2 256 4209 โทรสาร
(+66) 2 256 4399 อเี มล:์ [email protected]

คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 111

ภาคผนวกที่ 5

เครือข่ายสง่ ต่อชว่ ยเหลือดแู ล และใหบ้ ริการตามทางเลอื ก
(1)

บา้ นพกั เดก็ และครอบครวั จังหวดั
(ครอบคลมุ 77 จังหวดั ทว่ั ประเทศไทย)
บทบาทของบา้ นพกั เด็กและครอบครวั
1. เป็นสถานแรกรบั ตาม พระราชบญั ญัติ คมุ้ ครองเด็ก พ.ศ. 2546 
2. เปน็ สถานรบั ตวั ชว่ั คราวตามกฎหมาย 3 ฉบับ ไดแ้ ก ่
1) พระราชบัญญัตปิ ้องกนั และปราบปรามการคา้ ประเวณี พ.ศ. 2539 
2) พระราชบญั ญตั คิ ุ้มครองผถู้ กู กระท�ำด้วยความรนุ แรงในครอบครัว พ.ศ. 2550
3) พระราชบญั ญตั ปิ อ้ งกันและปราบปรามการค้ามนษุ ย์ พ.ศ. 2551 
3. จัดบริการสวัสดิการสังคมแกผ่ ปู้ ระสบปญั หาความเดือดร้อนทกุ ประเภท 
หน้าท่ขี องบ้านพักเดก็ และครอบครัว
1. ใหส้ ถานท่พี กั พิงช่วั คราวส�ำหรับกลุ่มเปา้ หมายทป่ี ระสบปัญหา 
2. ให้การช่วยเหลอื คมุ้ ครองสวัสดิภาพและจดั บริการสวัสดิการสงั คมแกก่ ลมุ่ เป้าหมาย 
3. พฒั นากระบวนการคมุ้ ครอง พนื้ ฟู เยยี วยากลมุ่ เปา้ หมายเพอ่ื สง่ กลบั หรอื คนื สสู่ งั คมในรปู แบบทมี สหวชิ าชพี  
4. เปน็ ศนู ย์รับแจง้ เรอ่ื งราวขา่ วสาร ให้ค�ำปรกึ ษาแนะน�ำ ตลอด 24 ช่ัวโมง (ศนู ยป์ ระชาบดี 1300) 
5. ส่งเสริม สนับสนุน และพฒั นาองค์กรเครือขา่ ยในการจดั สวัสดกิ ารสังคมแกก่ ลุ่มเป้าหมาย 
6. บูรณาการและปฏิบัตงิ านรว่ มกับ หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งในดา้ นสวสั ดกิ ารสังคม

(2)
สำ� นักงานพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จงั หวัด
มีบรกิ ารด้านสวสั ดกิ ารสงั คมและสังคมสงเคราะห์ ที่เก่ยี วขอ้ งกบั ปญั หาท้องไม่พรอ้ ม ดงั ตอ่ ไปนี้
2.1 การชว่ ยเหลอื ผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคมกรณฉี ุกเฉิน 
กลุ่มเป้าหมาย
1. ผู้ทปี่ ระสบปญั หาเดือดรอ้ นที่เกิดขึน้ โดยปัจจุบนั ทนั ดว่ น หรอื ทค่ี าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ ในเวลาอนั ใกล้
2. จะต้องได้รับการแกไ้ ขโดยฉับพลนั ทนั ทว่ งที เพ่อื ป้องกนั มใิ หเ้ กิดปัญหาสังคมด้านอื่นตามมา
3. เปน็ การชว่ ยเหลอื เบ้อื งตน้ กอ่ นใหก้ ารสงเคราะห์ พฒั นา และฟ้ืนฟใู ห้การช่วยเหลอื ตนเองได้
แนวทางการชว่ ยเหลือ
1. ช่วยเหลือเปน็ เงินหรือสิง่ ของ ไมเ่ กิน 2,000 บาท ต่อครงั้ ต่อครอบครัว
2. กรณชี ่วยเหลือเป็นเงินหรือสิง่ ของ เกิน 2,000 บาท ตอ่ คร้งั ต่อครอบครัว ใหอ้ ยูใ่ นดลุ พนิ ิจผวู้ ่าราชการ
จังหวดั
เอกสารท่ีใช้ในการขอรบั บริการ
1. ส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชน
2. สำ� เนาทะเบยี นบ้าน
2.2 การสงเคราะหเ์ ด็กในครอบครวั ยากจน
กลมุ่ เป้าหมาย เด็กตั้งแตแ่ รกเกิดจนถงึ อายุ 18 ปี (ถ้าอยูร่ ะหว่างศกึ ษาอายไุ ม่เกนิ 20 ปีบรบิ ูรณ)์ ประสบ
ปัญหาความเดอื ดรอ้ น ไดแ้ ก่

112 คูม่ ือการชว่ ยเหลอื ผหู้ ญิงตัง้ ครรภไ์ มพ่ ร้อมของศนู ยพ์ ึง่ ได้

1. เด็กซ่ึงพ่อแม่หรือเฉพาะพ่อหรือแม่ หรือผู้ปกครองประสบภาวะอย่างใดอย่างหนึ่งท�ำให้ ไม่สามารถ
ประกอบอาชีพเลยี้ งดคู รอบครัวได้ เช่น เจ็บปว่ ย พิการ ต้องโทษ ฯลฯ

