การปดิ บรกิ ารปรกึ ษาครั้งน:้ี เมือ่ ผ้ใู ชบ้ ริการมคี วามชดั เจนต่อทางเลอื กด้านใดด้านหน่ึงที่
เหมาะสมกบั ตัวเองและยอมรบั การติดตามประเมนิ ผลการช่วยเหลือจากผูใ้ หค้ �ำปรึกษา
ข้อพึงระวัง: ไม่เร่งรัดการตัดสินใจการคิดตรงน้ี เพราะเป็นเรื่องละเอียดอ่อน แต่ควร
ประเมินตามความเหมาะสมของอายุครรภ์และแจ้งระยะเวลาการตัดสินใจให้ทราบ และไม่ควร
โน้มน้าวให้ผ้ใู ช้บริการตดั สนิ ใจไปด้านใดดา้ นหนึ่งตามความคิดเหน็ ของผใู้ หบ้ ริการอยา่ งเดด็ ขาด
3.2.4 ต้องการยุติการต้งั ครรภ์
กรณีน้ีผู้ใช้บริการทราบว่าตนเองตั้งครรภ์แน่นอน และพบว่าตนเองไม่พร้อมท่ีจะต้ังครรภ์
ในตอนน้ดี ว้ ยสาเหตตุ ่างๆ กนั เปา้ หมายของการใหบ้ รกิ ารปรึกษาในกรณนี คี้ ือ ท�ำใหผ้ ใู้ ช้บริการ
ยืนยนั ว่าตนเองตดั สินใจในทางเลือกน้ีแน่นอน โดยมปี ระเด็นปรกึ ษาและแนวคำ� ถามดังต่อไปน้ี
ตารางที่ 5 ประเด็นปรกึ ษาและตวั อย่างคำ� ถาม กรณที ผ่ี ใู้ ชบ้ ริการตอ้ งการยตุ ิการต้งั ครรภ์
ประเด็นปรกึ ษา ตวั อย่างคำ� ถาม
วิเคราะหส์ ภาพปญั หา สะดวกทจี่ ะเลา่ ปัญหาให้ฟงั ไหม ชว่ ยเลา่ ที่มาท่ไี ปให้ฟัง
ว่าเปน็ อย่างไร
ความร้สู ึกตอ่ การตั้งครรภ์ รสู้ ึกต่อตวั ออ่ นในครรภอ์ ยา่ งไร
ความรู้สึกตอ่ การยุตกิ ารต้งั ครรภ์ รู้สกึ อยา่ งไรต่อการยุตกิ ารต้งั ครรภ์ (ท�ำแท้ง)
เมอื่ ผใู้ ชบ้ รกิ ารยงั มคี วามรสู้ กึ ลงั เล เพราะอะไร ถงึ ยงั ไมแ่ น่ใจ
ทบทวนความต้องการของตัวเอง แล้ว ณ ตอนนี้ คดิ อย่างไร และต้องการทางเลอื กไหนที่
อยา่ งรอบดา้ น เหมาะกับตวั เอง
ตรวจสอบข้อมูลวิธีการยุติการตั้ง มขี ้อมูลเกย่ี วกับเรือ่ งนี้อยา่ งไร
ครรภ์
วิธีการจดั การตามทางเลือก ไดว้ างแผนจดั การในเร่ืองนีอ้ ย่างไร เพราะอะไร
ศกั ยภาพในการเข้าถงึ บริการ ทางเลือกน้ีทางโรงพยาบาลไม่สามารถให้บริการได้ หาก
ส่งต่อไปรับบริการที่อ่ืน...(ระบุหน่วยงาน-สถานที่) อะไร
เปน็ อุปสรรคในการไปรับบรกิ ารท่ีนนั่
ข้อมลู ทีค่ วรให:้ อายคุ รรภ์ท่ยี ุติไดโ้ ดยปลอดภยั วธิ ีการยตุ ิ ความสอดคลอ้ งกบั ขอ้ กฎหมาย
หนว่ ยงานที่ใหบ้ ริการทีป่ ลอดภยั และเง่ือนไขการให้บรกิ าร
การปดิ บรกิ ารปรกึ ษาครงั้ น:้ี เมอ่ื ผใู้ ชบ้ รกิ ารไดส้ ำ� รวจตวั เองและตดั สนิ ใจทางเลอื กนแ้ี นน่ อน
ข้อพึงระวัง: ผู้ใช้บริการท่ีอาจลังเล หรือ รู้สึกผิดบาปต่อการยุติการตั้งครรภ์ อาจส่ง
ผลกระทบต่อสภาพจิตใจในระยะยาวได้ หลังประเมินศักยภาพ ผู้ใช้บริการอาจต้องการ
ความช่วยเหลือทง้ั ในด้านการสง่ ตอ่ รับบรกิ าร และด้านการเงนิ ในการเข้ารบั บรกิ าร
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 51
3.2.5 ต้องการตัง้ ครรภ์ตอ่ ไป
กรณนี ้ีผูใ้ ชบ้ รกิ ารทราบวา่ ตนเองตั้งครรภแ์ น่นอนแล้ว และคิดไว้แลว้ วา่ ต้องการตั้งครรภ์
ต่อไป การให้การปรึกษาในกรณีนี้ มีเป้าหมายที่การประเมินศักยภาพและความพร้อมในการ
ตง้ั ครรภ์ต่อ และการเล้ียงดูทารกทีเ่ กิดมาในระยะยาว
ตารางท่ี 6 ประเด็นปรึกษาและตัวอยา่ งคำ� ถาม กรณที ่ผี ู้ใช้บริการต้องการต้ังครรภ์ตอ่ ไป
ประเด็นปรกึ ษา ตัวอยา่ งค�ำถาม
สถานะหรือความเป็นอยู่
ในปจั จุบนั คุณยงั เรียนอยหู่ รือท�ำงานแล้ว รายไดข้ องคณุ มาจากอะไร
ภาวะจติ สงั คมขณะตงั้ ครรภ์ มีใครชว่ ยเหลอื หรือสนับสนุนคณุ อยูบ่ ้าง
ต่อ
ความพรอ้ มในการฝากครรภ/์ ตอนนค้ี ณุ พกั กับใคร/มีค่าใช้จ่ายด้านค่าเชา่ ท่ีพกั หรือไม่
คลอด และแนวทางการ มีใครช่วยเหลอื ค่าใชจ้ า่ ยระหว่างการฝากครรภ์ การคลอด
จัดการ มวี ิธีการจัดการอย่างไรกับเรื่องเรียน เร่ืองงาน
การจดั เตรยี มเครือ่ งอุปโภค บริโภคเด็ก (เช่น ผา้ ออ้ ม ของใช้ตา่ งๆ
ความพร้อมในการเล้ียงดู ของเดก็ นมผง) สามารถเตรยี มเองไดไ้ หมหรอื ตอ้ งการใหช้ ว่ ยเหลอื
เดก็ ท่ีเกิดมา อยา่ งไร
สามารถเลย้ี งดูเองได้ หรอื ให้ใครช่วยเลยี้ ง
ความสัมพันธ์กับคนที่ช่วยเหลือคุณเป็นอย่างไร เขารู้สึกอย่างไร
ประเมินผู้สนับสนุนหรือ ตอ่ การตงั้ ทอ้ งต่อคร้งั นี้
ใหก้ ารชว่ ยเหลอื คุณมีอะไรอึดอัดหรือกังวลเก่ียวกับเขาบ้าง คุณขอความช่วยเหลือ
เขาได้ทุกเวลาไหม
ข้อมูลทคี่ วรให้ : ให้ขอ้ มูลแหลง่ ทรัพยากรการชว่ ยเหลือดา้ นตา่ งๆ ทงั้ ภาครัฐและเอกชน
กรณฝี ากครรภ์ประสานงานการดแู ลพเิ ศษตลอดจนถงึ การคลอด แนะนำ� บรกิ ารอ่นื ท่จี ำ� เปน็ และ
ระบบสง่ ต่อการช่วยเหลือ
การปดิ บรกิ ารปรกึ ษาครงั้ นี้ : เมอ่ื ผใู้ ชบ้ รกิ ารเขา้ สรู่ ะบบฝากครรภจ์ นถงึ การคลอด และผา่ น
การประเมิน ศักยภาพอีกครง้ั หลังการคลอดเรียบรอ้ ยแล้ว
ข้อพึงระวัง : ให้ผู้ใช้บริการได้ทบทวนศักยภาพของตนเองและบุคคลท่ีต้องท�ำหน้าที่
ช่วยเหลือพ่ึงพิงอย่างถ่องแท้ บนพื้นฐานของความจริง ไม่ใช่ความรู้สึกหรือการคาดคะเนไปเอง
และสนบั สนนุ ประคบั ประคองจติ ใจและประเมนิ เปน็ ระยะๆ บอกใหผ้ ใู้ ชบ้ รกิ ารทราบวา่ การชว่ ยเหลอื
ทุกระยะมีทางออก ติดตามการฝากครรภ์ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ รวมทั้งประสานส่งต่อไปยัง
หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการดแู ลการตงั้ ครรภต์ อ่ ไป ไดแ้ ก่ หอ้ งฝากครรภ์ หอ้ งคลอด หอ้ งหลงั คลอด
กุมารเวช เนื่องจากเป็นการต้งั ครรภท์ ี่มีความเสี่ยงสูง และอาจตอ้ งการดแู ลประคบั ประคองดา้ น
จติ ใจ ทมี่ ีความแตกต่างจากการตั้งครรภท์ มี่ คี วามพรอ้ ม
52 ค่มู ือการช่วยเหลอื ผูห้ ญิงต้งั ครรภไ์ ม่พร้อมของศูนยพ์ ่งึ ได้
3.2.6 ตอ้ งการยตุ ิการตัง้ ครรภ์ แตอ่ ายุครรภ์เกนิ กวา่ ยตุ ไิ ด้
กรณนี พี้ บในผใู้ ชบ้ รกิ ารทเี่ ขา้ ไมถ่ งึ บรกิ ารตงั้ แตพ่ บวา่ ตนเองตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ ม หรอื อาจลงั เล
ในการตัดสินใจแต่มาพบภายหลังว่าไม่สามารถตั้งครรภ์ต่อไปได้ อาจเน่ืองมาจากถูกคู่ทอดท้ิง
ระหว่างตั้งครรภ์ ปัญหาเศรษฐกิจ หรืออื่นๆ กรณีนี้เป้าหมายของการให้บริการปรึกษา คือ
ใหผ้ ใู้ ชบ้ รกิ ารยนิ ดแี ละยนิ ยอมทจ่ี ะตง้ั ครรภต์ อ่ ไป และปอ้ งกนั การแสวงหาบรกิ ารยตุ กิ ารตง้ั ครรภ์
ไม่ปลอดภยั ท่เี สียงต่อสขุ ภาพและชวี ิต
ตารางท่ี 7 ประเด็นปรึกษาและตวั อย่างคำ� ถาม กรณีทีผ่ ใู้ ชบ้ ริการตอ้ งการยุติการตง้ั ครรภ์ แต่
อายคุ รรภ์เกินกว่ายุติได้
ประเดน็ ปรึกษา ตวั อย่างค�ำถาม
การจดั การกบั ความรสู้ กึ และ (ในเมอื่ ยุติไม่ได้) คณุ รสู้ ึกอย่างไรท่ตี อ้ งตง้ั ครรภต์ อ่ ไป
การจดั การเพอื่ ตง้ั ครรภต์ อ่ ไป คณุ จะเตรยี มตวั อย่างไรในการต้งั ท้องตอ่ ไป
เวลาทเ่ี หลืออยจู่ นก่อนคลอด จะทำ� อยา่ งไรตอ่ ไปในระหว่างน้ี
การต้ังครรภ์ต่อไปจะพบปัญหาอะไรบ้าง คิดว่าจะแก้ปัญหา
อยา่ งไร / ตอ้ งการความชว่ ยเหลอื อะไร
มีใครบ้างที่จะช่วยสนับสนุนดูแลการต้ังครรภ์ในคร้ังน้ีจนครบ
กำ� หนดคลอด
ความเข้าใจเก่ียวกับการยุติ คุณทราบไหมว่าการยุติการต้ังครรภ์ที่ปลอดภัยท�ำได้ช่วงอายุ
การต้งั ครรภ์ (ที่ไม่ปลอดภยั ครรภเ์ ทา่ ไร
เมื่ออายคุ รรภเ์ กนิ ) อายุครรภ์ทีม่ ากเกนิ ไปเสีย่ งอยา่ งไรบา้ ง
ความชว่ ยเหลอื ดา้ นกฎหมาย คุณตอ้ งการทีพ่ ักพิงระหวา่ งรอคลอด หรือหลงั การคลอดไหม
และสวสั ดกิ ารสังคม คุณต้องการปรึกษาเพอ่ื เรยี กรอ้ งสทิ ธิทพ่ี ึงไดต้ ามกฎหมายไหม
ทางเลือกและทางออก หลงั คลอดแลว้ วางแผนอยา่ งไรตอ่ ไป
หลงั คลอด คณุ ทราบไหมหลงั การคลอดเดก็ ออกมาอยา่ งปลอดภยั มชี อ่ งทาง
การช่วยเหลอื ตอ่ อยา่ งไรบ้าง
หลังคลอด ถ้าคุณไม่พร้อมจะดูแลเด็ก คุณจะท�ำอย่างไร
ความช่วยเหลอื ท่ตี ้องการคืออะไร
การประสานงานสง่ ตอ่ การชว่ ย การช่วยเหลอื ตอ่ จากการคลอด อาจต้องสง่ การชว่ ยเหลือต่อไป
เหลอื ไปหน่วยบริการอ่นื ยังหนว่ ยงานอื่นๆ อยากทราบรายละเอยี ดเพิ่มเติมไหม
ขอ้ มลู ทค่ี วรให:้ อนั ตรายของการยตุ กิ ารตงั้ ครรภเ์ มอ่ื อายคุ รรภเ์ กนิ ยำ้� เตอื นวา่ ยงั มที างออก
เสมอ แนวทางการประคับประคองให้การท้องและการคลอดปลอดภัย และเส้นทางเลือกหลัง
การคลอด พรอ้ มรายละเอียด หน่วยงานรองรับ และเงื่อนไขบริการ
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 53
การปดิ บรกิ ารปรกึ ษาครงั้ น:ี้ ผใู้ ชบ้ รกิ ารคลอดสมบรู ณ์ และไดต้ ดั สนิ ใจทางเลอื กวา่ สามารถ
ดแู ลเด็กเองหรอื ส่งตอ่ เขา้ หนว่ ยงานใด โดยใหม้ กี ารนัดเยี่ยมหลังคลอดและตดิ ตามชว่ ยเหลอื
ขอ้ พงึ ระวงั : การขาดการตดิ ตอ่ ซง่ึ ผใู้ ชบ้ รกิ ารอาจไปยตุ กิ ารตงั้ ครรภท์ ไ่ี มป่ ลอดภยั ผใู้ ชบ้ รกิ าร
อาจมีประเด็นสุขภาพทางจิต เกิดความสับสนหรือเปล่ียนแปลงการตัดสินใจได้หลังการคลอด
ไม่ควรต�ำหนิใดๆ และควรให้การสนับสนุนการช่วยเหลือต่อจนส้ินสุดไม่ว่าจะเปล่ียนทางเลือก
ทางใด โดยมงุ่ คณุ ภาพชวี ิตของผู้หญิงและทารกเปน็ หลกั
ตวั อย่างข้อมลู ในแบบบนั ทกึ ผใู้ ช้บริการปรึกษาทางเลอื ก
ส�ำหรบั ผหู้ ญิงท่ตี งั้ ครรภ์ไม่พรอ้ ม
โรงพยาบาลสมุทรปราการ
แบ่งออกเปน็ หมวดสำ� คัญดงั ตอ่ ไปนี้
1. ข้อมูลผู้ใช้บริการ
2. ประวตั ิครอบครัว
3. ข้อมลู ดา้ นสุขภาพ
4. ประวตั กิ ารตงั้ ครรภห์ รือการแท้ง
5. ประวตั ิการตงั้ ครรภไ์ ม่พร้อม
6. ข้อมลู ผู้กระท�ำ
7. ขอ้ มลู ดา้ นจติ ใจ
8. ขอ้ มลู ด้านครอบครัว/สังคม/การศกึ ษา
9. การประเมินสาเหตุการตั้งครรภ์
10. ประเมนิ ความรเู้ ร่ืองการวางแผนคุมกำ� เนดิ
11. กรณตี งั้ ครรภต์ อ่ (การเตรยี มตวั รบั ผลกระทบทเ่ี กดิ จากการตง้ั ครรภไ์ มพรอ้ มตอ่ รา่ งกาย/จติ ใจ/สงั คม
/เศรษฐกิจ)
12. กรณสี ้ินสดุ การต้งั ครรภ์ (ความคิด/เจตคติ/ความรู้ในการยุตกิ ารตงั้ ครรภ์ และผลกระทบตอ่ สุขภาพ
ร่างกาย จิตใจ การด�ำเนินชีวิต-ความมีคณุ ค่าและยอมรบั ในตนเอง การกลบั เขา้ สสู่ งั คม)
13. ผลการประเมนิ ความเครยี ดของผใู้ ชบ้ รกิ าร (เพื่อสง่ ต่อให้การปรึกษาโดยนักจติ วิทยา)
14. ผลการตดั สินใจของผใู้ ชบ้ ริการ
15. ชอ่ งทางรับทราบบริการนี้ (เพื่อใช้ในการวางแผนประชาสมั พันธบ์ ริการ)
16. การลงชื่อยนิ ยอมรับการปรกึ ษาทางเลือกท้งั ตัวผู้เข้าปรึกษาและ/หรอื ผปู้ กครอง
17. การติดตาม/การเยี่ยมบ้านหลังการให้บริการปรึกษา (ขึ้นอยู่กับความพร้อมและความสมัครใจของ
ผใู้ ชบ้ รกิ ารและครอบครัว) และ
18. การยินยอมใหเ้ ผยข้อมูลในการรบั บรกิ ารเพือ่ ประโยชน์ในการศึกษา
บทท่ี 4
54 คมู่ อื การชว่ ยเหลือผ้หู ญิงตั้งครรภไ์ ม่พรอ้ มของศูนยพ์ งึ่ ได้
บทที่ 4
การให้บรกิ าร
เมื่อทางเลือก
คือการต้ังครรภต์ อ่
“สงั คมไทยก�ำลังเผชิญกบั ปัญหา เด็กเกิดน้อย แตด่ ้อยคณุ ภาพ
การดแู ลให้ชีวติ น้อยๆ ท่ีเกดิ มาทา่ มกลางความไม่พรอ้ ม
ให้เติบโตอย่างมคี ุณภาพ จงึ เป็นภารกจิ ท่ีย่ิงใหญ”่
หลังการปรกึ ษาทางเลอื ก ผใู้ ช้บริการทป่ี ระสบปญั หาทอ้ งไมพ่ ร้อมจ�ำนวนหน่งึ เลอื กที่จะ
ตั้งครรภต์ อ่ ไป บางรายตอ้ งการยตุ กิ ารตงั้ ครรภ์ แตก่ ็พบวา่ มีอายคุ รรภเ์ กินกว่าจะยตุ ิไดอ้ ย่าง
ปลอดภัย ดังนัน้ การดแู ลวยั รุ่นและหญงิ ตงั้ ครรภ์ท่ีไม่พรอ้ ม จึงมคี วามละเอยี ดอ่อนมากกว่า
การดูแลผู้ตัง้ ครรภท์ ่ีมคี วามพร้อมทัว่ ไป ท้งั นี้พบว่า ความไม่พร้อมหรอื ไมเ่ ตม็ ใจทจี่ ะต้ังครรภ์
ท�ำใหผ้ ู้ใชบ้ ริการจำ� นวนหนง่ึ มีความเครียด ซึมเศรา้ มีการทำ� ร้ายตนเอง หรอื บางรายคดิ ถึง
การฆ่าตัวตาย โดยความรุนแรงของปัญหาทางใจนี้ ขึ้นอยู่กับสาเหตุของการตั้งครรภ์และ
ความสามารถในการรับมือกับปัญหาของแต่ละบคุ คล โดยสว่ นใหญ่ ผู้ใชบ้ รกิ ารเหล่าน้จี งึ มัก
ขาดการดแู ลใส่ใจสุขภาพตัวเองต้งั แตเ่ รม่ิ ต้ังครรภ์
การรขู้ อ้ มลู เบอื้ งตน้ ถงึ สาเหตกุ ารตงั้ ครรภ์ การไมส่ ามารถยตุ กิ ารตงั้ ครรภไ์ ด้ ตลอดจนสภาวะ
แวดลอ้ มทผ่ี หู้ ญงิ ผปู้ ระสบปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ มตอ้ งเผชญิ กอ่ นทจ่ี ะมาถงึ การตดั สนิ ใจตง้ั ครรภต์ อ่ ไป
จึงมีความส�ำคัญเพ่ือจัดระบบบริการในโรงพยาบาล การดูแลจึงควรครอบคลุมทั้งกาย-ใจ และ
สังคมของผู้ใช้บริการ ให้สอดคล้องกับความต้องการและสภาพปัญหา โดยมีเป้าหมายเพ่ือ
การต้งั ครรภ์อยา่ งมคี ุณภาพ ทารกทคี่ ลอดออกมาได้รับการเลยี้ งดูอยา่ งเหมาะสมตามฐานะของ
ครอบครวั และชุมชน เพือ่ มีชีวติ ต่อไปอย่างมคี ุณภาพ เปน็ ก�ำลงั ส�ำคญั ในการพัฒนาประเทศ และ
ไมเ่ ป็นภาระของสงั คม
สถานบริการสุขภาพจึงต้องมีกระบวนการท�ำงาน เพ่ือวางแผนการดูแลอย่างเป็นองค์รวม
ทั้งในด้านการดูแลสุขภาพที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาอย่างต่อเน่ืองระหว่างการต้ังครรภ์
ความช่วยเหลอื ดา้ นท่ีพักรอคลอด และการดแู ลหลังคลอดท่สี อดคลอ้ งกับความต้องการ รวมทง้ั
ทางเลอื กในการดแู ลเลย้ี งดทู ารกทส่ี อดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพทเี่ ปน็ จรงิ ของผปู้ ระสบปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ ม
โดยมแี นวทางการทำ� งาน ท่คี รอบคลมุ ทง้ั ในด้านสุขภาพกาย-ใจ และสังคม สามารถแบง่ ออกเป็น
ขนั้ ตอนตา่ งๆ ดงั น้ี
1. การประเมนิ ผใู้ ชบ้ รกิ าร
2. การดแู ลระหวา่ งการตั้งครรภ์
3. การดูแลหลังคลอดและการให้คำ� ปรึกษาทางเลือก
4. การตดิ ตามดแู ลช่วยเหลอื ตอ่ เนือ่ ง (หลงั ตัดสนิ ใจทางเลือก)
โดยมผี งั ภาพแนวทางการใหบ้ รกิ ารดงั ต่อไปน้ี
56 คู่มอื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตัง้ ครรภไ์ มพ่ ร้อมของศูนยพ์ ึ่งได้
ผงั ภาพท่ี 10 แนวทางการให้บรกิ ารเมื่อทางเลือกคอื ตงั้ ครรภ์ตอ่ ไป
4.1 ขั้นตอนและแนวทางการดแู ล
4.1.1 การประเมนิ ผใู้ ชบ้ ริการ
การประเมินผู้ใช้บริการ มีเป้าหมายเพ่ือให้ผู้ใช้บริการเข้าใจและยอมรับในการต้ังครรภ์ต่อ
รวมถงึ การตระหนกั ถงึ ศกั ยภาพทเ่ี ปน็ จรงิ ในการเลย้ี งดเู ดก็ ภายหลงั คลอด โดยคำ� นงึ ถงึ สภาพจติ ใจ
ความรสู้ ึก และภาวะความเครียดของผหู้ ญงิ ท่ที ้องเมือ่ ไม่พร้อม ผลการประเมนิ จะน�ำมาสู่การจัด
บรกิ ารทีม่ ีความเฉพาะ เพือ่ ให้เกดิ การฟน้ื ฟสู ภาพจติ ใจ เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพ ซึง่ จะสง่ ผลโดยตรง
ตอ่ สขุ ภาพทางกายทำ� ใหม้ คี วามพรอ้ มในการคลอดบตุ รทมี่ สี ขุ ภาพดตี อ่ ไป การประเมนิ ผใู้ ชบ้ รกิ ารน้ี
ท�ำให้สามารถเข้าใจปัญหาแวดล้อมจากการตั้งครรภ์ไม่พร้อม และหาออกในการช่วยเหลือ
ในระหว่างรอคลอด-หลังคลอด รวมทั้งเป็นแนวทางในการประเมินแนวโน้มการเลือกหลังคลอด
ทารก ไมว่ า่ จะเปน็ ทางเลอื กในการเลย้ี งดเู อง หรอื จดั หาสถานทรี่ บั ฝากเลยี้ งเดก็ ทารกเมอ่ื ไมพ่ รอ้ ม
ทีจ่ ะดูแลได้ รวมทง้ั การยกบตุ รให้สถานสงเคราะหห์ รือหน่วยงานอ่นื ๆ
การประเมินดังกล่าว จะน�ำมาประกอบกันเป็นข้อมูลพื้นฐานที่ผู้ให้บริการควรทราบ เพ่ือ
ให้การดูแลช่วยเหลือที่สอดคล้อง โดยการได้มาซ่ึงข้อมูล อาจได้มาจากการสอบถามพูดคุยกับ
ผใู้ ช้บริการโดยตรง รวมทั้งจากการเย่ยี มบ้านและชุมชน เป็นต้น โดยข้อมลู ท่ีควรทราบ ได้แก่
