วเิ ครำะหป์ ระเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมำธิกำรวสิ ำมญั พิจำรณำรำ่ งพระรำชบญั ญตั งิ บประมำณรำยจำ่ ยประจำปี
ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2560 – 2562
ดังนนั กระทรวงคมนำคมจึงควรรว่ มกนั วำงแผนกำรพฒั นำกำรคมนำคมทุกประเภทในภำพรวม
โดยเร่งพัฒนำโครงสร้ำงพืนฐำนทำงรำง ทำงนำ และทำงอำกำศที่มีอยู่ให้สำมำรถใช้งำนได้เต็ม
ประสิทธิภำพ และเร่งก่อสร้ำงโครงสร้ำงพืนฐำนโดยจัดลำดับควำมสำคัญ และพิจำรณำถึงควำมเชื่อมโยง
กำรคมนำคมแตล่ ะประเภท และพิจำรณำเปลี่ยนบทบำทของกำรคมนำคมทำงถนน ให้เป็นกำรเชื่อมต่อกับ
กำรคมนำคมขนส่งประเภทต่ำง ๆ ให้เกิดประสิทธิภำพสูงสุด ซ่ึงจะส่งผลให้ประชาชนทุกกลุ่มสามารถเข้าถึง
การขนส่งสาธารณะได้ทุกรูปแบบ อีกทั้งยังเป็นการลดต้นทุนการขนส่งสินค้าและบริการนาไปสู่การเพ่ิม
ความสามารถในการแข่งขนั ดา้ นการค้าและการลงทนุ ของประเทศได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร - 43 - กระทรวงคมนาคม
สำนักงบประมำณของรัฐสภำ
วเิ คราะห์ประเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณารา่ งพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
9. กระทรวงดิจทิ ลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คม
1. วิสยั ทัศน์ ผลกั ดนั การใชเ้ ทคโนโลยแี ละนวัตกรรมดจิ ิทัลเพือ่ เปล่ยี นผา่ นไปสู่ประเทศไทย 4.0
2. พนั ธกิจ 1. เสนอนโยบายแผนระดับชาติและกฎหมายว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ด้านสถิติ
ดา้ นอตุ ุนิยมวทิ ยา รวมทั้งดา้ นความม่ันคงปลอดภยั ทางไซเบอร์
2. พัฒนาและบรหิ ารจดั การโครงข่ายสื่อสารโทรคมนาคมเพ่อื การพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
3. ส่งเสริมสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมการวิจัยและพัฒนา รวมท้ังการพัฒนากําลังคน
ด้านดิจิทัลเพื่อเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศและยกระดับคณุ ภาพชวี ิตของประชาชน
4. ส่งเสริม สนับสนุนการนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการยกระดับการทํางานของหน่วยงานภาครัฐสู่
การเป็นรฐั บาลดิจทิ ลั
5. บริหารจัดการระบบสถิติของประเทศเพ่ือสนับสนุนการตัดสินใจ รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาการ
อตุ นุ ยิ มวทิ ยาใหม้ ีประสทิ ธิภาพทนั ต่อเหตุการณ์
6. กํากับดูแลและติดตามประเมินผลตามนโยบายแผนระดับชาติและกฎหมายว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัล
เพือ่ เศรษฐกจิ และสังคมด้านสถติ ิดา้ นอตุ ุนิยมวิทยารวมทง้ั ด้านความมน่ั คงปลอดภยั ทางไซเบอร์
3. สว่ นราชการ หน่วยงานในกากับ และกองทนุ หมนุ เวยี น
ส่วนราชการ หน่วยงานในกากับ/ รัฐวสิ าหกจิ ในกากับ กองทนุ และเงนิ ทนุ
องค์การมหาชน หมุนเวยี น
1. สาํ นักงานปลดั กระทรวงดจิ ทิ ลั 1. สํานกั งานสง่ เสรมิ 1. บริษัท ทีโอที จาํ กดั
เพ่ือเศรษฐกิจและสังคม เศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั (มหาชน)
2. กรมอุตนุ ิยมวทิ ยา 2. สาํ นกั งานพฒั นา 2. บรษิ ัท กสท
3. สํานักงานคณะกรรมการดจิ ิทัล ธรุ กรรมทาง โทรคมนาคม จํากดั
เพ่อื เศรษฐกิจและสงั คม อิเล็กทรอนกิ ส์ (มหาชน)
4. สํานักงานสถิตแิ ห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) 3. บรษิ ทั ไปรษณยี ์ไทย
จํากัด
4. แผนงานบูรณาการภายใตก้ ระทรวง หนว่ ยงานเจา้ ภาพ
แผนงานบรู ณาการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมดิจทิ ลั สาํ นกั งานคณะกรรมการดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและ
สงั คมแหง่ ชาติ กระทรวงดจิ ทิ ัลเพอื่ เศรษฐกิจและ
สงั คม
สรุปประเด็นขอ้ สังเกตทค่ี ณะกรรมาธกิ ารให้ความสาคญั อย่างตอ่ เน่ือง
สํานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
วิสามัญฯ ในส่วนภารกิจของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม 3 ปีย้อนหลัง (ระหว่างปีงบประมาณ
พ.ศ. 2560 - 2562) พบว่ามีประเด็นสําคัญเกี่ยวกับการดําเนินงานภายใต้ภารกิจของกระทรวงดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกจิ และสังคม ที่คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ใหค้ วามสาํ คัญอยา่ งต่อเน่อื ง ดังนี้
ประเด็นท่ี 1 สรปุ ประเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามัญฯ
1.1
ดา้ นการบริหารจัดการและงบประมาณ
ปี 2562
การบูรณาการงบประมาณ
สานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ควรตรวจสอบงบประมาณและกํากับดูแล
การกําหนดแผนปฏิบัติงาน ตลอดจนหน่วยงานรับผิดชอบท่ีโครงการอินเทอร์เน็ตหมู่บ้านให้ชัดเจน
เพื่อไมใ่ ห้ซํา้ ซอ้ นกบั หนว่ ยงานอ่ืน
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร กระทรวงดิจทิ ลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสังคม
- 44 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณารา่ งพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ปี 2561 สรุปประเด็นข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ
1.2 1) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ควรพิจารณางบประมาณด้านดิจิทัลในภาพรวมอย่าง
ปี 2562 เปน็ ระบบ โดยบูรณาการการดําเนินงานและงบประมาณด้านดิจิทัลของประเทศที่ซ้ําซ้อนกันอยู่จํานวน
ปี 2561 มากให้บรรลผุ ล
2) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ควรบูรณาการงบประมาณด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของ
ปี 2560 หน่วยงานในสังกัด รวมท้งั พจิ ารณาทบทวนงบประมาณในรายการที่อาจไม่เหมาะสมและการดําเนินงาน
ท่ีซ้ําซ้อนกับสํานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม
ประเดน็ ที่ 2 แห่งชาติ (กสทช.) และการดําเนินงานทซ่ี ํา้ ซ้อนกันในสว่ นราชการ
ปี 2562
ปี 2561 การบรหิ ารจดั การโครงการเพือ่ ประหยดั งบประมาณ
ประเด็นที่ 3 สานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ควรแสดงภาพรวมงบประมาณโครงการ
ปี 2562 อินเทอร์เน็ตหมู่บ้านให้ครบวงจร ต้ังแต่การจัดซื้อจัดจ้าง การดูแลบํารุงรักษา และการซ่อมแซม
ปี 2561 เพอื่ ปอ้ งกันการซาํ้ ซอ้ นของงบประมาณ
ประเดน็ ที่ 4
ปี 2562 กระทรวงดิจทิ ลั เพ่อื เศรษฐกิจและสังคม ควรพิจารณาปรับปรงุ หรือยกเลิกโครงการดา้ นดิจิทัล หรือ ICT
ปี 2561 ที่มีงบประมาณผูกพันมาแต่ในอดีต ซึ่งไม่ได้ใช้ประโยชน์หรือใช้ประโยชน์ไม่คุ้มค่าหรือเป็นผลจาก
พัฒนาการทางเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว เพื่อลดอุปสรรคในการพัฒนาประเทศและประหยัด
งบประมาณ
1) กรมอตุ นุ ยิ มวิทยา ควรจดั ซอ้ื อุปกรณโ์ ดยพจิ ารณาถงึ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยตรวจสอบและ
เปรียบเทียบราคาเพือ่ ให้ได้อุปกรณ์ทม่ี คี ณุ ภาพดใี นราคาท่ีสมเหตสุ มผล มีการดแู ลบาํ รุงรักษาทีเ่ หมาะสม
กบั ระยะเวลา
2) กรมอตุ นุ ิยมวทิ ยา ควรพฒั นาบคุ ลากรช่างของหน่วยงานให้สามารถดําเนินการซ่อมบํารุงรักษาได้เอง
แทนการจา้ งเหมาเพอื่ ประหยัดงบประมาณ
ดา้ นความมั่นคงปลอดภยั ทางไซเบอร์
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ควรกําหนดมาตรการลดความเส่ียงและรักษาความปลอดภัย
ด้านเทคโนโลยี และการผลักดันร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการรักษาความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์
พ.ศ. .... ให้แล้วเสร็จโดยเร็ว
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ควรติดต้ังระบบที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์
(Cyber Security) ของประเทศ และดําเนินการอยู่ในพื้นที่ของรัฐท่ีมีการรักษาความปลอดภัย
โดยเคร่งครัดเท่าน้ัน หน่วยงานของรัฐควรเร่งร้ือถอนออกจากพื้นท่ีของเอกชนโดยเร็ว เน่ืองจาก
ความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์มผี ลตอ่ ความมั่นคงของประเทศโดยตรงในปจั จุบัน
ด้านการบรหิ ารจัดการระบบสถติ ิ
สานักงานสถิติแห่งชาติ ควรร่วมกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการจัดเก็บและตรวจสอบข้อมูลทางสถิติ
ใหถ้ ูกต้อง นา่ เช่ือถอื มกี ารแก้ไขและปรับปรุงข้อมูลทางสถิติด้านต่าง ๆ ตามระยะเวลาท่ีเหมาะสม และ
เปิดเผยขอ้ มลู ใหป้ ระชาชนสามารถเข้าถงึ ได้อย่างสะดวก
สานักงานสถิติแห่งชาติ ควรมีการพัฒนาบุคลากรทางด้านสถิติของประเทศให้มีความเป็นมืออาชีพ
เพอ่ื ให้มกี ารจัดเกบ็ การวเิ คราะห์และสามารถสนับสนนุ ข้อมลู ตอ่ รฐั บาลได้อย่างถูกตอ้ ง
ด้านการปรับปรงุ กฎหมายเพือ่ สนบั สนนุ การพัฒนาเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ควรปรับปรุงกฎหมายที่ใช้บังคับให้มีความทันสมัยกับสภาพ
สงั คมท่เี ปลี่ยนแปลงไป เพอ่ื ไม่ใหเ้ สียโอกาสทางการแข่งขันของประเทศ
สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ควรนําเป้าหมายของรัฐบาลมาเป็นหลักในการกําหนดตัวช้ีวัด
ในการดาํ เนินงาน รวมถงึ การแก้ไขกฎระเบยี บภาครฐั ท่ีไมเ่ อ้ือตอ่ การลงทุนและการส่งเสริมอุตสาหกรรม
ดิจิทัล เพื่อใหส้ ามารถแกไ้ ขปัญหาไดอ้ ย่างถูกต้อง
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร กระทรวงดิจิทลั เพื่อเศรษฐกจิ และสงั คม
- 45 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ท้ังน้ี สานักงบประมาณของรัฐสภาไดว้ เิ คราะห์ข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารแล้วมคี วามเหน็ เพิ่มเติมดังน้ี
1. กระทรวงดจิ ิทัลเพื่อเศรษฐกจิ และสังคม ควรมกี ารประสานงานด้านข้อมูลกับกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เพ่ือเชื่อมโยงข้อมูลด้านการเกษตรให้กับเกษตรกร
ได้นําไปใช้ในทางการเกษตรเพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชน์แก่เกษตรกรอย่างเป็นรูปธรรม
2. สํานักงานสถิติแห่งชาติ ควรให้ความสําคัญ และเร่งพัฒนาบุคลากรเพื่อให้มีบุคลากรด้าน
วิทยาศาสตรส์ ถิติ (data science) เพ่ิมข้ึน
สานักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร กระทรวงดจิ ิทลั เพอื่ เศรษฐกิจและสงั คม
- 46 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณารา่ งพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
10. กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
1. วิสยั ทศั น์ อนรุ ักษแ์ ละใช้ประโยชนท์ รพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม เพอ่ื เปน็ รากฐานการพฒั นาอยา่ งสมดลุ
2. พันธกจิ 1. ขับเคล่ือนและผลักดันยุทธศาสตร์และมาตรการด้านการอนุรักษ์ คุ้มครอง ฟ้ืนฟูและควบคุมการใช้
ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งเหมาะสม
2. บูรณาการและสร้างความร่วมมือกับภาคีทุกภาคส่วนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ ม ทั้งในประเทศและระหวา่ งประเทศ
3. เสริมสร้างขดี ความสามารถเชิงรุกขององค์กร พัฒนาระบบ กลไก และฐานข้อมูลในการบริหารจัดการ
รวมทงั้ การปรบั ปรงุ และบงั คับใช้กฎหมายอยา่ งเหมาะสม
3. ส่วนราชการ หน่วยงานในกากับ และกองทุนหมนุ เวียน
สว่ นราชการ หนว่ ยงานในกากบั / รฐั วิสาหกิจในกากบั กองทนุ และเงินทุน
องค์การมหาชน หมนุ เวยี น
1. สานักงานปลัดกระทรวง 1.สานกั งานพฒั นา 1.เงินทุนหมนุ เวียนสถาน
ทรัพยากรธรรมชาติและ เศรษฐกจิ จากฐาน แสดงพันธุ์สัตวน์ ้าจงั หวดั
ส่ิงแวดล้อม ชวี ภาพ (องค์การ ภูเกต็
2. กรมควบคุมมลพิษ มหาชน) 2.กองทุนจัดการซากดึก
3.กรมทรพั ยากรทางทะเลและชายฝั่ง 2.องคก์ ารบรหิ ารจดั การ ดาบรรพ์
4. กรมทรพั ยากรธรณี ก๊าซเรอื นกระจก 3.กองทุนพัฒนานา้
5. กรมทรพั ยากรนา้ (องคก์ ารมหาชน) บาดาล
6. กรมทรัพยากรน้าบาดาล 4.กองทนุ สงิ่ แวดลอ้ ม
7. กรมป่าไม้
8. กรมสง่ เสริมคณุ ภาพส่งิ แวดล้อม
9.กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ า่ และ
พันธุพ์ ืช
10.สานักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
4. แผนงานบูรณาการภายใตก้ ระทรวง หน่วยงานเจ้าภาพ
แผนงานบรู ณาการพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ และการจัดการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
มลพิษและส่ิงแวดล้อม กรมควบคมุ มลพิษ
สรปุ ประเดน็ ขอ้ สงั เกตทีค่ ณะกรรมาธกิ ารให้ความสาคัญอย่างต่อเนอ่ื ง
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
วิสามัญฯ ในส่วนภารกิจของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3 ปีย้อนหลัง (ระหว่าง
ปีงบประมาณพ.ศ. 2560 - 2562) พบว่า มีประเด็นสาคัญเกี่ยวกับการดาเนินงานภายใต้ภารกิจของกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ท่คี ณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ฯ ให้ความสาคญั อยา่ งต่อเนือ่ ง ดังนี้
สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
- 47 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณารา่ งพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ประเด็นที่ 1 สรปุ ประเดน็ ข้อสงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ
1.1
ปี 2562 การขบั เคลอ่ื นและผลักดนั ยุทธศาสตร์ มาตรการดา้ นการอนุรกั ษ์ คุ้มครอง ฟืน้ ฟูและควบคุมการใช้
ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
ปี 2561
1.2 การวางแผนและการดาเนินการแก้ไขปญั หาสิง่ แวดล้อม
ปี 2562
ปี 2561 สานักงานปลัดกระทรวงฯ ควรกาหนดแนวทางการบูรณาการการวางแผน และการดาเนินงานแก้ไขปัญหา
การกัดเซาะชายฝั่ง เพ่ือแก้ไขปัญหาอย่างย่ังยืน การดาเนินงานภายใต้กฎหมายถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์กร
ปี 2560 ปกครองส่วนท้องถ่ิน ควรกาหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาแบบครบวงจรท้ังระบบ เช่น การแก้ไขปัญหาการ
ขาดแคลนบคุ ลากรและงบประมาณ การบริหารจัดการขยะ การบาบัดน้าเสีย การก่อสร้างโรงกาจัดขยะ โดย
ประเดน็ ท่ี 2 ประสานความร่วมมือกับกระทรวงมหาดไทย เพอื่ ลดผลกระทบต่อการท่องเท่ียวและวิถีชีวิตของประชาชนใน
ปี 2562 อนาคต
ปี 2561 สานกั งานปลัดกระทรวงฯ ควรแก้ไขปัญหาสงิ่ แวดล้อมโดยเนน้ การใช้งบประมาณในการป้องกันมากกว่าการ
ปี 2560 แก้ไขปัญหา เช่น การปลูกป่าชายเลน การทวงคืนผืนป่าและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ
การบาบัดนา้ เสีย เปน็ ต้น
การบริหารจดั การการใช้ประโยชน์ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติ
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ควรจัดเก็บข้อมูลสถิติจานวนนักท่องเท่ียว เพ่ือใช้วิเคราะห์และ
วางแผนการสง่ เสรมิ การท่องเท่ียว ประเมินศักยภาพพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติในการรองรับนักท่องเที่ยว รวมท้ัง
กาหนดมาตรการแกไ้ ขปญั หาสิ่งแวดล้อมในพนื้ ท่อี ุทยานแห่งชาติ โดยคานึงถึงบทบญั ญัติบทบญั ญัติ
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช ควรควบคุมจานวนนักท่องเที่ยวและระยะเวลาการท่องเท่ียวใน
อุทยานแห่งชาติ และจานวนเรือท่องเท่ียวท่ีเข้าไปในเขตอุทยานทางทะเลเน่ืองจากมีปัญหาเรื่องทุ่นผูกเรือ
ทาลายปะการังเสียหาย รวมทั้งประชาสัมพันธ์เร่ืองกฎระเบียบการเข้าใช้พ้ืนที่ให้นักท่องเท่ียวต่างชาติทราบ
โดยแปลเปน็ ภาษาต่างประเทศ เชน่ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน เปน็ ตน้
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช ต้องบริหารจัดการนักท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติ โดยกาหนด
จานวนนักท่องเท่ียวและระยะเวลาการเปิด – ปิด อุทยานให้เหมาะสมคานึงถึงความย่ังยืนของ
ทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศ รวมท้งั สรา้ งระบบการจัดเก็บรายได้ทมี่ ปี ระสิทธิภาพไม่ให้เกิดการร่ัวไหล
และพิจารณานาเงินรายได้มาพัฒนาปรบั ปรงุ แหล่งเทอ่ งเที่ยวให้เกิดความสมดลุ ตลอดจนส่งเสรมิ การวจิ ยั ดา้ น
ป่าไม้ สัตว์ป่า และพนั ธ์พุ ืช สนบั สนุนทุนการศึกษา เพอ่ื แก้ไขปญั หาขาดแคลนบคุ ลากรสาขาอนุกรมวิธาน
การปรบั ปรงุ และบงั คับใชก้ ฎหมาย
กรมควบคุมมลพิษ ควรบังคับใช้กฎหมายกับผู้ใช้น้าทุกภาคส่วนอย่างจริงจัง เพ่ือให้มีการบาบัดน้าเสียก่อน
ปล่อยลงสู่แหล่งน้าธรรมชาติ ตลอดจนส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีการคัดแยกขยะมูลฝอยและ
นาไปผลิตพลังงานก๊าซชีวภาพ ส่งเสริมการคัดเลือกภาคอุตสาหกรรมเป็นต้นแบบในการคัดแยกขยะ เพื่อ
ขยายผลสูช่ ุมชนบริเวณโรงงานอุตสาหกรรม รวมถงึ หลกั 3R ในพื้นทแี่ หล่งทอ่ งเที่ยวท่ีมีปัญหา
กรมควบคุมมลพิษ ควรเร่งดาเนินการแก้ไขข้อจากัดทางกฎหมายส่ิงแวดล้อม กรณีที่ไม่สามารถบังคับใช้
กฎหมายกับหน่วยงานอ่ืนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีมีกฎหมายเฉพาะ และติดตามการปฏิบัติของ
สถานประกอบการ เพอ่ื ใหก้ ฎหมายมีผลบงั คบั ใชไ้ ด้อย่างมีประสทิ ธิภาพ
กรมควบคมุ มลพิษตอ้ งเรง่ รัดการจัดทาร่างพระราชบัญญัติการบริหารจัดการขยะแห่งชาติ พ.ศ. .... เพ่ือให้มี
ผลบงั คับใชโ้ ดยเร็ว
สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
- 48 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเด็นขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่างพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ท้ังน้ี สานกั งบประมาณของรัฐสภาได้วเิ คราะหข์ อ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการแล้วมคี วามเหน็ เพม่ิ เตมิ ดังนี้
1. ข้อสังเกตบางประเด็นยังปรากฏในการพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจาปีอย่างต่อเนื่อง เช่น
การจดั ทา/แกไ้ ขกฎหมาย การควบคุมจานวนนักท่องเที่ยวและระยะเวลาการท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติ การ
จดทะเบียนคุ้มครองความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถ่ิน เป็นต้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้
ความสาคัญและเร่งดาเนินการอย่างจริงจัง หรือหากมีการดาเนินการแล้วควรมีการแสดงผลการดาเนินงานใน
เชิงประจกั ษ์ เพื่อเปน็ ข้อมลู ประกอบการพิจารณาของคณะกรรมาธิการฯ และผู้ท่เี กี่ยวขอ้ งต่อไป
2. การบูรณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐ กรณแี ก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าหรือประเด็นท่ีเร่งด่วน เช่น
การแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ (ฝุ่นละอองเกินค่ามาตรฐานและมีผลกระทบต่อสุขภาพ การดารงชีวิตของ
ประชาน) ควรเร่งดาเนินการภายในระยะเวลาจากัด และควรดาเนินการอย่างจริงจัง เพื่อลดผลกระทบและ
ความเสียหายอย่างเป็นวงกว้าง นอกจากน้ี การบริหารจัดการมลพิษและสิ่งแวดล้อมควรวางแผน และ
ดาเนนิ การโดยเน้นการแก้ไขในระยะยาว ไม่ใช่แก้ไขเฉพาะปัญหาเฉพาะหน้า และควรเน้นการป้องกันมากกว่า
การแกไ้ ข
3. ท่ีผ่านมา คณะกรรมาธิการฯ ได้มีข้อสังเกตเก่ียวกับการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย
ตวั ชี้วัดของกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มอย่างต่อเน่ือง ดังนั้น ในการจัดทางบประมาณปี 2563 จึง
ควรมีการทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ภารกิจ เป้าหมายการให้บริการระดับต่างๆ ตัวช้ีวัดให้สะท้อนถึงผลสัมฤทธ์ิ
ของหน่วยงานที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนพัฒนาอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมท้ัง ควรนาข้อสังเกตของ
คณะกรรมาธกิ ารฯ ในปที ี่ผ่านมา ไปใช้เป็นแนวทางในการจัดทางบประมาณด้วย ซ่ึงประเด็นดังกล่าวสอดคล้องกับ
หลักเกณฑ์และวธิ ีการยื่นคาขอต้ังงบประมาณประจาปีงบประมาณ 2563 ตามท่ีสานกั งบประมาณกาหนด
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม
- 49 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