2. เดก็ กำ� พรา้ เด็กถูกทอดท้ิง ซงึ่ มีผูป้ กครองดูแล
3. เด็กในครอบครวั ยากจนขาดแคลนไม่สามารถเลีย้ งดเู ดก็ ได้
แนวทางการช่วยเหลอื
การสงเคราะหเ์ ดก็ ในครอบครวั ยากจน เปน็ การชว่ ยเหลอื เดก็ และครอบครวั ทปี่ ระสบปญั หาความเดอื ด
รอ้ น โดยมงุ่ ใหค้ รอบครวั ของเดก็ สามารถเลย้ี งเดก็ ไวไ้ ดเ้ องตามควรแกอ่ ตั ภาพ ไมต่ อ้ งแยกเดก็ ออกจากครอบครวั
โดยไมจ่ ำ� เปน็ โดยจะใหก้ ารชว่ ยเหลอื ดังนี้
1. ช่วยเหลอื เป็นเงินหรือสิง่ ของ
• 1,000 บาท/ครัง้ ในครอบครวั ทมี่ ีเดก็ 1 คน
• ไมเ่ กิน 3,000 บาท/คร้ัง ในกรณคี รอบครวั ทม่ี เี ด็กมากกวา่ 1 คน
2. ช่วยเหลือท้ังเงนิ และสิง่ ของ
• ไม่เกนิ 2,000 บาท/ครง้ั ในครอบครัวท่ีมเี ดก็ 1 คน
• ไมเ่ กิน 3,000บาท/คร้ัง ในกรณคี รอบครัวทมี่ ีเดก็ มากกวา่ 1 คน
เอกสารประกอบการขอรบั บรกิ าร
• ส�ำเนาบตั รประจ�ำตวั ประชาชนของบิดา หรอื มารดา หรอื ผ้ปู กครอง
• สำ� เนาทะเบียนบา้ นของบดิ า หรือมารดา หรอื ผปู้ กครอง
• สตู ิบตั ร/บัตรประจ�ำตัวประชาชนของเด็ก
• ส�ำเนาทะเบยี นบ้านของเดก็
2.3 การสงเคราะห์ผตู้ ิดเช้อื เอดส์และครอบครัว
“ผ้ปู ว่ ยเอดส”์ หมายความว่า ผปู้ ว่ ยท่แี พทย์ไดร้ บั รองและท�ำการวินิจฉัยแล้ว และมสี ภาพความเป็น
อยยู่ ากจน หรอื ถกู ทอดทงิ้ ขาดผอู้ ปุ การะดแู ล ไมส่ ามารถประกอบอาชพี เลยี้ งตนเองได้ และมชี อื่ อยใู่ นทะเบยี น
บา้ นท่อี ยอู่ าศยั อยปู่ จั จุบันในท้องท่จี ังหวัด “ผอู้ ปุ การะ” หมายความวา่ บรรดาผดู้ ูแล ผปู้ ่วยเอดส์ เช่น บดิ า
มารดา บตุ ร สามภี รรยา ญาตพิ น่ี อ้ งหรอื บคุ คลอน่ื ในบา้ นทผี่ ปู้ ว่ ยเอดสอ์ าศยั อยู่ หรอื ผทู้ ไี่ ดร้ บั ความยนิ ยอมจาก
ผู้ป่วยเอดส์ แตท่ งั้ น้ี มไิ ดห้ มายความรวมถงึ สถานสงเคราะหห์ รือองคก์ รทีด่ ำ� เนนิ การในลกั ษณะเดียวกนั
การสงเคราะหผ์ ตู้ ิดเชอ้ื เอดสแ์ ละครอบครัว แนวทางการช่วยเหลอื  
เป็นการช่วยเหลือเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนให้แก่ครอบครัวผู้ติดเชื้อเอดส์ ซ่ึงประสบปัญหาความ
เดือดร้อน โดยให้การช่วยเหลือเป็นเงินค่าอุปโภค บริโภค ค่ารักษาพยาบาล หรือเงินทุนประกอบอาชีพ
คร้ังละไมเ่ กนิ 2,000 บาท/ครอบครัว และช่วยเหลอื ตดิ ต่อกนั ได้ไม่เกิน 3 คร้ัง/ครอบครัว
เอกสารประกอบการขอรบั บริการ
1. สำ� เนาทะเบยี นบ้าน จ�ำนวน 1 ฉบับ
2. สำ� เนาบตั รประจ�ำตัวประชาชน จำ� นวน 1 ฉบับ
3. ใบรับรองแพทย์ จำ� นวน 1 ฉบบั
การสงเคราะห์เด็กในครอบครวั ทีไ่ ดร้ ับผลกระทบจากเอดส ์ แนวทางการชว่ ยเหลอื
เป็นการชว่ ยเหลอื เด็กในครอบครวั ท่ไี ดร้ ับผลกระทบจากเอดส์ ครอบครวั ละไมเ่ กนิ 1,000 บาทต่อ
เดก็ หนึง่ คน และไมเ่ กนิ 3,000 บาท ในกรณีที่มเี ด็กมากกว่าหน่ึงคน
เอกสารประกอบการขอรบั บรกิ าร
1. ส�ำเนาบัตรประจำ� ตัวประชาชนผู้ขอ จำ� นวน 1 ฉบบั
2. สำ� เนาทะเบียนบ้านผูข้ อและเดก็ จ�ำนวน 1 ฉบบั
3. ส�ำเนาใบมรณบตั รของบิดามารดา จ�ำนวน 1 ฉบับ

คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 113

(3)
หนว่ ยงานในเครือข่ายสนบั สนุนทางเลือกของผู้หญิงท้องไมพ่ ร้อม28

หนว่ ยงานชว่ ยเหลอื ในระหว่างรอคลอด และหลงั คลอดบุตร

หนว่ ยงาน โทรศัพท์โทรสาร เง่ือนไขการให้บรกิ าร
1. รบั ฝากครรภ์ ใหค้ ำ� ปรกึ ษา และให้
โครงการให้ค�ำปรึกษาด้านสุขภาพแก่ 081-555-2109
สตรีวัยรุ่นและให้บริการดูแลสตรีต้ัง 0-2419-7866-80 บรกิ ารดแู ลสตรตี งั้ ครรภ์วัยร่นุ ตั้งแต่
ครรภว์ ยั รนุ่ อยา่ งตอ่ เนอื่ งโดยพยาบาล ตอ่ 1801-1802 ระยะตงั้ ครรภ์ คลอด และหลังคลอด
ผดุงครรภ์เจา้ ของไข้ คณะพยาบาลศาสตร์ 2. ให้ค�ำปรกึ ษาทางโทรศัพท์แก่สตรี
สถานที่ คลนิ ิกดาวชมพู ตงั้ ครรภ์วัยรนุ่ เรือ่ งการดแู ลตนเอง
(หน่วยฝากครรภ์ โรงพยาบาลศิรริ าช) 0-2419-7365-67 ในระยะตงั้ ครรภ์ และหลังคลอด
ถนน พรานนก แขวงศิริราช หน่วยฝากครรภ์ การเตรียมตัวเพื่อการคลอด
เขตบางกอกนอ้ ย กรุงเทพ 10700 โทรสาร 3. ให้ค�ำปรึกษาทางโทรศพั ทแ์ กส่ ตรี
หน่วยงานที่รับผิดชอบ 0-2412-8415  วัยรุ่นเร่อื งการวางแผน
คณาจารยภ์ าควชิ าการพยาบาลสตู ศิ าสตร-์ ครอบครวั  การดแู ลสุขภาพทางเพศ
นรีเวชวิทยา คณะพยาบาลศาสตร์  โรคติดตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ และการมี
(ศริ ิราช) มหาวทิ ยาลยั มหิดล ประจำ� เดือนไมป่ กติ
และเจ้าหนา้ ทพี่ ยาบาลหน่วยฝากครรภ์ วันและเวลาเปิดใหบ้ ริการ อังคาร-พธุ
โรงพยาบาลศิรริ าช เวลา 8.00-12.00 น.
บคุ คลทสี่ ามารถตดิ ตอ่ ได้ วันและเวลาเปดิ ใหค�ำปรึกษา
1. อาจารย์ดร.ฤดี  ปงุ บางกะด่ี จันทร-์ ศุกรเ์ วลา 8.00-16.00น.
(คณะพยาบาลศาสตร์) 
Email: [email protected]
2. คณุ ปรียาภรณ์ ล่าฟา้ เรงิ รณ
(หน่วยฝากครรภ์)
E-mail: [email protected]