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 57
• ข้อมูลพนื้ ฐานของผูใ้ ช้บรกิ าร เช่น ความรู้ อายุ อาชีพ ฯลฯ
• ข้อมูลการตั้งครรภ์ เช่น อายุครรภ์ จ�ำนวนคร้ังของการตั้งครรภ์ ภาวะการเจ็บป่วย
ระหว่างตั้งครรภ์ ประวัติการยุติการต้ังครรภ์ การใช้สารเสพติดระหว่างต้ังครรภ์
ประวตั ิการฝากครรภ์ และอื่นๆ
• ข้อมูลทางสภาพจติ ใจ และวุฒภิ าวะของผู้ตงั้ ครรภ์
• ขอ้ มลู ของหนว่ ยสนบั สนนุ ทางสงั คม เชน่ ครอบครวั เพอ่ื น ญาติ หรอื บคุ คลทผ่ี ใู้ ชบ้ รกิ าร
ไว้วางใจ สมั พนั ธภาพกับคู่ รวมทงั้ หนว่ ยงานทีผ่ ใู้ ชบ้ ริการเคยใช้บริการมาก่อน
• สทิ ธิในการรกั ษาพยาบาล
• ความต้องการ และปญั หาตา่ งๆ ของผู้ใช้บรกิ าร
การประเมนิ ผใู้ ชบ้ ริการ ผู้ประเมนิ ควรประเมนิ รว่ มกบั ผ้ใู ช้บรกิ ารเสมอ โดยครอบคลุม
ประเดน็ ดังตอ่ ไปนค้ี อื
• ศกั ยภาพของผูใ้ ชบ้ รกิ าร ในการเล้ยี งทารกทีเ่ กิดมาทา่ มกลางความไม่พร้อม เช่น เป็น
แมเ่ ลย้ี งเดย่ี ว ความไมพ่ รอ้ มทางดา้ นการเงนิ และความกดดนั ของชมุ ชนและสงั คม โดย
มตี วั ชีว้ ัดทีค่ วรประเมนิ คือ การศกึ ษา อาชพี ทเี่ คยทำ� เงนิ ออม ภาระด้านหนสี้ ิน ระดบั
สตปิ ัญญา และวุฒภิ าวะทางอารมณ์ รวมท้งั ความสามารถในการจัดการและรับมือกับ
ปัญหา
• ครอบครัวของผ้ใู ช้บรกิ าร ทเี่ ป็นหน่วยสนับสนนุ ดูแล ช่วยเหลอื เกอ้ื กลู ในการเลยี้ งดู
ทารกทจี่ ะเกดิ มาในระยะยาว โดยมีตัวชีว้ ดั ได้แก่ สัมพนั ธภาพระหวา่ งคนในครอบครัว
ลกั ษณะการเลยี้ งดทู ผ่ี า่ นมา ความคาดหวงั ของครอบครวั ตอ่ ผใู้ ชบ้ รกิ าร และการยอมรบั
ของครอบครัวต่อปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ มที่เกดิ ขึน้ เปน็ ตน้
• ชุมชนท่ีทารกจะถูกเลี้ยงดูและเติบโตขึ้น เน่ืองจากมีผลต่อการดูแลทั้งผู้หญิงและเด็ก
ในระยะยาว โดยมีตัวชี้วัดได้แก่ ทัศนคติและการยอมรับของชุมชนต่อปัญหา
การต้ังครรภ์ไม่พร้อม สถานะทางสังคมของครอบครัวผู้ใช้บริการ และความสัมพันธ์
ระหว่างครอบครวั ของผใู้ ช้บรกิ ารกับผู้คนในชุมชน เป็นตน้
• ปญั หาและสงิ่ ทผี่ ใู้ ชบ้ รกิ ารเผชญิ อยปู่ จั จบุ นั และในชว่ งทผ่ี า่ นมา ในสว่ นทม่ี ผี ลกระทบตอ่
การตัง้ ครรภ์ในคร้งั น้ี โดยมปี ระเด็นทค่ี วรพจิ ารณาประเมนิ ไดแ้ ก่ ความเจบ็ ป่วยก่อน
และระหว่างตั้งครรภ์ ความพร้อมทางด้านสุขภาพกายในการตั้งครรภ์ โรคติดต่อหรือ
สภาวะทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั พันธุกรรม การเข้าถงึ สิทธสิ ุขภาพและสงั คม ปญั หาการท�ำงาน
หรือการเรียน ที่พักอาศัยระหว่างการต้ังครรภ์และหลังคลอด การใช้สารเสพติดก่อน
และระหวา่ งตงั้ ครรภ์ รวมทง้ั สาเหตทุ ม่ี าทไี่ ปของการตงั้ ครรภแ์ ละความไมพ่ รอ้ มในครงั้ นี้
• ความตอ้ งการมีลกู และดูแลทารกทจ่ี ะเกดิ มา เปน็ ข้อมูลท่ีจะใช้ในการประเมินทางเลอื ก
หลังคลอดของผู้ใช้บริการ ซึ่งอาจต้องมีการประเมินเป็นระยะๆ ตลอดการตั้งครรภ์
จนหลังคลอด เพื่อเป็นแนวทางในการเลือกหลังคลอดว่าจะเลี้ยงดูเอง หรือยกให้
สถานสงเคราะห์ต่อไป
58 คู่มือการชว่ ยเหลือผ้หู ญงิ ตง้ั ครรภไ์ ม่พร้อมของศนู ย์พ่งึ ได้
ในกรณที สี่ าเหตุ การตงั้ ครรภ์ มาจากความรนุ แรง ผใู้ ชบ้ รกิ ารอยใู่ นวยั เยาว์ และมสี ภาพจติ หรอื
สตปิ ัญญาไม่ปกติ การประเมนิ ควรท�ำในลักษณะร่วมกนั เป็นทีมสหวิชาชีพ
4.1.2 การดแู ลระหวา่ งการตงั้ ครรภ์
ภาวะการทอ้ งที่ไมพ่ รอ้ ม ทำ� ให้ผตู้ ง้ั ครรภส์ ว่ นใหญเ่ ขา้ สู่บรกิ ารฝากทอ้ งลา่ ช้า หรอื อาจไม่มา
ฝากครรภ์เลยจนกระทัง่ คลอด เนอื่ งจากไมท่ ราบวา่ ตวั เองท้อง หลงั จากทราบแลว้ ส่วนใหญ่มกี าร
ปกปิดการตัง้ ครรภเ์ พราะเกรงจะถูกปฏิเสธจากครอบครัว เพอ่ื น โรงเรียน ท่ีท�ำงาน และสงั คม
นอกจากน้ี สว่ นใหญม่ กั ถกู คทู่ อดทงิ้ หรอื ไมด่ แู ล ทำ� ใหเ้ กดิ ความโดดเดย่ี วตอ้ งเผชญิ ปญั หาตามลำ� พงั
และมักประสบปัญหาในด้านค่าใช้จ่ายในการฝากครรภ์และคลอด รวมทั้งการดูแลตนเองท่ีไม่
เหมาะสม การรับประทานอาหารทีม่ ีประโยชน์ไม่เพียงพอ ส่งผลกระทบต่อตัวออ่ นทอ่ี ยู่ในครรภ์
ผใู้ ชบ้ รกิ ารทอ้ งไมพ่ รอ้ มทต่ี ดั สนิ ใจตง้ั ครรภต์ อ่ สว่ นใหญจ่ งึ ผา่ นประสบการณค์ วามกลวั และ
สบั สนทไี่ มร่ วู้ า่ ตอ้ งทำ� อยา่ งไรตอ่ ไป จำ� นวนมากรสู้ กึ ผดิ เนอื่ งจากสรา้ งความผดิ หวงั ใหก้ บั ครอบครวั
และมกั กลัวกับการตอ้ งเผชญิ กบั สง่ิ ท่ีจะเกดิ ข้นึ ในอนาคต ไมว่ า่ จะเป็นการตอ้ งหยดุ หรอื ลาออก
จากการเรียน หรือ การท�ำงาน รวมทงั้ การใชช้ ีวติ อยใู่ นสงั คมตอ่ ไป นอกจากน้ผี ้ใู ช้บริการยงั เกดิ
ความรู้สกึ กลัวการถูกต�ำหนิซ�ำ้ เตมิ จากบคุ ลากรทางการแพทย์
“การใหบ้ รกิ ารฝากครรภท์ เี่ ปน็ มติ รแกผ่ หู้ ญงิ ทอ้ งเมอื่ ไมพ่ รอ้ ม ควรยดึ หลกั คดิ Empathy คอื
การเห็นใจ สร้างอบอุ่นให้ผูห้ ญิงทปี่ ระสบปญั หา ด้วยทา่ ที วาจาทอ่ี บอนุ่ มคี วามมุ่งมัน่ ต้ังใจท่จี ะ
ช่วยเหลอื เจา้ หนา้ ทท่ี กุ ส่วนทใี่ หบ้ ริการตอ้ งเปดิ ใจ และเปดิ โอกาสในการรบั ฟังข้อมูล รวมทัง้ เร่อื ง
ราวชวี ิตอย่างใส่ใจ โดยเฉพาะการใหบ้ ริการโดยปราศจากอคตติ ่อผหู้ ญิงท่ีท้องเมอื่ ไม่พร้อม ไม่วา่
ผใู้ ชบ้ รกิ ารคนน้จี ะมวี ถิ ีชีวิตทางเพศเชน่ ไร ตง้ั ท้องมาก่รี อบ หรือมีคู่นอน/สามมี ากคี่ นก็ตาม…..”
(นักสังคมสงเคราะห์ : บ้านพกั ฉุกเฉนิ )
การฝากครรภแ์ ละการดแู ลสขุ ภาพ ระหวา่ งการตง้ั ครรภส์ ำ� หรบั ผใู้ ชบ้ รกิ ารทท่ี อ้ งไมพ่ รอ้ ม
จงึ มีเปา้ หมายดงั ตอ่ ไปนี้
เป้าหมายสำ� หรับผูต้ ัง้ ครรภ์ คือ การดูแลสขุ ภาพกายและใจของตนเอง การมาฝากครรภ์
อยา่ งสมำ�่ เสมอ และเตรยี มความพรอ้ มในการคลอดบตุ รท่ีมสี ขุ ภาพสมบูรณ์
เปา้ หมายสำ� หรบั ทารก คอื ตวั ออ่ นในครรภม์ คี วามสมบรู ณ์ ทารกคลอดปลอดภยั ไมค่ ลอด
ก่อนก�ำหนด มนี ้ำ� หนักตัวคลอดไม่ตำ่� กว่ามาตรฐาน และไมม่ ภี าวะแทรกซ้อน
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 59
ข้อควรระวัง: การตงั้ ครรภท์ ไ่ี มพ่ ร้อมจะเผชิญภาวะความเส่ียงทางสุขภาพหลายประการ
จึงต้องมีการเฝ้าระวังความเสี่ยงนั้นตลอดการตั้งครรภ์ มีการเน้นย้�ำนัดหมายการฝากครรภ์
รวมท้ังเฝา้ ระวงั การทีผ่ ูใ้ ชบ้ ริการอาจตัดสินใจไปยุตกิ ารต้งั ครรภท์ ไ่ี มป่ ลอดภัยได้ ดงั นัน้ จงึ ควร
มีการตดิ ตามสภาพจติ สงั คมของผู้ใชบ้ รกิ ารเป็นระยะๆ จนกระท่งั คลอดบุตร
สถานบริการสุขภาพ และบุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับการดูแลหญิงต้ังครรภ์ จึงควรจัดบริการ
ฝากครรภ์ท่ีเข้าใจธรรมชาติ และความต้องการของผู้หญิงท่ีท้องไม่พร้อมจึงมีความส�ำคัญ โดย
คำ� นงึ ถึงประเด็นดงั ตอ่ ไปน1ี้ 6
• มที ัศนคติที่ดี ทำ� ความเข้าใจปัญหา ใหเ้ วลา ใหค้ ณุ คา่ และ ให้เกียรติตอ่ ผู้ใช้บรกิ าร
ไมซ่ �ำ้ เตมิ ไมพ่ ดู จาต�ำหนหิ รอื ส่อเสียด
• ควรให้การดูแลต่อเนื่องโดยกลมุ่ บุคลากรอย่างตอ่ เนอื่ งเพ่อื สรา้ งความไว้วางใจ โดยอาจ
จัดเป็นคลินิกฝากครรภ์ส�ำหรับวัยรุ่น หรือ ผู้หญิงท่ีท้องไม่พร้อมโดยเฉพาะข้ึนอยู่กับ
บรบิ ทของสถานบรกิ าร
• จดั บริการทม่ี ีลกั ษณะความเปน็ ส่วนตัว เปน็ มติ ร ปลอดภยั รสู้ ึกสบายใจ และเข้าถงึ งา่ ย
• สร้างความเชอ่ื มนั่ สรา้ งศักยภาพ ใหก้ ับผใู้ ช้บริการในการเดนิ ไปขา้ งหนา้ อยา่ งม่ันใจ
• ใหข้ อ้ มลู ท่เี พียงพอ และใหค้ วามม่นั ใจในการรกั ษาความลับของผู้ใชบ้ ริการ
• สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของครอบครวั ของผใู้ ชบ้ รกิ าร มกี ระบวนการทท่ี ำ� ใหบ้ คุ คลในครอบครวั
ยอมรับและมสี ว่ นร่วมในการดูแล
• ในกรณีที่ผู้ใช้บริการอยู่ที่บ้านพักรอคลอด ควรประสานงานอย่างใกล้ชิดกับเจ้าหน้าท่ี
บา้ นพักฯ เพอื่ การดแู ลอยา่ งรอบดา้ นร่วมกัน
• รว่ มกับฝา่ ยอ่นื ๆ ในโรงพยาบาล หรอื หนว่ ยงานอ่นื ๆ จัดกจิ กรรมเพื่อการเตรียมตวั
คลอด การเลย้ี งดหู ลงั คลอด การคน้ หาศกั ยภาพของตนเอง การเตรยี มตวั เปน็ แมเ่ ลย้ี งเดย่ี ว
รวมทงั้ การวางแผนชวี ติ หลงั คลอด ซงึ่ มคี วามละเอยี ดออ่ นทแ่ี ตกตา่ งจากการจดั กจิ กรรม
ให้กับผ้ใู ชบ้ รกิ ารที่ตง้ั ครรภ์ท่ีมีความพร้อม
• ควรให้ผู้ใช้บริการมสี ่วนร่วมมากทสี่ ดุ ในทุกข้นั ตอนของการให้บรกิ าร
16 เอมอร รตินธร, 2557
60 คู่มอื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ต้งั ครรภ์ไมพ่ ร้อมของศูนย์พงึ่ ได้
ตวั อยา่ ง แนวทางการติดตามดูแลในระยะตัง้ ครรภ์ ส�ำหรับผปู้ ระสบปญั หาทอ้ งไม่พรอ้ มที่ตดั สินใจตั้งครรภ์ตอ่
ศูนย์พงึ่ ได้ โรงพยาบาลขอนแกน่
ครง้ั ที่ 1: เม่ือมาฝากครรภค์ รัง้ แรก
( ) ประเมินทักษะและการปรบั ตวั ทางสังคม
( ) ประเมนิ พฤติกรรมเสี่ยง
( ) ประเมินสภาพจติ ใจของมารดา
( ) ประเมินผลกระทบจากการต้งั ครรภ์ของมารดาวยั รุ่นและครอบครัว
( ) ใหค้ วามรกู้ ารดแู ลตนเองทงั้ รา่ งกายและจิตใจ
( ) ประเมินภาวะซมึ เศรา้
ครั้งท่ี 2: อายคุ รรภ์ 20 – 28 สัปดาห์
( ) ให้ความรู้การดแู ลตนเองทง้ั รา่ งกายและจติ ใจ
( ) ประเมนิ ปัญหาท่เี กดิ ข้นึ ระหวา่ งการต้ังครรภ์
( ) ประเมินสภาพจิตใจของมารดา
( ) ประเมนิ ทกั ษะและการปรบั ตัวทางสงั คม
ครั้งท่ี 3: อายคุ รรภ์ 30 – 36 สปั ดาห์
( ) ให้ความรกู้ ารดูแลสุขภาพของมารดาและบุตร
( ) ให้ความรใู้ นการเลยี้ งดูบตุ ร เนน้ เร่ืองนมมารดา
( ) วางแผนเร่ืองการดูแลบตุ ร
( ) วางแผนเรอ่ื งการคุมก�ำเนดิ
( ) วางแผนเรอ่ื งการกลบั เข้าสรู่ ะบบการศึกษาและประกอบอาชีพ
( ) ประเมนิ ทักษะและการปรับตัวทางสงั คม
4.1.3 การดูแลหลงั คลอดและการตัดสินใจทางเลือก
หลังคลอดบุตร นอกจากการดูแลสุขภาพทางกายของผู้คลอดบุตรและทารกท่ีเกิดมาตาม
แนวทางการดูแลสุขภาพแม่และเด็กหลังคลอดท่ีทางโรงพยาบาลด�ำเนินการอยู่แล้ว ส�ำหรับผู้ใช้
บริการท่ีการตั้งครรภ์นี้ไม่พร้อม ผู้ให้บริการจ�ำเป็นต้องมีการดูแลหลังคลอด และการปรึกษา
ทางเลอื กเพอ่ื พจิ ารณาวา่ มคี วามตอ้ งการและ มศี กั ยภาพทจี่ ะเลยี้ งดทู ารกทคี่ ลอดมาเองไดห้ รอื ไม่
โดยท่ัวไป ทางเลือกหลังคลอดแบ่งออกเป็นสองทางเลือกใหญ่ๆ คือ 1) การดูแลเอง ภายใต้
ความชว่ ยเหลอื ทส่ี อดคลอ้ งกบั สภาพปญั หาและความตอ้ งการ และ 2) ไมด่ แู ลเอง หรอื ไมส่ ามารถ
ดแู ลเองได้ กรณนี ีอ้ าจยกบตุ รใหส้ ถานสงเคราะห์ หรอื องคก์ รเอกชนที่ด�ำเนินการหาครอบครัว
บญุ ธรรมแก่เด็ก
ขนั้ ตอนการดแู ลหลงั คลอดและการตัดสินใจทางเลอื ก มีเปา้ หมายดงั ต่อไปน้ี
เปา้ หมายสำ� หรบั ผคู้ ลอดบตุ ร คอื การเตรยี มความพรอ้ มเพอ่ื เปน็ ผเู้ ลย้ี งดทู ารกในระยะยาว
ภายใตข้ อ้ จ�ำกดั ในด้านต่างๆ มคี วามชัดเจนตอ่ ทางเลือกหลงั คลอดบุตร ในการเล้ยี งดเู อง หรือ
การตดั สนิ ใจยกบุตร รวมทงั้ การใชช้ ีวติ ทางเพศและการป้องกันการทอ้ งไมพ่ รอ้ มในอนาคต
เปา้ หมายสำ� หรับทารก คอื การดแู ลสุขภาพตามสภาวะรา่ งกายหลังคลอด การไดร้ ับนมแม่
และวัคซนี ครบตามกำ� หนดนดั หมาย และมีครอบครัวท่เี ลีย้ งดไู ด้ในระยะยาว
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 61
แนวปฏบิ ัติในการแจ้งเกดิ ทางโรงพยาบาลจะออกใบรบั รองการเกดิ ของทารก (ทร.1/1) เพ่อื
ให้แม่ หรือ ครอบครัวน�ำไปย่ืนท่ีส�ำนักงานเขต หรือ ท่ีว่าการอ�ำเภอเพ่ือออกสูติบัตรต่อไป
ในการออกใบรับรองการเกิดของทารกท่ีเกิดจากผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมที่คลอดบุตรเพียงล�ำพัง
โดยไมม่ คี ู่ ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งลงชอื่ บดิ าเดก็ ในใบรบั รองการเกดิ หากไมป่ รากฏวา่ มบี ดิ า การพยายาม
น�ำชื่อบุคคลที่ไม่ใช่บิดามาใส่ในใบรับรองการเกิดซึ่งจะปรากฏในสูติบัตร จะมีผลผูกพันในทาง
กฎหมายท่ีก่อเกิดปัญหาและความยุ่งยากในอนาคตการด�ำเนินชีวิตของเด็กได้ เนื่องจากก่อน
บรรลุนิตภิ าวะ เดก็ จะต้องขออนญุ าตเป็นลายลักษณ์อกั ษรจากบิดาเพ่อื ท�ำการท่ีก�ำหนดไว้ตาม
กฎหมายในทกุ ๆ เรื่อง ดังนั้น ในกรณีทท่ี างฝ่ายทะเบยี นของสำ� นกั งานอำ� เภอหรอื เทศบาลอาจ
ไมเ่ ขา้ ใจขอ้ เท็จจริงนี้ ควรเตรยี มแมแ่ ละครอบครวั ใหย้ นื ยนั สทิ ธกิ ารไม่ลงช่อื บดิ า เพอ่ื เปน็ การ
แกป้ ญั หาในระยะยาวของกรณีน้ี ทางโรงพยาบาลควรประสานกับหน่วยราชการท่เี กี่ยวข้องเพ่ือ
ใหเ้ กิดความเขา้ ใจทีต่ รงกนั
• บรกิ ารทางสขุ ภาพและสงั คม นอกเหนอื จากการดแู ลแมแ่ ละเดก็ หลงั คลอดดงั เชน่ กรณี
อนื่ ๆ ทว่ั ไปแลว้ บรกิ ารทมี่ คี วามจำ� เปน็ สำ� หรบั หญงิ คลอดบตุ รทตี่ งั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ ม ทอ่ี าจ
มคี วามแตกตา่ งไปตามเงอ่ื นไขและสภาพชีวติ ของผใู้ ช้บริการแต่ละราย ได้แก่
• บ้านพกั หลังคลอด เป็นทางเลือกทช่ี ว่ ยหญงิ หลังคลอดในระยะแรกๆ ที่ยงั พงึ่ พาตนเอง
ไมไ่ ดม้ ากนกั โดยทยี่ งั มเี ดก็ ออ่ นอยใู่ นความดแู ล ผหู้ ญงิ หลงั คลอดบางรายขาดครอบครวั
ดูแล หรือครอบครัวยังไม่พร้อมดูแล โดยการเข้าพักที่บ้านพัก อาจเป็นการพักพิง
ในระยะหนึง่ จนกว่าจะมคี วามพรอ้ มเพอ่ื ด�ำรงชีวติ ได้ตามล�ำพงั
• บริการสถานท่ีรับเลี้ยงเด็ก เพ่ือแบ่งเบาภาระของแม่เล้ียงเด่ียว ท่ีต้องมีภาระในการ
ท�ำงานเพือ่ หาเลี้ยงตัวเองและดแู ลเด็กท่ีเกดิ มา เพอ่ื ใหส้ ามารถพ่ึงพาตนเองได้ในระยะ
ยาวและดูแลบุตรได้อย่างมีคุณภาพ
• บริการคุมก�ำเนิดก่งึ ถาวร ควรแนะนำ� วธิ กี ารคมุ ก�ำเนดิ ท่ีมีประสิทธิภาพหลงั คลอด เชน่
การฝงั ยาคมุ กำ� เนิด การใส่ห่วง เพอ่ื ปอ้ งกนั การท้องไม่พร้อมท่อี าจเกดิ ขึน้ ได้ในอนาคต
ต่อไป
• การชว่ ยเหลอื ทางดา้ นการเงนิ เพอื่ การดำ� รงชวี ติ ไดข้ องแมแ่ ละทารก อาหารทดี่ มี คี ณุ คา่
ทางโภชนาการส�ำหรับแม่ เพ่อื ให้มีนมเล้ียงลูกได้ รวมท้งั อปุ กรณ์การเล้ียงดูบตุ ร และ
อื่นๆ
การพจิ ารณาทางเลอื กในการเลยี้ งดทู ารกทเี่ กดิ มา ประเมนิ ไดจ้ ากศกั ยภาพของผใู้ ชบ้ รกิ าร
และศักยภาพของครอบครัวในฐานะท่เี ปน็ หนว่ ยสนบั สนุนในการเลยี้ งดูเดก็
62 คมู่ ือการช่วยเหลอื ผหู้ ญิงต้ังครรภไ์ มพ่ ร้อมของศูนยพ์ ง่ึ ได้
การประเมินศกั ยภาพของผู้ใชบ้ ริการ ประกอบไปดว้ ยการประเมินสภาวะทางกาย ทางจติ
และสังคมเบื้องต้น ได้แก่ การวิเคราะห์วินิจฉัยที่เป็นจริงทางร่างกาย จิตใจอารมณ์และความ
สมั พนั ธท์ างสงั คมของผใู้ ชบ้ รกิ ารกบั ครอบครวั เครอื ญาติ อกี ทงั้ ความนกึ คดิ และความพรอ้ มของ
ผ้หู ญงิ เอง ในดา้ นความเข้มแขง็ ทจ่ี ะดำ� เนนิ การชวี ติ ต่อไป รวมท้ังแผนการชีวิตที่เป็นรปู ธรรมดว้ ย
การประเมนิ ครอบครวั ประกอบไปดว้ ยการประเมนิ บทบาทความสมั พนั ธ์ และความผกู พนั
ในครอบครัว การยอมรับเด็กที่เกิดมา รวมท้ังความคิด-ความรู้สึกในทางบวกต่อผู้ใช้บริการ
โดยปราศจากการตตี ราต่อปญั หาท่เี กิดขึ้น และ ศักยภาพของการช่วยเหลือเล้ียงดู
การประเมนิ ดังกล่าว มปี ระเด็นการประเมนิ และรายละเอยี ดดังตารางต่อไปนี้