11. กระทรวงพลงั งาน
1. วิสัยทศั น์ มุ่งบริหารพลังงานอย่างย่ังยืน ให้ประเทศชาติ และประชาชนชาวไทยมีพลังงานใช้อย่าง
พอเพยี ง
2. พนั ธกจิ 1. ศึกษา สารวจ วิเคราะห์ ประเมิน ศักยภาพ ติดตามสถานการณ์ประเมินผลและเป็นศูนย์
ขอ้ มูลพลงั งาน
2. กาหนดนโยบาย แผน และมาตรการดา้ นพลังงาน
3. จัดหาพลังงานและพลงั งานทดแทน
4. กาหนดมาตรฐาน กฎระเบียบ และกากบั ดแู ลควบคุมการดาเนนิ การดา้ นพลังงาน
5. วิจยั และพัฒนาดา้ นพลังงาน
6. ส่งเสรมิ สนับสนนุ การจัดหา พัฒนา และอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน
7. ถ่ายทอดเทคโนโลยี และพัฒนาบุคลากรดา้ นพลังงาน
8. ประสานความร่วมมือระหว่างประเทศด้านพลังงาน
3. ส่วนราชการ หน่วยงานในกากับ และกองทุนหมุนเวยี น
สว่ นราชการ หน่วยงานในกากบั / รฐั วิสาหกจิ ในกากับ กองทนุ และเงนิ ทุน
องคก์ ารมหาชน หมุนเวยี น
1. สานักงานปลัดกระทรวงพลงั งาน 1. สถาบันบรหิ าร
2. กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กองทุนพลังงาน
3. กรมธรุ กิจพลังงาน
4. กรมพฒั นาพลงั งานทดแทนและ
อนรุ กั ษ์พลงั งาน
5. สานักงานนโยบายและแผน
สรปุ ประเด็นขอ้ สังเกตที่คณะกรรมาธกิ ารให้ความสาคัญอย่างตอ่ เน่ือง
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
วิสามัญฯ ในส่วนภารกิจของกระทรวงพลังงาน 3 ปีย้อนหลัง (ระหว่าง ปีงบประมาณพ.ศ. 2560 - 2562)
พบวา่ มีประเด็นสาคัญเก่ยี วกับการดาเนนิ งานภายใต้ภารกจิ ของกระทรวงพลังงาน ที่คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
ใหค้ วามสาคญั อยา่ งตอ่ เน่ือง ดังน้ี
ประเด็นท่ี 1 สรปุ ประเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
ปี 2562
การศกึ ษา สารวจ วิเคราะห์ ประเมิน ศกั ยภาพ ติดตามสถานการณ์ประเมนิ ผลและเปน็ ศูนยข์ ้อมลู พลังงาน
ประเด็นท่ี 2 สถาบันบริหารกองทุนพลงั งาน (องค์การมหาชน) ควรศึกษาวิเคราะหแ์ นวโนม้ ของตลาดนา้ มันโลก เพือ่ วางแผน
ปี 2562 และตรยี มการรองรบั สถานการณ์ตา่ งๆ ที่อาจส่งผลกระทบตอ่ ความมนั่ คงดา้ นพลงั งานของประเทศ
การกาหนดนโยบาย แผน และมาตรการด้านพลงั งาน
1) แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาความม่ันคงพลังงาน ควรเชื่อมโยงการดาเนินงานด้านพลังงานจาก
กระทรวงไปสู่จังหวัดและท้องถ่ิน เพ่ือให้เป็นภาพรวมด้านพลังงานของประเทศ รวมถึงโครงการ
สานักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร - 50 - กระทรวงพลังงาน
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะห์ประเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ปี 2561 สรปุ ประเดน็ ข้อสงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั ฯ
ปี 2560
พระราชดาริดา้ นพลงั งานท่ีดาเนินงานประสบความสาเร็จไปพัฒนาต่อยอดและขยายผลสู่ชุมชน เพื่อให้
ประเดน็ ท่ี 3 ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองได้
ปี 2562 2) ควรกาหนดสดั ส่วนด้านการสง่ เสรมิ การพัฒนาและการใช้พลังงานทดแทนประเภทตา่ งๆ เชน่ พลงั งาน
ปี 2561
แสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน้า และพลังงานชีวะมวล โดยกาหนดแผนงานดาเนินงาน และ
ปี 2560 เปา้ หมายการลดการพึ่งพาการนาเข้าพลังงานจากต่างประเทศ เพื่อเป็นการรักษาเสถียรภาพและความ
มั่นคงด้านพลงั งานของประเทศ
ประเดน็ ที่ 4
ปี 2562 3) ควรกาหนดแนวทางแก้ไขปัญหาการต่อต้านของประชาชนในการก่อสร้างโรงไฟฟ้า โดยการสร้างการรับรู้
และทาความเข้าใจกับประชาชน ให้เกิดความม่ันใจว่าจะไม่เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และเตรียมแผนการ
ใชพ้ ลังงานไฟฟ้า เพื่อรองรบั การใช้ยานยนตไ์ ฟฟ้าและรถไฟฟา้ ความเร็วสูงท่จี ะเกิดขึ้นในอนาคต
4) สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน การลงทุนระหว่างประเทศควรคานึงถึงผลประโยชน์ของ
ประเทศเป็นสาคัญ โดยสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผน
ปฏริ ูปประเทศ แผนแม่บทดา้ นพลังงาน และการพฒั นาทเ่ี ป็นมิตรกบั สิ่งแวดลอ้ มอย่างยงั่ ยนื
สานักงานปลัดกระทรวงพลงั งาน ควรวางแผนสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานขยะหรือพลังงานชีวะมวล 4-5 ปี
โดยพจิ ารณาจากสภาพภมู ิประเทศและสภาพแวดล้อมของชมุ ชน แล้วมาดาเนนิ การจดั ทาเปน็ แผนแมบ่ ท
พรอ้ มท้ังสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจแกป่ ระชาชนเพื่อให้การตอ่ ตา้ นจากประชาชนนอ้ ยลง
สานักงานนโยบายและแผนพลังงาน ควรเตรยี มการและกาหนดแนวทาง ในการสง่ เสรมิ ภาคเอกชนและ
หน่วยงานรัฐวิสาหกิจดาเนินการติดตั้งสถานีบริการบรรจุไฟฟ้าให้ชัดเจน เพ่ือรองรับยานยนต์ท่ีใช้
พลงั งานไฟฟา้ ซงึ่ มีแนวโน้มเพ่ิมมากขนึ้
จดั หาพลังงานและพลังงานทดแทน
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ควรส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยใหม่ สะอาด
และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยสร้างจิตสานึกการอนุรักษ์พลังงานให้ทุกภาคส่วน และร่วมมือกับ
ภาคเอกชนสรา้ งเครอื ขา่ ยผปู้ ระกอบการท่ีผลิตสิ้นคา้ และบรกิ ารรุน่ ใหมร่ วมท้ังสนับสนุนการสรา้ งโรงงาน
ไฟฟา้ พลงั งานขยะ เพื่อช่วยลดปัญหาขยะล้นเมอื ง
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ควรสนับสนุนพลังงานทางเลือก เช่น พลังงาน
แสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานชีวะมวล และ พลังงานน้า ในพื้นท่ีไฟฟ้าเข้าไม่ถึง สนับสนุน
งบประมาณด้านวิจัยและพัฒนาให้มากขึ้น ศึกษาพลังงานทางเลือกใดคุ้มค่ามากที่สุด และควร
ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนและเอกชนทราบเพ่ือสามารถวางแผนการผลิตให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
รวมถงึ กาหนดราคาต่อหน่วยใหเ้ หมาะสม
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ต้องกาหนดนโยบายและ วางแผนการส่งเสริม
พลงั งานทดแทนจากปาลม์ น้ามนั ใหช้ ัดเจน โดยประสานความร่วมมือกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ใน
การผลิตน้ามันไบโอดีเซลที่มีส่วนผสมจากน้ามันปาล์ม เพ่ือไม่ให้ส่งผลกระทบ กับการใช้พื้นท่ีปลูกพืช
อาหาร และควรกาหนดแนวทางปฏบิ ัติ และข้ันตอนที่ชัดเจนในการพิจารณาอนุมัติโครงการเพ่ือส่งเสริม
ภาคเอกชนให้เป็นผู้สร้างและผลิตพลังงานทดแทน รวมถึงการพัฒนาพลังงานชุมชน เช่น พลังงาน
แสงอาทิตย์ พลังงานชีวมวล พลังงานจากขยะ โดยดาเนินงานในเชิงรุก อานวยความสะดวก สนับสนุน
แหล่งเงินกู้ ส่งเสริมพื้นท่ีท่ีมีความพร้อม มีศักยภาพและประชาชนให้การสนับสนุนเป็นลาดับแรก ทั้งนี้
ควรดาเนินการให้ครบวงจรทง้ั การผลิต และการซื้อขายเพ่ือใหเ้ กดิ ระบบเศรษฐกิจที่ย่ังยืน ตลอดจนเร่งรัดให้มี
การถา่ ยโอนโรงไฟฟ้าชุมชน ใหอ้ งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินดาเนินการ เพื่อลดคา่ ใช้จ่ายในการดแู ลรักษา
การกาหนดมาตรฐาน กฎระเบยี บ และกากับดแู ลควบคมุ การดาเนินการด้านพลังงาน
กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ ควรมีการเผา้ ระวงั ตรวจสอบ และปอ้ งกันปญั หาการร่ัวไหลของน้ามันปิโตรเลียมลงสู่
ทะเล เนอื่ งจากส่งผลกระทบตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม และเป็นสาเหตุการปนเป้ือนสารปรอทในสัตว์ทะเลท่ีนามาบริโภค
สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร - 51 - กระทรวงพลงั งาน
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ประเด็นที่ 5 สรุปประเด็นข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ฯ
ปี 2561
ท้ังนี้ ควรรายงานความคืบหน้าการดาเนินงานให้ประชาชนรับทราบ และสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการ
ประเด็นท่ี 6 ป้องกันปญั หาด้านสง่ิ แวดล้อมเพือ่ พร้อมความโปรง่ ใสและเพิม่ ความเช่ือม่นั ให้กับประชาชน
ปี 2562
วจิ ัยและพฒั นาดา้ นพลงั งาน
สานกั งานปลดั กระทรวงพลังงานควรศกึ ษาวิจัยถึงผลกระทบจากการส่งเสริมการใช้รถไฟฟ้าในประเทศ
ซ่งึ มีความเกี่ยวข้องหลายหน่วยงาน เช่น กรมสรรพสามิต หากผลิตรถยนต์ไฟฟ้ามากขึ้นจะทาให้รายได้
ของประเทศสว่ นหนึง่ หายไป
การสง่ เสรมิ สนบั สนุนการจดั หา พัฒนา และอนรุ กั ษพ์ ลังงาน
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ควรส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัยใหม่ สะอาด
และเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม โดยสร้างจิตสานึกการอนุรักษ์พลังงานให้ทุกภาคส่วน และร่วมมือกับ
ภาคเอกชนสร้างเครือข่ายผปู้ ระกอบการทผี่ ลติ สนิ คา้ และบรกิ ารร่นุ ใหมร่ วมท้ังสนบั สนุนการสร้างโรงงาน
ไฟฟ้า เพื่อช่วยลดปัญหาขยะล้นเมอื ง
ทง้ั น้ี สานักงบประมาณของรัฐสภาไดว้ ิเคราะหข์ ้อสังเกตของคณะกรรมาธิการแล้วมีความเหน็ เพมิ่ เติมดังนี้
กระทรวงพลังงานเป็นหน่วยงานท่ีมีเงินนอกงบประมาณสะสมอยู่เป็นจานวนมาก ควรนาเงินนอก
งบประมาณเหลา่ นีม้ าให้ในการดาเนนิ งานแทนการขอรบั จดั สรรงบประมาณเพ่ือเปน็ การประหยัดงบประมาณแผน่ ดิน
สานกั งานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร - 52 - กระทรวงพลังงาน
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเด็นข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
12. กระทรวงพาณิชย์
1. วิสัยทศั น์ เศรษฐกจิ การคา้ เติบโตจากฐานรากสเู่ ศรษฐกจิ ยุคใหม่ภายในปี 2564
2. พนั ธกิจ
1. ยกระดับความสามารถในการแข่งขันทางการค้า โดยส่งเสริมการสร้างมูลค่าสินค้าด้วยนวัตกรรม
เทคโนโลยี และเศรษฐกิจภาคการค้าและบรกิ ารให้กบั ผ้ปู ระกอบการในทุกระดับอยา่ งครบวงจร
2. พฒั นาเศรษฐกิจการคา้ ภายในประเทศใหม้ คี วามเขม้ แข็ง โดยการส่งเสริมการสร้างอาชีพ พัฒนาธุรกิจ
ท้องถ่ิน และขยายช่องทางการตลาดใหผ้ ้ปู ระกอบการชุมชนและเกษตรกร
3.พัฒนาระบบการค้าให้มีความเป็นธรรมและมีมาตรฐาน สนับสนุนการประกอบธุรกิจด้วยโครงสร้าง
พื้นฐานทางการค้าทท่ี ันสมัย มปี ระสทิ ธิภาพ และสอดคล้องกับระบบสากล
4.มุง่ สง่ เสรมิ การค้า การประกอบธุรกิจระหว่างประเทศ และการเช่ือมโยงกับระบบการค้าโลก โดยสร้าง
การยอมรบั ในสนิ คา้ และบรกิ ารของไทย พรอ้ มกบั ขยายความร่วมมอื ระหว่างประเทศในทกุ รูปแบบ
3. สว่ นราชการ หน่วยงานในกากับ และกองทุนหมุนเวยี น
ส่วนราชการ หน่วยงานในกากับ/ รฐั วิสาหกจิ ในกากบั กองทุนและเงนิ ทนุ
องค์การมหาชน หมุนเวยี น
1. สานักงานปลดั กระทรวง 1. ศูนย์ส่งเสรมิ ศลิ ปาชพี 1.องคก์ ารคลังสินค้า
พาณิชย์ ระหว่างประเทศ (องค์การ
2. กรมการคา้ ต่างประเทศ มหาชน)
3. กรมการค้าภายใน 2. สถาบนั วจิ ัยและ
4. กรมเจรจาการคา้ ระหวา่ ง พฒั นาอัญมณีและ
ประเทศ เครอื่ งประดบั แห่งชาติ
5. กรมทรัพยส์ นิ ทางปัญญา (องค์การมหาชน)
6. กรมพฒั นาธุรกจิ การคา้
7. กรมสง่ เสรมิ การคา้ ระหวา่ ง
ประเทศ
8. สานักงานนโยบายและ
ยทุ ธศาสตร์การคา้
4. แผนงานบรู ณาการภายใตก้ ระทรวง หนว่ ยงานเจา้ ภาพ
- -
สรุปประเดน็ ขอ้ สงั เกตที่คณะกรรมาธิการใหค้ วามสาคัญอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
วิสามัญฯ ในส่วนภารกจิ ของกระทรวงพาณชิ ย์ 3 ปยี อ้ นหลงั (ระหว่าง ปงี บประมาณพ.ศ. 2560 - 2562) พบว่า
มีประเด็นสาคัญเกี่ยวกับการดาเนินงานภายใต้ภารกิจของกระทรวงพาณิชย์ ที่คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ให้
ความสาคัญอย่างตอ่ เน่ือง ดงั นี้
กระทรวงพาณิชย์
สานักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร - 53 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณาร่างพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ประเด็นท่ี 1 สรปุ ประเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ
1.1
ปี 2562 ภารกิจดา้ นการค้า
ปี 2561
การจัดทาข้อมลู /วางแผน/แนวทางการคา้ /
ปี 2560
ควรมแี นวทางในการสร้างความเข้มแข็งให้กับเศรษฐกิจท้องถ่ิน สนับสนุนให้ท้องถ่ินสร้างตราสินค้าของ
1.2 ตนเอง ท้ังนี้ ควรจัดอบรมสมั มนาใหก้ บั ภาคประชาสงั คมในพื้นที่ในการเตรียมความพร้อมในการปรับตัว
ปี 2562 ตามภาวะเศรษฐกิจท่เี ปลี่ยนแปลง
1) สานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ ควรจัดทาสถิติข้อมูลเก่ียวกับสินค้าการเกษตรและเผยแพร่ทาง
เว็บไซต์ โดยเรง่ ดาเนนิ การพัฒนาฐานข้อมลู ใหส้ ามารถเชือ่ มโยงกนั ในระดบั กระทรวง สร้างแอพพลิเคช่ัน
ในการเขา้ ถึงข้อมูล เปิดให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยง่ายเพ่ืออานวยความสะดวกทางการค้า
ทัง้ ผ้ผู ลิตและผู้ประกอบการใช้สาหรับการวางแผนดา้ นเพาะปลกู และด้านการตลาด รวมถึงหน่วยงานทั้ง
ภาครัฐและเอกชนสามารถนาข้อมูลนี้ไปใช้ประโยชน์สาหรับการวางแผนในส่วนที่เกี่ยวข้อง และควร
ศึกษาแนวทางในการกาหนดปริมาณการผลิตและปริมาณความต้องการให้มีความสมดุลกัน มีการ
รายงานภาวะทางการตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศรวมถึงข้อมูลการนาเข้าสินค้าการเกษตรจาก
ต่างประเทศ เพ่ือให้ผผู้ ลติ หรือผู้ประกอบการสามารถวางแผนและปรบั ตวั ได้
2) สานกั งานนโยบายและยุทธศาสตร์การคา้ ควรทาหนา้ ทีเ่ ปน็ ศูนยก์ ลางข้อมูลในการประสานงานและ
เชื่อมโยงข้อมูลจากทุกหน่วยงานภายในกระทรวง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติในเร่ืองข้อมูลทางเศรษฐกิจ การค้าเชิงลึก รวมท้ังเช่ือมโยงข้อมูลกับทูตพาณิชย์ใน
ต่างประเทศ เพื่อท่ีจะสามารถนาข้อมูลด้านการพาณิชย์ไปวางแผนกาหนดเป็นนโยบายแนวทางในการ
พฒั นาการค้าของประเทศตอ่ ไป
1) สานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ ต้องกาหนดภาพรวมของเป้าหมายการค้า ภายในประเทศและ
ภายนอกประเทศให้มคี วามชัดเจน และกาหนดแผนงาน วิธีการดาเนนิ งานเพือ่ ใหบ้ รรลุเป้าหมายดงั กล่าว
รวมทั้งมีการกาหนดยุทธศาสตร์ที่ตอบสนองต่อนโยบายของรัฐบาลในการก้าวไปสู่ ไทยแลนด์ ๔.๐ ซ่ึง
อาศัยการขบั เคลื่อนโดยนวตั กรรม และสร้างมาตรฐานท่ีสอดคล้องกับมาตรฐาน ของศูนย์สหประชาชาติ
เพื่อการอานวยความสะดวกด้านการค้าและธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (United Nations Centre for
Trade Facilitation and Electronic Business : UN/CEFACT)
2) การส่งเสริมการตลาดภายในประเทศและตลาดภายนอกประเทศ ต้องศึกษา ความต้องการบริโภค
สินคา้ ทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ และจัดทาเป็นฐานข้อมูลเพ่ือให้หน่วยงาน ด้านการผลิตใช้ในการ
วางแผนการผลติ และมกี ารพยากรณ์ถึงความตอ้ งการภายในประเทศและตลาดโลกในระยะ 5 ปขี ้างหน้า
เพือ่ ใหท้ ราบถงึ แนวโนม้ ในการบรโิ ภคสินคา้ และสามารถวางแผนการผลิต ได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก
ยง่ิ ขึ้น ส่งผลให้ราคาสนิ คา้ เป็นไปตามกลไกตลาด รวมทง้ั มีการบูรณาการฐานข้อมูลระหว่างหน่วยงานใน
กระทรวงและกระทรวงอื่นที่เก่ียวข้อง และประสานงานกับทุกกระทรวง ที่เก่ียวข้องเพ่ือร่วมกันทางาน
เปน็ ทีมไทยแลนด์อยา่ งแทจ้ ริง
3) สานักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า ต้องบูรณาการฐานข้อมูลของหน่วยงานในกระทรวง
พาณิชย์ที่กระจายอยู่มารวมไว้ในแหล่งเดียวกัน เพ่ือลดภาระงบประมาณ โดยสานักงานนโยบายและ
ยุทธศาสตร์การคา้ เป็นศูนยก์ ลางระบบฐานขอ้ มูลเศรษฐกิจการค้า เพื่อให้หน่วยงานในกระทรวงพาณิชย์
สามารถนาข้อมูลเหล่าน้ีไปใช้ประโยชน์ ทั้งนี้ การเก็บข้อมูลบางประเภท อาจขอความร่วมมือจาก
สานักงานสถติ แิ หง่ ชาติแทนการดาเนินการเอง
การคา้ ต่างประเทศ
1) กรมเจรจาการค้าระหวา่ งประเทศ ควรศกึ ษารายละเอียดเงือ่ นไขข้อตกลงเขตการค้าเสรี(FTA) กบั
ประเทศคู่คา้ ติดตามผลจากการขอ้ ตกลง FTA และควรหาแนวทางช่วยเหลือผูป้ ระกอบการ โดยจดั ทา
ขอ้ มลู ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั อปุ สรรคท่ีผูค้ า้ ตอ้ งเผชิญ รวมท้ังแนวทางในการอานวยความสะดวกดา้ นอน่ื ๆเพือ่ ให้
กระทรวงพาณชิ ย์
สานกั งานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร - 54 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ปี 2561 สรุปประเดน็ ข้อสงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
ปี 2560
ผู้ค้าสามารถทาการค้ากับประเทศท่ีมีขอ้ ตกลง FTA ไดโ้ ดยสะดวก
1.4 2) กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ควรศึกษากฎเกณฑ์ต่างๆเกี่ยวกับอัตราภาษีของต่างประเทศ
ปี 2562 เพื่อจัดทาแนวทางในการพัฒนา เพื่อจัดทาแนวทางในการพัฒนาผู้ประกอบการไทยให้ประสบ
ประเด็นที่ 2 ความสาเรจ็ ในตลาดต่างประเทศ โดยเฉพาะแนวทางในการสนับสนุนองค์ความรู้และงบประมาณให้กับ
2.1
ปี 2562 การพัฒนาพาณิชย์อเิ ลคทรอนิกส์ (E-Commerce)
ปี 2561 กรมสง่ เสริมการค้าระหว่างประเทศ ควรพัฒนา www.thaitrade.comให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
เพื่อขยายผลไปสู่ระดับภูมิภาคและระดับสากล กาหนดแนวทางที่จะทาให้การส่งออกของประเทศไทย
สามารถพ่ึงตนเองได้ มีมาตรการป้องกันผู้ประกอบการต่างชาติท่ีพยายามดึงส่วนแบ่งการตลาดจาก
ผู้ประกอบการไทย รวมทั้งมีการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมอัญมณีท้ังในประเทศและต่างประเทศให้มากข้ึน
เพือ่ ให้เป็นศูนยก์ ลางการคา้ อญั มณีและเครื่องประดับของภมู ิภาค
1) กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ควรติดตามผลการเจรจาการค้าเร่ืองสาคัญ เพ่ือประเมินผล
กระทบท่ีอาจจะเกิดขึ้นกับการค้าของประเทศไทย และในการเจรจาการค้าควรให้ประเทศต่าง ๆ
พจิ ารณาผอ่ นปรนขอ้ ตกลงเชน่ เดียวกบั ประเทศไทยด้วย
2) กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ควรเพ่ิมช่องทางการขายสินค้าเพื่อให้ การส่งสินค้าไป
ต่างประเทศมีช่องทางท่ีหลากหลายขึ้น สาหรับการจัดงานแสดงสินค้าบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
(www.thaitradefair.com) ควรศึกษาเว็บไซต์ของต่างประเทศท่ีประสบความสาเร็จ ซึ่งสามารถ
สั่งซื้อสนิ คา้ ออนไลน์ทม่ี รี าคาถูก โดยสร้างเครอื ข่ายสนบั สนนุ การดาเนนิ งานใหม้ ากข้นึ และมหี น่วยงานที่
เป็นตัวกลางในการกระจายสินค้า รวมทั้งการจัดงานแสดงสินค้า ควรส่งเสริมผู้ประกอบการรายใหม่
มากกว่าทีจ่ ะสง่ เสริมผ้ปู ระกอบการรายเดิมทีม่ คี วามเขม้ แข็งอยู่แลว้ และใหผ้ ปู้ ระกอบการรว่ มรับผิดชอบ
คา่ ใชจ้ ่ายต่าง ๆ เพอ่ื ลดภาระคา่ ใชจ้ า่ ยของภาครฐั
การแก้ปญั หาราคาสนิ คา้ เกษตรตกต่า
กรมการค้าภายใน ควรร่วมมือกับหน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้องอย่างเป็นรูปธรรมในการแก้ไขปัญหาราคา
สนิ ค้าเกษตรตกตา่ เชน่ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ใน
การรักษาเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตร โดยการตรวจสอบราคาสินค้าเกษตรทั้งตลาดในประเทศและ
ต่างประเทศ วเิ คราะห์และคาดการณแ์ นวโน้มราคาสนิ คา้ เกษตรเพ่ือวางแผนการผลติ ในระดบั ท่เี หมาะสม
ปอ้ งกันปญั หาราคาสนิ ค้าเกษตรตกต่า เน่ืองจากผลผลติ ลน้ ตลาด
ภารกจิ ด้านการจดทะเบยี น/สิทธบิ ัตร
การจดสิทธิบตั ร
กรมทรัพย์สินทางปัญญา ควรเร่งรัดการดาเนินงานเกี่ยวกับคาขอจดทะเบียนท่ีมีความจาเป็นเร่งด่วน
และสอดคล้องกับนโยบายสาคัญของรัฐบาล และพิจารณาปรับอัตราค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน
สิทธิบัตรของประเทศไทย เนอ่ื งจากค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธบิ ตั รของประเทศไทยมอี ตั ราตา่ กวา่
ต่างประเทศ ชาวต่างชาติจึงขอจดทะเบียนในประเทศไทยเป็นจานวนมาก ในทางกลับกันผู้ขอจด
ทะเบยี นชาวไทยไปจดทะเบียนในตา่ งประเทศน้อยเพราะค่าธรรมเนียมโดยรวมสูง จึงเข้าลักษณะต้องใช้
งบประมาณเพ่ือรกั ษาปกปอ้ งทรพั ยส์ ินทางปัญญาใหผ้ ้จู ดต่างชาตมิ ากทาใหป้ ระเทศไทยเสียผลประโยชน์