บา้ นพกั ฉกุ เฉิน 0-2929-2222 1. การให้ค�ำปรึกษาท้องไม่พร้อมแบบตัว
สมาคมส่งเสรมิ สถานภาพสตรีฯ 24ชม. ตอ่ ตัว
501/1 ถนนเดชะตงุ คะ 1 แขวงสกี นั เขต โทรสาร
ดอนเมือง กรงุ เทพมหานคร 10210 0-2566-2707 2. บ้านพักรอคลอดและหลังคลอด
www.apsw-thailand.com 3. บ้านฝากเด็กเล้ียงช่ัวคราวระหว่างรอ
E-mail : [email protected]
บุคคลที่สามารถติดต่อได้ คุณกรวิณท์ ความพร้อม
วรสขุ 4. สถานเลยี้ งเด็ก (ชั่วคราว)
5. ความรู้เรอื่ งสุขภาพทางเพศ

28 เป็นการรวมตัวของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาควชิ าการ 68 องคก์ รทใ่ี ห้ความช่วยเหลอื กบั ผหู้ ญิงท้อง
ไม่พรอ้ ม ในด้าน เพศศึกษา อนามัยเจริญพันธุ์ การวางแผนครอบครวั การปรึกษาทางเลือกเมื่อท้องไมพ่ รอ้ ม การยตุ ิการตงั้
ครรภท์ ่ีปลอดภยั การให้ความช่วยเหลือผูถ้ ูกกระทำ� ดว้ ยความรนุ แรง รวมทัง้ สถานท่พี ักพงิ บา้ นพักรอคลอด การเลีย้ งดอู ปุ การะ
เดก็ เปน็ บุตรบุญธรรม และกลมุ่ สนับสนนุ แมพ่ อ่ เลยี้ งเด่ียว www.choicesforum.wordpress.com

114 ค่มู ือการชว่ ยเหลือผูห้ ญงิ ตงั้ ครรภ์ไมพ่ ร้อมของศูนยพ์ ง่ึ ได้

หนว่ ยงาน โทรศัพท์โทรสาร เง่ือนไขการใหบ้ รกิ าร
1. ใหค้ �ำปรึกษาและใหค้ วามชว่ ย
สหทัยมูลนิธิ 0-2381-8834-6 2. เหลอื ผู้หญงิ ทตี่ ง้ั ครรภ์ไม่พร้อม
850/33 ซอยสุขมุ วิท 71 ถนนสุขมุ วิท 0-2381-1318 3. ประสานจดั หาทพ่ี กั กอ่ นหรอื หลงั คลอด
เขตวัฒนา กรงุ เทพมหานคร 10100 โทรสาร 4. ฟน้ื ฟสู ภาพครอบครวั เพอื่ สนบั สนนุ การ
www.sahathai.org 0-2381-8837
บคุ คลท่สี ามารถตดิ ต่อได้ เล้ียงดูเด็กโดยการให้ค�ำปรึกษาและ
นักสงั คมสงเคราะห์ บรกิ ารอน่ื ๆทีจ่ ำ� เปน็ เช่นนมผง
5. บริการฝากเล้ยี งชั่วคราว
บา้ นพระคณุ 0-2759-1238 6. บริการจัดหาครอบครัวทดแทนให้กับ
15/423-425หมู่ 10 เด็ก
ต�ำบลสำ� โรงเหนือ อ�ำเภอเมอื ง จังหวัด มือถอื 1. บา้ นพกั รอคลอด และหลงั คลอด
สมทุ รปราการ 10270 08-6600-5307 2. ส่งตอ่ ไปท่บี ้านพกั เด็กชวั่ คราว เพอ่ื รอ
บุคคลที่สามารถติดตอ่ ได้ โทรสาร ความพร้อม
คุณชนรัตน์ อ้อยหวาน 0-2759-1201 3. สถานที่ให้ค�ำปรึกษากับการมี ประจ�ำ
เดอื นไมป่ กติและการต้ังครรภ์ และรบั
ปรึกษาวางแผนครอบครวั
4. ความร้เู ร่อื งสุขภาพทางเพศ

บา้ นสุขฤทยั คณะภคินีศรชี มุ พาบาล 0-2642-8949 1. ใหท้ ีพ่ กั พงิ และอาหาร
4128/1 ซอยโบสถ์แม่พระฟาติมา 0-2245-0457 2. ให้การดูแลด้านสุขภาพอนามัยทั้งก่อน
ถนนอโศกดนิ แดง แขวงดนิ แดง เขตดนิ แดง โทรสาร
กรุงเทพมหานคร 10400 0-2642-8716 คลอดและหลังคลอด
บุคคลทส่ี ามารถตดิ ตอ่ ได้ 3. ให้ก�ำลงั ใจสร้างความเชื่อมน่ั ในตนเอง

ซิสเตอรส์ ายสุดา ชาวปากน้ำ�

คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 115

หน่วยงาน โทรศพั ทโ์ ทรสาร เงื่อนไขการให้บริการ
หมูบ่ ้านเดก็ โสสะ สมุทรปราการ 0-2380-1177 1. สถานรบั เลย้ี งเด็ก
http://www.sosthailand.org 0-2323-9553 2. ครอบครวั ทดแทน ดแู ลในระยะยาว
383 หมู่ 2 ถนนสขุ มุ วทิ 0-2323-1429 3. รบั อุปการะเดก็ บุญธรรม
ต�ำบลบางปูใหม่ อ�ำเภอเมอื ง โทรสาร 4. ไม่สง่ หรือคืนเด็กให้หนว่ ยงานอ่นื หรือ
จงั หวดั สมุทรปราการ 10270 0-2323-0641
บุคคลทสี่ ามารถติดต่อได้ ครอบครวั เดมิ
1. คุณกรองจติ ต์ บญุ พรประเสริฐ
2. คณุ จำ� เรยี ง คงวัฒน์ หมายเหตุ:
ญาตหิ รอื พอ่ แมท่ ่ีมชี วี ิตอยู่
หมู่บ้านเด็กโสสะ” เฉลิมนารินทร์ ต้องไม่มาย่งุ เก่ียวกบั การดูแลเดก็ และ
”หนองคาย 0-4299-528 ไม่มาพบเด็กจนเกิดปัญหา หรือเด็กเกิด
185 ม.3 ต.โพธช์ิ ยั อ.เมอื ง จ.หนองคาย โทรสาร ความเดือดรอ้ น
43000 0-4246-4079 **ผปู้ กครองสามารถมาเย่ียมได้
บคุ คลที่สามารถตดิ ตอ่ ได้
คุณ วิชาญ คำ� พินิจ

หมูบ่ า้ นเดก็ โสสะ เชียงราย 0-5377-2590,
236ม.5ถ.พหลโยธิน ต.ท่าสุด อ.เมอื ง 0-84948-8524
จ.เชียงราย 57100 8.30-17.00
บุคคลท่ีสามารถตดิ ตอ่ ได้ โทรสาร
คุณปรญิ ญา ระวศี รี 0-5377-2591