ตารางที่ 8 ประเดน็ และรายละเอยี ดในการประเมินทางเลอื กในการเลี้ยงดทู ารกท่เี กิดมา
ประเด็นประเมนิ รายละเอยี ดการประเมิน
ความเสี่ยงในการท้ิงเด็ก ละเลยการฝากท้อง ไม่ใส่ใจดูแลสุขภาพตนเองระหว่างตั้งท้อง
หลงั คลอด ไม่ยนิ ดีดแู ลทารกและใหน้ มหลังคลอด
สภาพจติ สงั คมของผใู้ ชบ้ รกิ าร ความสามารถในการแก้ไขปญั หา ความมเี หตุมผี ลต่อพฤติกรรม
ของตนเองและผเู้ ก่ยี วขอ้ ง
ระบแุ ผนการดแู ลตวั เอง และทารกหลังคลอดไดช้ ดั เจน รวมทง้ั
ประเมนิ ขอ้ จำ� กดั ของตวั เอง และความชว่ ยเหลอื ทตี่ อ้ งการเพอ่ื การ
แผนการเลย้ี งดเู ดก็ หลงั คลอด ดำ� รงชวี ติ ตอ่ ไป โดยมแี หลง่ ทส่ี ามารถใหค้ วามชว่ ยเหลอื ตามความ
ตอ้ งการได้
ความพร้อมและศักยภาพ การศึกษา และความรับผิดชอบในการเรียน การท�ำงาน
ในการเลยี้ งดเู ดก็ ทเี่ กิดมา การจัดการทางการเงิน
ความสมั พนั ธแ์ ละความผูกพนั ของสมาชกิ ในครอบครวั ศักยภาพ
สภาพครอบครัว ศักยภาพ ของพอ่ แม่ หรอื ญาตใิ นครอบครวั ความรสู้ กึ ทด่ี ตี อ่ ผทู้ อ้ งไมพ่ รอ้ ม
ในการสนบั สนนุ การเล้ียงดู การไมต่ ตี ราตอ่ ปญั หา มคี วามเขา้ ใจทเี่ กดิ ขนึ้ และการยอมรบั เดก็
ทเ่ี กิดมา
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 63
ตัวอย่าง ประเด็นการประเมินในระยะหลังคลอด ส�ำหรับผู้ประสบปัญหาท้องไม่พร้อมที่
ตงั้ ครรภต์ ่อ ศูนย์พงึ่ ได้ โรงพยาบาลขอนแกน่
( ) การวางแผนก่อนออกจากโรงพยาบาล
( ) ประเมินปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างแม่-ลูก
( ) ประเมินทางสภาพทางจติ สังคม เปน็ ระยะๆ
( ) ประเมนิ ความพรอ้ มของครอบครัว ความสามารถในการเล้ยี งดูเด็ก
( ) ประเมินความเสี่ยงการทอดทง้ิ บุตร
( ) ประเมนิ ความพรอ้ มการแจ้งเกดิ
( ) ประเมนิ ทักษะและการปรับตัวทางสังคม
ในกรณีทพี่ บวา่ ทางเลือกคอื ไมส่ ามารถเลีย้ งดบู ตุ รได้ ทางเลือกต่อไปคอื ให้ทารกที่เกิดมา
อยู่ในความดูแลของสถานสงเคราะห์ ท้งั ดำ� เนนิ งานโดยภาครฐั หรอื ภาคเอกชน ซง่ึ ทางเลอื กน้ี
เปน็ ไปไดท้ ง้ั การฝากเลย้ี งชวั่ คราว หรอื ยกมอบใหส้ ถานสงเคราะห์ ซงึ่ การฝากเลยี้ งชว่ั คราว หาก
แม่เด็กและครอบครัวมีความพร้อมก็สามารถขอรับกลับมาเล้ียงดูเองได้ ในกรณียกมอบให้
สถานสงเคราะห์ ทางสถานสงเคราะหจ์ ะประสานงานกับสำ� นักงานพัฒนาสงั คมและความมนั่ คง
ของมนษุ ยจ์ ังหวัด เพ่อื ตดิ ต่อจดั หาครอบครวั บญุ ธรรมต่อไป
ในกรณที ห่ี ลงั คลอด ผหู้ ญงิ ทคี่ ลอดบตุ รมคี วามชดั เจนวา่ ไมส่ ามารถเลย้ี งดเู องได้ และตอ้ งการ
ยกบตุ รใหเ้ ปน็ บตุ รบญุ ธรรมของผอู้ น่ื ใหท้ างโรงพยาบาลจะประสานงานกบั สำ� นกั งานพฒั นาสงั คม
และความมนั่ คงของมนษุ ยป์ ระจำ� จงั หวดั หรอื องคก์ รเอกชนทใี่ หบ้ รกิ ารดา้ นนี้ ไดแ้ ก่ สหทยั มลู นธิ ิ
มลู นิธิมวลมติ รเด็ก มลู นิธิสงเคราะห์เด็กพทั ยา และมูลนธิ ิสงเคราะห์เด็กสภากาชาดไทย โดย
การเขยี นใบสง่ ตอ่ จากโรงพยาบาลและมขี อ้ มลู ของผใู้ ชบ้ รกิ ารทรี่ อบดา้ น (ดขู น้ั ตอนการขอรบั เดก็
เป็นบตุ รบญุ ธรรมในผังภาพท่ี 11 และ รายละเอยี ดในภาคผนวกที่ 3)
64 คู่มือการช่วยเหลอื ผู้หญิงตั้งครรภ์ไมพ่ รอ้ มของศูนย์พ่งึ ได้
ผงั ภาพท่ี 11 ข้นั ตอนการขอรบั เด็กเปน็ บุตรบุญธรรม
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 65
จากผังภาพข้างต้น จะเห็นว่าการรับบุตรบุญธรรมนั้น มีขั้นตอนท่ีมีการกลั่นกรองผู้ขอ
จดทะเบยี นเดก็ เปน็ บตุ รบญุ ธรรมคอ่ นขา้ งรดั กมุ และรอบคอบ โดยผา่ นการพจิ ารณาทง้ั จากเอกสาร
และการสัมภาษณ์โดยเจ้าหน้าท่ีและคณะกรรมการบุตรบุญธรรม หากพบว่าไม่ผ่านเกณฑ์
การพจิ ารณาในขน้ั ตอนใด กไ็ มส่ ามารถขอรบั เดก็ เปน็ บตุ รบญุ ธรรมได้ และไมส่ ามารถกลบั มาเรมิ่
กระบวนการไดอ้ ีก นอกจากน้ี ยงั มกี ารตดิ ตามผลการเลีย้ งดหู ลังจากผู้ขอได้รับอนมุ ตั ิรบั เดก็ ไป
เล้ียงดูในช่วงเวลา 6 เดือน เพ่ือให้แน่ใจว่า ผู้ขอจดทะเบียนรับเด็กและครอบครัวมีคุณสมบัติ
ครบถว้ นในการดแู ลเดก็ มที กั ษะ ความสามารถและวฒุ ภิ าวะในการดแู ลเดก็ อยา่ งมคี ณุ ภาพไดจ้ รงิ
ขัน้ ตอนการขอรบั เดก็ เป็นบตุ รบุญธรรมทง้ั กระบวนการน้ี ใชเ้ วลาทง้ั สน้ิ ราว 2 ปี
ขอ้ ควรระมดั ระวงั ในเรอื่ งการยกเดก็ ใหเ้ ปน็ บตุ รบญุ ธรรม มคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งผา่ นกระบวนการ
ทางกฎหมายอยา่ งถกู ตอ้ ง ไมส่ ามารถยกให้กนั เองแมว้ า่ จะเปน็ ญาตติ ามสายเลอื ดก็ตาม สง่ิ ท่ี
เกิดขึ้นคือ อาจมีการยกเด็กให้กับผู้อ่ืนด้วยวาจาหลังคลอดบุตรได้ ซ่ึงบุคลากรสุขภาพที่ดูแล
หลงั คลอดควรเฝา้ ระวงั ในเรอื่ งนเ้ี ปน็ พเิ ศษ โดยเฉพาะในชว่ งทผ่ี หู้ ญงิ และทารกครบกำ� หนดออก
จากโรงพยาบาล
4.1.4 การตดิ ตามดูแลชว่ ยเหลอื ตอ่ เนอื่ ง
หลังจากที่ผู้ใช้บริการออกจากโรงพยาบาลไปแล้ว ควรมีการติดตามเย่ียมบ้านเป็นระยะๆ
เพอ่ื ตดิ ตามการดแู ลสขุ ภาพของแมห่ ลงั คลอด และการตดิ ตามพฒั นาการตามวยั การไดร้ บั นมแม่
ภาวะโภชนาการ และการรับวัคซีนตามกำ� หนดนัดหมาย ซ่งึ เปน็ แนวปฏิบัตทิ ่ีด�ำเนินงานอยู่แลว้
ส�ำหรับแม่ที่คลอดบุตรจากการตั้งครรภ์ไม่พร้อม มีการติดตามเพิ่มเติมในด้านการให้ความ
ชว่ ยเหลอื ตามสภาพปัญหาและความต้องการ สิง่ ท่ีสำ� คญั ในการดูแลในระยะนี้คอื การเสริมพลงั
ใจแก่ผใู้ ชบ้ รกิ าร เพ่อื ใหเ้ กดิ การฟ้นื ฟคู ณุ คา่ ในชวี ติ ของตัวเอง สรุปการเรียนรู้จากประสบการณ์
ชวี ติ จากการตง้ั ครรภ์ไม่พร้อมท่ผี ่านมา ปรับตวั เข้ากับครอบครัวและชมุ ชน รวมทง้ั แรงต้านที่อาจ
เกิดจากชุมชนและสังคม ท้ังนี้ ส�ำหรับผู้ใช้บริการท่ียังอยู่ในวัยเรียน การติดตามรวมถึง
การประสานงานกบั หน่วยงานท่เี กย่ี วขอ้ งเพ่ือเออ้ื อำ� นวยให้มีโอกาสทางการศกึ ษาต่อไป
66 ค่มู อื การชว่ ยเหลือผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภ์ไม่พร้อมของศนู ยพ์ ึ่งได้
ตัวอยา่ ง ประเดน็ การประเมินในระยะหลังออกจากโรงพยาบาล
ส�ำหรบั ผู้ทีต่ ัดสนิ ใจเลี้ยงบุตรเอง ศนู ย์พึ่งได้ โรงพยาบาลขอนแกน่
( ) ประเมินทางสภาพทางจิต สงั คม เปน็ ระยะๆ
( ) ประเมินทักษะและการปรบั ตัวทางสังคม
ครัง้ ที่ 1: หลังคลอด 6 – 8 สัปดาห์
( ) ประเมนิ ภาวะซมึ เศร้าหลังคลอด
( ) ใหค้ วามรู้และสขุ ภาพของมารดาและทารก
( ) ใหค้ วามร้ใู นการเลีย้ งดูบุตร (นมมารดาอาหารเสริมตามวัย พัฒนาการ)
( ) ตดิ ตามการวางแผนครอบครวั
( ) ประเมนิ และเฝ้าระวงั ภาวะ Child abuse
( ) ประเมนิ พัฒนาการ และ การให้วคั ซนี 2 เดือน
( ) ประเมินทักษะและการปรับตวั ทางสังคม
ครัง้ ที่ 2: หลังคลอด 4 เดือน
( ) ตดิ ตามการวางแผนครอบครวั และ การให้นมมารดา
( ) ประเมินการวางแผนชวี ิต
( ) ประสานครอบครวั โรงเรียน
( ) เสริมทกั ษะชีวติ และความภาคภมู ิใจในตนเอง
( ) ประเมนิ พัฒนาการ และ การใหว้ คั ซีน 4 เดอื น
( ) ประเมนิ ทักษะและการปรบั ตัวทางสงั คม
คร้ังที่ 3: หลังคลอด 6 เดือน
( ) ติดตามความกา้ วหนา้ ของมารดาวัยร่นุ และการเลี้ยงดบู ุตร (ทักษะการเล้ียงดู และการเลี้ยงดดู ว้ ยนมมารดา)
( ) เสรมิ ทกั ษะชวี ติ และความภาคภมู ใิ จในตนเอง
( ) ติดตามการวางแผนครอบครวั
( ) ประเมินพฒั นาการ และ การใหว้ คั ซนี 6 เดอื น
ครั้งท่ี 4: หลงั คลอด 9 เดือน
( ) ตดิ ตามความกา้ วหนา้ ของมารดาวัยรนุ่ และการเลยี้ งดบู ตุ ร
( ) ตดิ ตามการวางแผนครอบครัว
( ) เฝ้าระวังความปลอดภัย และภาวะ Child abuse
( ) ประเมนิ พัฒนาการ และการใหว้ คั ซนี 12 เดอื น
ครง้ั ท่ี 5: หลงั คลอด 1 ปี
( ) ตดิ ตามความก้าวหน้าของมารดาวยั ร่นุ และการเลย้ี งดูบุตร
( ) ติดตามการวางแผนครอบครวั
( ) เฝา้ ระวงั ความปลอดภัย และภาวะ Child abuse
( ) ประเมนิ พฒั นาการ และการใหว้ ัคซีน 12 เดือน
หลังจากนัน้ ใหโ้ ทรติดตามผล 2 ปี (หรอื ติดตามจนเด็กอายุครบ 5 ป)ี
( ) ติดตามความกา้ วหนา้ ของมารดาวัยรุ่นและการเล้ยี งดบู ุตร
( ) ตดิ ตามการวางแผนครอบครวั
( ) เฝ้าระวงั ความปลอดภยั และภาวะ Child abuse
( ) ประเมินทกั ษะและการปรับตัวทางสังคม
การตดิ ตามต่อเนอื่ งหลงั คลอด ศูนย์พง่ึ ได้ ควรประสานงานกบั หน่วยงานต่างๆ เพ่อื แสวงหา
ความช่วยเหลือดูแลได้อย่างเป็นองค์รวมตามสภาพปัญหาท่ีพบ หน่วยงานต่างๆ ในจังหวัดท่ีมี
ภารกจิ ทเี่ ก่ยี วข้อง ได้แก่ ส�ำนักงานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์จังหวัด บ้านพักเด็ก
และครอบครัว ซึ่งให้ความช่วยเหลอื แกแ่ มท่ ไี่ ม่พร้อมเล้ียงดบู ตุ ร ในด้านสวสั ดิการสงั คม ปัจจยั
การดแู ลเดก็ การประกอบอาชพี รวมทงั้ ทพ่ี กั ระหวา่ งและหลงั คลอด รวมทง้ั การฟน้ื ฟเู ยยี วยากลมุ่
เปา้ หมายใหก้ ลบั คนื สคู่ รอบครวั ชุมชนและสังคม นอกจากน้ี ยังมีองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 67
เทศบาล และอ่ืนๆ ท่ีมีบทบาทในการดูแลสวัสดิการสังคมให้กับประชาชนในเขตรับผิดชอบ
ในบางจงั หวดั อาจมอี งคก์ รพฒั นาเอกชน หรอื องคก์ รภาคประชาสงั คมทท่ี ำ� งานเกย่ี วขอ้ งในดา้ นนี้
ซง่ึ การประสานความรว่ มมอื กับหน่วยงานต่างๆ ในจงั หวดั น้ี จะเออ้ื อ�ำนวยให้เกดิ การดูแลแมแ่ ละ
เดก็ ท่เี กดิ จากความไมพ่ ร้อมให้สามารถมคี ุณภาพชีวติ ทีด่ ี และไม่เป็นภาระกบั สงั คมต่อไป
จากปกปดิ สปู่ กปอ้ งและตอ้ งการ
เดก็ หญงิ อายุ 14 ปี ตัง้ ครรภก์ บั แฟน ปกปิด ไมก่ ลา้ บอกความจริงกบั พอ่ และแม่ เพราะ
กลวั ความผดิ กลวั พอ่ และแมผ่ ดิ หวงั เสยี ใจ ตอ่ มาเมอ่ื พอ่ แมท่ ราบเรอ่ื งจงึ ไปแจง้ ความดำ� เนนิ คดี
กบั ฝา่ ยชาย ทางศนู ย์พง่ึ ได้ ไดร้ ับกรณีน้ีเข้ามาดแู ล โดยไดป้ ระเมินวา่ เข้าเกณฑก์ ารต้งั ครรภ์
ไมพ่ รอ้ มหรอื ไม่ (ตงั้ ครรภ์โดยไมต่ ้ังใจ ในขณะเรยี นหนังสือ มอี ายุนอ้ ยกว่า 15 ปี สมั พันธภาพ
ภายใจครอบครวั ไมด่ ี สถานภาพทางสงั คม ตง้ั ครรภ์โดยไม่ต้งั ใจและไมไ่ ด้คุมก�ำเนดิ ) และได้
สรุปว่า เป็น “การตง้ั ครรภ์ที่ไมพ่ รอ้ ม”
บริการปรกึ ษาทางเลือกตามแนวทางของศนู ย์พ่งึ ได้ โรงพยาบาลรัตภูมิ โดยใชเ้ ทคนคิ
ในการเปล่ียนมุมมอง และจูงใจให้พูดความจริงกับพ่อแม่เพ่ือส�ำรวจปัญหาและวางแผนแก้ไข
ปญั หาได้อย่างเปน็ ระบบ คอื การสำ� รวจความคิด และความรสู้ กึ ตอ่ การตัง้ ครรภ์ การกำ� หนด
เป้าหมายและวางแผนตามประเดน็ ปญั หา โดยพิจารณาขอ้ ดี ข้อเสีย และผลกระทบทสี่ ่งผลตอ่
วถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ ของตนเอง จนกระทงั่ มกี ารตดั สนิ ใจทจี่ ะบอกแม่ และไดพ้ ดู คยุ จนแมเ่ กดิ เขา้ ใจ
ในขณะท่ีพอ่ นน้ั ทราบจากการท่แี ม่ส่อื สารขอ้ มลู น้ใี ห้ โดยความช่วยเหลือของพยาบาลจติ เวช
ร่วมกบั เจา้ หนา้ ท่ี โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพต�ำบลในพื้นที่ ได้พูดคุยและลงติดตามเย่ยี มบ้าน
เพอ่ื ใหก้ ารดแู ลและชว่ ยเหลอื ครอบครวั จนกระทงั่ พอ่ ยอมรบั และเขา้ ใจปญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั ลกู สาว
ได้ และรว่ มกนั ตดั สินใจตั้งครรภ์ต่อไป โดยได้ฝากครรภ์ท่โี รงพยาบาลอย่างต่อเน่ือง ในคลนิ กิ
ครรภ์เส่ียงของแผนกฝากครรภ์ หลังจากน้ัน พยาบาลจิตเวชได้ติดตามประเมินสภาพจิตใจ
อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ตลอดระยะเวลาที่มาฝากครรภ์อย่างตอ่ เนื่อง
การดแู ลหญิงต้ังครรภ์เนน้ การดูแลทางสงั คม จติ ใจ โดยเฉพาะการดูแลหญิงตั้งครรภ์
ไม่พร้อมที่ตั้งครรภ์ต่อ น�ำส่ิงที่หญิงตั้งครรภ์คิดว่าเป็นด้านลบให้กลายเป็นด้านบวกได้ แสดง
ใหเ้ หน็ ศกั ยภาพของตนเองและครอบครวั จากสง่ิ ทคี่ รอบครวั และตนเองตคี า่ ในทางลบ จนกระทง่ั
เหน็ คุณค่าของตนเองในทีส่ ุด
(โรงพยาบาลรัตภูมิ จงั หวัดสงขลา)
68 คมู่ ือการชว่ ยเหลือผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ ร้อมของศนู ยพ์ ึ่งได้
4.2 ตัวอย่างการดแู ลผูห้ ญิงท้องไมพ่ ร้อม : บา้ นพักฉกุ เฉนิ
บ้านพกั ฉกุ เฉิน ก่อตง้ั เมือ่ พ.ศ. 2523 เป็นทพ่ี ักพิงชัว่ คราวทงั้ ทางกายและใจให้แกผ่ หู้ ญิง
และเด็กที่เดือดร้อนซ่ึงประสบปัญหาครอบครัว ท้องเม่ือไม่พร้อม ถูกข่มขืน ติดเช้ือเอชไอวี
สามีทิ้งหรือท�ำร้ายร่างกายและจิตใจ ฯลฯ โดยเป็นกิจกรรมหน่ึงของสมาคมส่งเสริมสถานภาพ
สตรใี นพระอุปถัมภ์ พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ บ้านพัก
ฉุกเฉินให้ความช่วยเหลือด้านท่ีอยู่อาศัย อาหาร การดูแลสุขภาพอนามัย รวมทั้งให้ค�ำปรึกษา
แนะนำ� การใหท้ กั ษะชวี ติ และกำ� ลงั ใจ ใชห้ ลกั การสงั คม สงเคราะหแ์ ละกระบวนการจดั กลมุ่ บำ� บดั
ทางจติ เพอ่ื นำ� ไปสคู่ วามเชอื่ มน่ั ในตนเองสามารถ ดำ� เนนิ ชวี ติ ในสงั คมไดป้ กตสิ ขุ ทงั้ น้ี ในแตล่ ะวนั
มผี หู้ ญงิ และเดก็ ทเ่ี ดอื ดรอ้ นพกั อาศยั ประมาณ 100-120 คนตอ่ วนั สว่ นใหญส่ ง่ ตอ่ มาจากหนว่ ยงาน
ภาครฐั และเอกชน รวมทงั้ การขอเข้ารบั บริการดว้ ยตนเอง
ภายในบริเวณสมาคมสง่ เสริมสถานภาพสตรี ยังมศี ูนย์การศึกษาและฝึกอาชีพสตรี กอ่ ต้ัง
เมอื่ พ.ศ. 2532 เป็นศนู ยก์ ารศึกษานอกโรงเรียนสำ� หรับผดู้ ้อยโอกาส รวมทัง้ ฝกึ อาชีพอิสระ
เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และเสรมิ ทกั ษะทางวชิ าชพี ใหแ้ กผ่ เู้ ขา้ พกั ทบี่ า้ นพกั ฉกุ เฉนิ และผสู้ นใจทว่ั ไป
การปฏบิ ตั งิ านดแู ลชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ทอ้ งไมพ่ รอ้ มทบี่ า้ นพกั ฉกุ เฉนิ เมอ่ื มผี หู้ ญงิ ทท่ี อ้ งไมพ่ รอ้ ม
ท่ีขอรับบรกิ ารชว่ ยเหลือ นกั สงั คมสงเคราะห์ หรือ นักจิตวิทยาจะประเมนิ เบอ้ื งต้น เพอ่ื รับทราบ
สภาพปัญหาและความต้องการ ซ่ึงการให้ความชว่ ยเหลอื อาจเปน็ การเขา้ พกั หรือ ไมเ่ ข้าพักกไ็ ด้
ในกรณีท่ีไม่เข้าพัก ทางบ้านพักฉุกเฉินก็จะประเมินความต้องการอีกคร้ังและให้ข้อมูลรอบด้าน
เพอื่ คนื กลบั สคู่ รอบครวั และมกี ารตดิ ตามผล โดยหากผปู้ ระสบปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ มพบปญั หาใดๆ
กส็ ามารถกลับมาใชบ้ รกิ ารได้ ดงั แสดงในผังภาพท่ี 12
ในกรณที ่ปี ระเมินแลว้ มีความตอ้ งการและ ความจ�ำเป็นในการเข้าพกั นักสงั คมสงเคราะห์
และ นกั จติ วทิ ยา ก็จะมกี ารประเมนิ ปัญหาและความต้องการเชงิ ลึก โดยใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทัง้
ทางกาย และจิตสังคม ประเมินท้ัง ระดับเชาวน์ปัญญา หรือ ไอคิว (IQ: Intelligence
quotient) บุคลิกภาพ และส่งปรึกษาจิตแพทย์ (ถ้าจ�ำเป็น) บ้านพักฉุกเฉินไม่มีหน่วยรักษา
พยาบาลภายในบ้านพัก แตไ่ ด้ให้ความชว่ ยเหลอื ในดา้ นการพาผใู้ ช้บรกิ ารไปฝากครรภ์ ใหท้ พ่ี ัก
รอคลอด และปัจจัยพ้ืนฐานท่ีจ�ำเป็น จัดกิจกรรมบ�ำบัดฟื้นฟู และการฝึกอาชีพอย่างรอบด้าน
ในขณะเดยี วกนั กจ็ ะใหก้ ารปรกึ ษาทางเลอื กแบบเสรมิ พลงั ในระหวา่ งทเี่ ขา้ พกั ดว้ ย เพอื่ เตรยี มการ