ทางการคา้ จึงควรนาคา่ ธรรมเนยี มส่วนหนงึ่ จัดตั้งเป็นกองทุนเพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบการไทยในการไป
จดทะเบียนสิทธบิ ัตรในตา่ งประเทศ
กรมทรัพย์สินทางปัญญา ควรเร่งรัดการจดสิทธิบัตรทรัพย์สินทางปัญญา ให้แล้วเสร็จโดยเร็ว
ต้ังเป้าหมายระยะเวลาในการจดสิทธิบัตรในประเทศว่าสามารถลดระยะเวลาลงได้ร้อยละเท่าใด มีการ
ปรับปรงุ กระบวนการทางาน ทบทวนวา่ กิจกรรมใดที่สามารถจ้างเหมาได้บ้าง มีการนาเทคโนโลยีเข้ามา
กระทรวงพาณิชย์
สานกั งานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร - 55 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ปี 2560 สรปุ ประเดน็ ข้อสงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ
2.2 ประยุกตใ์ ช้ เพื่อลดขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน รวมทั้งดาเนินการส่งเสริมทรัพย์สินทางปัญญาของภูมิปัญญา
ปี 2562 ไทย และปกปอ้ งสิทธิบัตรของไทยในตา่ งประเทศอย่างจริงจงั
ปี 2561 กรมทรัพย์สินทางปัญญา ต้องปรับปรุงระบบจดทะเบียนให้รวดเร็วและทันสมัย โดยนาเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในการบรหิ ารจดั การอยา่ งเป็นระบบ เพ่ือลดระยะเวลา การทางาน และศึกษาระบบจด
ปี 2560 ทะเบียนของต่างประเทศเพ่ือนามาประยุกต์ใช้กับประเทศไทย เพราะหากดาเนินงานได้เร็วจะส่งผลต่อ
เศรษฐกจิ ของประเทศอย่างมาก รวมทั้งสง่ เสรมิ การใช้ทรพั ย์สินทางปญั ญา ให้เป็นหลักประกันทางธุรกิจ
ประเดน็ ที่ 3 และเรง่ พฒั นาบคุ ลากรใหม้ คี วามรู้ในการประเมนิ ทรพั ย์สินให้มากข้ึน
3.1
ปี 2562 การจดทะเบียนการคา้
ปี 2561
กรมพัฒนาธุรกิจทางการค้า ควรส่งเสริมการจดทะเบียนผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-
Commerce) ให้มากข้ึน โดยพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือช่วยให้การจดทะเบียนมีความ
สะดวกและรวดเร็วข้ึน และเช่ือมโยงฐานข้อมูลกับหน่วยงานที่มีภารกิจด้านการจดทะเบียนต่างๆด้วย
เพ่ือตรวจสอบว่าธุรกิจนั้นๆ มีกฎหมายอ่ืนกากับอยู่หรือไม่ รวมทั้งควรวิเคราะห์ข้อมูลการจดทะเบียน
ของธรุ กิจ Startup ทมี่ มี ากข้ึนในปัจจุบัน ซึ่งจะเปน็ ประโยชน์ต่อการดาเนินการตามนโยบายของรัฐบาล
ในการส่งเสรมิ ธรุ กจิ Startup ได้
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ควรกาหนดแนวทางแก้ปัญหาความล่าช้าในการจดทะเบียนการค้า โดยเพิ่ม
จานวนบุคลากรควบคู่ไปกับการพัฒนาองค์ความรู้ และจัดทาแนวทางปฏิบัติงานให้แก่บุคลากรท้ังใน
ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค รวมท้ังเผยแพร่ข้อมูลผลการพิจารณาขอจดทะเบียนของบริษัทต่าง ๆ ทาง
เว็บไซต์ ปรับปรุงระบบการให้บริการข้อมูลธุรกิจ โดยเช่ือมโยงข้อมูลและระบบท่ีมีอยู่จานวนมากและ
กระจายตามหน่วยงานต่าง ๆ ให้สามารถเข้าถึงได้จากจุดเดียว เพ่ืออานวยความสะดวกแก่ประชาชน
ตลอดจนมีการตรวจสอบความถูกต้องในการขอจดทะเบียนของบรษิ ัทต่าง ๆ มมี าตรการทเ่ี ขม้ งวดในการ
กากับดแู ลไม่ให้ตา่ งชาติเข้ามาถือหนุ้ แทนคนไทย
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ต้องทบทวนกระบวนการจดทะเบียนให้รวดเร็วขึ้น และกาหนดเง่ือนไขในการ
จดทะเบียนอย่างเข้มงวด เช่น หุ้นส่วนทุกคนต้องแสดงบัตรประจาตัวประชาชนในการขอจัดตั้งบริษัท
เพื่อป้องกันการใช้บัตรประจาตัวประชาชนปลอม นอกจากนั้นในการส่งเสริม ด้านการตลาด ซึ่งมีการ
ดาเนินงานท้งั กรมการคา้ ภายในและกรมพฒั นาธรุ กิจการคา้ ควรมีการบูรณาการ การดาเนินงานภายใน
กระทรวงให้ชัดเจน รวมทง้ั กาหนดแนวทางแกไ้ ขปญั หาทเ่ี กิดขึ้นจากการใช้กฎหมายว่าด้วยการประกอบ
ธุรกิจของคนต่างด้าว และธรุ กิจบญั ชที า้ ยพระราชบัญญัตกิ ารประกอบธุรกจิ ของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๔๒
ภารกิจด้านการให้บริการ
คลังสนิ คา้
องค์การคลังสินค้า การปรับเปลี่ยนจากการเป็นผู้ให้เช่าพ้ืนท่ีเป็นผู้ให้บริการคลังสินค้า ควรให้
ผู้เชี่ยวชาญเข้ามาบริหารจัดการ เพื่อให้การจัดเก็บและระบายสินค้าเป็นระบบและรวดเร็ว และควรมี
แผนรองรบั ปญั หาการเช่าคลังสินค้าลดลง เนื่องจากปัจจุบันผู้ผลิตลดต้นทุนการฝากคลังสินค้า โดยการ
สง่ สนิ คา้ ถงึ ท่าเรือโดยตรง
องค์การคลังสินค้า ควรหาแนวทางแก้ไขการบริหารงานภายในองค์กรให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น มี
มาตรการและผู้รับผิดชอบในการป้องกันสินค้าสูญหาย การจัดการสินค้าเส่ือมสภาพ มีการบันทึกแสดง
วันเข้าออกของสินค้าที่ชัดเจน และควรให้เอกชนเข้ามาร่วมดาเนินงานควรมีกลยุทธ์ทางการตลาด โดย
พิจารณาว่าควรมีคลังสินค้าของตนเองหรือเช่าของเอกชน ว่าวิธีใดคุ้มค่ากว่ากัน และหาวิธีท่ีมี
ประสิทธิภาพในการเก็บรักษาสินค้า เช่น เปลี่ยนแปลงบรรจุภัณฑ์ของข้าวอินทรีย์ให้เป็นถุงสุญญากาศ
เปน็ ตน้
กระทรวงพาณิชย์
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 56 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเดน็ ข้อสงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ปี 2560 สรุปประเดน็ ข้อสงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ
องค์การคลังสินค้า ควรเร่งระบายสินค้าพืชผลทางการเกษตรที่ได้จัดเก็บไว้เป็นจานวนมากโดยเฉพาะ
สินค้าท่ีหมดสภาพและไม่คุ้มค่ากับการเก็บรักษา โดยรายงานข้อมูลและ เสนอแนวทางแก้ไขในระดับ
นโยบาย รวมทั้งอาจเสนอแนะให้แก้ไขข้อกฎหมายในกรณีท่ีเป็นอุปสรรคหรือมีผลกระทบต่อการ
ดาเนินงาน
ท้ังนี้ สานักงบประมาณของรัฐสภาไดว้ ิเคราะหข์ ้อสังเกตของคณะกรรมาธิการแล้วมคี วามเหน็ เพิม่ เติมดังน้ี
1. กระทรวงพาณิชย์ควรให้ความสาคัญกับตลาดในประเทศมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างย่ิงการหา
ตลาดและการคุ้มครองตลาดเพอ่ื ให้เกิดความเจริญเติบโตของSME และเศรษฐกิจฐานราก
2. ควรมีความร่วมมือระหว่างกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวงต่างประเทศ
เพ่ือขยายตลาดใหม่ๆในต่างประเทศ รวมถึงควรร่วมมือกับเอกชนที่มีความรู้เพื่อเช่ือมโยงคู่ค้าใหม่ๆ เพื่อให้
สามารถพัฒนาเป็นศูนย์กลางการค้าของอาเซียนและกลุ่มประเทศ CLMV ได้
3. ร้านธงฟ้าประชารัฐ สินค้ามีปริมาณน้อย ส่วนใหญ่เป็นสินค้าของบริษัทใหญ่ ควรเปิดโอกาสให้
สินคา้ ของ SME หรอื สนิ ค้าที่ผลติ ในทอ้ งถิ่นเขา้ มาวางขายในร้านธงฟา้ ประชารฐั บ้าง
กระทรวงพาณชิ ย์
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 57 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเดน็ ข้อสงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
13. กระทรวงมหาดไทย
1. วสิ ยั ทศั น์ เปน็ กระทรวงหลักในการบรหิ ารจดั การและบรู ณาการทกุ ภาคส่วน เพื่อบาบัดทุกข์และบารุงสุขประชาชน
2. พันธกิจ 1. กากับดูแล จดั ระบบการบริหารการปกครองส่วนภูมิภาค การปกครองท้องที่ การปกครองส่วนท้องถ่ิน
รวมถงึ สง่ เสรมิ การเมอื งการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข
2. รักษาความสงบเรยี บร้อย ความมนั่ คงภายใน
3. อานวยความเปน็ ธรรมและแก้ไขปัญหาความเดอื ดรอ้ นของประชาชนในระดับพ้นื ที่
4. ส่งเสริมการพัฒนาเมือง โครงสร้างกายภาพการใช้ประโยชน์ในที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งิ แวดลอ้ ม
5. สรา้ งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน และสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาและแก้ไข
ปัญหาตามแนวทางปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
6. การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
7. ให้บริการประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ และจัดการข้อมูลพ้ืนฐานเพื่อการบริหารและการพัฒนา
ประเทศ
3. สว่ นราชการ หน่วยงานในกากบั และกองทนุ หมุนเวยี น
ส่วนราชการ หน่วยงานในกากบั / รัฐวิสาหกจิ ในกากบั กองทุนและเงนิ ทนุ
องค์การมหาชน หมนุ เวียน
1.สานกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย 1.กรงุ เทพมหานคร 1.การประปานครหลวง 1.กองทุนจดั รูปท่ีดินเพือ่
2.กรมการปกครอง 2.เมืองพัทยา 2.การประปาสว่ น พฒั นาพน้ื ที่
3.กรมการพัฒนาชุมชน ภมู ิภาค
4.กรมทดี่ นิ
5.กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณาภัย
6.กรมโยธาธกิ ารและผังเมือง
7.กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิน่
4. แผนงานบรู ณาการภายใตก้ ระทรวง หน่วยงานเจา้ ภาพ
กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถน่ิ
1.แผนงานบรู ณาการสง่ เสริมการกระจายอานาจให้แก่
องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
2.แผนงานบูรณาการส่งเสริมการพฒั นาจงั หวัดและกลุม่
จังหวดั แบบบูรณาการ
สรปุ ประเด็นข้อสังเกตท่คี ณะกรรมาธิการให้ความสาคัญอยา่ งตอ่ เน่อื ง
สานกั งบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษาวิเคราะห์ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ 3 ปีย้อนหลัง
(ระหว่าง ปีงบประมาณพ.ศ. 2560- 2562) พบว่ามีประเด็นสาคัญเกี่ยวกับการดาเนินงานภายใต้ภารกิจของ
กระทรวงมหาดไทย ทคี่ ณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ สภานติ บิ ัญญตั แิ ห่งชาติ ให้ความสาคัญอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ดงั น้ี
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 58 - กระทรวงมหาดไทย
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะห์ประเด็นข้อสงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาร่างพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ประเดน็ ที่ 1 สรุปประเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
ปี 2562
การพฒั นาและใช้ประโยชนฐ์ านขอ้ มลู
ประเด็นท่ี 2 1) กระทรวงมหาดไทย ควรพัฒนาฐานข้อมูลให้เป็นระบบมากข้ึนโดยใช้เทคโนโลยีการบริหารจัดกา
ปี 2562 ขอ้ มูลที่มมี าตรฐานและความปลอดภยั เชือ่ มโยงหน่วยงานภายในกระทรวงใหส้ ามารถปฏิบัติงานร่วมกัน
อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
ปี 2561 2) กรมการปกครองควรพัฒนาระบบฐานข้อมูลเลขประจาตัวประชาชนให้สามารถใช้ยืนยันตัวบุคคลใน
ประเด็นท่ี 3 ระบบดจิ ิทัล ทสี่ ามารถเชอื่ มโยงข้อมูลกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนเพื่อให้บรกิ ารท่ีสะดวกและรวดเร็ว
ปี 2562 โดยมรี ะบบการรักษาความปลอดภยั อยา่ งเขม้ งวด
การผงั เมอื ง
ปี 2561 1) การจัดทาผงั เมอื ง ควรกาหนดแนวทางในการบริหารจดั การและแกไ้ ขปัญหาเยียวยาผไู้ ด้รับผลกระทบ
ประเดน็ ที่ 4 จากการทาผังเมือง โดยรวดเรว็ ด้วย
ปี 2561 2) การกาหนดผังเมืองในพ้ืนท่ีระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) ควรประสานงานกับสานักงาน
ปี 2560 คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก เพอ่ื ใหผ้ งั เมืองเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
3) กรมโยธาธกิ ารตอ้ งประสานงานและช่วยเหลอื ในการทาผังเมืองอัจริยะ (Smart City) ของภาคเอกชน
ในจงั หวดั ภเู ก็ต เพ่อื ใหส้ อดคล้องกบั ผงั เมอื งรวมจงั หวัดภเู ก็ต
ควรเรง่ ดาเนินการจดั ทาผังเมอื งรวมให้ครบทัง้ 76 จงั หวัด ปรบั ปรงุ ผงั เมืองใหท้ นั สมัย และควรพิจารณา
อย่างเคร่งครัดต่อการยืดหยุ่นการบังคับใช้ผังเมือง รวมไปถึงการนาวิธีการจัดรูปท่ีดินมาใช้ในการแก้ไข
ปัญหาดา้ นผงั เมอื ง และเร่งรัดการจัดทาแผนที่แนวเขตที่ดินของรัฐ รวมถึงควรแยกภารกิจด้านผังเมือง
ออกจากกรมโยธาธิการและผงั เมือง
การดาเนนิ งานขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน
1) ควรจัดงบประมาณในการซอ่ มแซม บารงุ รกั ษา ถนนในความรบั ผิดชอบของท้องถิ่นให้มากข้ึน
2) กรุงเทพมหานครควรตดิ ต้องกลอ้ งวงจรปิด (CCTV) และไฟสอ่ งสวา่ งใหค้ รอบคลุมท่ัวถงึ ในพนื้ ท่ีมดื รก
รา้ ง และมศี ูนย์ควบคมุ กลอ้ งวงจรปดิ ท่มี ีบคุ ลากรดาเนินงานอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
3) กรงุ เทพมหานคร ควรเพิ่มการดแู ลแก้ไขปัญหาลาคลองสาธารณะ มใิ หม้ กี ารรกุ ล้า การท้งิ ขยะ น้าเสีย
ลงในลาคลอง และการปรับปรงุ ทางเดนิ ทางเท้า ให้ผ้คู นทกุ กล่มุ ของสังคมสามารถใช้บริการได้อย่างเท่า
เทียมกนั
4) เมืองพัทยาต้องไม่ก่อสร้างถนนเลียบชายหาดขีดขวางการไหลของน้าลงสู่ทะเลเพื่อป้องกันปัญหาน้า
ท่วมชายหาดพัทยา และมีมาตรการป้องกันการท่องเที่ยวที่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น เรือสปีดโบ๊ทใน
อ่าวพัทยาทีอ่ าจเปน็ ตน้ เหตุของการสญู เสียทรายในอ่าวพัทยา
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการประชาสัมพันธ์
ใหก้ ับประชาชนเข้าใจ เพ่ือลดปัญหาการต่อต้านโรงงานบาบัดน้าเสียและกาจัดขยะ และควรบูรณาการ
รว่ มกันเพอื่ ดาเนนิ การก่อสรา้ งโรงงานกาจดั ขยะ เพื่อให้ อปท.ในพืน้ ทใี่ กล้เคียงไดใ้ ชป้ ระโยชนร์ ่วมกนั
การดาเนินงานศูนย์ดารงธรรม
ควรเช่ือมโยงฐานขอ้ มลู ระหวา่ งศูนย์ดารงธรรมจังหวัด และอาเภอ รวมไปถึงการมีช่องทางให้ประชาชน
เขา้ ถงึ ข้อมูลหรือทาเร่อื งร้องเรยี นผ่านทางออนไลน์ และมีศูนย์บัญชาการเพ่ือให้การช่วยเหลือประชาชน
ไดร้ วดเรว็ ยงิ่ ขึ้น
ควรขยายการจดั ตง้ั ศนู ย์บรกิ ารร่วม (One-Stop Service Center) ไปในสถานที่ที่ประชาชนได้รับความ
สะดวกมากขนึ้ เชน่ แหลง่ ชมุ ชน หา้ งสรรพสินคา้ เปน็ ต้น โดยผนวกรวมงานศนู ย์ดารงธรรมไว้ดว้ ย
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 59 - กระทรวงมหาดไทย
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ประเดน็ ท่ี 5 สรปุ ประเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ฯ
ปี 2562
การพฒั นาชมุ ชน และเศรษฐกจิ ฐานราก
ปี 2561 ในการพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานราก กรมการพฒั นาชุมชน ควรส่อื สารให้ประชาชนได้รับทราบ และประสาน
หน่วยงานทเี่ กีย่ วขอ้ งในการใหค้ วามชว่ ยเหลือสนบั สนุนรวมทั้งนาข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ) และ
ปี 2560 ข้อมลู พนื้ ฐานระดบั หมูบ่ า้ น (กชช. 2 ค) มาใชป้ ระโยชน์รว่ มกันในการพัฒนาชุมชน
ควรมีการแบ่งเกรดสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) มีการสารวจความต้องการในแต่ละพ้ืนท่ีว่าควรจะ
ประเดน็ ที่ 6 ผลิตสินค้าประเภทไหน ให้ความรู้กับผู้ประกอบการเรื่องมาตรฐานสินค้า ส่งเสริมการขายสินค้าผ่าน
ปี 2562 ช่องทางตลาดออนไลน์ และมศี นู ยบ์ ริการลกู ค้าเพ่ือให้คาแนะนากบั ประชาชนอยา่ งทว่ั ถึง
ควรตรวจสอบความซ้าซ้อนของ หน่วยงาน กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้ารับการอบรม ของการดาเนินงาน
ปี 2561 ผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) รวมท้ังจาแนกประเภทสินค้าที่ผลิตในแต่ละท้องถ่ินให้ชัดเจน และยกระดับ
ปี 2560 การแปรรูป การบรรจุ และการสรา้ งมูลคา่ เพิม่ ของผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน (OTOP)
การบรหิ ารจัดการที่ดนิ ของรัฐ
ประเดน็ ท่ี 7 1) การพฒั นาระบบฐานข้อมลู ทดี่ นิ ด้วยระบบสารสนเทศของกรมที่ดิน ควรมีระบบทส่ี ามารถค้นหาที่ดิน
ปี 2562 ไดค้ รอบคลุมพืน้ ท่ที ง้ั ประเทศ และทุกประเภทของหนังสือแสดงสทิ ธิในทดี่ นิ และตอ้ งเปน็ ข้อมลู ทีถ่ ูกตอ้ ง
ปี 2561 แม่นยาเปน็ ทีเ่ ช่อื ถอื ของประชาชน
2) การพัฒนาฐานข้อมูลที่ดิน ควรให้แผนท่ีมาตรฐาน ในมาตราส่วน 1: 4000 (One Map) ร่วมกับ
ประเด็นที่ 8 หนว่ ยงานอื่นๆ และควรใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศจากดาวเทียมร่วมกับสานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ
ปี 2562 และภมู ิสารสนเทศ เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย
ปี 2561 ควรเร่งรัดการรังวัดที่ดินให้กับประชาชน โดยอาจจะจ้างเหมาเอกชนเพื่อดาเนินการในส่วนที่มีปริมาณ
งานมาก และแก้ปญั หาการออกโฉนดทไ่ี มช่ อบดว้ ยกฎหมาย
ประเดน็ ท่ี 9 1) การบริหารจัดการท่ีดินของรัฐควรมีการกาหนดตัวช้ีวัด เป้าหมาย แปลงท่ีดินของรัฐ แนวทาง และ
ปี 2562 ระยะเวลาท่ีชัดเจน ตลอดจนรวบรวมปัญหาอุปสรรคท่ีทาให้การดาเนินการล่าช้าเพื่อให้เป็นไปอย่างมี
ประสิทธภิ าพ
2) ควรดาเนนิ การตามรายงานของสานักงานตรวจเงินแผ่นดินอย่างเคร่งครัดในการรังวัดท่ีดินสาธารณะ
ประโยชนแ์ ละการออกหนงั สอื สาคญั สาหรบั ทีห่ ลวง
การปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั
ควรมีแผนระยะยาวในการจัดหาครุภัณฑข์ นาดใหญใ่ นการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั
ควรฝกึ อบรมและสร้างนกั ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมอื อาชพี และขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่
มีอุปกรณ์ และบุคลากรที่มีศักยภาพ ที่ใช้ในการบรรเทาสาธารณภัยอยู่แล้ว เช่น หน่วยงานทางทหาร
เพ่ือช่วยประหยัดงบประมาณ
การก่อสร้างเขอื่ นปอ้ งกนั ตลง่ิ
ควรให้ความสาคัญในการก่อสร้างเข่อื นป้องกนั การกดั เซาะตลิง่ ตามลาน้าชายแดนกอ่ นเพอ่ื ป้องกันการ
สญู เสียดนิ แดน
ควรจัดลาดับความสาคัญในการก่อสร้างเข่ือนป้องกันตลิ่ง โดยดาเนินการในพื้นที่เร่งด่วน จาเป็นก่อน
โดยเฉพาะการปอ้ งกนั การเสียดนิ แดนจากการกดั เซาะลาน้าแนวชายแดน
ระบบการบรหิ ารการเงินการคลังองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องใช้ระบบและมาตรฐานเดียวกัน
เพอื่ ใหส้ ามารถเชื่อมโยงระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยกันและส่วนราชการอ่ืนๆ รวมถึงระบบ
บริหารการเงนิ การคลงั ภาครัฐแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์(GFMIS) ของกรมบญั ชีกลางได้
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 60 - กระทรวงมหาดไทย
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ปี 2561 สรปุ ประเด็นขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ
ประเด็นท่ี 10 กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถ่ิน ควรหารือกับกรมบญั ชกี ลางเพอ่ื เชื่อมต่อข้อมลู ระบบบรหิ ารการเงินการ
ปี 2562 คลังภาครฐั แบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (GFMIS) และควรมงุ่ เน้นเพิ่มศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้
มคี วามเขา้ ใจในเรอ่ื งกฎหมาย ระเบียบ การจดั ซือ้ จดั จา้ ง และการใช้เทคโนโลยี โดยขอความร่วมมือจาก
หนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ งเพอ่ื จดั ใหม้ กี ารฝกึ อบรม
การกวดขนั บุคคลต่างดา้ ว
กรมการปกครองควรมีมาตรการดูแลบุคคลต่างด้าวที่แอบแฝงเข้ามาประกอบอาชีพในประเทศ ซึ่ง
นอกจากระทบต่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ยังเป็นอันตรายต่อความม่ันคงและการสูญเสียภาษีของ
ประเทศด้วย
ทั้งนี้ สานกั งบประมาณของรัฐสภาได้วิเคราะหข์ อ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารแล้วมคี วามเห็นเพ่ิมเติมดังน้ี
กระทรวงมหาดไทยเป็นหน่วยงานท่ีมีภารกิจสาคัญในการบริหารราชการแผ่นดินใน ส่วนภูมิภาค
มองจากบนลงล่าง ต้ังแต่กลุ่มจังหวัด จังหวัด ท้องถ่ิน และการปกครองท้องท่ี ตาบล หมู่บ้าน รวมถึงการ
ปกครองทอ้ งถนิ่ เปน็ หน่วยงานที่ได้รบั จัดสรรงบประมาณมากเป็นลาดับต้น ๆ คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ จึงให้
ความสาคัญกับการจัดสรรงบประมาณและการดาเนินงานของกระทรวงมหาดไทยอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการ
จัดสรรงบประมาณและการดาเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินซ่ึงเป็นองค์กรที่ใกล้ชิดกับประชาชน
และมีบทบาทสาคัญในการจัดบริการสาธารณะจาเป็นสาธารณะ แต่การจัดสรรงบประมาณแก่องค์กรปกครอง
ส่วนทอ้ งถ่นิ ส่วนใหญเ่ ปน็ การใช้จ่ายตามโครงการสวัสดิการของรัฐบาล เช่น เบ้ียยังชีพผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วย