หมูบ่ ้านเดก็ โสสะ ภเู กต็
90 ม.2 ต.เกาะแกว้ อ.เมือง จ.ภูเก็ต 0-7661-5169
83000 โทรสาร
บคุ คลที่สามารถติดต่อได้ 0-7661-5151
คุณสมศักด์ิ อภิญญานันท์
คณุ สุทิตา ใจบุญมา

116 คู่มือการช่วยเหลอื ผู้หญงิ ตัง้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศูนย์พึ่งได้

หน่วยงานให้บริการยุตกิ ารตงั้ ครรภ์ทปี่ ลอดภัย

สถานที่ โทรศัพท์/โทรสาร บรกิ ารทใี่ ห้และเงอื่ นไข
การรบั บรกิ าร
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยฯ 0-2941-2320
(สวท) คลินิก สวท เวชกรรม บางเขน ต่อ 181, 182, 183,
8 ซอยวิภาวดี 44 ถนนวภิ าวดีรังสิต 184, 185
แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพมหานคร 10900 โทรสาร
(MVA<12 สัปดาห,์ MA<8 สัปดาห์) 0-2561-5130

คลนิ กิ สวท เวชกรรม ดนิ แดง 0-2245-7382-5
2/11 -13 อาคารพาณิชย์ 1 ถนนประชาสงเคราะห์ โทรสาร
เขตดนิ แดง กรงุ เทพมหานคร 10400 0-2245-1888
(MA MA<8 สัปดาห)์

คลนิ กิ สวท เวชกรรม ป่นิ เกล้า 0-2433-9077
3/20-21 ถนนอรุณอมรนิ ทร์ แขวงอรุณอมรนิ ทร์ 0-2433-6561
เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 10700 โทรสาร
(MVA<10 สปั ดาห)์ 0-2433-3503

คลนิ ิก สวท เวชกรรม ขอนแกน่ 0-4322-3627
752-754 ถนนศรีจันทร์ อ�ำเภอเมือง ขอนแก่น 0-4322-2543 1. อนามยั การเจรญิ พนั ธแ์ุ ละ
40000 วางแผนครอบครัว
(MVA<12 สัปดาห)์
คลนิ ิก สวท เวชกรรม อุบลราชธานี 0-4524-3380 2. ตรวจมะเรง็ ปากมดลกู
154-56 ถนนศรีณรงค์ อ�ำเภอเมือง อบุ ลราชธานี 3. ตรวจรกั ษาโรคเฉพาะสตรี
34000 4. สขุ ภาพทางเพศวยั รุน่
(MVA<8 สปั ดาห์) 5. ปอ้ งกนั หลังร่วมเพศ
คลินิก สวท เวชกรรม เชยี งใหม่ 0-5324-9406 6. ปญั หาประจำ� เดอื นไมป่ กติ

200/3 ถนนบำ� รงุ ราษฎร์ อ�ำเภอเมือง เชียงใหม่
50000
(MVA<10 สปั ดาห์
คลนิ ิกสวท เวชกรรมเชียงราย 0-5371-3090
810/1-3 ถนน พหลโยธิน ต�ำบลเวยี ง อ�ำเภอเมอื ง
เชยี งราย 57000 (MVA<9 สัปดาห์)

คลินกิ สวท เวชกรรม ภูเก็ต 0-7623-5348
อาคาร หสม. เซ็นทรลั แมนชนั่ ห้องเลขท่ี 14/1
ถนนวชิ ิตสงคราม ต�ำบลวชิ ิต อำ� เภอเมอื ง ภเู กต็
83000
(MVA<10 สัปดาห)์
คลนิ กิ สวท เวชกรรมหาดใหญ่ 0-7424-6343
240-242 ถนนนิพทั ธ์อทุ ศิ 3 อำ� เภอหาดใหญ่
สงขลา 90110 (MVA<12 สปั ดาห,์ MA<10 สปั ดาห)์

คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 117

สถานท่ี โทรศพั ท์/โทรสาร บรกิ ารท่ีให้และเงือ่ นไข
การรบั บรกิ าร
สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน (PDA) 02-2295803-5 1. ให้คำ� ปรกึ ษาเรอ่ื งการมี
กรุงเทพฯ 02-2294611-20 ประจำ� เดอื นไมป่ กตแิ ละ
6 สขุ มุ วิท 12 กรุงเทพมหานคร 10110 ต่อ 250, 251, 518 การตั้งครรภ์
(MVA<12 สปั ดาห)์ โทรสาร
0-2229-4632 2. ปรึกษาและบริการ
สมาคมพฒั นาประชากรและชมุ ชน สาขานครราชสมี า 0-4425-5361 วางแผนครอบครวั รวม
86/1 ถนนสืบศิริ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง โทรสาร ทั้งการท�ำหมันชายโดย
นครราชสีมา 30000 (MVA<9 สัปดาห)์ 0-4426-2816 แพทยผ์ ้เู ชีย่ วชาญ

3. ความรู้เรื่องสุขภาพ
ทางเพศ

สมาคมพฒั นาประชากรและชมุ ชน สาขาเชยี งราย 0-5371-1475 ต่อ 200
620/25 ถนนธนาลัย ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเมือง โทรสาร
เชยี งราย 0-5381-4185
(MVA<12 สปั ดาห์)
สมาคมพฒั นาประชากรและชมุ ชน สาขาเชยี งใหม่ 0-5327-7805-6
167 ถนนราชมรรคา ตำ� บลพระสงิ ห์ อ�ำเภอเมือง โทรสาร
เชยี งใหม่ 50200 (MVA<12 สปั ดาห์) 0-5371-4185

โรงพยาบาลคลองตนั 02-3192102-5 1. ให้คำ� ปรึกษาเรือ่ งการมี
3284 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ ตอ่ 115,165 ประจำ� เดอื นไมป่ กตแิ ละ
เขตห้วยขวาง กทม 10320 (อายุครรภ์ <24 การต้ังครรภ์
สปั ดาห์)
(รพ.ไม่มีเว็บไซต์ให้ข้อมูล กรุณาติดต่อสอบถาม 2. ปรกึ ษาวางแผนครอบครวั
ทางโทรศพั ท์โดยตรง) 3. ความรู้เรื่องสุขภาพ

ทางเพศ

หมายเหตุ: สถานบรกิ ารทีใ่ ห้บรกิ ารนอกเหนอื จากทรี่ ะบไุ ว้ในเอกสารน้ี ยังมโี รงพยาบาลของรฐั ในสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ
และ โรงพยาบาลมหาวทิ ยาลัย ใหบ้ รกิ ารด้านนด้ี ว้ ย โดยมเี งอื่ นไขการเข้ารบั บรกิ ารทแี่ ตกต่างกัน รายละเอียดของการใหบ้ ริการ
สามารถโทรปรกึ ษาไดท้ ่ี สายดว่ นปรกึ ษาทางเลือกทอ้ งไม่พร้อม 1663