ตดั สนิ ใจทางเลอื ก ในการเล้ยี งดูเอง หรือยกมอบให้สถานสงเคราะห์
หลังคลอดบุตร ผู้ประสบปัญหาท้องไม่พร้อมสามารถพักฟื้นและดูแลบุตรหลังคลอดท่ี
บา้ นพกั ไดร้ ะยะหนง่ึ และตดั สนิ ใจทางเลอื กรว่ มกบั การประเมนิ ความพรอ้ มในการกลบั คนื สสู่ งั คม
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 69
ผงั ภาพที่ 12 การปฏบิ ตั กิ ารดแู ลชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ มในบา้ นพกั ฉกุ เฉนิ
บ้านพกั ฉกุ เฉนิ มบี ริการฝากเลี้ยงบุตรชว่ั คราวหลังคลอด ในขณะที่ผู้หญงิ ยงั พกั อาศยั อยทู่ ี่
บา้ นพกั หลังคลอด เพอื่ ให้โอกาสกบั ผู้หญงิ ในการทำ� งาน เรยี นหนังสอื เพือ่ เตรยี มความเข้มแข็ง
และความพรอ้ มระยะหนึ่ง สำ� หรบั ตนเองและครอบครัวในการรบั บตุ รไปดูแลในระยะยาว ดังนัน้
ทางเลือกหลังคลอดบุตรที่บ้านพักฉุกเฉิน จึงมีท้ังการตัดสินใจยกบุตรให้สถานสงเคราะห์
การเลี้ยงดูเองโดยกลับคืนสู่ครอบครัว และ สังคม หรือ หากยังไม่มีความพร้อมหรือไม่ม่ันใจ
เพียงพอ ก็สามารถฝากเล้ียงช่ัวคราวได้ในระยะหน่ึงในลักษณะไป-กลับ คือ ผู้เป็นแม่ไปเรียน
หนังสือ หรอื ท�ำงานในช่วงเวลากลางวัน -ดแู ลลูกเมื่อกลับมาที่บา้ นพกั ในตอนเย็นและในวันหยดุ
หลังจากฝากเลี้ยงชั่วคราวสักระยะหน่ึง ก็จะมีการประเมินความพร้อมเป็นระยะๆ ซ่ึงหากไม่มี
ความพรอ้ มและประสงคจ์ ะเลย้ี งดบู ตุ รในระยะยาว กย็ งั มที างเลอื กในการยกบตุ รใหก้ บั หนว่ ยงาน
รองรบั ได้ ซง่ึ ทางบา้ นพกั ฉกุ เฉนิ จะประสานงานสง่ ตอ่ ใหก้ บั หนว่ ยงานทง้ั ภาพรฐั และเอกชนในการ
ดำ� เนินการต่อไป
70 คู่มือการชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ต้งั ครรภ์ไมพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ึง่ ได้
บทที่ 5
การใหบ้ รกิ าร
เมอื่ ทางเลือก
คือการยตุ ิ
การตง้ั ครรภ์
“ไมม่ ีผูห้ ญิงคนไหนในโลก ท่ีตัง้ ใจทอ้ ง เพ่อื ไปท�ำแทง้ ”
หลงั การปรกึ ษาทางเลอื ก หากพบวา่ ผใู้ ชบ้ รกิ ารทตี่ ง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มไมส่ ามารถตง้ั ครรภต์ อ่
ไปได้ ดังนน้ั ทางเลือกทเ่ี ปน็ ไปไดค้ ือ “การยตุ กิ ารตงั้ ครรภ์” การจดั ระบบสุขภาพทเ่ี ก่ยี วข้องกับ
การยุติการตั้งครรภ์นี้ องค์การอนามัยโลกได้ให้รายละเอียดไว้ในคู่มือช่ือ “Safe Abortion:
Technical and Policy Guidance for Health System” เพ่ือใหน้ านาประเทศใชเ้ ป็นแนวทาง
ในการดำ� เนนิ งาน โดยคมู่ อื ลา่ สดุ ในปี 2555 มสี าระสำ� คญั 17 ไดแ้ ก่ สถานการณก์ ารทำ� แทง้ ทว่ั โลก
สาเหตุของการยุติการตั้งครรภ์ สิทธิสุขภาพของผู้ประสบปัญหา ผลที่ติดตามมาจากการแท้ง
ไมป่ ลอดภยั ขอ้ กำ� หนดและนโยบายตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง วธิ กี ารยตุ กิ ารตงั้ ครรภท์ ปี่ ลอดภยั การดแู ล
ก่อนและหลงั การใหบ้ ริการยุตกิ ารตงั้ ครรภ์ การจดั ระบบบริการและการบรหิ ารจดั การ รวมทง้ั ขอ้
กฎหมายและแนวปฏิบัติต่างๆ ซึ่งคู่มือขององค์การอนามัยโลกนี้ ประเทศไทยโดยกระทรวง
สาธารณสขุ ไดน้ ำ� มาเปน็ แนวทางเพอ่ื ปรบั ใชใ้ นการกำ� หนดนโยบายและแนวปฏบิ ตั ใิ นการใหบ้ รกิ าร
สุขภาพให้สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของประเทศไทย โดยนัยดังกล่าว การยตุ ิการตัง้ ครรภ์จงึ เปน็ สทิ ธิ
ของผหู้ ญงิ ทปี่ ระสบปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ มเมอื่ มขี อ้ บง่ ชที้ สี่ อดคลอ้ ง บรกิ ารยตุ กิ ารตงั้ ครรภท์ ปี่ ลอดภยั
จึงควรอยใู่ นสทิ ธิประโยชนข์ องหลักประกนั สขุ ภาพต่างๆ ดว้ ย
5.1 เกณฑก์ ารยุตกิ ารตัง้ ครรภแ์ ละการประเมิน
การให้บรกิ ารยุติการตัง้ ครรภใ์ นประเทศต่างๆ อยภู่ ายใต้กรอบของกฎหมายและแนวปฏิบตั ิ
ของประเทศนน้ั ๆ โดยทั่วไปเกณฑท์ ส่ี ามารถยตุ กิ ารตงั้ ครรภ์ในประเทศตา่ งๆ เรมิ่ ต้ังแตข่ ัน้ ต่ำ� ท่ี
จ�ำเป็นท่ีสุด โดยเรียงล�ำดับได้ดังต่อไปน้ีคือ 1) การรักษาชีวิตของผู้หญิง 2) ปัญหาสุขภาพ
ทางกายของผู้หญิง 3) ปัญหาสุขภาพทางใจของผู้หญิง 4) การถูกข่มขืนล่วงละเมิดทางเพศ
รวมถึงการตั้งครรภ์ร่วมสายเลือดเดียวกัน 5) ความผิดปกติของตัวอ่อนในครรภ์ 6) ปัญหา
เศรษฐกิจและสังคม และ 7) ความต้องการของผู้หญิงที่ตั้งครรภ์เอง ในประเทศต่างๆท่ัวโลก
ประมาณครง่ึ หน่งึ ของประเทศในโลกสามารถยุติการตงั้ ครรภ์ไดท้ ี่เกณฑใ์ นขอ้ 1-6 และ จำ� นวน
ประมาณหนงึ่ ในส่ขี องประเทศในโลก สามารถยตุ ิการตัง้ ครรภไ์ ด้ตามเกณฑ์ทุกข้อท่กี ลา่ วมา
ส�ำหรับประเทศไทย เกณฑ์ในการยุติการต้ังครรภ์น้ัน อยู่ภายใต้ประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 305 (1) (2) และมาตรา 276, 277, 282, 283 และ 284 โดยในมาตรา 305 ประกอบ
ด้วย 2 วรรคทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ทกี่ ล่าวว่าการยตุ กิ ารตั้งครรภ์สามารถทำ� ได1้ 8 ดังต่อไปน้ี
วรรคแรก คอื 1) การตง้ั ครรภ์ทีค่ รรภน์ น้ั ส่งผลกระทบตอ่ สุขภาพมารดา โดย “สุขภาพ”
ตามนยิ ามขององคก์ ารอนามยั โลก รวมถงึ สขุ ภาพกายและใจ ซง่ึ ภายใตข้ อ้ บงั คบั แพทยสภาฯ ระบุ
ว่า ในกรณีสุขภาพทางจิต แพทย์สามารถใหก้ ารวนิ ิจฉัยได้เลยโดยที่ไมต่ อ้ งปรึกษาจิตแพทย์ และ
2) กรณีทท่ี ารกในครรภม์ ีความพกิ ารรุนแรง ซง่ึ ภายใตข้ อ้ บังคบั แพทยสภาฯระบุว่า ความรุนแรง
นน้ั สง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพจติ ของมารดาดว้ ยเชน่ เดยี วกนั เมอ่ื เปน็ เชน่ นี้ การยตุ กิ ารตง้ั ครรภข์ อง
17 World Health Organization (WHO), 2012
18 ธนพันธ์ ชบู ุญ สบื คน้ เมอ่ื กรกฎาคม 2557
72 คูม่ อื การชว่ ยเหลือผหู้ ญิงต้ังครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศูนย์พึง่ ได้
ผหู้ ญงิ ทไ่ี ดร้ บั การตรวจวนิ จิ ฉยั ทารกในครรภแ์ ลว้ พบวา่ มคี วามผดิ ปกตกิ ส็ ามารถทำ� ได้ (ดขู อ้ บงั คบั
แพทยสภาในภาคผนวก 1)
วรรคท่ี 2 คอื การตงั้ ครรภน์ นั้ เกดิ ขน้ึ จากความผดิ อาญาตามประมวลกฎหมายอกี 5 มาตรา
ดงั ตอ่ ไปน้คี ือ
มาตรา 276 ว่าด้วยการถูกขม่ ขืนกระท�ำช�ำเรา
มาตรา 277 ว่าด้วยการท�ำให้เดก็ อายนุ ้อยกว่า 15 ปีต้งั ครรภ์ ไม่วา่ จะเปน็ การสมยอมหรือ
ไมก่ ต็ าม
มาตรา 282, 283, 284 ว่าด้วยการล่อลวงผอู้ ่นื มาทำ� อนาจาร สนองความใคร่ โดยใชอ้ บุ าย
ล่อลวง บงั คบั ขม่ ขู่ แม้วา่ ในท้ายท่สี ดุ อาจจะเกิดการสมยอมกันกต็ าม แต่ถา้ มาจากสาเหตขุ า้ ง
ต้นกถ็ ือว่าเปน็ การต้ังครรภ์ที่เกดิ จากความผิดทางอาญา
จากการวเิ คราะหป์ ระมวลกฎหมายอาญามาตรา 305 (1) (2) และมาตรา 276, 277, 282,
283 และ 284 ประเทศไทยจงึ ก�ำหนดเกณฑ์ให้ผหู้ ญงิ สามารถยตุ กิ ารตัง้ ครรภ์ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
ตามกฎหมาย ในกรณดี งั ต่อไปน1้ี 9
1. การตง้ั ครรภ์นนั้ สง่ ผลเสียตอ่ สขุ ภาพทางกายของผหู้ ญงิ
2. การตงั้ ครรภ์นน้ั สง่ ผลเสียตอ่ สขุ ภาพทางใจของผู้หญิง
3. ทารกในครรภ์มีความพกิ ารรุนแรง
4. การตง้ั ครรภ์ทเ่ี กิดจากการถูกข่มขืนกระทำ� ช�ำเรา
5. การตง้ั ครรภใ์ นเดก็ หญิงที่อายุไม่เกิน 15 ปี
6. การตั้งครรภ์มาจากเหตลุ ่อลวง บังคับ หรือข่มขู่ เพอื่ ทำ� อนาจาร สนองความใคร่
เกณฑใ์ นแตล่ ะขอ้ อธบิ ายตามข้อกฎหมายได้ดังต่อตารางตอ่ ไปนี้
ตารางท่ี 9 เกณฑท์ ีย่ ุติการตัง้ ครรภไ์ ด้ และค�ำอธิบายเพมิ่ เติม
เกณฑท์ ่ยี ตุ ิการ อา้ งองิ ค�ำอธบิ ายเพมิ่ เตมิ
ตัง้ ครรภไ์ ด้
สขุ ภาพกาย มาตรา 305 วรรคแรก การ ความหมาย “สขุ ภาพ” ตามองคก์ ารอนามยั
ตั้งครรภ์ส่งผลกระทบต่อ โลกรวมสขุ ภาพกายและใจ ซง่ึ ภายใตข้ อ้ บงั คบั
สขุ ภาพผู้หญิง แพทยสภาฯ ระบวุ ่า ในกรณีสขุ ภาพทางจิต
ต้องได้รับการรับรองเห็นชอบจากแพทย์อีก
สุขภาพใจ ขอ้ บังคับแพทยสภาฯ ท่านท่ีไม่ใช่ผู้ให้บริการยุติการต้ังครรภ์ โดย
ระบขุ อ้ บง่ ชใี้ นสขุ ภาพในบนั ทกึ การตรวจและ
วนิ จิ ฉยั โรคไวใ้ นเวชระเบยี นเพอ่ื เปน็ หลกั ฐาน
ทารกในครรภ์ ข้อบังคับแพทยสภาฯ ระบวุ า่ เหตทุ ท่ี ารกในครรภพ์ กิ าร สง่ ผลกระทบตอ่
พิการ สขุ ภาพจติ ของผู้หญงิ
19 เครอื ขา่ ยสนบั สนนุ ทางเลอื กของผหู้ ญงิ ทอ้ งไมพ่ รอ้ ม, 2557
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 73
เกณฑ์ท่ยี ตุ ิการ อา้ งอิง ค�ำอธิบายเพมิ่ เติม
ตง้ั ครรภไ์ ด้
ถูกขม่ ขนื ช�ำเรา มาจากมาตรา 305 วรรค มาตรา 276 การข่มขนื กระทำ� ชำ� เรา
อายุน้อยกว่า 15 สอง การตั้งครรภ์เกิดจาก มาตรา 277 การท�ำให้เด็กอายุน้อยกว่า
ปี ความผดิ ทางกฎหมายอาญา 15 ปีต้งั ครรภ์ ไมว่ า่ จะเป็นการสมยอมหรอื
ไม่กต็ าม
ถกู ลอ่ ลวง บงั คบั มาตรา 282, 283, 284 วา่ ดว้ ยการลอ่ ลวง
ข่มขู่ ผู้อ่ืนมาท�ำอนาจาร สนองความใคร่ โดยใช้
อบุ ายลอ่ ลวง บงั คบั ขม่ ขู่ แมว้ ่าในทา้ ยท่สี ดุ
อาจจะเกดิ การสมยอมกนั กต็ าม แตถ่ า้ มาจาก
สาเหตุข้างต้นก็ถือว่าเป็นการต้ังครรภ์ท่ีเกิด
จากความผิดทางอาญา
จากตารางดงั กลา่ ว จะเหน็ วา่ เกณฑส์ ว่ นใหญค่ อ่ นขา้ งมคี วามชดั เจน ประเดน็ ทพี่ บวา่ ไมช่ ดั เจน
ส่งผลใหเ้ ป็นขอ้ ถกเถยี งท่ตี อ้ งมกี ารตีความกนั คอื
ขอ้ 2 การตง้ั ครรภน์ ัน้ สง่ ผลเสยี ต่อสขุ ภาพทางใจของผู้หญิง เพราะเป็นประเดน็ ท่ตี อ้ งมกี าร
ตคี วาม โดยการตคี วามอาจเปน็ ไปในทางแคบหรอื กวา้ ง ตามความเหน็ และทศั นคตขิ องผใู้ หบ้ รกิ าร
เปน็ หลัก
ขอ้ 3 ทารกในครรภ์มีความพกิ าร ไม่มคี วามชดั เจนวา่ ขนาดของความพิการเทา่ ไร จงึ นับว่า
เปน็ ความพกิ ารทใี่ หย้ ตุ กิ ารตง้ั ครรภไ์ ด้ โดยหลงั คลอดทารกไมส่ ามารถดำ� รงชวี ติ อยไู่ ด้ หรอื ดำ� รง
ชีวติ ด้วยความยากล�ำบาก การตีความจงึ ข้ึนอยูก่ ับผูใ้ หบ้ ริการสุขภาพเปน็ หลักเช่นเดียวกนั
ในทางปฏบิ ตั ิ การพจิ ารณาเกณฑต์ า่ งๆ เหลา่ นี้ จงึ มคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งใชบ้ รบิ ททางดา้ นสงั คม
เศรษฐกจิ ทเี่ ปน็ มลู เหตแุ หง่ ความไมพ่ รอ้ มทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ จติ ใจ เชน่ ความเครยี ด ภาวะซมึ เศรา้
และมี แนวโน้มไปสู่การฆา่ ตัวตาย รวมทงั้ การประเมนิ ในด้านต่างๆ ที่เกยี่ วขอ้ ง ได้แก่ ระดบั สติ
ปญั ญา ความพกิ าร ทั้งนี้ ไม่ควรละเลยความตอ้ งการของผปู้ ระสบปัญหาตงั้ ครรภ์ไมพ่ รอ้ มด้วย
ซึ่งเป็นประเดน็ ท่ีมีความส�ำคญั มากทสี่ ุด
ในโรงพยาบาลบางแห่ง ใช้กลุ่มบุคคลในการพิจารณา โดยการจัดต้ัง “คณะกรรมการ
พจิ ารณาการยตุ ิการตง้ั ครรภ”์ ทปี่ ระกอบดว้ ยฝา่ ยต่างๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง แนวทางนี้มขี ้อดีตรงท่ีการ
พจิ ารณาเปน็ ไปในลกั ษณะสหวชิ าชพี ทม่ี กี ารพจิ ารณาปจั จยั อยา่ งรอบดา้ น กรณกี ารใชก้ ลมุ่ บคุ คล
ในการพจิ ารณา ควรมกี ารพิจารณาทีร่ วดเรว็ เพื่อให้ผลการพจิ ารณาสามารถให้ความชว่ ยเหลือ
ผปู้ ระสบปญั หาไดท้ นั การ
74 คมู่ ือการชว่ ยเหลือผู้หญิงตง้ั ครรภ์ไม่พร้อมของศนู ย์พึ่งได้
5.2 การปรกึ ษากอ่ นการยตุ กิ ารตัง้ ครรภ์
เมือ่ มีความชัดเจนหลังการปรึกษาทางเลอื กแล้วว่าผ้ปู ระสบปญั หาทอ้ งไมพ่ ร้อมตดั สนิ ใจยุติ
การตั้งครรภ์ ควรให้ข้อมูลเบื้องต้นท่ีเก่ียวข้องกับบริการ โรงพยาบาลแต่ละแห่งอาจมีแนวทาง
หรือความช�ำนาญการในการให้บริการแตกต่างกัน เช่น ไม่สามารถให้บริการยุติการต้ังครรภ์
ทุกราย หรือ ให้บริการได้ในบางกรณี เช่น กรณีข่มขืน ทารกในครรภ์มีความพิการรุนแรง
ตามแนวการพิจารณาและตีความทางกฎหมาย หรือ มีขดี ความสามารถในการให้บริการในอายุ
ครรภ์ท่ตี ่ำ� กวา่ 9 หรอื 12 สปั ดาห์ เป็นต้น
ซึ่งแม้ว่าแต่ละโรงพยาบาลจะมีสภาพแวดล้อมและศักยภาพที่แตกต่างกันนั้น ศูนย์พ่ึงได้ก็
ควรพิจารณาให้ความช่วยเหลือโดยมุ่งประโยชน์ที่ผู้ใช้บริการเป็นส�ำคัญ โดยเม่ือผู้ใช้บริการ
ตัดสินใจยุติการตั้งครรภแ์ ลว้ ก็ควรประเมินความรู้สึกของผูใ้ ชบ้ ริการ ตอบค�ำถามท่ีสงสัย และ
ใหก้ �ำลังใจ โดยค�ำถามที่ผูใ้ ช้บรกิ ารอาจสงสยั และแนวทางการตอบคำ� ถาม มใี นตารางท่ี 9 และ
10 ดังตอ่ ไปน้ี
ตารางท่ี 10 แนวทางการตอบปญั หาสุขภาพกายและใจ ในการปรึกษากอ่ นยุตกิ ารต้งั ครรภ์
คำ� ถาม แนวทางการตอบ
1. รักษาแลว้ จะหายขาดไหม หลงั การรกั ษาอาจจะมอี าการขา้ งเคียงเกดิ ข้นึ ได้
2. หลังจากการรักษาน้ี จะมีลูกอีก หากอาการดขี นึ้ และสขุ ภาพแขง็ แรง กม็ โี อกาสมลี กู ได้
ได้ไหม
3. เมอื่ ไรจงึ กลบั ไปมเี พศสมั พนั ธไ์ ดอ้ กี หลังจากไมม่ ีเลอื ดออกทางช่องคลอด
4. จะมีโอกาสตงั้ ครรภอ์ ีกครัง้ ไดไ้ หม ได้ทันที แม้วา่ ประจ�ำเดอื นจะยังไม่มาก็ตาม
5. จะป้องกันการตั้งครรภ์ไดอ้ ย่างไร ควรคุมกำ� เนิดหลังจากน้ที นั ที
6. จะต้องลาหยุดงาน เป็นเวลา อาจต้องการพกั 1-2 วนั จนกว่าจะรู้สึกปกติและก็
หลายวนั หรือไม่ สามารถกลับไปท�ำงานได้ตามปกติ
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 75
ตารางท่ี 11 แนวทางในการสังเกต เพอ่ื ประเมินความรูส้ ึกและใหข้ อ้ มูลกอ่ นยตุ กิ ารตงั้ ครรภ์
ความรสู้ ึกทม่ี ักพบในผู้ปว่ ย แนวทางการสังเกต/ใหข้ ้อมลู
1. กลัวคนรอบขา้ งรูแ้ ละถกู ประณาม • พดู คยุ เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ว่ ยเขา้ ใจวา่ ผหู้ ญงิ มสี ทิ ธใิ นรา่ งกาย
2. รู้สึกบาปท่ีทำ� ลายตัวอ่อนในทอ้ ง ของตนเอง มสี ทิ ธิได้รบั บรกิ ารทป่ี ลอดภัย และ
3. กลวั ถูกจับเนอ่ื งจากท�ำผิดกฎหมาย หนา้ ท่ีของแพทย์และพยาบาล คือ ใหค้ วามช่วย
4. กลวั คนในครอบครวั /สามจี ะรบั ไมไ่ ด้ เหลือทป่ี ลอดภยั
5. เกรงว่าใบรับรองแพทย์เขียนว่า • ให้ความม่ันใจว่าข้อมูลการรักษาจะถูกเก็บไว้ใน
“ท�ำแทง้ ” แฟม้ ประวัติคนไข้และเปน็ ความลับ
6. เกรงวา่ จะเบกิ คา่ รกั ษาพยาบาลจาก • ในบางครงั้ ผู้ใหบ้ รกิ ารอาจตอ้ งมีการสอื่ สารกับ
• คนในครอบครวั หรอื สามี เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจผปู้ ว่ ยและ
ประกันสุขภาพไม่ได้ และตนเองก็ สามารถให้การสนับสนุนเยยี วยาทางจติ ใจได้
ไมม่ ีเงนิ จ่าย ใหต้ ระหนกั วา่ ผปู้ ว่ ยอาจมปี ญั หาเรอ่ื งความรนุ แรง
7. สับสน กลัวอย่างไม่มีสาเหตุไม่ ในครอบครัวเกิดข้ึนได้ ควรส่งตอ่ ให้การปรึกษา
ต้องการกลับบ้าน ไปพบเพื่อนท่ี และใหค้ วามช่วยเหลอื
ทำ� งานหรอื โรงเรยี น
2) วธิ กี ารยุตกิ ารตง้ั ครรภ์ทีป่ ลอดภัย
เทคโนโลยที างการแพทยใ์ นปจั จบุ นั สามารถชว่ ยใหก้ ารยตุ กิ ารตง้ั ครรภเ์ ปน็ ไปอยา่ งปลอดภยั
มากขึน้ โดยองคก์ ารอนามยั โลก20 ไดก้ �ำหนดให้การยุติการต้งั ครรภ์ทป่ี ลอดภยั ตามอายุครรรภ์
สามารถทำ� ไดด้ ว้ ยวธิ กี ารต่อไปน้ี21
การดูดเน้ือรกจากโพรงมดลกู (Manual Vacuum Aspiration: MVA) วิธกี ารนส้ี ามารถ
ทำ� ไดจ้ นถงึ อายคุ รรภ์ 10-12 สปั ดาห์ อปุ กรณท์ ใี่ ชง้ านดงั กลา่ ว มลี กั ษณะเปน็ หลอดพลาสตกิ ขนาด
ต่างๆ ประกอบคูก่ ับกระบอกดดู สุญญากาศ เม่อื แพทย์สอดหลอดพลาสติกเข้าไปในโพรงมดลูก