เอดส์ และการจัดการศึกษาภาคบังคับ เป็นต้น จึงทาให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มีงบประมาณที่จะจัดบริการ
สาธารณะตามแผนพัฒนาท้องถิ่นไม่มากนัก อีกทั้ง การถ่ายโอนภารกิจให้ท้องถิ่นไม่เป็นไปตามความแผนฯ
จึงควรเพ่ิมสัดส่วนการจัดสรรรายได้ตามพระราชบัญญัติกาหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอานาจให้แก่
องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินเพอื่ ให้องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ มีศกั ยภาพด้านคลังในการจัดทาบริการสาธารณะ
ตามความจาเป็น และความต้องการของประชาชนในทอ้ งถน่ิ มากข้ึน
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 61 - กระทรวงมหาดไทย
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณารา่ งพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
14. กระทรวงยุตธิ รรม
1. วิสัยทัศน์ หลกั ประกันความยตุ ิธรรมตามมาตรฐานสากล
2. พนั ธกจิ 1. พัฒนาระบบการให้บริการประชาชนเพื่อใหเ้ ขา้ ถงึ ความยุติธรรมอยา่ งเท่าเทยี มกนั
2. พฒั นาระบบงานยุตธิ รรมและการบงั คบั ใชก้ ฎหมายให้เปน็ ไปตามหลักสากล
3. พฒั นาประสิทธภิ าพการบรหิ ารความยตุ ิธรรมและการบังคบั ใช้กฎหมายใหม้ ีธรรมาภิบาล
4. พฒั นาระบบป้องกันอาชญากรรมเพอ่ื สร้างความปลอดภยั ในสงั คม
3. ส่วนราชการ หน่วยงานในกากับ และกองทุนหมนุ เวยี น
ส่วนราชการ หน่วยงานในกากบั / รัฐวิสาหกิจในกากบั กองทุนและเงนิ ทุน
องคก์ ารมหาชน หมนุ เวยี น
1. สานักงานปลดั กระทรวงยุตธิ รรม 1. สถาบัน - กองทุนยตุ ิธรรม
2. กรมคุมประพฤติ อนุญาโตตลุ าการ
3. กรมคมุ้ ครองสิทธิและเสรภี าพ 2. สถาบันเพ่อื การ
4. กรมบงั คับคดี ยตุ ธิ รรมแห่งประเทศไทย
5. กรมพนิ จิ และคุ้มครองเดก็ (องค์การมหาชน)
และเยาวชน
6. กรมราชทัณฑ์
7. กรมสอบสวนคดพี เิ ศษ
8. สานกั งานกิจการยตุ ิธรรม
9. สถาบนั นติ วิ ทิ ยาศาสตร์
10. สานกั งานคณะกรรมการป้องกัน
และปราบปรามยาเสพติด
11. สานักงานคณะกรรมการป้องกนั
และปราบปรามการทจุ ริตในภาครฐั
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 62 - กระทรวงยตุ ิธรรม
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเด็นขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
สรปุ ประเดน็ ขอ้ สงั เกตทีค่ ณะกรรมาธกิ ารใหค้ วามสาคัญอย่างตอ่ เนอ่ื ง
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
วิสามัญฯ ในส่วนภารกิจของกระทรวงยุติธรรม 3 ปีย้อนหลัง (ระหว่าง ปีงบประมาณพ.ศ. 2560 - 2562)
พบวา่ มปี ระเดน็ สาคัญเกย่ี วกับการดาเนนิ งานภายใต้ภารกิจของกระทรวงยุติธรรม ที่คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
ใหค้ วามสาคญั อย่างต่อเนือ่ ง ดงั น้ี
ประเด็นที่ 1 สรปุ ประเด็นข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ฯ
ปี 2562
การพัฒนาระบบการใหบ้ รกิ ารประชาชนเพ่ือใหเ้ ขา้ ถงึ ความยุตธิ รรมอย่างเทา่ เทียมกัน
ปี 2561 1) สานักปลัดกระทรวงยุติธรรม ควรพัฒนาระบบยุติธรรมในด้านการให้ความช่วยเหลือทางด้าน
กฎหมาย และหาวิธีการท่ีจะทาให้ประชาชนเกิดความเช่ือมมั่นว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐจะดาเนินการด้วย
ประเด็นที่ 2 ความเป็นกลาง และควรบรรจุไว้ในแผนงานของยุติธรรมจังหวัดเพื่อให้เจ้าหน้าท่ียุติธรรมจังหวัด
ปี 2562 ประชาสมั พนั ธใ์ ห้ประชาชนเข้าใจและเชือ่ ใจเจา้ หนา้ ท่ีของรฐั มากข้ึน
2) ควรเร่งรัดให้ฐานข้อมูลทะเบียนประวัติอาชญากร (Criminal Record) เสร็จโดยเร็ว เพ่ือให้มีการ
เชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง สามารถตรวจสอบประวัติผู้กระทาความผิด ผู้ถูกกล่าวหา การ
ฟอ้ งรอ้ งทางคดี และขั้นตอนการดาเนนิ คดไี ด้ทันที
3) กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ควรมีวิธีการหรือมาตรการเพ่ือส่งเสริมความเข้าใจเร่ืองสิทธิและ
เสรีภาพ นอกจากการฝึกอบรม เช่น การใช้เครือข่าย (Network) หรือสร้างเว็บไซต์ เพ่ีอสร้างความ
ตระหนักรู้ให้ประชาชนเข้าใจเรื่องสิทธิ และเสรีภาพ รวมถึงการไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น และควรมีส่วน
รว่ มผลกั ดนั ในการปรบั ปรุงกฎหมายว่าดว้ ยความเทา่ เทยี บ การค้มุ ครองสิทธิเสรีภาพ และขจัดการเลือก
ปฏิบัติ ใหเ้ กดิ ขนึ้ อย่างเปน็ รูปธรรม
4) กรมบังคับคดี ควรเช่ือมโยงข้อมูลกบั หน่วยงานภายในกระทรวงยุตธิ รรมและหน่วยงานอื่นท่ีเก่ียวข้อง
เพ่ือเป็นการสร้างฐานข้อมูลระดับประเทศ รวมทั้งพัฒนาเว็บไซต์ให้เป็นไปตามมาตรฐาน WCAG 2.0
เพอ่ื ใหท้ ุกคนสามารถเข้าถงึ ซึง่ เป็นการพฒั นาการให้บรกิ ารบังคับดีสู่ระบบดิจิทัล
1) สานักงานปลัดกระทรวงยตุ ธิ รรม ควรทางานท่ีมีลักษณะเชิงรุกมากข้ึนโดยส่งเสริมให้มียุติธรรมทางเลือกที่
หลากหลาย ส่งเสริมให้มีการวิจัยเพื่อนามาใช้ในการปรับเปล่ียนการทางานให้ดีขึ้น โดยนาเทคโนโลยี และ
นวัตกรรมมาปรับใช้ ตลอดจนให้ความสาคัญและเปน็ ตวั อยา่ งทีด่ ใี นเร่ืองการป้องกันและปราบปรามการทุจริต2)
2) กรมคุมประพฤติ ควรดแู ลไมใ่ หผ้ ้ถู กู คมุ ประพฤตไิ ปละเมดิ สทิ ธิของผอู้ ื่น ชุมชน และสงั คม โดยกาหนดวิธีคุม
ประพฤติให้มีความหลากหลาย และมรี ะบบท่ชี ัดเจนสาหรบั การจัดหาเครือ่ งมอื ติดตามตัวอเิ ล็กทรอนกิ สแ์ ตต่ ้อง
พจิ ารณาถึงการบารงุ รกั ษาเคร่ืองดว้ ย
3) กรมคุ้มครองสิทธแิ ละเสรีภาพ ควรจดั ตั้งศูนย์ไกล่เกลย่ี ระงับข้อพิพาทของประชาชนในชุมชนให้ครอบคลุม
เพียงพอ
4) กรมสอบสวนคดพี ิเศษ ควรร่วมมอื กับกระทรวงดิจิทลั เพ่อื เศรษฐกิจและสงั คม เพื่อจัดทาส่ือออนไลน์
หรือประชาสมั พนั ธ์ข้อมูลผ่านแอพพลิเคช่ันต่างๆ เพ่ือเผยแพร่ข้อมูลสาคัญ เช่น แชร์ลูกโซ่ให้ประชาชน
ได้รบั ทราบ เพ่อื ปอ้ งกันไม่ใหป้ ระชาชนถกู หลอก
การพัฒนาระบบงานยุตธิ รรมและการบังคบั ใช้กฎหมายให้เป็นไปตามหลักสากล
ควรเร่งรัดหน่วยงานต่างๆ ดาเนินการพิจารณาร่างกฎหมายประกอบพระราชบัญญัติหลายฉบับที่
ประกาศใชใ้ นระหวา่ งปี 2558-2561 เพอ่ื ใหพ้ ระราชบญั ญัตติ า่ งๆ มีผลในการใชบ้ งั คับอยา่ งสมบรู ณ์
สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร - 63 - กระทรวงยตุ ธิ รรม
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเด็นขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ประเด็นที่ 3 สรุปประเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ
ปี 2562
ประเดน็ ที่ 4 การพัฒนาประสิทธภิ าพการบรหิ ารความยตุ ิธรรมและการบงั คับใช้กฎหมายใหม้ ธี รรมาภิบาล
ปี 2562
1) สถาบนั นติ ิวิทยาศาสตร์และสานักงานตารวจแห่งชาติ ควรกาหนดขอบเขตการดาเนินงานให้ชัดเจน
ปี 2561 และแนวทางการดาเนินงานในกรณีท่ีผลการตรวจพิสูจน์แตกต่างกัน รวมถึงให้ความสาคัญกับการวิจัย
ปี 2560 เพราะจะช่วยในการพิสูจนอ์ ตั ลกั ษณ์บุคคล
2) สถาบันอนญุ าโตตุลาการ ควรกาหนดมาตรการในการลดระยะเวลาในการต่อสู้คดี ซึ่งจะส่งผลให้สามารถ
ลดค่าใช้จ่ายและดอกเบ้ยี ลงได้ และในกรณีคดีพิพาทท่ีเกิดข้ึนและหน่วยงานของรัฐแพ้คดี หลายกรณีอาจเกิด
จากการทาสัญญาท่ีไม่รัดกุม สถาบันอนุญาโตตุลาการควรประสานให้หน่วยงานของรัฐทราบแนวทางการทา
สญั ญากบั ภาคเอกชน ควรมีการประชาสัมพนั ธ์บทบาทของสถาบนั ใหป้ ระชาชนไดร้ บั ทราบ
การพัฒนาระบบป้องกนั อาชญากรรมเพอ่ื สร้างความปลอดภัยในสงั คม
1) กรมคมุ ประพฤติ ควรร่วมกบั สถาบนั การศึกษาและเครือข่าย ทางานวิจัยหรือนาผลงานวิจัยท่ีมีอยู่มา
พฒั นาฐานข้อมลู เพอื่ ปรบั ปรุงการดาเนนิ งานของหน่วยงานให้เกดิ ผลสมั ฤทธิ์ โดยหาเหตุของการกลับมา
กระทาผดิ ซา้ และแนวทางการแกไ้ ขไมใ่ หผ้ ้ผู ่านระบบคุมประพฤติแล้วกลบั มากระทาผดิ ซ้าอีก
2) กรมพนิ ิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ควรศึกษาวจิ ัยถึงสาเหตุการกระทาความผิด และส่งข้อมูลให้
หนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วข้องเช่น กระทรวงศึกษาธกิ าร และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์
เพ่ือวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาในภาพรวม รวมถึงการยกระดับคุณภาพ การป้องกันและฟื้นฟูเด็กและ
เยาวชน ควรดาเนินงานร่วมกับหน่วยงานที่มีองค์ความรู้และงานวิจัย และควรประเมินผลหลังการ
ดาเนินงานด้วย ตลอดจนไม่ควรเปิดเผยประวัติของเด็กท่ีกระทาความผิดซ่ึงผ่านการดูแลของกรมพินิจ
และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนแลว้ อยา่ งเดด็ ขาด เพ่อื ไมใ่ หก้ ระทบกับการใชช้ ีวติ ของเดก็ ในอนาคต
3) กรมราชทณั ฑ์ ควรวิจัยโครงสร้างผตู้ อ้ งขงั จานวนผู้ต้องขังแต่ละประเภท เพื่อนาสถิติในมิติต่างๆ มา
วิเคราะห์ และเป็นขอ้ มลู ประกอบการกาหนดนโยบายการดาเนนิ งานของรัฐบาล รวมทัง้ มีมาตรการแก้ไข
ปัญหาการทางานท่ีไม่รัดกุมของเจ้าหน้าท่ีที่ทาให้มีสิ่งของต้องห้ามสามารถเข้าไปในเรือนจาได้ และมี
มาตรการป้องกันอยา่ งเข้มงวด ลงโทษเจา้ หน้าทท่ี ีท่ ุจริตอยา่ งจรงิ จงั
4) สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) ควรศึกษาวิจัยและปรับปรุงกระบวนการ
ทางานของกระบวนการยุติธรรมท้ังหมดให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล เน่ืองจากกระบวนการยุติธรรมใช้
ระยะเวลายาวนาน ทาให้ผู้กระทาความผิดขาดความเกรงกลวั และมีการกระทาผดิ ซา้
1) กรมคมุ้ ครองสทิ ธิและเสรีภาพ และกรมพนิ จิ และคุ้มครองเด็กและเยาวชน ควรบูรณาการข้อมูลกับ
ท่ีส่วนราชการเกีย่ วขอ้ ง เพอ่ื ให้สามารถนาข้อมูลไปสังเคราะห์และแก้ไขปัญหาไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง
2) กรมราชทัณฑ์ ควรให้ความสาคัญกับการจัดหลักสูตรฝึกอบรมอาชีพให้กับผู้ต้องขังอย่างต่อเนื่อง
เพอ่ื เตรียมความพร้อมในการกลับคนื สสู่ งั คม และมมี าตรการดแู ลผตู้ ้องขงั หญงิ เป็นพิเศษ เนอ่ื งจากความ
แออัดในเรอื นจา เพือ่ ปอ้ งกนั ไมใ่ ห้ผตู้ ้องขงั หญิงถกู กระทาอันไม่สมควร ควรจัดหาสถานที่และเครื่องมือ
ทมี่ ีคณุ ภาพให้เพยี งพอต่อการดาเนินงาน
กรมราชทณั ฑ์ ควรให้ความสาคัญกับการปราบปรามยาเสพติดและการลักลอบใช้เครื่องมือส่ือสารต่างๆ
ในเรือนจาให้มีความชดั เจน และสนับสนุนโครงการคืนคนดีสู่สังคม เพื่อช่วยลดปัญหาอาชญากรรมและ
ลดจานวนผู้ต้องขงั โดยอาจนากรณีศึกษาจากตา่ งประเทศท่ดี าเนนิ การประสบความสาเร็จมาปรับใช้
สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร - 64 - กระทรวงยตุ ิธรรม
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ทง้ั น้ี สานักงบประมาณของรัฐสภาได้วิเคราะหข์ ้อสังเกตของคณะกรรมาธิการแลว้ มีความเห็นเพ่ิมเตมิ ดังนี้
1. ควรมีการทบทวนเรื่องการกาหนดตัวช้ีวัด ท้ังเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ เนื่องจากกาหนดไว้
เท่ากันทุกปี และควรคานึงถึงผลประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ สามารถเชื่อมโยงกับพันธกิจ นาไปสู่การบรรลุ
เปา้ หมายทีก่ าหนดและบรรลวุ ิสัยทศั ทกี่ าหนไว้
2. ควรมีการวิเคราะห์ความพร้อมและข้อจากัดในการดาเนินงานในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับการจัดซ้ือจัดจ้างให้
เปน็ ไปตามแผนปฏบิ ตั งิ านและแผนการใชจ้ ่ายงบประมาณทก่ี าหนดไว้ เพอ่ื ให้การใชจ้ า่ ยงบประมาณมปี ระสิทธิภาพ
3. จากข้อมูลผู้ต้องขังที่กระทาความผิดและเข้าสู่เรือนจาที่เพ่ิมมากขึ้น ส่งผลให้เรือนจาจึงมีผู้ต้องขัง
มากเกินกาลังที่จะรับได้ เป็นภาระกับงานราชทัณฑ์ และผลกระทบด้านต่างๆ เช่น ภาระงบประมาณ สถานท่ี
บุคลากร เป็นต้น ดังน้ัน กรมราชทัณฑ์ควรมีการศึกษาแนวทาง ยุทธศาสตร์ และข้อกฎหมายต่างๆท่ีเกี่ยวข้อง
เพ่ือให้เอกชนเขา้ มาดาเนนิ การในบางภารกจิ ท่จี ะทาใหภ้ าครฐั สามารถประหยดั งบประมาณได้ เช่น
1) รฐั สร้างเรอื นจา และให้เอกชนเข้ามาบริหาร
2) เอกชนสร้างและบริหาร
3) รฐั แบง่ งานบางส่วนให้เอกชนดาเนินการ
โดยภาครัฐต้องมีการควบคุมดูแล กาหนดมาตรการ และมาตรฐานต่างๆ ไว้อย่างชัดเจน และกาหนด
ประเภทของ “ผู้ตอ้ งขงั ในเรอื นจาเอกชน” เชน่
เอานักโทษชั้นดี ที่อายโุ ทษเหลือ 1 ปี คดีท่ีไมใ่ ชย่ าเสพติดออกไปอยู่ เรอื นจาเอกชน
ในเรือนจามีพ้นื ทเี่ พือ่ ทาการเกษตร พชื ผกั สวนครวั ขา้ ว และประมง ปศุสตั ว์ ใชน้ กั โทษเป็นผ้ปู ฏิบัติ
ผลิตภณั ฑ์ราชทณั ฑ์ทีเ่ ปน็ งานฝีมือต่างๆ เช่น งานไม้ งานจักสาน กระเปา๋ และส่งิ ทอตา่ งๆ
มีผชู้ านาญการทางสายเกษตรต่างๆ เป็นวทิ ยากร
ผลิตแล้วกระจายไปยังเรือนจาต่างๆ หรือขายให้เรือนจารัฐ หรือจาหน่ายให้บุคคลท่ัวไปเพ่ือ
สร้างอาชีพใหน้ ักโทษ เพิ่มรายได้ให้เรอื นจา
เน่ืองจากการเพิ่มจานวนบุคลากร การขยายพ้ืนที่เรือนจาโดยการสร้างเพ่ิม หรือการเพ่ิมงบประมาณ
ในส่วนทีเ่ กีย่ วขอ้ งเพื่อให้เพยี งพอตอ่ จานวนผ้ตู อ้ งขังในปจั จุบนั และรองรบั จานวนผตู้ ้องขงั ที่มีแนวโน้มจะเพ่ิมขึ้น
ในอนาคตนั้นเป็นการสร้างภาระผูกพันด้านงบประมาณท้ังนั้น แม้จะมีปฏิรูป ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย โดยเพ่ิม
อัตราโทษใหส้ งู ขึ้นแตย่ ังไมส่ ามารถควบคุมหรอื ป้องกันการกระทาความผิดได้
4. กรมราชทัณฑ์ ควรมีการกาหนดแนวทางการพัฒนาศักยภาพของผู้ต้องขังในวิชาชีพด้านต่างๆ เช่น
งานช่าง งานฝีมือ พร้อมๆ กับการรักษามาตรฐานและคุณภาพของสินค้าต่างๆ อีกทั้งควรเพ่ิมกาลังการผลิต
สินค้าต่างๆ เพื่อสร้างรายได้ให้เพิ่มข้ึน เพราะนอกจากจะเป็นการฝึกวิชาชีพให้ผู้ต้องขังเพ่ือรองรับการไปอยู่ใน
สังคมหลงั พ้นโทษแล้ว ยังเปน็ การสรา้ งรายไดใ้ ห้กบั ตวั ผูข้ งั เองและกรมราชทัณฑ์อีกดว้ ย
สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร - 65 - กระทรวงยตุ ธิ รรม
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณารา่ งพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
15. กระทรวงแรงงาน
1. วิสยั ทัศน์ แรงงานมีศักยภาพสงู และมีคณุ ภาพชวี ิตที่ดี
2. พนั ธกจิ 1. การเพมิ่ ศกั ยภาพแรงงาน และผูป้ ระกอบการ ใหพ้ ร้อมรบั กบั สถานการณ์ท่เี ปล่ยี นแปลง และ
ให้สอดคลอ้ งกับทศิ ทางการพฒั นาของประเทศ
2. คุ้มครองและส่งเสรมิ ใหแ้ รงงานมีความม่ันคงในการทางาน มหี ลักประกัน และมคี ณุ ภาพชวี ิตท่ดี ี
3. พฒั นากระทรวง ใหเ้ ป็นองค์กรธรรมาภบิ าล
4. พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารอยา่ งบรู ณาการ เพ่อื การบรหิ ารจัดการ และ
ให้บรกิ ารอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
5. สง่ เสรมิ ความรว่ มมือดา้ นแรงงานระหวา่ งประเทศ
3. สว่ นราชการ หน่วยงานในกากบั และกองทนุ หมุนเวยี น
สว่ นราชการ หนว่ ยงานในกากับ/ รัฐวสิ าหกิจในกากบั กองทนุ และเงนิ ทนุ
องคก์ ารมหาชน หมุนเวียน
1. สานักงานปลัดกระทรวงแรงงาน 1. สถาบนั สง่ เสริม
2. กรมการจัดหางาน ความปลอดภัย
3. กรมพัฒนาฝมี ือแรงงาน อาชวี อนามัยและ
4. กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน สภาพแวดลอ้ ม
5. สานักงานประกนั สงั คม ในการทางาน
(องคก์ ารมหาชน)
4. แผนงานบรู ณาการภายใตก้ ระทรวง หน่วยงานเจ้าภาพ
แผนงานบรู ณาการจดั การปญั หาแรงงานตา่ งดา้ วและการคา้ มนษุ ย์ กรมการจดั หางาน กระทรวงแรงงาน
สรปุ ประเด็นขอ้ สังเกตทค่ี ณะกรรมาธิการใหค้ วามสาคัญอย่างตอ่ เน่อื ง
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
วสิ ามญั ฯ ในส่วนภารกจิ ของกระทรวงแรงงาน 3 ปีย้อนหลัง (ระหว่างปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 - 2562) พบว่า
มีประเด็นสาคัญเกี่ยวกับการดาเนินงานภายใต้ภารกิจของกระทรวงแรงงาน ท่ีคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
ให้ความสาคญั อยา่ งต่อเนื่อง ดงั น้ี
ประเด็นท่ี 1 สรุปประเดน็ ข้อสงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ
1.1
ด้านการจดั หางาน
ปี 2562
การส่งเสรมิ ให้กาลงั แรงงานมีงานทา
ปี 2561
1) กรมการจดั หางาน ควรพิจารณาจัดหาอาชพี ท่เี หมาะสมตามช่วงอายแุ ละศกั ยภาพของร่างกาย
ผสู้ งู อายุ และให้มีการขยายการดาเนินงานไปตามภูมภิ าคตา่ ง ๆ ใหท้ ่วั ถงึ
2) กรมการจดั หางาน ควรสนับสนนุ การจัดหางานให้กับนักเรียน นกั ศึกษาทาในระหว่างปดิ ภาคเรยี น
เพอ่ื เตรยี มความพร้อมออกสตู่ ลาดแรงงานในอนาคต
กระทรวงแรงงาน ควรประสานความร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการเพ่ือผลิตกาลังคนในแต่ละด้าน
ให้ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน และสอดคล้องกับความต้องการแรงงานท่ีสอดคล้องกับ
ยทุ ธศาสตร์และทิศทางการพัฒนาของประเทศ
กระทรวงแรงงาน
สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร - 66 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเดน็ ข้อสงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
1.2 สรปุ ประเด็นข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามัญฯ
ปี 2562
การพฒั นาฐานขอ้ มลู ด้านแรงงาน
ปี 2561
กรมการจัดหางาน ควรนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้เพ่ือเป็นแหล่งข้อมูลความต้องการแรงงาน
ปี 2560 ของตลาดแรงงาน ให้สามารถเชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่นในภาคีแรงงานเพ่ือทาเป็นศูนย์รวมข้อมูล
ด้านแรงงานระดับชาติ
1.3
ปี 2562 กระทรวงแรงงาน ควรเป็นศูนย์รวมข้อมูลด้านแรงงาน (Big Data Center) ในการจัดทาฐานข้อมูล
สารสนเทศด้านแรงงานให้สมบูรณ์ทั้งในเรื่องตาแหน่งงานในสถานประกอบการ กาลังแรงงานในแต่ละ
ปี 2561 สาขาวชิ าชีพ ระดับการศึกษา และความต้องการแรงงานของตลาดแรงงาน เพ่ือใช้ในการบริหารจัดการ
ประเดน็ ที่ 2 และวางแผนด้านแรงงานของประเทศ
2.1 กระทรวงแรงงาน ควรเร่งรัดจัดทาฐานข้อมูลสารสนเทศด้านแรงงานให้ครบถ้วนสมบูรณ์ท้ังในด้าน
ปี 2562 ตาแหน่งงานในสถานประกอบการและกาลังแรงงานในแต่ละสาขาวิชาชีพ รวมทั้งจัดทาฐานข้อมูล
แรงงานคนพิการใหส้ อดคลอ้ งตามตาแหน่งของสถานประกอบการในพนื้ ท่ี
ปี 2561
ปี 2560 การบรกิ ารจดั หางานและการแนะแนวอาชพี
ประเด็นท่ี 3 1) กรมการจดั หางาน ควรจัดมหกรรมการจดั หางานกระจายไปตามภมู ภิ าคต่าง ๆ โดยจดั แผนการ
3.1 ทางานรว่ มกบั กระทรวงศึกษาธิการและภาคเี ครือขา่ ยที่เกี่ยวขอ้ ง
2) กรมการจดั หางาน ควรประชาสัมพันธ์ความต้องการของตลาดแรงงานให้กับนักเรยี น นกั ศึกษา
ปี 2562 โดยกาหนดทิศทางการผลิตบคุ ลากรสาขาตา่ ง ๆ ล่วงหน้าใหก้ ับสถาบันการศึกษา เพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู
ปี 2560 ให้เดก็ ไดร้ วู้ า่ ควรเรยี นไปดา้ นใด
กรมการจดั หางาน ควรประชาสมั พนั ธใ์ ห้นักเรียน นกั ศึกษาทราบความตอ้ งการแรงงานด้านต่าง ๆ เพ่อื ให้
สามารถเลอื กเรียนให้ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงานในแตล่ ะภมู ภิ าคและไมต่ ้องยา้ ยถนิ่ ฐาน
ดา้ นการพฒั นาฝีมอื แรงงาน
การพัฒนาศักยภาพแรงงาน
กรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน ควรกาหนดรายละเอียดกล่มุ เป้าหมายในการพฒั นาฝีมอื แรงงานใหช้ ัดเจน และ
กาหนดแนวทางการพัฒนาเสริมทักษะฝีมือแรงงานที่มีความจาเป็นและความเหมาะสม เพ่ือให้สามารถ
เข้าสู่ตลาดแรงงานอยา่ งมคี ุณภาพ
กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ควรเพ่ิมศักยภาพแรงงานรองรับนโยบายประเทศไทย 4.0 ให้มีความสามารถ
ในการใช้เทคโนโลยีตามความตอ้ งการของสถานประกอบการรองรับการนาเทคโนโลยีหนุ่ ยนตม์ าใช้ในอนาคต
1) กรมพฒั นาฝีมือแรงงาน ควรเร่งพฒั นากาลังแรงงานเพ่ือเตรยี มการรองรับการเปลยี่ นแปลงของ
ภาคการผลติ ตา่ งๆ ท่ีคาดว่าจะมกี ารนาเทคโนโลยที ่ีทันสมัยเข้ามาใช้ทดแทนแรงงานมนุษย์ รวมทัง้ ควร
พฒั นาศกั ยภาพดา้ นภาษาองั กฤษและทกั ษะฝมี อื เพือ่ เพิ่มขดี ความสามารถในการแข่งขนั ในระบบ
เศรษฐกิจการคา้ แบบเสรี
2) กรมการจดั หางาน ควรประสานความรว่ มมือกบั กระทรวงศึกษาธิการเพอ่ื ผลิตแรงงานให้มีทักษะ