118 คูม่ อื การช่วยเหลอื ผ้หู ญงิ ตง้ั ครรภ์ไม่พรอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้

หน่วยงานที่ใหบ้ รกิ ารปรกึ ษาทอ้ งไมพ่ รอ้ ม และ ความรุนแรงทางเพศทางโทรศัพท/์ เวบไซต์

สถานที่ โทรศัพท์/โทรสาร บริการท่ใี หแ้ ละเงอื่ นไข
การรับบริการ

1663 1663 1. ให้การปรึกษาทางโทรศัพท์แบบนิรนามจน
สายดว่ นเอดส์ ท้องไมพ่ ร้อม (10 ค่สู าย) ปัญหาได้รับการคล่ีคลายส่งต่อให้ความช่วย
ทกุ วนั เหลอื
10.00-22.00
2. ปรกึ ษาปญั หาเพศสมั พนั ธท์ ไ่ี มไ่ ดป้ อ้ งกนั กงั วล
ว่าจะต้ังครรภ์/ติดเชื้อเอดส์ และปัญหาท้อง
ไม่พร้อม/เอดส์

3. ประสานส่งต่อหน่วยบริการตามทางเลือกท่ี
ปลอดภัย

www.tamtang.wordpress.com 08-9006-3948 1. ขอ้ มลู ความรตู้ า่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ทอ้ งไมพ่ รอ้ ม
อเี มล:์ [email protected] ทกุ วัน 2. ปรึกษาปัญหาท้องไม่พร้อม ทางอีเมลและ
ตดิ ต่อ พี่ชมพู่ 19.00-21.00
ติดต่อ พี่ลูนา่   โทรศพั ท์
3. ประสานส่งต่อหน่วยบริการตามทางเลือกท่ี

ปลอดภยั

โครงการเลฟิ แคร์ “กลา้ รกั กลา้ เชค็ ” call center ตอบปญั หาสขุ ภาพทางเพศออนไลน์ ทางแชทรมู
มูลนิธแิ พธทเู ฮลท์ 08-5340-0043 และโทรศัพท์
www.lovecarestation.com ทุกวัน
16.00-24.00

มูลนธิ เิ พอ่ื นหญงิ 0-2513-1001 ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นกฎหมายและสงั คมสงเคราะห์
386/61-62 ซอยรัชดาภิเษก 42 จนั ทร์-ศุกร์ เฉพาะรายแก่ผหู้ ญงิ ทตี่ กอยู่ในสภาวะ
ถนนรชั ดาภเิ ษก แขวงลาดยาว เขต 09.00-17.00 1. วิกฤตคิ วามรุนแรงใครอบครัว
จตุจักร กรงุ เทพมหานคร 10900 โทรสาร 2. ถูกคุกคามทางเพศ
http://www.friendsofwomen.or.th 0-2513-1929 3. ถกู บังคบั ล่อลวงให้ค้าประเวณี
บุคคลทสี่ ามารถติดต่อได้ 4. ต้ังครรภ์ไม่พึงประสงค์
1.คณุ พัชรี ไหมสขุ 5. ถกู เลกิ จ้างงานโดยไม่ไดร้ บั ความเป็นธรรม
2.คณุ เปรมวดี แกว้ บุรี 6. ถูกเลอื กปฏบิ ตั ิจากภาวะความเป็นหญงิ
3.คุณอบุ ล ภาคภมู ิ 7. ใหบ้ รกิ ารขอ้ มูลเกี่ยวกับประเด็นผู้หญิง
4.ยุพา โพธโ์ คก

มูลนิธผิ หู้ ญงิ 0-2433-5149
295 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 62 เขต 0-2435-1246
บางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700 โทรสาร ให้ค�ำปรึกษาแก่ผู้หญิงที่ประสบปัญหาความ
บคุ คลทส่ี ามารถตดิ ตอ่ ได้ 0-2434-6774 รนุ แรงรปู แบบตา่ งๆ รวมถงึ ปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ ม
คณุ อษุ า เลิศศรสี ันทัด

คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 119

สถานท่ี โทรศัพท/์ โทรสาร บรกิ ารท่ใี ห้และเงือ่ นไข
การรบั บรกิ าร

มูลนิธศิ นู ยพ์ ทิ ักษ์สิทธิเด็ก 0-2412-1196 1. การให้ค�ำปรกึ ษากรณเี ด็กอายตุ ำ่� กวา่ 18 ปี
979 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 12 โทรสาร ที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม ที่เกิดเหตุมาจากถูก
แขวงวดั ท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ 0-2412-9833 ลว่ งละเมดิ ทางเพศ หรอื ถกู แสวงหาประโยชน์
กรงุ เทพมหานคร 10600
http://www.thaichildrights.org/ 2. พจิ ารณาทางเลอื กและส่งตอ่ บริการ ภายใต้
บคุ คลทส่ี ามารถติดต่อได้ การประเมนิ ของทมี สหวิชาชพี

คุณดารณี นฤดมพงศ์

มูลนธิ เิ ครือขา่ ยครอบครวั 0-2954-2346-7 1. การให้ค�ำปรกึ ษาท้องไม่พร้อมแบบตวั ตอ่ ตัว/
192 ซ.8 ถ.เทศบาลนิมิตเหนอื โทรสาร ทางโทรศพั ท์/อีเมล์
ประชานิเวศน์ 1 แขวงลาดยาว 0-2954-2348
เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพมหานคร 10900 2. การใหค้ ำ� ปรกึ ษาเรอื่ งครอบครวั ความสมั พนั ธ์
http://www.familynetwork.or.th ในครอบครวั การหย่าร้าง
บคุ คลทส่ี ามารถตดิ ตอ่ ได้
คณุ ฐาณชิ ชา ลิม้ พานชิ 3. การจัดกิจกรรมครอบครัวเล้ียงเดี่ยวและ
อเี มล:์ [email protected] ครอบครวั ทวั่ ไปเพอ่ื แลกเปลยี่ นเรยี นรวู้ ธิ กี าร
ดูแลเด็กและวิธีสร้างความสัมพันธ์ภายใน
ครอบครัว

มลู นิธหิ ญงิ ชายกา้ วไกล 0-2513-2889  1. ใหค้ ำ� ปรกึ ษาทางโทรศัพทท์ งั้ หญิงและชาย
50/6  รชั ดาภิเษก 42-44  แขวง 9.00-17.00 ในปัญหาความรุนแรงในครอบครวั และ
จนั ทรเกษม  เขตจตจุ กั ร  กรงุ เทพฯ ยกเวน้ วนั หยดุ และ การถูกละเมดิ ทางเพศ ทอ้ งไมพ่ รอ้ ม
10900  วนั นักขัตฤกษ์ 2. ให้คำ� ปรกึ ษากบั ผู้หญงิ ท่ีประสบปัญหาโดย
www.wmp.or.th/ โทรสาร ผู้หญิงทผ่ี ่านพน้ ปัญหาทุกวนั อังคาร พฤหสั
0-2513-2856 3. ให้คำ� ปรกึ ษากับผชู้ ายทต่ี ้องปรับเปล่ยี นตวั
และร่วมแก้ไขปัญหา ทกุ วันพธุ พฤหัสบดี
ศกุ ร์
4. ใหค้ �ำปรึกษาโดยทนายความและ
นกั สังคมสงเคราะหท์ กุ วันจนั ทร์ พุธ ศุกร์