สามารถดูดช้ินเน้ือออกจากโพรงมดลูกได้ ซ่ึงสามารถท�ำให้เกิดการแท้งสมบูรณ์ได้เกือบร้อยละ
100 กระทรวงสาธารณสุข และ ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย ได้การจัดอบรม
สูตินรแี พทยใ์ หม้ ีทกั ษะในการใช้ MVA อย่างกว้างขวาง ปจั จุบัน สถานพยาบาลทงั้ ภาครัฐ และ
เอกชนท่ีให้บริการยุติการต้ังครรภ์ท่ีอายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ จะใช้วิธีการน้ีในการยุติการ
ต้ังครรภ์ ซงึ่ สามารถให้บรกิ ารไดโ้ ดยไมต่ อ้ งมกี ารพกั ค้างคืน
การใช้ยายุติการตงั้ ครรภ์ (Medical Abortion) ยาทใ่ี ชใ้ นการยุติการต้ังครรภ์มี 2 ขนาน
คือ Mifepristone (หรอื ที่รู้จกั กันในช่ือ RU486) และ Misoprostol (หรือทร่ี ู้จกั กนั ในชือ่ การคา้
Cytotec®) ในประเทศไทย Mifepristone ปจั จบุ ัน (สงิ หาคม 2557) ยังอยู่ในระหวา่ งการขน้ึ
20 World Health Organization (WHO), 2012
21 คณะอนกุ รรมการประชาสัมพันธ์ด้านสุขภาพสตรี ราชวทิ ยาลัยสตู ินรีแพทย์แห่งประเทศไทย, 2553
76 คูม่ อื การช่วยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ ม่พร้อมของศูนย์พ่งึ ได้
ทะเบียน โดยสำ� นักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข สว่ น Misoprostol
เปน็ ยาควบคมุ พิเศษ วธิ กี ารยตุ กิ ารต้งั ครรภ์ดว้ ยยา แบง่ ออกได้เปน็ 2 ประเภท คอื
1. การใช้ยา Mifepristone (RU486) ร่วมกับ Misoprostol ในช่วงอายุครรภ์ก่อน
9 สปั ดาห์ ซึง่ มอี ตั ราการแทง้ สมบูรณ์ไดม้ ากกว่าร้อยละ 95 ต้ังแต่ปี 2554 เปน็ ต้นมา
ประเทศไทยไดม้ กี ารน�ำวิธกี ารใช้ยารว่ มน้ี มาใหบ้ รกิ ารนำ� ร่องใน 4 โรงพยาบาล เพอ่ื
ก�ำหนดแนวทางในการให้บริการที่เหมาะสม ซ่ึงผลในเบ้ืองต้นพบว่าประสิทธิภาพของ
การใช้ยาคอื ร้อยละ 97.022 ต่อมาไดข้ ยายการศึกษาออกไปในระยะท่ี 2 ในปี 2556
มโี รงพยาบาลทเ่ี ข้าร่วมโครงการ 5 แห่ง ล่าสดุ ในเดอื นสงิ หาคม 2557 ทางกรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข ได้ขยายการน�ำร่องในระยะท่ี 3 โดยให้โรงพยาบาลในสังกัด
กระทรวงสาธารณสุขท่ีสนใจสมัครเข้าร่วมอบรม มีโรงพยาบาลที่สนใจท่ัวประเทศ
เข้าร่วมโครงการจำ� นวนมาก
2. การใชย้ า Misoprostol เพียงอย่างเดียว ในกรณีทีอ่ ายุครรภ์อยใู่ นช่วง 12-20 สัปดาห์
สามารถท�ำให้เกิดการแท้งสมบูรณ์ได้มากกว่าร้อยละ 80 ข้ึนไป โดยมีโรงพยาบาล
ในสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ จ�ำนวนหน่งึ ใชว้ ธิ กี ารนี้ในการยตุ ิการตัง้ ครรภ์
ในปี 2557 ประเทศไทยโดยกระทรวงสาธารณสขุ ไดร้ ่วมกบั ประเทศต่างๆ ท่ัวโลก ศกึ ษา
สูตรและการใช้ยายุตกิ ารตั้งครรภ์ทีเ่ หมาะสมในอายคุ รรภ์ 10-14 สปั ดาห์ ซึง่ ผลการศึกษาจะเป็น
แนวทางในระดับโลกท่อี งค์การอนามยั โลกจะไดจ้ ัดท�ำเป็นแนวทางให้กบั นานาประเทศต่อไป
การขดู มดลูก (D&C: Dilatation and Curettage) หรือ การใชอ้ ุปกรณท์ างการแพทย์
เพอ่ื น�ำเอาเนอ้ื เยอื่ ของมดลกู ออกมา องค์การอนามยั โลกได้ระบไุ วใ้ นวิธที างการแพทย์เพอ่ื การยตุ ิ
การตั้งครรภ์ว่าเป็นวิธีการท่ีล้าสมัย และควรจะถูกแทนที่ด้วยวิธีการดูดเน้ือรกจากโพรงมดลูก
(MVA) หรือวิธีการใช้ยา23 ปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุข โรงเรียนแพทย์ และราชวิทยาลัย
สูตินรีแพทย์ ก็มีความพยายามที่ยกเลิกวิธียุติการต้ังครรภ์ด้วยการขูดมดลูก จากรายงานของ
สำ� นักอนามยั การเจรญิ พันธ์ุในปี 2555 พบวา่ มีการยุติการต้ังครรภ์ด้วยวิธนี ้อี ยถู่ ึงร้อยละ 16
5.3 แนวทางการสง่ ตอ่ บรกิ ารยตุ กิ ารต้ังครรภ์
สง่ิ ทสี่ ถานพยาบาลสามารถดำ� เนนิ การไดใ้ นกรณที ไ่ี มม่ บี รกิ ารยตุ กิ ารตง้ั ครรภใ์ นโรงพยาบาล
คือ การสง่ ตอ่ ไปยังหนว่ ยงานทใ่ี หบ้ ริการยุติการตั้งครรภ์ทปี่ ลอดภยั แนวทางในการส่งตอ่ เพ่ือยุติ
การตงั้ ครรภน์ ้ี ไดม้ ปี ระกาศราชวทิ ยาลยั สตู นิ รแี พทยแ์ หง่ ประเทศไทย เกยี่ วกบั การยตุ กิ ารตงั้ ครรภ์
ม.15724 ในปี 2554 สาระส�ำคัญคือข้อแนะน�ำบุคลากรในการส่งต่อยุติการต้ังครรภ์ในกรณี
เกินขีดความสามารถในการให้บริการของโรงพยาบาล โดยระบไุ วด้ งั ต่อไปน้ี
22 U Jaisamrarn et. al., 2013
23 World Health Organization (WHO), 2012
24 รายวิทยาลัยสตู ินรีแพทย,์ 2554
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 77
ราชวทิ ยาลยั ฯ คำ� นงึ ถงึ ความเปน็ ตวั ตนของแพทย์ จงึ กำ� หนดใหแ้ พทยต์ อ้ งไมถ่ กู เรยี กรอ้ งให้
กระทำ� ในสงิ่ ทไ่ี มส่ อดคลอ้ งกบั ทศั นคตสิ ว่ นบคุ คล และไดแ้ นะนำ� แนวทางปฏบิ ตั ขิ องแพทยด์ งั ตอ่ ไปน้ี
üüให้ระบุจุดยนื สว่ นบคุ คลแกผ่ ใู้ ชบ้ รกิ ารท่ีตัง้ ครรภ์ไม่พร้อม
üüให้ข้อมลู ท่ีถกู ต้อง และ ปราศจากอคติ
üüแนะน�ำส่งต่อไปยงั แพทย์ผู้สามารถให้บริการยตุ กิ ารต้งั ครรภอ์ ยา่ งทันเวลา
üüกรณีฉุกเฉินท่ีมีผลกระทบต่อกายหรือใจ หรือส่งต่อไม่ได้ แพทย์ควรพิจารณาให้การ
บรกิ ารตามข้อบ่งช้ีทางการแพทย์
üüมปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั แพทยแ์ ละประสานกระบวนการสง่ ตอ่ เพอื่ ใหผ้ ใู้ ชบ้ รกิ ารเขา้ ถงึ บรกิ ารได้
ในกรณีเกินขีดความสามารถของสถานพยาบาล การส่งต่อรับบริการที่ดีน้ันควรมีการ
สรรหาและประสานงานกบั สถานบรกิ ารปลายทางอยา่ งรอบดา้ น (ดรู ายละเอยี ดในภาคผนวกท่ี 2)
เพอ่ื ใหค้ วามมนั่ ใจวา่ ผหู้ ญงิ จะไดร้ บั บรกิ ารอยา่ งทนั ทว่ งที เปน็ บรกิ ารทเี่ ปน็ มติ ร และเขา้ ถงึ บรกิ าร
ท่ีปลอดภัยที่สอดคล้องกับอายคุ รรภไ์ ดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ ทง้ั นี้ สถานบริการทีส่ ง่ ตอ่ ไปรบั บริการ อาจ
ไม่ได้ต้ังอยู่ในเขตจังหวัดเดียวกันกับท่ีผู้ใช้บริการอาศัยอยู่ ซึ่งท�ำให้ต้องมีการเดินทาง และมี
ค่าใช้จา่ ยในการพกั คา้ งก่อนเข้ารบั บรกิ าร หรือระหว่างการให้บรกิ าร
ข้อมลู ทค่ี วรทราบกอ่ นการสง่ ตอ่ บรกิ าร มดี งั ตอ่ ไปน้ี
1) ข้อมลู สถานบรกิ าร ได้แก่
• อายุครรภท์ ่ีสามารถใหบ้ รกิ ารได้
• เกณฑ์ตามกฎหมายของสถานบรกิ ารทีย่ ินดใี ห้บรกิ าร (โดยทั่วไปจะมคี วามแตกตา่ งกัน
ตามสถานบรกิ าร)
• วนั -เวลาทใ่ี หบ้ รกิ าร (สถานบรกิ ารบางแหง่ ใหบ้ รกิ ารในบางวนั ของสปั ดาห์ หรอื บางเวลา
ในแตล่ ะวัน บางส่วนกม็ บี รกิ ารปรึกษาทุกวนั จันทร์-ศุกร์ และมีแพทย์ใหบ้ ริการเฉพาะ
เสาร-์ อาทติ ย์เท่านั้น)
• อายุของผูใ้ ช้บริการท่ีต้องมผี ้ปู กครองเซน็ ต์รบั รอง โดยทวั่ ไปหากอายุตำ่� กว่า 18 ปใี นวัน
ทเี่ ขา้ รบั บรกิ าร ตอ้ งมผี ปู้ กครองไปดว้ ยเพอื่ เซน็ รบั รอง ซงึ่ สถานบรกิ ารหลายแหง่ กม็ กี าร
อนุโลมให้ ญาติ คนในครอบครวั คุณครู หรอื เจ้าหน้าท่ีท่ใี ห้ความชว่ ยเหลอื เซ็นรบั รอง
แทนได้ ในกรณีที่มีการพักค้างคืน สถานบริการบางแห่งอาจร้องขอให้มีผู้ปกครอง
ในกรณที ผ่ี ้ใู ช้บริการอายตุ ำ่� กว่า 20 ปี
• การใช้สิทธสิ ุขภาพ คา่ ใช้จา่ ยในการบริการ (กรณีใช้สทิ ธิไมไ่ ด้ หรือไดบ้ างส่วน)
• เงือ่ นไขอืน่ ๆ ในการเข้ารับบริการ เช่น การมีเอกสารส่งต่อที่มีแพทย์ 1 คนเซน็ ต์รับรอง
จากสถานพยาบาลตน้ ทาง การมเี อกสารแจง้ ความกรณขี ม่ ขนื ลว่ งละเมดิ ทางเพศ เปน็ ตน้
2) ขอ้ มลู ผ้ใู ช้บริการ ไดแ้ ก่
• อายคุ รรภจ์ ากผลการตรวจอลั ตรา้ ซาวนล์ า่ สดุ เพอ่ื ใหส้ ง่ ตอ่ ไปยงั สถานบรกิ ารทส่ี อดคลอ้ ง
การนบั อายคุ รรภจ์ ึงควรค�ำนวนถงึ วนั ทผี่ หู้ ญงิ จะเขา้ รับบรกิ ารจริง
78 คูม่ ือการชว่ ยเหลือผูห้ ญิงตั้งครรภ์ไมพ่ ร้อมของศนู ย์พึ่งได้
• อายขุ องผู้ใช้บรกิ าร และการมผี ปู้ กครองพาเข้ารับบริการ
• ทกั ษะและความสามารถในการเดนิ ทางไปยงั สถานบรกิ ารสง่ ตอ่ (โดยไมถ่ กู ผไู้ มป่ ระสงค์
ดีหลอกลวงไปยังสถานบรกิ ารท่ีไมป่ ลอดภยั ซึง่ มักเกิดขน้ึ เสมอๆ ในการสง่ ต่อเพ่อื ยตุ ิ
การต้ังครรภ์)
• ก�ำลังจ่ายในกรณีต้องมีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้น รวมทั้งค่าเดินทางและพักค้างในกรณีท่ีผู้ใช้
บริการเดนิ ทางมาจากต่างจงั หวดั
• ขอ้ จำ� กัดอืน่ ๆ ในการเข้าถึงบริการ
การส่งต่อไปยังหน่วยบริการยุติการตั้งครรภ์ แยกเป็นการส่งต่อในหน่วยงานภาครัฐ และ
หนว่ ยงานภาคเอกชน กรณีที่เป็นภาครฐั การส่งต่อและขอ้ มูลการส่งตอ่ ให้เปน็ ไปตามระบบปกติ
แต่ในกรณีภาคเอกชน ไม่จ�ำเป็นต้องมีเอกสารใดๆ แต่ควรมีการโทรศัพท์เพื่อการประสานงาน
กอ่ นการสง่ ตอ่ เขา้ รับบริการทุกคร้งั
แนวทางการส่งต่อ ตามอายุครรภ์ เป็นไปตามผังภาพดงั ตอ่ ไปน้ี
ผังภาพท่ี 13 แนวทางการสง่ ตอ่ บรกิ ารยตุ กิ ารตง้ั ครรภท์ ป่ี ลอดภัย
จากผงั ภาพข้างต้น พบว่าทอี่ ายคุ รรภย์ ิง่ นอ้ ย หรือ นอ้ ยกว่า 12 สปั ดาหน์ ัน้ สามารถรับ
บรกิ ารยตุ กิ ารตัง้ ครรภ์ไดค้ อ่ นขา้ งปลอดภยั โดยใช้วิธี MVA หรือ ยายตุ กิ ารตง้ั ครรภ์ ซง่ึ สามารถ
มารับบริการได้โดยไม่ต้องพักค้างท่ีโรงพยาบาล แต่ส�ำหรับในอายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์
ต้องให้บริการโดยผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ โดยหากมีการส่งต่อเพ่ือไปรับบริการ พบว่า
สถานบริการสุขภาพท่ีให้บริการได้ก็จะมีน้อยกว่ามาก จึงอาจกล่าวได้ว่า หลังจากท่ีผู้ใช้บริการ
ตดั สินใจทางเลอื กแลว้ การให้บริการ หรอื การสง่ ต่อบรกิ าร จำ� เปน็ ต้องแข่งขันกับเวลา เพอื่ มใิ ห้
อายคุ รรภม์ ากเกนิ กวา่ 12 สปั ดาห์ หรอื มากเกนิ กวา่ ทจี่ ะยตุ ไิ ดท้ ่ี 22-24 สปั ดาห์ และเพอ่ื ประโยชน์
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 79
สงู สดุ ตอ่ ความปลอดภยั ของผใู้ ชบ้ รกิ ารเปน็ สำ� คญั (ดรู ายละเอยี ดในเครอื ขา่ ยสง่ ตอ่ ชว่ ยเหลอื และ
ดูแล ในภาคผนวกที่ 4)
ในกรณที อ่ี ายุครรภม์ ากกวา่ 22-24 สปั ดาห์ การยุตกิ ารตั้งครรภไ์ มส่ ามารถท�ำได้ ดงั น้ัน
กระบวนการปรึกษาทางเลือกและการให้ความช่วยเหลือเพื่อให้ต้ังครรภ์ต่อไป จึงมีความส�ำคัญ
อย่างยิ่ง เพื่อป้องกันมิให้ผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม น�ำพาตัวเองไปเส่ียงกับการยุติการต้ังครรภ์ท่ีไม่
ปลอดภัย
5.4 การปรึกษาดูแลหลงั ยุตกิ ารต้งั ครรภ์
การปรกึ ษาหลงั การยตุ กิ ารตงั้ ครรภ์ มคี วามสำ� คญั มาก เปน็ การตดิ ตามเพอื่ ประเมนิ ความ
ต้องการ และความร้สู ึก ช่วยผใู้ ช้บรกิ าร คลี่คลายข้อสงสัยและความกงั วล ติดตามผลการรกั ษา
อาการขา้ งเคียงและการดูแลตนเอง และเลอื กใช้วิธีการคมุ ก�ำเนดิ ที่มปี ระสิทธิภาพและเหมาะสม
กับตนเองเพ่ือป้องกันท้องไม่พร้อมในอนาคต รวมท้ังแนวทางป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
และบรกิ ารดา้ นอนามยั เจรญิ พันธุอ์ ่นื ๆ
1) ข้ันตอนการปรกึ ษาหลังยุติการต้ังครรภ2์ 5 มีดังต่อไปนี้
1) ประเมนิ ความรู้สกึ ของผ้ใู ชบ้ รกิ าร ตอบค�ำถามทีส่ งสัย และใหก้ ำ� ลงั ใจ
2) ย�้ำเตอื นถึงอาการข้างเคียงที่อาจเกิดข้ึนและโอกาสเกดิ รวมทง้ั อาการเบอ้ื งตน้ ทตี่ ้อง
กลับมาพบแพทย์
3) ให้ความรูใ้ นดา้ นการดแู ลตวั เองทบี่ ้าน และช้ีให้ผู้ใชบ้ ริการเห็นความสำ� คญั ของการ
นดั หมายเพื่อตรวจซำ�้
4) ให้ข้อมูลเร่ืองทางเลือกในการคุมกำ� เนิดและมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้ใช้บริการได้
เลอื กวธิ ีที่เหมาะสมกบั ตนเอง
5) ให้ข้อมูลเรอ่ื งโอกาสเสยี่ งโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการปอ้ งกัน
6) ประเมนิ ความตอ้ งการของผ้ใู ช้บรกิ าร หรอื พจิ ารณาส่งต่อเพ่อื รบั บรกิ ารดา้ นอื่นๆ
2) ค�ำแนะนำ� หลงั จากการยุตกิ ารตง้ั ครรภ์
หลงั ยุติการตั้งครรภ์ ผใู้ ชบ้ ริการจะมเี ลอื ดออกทางชอ่ งคลอด รู้สึกหนา้ ทอ้ งตึงคลา้ ยกับเมื่อ
มปี ระจ�ำเดือนนานประมาณ 1 สัปดาห์ และมอี าการออ่ นเพลยี ปานกลาง อาการเหล่าน้เี กดิ ขึน้ ได้
และจะหายไปเอง ท้งั นี้ ผู้ใช้บริการอาจรู้สึกผอ่ นคลายความรสู้ กึ เครียดจากการท้องไม่พรอ้ มและ
ไดร้ บั การรกั ษาอยา่ งปลอดภัย แตก่ ็จะรูส้ กึ หดหู่ เศรา้ ใจเป็นระยะเวลาหนงึ่ (ซงึ่ เป็นผลจากการ
เปล่ียนแปลงระดบั ฮอรโ์ มนดว้ ย) โดยท่วั ไปอาการเหล่าน้ีจะค่อยๆ ดขี ึ้นเอง
25 EngenderHealth, 2003 และ องค์การแพธ, 2553
80 คมู่ ือการชว่ ยเหลือผ้หู ญิงต้ังครรภ์ไมพ่ รอ้ มของศูนยพ์ ง่ึ ได้
• สง่ิ ท่ีควรแนะน�ำหลังยตุ กิ ารตง้ั ครรภ์ มีดังต่อไปนี้
üü ให้กินยาทไี่ ดร้ ับอยา่ งถูกตอ้ งและครบถ้วน หากมอี าการปวดทอ้ ง ให้กนิ ยาแก้ปวดได้
üü เรม่ิ ทำ� กจิ วตั รประจำ� วันตามปกติ เม่ือรสู้ ึกสบายดีข้ึนแลว้
• ส่ิงท่ไี ม่ควรทำ� หลังยุตกิ ารตั้งครรภ์ มดี งั ตอ่ ไปนี้
ûû ห้ามวางกระเป๋าน้�ำร้อนบนหน้าท้องในวันแรกของการรักษา แต่ให้วางกระเป๋าน�้ำแข็ง
แทนในกรณถี ้ามีเลือดออกมาก
ûû งดกินยาขบั เลือดหรอื ยาดองเหลา้ ทกุ ชนดิ
ûû หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ต้องออกแรงมากๆ เช่น ยกของหนัก หรือออกก�ำลังกายหนักๆ
ประมาณ 1-2 วัน
ûû แมว้ า่ จะมีเพศสมั พันธไ์ ด้หลังจากไม่มเี ลอื ดออกทางชอ่ งคลอดแลว้ แต่ถ้าให้ดี ควรคมุ
กำ� เนดิ ภายใน 2 สัปดาห์หลงั ยุติการตั้งครรภ์ เพราะมโี อกาสท้องได้อกี แมว้ ่าประจำ�
เดือนยงั ไม่มา
ตารางที่ 12 อาการขา้ งเคยี งและอาการท่ีต้องมาพบแพทย์หลังยุติการตง้ั ครรภ์
อาการปกติทเี่ กิดขึ้น อาการผดิ ปกติ
หลงั จากการรักษา ทค่ี วรกลบั ไปพบแพทย์
1. มเี ลอื ดออกทางชอ่ งคลอด 1. มไี ข้สูง
และรสู้ กึ หนา้ ทอ้ งตงึ คลา้ ย 2. ปวดทอ้ งน้อยอยา่ งรุนแรง
กบั เมอ่ื มปี ระจำ� เดอื นนาน 3. หน้าทอ้ งแขง็ ตึง และกดเจ็บ
ประมาณ 1 สปั ดาห์ 4. คลน่ื ไสอ้ าเจียน เวียนศรี ษะมาก
2. มอี าการออ่ นเพลีย 5. มเี ลอื ดออกทางช่องคลอด มากกวา่ การมปี ระจำ� เดอื น
ปานกลางในระยะ ปกติถึงเท่าตัว ต้องใชผ้ ้าอนามยั สองผืนตอ่ กัน และมี
เวลาหน่ึง อาการเหมือนเปน็ ลม หน้ามดื เวียนหวั ชอ็ คหมดสติ
3. รสู้ กึ หดหู่ เศรา้ ใจเปน็ ระยะ หรือ ตดิ ต่อกันนานเกนิ กว่า 1 สปั ดาห์
เวลาหลายวัน 6. เลอื ดทอี่ อกจากชอ่ งคลอดมหี นองปน หรอื มกี ลนิ่ เหมน็
7. ยังคงมีอาการเหมอื นต้ังครรภ์อยู่
3) ค�ำแนะนำ� การคมุ กำ� เนิด เพือ่ ปอ้ งกันท้องไม่พร้อม
การแนะน�ำวิธีการและให้บริการคุมก�ำเนิดท่ีเหมาะสมทันทีหลังจากยุติการตั้งครรภ์ เป็น
หนทางทด่ี ใี นการลดความเสย่ี งตอ่ การทอ้ งไมพ่ รอ้ มในอนาคต ประเดน็ ทต่ี อ้ งพดู คยุ กบั ผใู้ ชบ้ รกิ าร
มีดงั ต่อไปนี้
1) ใหผ้ ใู้ ชบ้ รกิ ารตระหนกั วา่ หากมเี พศสมั พนั ธห์ ลงั จากยตุ กิ ารตงั้ ครรภป์ ระมาณ 1-2 สปั ดาห์
กส็ ามารถตัง้ ครรภไ์ ด้
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ 81
2) รว่ มกันหาวธิ ที ่เี หมาะสมในการคุมก�ำเนิด โดยการพูดคุยวธิ ีเดิมทใ่ี ชอ้ ยู่ ปัญหาท่พี บใน
การใช้ หากวิธีเดมิ ไมเ่ หมาะ เพราะอาจพลาดได้ ใหพ้ ูดคยุ ทางเลือกอน่ื ๆ ทีเ่ หมาะสม