ทเ่ี หมาะสมกบั ตาแหน่งงาน และควรมีกระบวนการส่งตอ่ ให้สถาบันการศกึ ษาจัดฝึกอบรมใหม่ในกรณที ่ี
คณุ สมบัตไิ ม่ตรงกับทสี่ ถานประกอบการตอ้ งการ
ดา้ นการคมุ้ ครองแรงงานและสวสั ดิการ
การพัฒนาการจดั การสวัสดกิ ารแรงงาน
สานักงานประกันสังคม ควรศึกษาระบบประกันสังคมของประเทศในภูมิภาคอาเซียนท่ีมีการบริหาร
จัดการทีด่ ี และนารปู แบบการบรหิ ารจดั การมาศึกษาเพ่อื พฒั นาระบบประกันสังคมใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ
สานกั งานประกนั สังคม ต้องเรง่ รดั การศึกษาวิจัยสถานภาพของกองทุนประกันสังคมและศกึ ษาวิเคราะห์
แนวทางการสร้างความม่ันคงในอนาคตของกองทุนประกันสังคมเพื่อกาหนดแนวทางแก้ไขปัญหา และ
เสนอฝ่ายบรหิ ารหรือฝา่ ยการเมืองใชป้ ระกอบการตดั สินใจกาหนดนโยบายและมาตรการต่าง ๆ
กระทรวงแรงงาน
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 67 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
3.2 สรปุ ประเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั ฯ
ปี 2562
การกากบั ดูแลการทางานของแรงงานต่างดา้ ว
ปี 2561
กรมการจัดหางาน ควรกาหนดนโยบายการบรหิ ารจัดการการเข้ามาประกอบอาชีพของแรงงานต่างด้าว
ทบทวนอาชีพสงวนของคนไทยให้เหมาะสมกับปัจจุบันและให้มีการเข้มงวด แรงงานต่างด้าวที่มาแย่ง
อาชีพคนไทยทา รวมทัง้ บังคบั ใช้กฎหมายอยา่ งจรงิ จัง ควบคุมนายจ้างท่ีประกอบอาชพี สงวนโดยการจ้าง
แรงงานต่างด้าวมาทางาน
1) กรมการจดั หางาน ควรเพิม่ ช่องทางการขน้ึ ทะเบียนแรงงานต่างด้าวใหส้ ามารถจดทะเบียนให้
เพียงพอ จดั ตง้ั ศนู ยอ์ านวยความสะดวก ประชาสัมพันธ์ข้ันตอนและเอกสารทีต่ อ้ งใช้ประกอบเพอ่ื ความ
รวดเรว็ และประชาสมั พนั ธใ์ ห้แรงงานต่างดา้ วเขา้ ใจกฎหมายไทย เพื่อเขา้ สูร่ ะบบการจา้ งงานทถ่ี ูกตอ้ ง
ตามกฎหมาย และกาหนดใหแ้ รงงานต่างด้าวเข้าสู่ระบบประกันสงั คมทุกคน
2) กรมการจัดหางาน ควรให้แรงงานไทยทม่ี ปี ระสบการณไ์ ปทางานตา่ งประเทศ กลบั มาเป็นวิทยากร
ถ่ายทอดประสบการณใ์ ห้ความรู้แก่แรงงานทต่ี ้องการจะไปทางานตา่ งประเทศ เพื่อป้องกัน
การถูกหลอกลวง และคมุ้ ครองแรงงานไทยท่ไี ปทางานในต่างประเทศ
ท้ังนี้ สานกั งบประมาณของรัฐสภาได้วิเคราะหข์ ้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารแลว้ มคี วามเหน็ เพมิ่ เตมิ ดังน้ี
1. กระทรวงแรงงาน ควรให้ความสาคัญกับการพัฒนาสมรรถนะของแรงงานไทยให้มีทักษะเฉพาะ
ทางและเป็นไปตามมาตรฐานตามเกณฑ์ท่ีกาหนดเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ ควรมีแนวทางเพ่ือให้แรงงาน
ไทยมที ศั นคติเชงิ บวกต่อการทางานและสนใจการทางานในประเทศเพม่ิ ขนึ้ เพ่ือลดอัตราการจ้างแรงงานตา่ งด้าว
2. กระทรวงแรงงาน ควรเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งรณรงค์
ส่งเสริม สนับสนุนและควบคุมให้ผู้ประกอบการปฏิบัติตามกฎหมายด้านแรงงานอย่างจริงจังเพื่อป้องกันและ
แกไ้ ขปัญหาแรงงานผิดกฎหมาย โดยเฉพาะแรงงานประมงและแรงงานในโรงงานขนาดใหญ่ท่ีมีแรงงานต่างด้าว
จานวนมาก
3. กระทรวงแรงงาน ควรมีการประเมินแรงงานท่ีส่งออกและแรงงานท่ีนาเข้าจากต่างประเทศแต่ละ
กลุ่มใหช้ ัดเจนเพ่อื เป็นข้อมลู สาหรับพัฒนาฝมี ือแรงงานของประเทศในอนาคต รวมทั้งควรมีแนวทางเพื่อรองรับ
การเคล่อื นยา้ ยแรงงานในประเทศสมาชิกอาเซยี น
กระทรวงแรงงาน
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 68 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณารา่ งพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
16. กระทรวงวฒั นธรรม
1. วิสัยทศั น์ วัฒนธรรมดี สร้างสังคมไทยสันติสุข เพ่ิมมูลค่าทางเศรษฐกิจ และเป็นศูนย์กลางการแลกเปล่ียนทาง
วัฒนธรรมในระดับสากล
2. พันธกิจ 1. เทิดทนู สถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และทานุบารุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมให้มีการสืบทอด
และพัฒนาอย่างย่งั ยืน
2. สร้างจิตสานึก สรา้ งคา่ นิยม และวิถีชีวิตที่ดีงามแบบไทย
3. ส่งเสรมิ การพฒั นาและต่อยอดทนุ ทางวฒั นธรรมเพ่อื สรา้ งมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกจิ
4. จดั การศึกษา วจิ ัย บรหิ ารจดั การองคค์ วามรู้ และสร้างนวัตกรรมด้านศาสนา ศลิ ปะ และวฒั นธรรม
5. ส่งเสรมิ และพฒั นาความสมั พนั ธท์ างวฒั นธรรมกบั นานาประเทศเพอื่ นาความเป็นไทยสสู่ ากล
3. สว่ นราชการ หน่วยงานในกากับ และกองทุนหมุนเวยี น
ส่วนราชการ หนว่ ยงานในกากับ/ รฐั วสิ าหกิจในกากับ กองทุนและเงินทนุ
องค์การมหาชน หมุนเวยี น
1. สานักงานปลดั กระทรวงวฒั นธรรม 1. ศนู ยม์ านุษยวทิ ยา 1. กองทนุ ส่งเสริม
2. กรมการศาสนา สริ ินธร (องค์การ การเผยแผ่
3. กรมศิลปากร มหาชน) พระพุทธศาสนา
4. กรมสง่ เสริมวัฒนธรรม เฉลมิ พระเกียรติ
2. หอภาพยนตร์
5. สานกั งานศลิ ปวัฒนธรรมร่วมสมัย (องคก์ ารมหาชน) 80 พรรษา
2. กองทุนสง่ เสริม
6. สถาบนั บัณฑติ พัฒนศลิ ป์ 3. ศนู ยค์ ณุ ธรรม
(องคก์ ารมหาชน) งานจดหมายเหตุ
สรปุ ประเด็นข้อสังเกตท่คี ณะกรรมาธิการให้ความสาคัญอยา่ งตอ่ เน่อื ง
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
วิสามัญฯ ในส่วนภารกิจของกระทรวงวัฒนธรรม 3 ปีย้อนหลัง (ระหว่างปีงบประมาณพ.ศ. 2560 - 2562)
พบว่ามีประเด็นสาคัญเก่ียวกับการดาเนินงานภายใต้ภารกิจของกระทรวงวัฒนธรรมท่ีคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
ใหค้ วามสาคญั อยา่ งต่อเนื่อง ดังนี้
ประเดน็ ท่ี 1 สรปุ ประเด็นข้อสงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามัญฯ
1.1
ดา้ นการพัฒนาบคุ ลากรดา้ นศิลปวัฒนธรรม
ปี 2562
การผลิตบัณฑติ ดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม
ปี 2560
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ควรมีการเปิดสอนทุกสาขาวิชาโดยขยายวิทยาเขตให้ครบ 76 จังหวัด
สนับสนุนนักศึกษาท่ีจบการศึกษาแล้วให้มีรายได้จากการแสดงศิลปวัฒนธรรม จัดให้มีสถานที่ให้
นกั ศึกษาทาการแสดง หรือส่งไปแสดงต่างประเทศ
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ต้องจัดทาแผนยุทธศาสตร์การผลิตบุคลากรในด้านศิลปวัฒนธรรมของ
ประเทศให้ตรงตามความต้องการของประเทศ เช่น มโนราห์ หนังตะลุง และศึกษาวิจัยต่อยอดขยายผล
ด้านศิลปวัฒนธรรมให้เกิดประโยชน์และเพ่ิมมูลค่าทางเศรษฐกิจให้มากยิ่งข้ึน ตลอดจนพัฒนาอาจารย์
ผสู้ อนของสถาบนั ใหส้ อดคล้องกบั บรบิ ทของวิชาการด้านพัฒนศลิ ปข์ องประเทศไทย
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 69 - กระทรวงวัฒนธรรม
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเด็นข้อสงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ประเด็นท่ี 2 สรปุ ประเดน็ ข้อสงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั ฯ
2.1
ด้านการเสรมิ สรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรม และความเป็นไทย
ปี 2562
ปี 2561 การปลูกฝงั ส่งเสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และความเปน็ ไทย
ปี 2560 กระทรวงวัฒนธรรม ควรมีการส่งเสริมในเร่ืองคุณธรรม จริยธรรม การเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม
มากกว่าส่วนตน ความสามัคคีกลมเกลียวทางสังคมเพื่อให้เกิดวัฒนธรรมที่ดี สังคมไทยมีสันติสุข
ประเด็นท่ี 3 ตอบสนองเปา้ หมายตามวิสยั ทัศนข์ องกระทรวง
ปี 2562
1) กระทรวงวัฒนธรรมและกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ควรร่วมกนั ปรบั ปรงุ หลักสตู รการศึกษาโดยสอดแทรก
ปี 2560 เนือ้ หาประวตั ศิ าสตร์ วฒั นธรรม วรรณคดไี ทย ไวใ้ นหลกั สูตรการเรยี นการสอน รวมทัง้ ปลกู ฝงั จติ สานกึ
ความเปน็ ไทยให้เดก็ และเยาวชน มีจิตใจโอบออ้ มอารี เขา้ ใจและตระหนกั ร้ถู งึ คณุ คา่ วฒั นธรรมไทย
ประเด็นที่ 4 ค่านิยม 12 ประการ โดยมีการจดั กิจกรรมสง่ เสริมวัฒนธรรมไทยอยา่ งต่อเนอื่ ง
4.1 2) กรมการศาสนา ควรสนับสนุนการดาเนินงานศูนย์พระพุทธศาสนาวนั อาทิตย์ และมีการปรับปรุง
หลักสตู รและวธิ ีการสอน โดยทางานร่วมกบั สภาเด็กและเยาวชนในการดงึ ดูดใหเ้ ด็กและเยาวชน
ปี 2562 เขา้ ร่วมกจิ กรรม รวมท้งั ส่งเสริมให้ผสู้ ูงอายมุ ีพืน้ ทใ่ี นการปฏบิ ตั ธิ รรม
1) ศูนยค์ ณุ ธรรม (องคก์ ารมหาชน) ควรสรา้ งเครอื ขา่ ยสง่ เสรมิ คณุ ธรรมโดยบรู ณาการกบั หน่วยงาน
ทง้ั ภายในและภายนอกกระทรวง อาทิ กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหม่บู า้ นเพื่อลดภาระ
ดา้ นงบประมาณและสามารถเช่ือมโยงการทางานในพ้ืนทไ่ี ด้อยา่ งกวา้ งขวางและทั่วถงึ
2) ศนู ย์คุณธรรม (องค์การมหาชน) และกระทรวงศึกษาธกิ าร ควรรว่ มกันปรบั ปรุงหลักสูตรและบรรจุ
วิชาชีพเก่ยี วขอ้ งกับคณุ ธรรมและการปอ้ งกนั การทจุ รติ ไวใ้ นหลกั สูตรการศกึ ษา เพื่อปลกู ฝังจติ สานึกดา้ น
คณุ ธรรมให้แกเ่ ยาวชนของชาติในการสร้างสังคมแหง่ คณุ ธรรมในอนาคต
ดา้ นการสง่ เสริมวฒั นธรรมเพือ่ สร้างมลู ค่าทางเศรษฐกิจ
กระทรวงวัฒนธรรม ควรจัดทาโครงการใหม่ ๆ เช่น นาวัฒนธรรมมาเช่ือมโยงกับเศรษฐกิจ
ให้ความสาคัญกับการอนุรักษ์วัฒนธรรมประจาถ่ิน ความเชื่อ และขนบธรรมเนียมไทยในแต่ละภาค
การรับประทานอาหารไทยที่ถูกตอ้ งตามขนบธรรมเนยี มประเพณี รวมทั้งอาคารบา้ นเรอื นทีม่ ีประวัติและ
ศลิ ปะอันเปน็ ท่เี ชิดหน้าชูตาของทอ้ งถ่นิ มกี ารเผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์ให้คนต่างชาติเข้าใจวัฒนธรรมไทย
มากขึน้
1) กระทรวงวัฒนธรรม ควรใช้ศูนยว์ ฒั นธรรมจงั หวดั เปน็ ศนู ย์กลางในการรวบรวมและเผยแพร่อนรุ กั ษ์
วัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาพืน้ บ้านในพื้นทต่ี ่าง ๆ โดยดาเนนิ การในลกั ษณะหอวฒั นธรรมหรือ
หอเกยี รตยิ ศเพอื่ จัดแสดงให้ประชาชนและนักทอ่ งเท่ียวตา่ งประเทศเขา้ ชม
2) กระทรวงวัฒนธรรม ควรบรู ณาการรว่ มกบั หนว่ ยงานอื่น ๆ เพอื่ ส่งเสรมิ วฒั นธรรมทั้งที่จบั ต้องไดแ้ ละ
จับตอ้ งไมไ่ ด้ และวฒั นธรรมในเชงิ สังคมและเศรษฐกิจ โดยพฒั นาอัตลักษณ์ของวฒั นธรรมด้านตา่ ง ๆ
เชน่ อาหารไทย ผา้ ไทย ดนตรไี ทย เพือ่ นามาต่อยอดสร้างจดุ ขายในการสร้างรายได้จากศลิ ปวฒั นธรรม
3) กระทรวงวัฒนธรรม ควรสนบั สนนุ การศึกษาวิจยั ดา้ นการอนรุ ักษแ์ ละพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว
เชิงวัฒนธรรม และเผยแพร่ความรเู้ พ่อื ใหป้ ระชาชนและนักท่องเทย่ี วร่วมอนรุ ักษ์โบราณสถาน
โบราณวัตถตุ ่าง ๆ เพอื่ ให้เกดิ การตอ่ ยอดและพฒั นาสามารถสร้างรายได้จากการท่องเทยี่ วใหแ้ ก่ประเทศ
4) กระทรวงวัฒนธรรม ควรกากับดูแลไม่ใหม้ ีการบิดเบอื นหรือการแปลงวฒั นธรรมการแสดงและ
การละเล่นของไทยเพอื่ มุง่ หวังประโยชน์จากนักท่องเทย่ี ว
ดา้ นการอนุรักษ์มรดกทางศลิ ปวฒั นธรรมของชาติ
การบรู ณะซอ่ มแซมโบราณสถานและโบราณวัตถุ
กรมศิลปากร ควรกาหนดหลักเกณฑ์ท่ีเหมาะสมในการจัดลาดับความสาคัญการเลือกโครงการท่ีจะ
บรู ณะซอ่ มแซม เพอ่ื ไม่ใหโ้ บราณสถานและโบราณวัตถุเส่อื มโทรมและเสยี หายจนบูรณะซ่อมแซมได้ยาก
หรือตอ้ งใชง้ บประมาณจานวนมาก
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 70 - กระทรวงวฒั นธรรม
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเด็นข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณาร่างพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ปี 2561 สรุปประเด็นขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ
ปี 2560
1) กรมศลิ ปากร ควรดาเนนิ การปรบั ปรงุ โบราณสถานในลกั ษณะโครงการขนาดใหญใ่ หแ้ ล้วเสร็จทลี ะ
แห่งมากกวา่ การทาเปน็ โครงการขนาดเล็ก
2) กรมศลิ ปากร ควรจัดระเบียบรา้ นคา้ ต่าง ๆ ภายในอุทยานศลิ ปวฒั นธรรมและพพิ ธิ ภณั ฑ์ รวมทง้ั มี
การสร้างเครอื ข่ายประชาชนและภาคเอกชนใหม้ ีส่วนรว่ มในการอนรุ ักษม์ รดกทางศลิ ปวฒั นธรรม
1) กรมศิลปากร ต้องเรง่ ดาเนินการข้นึ ทะเบียนโบราณสถานโบราณวัตถแุ ละบงั คบั ใชก้ ฎหมายอย่าง
เขม้ งวด โดยเฉพาะโบราณสถานทเี่ ป็นมรดกโลก
2) กรมศลิ ปากร ควรปรับปรุงพิพธิ ภัณฑใ์ ห้มรี ปู แบบทท่ี นั สมยั จูงใจใหเ้ ข้าชม รวมท้งั สรา้ งเครือขา่ ยภาค
ประชาชนและภาคเอกชนในการอนุรักษแ์ ละบรู ณะโบราณสถาน โบราณวตั ถุ
ทงั้ นี้ สานกั งบประมาณของรัฐสภาได้วเิ คราะห์ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการแล้วมีความเหน็ เพ่ิมเติมดังน้ี
1. กระทรวงวัฒนธรรมและกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา ควรร่วมกันพัฒนาแหล่งท่องเท่ียว
เชิงศิลปวัฒนธรรม สนับสนุนและส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมและวิถีไทย ที่ยังคงอนุรักษ์
ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และอัตลักษณ์ความเป็นไทย รวมท้ังเปิดโอกาสให้ชุมชนและองค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ไดเ้ ขา้ มามสี ่วนร่วมดาเนนิ การ
2. กระทรวงวัฒนธรรมและกระทรวงศึกษาธิการ ควรร่วมกันดาเนินการเพื่อรณรงค์และปลูกฝังให้
เด็กและเยาวชนไทยมีระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและความเป็นไทย มีความรัก หวงแหน และมี
ความภาคภูมิใจในอตั ลักษณค์ วามเป็นไทยและวฒั นธรรมประจาทอ้ งถิ่น
3. กระทรวงวัฒนธรรมควรสนับสนุนและส่งเสริมให้มีการแสดงผลงานทางศิลปะในพื้นที่สาธารณะ
ทไ่ี ม่มีมตี น้ ทนุ ค่าใช้จ่ายหรือมคี า่ ใชจ้ ่ายตา่ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้านศิลปะและวัฒนธรรมที่หลากหลายในชุมชน
รวมท้งั เปดิ โอกาสใหท้ ุกภาคส่วนไดเ้ ขา้ มามีส่วนร่วมในการกาหนดนโยบายดา้ นศิลปะและวัฒนธรรม
4. กรมศิลปากรควรกาหนดแผนการบูรณะซ่อมแซมโบราณสถานและโบราณวัตถุ รวมถึงกาหนด
หลักเกณฑใ์ นการจดั ลาดับความสาคัญของโครงการทจ่ี ะดาเนินการบรู ณะซ่อมแซมให้มีความชัดเจน
สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร - 71 - กระทรวงวัฒนธรรม
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเด็นข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
17. กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
1. วสิ ยั ทศั น์ นวตั กรรมนาไทยสูป่ ระเทศพัฒนาแลว้ อย่างยัง่ ยนื ภายในปี พ.ศ. 2560 – 2579
2. พันธกจิ 1. เสนอแนะนโยบาย และจัดทายุทธศาสตร์/ แผนดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม โดยบูรณาการ
รว่ มกนั ระหวา่ งหน่วยงานในสังกัดและหน่วยงานทเ่ี กีย่ วข้อง
2. ริเรมิ่ เร่งรดั ผลกั ดนั และดาเนินการวิจยั และพัฒนา เพ่ือสร้างองค์ความรู้ท่ีมีผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจ
และสงั คม
3. ร่วมมือกบั หนว่ ยงานต่าง ๆ สร้างคนดแี ละคนเก่งในทุกระดับ รวมทั้งสร้างความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และนวัตกรรมให้แพรห่ ลายและเปน็ ที่ยอมรบั กบั ทุกภาคสว่ นของประเทศ
4. พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน ระบบสนับสนุนและกลไกด้านต่าง ๆ ท่ีเอื้อต่อการสร้างปัญญาและการนา
องค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมไปใช้เพิ่มคุณค่ากับภาคการผลิตรวมถึง
ภาคสงั คม
5. สนบั สนุนใหม้ ีการถา่ ยทอดเทคโนโลยี และสรา้ งนวัตกรรมใหแ้ ก่ภาคการผลติ และบรกิ าร รวมท้ังบรกิ าร
สังคมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพ่ือเพมิ่ ผลิตภาพทางเศรษฐกิจและคุณภาพชวี ติ ของ
ประชาชน
3. สว่ นราชการ หน่วยงานในกากับ และกองทุนหมนุ เวียน
ส่วนราชการ หนว่ ยงานในกากับ/ รัฐวสิ าหกิจใน กองทนุ และเงินทนุ
องค์การมหาชน กากับ หมนุ เวียน
1. สานกั งานปลัดกระทรวง 1. สานกั งานพัฒนาเทคโนโลยี 1. สถาบนั วิจัย 1. กองทนุ เพ่ือการพฒั นา
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี อวกาศและภมู ิสารสนเทศ วิทยาศาสตร์และ ระบบมาตรวิทยา
2. กรมวทิ ยาศาสตรบ์ ริการ (องคก์ ารมหาชน) เทคโนโลยแี ห่ง
3. สานักงานปรมาณูเพ่ือสันติ 2. สถาบันเทคโนโลยนี วิ เคลยี ร์ ประเทศไทย
4. สานกั งานพฒั นาวิทยาศาสตร์ แหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน) 2. องคก์ ารพพิ ธิ ภณั ฑ์
และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ 3. สถาบันวจิ ยั แสงซนิ โครตรอน วิทยาศาสตร์
5. สานกั งานคณะกรรมการ (องค์การมหาชน) แห่งชาติ
นโยบายวิทยาศาสตร์ 4. สถาบนั วจิ ยั ดาราศาสตร์
เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม แห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน)
แหง่ ชาติ 5. สถาบนั สารสนเทศทรพั ยากร
6. สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ น้าและการเกษตร (องค์การ
มหาชน)
6. สานกั งานนวัตกรรมแหง่ ชาติ
(องคก์ ารมหาชน)
7. ศูนยค์ วามเป็นเลิศดา้ น
ชวี วิทยาศาสตร์ (องค์การ
มหาชน)
สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร - 72 - กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเด็นขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
สรุปประเดน็ ข้อสงั เกตทีค่ ณะกรรมาธิการใหค้ วามสาคญั อยา่ งต่อเนื่อง
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
วิสามัญฯ ในส่วนภารกิจของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 ปีย้อนหลัง (ระหว่างปีงบประมาณ
พ.ศ. 2560 - 2562) พบวา่ มปี ระเด็นสาคัญเก่ยี วกับการดาเนนิ งานภายใต้ภารกิจของกระทรวงวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีทีค่ ณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ ให้ความสาคัญอย่างต่อเน่อื ง ดงั น้ี
ประเด็นที่ 1 สรปุ ประเด็นข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ
1.1
ด้านการพฒั นางานวจิ ยั เทคโนโลยี และนวัตกรรม
ปี 2562 การพัฒนาเพ่ือเพม่ิ มลู ค่าในเชิงพาณิชย์
ปี 2561 ศนู ย์ความเปน็ เลศิ ดา้ นชวี วทิ ยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) ควรสง่ เสริมการนาผลงานวจิ ัยไปขยายผล
ปี 2560 ในเชิงพาณชิ ย์ มงุ่ เนน้ งานวิจยั และพัฒนาผลติ ภณั ฑด์ า้ นวิทยาศาสตรส์ ุขภาพใหม้ ากขึ้น
1.2
1) กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ควรมุ่งเนน้ วิจยั ในเร่อื งสาคญั ใหช้ ัดเจน มีความโดดเด่น
ปี 2562
สามารถตอ่ ยอดได้มลู คา่ สูงขนึ้ ไม่ซา้ ซ้อนกับหน่วยงานอ่ืนและคานึงถงึ ผลกระทบดา้ นส่งิ แวดล้อม
ปี 2561
ปี 2560 ไม่ควรสง่ เสรมิ งานวิจยั ทมี่ ลี กั ษณะแยกสว่ นซึ่งสง่ ผลใหง้ บประมาณกระจายไปทาหลายเรอ่ื ง
2) สานักงานพัฒนาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ การวิจยั ด้านเมลด็ พันธพุ์ ชื ควรคานึงถงึ
ความตอ้ งการและราคาของผลผลติ ในตลาดโลกและข้อตกลงทางการคา้ ระหว่างประเทศ
3) สานกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ ควรประสานหน่วยงานท่เี กย่ี วขอ้ งเพอ่ื นา
ผลงานวจิ ัยไปใช้ประโยชน์ โดยเฉพาะด้านนวัตกรรมดา้ นการเกษตรทีผ่ ่านการตรวจมาตรฐานแล้ว เชน่
เคร่อื งหยอดเมลด็ พันธ์ขุ า้ ว เทคโนโลยกี ารกาจดั มอด นวตั กรรมลอ้ ยางตัน
สานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ต้องเร่งรัดศึกษาและรวบรวมข้อมูลนวัตกรรม
จากหลากหลายหน่วยงานซ่ึงมอี ยูจ่ านวนมาก โดยเฉพาะนวัตกรรมด้านเกษตรกรรมพื้นฐานเพ่ือนาไปใช้
ในการพัฒนาเพิม่ มลู ค่าในเชงิ พาณิชยแ์ ละสนบั สนนุ การดาเนินงานของธุรกิจ SMEs
การสนับสนุนและสง่ เสรมิ ภาคเอกชน
1) สานกั งานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแหง่ ชาติ ควรกาหนดให้
ภาคเอกชนเขา้ ร่วมดาเนนิ การในการวจิ ยั และนวตั กรรมขนาดใหญ่เพอื่ ขบั เคลอ่ื นยทุ ธศาสตรเ์ ป้าหมาย
โดยพจิ ารณาความพร้อมและระยะเวลาการดาเนินงานให้เหมาะสม คานึงถึงความสอดคลอ้ งเช่ือมโยงกบั
อุตสาหกรรมในอนาคต (S-Curve) และตอบสนองนโยบายเรง่ ดว่ นของรฐั บาล