120 คู่มอื การชว่ ยเหลือผูห้ ญิงต้ังครรภไ์ ม่พรอ้ มของศูนย์พง่ึ ได้

ภาคผนวกที่ 6

ภาคีเครอื ขา่ ยแนวรว่ มปอ้ งกันและยตุ คิ วามรุนแรงต่อเดก็ และสตรี
กล่มุ จังหวัดร้อยแกน่ สารสนิ ธส์ุ ารสินธ์ุ

ภาคเี ครือข่ายแนวร่วมป้องกนั และยตุ คิ วามรนุ แรงต่อเดก็ และสตรี กลมุ่ จังหวดั ร้อยแก่นสารสินธุ์ มกี าร
ทำ� งานร่วมกัน 5 ระดบั ตงั้ แต่ ระดับชุมชนหรือหมบู่ า้ น ต�ำบล อำ� เภอ จังหวดั และประเทศ ครอบคลมุ พ้นื ที่
4 จังหวัดคอื ร้อยเอด็ ขอนแก่น มหาสารคาม และกาฬสนิ ธ์ุ มกี ารทำ� งานร่วมกันทง้ั ภาครฐั ภาคเอกชน ภาค
ธุรกิจ และภาคประชาชน จ�ำนวน 260 องค์กร ร่วมออกแบบทิศทางและแนวทางการด�ำเนินงานร่วมกัน
ดงั ตอ่ ไปน้ี  

1. คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลจงั หวัดทง้ั 4 จงั หวัด เป็นทีป่ รกึ ษาและกำ� หนดนโยบาย  
2. ทมี สหวชิ าชีพของศนู ยพ์ งึ่ ได้ คณะกรรมการคมุ้ ครองเดก็ และสตรีของโรงพยาบาลทั้ง 4 จงั หวัดโดย

มีการแบ่งงานตามหนา้ ทแ่ี ยกเป็น 5 ด้านคือ การแพทย์ สังคมสงเคราะห์ การเฝา้ ระวงั ในชุมชน
วชิ าการขอ้ มลู และการประชาสัมพันธ์   
3. คณะกรรมการตดิ ตามและประเมนิ ผล ทำ� หนา้ ทปี่ ระเมนิ นเิ ทศ ตดิ ตามกจิ กรรม และคณะกรรมการ
บริหาร ท่ีมาจากตัวแทนจงั หวดั ตา่ งๆ จ�ำนวน 10  คน รวมทง้ั นักวิชาการจากมหาวทิ ยาลัยขอนแกน่
จ�ำนวน  9  คน   
4. คณะกรรมการ คณะทำ� งานของแต่ละอำ� เภอจาก 4 จังหวดั รวมท้งั สิน้ 76  อำ� เภอ
5. คณะกรรมการงานวจิ ัยและจดั การความร้เู ครือข่ายรอ้ ยแกน่ สารสินธ์ุ  (ประธานคณะกรรมการเปน็
ผแู้ ทนจากร้อยเอด็ มีผ้ดู ำ� เนินงานวจิ ัยและการจัดการองค์ความรูจ้ �ำนวน  167  คน   มีเครือขา่ ย
นักเล่าเรื่องจำ� นวน 15  คนจากตัวแทนสหวชิ าชพี และภาคประชาชน 4 จงั หวดั
6. คณะกรรมการภาคเี ครือข่ายหลกั มีตัวแทนจากผู้เชย่ี วชาญในด้านต่างๆ  11  กล่มุ ประกอบไปดว้ ย
บุคลากรดังต่อไปน้ ี

• คณะกรรมการคมุ้ ครองเด็กระดับจงั หวัด ระดบั อำ� เภอ ระดับต�ำบล รวม  160 คน
• ผปู้ ฏิบตั ิงานจากหนว่ ยด้านสาธารณสุข รวม 230 แห่ง 
• ผู้ปฏบิ ตั งิ านจากหนว่ ยการศึกษา  119 แหง่     
• ผู้ปฏบิ ตั งิ านจากหนว่ ยงานด้านสวสั ดกิ ารสังคมและสงั คมสงเคราะห์รวม  33  แห่ง
• กลมุ่ แกนนำ� วัยรนุ่ จากสภาเด็กและเยาวชน จำ� นวน 80 กลุ่ม
• องคก์ ารบรหิ ารส่วนท้องถ่ินระดับตำ� บลและชุมชน รวม 120 ตำ� บล
• กลมุ่ สถาบนั วิชาการในระดบั อุดมศึกษา 4 แห่ง  
• ผ้นู �ำชมุ ชน รวม 360 คน
• องคก์ รเอกชน 5 แหง่
• กล่มุ สตรีนักธุรกจิ 1 แหง่
• กลุ่มนกั กฎหมาย 85 แหง่
• สื่อมวลชน รวม 30 แห่ง
• วัฒนธรรมจงั หวดั 1 แหง่
7. แกนนำ� ทมี สหวิชาชพี และผูเ้ ชีย่ วชาญ 7  สาขา  และ ตวั แทนหนว่ ยบริการ 5 หน่วย  ไดแ้ ก่ พัฒนา
หน่วยให้ค�ำปรึกษาฮอตไลน์หรือด่านหน้า พัฒนาหน่วยงานปรึกษาทางเลือก พัฒนาหน่วยงานรับ
และส่งต่อบริการ หน่วยงานให้ช่วยเหลือบ�ำบัดฟื้นฟูระยะยาว พัฒนาหน่วยงานด้านกระบวนการ
ยุตธิ รรม  

คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 121

8. คณะกรรมการศนู ยพ์ ึ่งไดใ้ นชมุ ชน เปน็ ตัวแทนจากแกนนำ� ชุมชน อาสาสมัคร ผนู้ �ำชมุ ชน  และ
หน่วยงานภาครัฐและเอกชน

9. คณะกรรมการศูนย์พึ่งได้ในโรงเรียน ซึ่งผู้แทนมาจากครู นักเรียนและผู้ปกครอง ของโรงเรียน
ในพ้นื ท่ดี ำ� เนินการ  

10. ผู้เชี่ยวชาญ หรือ ผู้แทนจากองค์การระหว่างประเทศ ได้แก่ องค์การยูนิเซฟประจ�ำประเทศไทย
องคก์ ารแพลน/ประเทศไทย มลู นิธิฟอรด์ สถานทตู อังกฤษ องค์การอนามัยโลก สถานทตู แคนาดา
มบี ทบาทในการตรวจเยีย่ มใหค้ ำ� ปรกึ ษาแนะนำ�  