3) ควรแนะน�ำใหใ้ ชถ้ งุ ยางอนามัย เพราะชว่ ยปอ้ งกันโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ด้วย
4) ควรให้บริการคมุ ก�ำเนดิ ที่สถานพยาบาลเลย เน่ืองจากมีโอกาสมากทผี่ ใู้ ช้บริการอาจจะ
ไมก่ ลบั มารบั บรกิ ารคมุ กำ� เนดิ หรอื แนะนำ� สง่ ตอ่ ไปรบั บรกิ ารทส่ี ถานพยาบาลอน่ื ๆ ใกล้
บ้าน
การคุมกำ� เนิดหลงั ยุตกิ ารตั้งครรภ์ ตามแนวทางขององคก์ ารอนามยั โลก ทห่ี น่วยบริการ
สามารถนำ� ไปอา้ งอิงและปรับใชใ้ หเ้ หมาะสมกับบรบิ ทของแต่ละแหง่ มดี งั ตารางท่ี 13 ดงั ตอ่ ไปนี้
ตารางท่ี 13 การคมุ ก�ำเนิดด้วยวธิ ตี า่ งๆ หลังยุตกิ ารต้งั ครรภ์
เงอื่ นไขยุติการตง้ั ครรภ์ ยาเม็ดคุม ยาฉีด วงแหวน ยาฝัง หว่ งคุม ห่วงคมุ ถงุ ยาง
Post-abortion ก�ำเนิด คมุ คุม คมุ ก�ำเนิด ก�ำเนดิ อนามยั
condition ก�ำเนดิ กำ� เนดิ ก�ำเนิด (ทองแดง) (ฮอรโ์ มน)
การตงั้ ครรภใ์ นไตรมาสแรก 1 1 11 1 11
(First trimester) 1 1112 21
การตงั้ ครรภใ์ นไตรมาสท่ี 2 1 1114 41
(Second trimester)
ตดิ เชอ้ื หลงั ยตุ กิ ารตง้ั ครรภ์
(Immediate post-septic
abortion)
ที่มาของข้อมูล: Safe Abortion: Technical and Policy Guidance for Health
Systems (second edition). World Health Organization, 2012
ความหมายและเง่อื นไขของแต่หมวด
1 = ไมม่ ขี อ้ จำ� กดั ในการใช้วธิ ีการคมุ ก�ำเนดิ นี้
2 = เม่อื ผลท่ไี ด้ของวิธกี ารคุมก�ำเนดิ นี้ มีผลมากกว่า ความเสย่ี งทางทฤษฏีหรือทพี่ สิ จู นไ์ ด้
3 = เมือ่ ความเสย่ี งทางทฤษฏีหรือทพ่ี ิสูจนไ์ ด้ มผี ลมากกว่า ผลทไ่ี ด้ของวิธีการคมุ ก�ำเนดิ นี้
4 = หากใชว้ ธิ ีนีแ้ ล้วจะเกดิ ความเสีย่ งทางสขุ ภาพทไ่ี มพ่ ึงประสงค์ได้
4) การตดิ ตามฟน้ื ฟสู ภาพจติ ใจ
การตดิ ตามหลงั ยุติการตั้งครรภ์ นอกจากเพอื่ ดูอาการแทรกซอ้ นและการคุมก�ำเนดิ แลว้ ยัง
82 คู่มอื การช่วยเหลือผูห้ ญงิ ตั้งครรภ์ไมพ่ ร้อมของศูนย์พ่งึ ได้
ตอ้ งมกี ารประเมินสภาพอารมณ์ ความคิด ความร้สู กึ ส่งิ ทีย่ งั คงค้างคาอยใู่ นจิตใจ ความรูส้ ึกผดิ
บาป และภาวะความกดดนั จากคนรอบขา้ ง หลงั จากการยตุ กิ ารตง้ั ครรภด์ ว้ ย การตดิ ตามใหค้ วาม
ชว่ ยเหลอื นรี้ วมถึงแนวทางการดำ� เนนิ ชวี ิต การกลบั สู่ครอบครวั ไปเรียนหนงั สอื กลบั ไปท�ำงาน
และ แนวทางการใช้ชวี ิตทางเพศอย่างมที ักษะชีวติ ท้งั นี้ เพอื่ สรา้ งความเชื่อมน่ั ในการด�ำรงชีวติ
ดว้ ยความมนั่ คง (Self-esteem) รวมทง้ั การตดั สนิ ใจการมเี พศสมั พนั ธ์ การมเี พศสมั พนั ธท์ ปี่ อ้ งกนั
การทอ้ งไมพ่ รอ้ มและการตดิ เชอ้ื โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ และ มตี ดั สนิ ใจชวี ติ คทู่ มี่ วี ฒุ ภิ าวะและ
มีความมน่ั คงยิง่ ขึน้ การใหค้ วามชว่ ยเหลือน้ีอาจตอ้ งมกี ารตดิ ตามเปน็ ระยะๆ โดยระยะเวลาข้ึน
อยู่กับสภาพจติ ใจและสภาพปญั หาของผูใ้ ชบ้ รกิ ารเป็นหลัก
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 83
84 ค่มู ือการชว่ ยเหลอื ผู้หญงิ ตั้งครรภไ์ ม่พรอ้ มของศนู ย์พ่งึ ได้
บทที่ 6
การสรา้ งความเข้าใจ
และเครอื ข่าย
การท�ำงาน
“การสร้างแนวรว่ ม เร่มิ จากขยายความคดิ ขยายแนวทางการท�ำงาน
ทำ� ใหป้ ัญหาท้องไมพ่ ร้อมท่ีในอดตี นนั้ ไรท้ างออก-ให้มีทางออกไดใ้ นปัจจุบัน”
ความทา้ ทายทส่ี ำ� คญั ของการใหบ้ รกิ ารปรกึ ษาทางเลอื กเพอื่ ชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ทอ้ งไมพ่ รอ้ ม
ท่ีศูนย์พึ่งได้ของโรงพยาบาล คือ การสร้างความเข้าใจและทัศนคติ ของบุคลากรทางด้าน
การแพทย์ สาธารณสขุ และ สงั คม ภายในโรงพยาบาล รวมท้ังบคุ ลากรของหน่วยงานต่างๆ
ที่ท�ำงานเกี่ยวข้อง ต่อประเด็นท้องไม่พร้อมและการยุติการตั้งครรภ์ โดยเฉพาะการยอมรับ
วา่ การยุตกิ ารต้ังครรภเ์ ปน็ ทางเลือกหนง่ึ ที่เปน็ ไปได้ของผู้หญงิ ที่ประสบปัญหาท้องไม่พร้อม และ
เปน็ การดำ� เนนิ งานเพอ่ื มใิ หเ้ กดิ ผลกระทบทตี่ ดิ ตามมาจากการตายและตดิ เชอื้ ในกระแสเลอื ดจาก
การยตุ ิการตงั้ ครรภ์ทไี่ มป่ ลอดภยั รวมทงั้ ความจ�ำเป็นในการสรา้ งระบบดูแลผู้หญิงทอ้ งไม่พร้อม
ท่ีตัดสินใจตั้งครรภ์ต่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี การเสริมสร้างความเข้าใจในเร่ืองเหล่านี้ จึงควร
ด�ำเนนิ งานควบคไู่ ปกับการพัฒนาระบบงาน เพ่ือปอ้ งกนั การเกิดแรงต้านและไดร้ ับการสนับสนุน
ในทางบวก จากบคุ ลากรตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ มทง้ั ภายในและภายนอกโรงพยาบาล
อันเป็นรากฐานที่ส�ำคัญในการพัฒนาเครือข่ายการท�ำงานเพ่ือดูแลผู้หญิงท้องไม่พร้อมอย่างเป็น
องคร์ วมต่อไป
6.1 สร้างความเข้าใจเรื่องสทิ ธใิ นทางเลอื ก
1) เร่มิ ท่ีตัวเอง
ผปู้ ฏบิ ตั งิ านศนู ยพ์ ง่ึ ได้ ควรมแี นวคดิ ในการการตคี วามปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ มวา่ เปน็ ความรนุ แรง
ด้านหนงึ่ ตอ่ ผู้หญิง ท่มี าจากสภาวะความไมเ่ ท่าเทียมทางเพศอันเป็นรากเหงา้ ทางประวตั ศิ าสตร์
มาต้ังแต่ยคุ ชุมชนบพุ กาล ยคุ ทาส และยุคศกั ดนิ า ซ่ึงความไมเ่ สมอภาคนเ้ี รม่ิ มองเหน็ ไดช้ ัดเจน
มากในยคุ ศกั ดนิ า เมอ่ื ผหู้ ญิงตกเปน็ ภรรยาของฝา่ ยชายแมโ้ ดยเต็มใจหรอื ไมก่ ็ตาม กต็ ้องอยูใ่ น
อำ� นาจเบด็ เสรจ็ ของสามี สามสี ามารถทบุ ตไี ด้ แตถ่ า้ ภรรยาทำ� รา้ ยสามจี ะตอ้ งจะตอ้ งทำ� พธิ ขี อขมา
หรือถูกลงโทษตามกฎหมายลักษณะผัวเมีย พ.ศ. 1904 รวมท้ังสามีสามารถน�ำภรรยาไปขาย
เหมือนสินคา้ ได้
ปัจจุบันสภาพแวดล้อมและสังคมโลกท่ีเปลี่ยนแปลงไปในยุคทุนนิยม แม้จะเปิดโอกาสให้
ผหู้ ญิงสามารถเรียนหนงั สอื ทำ� งานหาเลย้ี งชีพ และปฏบิ ัติหนา้ ทตี่ ่างๆ ได้ทดั เทยี มเพศชายมาก
ขน้ึ แตร่ ากเหงา้ ของความไม่เท่าเทยี มยงั คงปรากฎเหน็ ได้จากการขาดโอกาสและสทิ ธติ ่างๆ เช่น
การศกึ ษา การทำ� งาน ค่าจา้ งแรงงาน สวสั ดกิ ารสังคม และโอกาสปฏิบัตงิ านในระดบั สูง เปน็ ตน้
นอกจากนี้ ลักษณะความสัมพันธ์ของทั้งสองเพศ ผู้หญิงมักขาดอ�ำนาจในการต่อรองในด้าน
การมเี พศสมั พนั ธ์ และการตดั สนิ ใจตา่ งๆ ในชวี ติ คแู่ ละครอบครวั ในขณะทก่ี ารคมุ กำ� เนดิ กลบั เปน็
หนา้ ทข่ี องผหู้ ญงิ ทต่ี อ้ งรบั ผลขา้ งเคยี งของการใช้ และบางวธิ ที ตี่ อ้ งใชห้ ตั ถการทางการแพทยก์ ต็ อ้ ง
ได้รบั การยินยอมจากฝา่ ยชายกอ่ น การพัฒนาเทคโนโลยีการคุมกำ� เนิดทีไ่ มเ่ ทา่ เทียมน้ี ทำ� ใหว้ ิธี
การทใ่ี ห้ฝ่ายชายรับผดิ ชอบมีเพียงอยา่ งเดียวคอื ถงุ ยางอนามัย
การช่วยเหลือผ้หู ญิงทป่ี ระสบปัญหาการตง้ั ครรภไ์ มพ่ ร้อม จงึ ควรตอ้ งเขา้ ใจท่มี าของปญั หา
อนั เปน็ ผลมาจากรากเหงา้ ของความไมเ่ ทา่ เทยี มทางเพศจากการหลอ่ หลอมทางสงั คม เพอื่ ทจี่ ะให้
บริการผู้หญิงท้องไม่พร้อมด้วยความเข้าใจ เท่าทันต่ออคติของตนเอง ไม่ตัดสินคุณค่า เพ่ือให้
86 คมู่ อื การชว่ ยเหลือผ้หู ญิงตั้งครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ่งึ ได้
ผู้ประสบปัญหามีทางออกในการแก้ไขปัญหาอย่างรอบด้าน มีข้อมูลในการตัดสินใจแก้ไขปัญหา
ให้กบั ตวั เองไดอ้ ย่างเหมาะสมภายใต้ศักยภาพทม่ี อี ยู่
การช่วยเหลือผู้หญิงที่ประสบปัญหาการต้ังครรภ์ไม่พร้อม ควรมองภารกิจการปรึกษา
ทางเลอื กวา่ ไมไ่ ดเ้ ปน็ การเพม่ิ ภาระงานของศนู ยพ์ งึ่ ได้ แตห่ ากเปน็ การขยายบรกิ ารเพอ่ื ตอบสนอง
ต่อปัญหาที่พบมากในสังคมไทย ที่ผ่านมาผู้ปฎิบ้ติงานศูนย์พ่ึงได้มักพบข้อจ�ำกัดท่ีไร้ทางออก
ในกรณใี ห้ความช่วยเหลอื เดก็ และสตรที ถี่ กู ล่วงละเมดิ ทางเพศ หรือ ข่มขนื แลว้ เกิดการต้งั ครรภ์
ท้ังท่ีการยุติการตั้งครรภ์น้ันเป็นไปได้ตามเกณฑ์ทางกฎหมาย การปรึกษาทางเลือกและการมี
เครอื ขา่ ยใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทรี่ อบดา้ น ซงึ่ รวมถงึ การยตุ กิ ารตง้ั ครรภท์ ปี่ ลอดภยั และบา้ นพกั รอคลอด
จงึ เปน็ ทางออกท่ีท�ำให้ศนู ยพ์ งึ่ ไดใ้ หค้ วามช่วยเหลือผปู้ ระสบปัญหาไดอ้ ย่างครบวงจร
2) เขา้ ใจวา่ สิทธใิ นการเลอื ก คือ “สิทธขิ องผู้ป่วย”
จากค�ำประกาศสิทธิผปู้ ว่ ยซึ่งมีอย่ดู ้วยกันทง้ั สิน้ 10 ข้อ มีข้อท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั สทิ ธใิ นทาง
เลอื กเมือ่ ทอ้ งไม่พรอ้ มอยู่ 3 ขอ้ ไดแ้ ก่
ขอ้ 1 ผปู้ ว่ ยทกุ คนมสี ทิ ธพิ น้ื ฐานทจ่ี ะไดร้ บั บรกิ ารดา้ นสขุ ภาพตามทบ่ี ญั ญตั ไิ วใ้ นรฐั ธรรมนญู
สิทธิข้อน้ีรวมถึงบริการปรึกษาทางเลือก และบริการที่สอดคล้องกับทางเลือกในกรณี
ท้องไมพ่ ร้อม แม้วา่ ในปจั จบุ ัน สถานบรกิ ารด้านสาธารณสุขจำ� นวนมากจะยังไมม่ คี วามพรอ้ มที่
จะใหบ้ ริการในทกุ ดา้ น โดยเฉพาะการยุติการตง้ั ครรภท์ ่ีปลอดภัย แตค่ วรตระหนกั ว่า ผ้ใู ชบ้ รกิ าร
มสี ทิ ธอิ นั ชอบธรรมโดยพนื้ ฐานทค่ี วรจะไดร้ บั บรกิ ารเหลา่ นี้ และหากสถานบรกิ ารสาธารณสขุ นนั้ ๆ
ไมพ่ รอ้ มทจี่ ะใหบ้ รกิ าร ผใู้ ชบ้ รกิ ารกค็ วรไดร้ บั สทิ ธทิ จี่ ะไดร้ บั ขอ้ มลู และไดร้ บั การสง่ ตอ่ ไปยงั สถาน
บริการสุขภาพอื่นๆ ทม่ี ีความพร้อม
ข้อ 2 ผปู้ ว่ ยมสี ิทธทิ จ่ี ะได้รับบริการจากผู้ประกอบวชิ าชีพด้านสขุ ภาพโดยไมเ่ ลอื กปฏบิ ัติ
เนือ่ งจากมีความแตกต่างดา้ นฐานะ เชอื้ ชาติ ศาสนา สงั คม ลัทธิการเมอื ง เพศ อายุ และ
ลกั ษณะความเจ็บปว่ ย
แม้ว่าผู้ให้บริการสุขภาพอาจจะมีทัศนคติต่อปัญหาการต้ังครรภ์ไม่พร้อมแตกต่างกัน แต่ก็
มหี นา้ ท่ใี หบ้ ริการแก้ผู้ประสบปญั หาตงั้ ครรภ์ไมพ่ ร้อมทม่ี าขอรบั บริการ โดยปราศจากการเลือก
ปฏบิ ตั อิ นั เนอื่ งมาจากทศั นคตสิ ว่ นบคุ คล และควรมองเหน็ วา่ ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มทเี่ ขา้ มาขอรบั
บริการ คือผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ และสมควรได้รับการช่วยเหลือและบริการเช่นเดียวกับ
ผู้ทีม่ ปี ญั หาสขุ ภาพหรอื โรคภยั ไขเ้ จบ็ อนื่ ๆ อยา่ งเสมอภาคและเทา่ เทียม
ขอ้ 7 ผปู้ ว่ ยมสี ทิ ธจิ ะไดก้ ารปกปดิ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ตนเองจากผปู้ ระกอบวชิ าชพี ดา้ นสขุ ภาพ
โดยเครง่ ครดั เว้นแตจ่ ะได้รับความยินยอมจากผปู้ ว่ ย หรอื การปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีตามกฎหมาย
สิทธิในขอ้ น้ี ครอบคลุมถงึ การทสี่ ถานบรกิ ารจะตอ้ งปกปิดข้อมลู เก่ียวกบั ผู้ใชบ้ รกิ ารซ่ึงเปน็
ผู้ที่ต้ังครรภ์ไม่พร้อม ท้ังในด้านบริการปรึกษาทางเลือก และบริการอื่นๆ ท่ีจ�ำเป็น โดยท่ีสิทธิ
ดังกลา่ วยิง่ มีความส�ำคญั โดยเฉพาะในสภาพสังคมไทยท่ยี งั ไมย่ อมรับ และมกี ารต�ำหนิ ตตี รา
ผู้หญิงท่ที ้องไม่พร้อม จึงยงิ่ ต้องมคี วามละเอียดออ่ นเป็นพิเศษในเรื่องนี้
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 87
3) เข้าใจการยตุ กิ ารตั้งครรภ์ทางกฎหมายอย่างถ่องแท้
ผทู้ ไ่ี มไ่ ดป้ ฏบิ ตั หิ นา้ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ ม และความรนุ แรงในครอบครวั มกั ขาด
ความเขา้ ใจทถ่ี กู ต้องต่อขอ้ กฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการยุติการตง้ั ครรภ์ โดยท่ัวไปมักเขา้ ใจว่าการ
ยุติการตงั้ ครรภน์ ้นั ผดิ กฎหมายทุกกรณี หรือ เขา้ ใจวา่ กฎหมายอนโุ ลมใหท้ ำ� ไดแ้ ตเ่ ฉพาะในกรณี
ที่ผู้หญิงถูกข่มขืนโดยใช้ก�ำลังเท่าน้ัน ความเข้าใจเหล่านี้มาจากความรับรู้ที่จ�ำกัด และความ
ไม่เข้าใจในปญั หาทอ้ งไม่พร้อม จึงตคี วามจากการรับร้ทู ่ีจ�ำกดั สว่ นบคุ คล และเชอื่ ว่าสง่ิ ที่ตนเอง
เขา้ ใจนน้ั ถกู ตอ้ ง
บคุ ลากรของศูนยพ์ ึง่ ได้ ซ่ึงสว่ นใหญเ่ ป็นผทู้ ่ีมคี วามเชยี่ วชาญกับกฎหมายตา่ งๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง
กับสุขภาพและสังคมอยู่แล้ว จึงต้องใช้ความพยายามในการอธิบายข้อกฎหมายให้กับเพื่อน
ร่วมงานภายในโรงพยาบาล และเครือข่ายการท�ำงานภายในอ�ำเภอหรือจังหวัดของตนเอง และ
เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจยงิ่ ขน้ึ และควรมเี อกสารอา้ งองิ เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร เชน่ ขอ้ บงั คบั แพทยสภา
หรอื คมู่ อื เลม่ นที้ ร่ี ะบเุ กณฑใ์ นการยตุ กิ ารตงั้ ครรภท์ ช่ี ดั เจน เพอื่ พรอ้ มใชป้ ระกอบการอธบิ ายความ
อยู่เสมอ
4) จดั การกบั ความขัดแย้งในทัศนคติ
ทศั นคตแิ ละแนวคดิ ของคนในสงั คมตอ่ เรอ่ื งการยตุ กิ ารตง้ั ครรภ์ แบง่ แนวคดิ ในเรอ่ื งดงั กลา่ ว
ออกเปน็ 2 ด้าน คือ แนวคดิ สนบั สนนุ ชวี ิต (Pro-life) หรอื แนวคิดตอ่ ต้านการท�ำแท้ง (Anti-
abortion) กบั แนวคดิ สนบั สนนุ ทางเลอื ก (Pro-choice) หรอื แนวคดิ สทิ ธใิ นการทำ� แทง้ (Abortion
right) โดยมรี ายละเอยี ดดังต่อไปน้ี
แนวคิดสนับสนุนชวี ิต (Pro-life) เป็นแนวคิดท่ีไมเ่ ห็นดว้ ยกบั การทำ� แทง้ และอาจรวมถงึ
การสนับสนุนให้รัฐออกกฎหมายห้ามการท�ำแท้ง โดยให้เหตุผลว่าชีวิตมนุษย์เร่ิมต้นตั้งแต่การ
ปฏิสนธิ และตัวอ่อนในครรภ์ถือได้ว่ามีสถานะเทียบเท่าบุคคล จึงมีสิทธิท่ีจะมีชีวิตอยู่ซ่ึงใครจะ
ละเมดิ มิได้ และผู้สนับสนุนแนวคดิ น้ีจำ� นวนไมน่ อ้ ย มองวา่ การทำ� แท้งขดั ตอ่ หลกั ความเช่ือทาง
ศาสนาและถือเป็นบาปรา้ ยแรง
แนวคดิ สนบั สนนุ ทางเลือก (Pro-choice) เห็นว่าผ้หู ญิงควรมีสิทธิในเนือ้ ตวั รา่ งกาย สิทธิ
ด้านสขุ ภาพและอนามัยเจริญพันธุ์ และสิทธใิ นการกำ� หนดอนาคตของตนเอง ดังน้นั ผหู้ ญงิ จงึ
ควรมสี ิทธติ ดั สินใจทีจ่ ะตงั้ ครรภ์ หรอื ยตุ ิการต้งั ครรภ์ได้ด้วยตนเอง ในทางกฎหมาย แนวคดิ นี้
สนบั สนนุ การทำ� แทง้ โดยถกู กฎหมาย โดยเฉพาะในชว่ งตน้ ของอายคุ รรภ์ และมองวา่ การอนญุ าต
ใหท้ ำ� แทง้ โดยถกู กฎหมาย จะชว่ ยลดความเสย่ี งทผี่ หู้ ญงิ ตอ้ งเผชญิ จากการทำ� แทง้ ไมป่ ลอดภยั ซงึ่
อาจทำ� ให้ผหู้ ญงิ เหลา่ นีต้ อ้ งประสบปัญหาดา้ นสขุ ภาพและอาจเป็นอนั ตรายถึงชวี ิต
นอกจากนี้ ยงั มีผู้ให้บรกิ ารสขุ ภาพ ท่เี กิดปญั หาคาใจในการให้บรกิ ารยตุ ิการต้ังครรภ์ หรอื
หลังจากใหบ้ ริการไปแลว้ ได้ทางออกเพ่ือยนื ยันแนวทางของตนเอง ดังตวั อยา่ งตอ่ ไปนี้
88 คมู่ อื การช่วยเหลือผ้หู ญิงต้ังครรภ์ไมพ่ รอ้ มของศูนยพ์ ึง่ ได้
“หลังจากท่ีทำ� แท้งไปสกั พกั หน่งึ หมอกร็ สู้ ึกไมส่ บายใจ จึงไปสวนโมกขเ์ พ่ือเรยี นถามท่าน
พทุ ธทาส ทนั ทที ห่ี มอถามวา่ การทำ� แทง้ บาปหรอื ไม่ ทา่ นพทุ ธทาสยอ้ นถามวา่ ทที่ ำ� นนั้ ถอื เปน็ การ
รับจ้างฆ่าคนหรอื ไม่ หมอตอบว่าไมเ่ พราะไมไ่ ดร้ ับค่าตอบแทนใดๆ เงนิ ทีไ่ ด้รบั เข้าโรงพยาบาล
ทงั้ หมด และอธบิ ายเหตผุ ลวา่ ทำ� เพราะตอ้ งการช่วยคนทม่ี คี วามทุกข์ ถา้ เราไมท่ ำ� เขากจ็ ะไปให้
หมอเถอื่ นทำ� เสยี่ งตอ่ การเสยี ชวี ติ ถา้ เราทำ� แทง้ ใหเ้ ขาตง้ั แตแ่ รกเขากจ็ ะปลอดภยั กวา่ ทา่ นพทุ ธทาส
ตอบว่า ถา้ อย่างน้นั ก็เป็นบญุ ถอื เปน็ การทำ� บญุ เพราะเป็นการชว่ ยเขาใหพ้ น้ ทุกข์...”