2) ศูนยค์ วามเป็นเลศิ ด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) ควรให้ความสาคญั กบั การพฒั นา
ผูป้ ระกอบการรายใหม่ (Startup) ดา้ นชวี วิทยาศาสตร์ทเ่ี กยี่ วกบั อาหารและเครื่องสาอางให้สามารถ
สร้างมลู ค่าทางเศรษฐกจิ เพ่มิ มากข้ึน
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ควรสนับสนุนภาคเอกชนท่ีเป็นคนไทยให้ความสาคัญการวิจัย
และพัฒนาให้มากขึ้น ตลอดจนหาแนวทางหรือวิธีการส่งเสริมให้นาองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ไปใช้
ในชุมชนชนบท
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต้องให้ความสาคัญกับการเร่งรัดให้ภาคเอกชนที่เป็นบริษัท
ของคนไทยเข้าร่วมการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา เพ่ือสนับสนุนนโยบายมุ่งไปสู่ไทยแลนด์ 4.0
ส่งเสริมให้มีการหมุนเวียนบุคลากรและมีการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างภาครัฐและเอกชน
เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในภาคการผลิตและบริการ รวมท้ังจัดให้มีการถ่ายทอดความรู้และพัฒนา
บุคลากรให้กับหน่วยงานอ่ืน ๆ ที่เกย่ี วขอ้ ง
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 73 - กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะห์ประเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
1.3 การส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การพัฒนางานวจิ ยั ฯ
ปี 2562
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ควรกาหนดทิศทางและนโยบายให้ชัดเจนระหว่างงานวิจัย
ปี 2561 เรื่องใหม่และงานวิจัยเชิงลึกในเร่ืองเดิม รวมท้ังประสานความร่วมมือในการทางานวิจัยและพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ เพ่ือลดความซ้าซอนของงบประมาณซึ่งมีหลายหน่วยงานดาเนินการ เช่น
ประเด็นที่ 2 กรมวทิ ยาศาสตร์บริการ กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์
2.1
1) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ควรผลักดนั การแกไ้ ขกฎหมายเกี่ยวกบั การวิจยั และการพฒั นา
ปี 2562
ด้านวิทยาศาสตรเ์ พื่อสนับสนุนใหน้ กั วิจัยไดน้ าผลงานวิจยั ไปสู่การปฏบิ ตั ิ
ปี 2561
2) สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ควรเผยแพร่ผลงานวจิ ยั โดยเสนอให้ง่าย
2.2
ปี 2562 ต่อความเขา้ ใจและประชาชนท่ัวไปสามารถเขา้ ถงึ ได้
ปี 2561 ดา้ นการพัฒนากาลงั คนดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
ประเดน็ ที่ 3 การสรา้ งแรงจงู ใจให้เด็กและเยาวชน
3.1
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและกระทรวงศึกษาธิการ ควรร่วมกันสร้างแรงจูงใจให้เด็กและ
ปี 2562 เยาวชนรกั การเรยี นวทิ ยาศาสตร์ โดยส่งเสริมการเรียนรจู้ ากการเข้าชมพพิ ธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตรผ์ า่ นการใช้
ปี 2561 ระบบพิพิธภัณฑเ์ สมือนจริง (Virtual Museum) โดยใชส้ อ่ื มัลตมิ ีเดยี
สานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ควรหาวิธีจูงใจให้นักเรียนเลือกเรียนด้าน
วทิ ยาศาสตรม์ ากขึน้ สนับสนนุ ทุนศกึ ษาตอ่ ต่างประเทศในสาขาวิทยาศาสตร์ที่ตรงกับความต้องการของ
ประเทศ โดยแสดงเส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Path) เพ่ือให้เกิดแรงจูงใจในการ
ประกอบอาชพี และโอกาสในการเติบโตในสายอาชพี
การส่งเสริมพิพธิ ภัณฑ์วิทยาศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ควรจัดเก็บข้อมูลจานวนผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์
โดยจาแนกตามกลุ่มเป้าหมายเพ่ือนามาวิเคราะห์และจัดทาแผนส่งเสริมการตลาดให้สอดคล้องกับ
ความตอ้ งการของกลุม่ เป้าหมาย และควรคานงึ ถึงคุณภาพผู้เขา้ ชมมากกวา่ ปรมิ าณผูเ้ ขา้ ชม
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ควรเร่งประชาสัมพันธ์เพ่ือดึงดูดผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์
วทิ ยาศาสตร์ ควรจัดให้มีกิจกรรมสาหรับเด็กและผู้ใหญ่ทาการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ประชาสัมพันธ์
ใหโ้ รงเรียนท้ังต่างจังหวดั และในกรุงเทพมหานครมาใชป้ ระโยชนจ์ ากพพิ ธิ ภณั ฑ์
ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภมู สิ ารสนเทศ
การพัฒนาระบบดาวเทียม
สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) โครงการระบบดาวเทียม
สารวจเพอื่ การพฒั นา (THEOS-2) มีการจ้างเอกชนมาดาเนินการ ควรให้มีการถ่ายทอดความรู้เทคนิค
เพื่อพัฒนาบุคลากรภาครัฐร่วมด้วย และสนับสนุนโครงการพัฒนาดาวเทียมต้นแบบขนาดเล็ก
เพือ่ ส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยขี องประเทศใหก้ า้ วหนา้ ตอ่ ไป
สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) ควรบูรณาการภารกิจ
ท่ีเกี่ยวกับดาวเทียมและการทาแผนท่ีแนวเขตที่ดินของรัฐแบบบูรณาการ (One Map) ร่วมกับ
หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเก่ียวกับการบุกรุกพ้ืนท่ี
ปา่ ของประชาชน กรมโยธาธิการและผังเมืองเก่ียวกับการวางผังเมือง และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ในการจัดทาฐานข้อมูลเก่ียวกับปริมาณผลผลิตทางการเกษตรและการจัดโซนน่ิงพื้นที่เพาะปลูก
ให้เหมาะสมกับความตอ้ งการของตลาด เปน็ ตน้
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 74 - กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเด็นข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ประเด็นที่ 4 ดา้ นสารสนเทศทรพั ยากรน้าและการเกษตร
4.1 การพฒั นาฐานข้อมลู ทรัพยากรน้า
สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้าและการเกษตร (องค์การมหาชน) ควรพัฒนาฐานข้อมูลด้านน้า
ปี 2562 เพื่อนาไปใช้บริหารจัดการทรัพยากรน้าของประเทศ และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยให้สามารถ
ปี 2561 เรยี กใช้ขอ้ มลู ผา่ นทางเครอื ขา่ ยอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Online) แบบทันที (Real Time)
ประเดน็ ที่ 5 สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้าและการเกษตร (องค์การมหาชน) ควรร่วมมือกับหน่วยงานอ่ืน
5.1 ทีเ่ กีย่ วขอ้ งเพ่อื จัดทาคลงั ข้อมลู ทรพั ยากรนา้ ใหม้ ีความสมบรู ณ์และทนั สมยั ควรกาหนดปฏิทินการเกษตร
ให้สอดคลอ้ งกบั ปริมาณนา้ และประชาสมั พนั ธ์ใหป้ ระชาชนและหน่วยงานอนื่ เข้าถึงข้อมูลของหน่วยงาน
ปี 2562 ไดอ้ ย่างสะดวก
ดา้ นความม่ันคงปลอดภัยทางนวิ เคลียร์และรงั สี
ปี 2560 การประชาสมั พันธ์และเผยแพร่ความรแู้ ก่ประชาชน
สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ควรนาผลการวิจัยมาเผยแพร่ให้ประชาชน
5.2 ได้รับทราบถึงประโยชน์จากพลังงานนิวเคลียร์ และสร้างความรู้ความเข้าใจกับประชาชนเก่ียวกับ
ปี 2562 ความปลอดภัยและการป้องกนั อันตรายจากรงั สี
ปี 2561 1) สานกั งานปรมาณูเพื่อสันติ ตอ้ งใหค้ วามสาคัญกบั การประชาสมั พนั ธ์ เผยแพรค่ วามรแู้ ละให้ขอ้ มลู
ปี 2560 ที่ถูกต้องแกป่ ระชาชนเพอ่ื ลดการต่อตา้ น
2) สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลยี รแ์ หง่ ชาติ (องค์การมหาชน) ต้องเรง่ รดั ประชาสัมพนั ธ์สร้างความรู้
ความเข้าใจกับประชาชนเกย่ี วกบั ความจาเป็นดา้ นพลงั งานนวิ เคลียร์ซึ่งมีความสาคญั และส่งผลตอ่ ความ
ม่นั คงดา้ นพลังงานของประเทศทัง้ ในแนวกวา้ งและแนวลกึ
การกากบั ดแู ลการใชพ้ ลังงานนวิ เคลยี รแ์ ละรงั สี
สถาบันเทคโนโลยีนวิ เคลียรแ์ ห่งชาติ (องค์การมหาชน) ควรกาหนดมาตรการหรือบทลงโทษ กรณีท่ีมี
การตรวจสอบพบการปนเป้อื นจากการละเมิดด้านความปลอดภยั
1) สานกั งานปรมาณูเพื่อสนั ติ ควรมแี ผนและวธิ ีการในการกากบั ดแู ลการพัฒนาเครือข่ายดา้ นนวิ เคลยี ร์
และรงั สที ่ีเปน็ รูปธรรมเพ่อื ใหเ้ กิดความปลอดภัยแกป่ ระชาชนและสงิ่ แวดล้อม
2) สถาบนั เทคโนโลยนี วิ เคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ภารกจิ งานดา้ นนวิ เคลยี ร์ควรกาหนด
ภารกจิ ของแตล่ ะหน่วยงานใหเ้ กดิ ความชัดเจนเน่อื งจากมหี ลายหน่วยงานดาเนนิ การ ได้แก่
กรมวิทยาศาสตรบ์ รกิ าร และสานกั งานปรมาณเู พ่อื สันติ
1) สานกั งานปรมาณเู พื่อสนั ติ ควรประสานความร่วมมือกับหนว่ ยงานท่ีเก่ียวขอ้ งเพ่ือสร้างการมสี ว่ น
ร่วม ดา้ นความปลอดภยั จากการใช้พลังงานนวิ เคลียร์และรงั สี
2) สถาบนั เทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) กรณที ม่ี ีความจาเปน็ ตอ้ งมกี ารสรา้ ง
โรงไฟฟ้านิวเคลียรใ์ นอนาคต ตอ้ งเตรยี มความพรอ้ มโดยการศึกษาวจิ ยั ใหค้ รอบคลุมทง้ั ด้านเทคนิค ความ
ปลอดภยั และสภาพแวดล้อม
สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร - 75 - กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเด็นขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ทัง้ น้ี สานักงบประมาณของรัฐสภาได้วิเคราะหข์ อ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารแล้วมีความเห็นเพิ่มเติมดังน้ี
1. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานที่เก่ียวข้องควร
ร่วมกันศึกษาและวิเคราะห์เพ่ือประมาณการความต้องการและความสามารถในการผลิตกาลังคนด้าน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรม เพ่ือนาไปสูก่ ารจัดแผนการพัฒนาบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวตั กรรมของประเทศ
2. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ และสานักงานคณะกรรมการ
ข้าราชการพลเรือน ควรบูรณาการให้ทุนการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์โดยให้ความสาคัญกับสาขาที่ประเทศ
ขาดแคลน
3. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ควรร่วมกับกระทรวงแรงงาน และสถาบันการศึกษาจัด
หลกั สตู รทัง้ ระยะส้ันและระยะยาว เพือ่ เพมิ่ พูนทกั ษะและความสามารถให้กับกาลังแรงงานดา้ นวิทยาศาสตร์
4. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ควรมีแนวทางหรือมาตรการเพื่อจูงใจให้คนไทยท่ีอยู่ใน
ต่างประเทศหรือคนต่างชาติท่ีมีทักษะสูงในด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมในสาขาที่ขาดแคลนให้
กลบั มาปฏบิ ัติงานในประเทศไทย
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 76 - กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณารา่ งพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
18. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
1. วสิ ยั ทศั น์ มงุ่ พฒั นาผู้เรยี นให้มีความรู้ ค่คู ณุ ธรรม มีคณุ ภาพชีวิตทมี่ คี วามสุขในสงั คม
2. พนั ธกจิ
1. ยกระดบั คณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทกุ ระดับ/ประเภทสสู่ ากล
2. เสริมสร้างโอกาสเขา้ ถึงบรกิ ารทางการศกึ ษาของประชาชนอยา่ งทั่วถึง เทา่ เทียม
3. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การการศกึ ษาตามหลักธรรมาภบิ าล
3. สว่ นราชการ หน่วยงานในกากับ และกองทนุ หมุนเวียน
สว่ นราชการ หน่วยงานในกากับ/องคก์ ารมหาชน รัฐวิสาหกจิ กองทนุ และเงนิ ทนุ
ในกากบั
หมุนเวียน
1. สานักงานปลดั กระทรวง 1. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี
1. กองทนุ
ศกึ ษาธกิ าร 2. มหาวทิ ยาลยั วลัยลกั ษณ์ สงเคราะห์
2. สานกั งานเลขาธกิ ารสภา 3. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอม 2. กองทนุ
ส่งเสรมิ และ
การศกึ ษา เกลา้ ธนบรุ ี พัฒนา
การศึกษา
3. สานักงานคณะกรรมการ 4. มหาวิทยาลยั แมฟ่ า้ หลวง สาหรบั คน
พิการ
การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน 5. มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราช
4. สานกั งานคณะกรรมการการ วทิ ยาลัย
อาชวี ศึกษา 6. มหาวิทยาลยั มหามกุฏราช
5. สานกั งานคณะกรรมการการ วิทยาลัย
อดุ มศึกษา 7. มหาวิทยาลยั มหดิ ล
6. สถาบนั วทิ ยาลยั ชมุ ชน 8. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอม
7. มหาวทิ ยาลยั นเรศวร เกล้าพระนครเหนือ
8. มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม 9. มหาวิทยาลยั บรู พา
9. มหาวิทยาลยั รามคาแหง 10. มหาวทิ ยาลยั ทกั ษิณ
10. มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช 11. จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั
11. มหาวิทยาลยั อุบลราชธานี 12. มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่
12. สถาบันพัฒนบรหิ ารศาสตร์ 13. สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้
13. สถาบนั เทคโนโลยปี ทมุ วนั เจ้าคณุ ทหารลาดกระบงั
14. มหาวิทยาลยั นราธวิ าสราช 14. มหาวิทยาลยั พะเยา
นครินทร์ 15. สถาบันดนตรีกลั ยาณิวฒั นา
15. มหาวิทยาลยั นครพนม 16. มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
16. มหาวิทยาลยั กาฬสินธุ์ 17. มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่
17. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาญจนบรุ ี 18. มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
18. มหาวิทยาลยั ราชภฏั 19. มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ
กาแพงเพชร 20. มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ
19. มหาวิทยาลยั ราชภฏั จนั ทรเกษม 21. มหาวิทยาลยั ศิลปากร
20. มหาวิทยาลยั ราชภฏั ชัยภมู ิ 22. มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์
21. มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชยี งราย 23. มหาวิทยาลยั แม่โจ้
22. มหาวิทยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่ 24. สถาบันสง่ เสรมิ การสอน
23. มหาวิทยาลยั ราชภฏั เทพสตรี วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
24. มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบุรี 25. สานกั งานเลขาธกิ ารคุรสุ ภา
สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร - 77 - กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
3. สว่ นราชการ หน่วยงานในกากับ และกองทนุ หมุนเวยี น
สว่ นราชการ หนว่ ยงานในกากบั /องคก์ ารมหาชน รฐั วิสาหกจิ กองทุนและเงนิ ทุน
ในกากบั หมนุ เวียน
25. มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม 26. สานกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ สวสั ดิ
26. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภาพครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
นครราชสมี า 27. โรงเรียนมหิดลวิทยานสุ รณ์
27. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
28. สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้า
นครศรีธรรมราช
28. มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ และการพฒั นา (องคก์ ารมหาชน)
29. มหาวิทยาลยั ราชภฏั บ้านสมเดจ็
29. สถาบันทดสอบทางการศึกษา
แหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน)
เจา้ พระยา
30. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรรี ัมย์
31. มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร
32. มหาวิทยาลยั ราชภฏั
พระนครศรอี ยธุ ยา
33. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พบิ ลู
สงคราม
34. มหาวิทยาลยั ราชภฏั เพชรบรุ ี
35. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลย
อลงกรณ์
36. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพชรบรู ณ์
37. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภเู ภ็ต
38. มหาวิทยาลยั ราชภฏั
มหาสารคาม
39. มหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา
40. มหาวิทยาลยั ราชภฏั ราช
นครินทร์
41. มหาวิทยาลยั ราชภฏั รอ้ ยเอด็
42. มหาวิทยาลยั ราชภฏั ราไพพรรณี
43. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เลย
44. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลาปาง
45. มหาวิทยาลยั ราชภฏั ศรสี ะเกษ
46. มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร
47. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา
48. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนสุนัน
ทา
49. มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสุ
ราษฎรธ์ านี
50. มหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ ินทร์
51. มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมบู่ ้าน
จอมบึง
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 78 - กระทรวงศกึ ษาธิการ
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะห์ประเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
3. ส่วนราชการ หน่วยงานในกากบั และกองทนุ หมุนเวยี น
ส่วนราชการ หนว่ ยงานในกากบั /องคก์ ารมหาชน รัฐวิสาหกจิ กองทนุ และเงนิ ทนุ
ในกากบั หมนุ เวียน
52. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี
53. มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุตรดิตถ์
54. มหาวิทยาลยั ราชภฏั
อบุ ลราชธานี
55. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าช
มงคลธัญบรุ ี
56. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าช
มงคลกรงุ เทพ
57. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าช
มงคลตะวนั ออก
58. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าช
มงคลพระนคร
59. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าช
มงคลรตั นโกสินทร์
60. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าช
มงคลล้านนา
61. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าช
มงคลศรวี ิชยั
62. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าช
มงคลสวุ รรณภมู ิ
63. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าช
มงคลอสี าน
4. แผนงานบรู ณาการภายใตก้ ระทรวง หน่วยงานเจ้าภาพ
แผนงานบรู ณาการยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาและเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต - สานกั งานปลดั กระทรวง
ศกึ ษาธิการ
- สานกั งานเลขาธกิ ารสภา
การศกึ ษา
สานกั งานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร - 79 - กระทรวงศกึ ษาธิการ
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะห์ประเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
สรปุ ประเดน็ ขอ้ สังเกตทค่ี ณะกรรมาธิการให้ความสาคญั อยา่ งต่อเน่ือง
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
วิสามัญฯ ในส่วนภารกิจของกระทรวงคมนาคม 3 ปีย้อนหลัง (ระหว่าง ปีงบประมาณพ.ศ. 2560 - 2562)
พบว่ามีประเด็นสาคัญเก่ียวกับการดาเนินงานภายใต้ภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีคณะกรรมาธิการ
วสิ ามญั ฯ ใหค้ วามสาคัญอยา่ งตอ่ เน่อื ง ดังน้ี
สรุปประเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
ประเดน็ ที่ 1 การปฏริ ปู การศึกษา
ปี 2562 1) วางแผนการปฏิรูปการศึกษา เพ่อื ให้สามารถแกไ้ ขปญั หาความเลอ่ื มล้า
2) ทบทวนหลักสตู รการเรยี นการสอนและคณุ ภาพครูใหม้ ีคณุ ภาพ
3) ปลูกฝงั ให้เด็กไทยมจี ติ สานึกรับผดิ ชอบต่อส่วนรวม และคานึงถงึ ผลโยชน์ของชาตมิ ากขึน้
ปี 2561 1) ลดเวลาเรียนแบบครูบอกเลา่ เพมิ่ เวลารู้จากการเรียนการสอนแบบกิจกรรม
2) พฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนใหน้ กั เรยี นรจู้ ัดคิดและพฒั นาการตามวยั
3) ควรพฒั นาในเรอื่ งความรู้ความสามารถของครูใหม้ คี ณุ ภาพ
ปี 2560 1) ให้ความสาคัญกับโครงการเรียนร่วมหลักสตู รอาชีวศึกษาและมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
2) ให้ความสาคัญกบั การลดเวลาเรยี นเพมิ่ เวลารู้
3) ปฏริ ปู การศกึ ษาเพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาใหท้ ัว่ ถึง