การด�ำเนินงาน ได้รับงบประมาณสนับสนุนการด�ำเนินการทั้งจากภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนาการ
ดำ� เนนิ งานอยา่ งตอ่ เนอ่ื งจนถึงปจั จบุ ัน ดงั ต่อไปนี้    

• 2542-2547 มลู นธิ ฟิ อรด์ สำ� นกั งานอยั การสงู สดุ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั
มหิดล มูลนิธเิ พอื่ นหญิง สถานทตู อังกฤษ โรงพยาบาลศรนี ครินทรร์ ่วมกับ UNICEF กรมสนบั สนนุ
บรกิ ารสขุ ภาพ และ ส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร ์ กระทรวงสาธารณสขุ ไทย และ องค์การแพลน
ประจ�ำประเทศไทย

• 2548 - 2552 สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ถ์ กองทนุ สง่ เสริมสขุ ภาพ
ต�ำบลที่สนบั สนนุ โดยส�ำนักงานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ องคก์ ารปกครองสว่ นท้องถนิ่ เทศบาล
นครขอนแกน่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ขอนแกน่ และกองทนุ โรงพยาบาลสริ นิ ธร โรงพยาบาลชมุ ชน
25 แหง่ สำ� นกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั (ระหวา่ งปงี บประมาณ2553-2555) สำ� นกั งาน
กองทนุ สรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.)

• 2556 บรษิ ทั โอสถสภาจำ� กดั สำ� นกั งานคมุ้ ครองเดก็ จงั หวดั ขอนแกน่ และจากการระดมทนุ ในจงั หวดั
ขอนแกน่ และการทำ� งานรณรงคย์ ตุ คิ วามรนุ แรงตอ่ เดก็ และสตรจี งั หวดั ขอนแกน่ จำ� นวน 40 องคก์ ร
 

นอกจากงบประมาณในการด�ำเนินงานดงั กลา่ ว ยงั มกี ารตง้ั กองทุนและมูลนธิ ิ ซึง่ ทง้ั หมดไดม้ าจากผู้มีจติ
ศรัทธาบริจาคให้ เพื่อช่วยเหลือเด็กและสตรีถูกกระท�ำรุนแรงผู้ด้อยโอกาส โดยเป็นค่าพาหนะเดินทางกลับ
ภมู ิล�ำเนา คา่ อาหาร ค่าเดินทางระหวา่ งการประสานส่งตอ่ ใหส้ หวชิ าชพี การช่วยเหลอื สงเคราะห์เคร่ืองอปุ โภค
บริโภค และเงินสงเคราะห์ครอบครัว

122 ค่มู อื การช่วยเหลือผู้หญิงตงั้ ครรภ์ไม่พร้อมของศนู ย์พ่ึงได้

ภาคผนวกที่ 7

(ส�ำเนา)

ค�ำส่งั กระทรวงสาธารณสุข
ท่ี 780 / 2557

เรือ่ ง แตง่ ตง้ั คณะท�ำงานจัดท�ำค่มู อื การชว่ ยเหลือผู้หญิงต้ังครรภ์ไมพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ึ่งได้
------------------------------------------

มตคิ ณะรฐั มนตรี เมอื่ วนั ท่ี 19 มิถุนายน 2542 ไดเ้ หน็ ชอบให้กระทรวงสาธารณสุขจดั ตัง้ ศนู ยบ์ ริการ
ชว่ ยเหลือเด็กและสตรใี นภาวะวิกฤตจากความรนุ แรงข้นึ ในโรงพยาบาลทกุ แห่ง ซ่งึ กระทรวงสาธารณสุขได้รับ
นโยบายดังกล่าวมาด�ำเนินการ โดยสั่งการให้มีการจัดต้ังศูนย์บริการช่วยเหลือเด็กและสตรีข้ึนในโรงพยาบาล
ทั่วประเทศและได้จดั ทำ� โครงการน�ำร่องในโรงพยาบาล 20 แหง่ ในปี 2544-2545 ต่อมาไดข้ ยายให้ครอบคลุม
โรงพยาบาลศูนย์ และโรงพยาบาลทว่ั ไป 95 แหง่ ท่ัวประเทศ ในปี 2547 และ ในปี 2555 มีนโยบายให้ขยาย
บริการไปยังโรงพยาบาลชุมชนทุกแหง่

ในปี 2556 งานศนู ยพ์ ง่ึ ได้ ไดถ้ กู กำ� หนดใหเ้ ปน็ นโยบายทสี่ ำ� คญั ในการเปน็ ศนู ยร์ วมการชว่ ยเหลอื เยยี วยา
เดก็ และสตรที ีม่ ีปัญหาทางด้านสขุ ภาพกาย สขุ ภาพจิต และปญั หาสงั คมอื่นๆ ภายใต้ประเดน็ ยุทธศาสตร์กลุม่
วยั ของกระทรวงสาธารณสขุ ประกอบกับนายกรฐั มนตรีได้ใหค้ วามส�ำคัญในการพฒั นา และขับเคล่อื นงานเดก็
และสตรี โดยมนี โยบายและขอ้ สงั่ การในเรอ่ื ง การปรบั ระบบการให้บริการประชาชน ในลกั ษณะศนู ย์บรกิ าร
เบด็ เสรจ็ สำ� หรบั ใหบ้ ริการและสง่ ต่ออย่างมีประสทิ ธภิ าพ ภายใต้แนวคิดการบูรณาการท่ใี หค้ วามส�ำคัญกบั ผู้ท่ี
ประสบปญั หาทง้ั 4 กล่มุ เปา้ หมายหลกั ได้แก่ 1) การกระทำ� ความรนุ แรงต่อเดก็ สตรี (รวมถงึ ผ้สู งู อายุและ
ผ้ดู อ้ ยโอกาส) 2) การกระทำ� รนุ แรงทางเพศ (รวมถึงปญั หาทอ้ งไมพ่ ร้อม/คุณแม่วัยใส) 3) การใช้แรงงาน
เดก็ และ 4) การคา้ มนษุ ย์ โดยรปู แบบการใหบ้ รกิ ารดงั กลา่ วจะตอ้ งมกี ารบรู ณาการ การทำ� งานรว่ มกนั ระหวา่ ง
หนว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ ง และมจี ดุ รบั แจง้ เหตทุ เ่ี ข้าถึงได้งา่ ย มรี ะบบการประสาน แจ้งเหตุ การตรวจสอบ และ
คดั แยกระบปุ ัญหา การสง่ ตอ่ การติดตามประเมินผลและการเฝ้าระวงั ไมใ่ หเ้ กดิ เหตุต่อไป ท้ังในระดบั ต�ำบล
อำ� เภอ และจงั หวัด ซง่ึ ไดต้ ัง้ ชอ่ื ศูนย์นว้ี า่ “OSCC ศนู ยช์ ่วยเหลอื สงั คม”