(บทความ “ฟงั ท่านพุทธทาสพูดเรอื่ งการทำ� แท้ง” โดย ผศ.นพ.สัญญา ภัทราชยั )
“ราว 2 เดือนท่ีผา่ นมา เพ่ือนมนษุ ยต์ า่ งศาสนามาพบขอรบั บรกิ ารท�ำแทง้ หลายคนด้วย
เหตุผลไม่ค่อยแตกต่างกัน น่ันคอื ทอ้ งไมพ่ รอ้ ม ยากจน ลูกมากจนเลีย้ งไม่ไหว... ฉนั กเ็ คยถาม
ไปว่า “ไม่บาปเหรอ” เขาก็ตอบว่า “ลูกอดตายส�ำคัญกว่า ลูกต้องเรียนหนังสือส�ำคัญกว่า”
มาถึงตรงน้ีฉนั กค็ งคิดถึงครูคนเดมิ ทา่ นบอกวา่ คนทมี่ าขอท�ำแท้ง เขาก�ำลงั แสดงความรบั ผดิ
ชอบอันยิ่งใหญ่ เปน็ การแสดงความรบั ผดิ ชอบต่อลกู ของเธอเองทีจ่ ะตอ้ งเกิดออกมาดว้ ยความ
ไม่พร้อม (“ด้วยการท�ำแท้งเนี่ยนะ!” ฉันเชื่อว่าก�ำลังมีคนคิดแย้งฉันด้วยประโยคเช่นนี้อยู่)
มันเป็นความรับผิดชอบของคนเป็นแม่ หรือก�ำลังจะเป็นแม่คนน่ันเอง ค�ำตอบของเพ่ือนต่าง
ศาสนาแตเ่ ป็นเพ่ือนร่วมชาติของฉนั ก�ำลังอธิบายคำ� สอนของครไู ด้เป็นอย่างด”ี
(บทความ “ไมท่ ำ� แท้งเพราะ Conscientious objection” โดย ผศ.นพ.ธนพนั ธ์ ชูบญุ )
“หลังจากได้คุยกับคุณหมอ หนูบอกคุณหมอว่าหนูเลือกต้ังท้องต่อเพราะคุณหมอท�ำให้
หนรู สู้ กึ วา่ การทำ� แทง้ เปน็ บาปไมด่ ี และหนรู สู้ กึ เกรงใจคณุ หมอทหี่ วงั ดอี ตุ สา่ หใ์ ชเ้ วลาเปน็ ชวั่ โมง
เพ่ืออธบิ ายใหห้ นรู ูว้ า่ การทำ� แทง้ ไมด่ ีอย่างไร หนกู ลวั หมอดุ หนกู ลวั คณุ หมอมองว่าหนเู ป็นคน
ไมด่ ี ไมม่ คี วามรบั ผดิ ชอบ ถา้ หนบู อกคณุ หมอวา่ เลอื กทำ� แทง้ ทงั้ ทจี่ รงิ ๆแลว้ หนตู อ้ งการทำ� แทง้
เพราะหนรู ู้วา่ ถ้าตั้งทอ้ งตอ่ ปญั หาและภาระหนักจะตกมาที่หนู คุณร้ไู หมวา่ หนตู ้ังครรภ์ตอ่
ด้วยความขัดแย้งในใจ มันทุกข์ทรมานตลอดเวลาเมื่อนึกถึงปัญหาและภาระท่ีรออยู่ข้างหน้า
หนูไมม่ ที างเลือก”
(คำ� ใหส้ มั ภาษณ์ของผู้หญิงต้ังครรภไ์ ม่พร้อม หลงั ได้รบั บริการปรกึ ษา...)
6.2 การสร้างเครอื ขา่ ยสนบั สนุนการทำ� งาน
อาจกลา่ วไดว้ า่ การทำ� งานเพอื่ ดแู ลวยั รนุ่ และผหู้ ญงิ ทปี่ ระสบปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ ม ไมอ่ าจ
ด�ำเนินงานไดอ้ ย่างเป็นองค์รวมและครบวงจรโดยโรงพยาบาลเพียงลำ� พงั แต่ตอ้ งอาศยั การสรา้ ง
เครอื ขา่ ยในการทำ� งานกบั หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การดแู ลผปู้ ระสบปญั หาในมติ ติ า่ งๆ เนอื่ งจาก
ปญั หาทอ้ งไม่พรอ้ ม บุคลากรต่างๆ มคี วามเห็นไปในทศิ ทางท่ีแตกตา่ งกัน ซ่งึ มที ้งั ในทางท่เี ขา้ ใจ
หรือ ที่มอี คติและตตี ราต่อผู้ประสบปญั หา ดังนน้ั การสรา้ งเครือขา่ ยการท�ำงานในประเดน็ ทอ้ ง
ไม่พร้อมจึงมีความละเอียดอ่อนเป็นอย่างยิ่ง ซ่ึงต้องเร่ิมจากการสร้างความเข้าใจต่อปัญหาจาก
ตัวเอง ไปยังผู้ปฏิบัติงานฝ่ายต่างๆ ในโรงพยาบาล แล้วจึงเร่ิมขยายไปยังหน่วยงานต่างๆ ท่ี
89
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้
เกย่ี วขอ้ ง การสร้างความเข้าใจดงั กล่าวจะตอ้ งทำ� อยา่ งค่อยเปน็ ค่อยไป โดยไมอ่ าจเห็นผลไดจ้ าก
การอบรมเพยี งคร้งั เดียว หรือ จากการประชมุ ชีแ้ จงเท่านนั้ ตวั อย่างของโรงพยาบาลท่ีด�ำเนินงาน
น�ำร่องมาก่อนช้ีให้เห็นว่า การสร้างความเข้าใจภายในโรงพยาบาลต้องด�ำเนินงานอย่างค่อยเป็น
ค่อยไป เพื่อน�ำไปสู่การสร้างเครือข่ายการท�ำงานทีดี แม้ว่าจะใช้เวลาก็ตาม ดังตัวอย่างของ
โรงพยาบาลศรีสะเกษ
หลงั จากทศี่ ูนย์พึ่ง โรงพยาบาลศรีสะเกษ ได้มบี ริการปรกึ ษาทางเลอื ก พบว่าผหู้ ญิงท่ี
ทอ้ งไม่พรอ้ มน้นั ไม่ได้ลงเอยดว้ ยการยุติการตั้งครรภ์เสมอไป ช่วงแรกของการใหบ้ รกิ าร มี
คำ� ถามเกดิ ขน้ึ ทส่ี ะทอ้ นความกงั วล “หากคนนอกทราบขา่ ววา่ มบี รกิ ารปรกึ ษาเรอื่ งนจ้ี ะมารบั
บรกิ ารกนั มากจนรบั ไมไ่ หวหรอื ไม?่ ” “หากผทู้ ที่ อ้ งไมพ่ รอ้ มไมเ่ ขา้ ขา่ ยตามขอ้ บง่ ชี้ โรงพยาบาล
กจ็ ะถกู ใชเ้ ปน็ ชอ่ งทางไปสกู่ ารทำ� แทง้ หรอื ไม?่ ” แตห่ ลงั จากเรมิ่ เปดิ บรกิ ารไปสกั ระยะ บคุ ลากร
ในโรงพยาบาลเร่มิ เข้าใจวา่ งานของศนู ย์พ่งึ ได้ เปน็ การเพิม่ ทางเลือกให้ผูห้ ญิงไดม้ ที างออกที่
จะจดั การกบั ปญั หาของตนเอง โดยการคลค่ี ลายทกุ อยา่ งไดด้ ว้ ยขอ้ มลู ทร่ี อบดา้ น ทำ� ใหค้ วาม
ร่วมมอื ในการคัดกรองจากฝ่ายตา่ งๆ เร่มิ ดีข้นึ และเห็นประโยชน์ว่าผ้ใู ช้บรกิ ารได้รบั ความ
ชว่ ยเหลอื และส่งต่ออยา่ งเปน็ ระบบมากข้นึ ..
การสร้างความเขา้ ใจต่อการท�ำงานดูแลผูป้ ระสบปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ ม อาจดำ� เนนิ งานร่วมไป
กันกับการสร้างความเข้าใจกับบุคลากรภายนอกท่ีท�ำงานร่วมกันในประเด็นเดียวกัน ซ่ึงอาจ
สอดแทรกไปในงานดา้ นความรนุ แรงต่อเดก็ และสตรีของศูนย์พ่งึ ได้ หรอื การออกท�ำงานเชิงรกุ ท่ี
บูรณาการไปกบั งานเพศศึกษา โดยสอดแทรกเร่ืองท้องไม่พร้อมเขา้ ไปด้วย ซ่งึ ประสบการณจ์ าก
โรงพยาบาลน�ำร่องพบว่า มีความจำ� เป็นทีต่ อ้ งท�ำอย่างตอ่ เนือ่ งจงึ จะเห็นผล สิ่งทตี่ ามมาก็คือ ผู้ท่ี
ตระหนกั และเขา้ ใจในประเดน็ เรอ่ื งทอ้ งไมพ่ รอ้ ม กจ็ ะเปน็ เครอื ขา่ ยทเี่ ขม้ แขง็ ของโรงพยาบาลในทสี่ ดุ
ดังตัวอยา่ งการด�ำเนินงานของโรงพยาบาลสวรรค์ประชารกั ษ์
โดยการสนับสนับสนุนจากส�ำนักบริหารการสาธารณสุข ในปี 2554 โรงพยาบาล
สวรรค์ประชารักษ์ ได้จัดการอบรมปรึกษาทางเลือกให้กับบุคลากรจากโรงพยาบาลชุมชน
โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บล รวมทงั้ ผรู้ บั ผดิ ชอบงานอนามยั โรงเรยี น เพอ่ื พฒั นาทกั ษะ
การใหก้ ารปรกึ ษา มคี วามเขา้ ใจตอ่ ปจั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ ปญั หาการตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ ม โดยเปน็ การ
เสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจกบั เครอื ขา่ ยการทำ� งานเพอื่ รว่ มกนั ดแู ลชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ทท่ี อ้ งไมพ่ รอ้ ม
หลงั จากนนั้ ทกุ ปี โรงพยาบาลไดจ้ ัดอบรมให้กบั ผทู้ �ำงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งเกีย่ วกบั ประเด็นปญั หา
ความรนุ แรงตอ่ เดก็ สตรแี ละความรุนแรงในครอบครัว ซ่ึงจะมีการสอดแทรกประเดน็ เร่อื ง
ท้องไมพ่ รอ้ มเขา้ ไปดว้ ย ใหก้ บั กล่มุ เปา้ หมายเดมิ และเพิ่มเติมบุคลากรจากหน่วยบรกิ าร
ปฐมภมู ิ บา้ นพกั เดก็ และครอบครวั และอาสาสมคั รสาธารณสขุ (อสม.) เพอ่ื ทบทวนความรู้
ทกั ษะ และการสรา้ งความเข้าใจในประเด็นท้องไม่พรอ้ มย่ิงขน้ึ ในการทำ� งานเชงิ รกุ ไดม้ ี
การจัดท�ำโครงการโดยการให้ความรู้เกี่ยวกับเพศศึกษาท่ีถูกต้อง ปัญหาของการต้ังครรภ์
ไม่พร้อมในวัยเรียน ผลกระทบ และแนวทางการป้องกันตัวเอง ให้มีทักษะชีวิตอย่าง
รอบดา้ นกบั เดก็ นกั เรยี นมธั ยมตน้ นอกจากนคี้ ลนิ กิ วยั ใสของโรงพยาบาลซงึ่ รบั ผดิ ชอบโดย
90 คูม่ อื การชว่ ยเหลอื ผู้หญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศูนย์พง่ึ ได้
กลมุ่ งานเวชกรรมสงั คม โดยเปน็ การบรู ณาการไปกบั งานสง่ เสรมิ ปอ้ งกนั ในกลมุ่ เดก็ นกั เรยี น
ดว้ ย
การไปเปน็ วทิ ยากรใหก้ บั หนว่ ยงานตา่ งๆ ในประเดน็ ของการตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ ม ถอื เปน็
โอกาสหนงึ่ ทเ่ี ราสามารถไปสรา้ งเสรมิ มมุ มองและความเขา้ ใจประเดน็ การตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ ม
และเป็นจุดเร่ิมต้นทดี่ ีในการสรา้ งความเข้าใจและเครอื ขา่ ยในการทำ� งาน
นอกจากนี้ การส่งเสริมให้บุคลากรได้เกิดความเข้าใจต่อประเด็นปัญหา และร่วมสร้าง
งานด้วยกนั กจ็ ะเกดิ แนวร่วมท่จี ะนำ� ประเด็นท้องไมพ่ ร้อมไปบูรณาการกบั งานปกติได้ ซึง่ ทำ� ให้
เกิดการขยายและสร้างความเข้าใจไปยังหน่วยงานต่างๆ และความเข้าใจน้ีเองจะเป็นพ้ืนฐานที่
สำ� คัญในการสรา้ งเครือขา่ ยการทำ� งานรว่ มกัน โดยตอ้ งด�ำเนนิ งานอย่างตอ่ เนอื่ งและสมำ่� เสมอ
โรงพยาบาลพระนครศรอี ยธุ ยาไดบ้ รู ณการใหบ้ รกิ ารทอ้ งไมพ่ รอ้ มกบั การทำ� งานในคณะ
กรรมการช่วยเหลอื เดก็ และสตรีที่ถกู กระท�ำด้วยความรนุ แรง โดยได้รบั การสนบั สนุนการ
อบรมเพอ่ื ปรบั เปลยี่ นทศั นคตเิ รอื่ งเพศภาวะ มายาคติ โครงสรา้ งเชงิ อำ� นาจในการใหบ้ รกิ าร
กลุ่มเป้าหมายแก่บุคลากรสหสาขา ได้แก่ พยาบาล นักสังคมสงเคราะห์ นักวิชาการ
สาธารณสุข เพ่อื ให้บรกิ ารในหน่วยท่ีปฏิบตั ิ เชน่ งานอนามยั โรงเรียน กลุ่มภารกจิ หลกั
ปฐมภูมิ งานสวสั ดกิ ารหรือศูนย์พง่ึ ได้ งานคลนิ ิกฝากครรภ์ กลมุ่ งานผู้ป่วยนอก และงาน
สขุ ศกึ ษาท่ใี หบ้ รกิ ารทงั้ ในและนอกสถานบริการ เชน่ โรงงาน สถานีวทิ ยุชุมชน นอกจากนี้
ได้เผยแพร่ความรู้ทางวิชาการและทักษะ ในการให้บริการแก่บุคลากรในโรงพยาบาลศูนย์
โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน และ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำ� บลในเขตเมอื ง
อยา่ งน้อยปีละหนง่ึ ครงั้ เพ่ือใหแ้ ละทบทวนความรู้และทกั ษะสม�่ำเสมอ
“การปรบั ทศั นคตขิ องคนทำ� งาน เกดิ จากความคดิ ทพี่ ลกิ ผนั ..เมอ่ื ตนเองไดม้ ปี ระสบกาณต์ รง
กบั ผหู้ ญงิ ทอ้ งไมพ่ รอ้ ม ทำ� ใหเ้ ขา้ ใจกบั ความยากลำ� บากของผปู้ ระสบปญั หาในเชงิ โครงสรา้ ง
มิติท่ซี บั ซอ้ น จึงเกิดมมุ มองและเขา้ ใจความยากลำ� บากของการเข้ารับบรกิ าร และปรบั ท่าที
ให้สามารถพูดคุยส่ือสารกับผู้ประสบปัญหาด้วยความเข้าใจ.. ความเข้าใจน้ีเอง ส่งผลให้
บรรยากาศของการทำ� งานในโรงพยาบาล แม้กบั เจ้าหน้าที่ทีป่ ฏิบตั งิ านร่วมกันกร็ สู้ ึกเปน็ พี่
น้องกัน ไม่เพ่งจับผิดหรือเก่ียงงอนเปรียบเทียบกันในการท�ำงานเร่ืองท้องไม่พร้อม
การเปล่ียนแปลงนี.้ .เร่ิมจากภายในตนเองไปสู่เพอื่ นร่วมงาน ขยายจากหน่ึง เปน็ สอง สาม
สี่ และอกี มากมาย เมอื่ สง่ ความเปน็ มติ รให้ กไ็ ดร้ บั ความเปน็ มติ รกลบั เรอ่ื ง (ทอ้ งไมพ่ รอ้ ม)
ท่ีเคยยากจงึ กลบั เปน็ เรอ่ื งงา่ ย ใยเราจึงยดึ ตวั ตนวา่ เปน็ ผ้ใู ห้ มิใช่เพื่อนที่เดนิ ไปดว้ ยกัน กบั
ท้ังเพ่อื นร่วมงานและเพ่ือนร่วมโลก และน่นั ..คือสง่ิ ทเ่ี ปลีย่ นไปในที่สุด..”
ปจั จบุ นั ทสี่ งั คมมคี วามเปลยี่ นแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ ความรนุ แรงตอ่ เดก็ และผหู้ ญงิ เกดิ ขน้ึ
หลายรปู แบบ และนำ� มาสกู่ ารตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ ม การทำ� งานจงึ ตอ้ งมกี ารเชอื่ มโยงกบั เครอื ขา่ ยดา้ น
กฎหมาย เพอื่ ใหเ้ กดิ การคมุ้ ครองสทิ ธสิ รา้ งความปลอดภยั ในชวี ติ โดยใชก้ ระบวนการทางกฎหมาย
มาประกอบการช่วยเหลือด้วย โดยเฉพาะการใช้อ�ำนาจทางกฎหมายเข้ามาเพื่อท�ำให้เกิดการ
เปลีย่ นแปลง ควบคมุ ระบบการช่วยเหลอื ตา่ งๆ ได้ ดงั ประสบการณ์ของโรงพยาบาลปทมุ ธานี
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 91
“การทำ� งานชว่ ยเหลอื เดก็ และสตรที ถี่ กู กระทำ� รนุ แรง รวมทง้ั ทอ้ งไมพ่ รอ้ ม ของศนู ยพ์ ง่ึ ได้
โรงพยาบาลปทุมธานี มกี ารจัดการสองด้านควบคูก่ นั คือ 1) การจดั การภายใน คอื ตัวตน
ความคดิ ทัศนคตขิ องผู้ประสบปญั หาและครอบครวั และ 2) การจัดการกบั สิง่ แวดล้อมทุก
ด้านท่ีเกี่ยวข้องกับผู้ประสบปัญหา คือ ที่พักพิง แหล่งช่วยเหลือต่างๆ และกฎเกณฑ์ที่
เก่ียวข้องของระบบช่วยเหลือ การจัดการส่ิงแวดล้อม ถือเป็นเรื่องที่ยากเพราะต้องอาศัย
ความรว่ มมือกับหลายภาคสว่ น ดังนัน้ การสร้างเครือข่ายด้านการใช้อำ� นาจทางกฎหมายจงึ
มคี วามจำ� เปน็ ศนู ยพ์ ง่ึ ได้ เรมิ่ เปดิ เครอื ขา่ ยการทำ� งานกบั ตำ� รวจกอ่ น เพอ่ื ลดอปุ สรรคตา่ งๆ
ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การแจง้ ความในเรอ่ื งความรนุ แรงตอ่ เดก็ สตรี และความรนุ แรงทางเพศ โดย
การทำ� ความเขา้ ใจกนั เพอ่ื จะไดส้ ง่ ตอ่ การชว่ ยเหลอื และสนบั สนนุ การทำ� งานซงึ่ กนั และกนั ได้
ผลการเชอ่ื มตอ่ ทำ� ใหเ้ กดิ การเขา้ ใจและวนิ จิ ฉยั หลกั เกณฑไ์ ดร้ อบดา้ นมากขนึ้ ประสทิ ธภิ าพ
การชว่ ยเหลือกด็ ีขนึ้ ตอ่ มาศูนย์พ่งึ ได้ ได้ขยายการทำ� งานเปน็ เครอื ข่ายกบั ทางส�ำนักงาน
อยั การจงั หวดั เพอื่ ปรกึ ษาหารอื ขอ้ กฎหมาย ระเบยี บวธิ ปี ฏบิ ตั ิ การแกป้ ญั หาเรง่ ดว่ นตา่ งๆ
ท�ำให้ทราบแนวทางด�ำเนินงานที่ต้องใช้อ�ำนาจทางกฎหมายเพิ่มข้ึนมาอีกระดับหน่ึง และ
เรียนรูก้ ระบวนการและกฎหมายอ่ืนๆ ที่เกยี่ วข้อง ทสี่ ามารถนำ� มาเป็นหลักการวนิ ิจฉัยเพ่ิม
เติมการช่วยเหลือได้มากข้ึน การท�ำงานร่วมกันพบว่า หน่วยงานทางกฎหมายก็ได้เรียนรู้
ปญั หาการบงั คบั ใชก้ ฎหมายจากการปฏบิ ตั จิ รงิ ทำ� ใหเ้ กดิ การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ การทำ� งาน
ลนื่ ไหลไปตอ่ ไดง้ า่ ยถงึ การไตส่ วนในชนั้ ศาล ทำ� ใหก้ ระบวนการชว่ ยเหลอื เปน็ ไปอยา่ งรอบดา้ น
และมีประสทิ ธิภาพมากข้นึ ….”