4) พฒั นาครูท้งั ทางด้านวชิ าการและดา้ นจิตวทิ ยา
ประเด็นที่ 2 การบริหารจดั การการศึกษา
ปี 2562 1) ควรใหค้ วามสาคญั กบั คุณภาพการศึกษามากกวา่ การก่อสรา้ งอาคารเพ่อื ขยายห้องเรียน
2) สนบั สนุนและควบคุมคณุ ภาพการเรยี นการสอน Home School
3) การพฒั นาการศึกษาพน้ื ที่ชายแดนภาคใต้ ควรประสานหน่วยงานความมนั่ คงและองคก์ รต่างๆ ใน
พื้นท่ี ในการกาหนดนโยบายใหช้ ดั เจนและสอดคล้องกับอตั ลักษณ์ของพน้ื ท่ี
4) พัฒนาระบบนเิ วศทางการศกึ ษา เพอ่ื ใหส้ ถานศึกษาสามารถรองรบั ความหลากหลายของกลุ่มผเู้ รยี น
เชน่ ผพู้ ิการ หรือผดู้ อ้ ยโอกาส เปน็ ต้น
5) สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐานควรสนบั สนนุ Systematic Thinking และศาสตร์
พระราชา ตอ่ นกั เรียน
6) สานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา ควรรกั ษามาตรฐานคณุ ภาพการศกึ ษาโดยการติดตาม
ประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพของหลกั สตู ร โดยเฉพาะหลักสตู รปริญญาโทและเอก
7) มหาวิทยาลัยตา่ งๆ ควรเน้นระบบการเรยี นการสอนแบบออนไลนใ์ หม้ ากขึ้น
8) มหาวิทยาลัยราชภัฏ 38 แห่ง ควรกาหนดแนวทางการดาเนินงานรว่ มกนั ในการยกระดบั คุณภาพ
การศกึ ษาจากพน้ื ทีท่ ่ีมคี วามแตกตา่ งกนั
9) สานักงานเลขาธิการครุ สุ ภา ควรกาหนดและรักษามาตรฐานวชิ าชพี ครู โดยการสอบวัดผลระหว่าง
การศกึ ษาในระดบั อุดมศกึ ษาด้วยเช่นกัน พรอ้ มทัง้ ควรมีการกากับจรรยาบรรณวชิ าชีพครู
ปี 2561 1) ควรแก้ไขปญั หาความเหลื่อมลา้ ทางการศกึ ษาระหวา่ งโรงเรยี นในท้องถ่ินและโรงเรยี มในเมือง
2) ควรผลิตบคุ ลากรให้ตรงกบั ตลอดแรงงาน และสร้างค่านยิ มใหเ้ ยาวชนเลอื กเรียนอาชวี ะใหม้ ากขึ้น
3) หลักสูตรของแตล่ ะมหาวทิ ยาลยั ต้องผ่านมาตรฐานเกณฑค์ ณุ ภาพ
1. ควรมกี ารปรบั ตัวจากจานวนประชากรของประเทศที่มปี รมิ าณลดลง อาทิ การควบรวมสถาบันการศกึ ษา
การลดการขยายวทิ ยาเขต
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 80 - กระทรวงศึกษาธกิ าร
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเด็นขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณาร่างพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ปี 2560 สรปุ ประเด็นขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ
ประเด็นที่ 3 1) ผลติ บุคลากรใหส้ อดคลอ้ งกบั ตลาดแรงงานในแต่ละระดับ อาทิ สาขาโลจสิ ตกิ ส์
ปี 2562 2) ทบทวนหลกั สตู รการศึกษาให้สอดรบั กบั ความชอบของนักศกึ ษา การสืบทอดภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ความ
ปี 2561 ตอ้ งการของตลาด และนโยบายของรัฐบาล
ปี 2560
3) เร่งรดั การควบรวมโรงเรยี นขนาดเลก็ ที่อยใู่ นพน้ื ที่ใกล้เคยี ง และควรทบทวนการเพ่มิ
ประเด็นที่ 4
สถาบันอดุ มศึกษา/หาแนวทางควบรวมสถาบนั อดุ มศึกษาที่อยใู่ นพน้ื ทีใ่ กล้เคียงกนั
ปี 2562
ปี 2561 การส่งเสรมิ สาขาวิชาทร่ี องรับการพัฒนาประเทศในอนาคต
ปี 2560 1) สานักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา ควรเนน้ การผลิตนักศึกษาเพอ่ื รองรบั การขับเคล่ือน EEC
ประเด็นที่ 5 และรองรับสังคมผสู้ งู อายใุ นอนาคต
ปี 2562 2) มหาวทิ ยาลัยราชภฏั และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ควรมกี ารสารวจความต้องการแรงงานของ
ภาคเอกชนในพืน้ ที่
3) เชือ่ มโยงภูมปิ ัญญาไทยเขา้ กบั วทิ ยาศาสตร์ และมหี ้องทดลองวทิ ยาศาสตรใ์ นแตล่ ะโรงเรยี นเพอ่ื
กระตุ้นการเรยี นรูข้ องเด็ก
ควรเตรียมความพรอ้ มในการสรา้ งบคุ ลากรสาหรับระบบโลจิสตกิ ส์ จากแนวโนม้ ในอนาคตทจ่ี ะมีการใช้
ระบบรางและการบนิ มากขึ้น
เพิม่ การพัฒนาหลักสตู รดา้ นระบบโลจสิ ตกิ ส์ ใหส้ อดรบั กับนโยบายรฐั บาล
การพัฒนาแนวทางการวิจัย
มหาวิทยาลยั ราชภฏั ควรสรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมอื ในการดาเนนิ การวิจยั และการดึงปราชญ์ชาวบา้ น
เขา้ มามสี ่วนร่วมในการแลกเปลย่ี นประสบการณ์
นาภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ มาทาการวจิ ยั เพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลิตภัณฑพ์ ืน้ บ้านออกสสู่ งั คม
ดาเนินงานด้านวิชาการควบค่กู ับงานให้บรกิ ารแกช่ ุมชนและสังคม และการอนรุ ักษ์ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน
การบริหารจดั การภายใน
1) ควรมกี ารตรวจสอบการทุจริตโครงการอาหารกลางวัน นมโรงเรยี น และอ่นื ๆ อยา่ งจริงจงั
2) ตรวจสอบความซา้ ซ้อนของงบประมาณ จากการตัง้ งบประมาณไวห้ ลายหน่วยงาน
3) ควรหาแนวทางลดรายจ่ายประจาเพื่อลดภาระงบประมาณของประเทศ
4) สานักงานคณะกรรมการอาชวี ศึกษา ควรสรา้ งค่านิยมดา้ นอาชวี ศึกษาให้ไดก้ ารยอมรบั จากสงั คมและ
มีผลตอบแทนท่ดี ี
5) สานักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา กากบั มหาวทิ ยาลัยตา่ งๆ ให้มีการดาเนินงานโดยยึดหลกั ธรร
มาธบิ าล
ทงั้ นี้ สานักงบประมาณของรัฐสภาได้วิเคราะห์ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารแล้วมีความเห็นเพิม่ เตมิ ดังน้ี
1) สานักงานปลัดกระทรวงศึกษา
1.1) ควรให้ความสาคัญในการศึกษาภาพรวมงบลงทุนของกระทรวงฯ เพ่ือสร้างนวัตกรรมทาง
การศึกษาให้ไปสกู่ ารพฒั นาประเทศ
1.2) ควรบูรณาการโครงการ Big Data ของกระทรวงศึกษาธิการ ร่วมกับหน่วยงานอ่ืนๆ ที่
ดาเนินการจัดทา Big Data เพ่ือลดความซา้ ซอ้ นและสรา้ งศกั ยภาพดา้ นข้อมูล
1.3) ควรมีการเชื่อมโยงเป้าหมายการผลิตบุคลากรของประเทศตั้งแต่ระดับอนุบาลจนถึง
ระดับอดุ มศึกษาอยา่ งมีคณุ ภาพและตอบโจทยก์ ารพัฒนาของประเทศ
สานกั งานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร - 81 - กระทรวงศกึ ษาธิการ
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาร่างพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
1.4) นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ควรมีตัวช้ีวัดด้านคุณภาพของ Lifelong Leaning แทน
ตวั ชว้ี ัดเชงิ ปริมาณในการวัดร้อยละผู้ผา่ นการฝกึ อบรม
1.5) ควรหาแนวทางบรหิ ารจัดการงบประมาณกบั ปริมาณนกั เรยี นและนักศึกษาท่ีลดลง
1.6) งบอุดหนุนนมโรงเรียนและอาหารกลางวันนักเรียน ไม่ควรแยกอยู่ในแผนงานบูรณาการที่
ตา่ งกัน
1.7) ควรมกี ารบริหารจดั การการศกึ ษาในรปู แบบเฉพาะกิจเนื่องจากเป็นพื้นที่ท่ีไม่ปกติ และทุกคน
ในพืน้ ท่มี องว่าสถานการศึกษาจะเป็นศูนย์รวมชุมชนเพื่อสรา้ งพ้นื ฐานการศกึ ษาและอาชพี ให้กับลูกหลาน
1.8) ควรใหค้ รไู ด้รับการพฒั นาทต่ี ่อเนอ่ื ง เพ่อื คณุ ภาพการถา่ ยทอดวิชาความรใู้ หก้ บั เด็กนักเรยี น
2) สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา
2.1) ควรมีงานวิจยั เก่ยี วกบั ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลโครงสร้างภายในกระทรวงศึกษาธิการ ให้
สอดรบั กับบริบทสมยั ปจั จุบนั
2.2) ตอ้ งมีบทบาทนาในการกาหนดเปา้ หมายหลักของกระทรวงฯ เพื่อให้เกิดการประสานงานและ
บรู ณาการภายในได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล
2.3) กรอบคุณวุฒิวิชาชีพ เป็นประเด็นสาคัญในการปฏิรูปการศึกษา และการรองรับภาคแรงงาน
ตอ่ ผู้วา่ จา้ ง จงึ ควรให้มีการเทยี บเคียงกบั ประเทศเพ่ือนบา้ น
2.4) ควรให้ความสาคัญในการกาหนดหลักสูตรสาขาวิชาเพื่อขับเคล่ือนเป้าหมายของประเทศและ
ความต้องการของคนในพื้นท่ี 3 จงั หวัดชายแดนภาคใต้
2.5) ควรมีแนวทางให้นักศึกษา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จบมาแล้วได้งานทา หรือได้ทางานตาม
สาขาวชิ าที่ได้เรยี น
2.6) หน่วยงานหลัก 5 หน่วยงานของกระทรวงฯ ควรปฏิรูปการศึกษาโดยการสร้างเอกภาพในการ
ทางานและมแี ผนการปฏิรูปโครงสร้างการทางานภายใต้กระทรวงไดอ้ ย่างแทจ้ ริง
2.7) ควรมีแนวทางบรหิ ารจัดการ ปริมาณนักเรียนชนบทย้ายเข้ามาเรียนในโรงเรียนพ้ืนที่เขตเมือง
และการลดความเหล่อื มลา้ ทางการศึกษา
3) สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
3.1) ควรทบทวนลาดับความสาคัญในการปรับปรุงครู นักเรียน ระบบ และหลักสูตรท่ีมีความ
หลากหลายของแตล่ ะพื้นท่ี
3.2) ควรหาแนวทางในการสร้างนวัตกรรมให้กับประเทศเพือ่ การพัฒนาและการใช้จ่ายงบประมาณ
ท่คี ้มุ ค่ามากขึ้น
3.3) ควรแสดงถึงผลสัมฤทธิ์เชิงคุณภาพ จากที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณเป็นจานวนมากในแต่
ละปงี บประมาณ
3.4) บคุ ลากรทางการศึกษาตอ้ งเป็นตวั อย่างทด่ี ีในการป้องกนั และตอ่ ต้านการทจุ รติ
3.5) การปรับหลักสูตร active learning ควรมีการบริหารจัดการการกระจายอานาจให้กับ
โรงเรยี นในพื้นท่ีและนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการถา่ ยทอดให้กับนกั เรียน
สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร - 82 - กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเด็นข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
3.6) ควรมีนโยบายให้โรงเรียนกระแสหลักให้โอกาสเด็กพิเศษหรือเด็กพิการได้เรียนในสถาน
การศกึ ษาทว่ั ไป
3.7) การผลิตหนังสือเรียนควรมีมาตรฐานระบบเปิดท่ีเป็นรูปแบบที่สามารถนาไปต่อยอดเพ่ือลด
ความซา้ ซ้อน โดยทไี่ ม่ตอ้ งเริ่มกระบวนการใหม่
3.8) ควรให้ความสาคัญในการสร้างทกั ษะดา้ นการเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอรต์ ่อนักเรยี น
3.9) ควรมแี นวทางการแก้ไขปัญหาจานวนครพู ละและครดู นตรที ่ีขาดแคลนในสถานการศึกษา
3.10) ควรสรา้ งหลักสตู รตอ่ เนื่องให้นักเรียนมีความรู้เฉพาะทางตง้ั แตช่ ้นั มัธยมศึกษาท่ี 1
4) สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
4.1) ควรมีเป้าหมายและตัวช้ีวัดท่ีสะท้อนถึงบทบาทในการส่งเสริมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ
ประเทศ และตอบโจทยน์ โยบายการพฒั นาประเทศของรฐั บาล
4.2) ควรใหค้ วามสาคญั Dual System
4.3) ควรมีการส่งเสริมในการตอ่ ยอดจากการแข่งขนั การคดิ คน้ ส่งิ ประดิษฐ์
4.4) ควรมกี ารผลิตแรงงานเพอ่ื รองรับ ICT digital สาหรับสังคมผ้สู งู วยั
4.5) ควรมีโครงการบูรณาการดา้ นงานวิจยั R&D รว่ มกบั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
5) สานักงานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา
5.1) เปา้ หมายของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาควรมีการกาหนดเง่ือนไขด้านระยะเวลา
และควรกาหนดตัวช้วี ัดเชิงคุณภาพที่สะท้อนถึงความสาเร็จของนกั ศึกษาและนโยบายประเทศ
5.2) ควรมีแนวทางทสี่ นบั สนนุ การกากับดูแลภาพรวมของสถาบนั อดุ มศกึ ษาทว่ั ประเทศ โดยเฉพาะ
อย่างย่ิงการขอรับการจัดสรรงบประมาณของสถาบันอุดมศึกษาโดยไม่ผ่ านการรับรู้หรือการพิจารณาของ
สานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
5.3) ควรมกี ารวางกลไกป้องกันการแทรกแซงทางการเมืองในการขอรบั การจัดสรรงบประมาณ
5.4) ในการขอรับการจัดสรรงบประมาณเพ่ือสนับสนุนการฝึกอบรมต่างประเทศ ควรคานึงถึง
กจิ กรรมทเ่ี ปน็ พันธะกรณีเป็นสาคญั
5.5) ควรมีการจัดอันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย เพ่ือให้นักเรียนใช้เป็นข้อมูลประกอบการเข้า
รบั การศึกษา รวมถึง ช่องทางการเข้าถึงแรงงานฝมี อื ของผูป้ ระกอบการ
5.6) ควรมีการปรบั ปรุงหรอื สร้างหลักสูตรท่รี องรบั ความต้องการของตลาดแรงงาน
5.7) ควรให้ความสาคัญการพัฒนาผลลัพธ์ของงานวิจัยในสถาบันการศึกษาให้เกิดประโยชน์เชิง
พาณชิ ยห์ รือการเติบโตทางเศรษฐกิจ
5.8) ควรส่งเสริมหลักสูตรสาขาการประมง และการท่องเท่ียว ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
เพ่อื แก้ไขปญั หาการขาดแคลนแรงงาน
5.9) ควรพิจารณาการเรยี นการสอนผ่าน online course เพอ่ื ทดแทนงบลงทนุ ในสิ่งก่อสรา้ ง
5.10) ควรมรี ะบบการศกึ ษาทร่ี องรบั นักเรยี นทจี่ บการศึกษาจากโรงเรยี นนานาชาติ
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 83 - กระทรวงศึกษาธกิ าร
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
6) มหาวทิ ยาลัยราชภัฎ (38 หนว่ ยงาน)
6.1) ยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถน่ิ ควรมกี ารสะท้อนถึงการแก้ไขปัญหาหรือบูรณาการงานวิจัยจาก
งบประมาณท่ีมีอย่อู ย่างจากัด โดยเฉพาะอย่างย่งิ มหาวิทยาลยั ราชภัฎทีอ่ ย่ใู นภมู ภิ าคเดยี วกัน
6.2) ควรคานึงถึงการปรับตัวของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับภาระงบประมาณท่ีมีอยู่อย่างจากัด
และปรมิ าณประชากรแรกคลอดที่มแี นวโน้มลดลง
6.3) ควรมีแผนการผลิตแรงงานฝีมือให้สอดคล้องกับการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและเขตเศรษฐกิจ
พิเศษ
6.4) ควรรักษาเจตนารมณก์ ารก่อตง้ั สถาบันการศึกษาท่ีมงุ่ เนน้ ในการผลิตครู
6.5) ควรสร้างทักษะและองค์ความรู้ให้กับชุมชนในพื้นท่ี โดยเชิญปราชญ์ชาวบ้านในพ้ืนที่มา
แลกเปลยี่ นประสบการณ์ภายในมหาวทิ ยาลยั
6.6) ควรมีการร่วมมอื กบั ภาคเอกชนเพอ่ื ผลิตนักศึกษาตามสาขาท่ตี รงกับความต้องการในพ้ืนที่
7) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล (9 หน่วยงาน)
7.1) ควรมีการสารวจความต้องการกับกระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม และภาคเอกชนใน
การผลติ แรงงานให้สอดรับกับการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจประเทศและนโยบาย Thailand 4.0 ร่วม
ถงึ นักศกึ ษาท่ีจบแลว้ มีงานทาตรงตามสาขาที่เรียน
7.2) ควรกาหนดตัวช้ีวัดเชิงคุณภาพที่สะท้อนถึงผลลัพธ์ในการได้งานทาของนักศึกษา และการพัฒนา
ประเทศ
7.3) ควรหาแนวทางบริหารจดั การกับแนวโน้มประชากรแรกคลอดที่มีปริมาณลดลง แต่ความต้องการ
แรงงานฝมี อื ในอนาคตมสี งู ข้ึน
7.4) ควรมีการปรับตัวในการดาเนินงานด้านต่างๆ ให้สอดคล้องกับงบประมาณที่มีอยู่อย่างจากัด
โดยเฉพาะอย่างยิ่งงบบุคลากร
7.5) ควรมจี ดุ เน้นการสรา้ งองคค์ วามรู้และผลติ นักศกึ ษาด้าน ICT และ Digital
7.6) ควรหาแนวทางในการจัดต้ังองค์กรภาครัฐหรือบริษัทในนามประเทศไทยในการออกใบอนุญาต
การบรหิ ารจดั การระบบซอ่ มบารุงอากาศยาน เพ่ือลดการเพิง่ พาบริษัทตา่ งชาติทม่ี ี License
8) มหาวทิ ยาลัยของรฐั (11 หนว่ ยงาน)
8.1) ควรมีการช้ีแจงสัดส่วนการจัดสรรงบประมาณและเงินนอกงบประมาณของแต่ละหน่วยงานให้
ชดั เจนในกระบวนการพิจารณาของฝ่ายนิติบญั ญตั ิ
8.2) ควรรว่ มมือกบั หนว่ ยงานอ่ืนๆ ในการยกระดบั เกษตรครบวงจรและการแก้ไขปญั หาสงิ่ แวดล้อม
8.3) ควรระบุเป้าหมายและกาหนดตัวชี้วัดผลลัพธ์ของมหาวิทยาลัยในการผลิตบุคลากรให้สอดคล้อง
กบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงานเพื่อขบั เคลือ่ นการพฒั นาภมู ิภาคและประเทศ
8.4) ควรรว่ มวางแนวทางการพฒั นาความเชอื่ มโยงความต่อเน่ืองทางการศกึ ษาในแต่ละระดบั
8.5) ควรมกี ารกาหนดแผนการดาเนนิ งานร่วมกบั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงการท่องเท่ียว
และกีฬา และกระทรวงอุตสาหกรรมในการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการยกระดับขีดความสามารถ
ทางการแขง่ ขนั
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 84 - กระทรวงศึกษาธิการ
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเด็นขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณาร่างพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
8.6) สถาบนั วิทยาลัยชุมชนควรทบทวนในการดาเนินกิจกรรมที่มีความซ้าซ้อนกับหน่วยงานอื่นๆ อาทิ
การฝึกอบรมการดแู ลสงั คมผสู้ งู วยั ซึง่ กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนษุ ย์มีการดาเนินงานในสว่ นนดี้ ้วยเช่นกัน
8.7) การบรกิ ารวชิ าชพี ของหน่วยงาน ควรมปี ราชญ์ชาวบ้านหรอื บุคลากรท้องก่ินท่ีมีความรู้เฉพาะทาง
มาถา่ ยทอดองค์ความรู้
8.8) การดาเนินงานของแต่ละมหาวิทยาลัยต้องดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี นโยบาย
Thailand 4.0 และแผนปฏริ ูปประเทศ
8.9) ควรมีแนวทางการแก้ไขปัญหาการผลิตบุคลากรทางการแพทย์ อาทิ แพทย์ท่ีจบการศึกษาใน
ประเทศไปทางานตา่ งประเทศ ผจู้ บการศกึ ษาสาขาพยาบาลศาสตร์ได้งานท่ีไมต่ รงกบั สาขาท่ีเรยี น
8.10) ควรทบทวนงบบคุ ลากรใหส้ อดคลอ้ งกบั ปรมิ าณนักศึกษาท่ีลดลง และความจาเป็นในการพัฒนา
ตามยุทธศาสตร์
8.11) ควรมสี ว่ นรว่ มในการกาหนดการบริหารจัดการภาพรวมด้านการศึกษาของประเทศ ต้ังแต่ระดับ
ประถมศึกษาจนถงึ ระดับอุดมศึกษา
8.12) ควรมีการเปดิ เสรีในการเรยี นการสอนหลักสตู ร Online
9) มหาวิทยาลยั ในกากบั (23 หนว่ ยงาน)
9.1) แต่ละมหาวิทยาลัยควรสร้างองค์ความรู้เฉพาะทาง เพ่ือบูรณาการความเชี่ยวชาญนาไปสู่การ
พัฒนาประเทศ
9.2) ควรปรบั ปรุงแนวทางการนาเอาประโยชนจ์ ากงานวจิ ยั ไปต่อยอดและเผยแพรใ่ นวงกวา้ ง
9.3) ควรปรับปรงุ ระบบการศกึ ษาให้นักเรียนระดับมัธยมมีฐานความรู้เฉพาะทางตามความสนใจ ก่อน
เข้าสู่ระดบั อดุ มศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะทางน้ันๆ
9.4) ควรนาเสนอรายละเอียดงบประมาณภาพรวมของการดาเนินงานวิจัย ท้ังที่ได้รับการจัดสรร
งบประมาณและแหล่งทุนจากเงนิ นอกงบประมาณ
9.5) มหาวิทยาลัยที่มีรายได้จากเงินนอกงบประมาณเป็นจานวนมาก ควรพิจารณาความเหมาะสมใน
การขอรบั การจัดสรรงบประมาณท่ีมีอยอู่ ย่างจากัด
9.6) งานวิจยั ทอ่ี าจารยไ์ ด้จดั ทาขนึ้ เพื่อประกอบการเลื่อนตาแหน่งทางวิชาการ ควรมีการระบุแนวทาง
ในการสร้างประโยชน์เชิงพาณชิ ย์ใหก้ บั ประชาชนด้วยเช่นกัน
9.7) ควรปลูกฝ่ังให้นักศึกษาและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีจิตสานึกในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติอย่าง
ย่ังยืนได้ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ทรพั ยากรท่ีอยูใ่ นบริเวณใกลเ้ คียงพนื้ ท่ีของมหาวิทยาลยั
10) สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
10.1) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ควรร่วมมือกับสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในการสร้างแนวทางการยกระดับความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
และเทคนิคการถา่ ยทอดให้กบั ครผู สู้ อน
10.2) ตัวชว้ี ดั เปา้ หมายการดาเนินงานของ สสวท. ควรสะทอ้ นเชิงคุณภาพ อาทิ
- การสร้างความรตู้ ่อนักเรยี น
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 85 - กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
- การสร้างศักยภาพการแข่งขันของประเทศ
- การต่อยอดเชิงพาณิชย์
- การสร้างความรับรู้หรือสร้างแรงบันดาลใจต่อนักเรียนว่าการเรียนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีสามารถตอ่ ยอดความกา้ วหน้าในอาชีพและรฐั บาลมีนโยบายในการสนบั สนุน
- จานวนนักเรยี นและนักศกึ ษาทเี่ ลอื กเรยี นสาขาวิทยาศาสตร์เพ่ิมมากข้ึน
10.3) ควรจัดทา Application ความร้ทู างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพอ่ื ให้นกั เรยี นมคี วามชอบและ
สนใจจากการเรยี นรู้ผ่านเครอ่ื งมอื ดงั กลา่ ว
10.4) ควรบูรณาการร่วมกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการกากับดูแลมาตรฐาน
การศกึ ษาดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตามนโยบาย Thailand 4.0 และศาสตร์พระราชา
10.5) ควรลดความเหลื่อมล้าในการพัฒนาการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างนักเรียน
ในชนบทและในพนื้ ที่เขตเมือง โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ การขาดแคลนครู
11) สานกั งานเลขาธิการครุ สุ ภา
11.1) ควรทบทวนการกาหนดมาตรฐานวิชาชีพครู โดยเทียบเคียงกับต่างประเทศ เพ่ือยก
ประสิทธิภาพครใู นการสรา้ งบุคลากรขับเคลอ่ื นการพฒั นาประเทศ