ส�ำหรบั กระบวนการใหค้ วามชว่ ยเหลือผูป้ ระสบปญั หาใน 4 ปญั หาของ OSCC ศนู ยช์ ่วยเหลือสังคม ได้
กำ� หนดหนว่ ยงานเจา้ ภาพหลกั ในแตล่ ะประเดน็ ปญั หา โดยพจิ ารณาจากภารกจิ ซง่ึ หนว่ ยงานนนั้ มบี ทบาทภารกจิ
หลักในการแก้ไขปัญหาในแต่ละประเด็นดังกล่าว โดยกระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบปัญหา การตั้งครรภ์
ไม่พร้อม ส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติรับผิดชอบปัญหาการค้ามนุษย์ กระทรวงแรงงานรับผิดชอบปัญหาการใช้
แรงงานเดก็ และกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยร์ บั ผดิ ชอบปญั หาความรนุ แรงตอ่ เดก็ สตรี
ผสู้ ูงอายุ และคนพกิ าร

ดงั นน้ั เพอ่ื ใหก้ ารดำ� เนนิ งานโครงการฯ สามารถดำ� เนนิ ไปไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและบรรลผุ ลสำ� เรจ็ ตาม
วัตถุประสงค์ ส�ำนักบริหารการสาธารณสุข ซ่ึงมีบทบาทในการพัฒนาระบบบริการศูนย์พึ่งได้ของกระทรวง
สาธารณสุข จึงเห็นควรแต่งตั้งคณะท�ำงานจดั ทำ� คู่มือการชว่ ยเหลอื ผู้หญงิ ต้งั ครรภ์ไม่พร้อมของศูนย์พึ่งได้ เพื่อ
เปน็ แนวทางในการใหบ้ รกิ ารชว่ ยเหลอื และสง่ ตอ่ เดก็ วยั รนุ่ และผหู้ ญงิ ทปี่ ระสบปญั หาการตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มทมี่ า
รบั บรกิ ารในสถานบรกิ ารแตล่ ะระดบั รวมทง้ั โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บล โดยมกี ารบรู ณาการการทำ� งาน
รว่ มกบั หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งอยา่ งเหมาะสม และประชาชนทป่ี ระสบปญั หาไดร้ บั บรกิ ารชว่ ยเหลอื อยา่ งครบวงจร
ทันเหตุการณ์ และครอบคลุมสภาพปัญหา จนสามารถกลับไปใช้ชีวิตอยู่ในครอบครัวและสังคมได้อย่างเป็น
ปกตสิ ขุ ซงึ่ คณะทำ� งานฯ ดงั กล่าวประกอบดว้ ย

คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 123

1. ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักบรหิ ารการสาธารณสุข ประธาน
2. นายพรเพชร ปัญจปิยะกลุ สำ� นกั บรหิ ารการสาธารณสุข รองประธาน
3. นางภทั รอ์ นงค์ จองศริ ิเลิศ ส�ำนักบรหิ ารการสาธารณสุข คณะทำ� งาน
4. นางสาวพรพิมล จันทร์คณุ าภาส สำ� นกั บริหารการสาธารณสุข คณะท�ำงาน
5. นางทศั นยั ขันตยาภรณ์ มูลนธิ ิแพธทเู ฮลท ์ คณะทำ� งาน
6. ผแู้ ทนมลู นธิ สิ ร้างความเขา้ ใจเรอ่ื งสขุ ภาพผู้หญงิ (สคส.) คณะทำ� งาน
7. ผแู้ ทนสหทัยมลู นธิ ิ คณะทำ� งาน
8. ผแู้ ทนสมาคมสง่ เสริมสถานภาพสตรฯี คณะท�ำงาน
9. ผแู้ ทนสมาคมวางแผนครอบครวั แหง่ ประเทศไทย คณะท�ำงาน
10. ผแู้ ทนสมาคมพฒั นาประชากรและชุมชน คณะทำ� งาน
11. นางบศุ รนิ ทร์ เกิดมณี ศนู ยช์ ว่ ยเหลือสงั คม คณะท�ำงาน
สำ� นกั งานปลดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมัน่ คงของมนุษย์
12. ผู้แทนจากส�ำนักอนามัยการเจรญิ พนั ธ์ุ กรมอนามัย คณะท�ำงาน
13. นางมยุรี เหมือนเดช โรงพยาบาลสมทุ รปราการ คณะทำ� งาน
14. นางสาวกาญจนา ชว่ ยกลู โรงพยาบาลสวรรคป์ ระชารักษ์ คณะทำ� งาน
15. นางสุทธาพร ขขุ นั ธนิ โรงพยาบาลศรีสะเกษ คณะทำ� งาน
16. นางสาวมณีทพิ ย์ วรี ะรัตนมณ ี โรงพยาบาลพระนครศรอี ยธุ ยา คณะท�ำงาน
17. นางเยาวเรศ ค�ำมะนาด โรงพยาบาลขอนแกน่ คณะท�ำงาน
18. นางวรภทั ร แสงแกว้ โรงพยาบาลปทุมธานี คณะทำ� งาน
19. นางสาววัชรี น้อยผา โรงพยาบาลรัตภูมิ จงั หวัดสงขลา คณะท�ำงาน
20. นางบญุ พลอย ตุลาพนั ธุ์ สำ� นกั บรหิ ารการสาธารณสขุ คณะท�ำงานและ
เลขานุการ
21. นางสาวอชิมา เกิดกล้า สำ� นกั บรหิ ารกลาง คณะท�ำงานและผู้ชว่ ย
เลขานกุ าร
22. นางสาวปรีติ สำ� ราญทรพั ย์ ส�ำนักบรหิ ารการสาธารณสขุ คณะท�ำงานและ
ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
โดยใหค้ ณะท�ำงานชุดนีม้ ีบทบาทหน้าที่ ดังต่อไปนี้

1. ก�ำหนดขอบเขต เนื้อหา และแนวทางการจัดท�ำคู่มือการช่วยเหลือผู้หญิงตั้งครรภ์ไม่พร้อมของ
ศนู ย์พ่งึ ได้

2. จัดทำ� ร่างคมู่ อื แนวทางการการช่วยเหลอื ผหู้ ญิงต้ังครรภ์ไม่พร้อมของศูนยพ์ ่งึ ได้

3. ปรบั ปรงุ รา่ งคู่มือฯ จดั พิมพแ์ ละเผยแพร่

4. สรปุ ผลการดำ� เนินงาน



ทั้งนี้ ต้ังแตบ่ ัดนี้เปน็ ต้นไป

สัง่ ณ วนั ที่ 13 มิถนุ ายน พ.ศ. 2557
วชริ ะ เพ็งจนั ทร์

(นายวชิระ เพง็ จนั ทร์)
รองปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ปฏบิ ัตริ าชการแทน

ปลดั กระทรวงสาธารณสุข

124 คู่มือการช่วยเหลอื ผหู้ ญงิ ต้งั ครรภ์ไม่พรอ้ มของศนู ย์พ่งึ ได้


Click to View FlipBook Version