เมื่อการสร้างความเข้าใจเป็นไปในลักษณะท่ีผู้ปฏิบัติงานจากหน่วยงานต่างๆ เข้าใจสภาพ
และประเด็นปญั หาอย่างถ่องแท้โดยปราศจากอคตสิ ่วนบุคคล ก็จะเสรมิ สร้างความร่วมมือในการ
ท�ำงานให้เป็นเครือข่ายได้เป็นอย่างดี โดยให้ความร่วมมือกันต้ังแต่การคัดกรองค้นหาผู้ประสบ
ปัญหา และนำ� พามายังการใหค้ วามช่วยเหลือทปี่ ระสานความรว่ มมอื กนั ไดอ้ ย่างเปน็ รปู ธรรมของ
ทกุ ๆ ฝ่ายทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
โรงพยาบาลขอนแกน่ เปน็ โรงพยาบาลแหง่ แรกในประเทศไทยที่จัดตั้งศูนย์พงึ่ ได้เพ่ือรองรบั
นโยบายขจดั ความรนุ แรงตอ่ เด็กและสตรตี ัง้ แตป่ ี 2542 เวลา15 ปีกวา่ ของการด�ำเนินงาน ท�ำให้
เกดิ เครอื ขา่ ยการดำ� เนนิ งาน และแบบแผนการชว่ ยเหลอื เดก็ และเยาวชนทตี่ ง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มทเ่ี ปน็
รปู ธรรม โดยหน่วยงานตา่ งๆ ท้งั ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม หรอื ภาคประชาชนตา่ งๆ
ในระดับจงั หวดั เมอ่ื พบเหน็ ปญั หาก็สามารถให้ความชว่ ยเหลอื ได้โดยทนั ทโี ดยใชก้ ลไกเครือข่าย
ทมี่ ีอยูแ่ ลว้ ตามภารกจิ ของแต่ละหน่วยงาน ดงั แสดงในผังภาพที่ 14
92 ค่มู ือการชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ต้งั ครรภไ์ ม่พร้อมของศูนยพ์ งึ่ ได้
ผงั ภาพท่ี 14 ตวั อยา่ งแบบแผนการปฏบิ ตั กิ ารชว่ ยเหลอื เดก็ และเยาวชนทตี่ งั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ ม
เครอื ข่ายในการช่วยเหลือเดก็ และเยาวชนท่ตี งั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มนี้ ทำ� งานร่วมกนั ทง้ั รปู แบบ
ที่เป็นทางการ ในรูปแบบคณะกรรมการระดับจังหวัด เช่น คณะกรรมการคุ้มครองเด็ก และ
รูปแบบที่ไม่เป็นทางการ ในลักษณะท่ีผู้ปฏิบัติงานท่ีมีภารกิจเก่ียวข้องมาร่วมกันเป็นทีมท�ำงาน
ท�ำให้การด�ำเนินงานเป็นไปได้อย่างคล่องตัว การขับเคลื่อนงานภายใต้เครือข่ายในรูปแบบท่ีเป็น
ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการน้ี มขี อ้ ดตี รงทที่ ำ� ใหเ้ กดิ มาตรการในระดบั จงั หวดั ทเ่ี ออื้ อำ� นวยตอ่ การนำ�
นโยบายไปปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ย่างประสิทธภิ าพ
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 93
ผงั ภาพท่ี 15 เครอื ข่ายสนับสนนุ การปฏบิ ัตงิ านของพนักงานเจ้าหนา้ ท่ี
ส�ำหรับการให้ความช่วยเหลือเด็กและเยาวชนต้ังครรภ์ไม่พร้อมที่ตัดสินใจต้ังครรภ์ต่อไป
ได้ด�ำเนินการอย่างเป็นองค์รวมและรอบด้าน แม้ว่าบทบาทหลักจะอยู่ที่พนักงานเจ้าหน้าท่ี
ตามพระราชบัญญตั ิคมุ้ ครองเด็ก พ.ศ. 2546 และผูป้ ฏิบัตงิ านด้านเดก็ แตก่ ารทำ� งานร่วมกัน
เปน็ เครือข่ายฯ ทำ� ให้หน่วยงานตา่ งๆ ทมี่ ีภารกิจเกย่ี วขอ้ งมีบทบาทในการหนุนเสริม เพื่อติดตาม
เยีย่ มบ้าน ประเมินความต้องการ ดแู ลชว่ ยเหลืออยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ต้ังแตช่ ว่ งต้ังครรภ์ คลอด และ
หลงั คลอด ท้งั ในด้านการสนับสนนุ การเลีย้ งดู การศึกษาตอ่ ของแม่ทอี่ ยู่ในวัยเรียน การทำ� งาน
เพ่ือเลี้ยงชีพ รวมท้ังในการจัดหาครอบครัวอุปการะ ครอบครัวบุญธรรมในกรณีท่ีแม่วัยเยาว์
ไม่สามารถเลี้ยงดูบุตรได้ ซ่ึงการสร้างเครือข่ายความช่วยเหลือเพื่อให้เกิดกลไกการดูแลน้ีเอง
จะส่งผลให้ทารกท่ีเกิดมาจากความไม่พร้อมมีคุณภาพชีวิตท่ีดี เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่จะ
เป็นกำ� ลงั สำ� คัญในการพัฒนาประเทศต่อไป
การทำ� งานเปน็ เครอื ขา่ ย นอกจากเปน็ กลไกทสี่ ำ� คญั ในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดแู ลผปู้ ระสบ
ปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ มแลว้ ยงั เปน็ เวทที ท่ี ำ� ใหเ้ กดิ การระดมทรพั ยากร ทง้ั ในดา้ นความเชย่ี วชาญของ
บคุ ลากร และงบประมาณ เพอื่ รว่ มกนั กำ� หนดทศิ ทางการดำ� เนนิ งานปอ้ งกนั การตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ ม
ในจังหวดั ศนู ย์พึง่ ได้ ในฐานะที่เป็นหนว่ ยงานทางดา้ นสาธารณสุข สามาถใชจ้ ุดแข็งในดา้ นขอ้ มลู
และระบาดวิทยาสาธารณสขุ เพอ่ื ประมวลผลข้อมูล และนำ� ข้อมูลไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ การ
94 คูม่ อื การชว่ ยเหลือผ้หู ญงิ ตัง้ ครรภไ์ ม่พร้อมของศนู ยพ์ ง่ึ ได้
วางแผนงาน ก�ำหนดทิศทาง และแนวทางในการด�ำเนินงานร่วมกับเครือข่ายฯ ครอบคลุมท้ัง
ในดา้ นการป้องกนั การตัง้ ครรภ์ไมพ่ รอ้ ม และ การดูแลช่วยเหลือเม่ือเกดิ ปญั หา อีกท้ังสามารถ
นำ� ข้อมูลผลการดำ� เนนิ งานเสนอต่อคณะกรรมการทเ่ี กี่ยวข้องตา่ งๆ ในจงั หวัด เพอ่ื ใช้ในการสร้าง
ความตระหนกั ตอ่ ปญั หา และความกา้ วหนา้ ในการดำ� เนนิ งาน รวมทง้ั วเิ คราะหช์ อ่ งวา่ งทต่ี อ้ งพฒั นา
เพ่อื ต่อยอดแก้ปัญหาการต้งั ครรภไ์ มพ่ ร้อมไดอ้ ย่างเปน็ รูปธรรม
การท�ำงานเป็นเครือข่าย ยังท�ำให้สามารถแสวงหาแหล่งสนุนในการด�ำเนินงานต่างๆ ท่ี
เกีย่ วข้องกับการป้องกนั ดแู ลในประเด็นทอ้ งไมพ่ ร้อม ซ่ึงศนู ย์พงึ่ ได้และเครือข่ายฯ ควรวเิ คราะห์
โอกาสของแหล่งทนุ สนบั สนนุ ตา่ งๆ เพ่ือนำ� มาสนบั สนุนการดำ� เนินงาน แหลง่ ทุนตา่ งๆ สามารถ
จ�ำแนกไดด้ งั ตอ่ ไปน้ี
1) การช่วยเหลือสวัสดิการสังคมผู้ประสบปัญหาเฉพาะราย สามารถติดต่อขอ
ความช่วยเหลอื ไดท้ ่หี นว่ ยงานต่างๆ อาทิเช่น
• ส�ำนักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด เป็นการช่วยเหลือผู้ประสบ
ปัญหาทางสังคมกรณีฉุกเฉิน และ การสงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจน เป็นต้น
(ดรู ายละเอยี ดไดใ้ นภาคผนวกที่ 4)
• ส�ำนักงานยุติธรรมจังหวัด ในกรณที ่ีผู้ประสบปญั หาท้องไมพ่ ร้อมเป็นผูเ้ สยี หายที่ได้รับ
ความเสยี หายจากการกระท�ำผดิ อาญาของผอู้ น่ื โดยการกระทำ� อนาจาร หรอื ขม่ ขนื ก็มี
สิทธิรบั คา่ ตอบแทนจากรัฐ (ดรู ายละเอียดไดใ้ นภาคผนวกที่ 4)
• องค์การบรหิ ารสว่ นทอ้ งถิน่ มงี บประมาณสวัสดิการสังคม เพ่อื ใหค้ วามช่วยเหลอื ผดู้ อ้ ย
โอกาสในท้องถิ่นที่หน่วยงานรับผดิ ชอบ
2) การสนับสนุนงบประมาณเพื่อการด�ำเนินงานป้องกันและดูแลการต้ังครรภ์ไม่พร้อม
ในแตล่ ะจงั หวดั จะมแี หลง่ สนบั สนนุ เงนิ ทนุ เพอื่ ดำ� เนนิ กจิ กรรมการพฒั นาทส่ี อดคลอ้ งกบั นโยบาย
ของจงั หวัด ปจั จุบนั การต้งั ครรภ์ไม่พรอ้ มในวัยร่นุ จัดเป็นปญั หาในระดบั ชาติ ทำ� ให้จงั หวดั ต่างๆ
ใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ การสนบั สนนุ งบประมาณในการดำ� เนนิ งาน การสนบั สนนุ ดงั กลา่ วมใี นทกุ ระดบั
ทง้ั ในระดบั จังหวดั อ�ำเภอ ตำ� บล และชมุ ชน ดงั นั้น เครือขา่ ยการทำ� งานดา้ นป้องกนั และดแู ลการ
ตั้งครรภ์ไม่พร้อมจึงควรวิเคราะห์แหล่งทุนในระดับจังหวัด โดยการท�ำความเข้าใจวัตถุประสงค์
ขอบเขตการสนับสนุนของแต่ละแหล่งทุน เพดานเงิน และกรอบเวลาในการเสนอขอทุนที่อาจ
แตกตา่ งไปจากแผนปงี บประมาณในสว่ นของทางราชการ พรอ้ มวางแผนกรอบเวลาการดำ� เนนิ งาน
ให้สอดคล้อง และเตรียมพร้อมการบริหารจัดการโครงการให้สอดคล้องรองรับกับเง่ือนไขของ
แหลง่ ทนุ ได้ ตวั อย่างแหลง่ ทุนไดแ้ ก่
• งบพัฒนาจังหวดั การเสนอแผนงานโครงการผ่านไปทางผวู้ ่าราชการจงั หวัด
• กองทุนหลักประกันสุขภาพ ขอสนับสนุนผ่านส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด หรือจาก
สำ� นกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพระดบั เขต เพอื่ ดำ� เนนิ งานในดา้ นสง่ เสรมิ สขุ ภาพและปอ้ งกนั
โรคได้ ซง่ึ รวมทง้ั ประเดน็ การตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ ม สำ� หรบั กองทนุ หลกั ประกนั สขุ ภาพตำ� บล
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตงั้ ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 95
การขอทุนโดยภาคประชาชนจะเข้าถึงได้ง่ายกว่า จึงควรสนับสนุนให้ภาคประชาชนใน
พ้นื ทด่ี ำ� เนินงาน
• กองทนุ พฒั นาบทบบาทพฒั นาสตรี การสนบั สนนุ ขน้ึ อยกู่ บั การเหน็ ความสำ� คญั ตอ่ ปญั หา
ท้องไมพ่ ร้อมของคณะกรรมการกองทุนฯ
• โครงการพัฒนาต่างๆ ของเทศบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เพ่ือสนับสนุน
ด�ำเนนิ งานโครงการในดา้ นนี้
• กองทุนคุ้มครองเด็ก และอน่ื ๆ
3) ผลกระทบของการดำ� เนนิ งานในทางบวก
จากประสบการณข์ องการจดั บรกิ ารเพอื่ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาทอ้ งไมพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ ง่ึ ได้
พบว่า การชี้แจงให้บุคลากรในโรงพยาบาล รวมทั้งเครือข่ายผู้ปฏิบัติงานท่ีเกี่ยวข้อง ได้เข้าใจ
ผลกระทบในทางบวกของบรกิ ารปรกึ ษาทางเลอื กทศ่ี นู ยพ์ ง่ึ ได้ ทไี่ ดช้ ว่ ยใหผ้ ทู้ รี่ บั บรกิ ารไดค้ ลคี่ ลาย
ปัญหาไปในทิศทางทีด่ ขี ้ึน ถงึ แมว้ ่าผลกระทบดงั กล่าวจะใชเ้ วลาในการพิสจู น์ เน่ืองจากผลนนั้ จะ
เกิดหลังจากที่เริ่มด�ำเนินงานไปแล้วกว่า 2-3 ปี แต่สามารถช้ีให้เห็นรูปธรรมของผลกระทบ
ในทางบวกของการดำ� เนนิ งานปรกึ ษาทางเลอื กทศ่ี นู ยพ์ งึ่ ได้ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ในภาพรวม ผลกระทบ
ในทางบวกทเี่ กดิ ข้นึ มีดังต่อไปนี้
1) ลดอตั ราการเจบ็ ปว่ ยของผเู้ ขา้ รบั การรกั ษาดว้ ยอาการตดิ เชอ้ื ในกระแสเลอื ดอนั เนอื่ งมา
จากการทำ� แท้งทีไ่ ม่ปลอดภยั หรอื ไมส่ มบรู ณ์
2) ลดปญั หาการท้ิงทารกหลังคลอดท่โี รงพยาบาล อันเนือ่ งมาจากผูห้ ญิงทคี่ ลอดบุตรไม่มี
ความพรอ้ มในการดูแลบตุ รในระยะยาว
3) ลดปัญหาความไม่สมบูรณ์ นำ�้ หนักแรกคลอดน้อย ภาวะการเจบ็ ปว่ ย และพิการของ
ทารกหลงั คลอดท่ีโรงพยาบาล
4) ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการรกั ษาอาการตดิ เชอ้ื ในกระแสเลอื ด รวมทงั้ ภาระคา่ ใชจ้ า่ ยในการดแู ล
ทารกหลังคลอดที่ผิดปกติ
5) ลดอัตราการตายของแมแ่ ละเดก็ หลงั คลอดบุตร
6) สง่ เสรมิ ใหส้ ขุ ภาพแม่และเดก็ ดขี ้ึน ทงั้ ในระหว่างการตัง้ ครรภแ์ ละคลอดบตุ ร
7) ลดปญั หาความรนุ แรงในครอบครวั และสงั คม รวมทงั้ ปญั หายาเสพตดิ และอาชญากรรม
อนั เนือ่ งมาจากการท่เี ด็กเติบโตในครอบครวั ทไี่ ม่พร้อมเล้ียงดู และมกั ถูกละเลยในการ
เลี้ยงดูหรอื ถกู กระทำ� ดว้ ยความรนุ แรง
8) ผลกระทบในทางบวกตอ่ คุณภาพชีวติ ของเดก็ ท่ีเป็นอนาคตของประเทศในระยะยาว
96 คมู่ ือการชว่ ยเหลือผหู้ ญิงตั้งครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศูนย์พ่งึ ได้
บคุ ลากรของศนู ยพ์ ง่ึ ได้ จงึ ควรใชฐ้ านขอ้ มลู บรกิ ารทม่ี อี ยแู่ ลว้ ในโรงพยาบาลใหเ้ ปน็ ประโยชน์
โดยการนำ� มาวเิ คราะหใ์ หเ้ หน็ แนวโนม้ ทดี่ ขี น้ึ อนั เนอื่ งมาจากผลของการใหบ้ รกิ ารปรกึ ษาทางเลอื ก
ที่ศนู ยพ์ ่ึงได้ โดยนำ� เสนอประกอบกับรายงานตา่ งๆ ที่มีอยแู่ ล้ว ร่วมกับ การนำ� เสนอในท่ีประชุม
ต่างๆ ภายในโรงพยาบาล หรือ การประชมุ เครือข่ายการท�ำงานในระดับอ�ำเภอ หรือ จงั หวัด เพื่อ
ใหบ้ ุคลากรตา่ งๆ ในโรงพยาบาล รวมท้งั เครือข่ายฯ เข้าใจ และร่วมมือร่วมใจในการทำ� งานให้
ความช่วยเหลือผู้หญงิ ทปี่ ระสบปัญหาทอ้ งไมพ่ ร้อมตามแนวทางของศนู ย์พึง่ ได้มากข้ึน
ตวั อยา่ งการวเิ คราะหก์ ารลดคา่ ใชจ้ า่ ย เพอ่ื เปรยี บเทยี บผลทไี่ ดจ้ ากการลงทนุ ปรกึ ษาทางเลอื ก
กับการรักษาอาการติดเช้ือในกระแสเลือดจากการท�ำแท้งท่ีไม่ปลอดภัยที่เป็นผลจากการไม่ได้มี
การชว่ ยเหลือตั้งแต่เน่ินๆ
การปรกึ ษาทางเลอื ก ผใู้ ชบ้ รกิ ารทป่ี ระสบปัญหาท้องไม่พรอ้ ม บริการทโ่ี รงพยาบาลใหค้ อื
การปรกึ ษาทางเลือก มตี ้นทนุ ผันแปรท่ีต้องใช้ในการรักษาคือ การอลั ตร้าซาวน์ และการยตุ กิ าร
ตั้งครรภ์ ส�ำหรบั อายุครรภ์ท่ีไม่เกนิ 12 สปั ดาห์ มีค่าใช้จา่ ยสูงสดุ รวมกนั ประมาณ 2,000 บาท
การรกั ษาการตดิ เชือ้ ในกระแสเลอื ด ผ้ปู ระสบปัญหาท้องไมพ่ ร้อม ไม่ไดร้ บั บรกิ ารปรกึ ษา
ทางเลอื ก จงึ หาทางออกด้วยการซอ้ื ยาจากอินเทอร์เนต็ หรือ ไปรับบรกิ ารทคี่ ลินิกท�ำแทง้ เถือ่ น
เขา้ รับการรักษาที่โรงพยาบาลด้วยอาการตกเลอื ด ตามสทิ ธิประกนั สุขภาพ มคี า่ บริการรกั ษาซึ่ง
เป็นต้นทุนแปรผันทโี่ รงพยาบาลตอ้ งจา่ ยประมาณ 25,000 บาท
ในรอบปงี บประมาณหนงึ่ ศนู ยพ์ ง่ึ ไดใ้ หบ้ รกิ ารปรกึ ษาทางเลอื กจำ� นวน 15 รายตอ่ เดอื น หรอื
คดิ เปน็ 150 รายตอ่ ปี จำ� นวนน้ี รอ้ ยละ 8026 ตดั สินใจยุตกิ ารต้งั ครรภ์ท่โี รงพยาบาล หรือคิดเปน็
120 รายตอ่ ปี ค่าใชจ้ า่ ยทใ่ี ช้ไปคือ 120 x 2,000 บาท = 240,000 บาทต่อปี
หากไม่มีการปรึกษาทางเลือกที่ศูนย์พึ่งได้ ผู้หญิงที่ตัดสินใจเลือกยุติการต้ังครรภ์ จ�ำนวน
120ราย (หรืออาจมากกว่าน้ี เนอ่ื งจากขาดข้อมูลทางเลอื กในด้านการตั้งครรภต์ ่อไป) มีแนวโน้ม
ที่จะไปท�ำแท้งไม่ปลอดภัย แม้ว่าจะไม่มีการศึกษารองรับว่ามีสัดส่วนเท่าไรที่เกิดการติดเชื้อใน
กระแสเลอื ด เพราะไมม่ ขี อ้ มูลนี้ในระบบรายงาน) แตห่ ากคิดเพียงหนึง่ ในสามของผ้ทู ีไ่ ปท�ำแท้ง
ไม่ปลอดภัย พบว่าโรงพยาบาลจะสูญเสียงบประมาณค่าบริการรักษาการติดเชื้อในกระแสเลือด
คอื (120/3) x 25,000 บาท = 1,000,000 หรอื หนง่ึ ลา้ นบาทตอ่ ปี
อาจกลา่ วไดว้ า่ การดำ� เนนิ งานนำ� รอ่ งการปรกึ ษาทางเลอื กทศี่ นู ยพ์ งึ่ ไดต้ ลอดระยะเวลาทผ่ี า่ น
มากว่า 7 ปี จนเกิดการสรุปประสบการณ์ และถอดบทเรียนมาเป็นคู่มือช่วยเหลือต้ังครรภ์
ไมพ่ รอ้ มทีศ่ ูนย์พ่ึงไดเ้ ล่มน้ี ไดเ้ ป็นที่ประจักษแ์ ล้ววา่ โรงพยาบาลทรี่ ิเร่มิ ด�ำเนนิ งาน มีพัฒนาการ
ของระบบการใหบ้ รกิ ารดแู ลในโรงพยาบาล ไดส้ รา้ งแนวรว่ มของบคุ ลากรทมี่ คี วามเขา้ ใจในประเดน็
ปญั หาท้องไม่พรอ้ ม และเครอื ขา่ ยการท�ำงานทีม่ คี วามเขม้ แขง็ มากข้นึ รวมทั้งได้เหน็ ผลกระทบ
ในทางบวกอย่างชัดเจน กล่าวคือ จ�ำนวนผู้เข้ารับการรักษาด้วยอาการติดเช้ือในกระแสเลือด
อันเน่ืองมาจากการท�ำแท้งท่ีไม่ปลอดภัยลดลงอย่างมีนัยส�ำคัญ ปัญหาการทิ้งทารกหลังคลอดท่ี
26 ค่าเฉลย่ี โดยประมาณของการด�ำเนนิ งานทผี่ ่านมาในโรงพยาบาลนำ� รอ่ ง 97
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้
โรงพยาบาลลดลง มีกลไกในระบบท่ที ำ� ใหส้ ขุ ภาพแมแ่ ละเด็กดีขน้ึ ท้ังในระหว่างการตง้ั ครรภแ์ ละ
คลอดบตุ ร
แม้ว่าผลกระทบในระยะยาวในด้านคุณภาพชีวิตของประชากร และการลดความรุนแรงใน
สงั คมยังยาวไกลเกินกว่าทจี่ ะเห็นผล แต่สงิ่ ที่เหน็ ไดช้ ัดเจนคอื บคุ ลากรของศูนยพ์ ่งึ ได้ เกดิ ความ
รสู้ กึ อมิ่ เอมและเบกิ บานใจ ในการปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ทส่ี ามารถชว่ ยคลค่ี ลายปญั หาใหก้ บั ผมู้ ารบั บรกิ าร
ได้อย่างเป็นรูปธรรม แม้ว่าจะยังพบอุปสรรคในการท�ำงานอยู่บ้าง แต่ก็รู้สึกว่าข้อจ�ำกัดน้ันยังมี
ทางออกเสมอ ซ่ึงคุณค่าทางจิตใจจากความส�ำเร็จของการปฏิบัติงานน้ีเอง ได้ส่งผลให้บุคลากร
เหลา่ นน้ั กลายเป็นนักกิจกรรมทางสขุ ภาพและสังคมท่ีตระหนกั ตอ่ การสรา้ งแนวรว่ มในประเดน็
ปัญหาท้องไม่พร้อม โดยรเิ ริม่ ขยายความคดิ ขยายแนวทางการท�ำงาน ประสบการณไ์ ปยังหน่วย
งานท่ีหลากหลาย เพอื่ ให้ประเด็นทอ้ งไม่พรอ้ มท่ีในอดตี เป็นเสมอื นหนึง่ ปญั หาทไ่ี รท้ างออก---ให้มี
ทางออกไดใ้ นปจั จุบัน
98 คมู่ อื การชว่ ยเหลือผหู้ ญิงตัง้ ครรภ์ไม่พรอ้ มของศูนย์พง่ึ ได้
บรรณานกุ รม
ภาษาไทย
กระทรวงพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย.์ ยทุ ธศาสตรป์ อ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาเดก็ และเยาวชนตง้ั ครรภ์
ไมพ่ ร้อม, 2553-2557
กนกวรรณ ธราวรรณ. บนั ทกึ ประสบการณผ์ หู้ ญงิ ทที่ อ้ งไมพ่ รอ้ ม. กรงุ เทพ : มลู นธิ สิ รา้ งความเขา้ ใจเรอื่ งสขุ ภาพ
ผ้หู ญงิ , 2545
กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ . ยทุ ธศาสตรป์ อ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาเดก็ และเยาวชนตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ ม. สไลด์
ประกอบค�ำบรรยาย สบื ค้นจาก rh.anamai.moph.go.th/all_file/meeting/15-16Feb/pm.ppt เมื่อ 3 กันยายน
2557.
เครือขา่ ยสนับสนุนทางเลือกของผหู้ ญงิ ทอ้ งไมพ่ รอ้ ม. ถงึ เวลา ตอ้ งเขา้ ใจ แกไ้ ข และดูแล. มลู นธิ ิแพธทเู ฮลท์
ร่วมกบั ส�ำนกั บรหิ ารหารการสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสขุ (พมิ พ์คร้งั ท่ี 5), 2557.
ชะนวนทอง ธนสกุ าญจน์ และคณะ. รายงานการประเมินผลโครงการกา้ วย่างอย่างเข้าใจ, องคก์ ารแพธประจำ�
ประเทศไทย, 2554
บุญฤทธิ์ สุขรัตน์. การตงั้ ครรภ์ในวยั ร่นุ : นโยบาย แนวทางการดำ� เนินงาน และการติดตามประเมินผล. พิมพ์
คร้งั ที่ 2 นนทบุร:ี กระทรวงสาธารณสขุ , 2557
ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย. เอกสารแผ่นพับ “การยุติการตั้งครรภ์ (การท�ำแท้ง). คณะ
อนุกรรมการประชาสัมพันธด์ า้ นสขุ ภาพสตรี, 2553
ธนพนั ธ์ ชบู ญุ . สทิ ธขิ องการทำ� แท้ง. สืบค้นจาก http://gotoknow.org/blog/writen-by-drpae/149602 เมอื่
12 กนั ยายน 2557.
ศนู ย์เฉพาะกจิ คุ้มครองและชว่ ยเหลอื เด็กนักเรยี น. มาตรการและแนวทางการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี นท่ีประสบ
ปัญหาการตัง้ ครรภใ์ นวยั เรยี น.สำ� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2557
สหทัยมูลนิธิ. เอกสารการขอรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม : ศูนย์อ�ำนวยการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม.กรมการ
พฒั นาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย,์ 2554
สทิ ธผิ ูป้ ่วย 10 ประการ. สืบคน้ จาก http://www.crhospital.org/crhospital/data_center/file/9%20(4)/สทิ ธิ
ผู้ป่วย.pdf เมื่อ 23 มนี าคม 2557
องคก์ ารแพธ. ภาพพลิก ใช้ชีวิตอย่างใสใ่ จ ก้าวตอ่ ไปอย่างเข้มแข็ง แนวทางการสอื่ สารกบั ผูห้ ญิงหลังยตุ ิการต้งั
ครรภ์ (Post-abortion Communication). องค์การแพธประจ�ำประเทศไทย และ โรงพยาบาลสมทุ รปราการ,
2553
องคก์ ารแพธ และคณะ. ทอ้ งไม่พรอ้ ม ตอ้ งมที างเลือก: บูรณาการปรึกษาทางเลอื กกบั ศูนยพ์ ึ่งได้ (OSCC) เพอ่ื
ช่วยเหลือผหู้ ญงิ ท้องไม่พรอ้ ม, 2553
องคก์ ารแพธ รว่ มกบั สำ� นกั บรหิ ารการสาธารณสขุ . ชวี ติ มสี ทิ ธเิ ลอื ก: บรกิ ารปรกึ ษาทางเลอื กทศ่ี นู ยพ์ ง่ึ ได้ เพอื่
ชว่ ยเหลือผู้หญิงในภาวะวกิ ฤตท้องไม่พร้อม. กระทรวงสาธารณสขุ , 2555
องคก์ ารยูนเิ ซฟประจ�ำประเทศไทย. ขอ้ มลู น่าสนใจเกี่ยวกบั คุณแมใ่ นประเทศไทย. สืบคน้ จาก http://www.
unicef.org/thailand/tha/media_19291.html เมือ่ 25 พฤษภาคม 2557.
ASTVผจู้ ดั การออนไลน์ 26 กันยายน 2557. สธ.ดนั ยุทธศาสตร์ถุงยางอนามยั แหง่ ชาติ ปี 58. สืบคน้ จาก
http://www.manager.co.th/Qol/ViewNews.aspx?NewsID=9570000110886 เมื่อ 29 กันยายน 2557.
คมู่ อื การชว่ ยเหลอื ผหู้ ญงิ ตง้ั ครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศนู ยพ์ งึ่ ได้ 99
ภาษาอังกฤษ
Alford S et al. Science and Success: Sex Education and Other Programs that Work to Prevent
Teen Pregnancy, HIV & Sexually Transmitted Infections. Washington, DC: Advocates for Youth,
2003, 2008.
EngenderHealth (2003). Counseling for Post abortion Client: A Training Curriculum. Automate
Graphic System. USA
Kirby D. “Sex and HIV Programs: Their Impact on Sexul Behaviors of Young People Throughout
the World.” Journal of Adolescent Health 40, 2007: page 206-217.
U Jaisamrarn et. al. “Making medical termination of pregnancy available and accessible: The pilot
introduction of the combine package of Mifepristone and Misoprostaol in Thai health service
system” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ The second International Congress on Women’s Health
and Unsafe Abortion, มกราคม 2556
World Health Organization. Safe Abortion: Technical and Policy Guidance for Health Systems
(second edition). World Health Organization, 2012
100 คู่มือการชว่ ยเหลือผูห้ ญงิ ต้ังครรภไ์ มพ่ รอ้ มของศูนย์พงึ่ ได้