11.2) ควรมีแนวทางในการกากับดูแลจรรยาบรรณและจรยิ ธรรมครู เพอ่ื ลดทัศนคติในแง่ลบต่อวิชาชีพ
ครทู ีเ่ ผยแพรต่ ามข่าวในปัจจบุ นั
12) องคก์ ารมหาชน
12.1) โรงเรยี นมหดิ ลวิทยานสุ รณ์ควรมกี ารติดตามประเมินผลครทู ่ีได้รบั การพัฒนาในการสะท้อนจาก
ศกั ยภาพของนักเรยี นและการถ่ายทอดแนวทางการเรียนการสอนให้กับโรงเรยี นอน่ื ๆ อยา่ งไร
12.2) สถาบันระหว่างประเทศเพ่ือการค้าและการพัฒนา ควรบูรณาการการทางานร่วมกับกระทรวง
พาณชิ ย์ และควรเน้น Intensive Training ใหม้ ากกวา่ การใหค้ วามรู้ทางวิชาการทัว่ ไป
12.3) สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ ควรกาหนดขอบเขตมาตรฐานการทดสอบกลางให้
ชัดเจนและเป็นที่ยอมรับระดับสากล ร่วมถึงทบทวนความคุ้มค่าโครงการพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพ
การศึกษา
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร - 86 - กระทรวงศกึ ษาธิการ
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเด็นข้อสงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณาร่างพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
19. กระทรวงสาธารณสุข
1. วสิ ัยทัศน์ เปน็ องคก์ รหลักดา้ นสขุ ภาพ ท่ีรวมพลงั สงั คม เพือ่ ประชาชนสุขภาพดี
2. พันธกจิ พัฒนาและอภิบาลระบบสขุ ภาพ อยา่ งมสี ว่ นรว่ มและยง่ั ยนื
3. ส่วนราชการ หน่วยงานในกากับ และกองทุนหมนุ เวยี น
ส่วนราชการ หนว่ ยงานในกากบั / รัฐวสิ าหกิจในกากบั กองทนุ และเงนิ ทุน
องค์การมหาชน หมุนเวยี น
1. สานักงานปลดั กระทรวง 1. สถาบันวจิ ยั ระบบ 1.กองทนุ หลักประกนั
สาธารณสุข สาธารณสุข สขุ ภาพแห่งชาติ
2. กรมการแพทย์ 2. สานักงาน 2. กองทุนภูมิปญั ญา
3. กรมควบคุมโรค หลกั ประกันสขุ ภาพ แพทยแ์ ผนไทย
4. กรมการแพทยแ์ ผนไทยและ แห่งชาติ 3. กองทุนการแพทย์
การแพทยท์ างเลอื ก 3. สถาบันการแพทย์ ฉกุ เฉนิ
5. กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ ฉุกเฉิน
6. กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสุขภาพ 4. โรงพยาบาลบา้ นแพ้ว
7. กรมสุขภาพจติ 5. สถาบนั รบั รอง
8. กรมอนามัย คุณภาพสถานพยาบาล
9. สานักงานคณะกรรมการอาหาร 6. สถาบันวคั ซีน
และยา แหง่ ชาติ
4. แผนงานบรู ณาการภายใตก้ ระทรวง หน่วยงานเจา้ ภาพ
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบประกนั สุขภาพ สานกั งานหลกั ประกันสุขภาพแห่งชาติ
สรปุ ประเดน็ ขอ้ สงั เกตท่ีคณะกรรมาธิการใหค้ วามสาคญั อยา่ งต่อเน่อื ง
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
วิสามัญฯ ในส่วนภารกิจของกระทรวงคมนาคม 3 ปีย้อนหลัง (ระหว่าง ปีงบประมาณพ.ศ. 2560 - 2562)
พบว่ามีประเด็นสาคัญเก่ียวกับการดาเนินงานภายใต้ภารกิจของกระทรวงสาธารณสุข ที่คณะกรรมาธิการ
วสิ ามัญฯ ใหค้ วามสาคญั อยา่ งต่อเนื่อง ดงั นี้
ประเดน็ ที่ 1 สรุปประเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ
ปี 2562 ด้านหลักประกันสขุ ภาพ
ปี 2561 สานักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ ควรมีแนวทางการช่วยเหลอื ค่าใชจ้ า่ ยการรักษาพยาบาลคนต่าง
ด้าวให้โรงพยาบาล รวมทั้งควรพิจารณาทบทวนการจัดซ้ืออุปกรณ์อานวยความสะดวกให้คนพิการ
เพ่อื ใหต้ รงกบั ความต้องการและสะดวกรวดเรว็
สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ควรประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วน โดยเฉพาะภาค
ประชาสังคม เพือ่ ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติอย่างทั่วถึง ทั้งน้ี
ในระยะยาว การดาเนนิ การของระบบหลกั ประกนั สขุ ภาพแห่งชาติ อาจจาเป็นต้องใช้ระบบการร่วมจ่าย
(Co-Payment) เพอ่ื ลดภาระงบประมาณ
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร - 87 - กระทรวงสาธารณสขุ
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเด็นข้อสงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ประเดน็ ที่ 2 สรุปประเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามัญฯ
ปี 2562 การบูรณาการร่วมกับหน่วยงานอืน่
ปี 2561
กระทรวงสาธารณสุข ควรเตรยี มแผนงานเพื่อแกไ้ ขปัญหาผลกระทบจากการเขา้ สภู่ าวะสงั คมผู้สูงอายุ
ปี 2560 โดยเตรียมบุคลากรทีม่ ีคณุ ภาพ และมหี ลักสตู รฝกึ อบรมเพ่ิมเติมเพอื่ ดแู ลผสู้ ูงอายุ และการออก
กฎกระทรวงใหม้ สี ถานทีด่ แู ลผสู้ ูงอายุทีม่ ีมาตรฐาน
ประเด็นที่ 3
1) กระทรวงสาธารณสขุ ควรมีนโยบายท่ีชัดเจนและมีแผนการดาเนินงานระยะยาวในการดูแลสุขภาพ
ปี 2562 ของผู้สูงอายุ เนื่องจากปัจจุบันประเทศไทยกาลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และควรมีการบูรณาการการ
ปี 2561 ดาเนนิ งานรว่ มกบั หนว่ ยงานที่เกีย่ วขอ้ งทง้ั ในและนอกกระทรวง
ปี 2560 2) กรมควบคุมโรค ควรมีการบรู ณาการระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการดาเนินงานผ่าน National
Single Window (NSW)
3) สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ควรสร้างภาคีเครือข่ายในการทางาน โดยเฉพาะการทางานใน
ส่วนภูมิภาค เพ่ือลดความเหล่ือมล้าในการให้บริการทางการแพทย์ฉุกเฉินระหว่างในเมืองและส่วน
ภมู ิภาค และควรสนับสนุนการจดั สรรงบประมาณลงพื้นที่ เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
ในสว่ นภูมภิ าคใหม้ ีความคล่องตัว
สถาบนั การแพทย์ฉกุ เฉินแห่งชาติ ตอ้ งกาหนดให้มีแผนซักซ้อมการช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพ้ืนท่ีต่างๆ
ทัง้ ทางบก ทางทะเล อยา่ งเป็นรูปธรรม โดยร่วมกับหน่วยงานอ่ืนที่รับผิดชอบผู้ปุวยหรือผู้ประสบเหตุใน
พื้นที่ และแบ่งภารกิจให้ชัดเจน เพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณ รวมทั้งจัดให้มีการพัฒนาบุคลากร
เช่น มคั คเุ ทศก์ ประชาชนทั่วไป ให้มีความร้เู บือ้ งต้นในดา้ นการแพทย์ฉุกเฉิน เพ่ือให้สามารถช่วยเหลือผู้
ประสบเหตุได้
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ/ยาสมนุ ไพร
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ควรเพม่ิ มาตรฐานในการรกั ษาทางการแพทย์และแผน
ไทย พัฒนาหลักสูตรการเรยี นแพทย์แผนไทยเพมิ่ ในหลักสตู รแพทยแ์ ผนปัจจบุ ัน รวมทัง้ พัฒนาเพิ่มมูลค่า
และมาตรฐานผลิตภัณฑ์สมุนไพร ใหม้ มี าตรฐานและหลากหลายมากข้นึ เพ่ือใหส้ ามารถส่งออกผลติ ภัณฑ์
และเป็นที่ยอมรบั ของตา่ งประเทศ
1) กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ควรสนับสนุนการใช้ยาสมนุ ไพรมารักษาโรค โดยยา
สมนุ ไพรต้องมีการข้ึนทะเบียนและจดสิทธิบัตรและมีข้อมูลแสดงสรรพคุณการรักษาโรค มีมาตรการทา
ความเข้าใจให้แพทย์จ่ายยาสมุนไพรแทนการจ่ายยาแผนปัจจุบันเพิ่มมากข้ึน เพ่ือประหยัดค่าใช้จ่ายใน
การรกั ษาและลดภาระค่าใช้จ่ายงบประมาณของประเทศไทย และสอดแทรกองค์ความรู้ด้านการแพทย์
แผนไทยให้เปน็ ส่วนหน่ึงของหลักสตู รการเรียนของนกั ศกึ ษาแพทย์
2) กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ควรมีการข้ึนทะเบียนแพทย์แผนไทย และหมอ
พ้ืนบ้าน เพ่ือรับรองมาตรฐานในการรักษาและสร้างความเช่ือมั่นแก่ประชาชนในการเลือกใช้บริการ
รวมทั้งสร้างเครือข่ายระหว่างประเทศในการดาเนินการสนับสนุนการรักษาด้วยแพทย์แผนไทยและ
สนบั สนุนการใช้สมุนไพรไทย
1) กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ควรเร่งดาเนินการอนุรักษ์สมุนไพรบางชนิด
ที่กาลังจะสญู หายไป รวมถึงเร่งรดั การจดสทิ ธิบัตรและการนาไปใช้ประโยชน์ เนอื่ งจากต่างประเทศมีการ
อ้างสิทธิในสมนุ ไพรไทย
2) สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ต้องมีมาตรการควบคุมผู้ประกอบการนาเข้าผลิตภัณฑ์
สขุ ภาพและอาหารเสริมให้มีคุณภาพและปลอดภัย รวมทั้งตรวจสอบติดตามผลและเพิกถอนใบอนุญาต
อยา่ งเขม้ งวดและตอ่ เนอื่ ง ตลอดจนพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าที่หรือกระบวนการตรวจสอบใหร้ วดเรว็ ข้นึ
สานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร - 88 - กระทรวงสาธารณสุข
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเดน็ ข้อสงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ประเดน็ ท่ี 4 สรุปประเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ
ปี 2562 3) สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ต้องมีมาตรการควบคุมผู้ประกอบการนาเข้าผลิตภัณฑ์
สขุ ภาพและอาหารเสรมิ ให้มีคุณภาพและปลอดภัย รวมท้ังตรวจสอบติดตามผลและเพิกถอนใบอนุญาต
ปี 2561 อยา่ งเข้มงวดและตอ่ เนอื่ ง
ปี 2560 ด้านงานวิจัย
ประเด็นท่ี 5 1) กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ควรนาผลการศกึ ษาวิจัยสมุนไพร มาใช้ในการรักษาโรค เช่น ประโยชน์
ของกญั ชาที่มีมากมายมาใช้ทางการแพทย์ รวมทั้งนาผลการวิเคราะห์การใช้ยาปฏิชีวนะ และการใช้สาร
ปี 2562 กาจดั วัชพชื ซ่งึ ตกคา้ งในผกั ผลไม้ มาประชาสมั พนั ธ์ใหป้ ระชาชนทราบถงึ อันตรายจากกสารตกคา้ ง
ปี 2561 2) กรมสุขภาพจิต ควรมีการศึกษาวจิ ัยเกย่ี วกับการลดจานวนผู้ติดยาเสพติด และปัญหาสุขภาพจิต ที่มี
แนวโน้มสงู ข้นึ พัฒนาแนวทางวธิ บี าบดั รักษาใหห้ ายขาด อีกทง้ั ถอดบทเรียนกรณถี า้ หลวงขุนน้านางนอน
ปี 2560 เพือ่ ใชเ้ ปน็ ข้อมลู เชงิ วชิ าการดา้ นสขุ ภาพจติ
1) กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ ควรร่วมกบั ภาคเอกชนในการศึกษาวิจัยตา่ งๆ และควรมกี ารจดสิทธิบตั ร
(Patent) ของการใช้วตั ถดุ บิ หรอื การใช้แนวคิดท่ีเป็นของประเทศไทย สนับสนุนให้มีการดาเนินการต่อ
ยอดงานวจิ ยั เพือ่ นาผลงานวิจยั ไปประยกุ ตใ์ ชง้ านได้จริง
2) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ควรสนับสนุนให้มีการทาวิจัยเก่ียวกับด้านสุขภาพเพ่ือสร้างความ
เข้มแข็งด้านสังคม ชุมชน และคุณภาพชีวิต มีการจัดกลุ่มและประเภทของงานวิจัย และกาหนดเกณฑ์
มาตรฐานในการคัดเลือกหัวข้องานวิจัยให้ชัดเจน เพ่ือแสดงให้เห็นถึงทิศทางของงานวิจัยด้านต่างๆ ที่
สอดคลอ้ งกับการบรรลุเปาู หมายของสถาบนั ฯ
1) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ต้องให้ความสาคัญกับการวิจัยระบบสาธารณสุข ที่เป็นปัญหาสาคัญ
ของประเทศ เพ่ือนาข้อมูลไปใช้ประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายด้านสาธารณสุข เช่น การวิจัยด้าน
ระบบการใหบ้ รกิ ารของสถานพยาบาลในท้องถ่ิน การวิจัยเฉพาะเร่ือง เช่น การวิจัยแพทย์แผนไทย การ
ประยุกตใ์ ช้เคร่อื งมอื แพทย์ และการวจิ ยั ม่งุ เปาู ต่างๆ โดยประสานกบั สานักงานกองทุนสนบั สนนุ การวิจัย
(สกว.) เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกับทศิ ทางการวจิ ัยของประเทศ
2) กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ควรสนับสนนุ การวิจยั พัฒนาสมนุ ไพรไทยให้
เป็นผลิตภณั ฑท์ ีร่ ู้จักอยา่ งแพร่หลาย
การคุ้มครองผู้บริโภค
สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา ควรกาหนดข้อมลู ทจ่ี าเป็นในสลากสนิ คา้ ให้ครบถว้ น มี
มาตรฐานในการตรวจสอบสลากสนิ คา้ ปลอม รวมทงั้ ประชาสมั พนั ธใ์ ห้ประชาชนทราบถงึ วิธีการ
ตรวจสอบเบ้อื งตน้
1) กรมสนบั สนนุ บริการสุขภาพ ควรมีมาตรการควบคุมราคาค่ารักษาพยาบาลของโรงพยาบาลเอกชน
ให้มีคา่ รกั ษาพยาบาลทส่ี มเหตสุ มผล ไมแ่ พงจนเกินไป
2) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ควรเร่งออกกฎหมายในการควบคุมดูแลสถานประกอบการสุขภาพ
ประเภทใหม่ๆ เชน่ สถานประกอบการสุขภาพดแู ลผู้สงู อายุ ทีม่ ีการเปดิ ใหบ้ รกิ ารโดยไม่ผ่านการรับรอง
3) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ควรตรวจสอบและรับรองคุณภาพสถานพยาบาลใน
ตา่ งจงั หวดั โดยเฉพาะโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพสต.) ให้ได้มาตรฐานและมีคุณภาพ เพื่อลด
ความเหลอ่ื มล้าระหว่างชุมชนเมืองและชนบท
4) สถาบันวคั ซีนแหง่ ชาติ ควรรกั ษามาตรฐานวคั ซีนท่ีปอู งกันโรคให้เป็นที่ยอมรับ และควรสนับสนุนให้
เด็กแรกเกิดไดร้ ับวัคซนี พืน้ ฐานที่จาเป็นอย่างครบถว้ น
1) กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ ควรร่วมกับหน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้องในการตรวจสอบอาหารนาเข้าตาม
แนวชายแดนอย่างเข้มงวด เพื่อปูองกันการปนเป้ือนของสารเคมี รวมทั้งประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชน
สานกั งานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร - 89 - กระทรวงสาธารณสุข
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณารา่ งพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ประเด็นที่ 6 สรุปประเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ฯ
ปี 2562 รบั ทราบอยา่ งทว่ั ถึง
ปี 2561 2) สถาบันรับรองคณุ ภาพสถานพยาบาล ต้องประชาสัมพันธ์ใหป้ ระชาชนทราบผลการประเมินคณุ ภาพ
ของสถานพยาบาลต่างๆ ของภาครัฐและเอกชน เพ่ือให้สามารถเลือกใช้บริการได้ตามความต้องการ
ประเดน็ ท่ี 7 รวมทงั้ กาหนดมาตรฐานการสง่ เสรมิ การยกระดับมาตรฐานของสถานพยาบาลขนาดเล็ก
3) สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ควรประชาสัมพันธ์ให้คาแนะนาผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่
ปี 2562 ผบู้ ริโภคและควบคมุ ดูแลการโฆษณาในสื่อต่างๆ
4) กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ควรร่วมกับหน่วยงานอื่นท่ีเกี่ยวข้องในการตรวจสอบอาหารนาเข้าตาม
ปี 2561 แนวชายแดนอย่างเข้มงวด เพ่ือปูองกันการปนเปื้อนของสารเคมี รวมท้ังประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชน
รบั ทราบอย่างทั่วถึง
การเฝา้ ระวงั ควบคุมโรค
กรมควบคุมโรค ควรปรับปรุงวิธีการประชาสัมพันธ์การเฝาู ระวังควบคมุ โรคติดตอ่ โรคอุบัตใิ หม่ และภยั
สขุ ภาพ โดยเฉพาะในพ้ืนทที่ ้องถ่ินห่างไกล รวมทงั้ มกี ารประเมินผลสอ่ื ประชาสมั พันธว์ า่ ประเภทใดเข้าถึง
ประชาชนมากทีส่ ุด เพ่อื ใหส้ ามารถนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
กรมควบคุมโรค ควรมมี าตรการควบคุมและตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าวท่ีอาจเป็นพาหะนาโรคเข้ามา
ในประเทศไทย
การบริหารจดั การ
1) กระทรวงสาธารณสขุ ควรใหม้ หี น่วยงานตรวจสอบข้อมูลสขุ ภาพที่ถูกต้อง ในกรณีท่ีมีผใู้ ช้ส่ือ
แอปพลเิ คชันไลน์ แนะนาขอ้ มลู ดา้ นสขุ ภาพทคี่ ลาดเคลอ่ื นจากขอ้ เท็จจรงิ เพื่อใหป้ ระชาชนไดร้ ับข้อมลู
ข่าวสารทถ่ี กู ต้อง เชอื่ ถอื ได้
2) สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ควรแกไ้ ขปัญหาความลา่ ช้าในการขออนุญาตผลิตภัณฑ์
สุขภาพให้มีความรวดเร็วย่ิงขึน้
3) สถาบันการแพทย์ฉกุ เฉินแห่งชาติ ควรปรับปรงุ กระบวนการรับผูป้ ุวยฉกุ เฉนิ ตัง้ แตก่ ารรับแจง้ เรือ่ ง
จนผปู้ ุวยถงึ โรงพยาบาลให้มีประสทิ ธภิ าพย่ิงขึ้น และผลกั ดนั เลขหมายฉกุ เฉินให้เปน็ เลขหมายเดยี วกัน
เพอ่ื ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานสากล และประชาสัมพนั ธใ์ หป้ ระชาชนทราบ
1) กระทรวงสาธารณสุข ควรมแี ผนการผลติ บคุ ลากรทางการแพทย์ใหม้ ีความเพียงพอ เพ่ือลดภาระงาน
ของบคุ ลากรทางการแพทย์ทตี่ อ้ งทางานหนกั ในตา่ งจงั หวดั อีกทัง้ ควรมีแผนรองรับในการบรรจุพยาบาล
เข้ารับราชการเพื่อให้มีความมั่นคงในอาชีพ และควรประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ ก.พ. และ
ก.พ.ร. เพ่อื เป็นแนวทางในการแก้ไขปญั หาอย่างยั่งยืน
2) สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ควรปรับปรุงระบบการให้บริการ การขอใบอนุญาตต่างๆ
แบบออนไลน์ ซ่ึงอาจทาให้เกิดปัญหาการเข้าถึงของประชาชนบางกลุ่ม จึงควรจัดให้มีเจ้าหน้าท่ีและ
กลไกในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื และอานวยความสะดวกแก่ประชาชน
ท้งั น้ี สานกั งบประมาณของรัฐสภาไดว้ ิเคราะหข์ ้อสังเกตของคณะกรรมาธิการแลว้ มีความเหน็ เพิ่มเตมิ ดังนี้
1) สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข เป็นหน่วยงานท่ีมีค่าใช้จ่ายแผนงานบุคลากรภาครัฐ สูงสุด
เน่ืองจากมีสถานพยาบาลในสว่ นภูมิภาค 76 จังหวดั ท่วั ประเทศ ทาใหม้ คี า่ ใช้จา่ ยบคุ ลากรทางการแพทย์สูงมาก
โดยในปี 2562 ได้รับจัดสรรงบประมาณทั้งส้ิน 113,295.6005 ล้านบาท เป็นค่าใช้จ่ายในแผนงานบุคลากร
ภาครัฐ 92,497.7624 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 81.64 แต่ในภาพรวมยังมีปัญหาการขาดแคลนบุคลากรทาง
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร - 90 - กระทรวงสาธารณสุข
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
การแพทย์ท้ังระบบโดยเฉพาะโรงพยาบาลชุมชนท่ีอยู่ในพื้นที่ห่างไกล ทุรกันดาร ดังน้ันกระทรวงสาธารณสุข
ควรวางแผนการแกไ้ ขปัญหาในระยะยาวกบั หนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้อง ได้แก่ สานกั งาน กพ.อยา่ งใกลช้ ิด
2) ประเด็นเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ/สมุนไพร กรรมาธิการฯได้ให้ความสาคัญอย่างต่อเนื่อง
โดยเฉพาะเรื่องการจดสิทธิบัตร และการนาไปใช้ประโยชน์ ตลอดจนสนับสนุนการวิจัยพัฒนาสมุนไพรไทยให้
เปน็ ผลิตภณั ฑ์ท่รี จู้ ักอยา่ งแพร่หลาย หน่วยงานควรให้ความสาคญั และวางแผนการดาเนนิ งานในระยะยาว
3) ประเด็นการดาเนินการส่งเสริมสุขภาพ ปูองกันโรค เน่ืองจากมีหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการ
ดาเนินการในเรื่องดังกล่าวหลายหน่วยงาน เช่น สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สานักงาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมอนามัย เป็นต้น หน่วยงานมีการแบ่งขอบเขตการดาเนินงาน และหน้าที่ความ
รบั ผิดชอบอยา่ งไร ท่ีไมซ่ า้ ซอ้ นกัน
4) กรณีเงินกันไว้เบิกจ่ายเหลื่อมปี จากการตรวจสอบข้อมูลเงินกันย้อนหลังท่ีผ่านมา พบว่า
กระทรวงสาธารณสขุ มกี ารกนั เงนิ ไวเ้ บิกเหลอ่ื มปใี นภาพรวม จานวนทั้งส้ิน 7,372.8814 ล้านบาท ซ่ึงส่วนใหญ่
เป็นเงินกันของสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นเงินกันตั้งแต่ปี 2555 – ปี 2560 จานวน
6,367.4352 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 86.36 ของเงินกันทั้งส้ิน เป็นรายจ่ายลงทุน รายการค่าก่อสร้างอาคาร
รักษาผู้ปุวย อาคารพักผู้ปุวย อาคารสนับสนุนการให้บริการ และอาคารพักอาศัยของเจ้าหน้าที่ ของ
โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลศนู ย์ โรงพยาบาลทั่วไป ในสังกัดสานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ส่วนใหญ่
เป็นรายการผูกพันข้ามปี ซึ่งดาเนินการได้ล่าช้ากว่างวดงานท่ีกาหนด ดังน้ันโรงพยาบาลท่ีได้รับงบประมาณ
ควรรายงานปัญหาอุปสรรค สาเหตุที่ทาให้การเบิกจ่ายล่าช้า และหัวหน้าส่วนราชการควรหาแนวทางแก้ไข
และเรง่ รดั การเบิกจ่ายให้เป็นไปตามแผนท่ีกาหนด ดังนั้นในการต้ังงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2563 ควรนา
ผลการเบิกจ่ายและเงินกันเหล่ือมปีที่ผ่านมา มาใช้ประกอบการพิจารณา ต้ังงบประมาณให้เหมาะสมกับงวด
งานที่ต้องเบิกจ่ายในปีงบประมาณ เพื่อให้การใช้จ่ายงบประมาณมีประสิทธิภาพ และไม่ต้องกันเงินไว้เบิก
เหลือ่ มปีเปน็ จานวนมากเชน่ ทีผ่ า่ นมา
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร - 91 - กระทรวงสาธารณสุข
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเด็นข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาร่างพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
20. กระทรวงอุตสาหกรรม
1. วสิ ัยทัศน์ อุตสาหกรรมไทยขับเคล่อื นด้วยนวัตกรรม รักษส์ ่งิ แวดล้อมและเช่ือมโยงเศรษฐกิจโลกภายในปี 2564
2. พันธกจิ
1. สง่ เสรมิ และพัฒนาศกั ยภาพของผู้ประกอบการใหม้ ีความเขม้ แข็ง และสามารถแขง่ ขนั ไดใ้ นตลาดโลก
2. ขบั เคล่อื นและพฒั นาระบบนเิ วศอุตสาหกรรม (Ecosystem) เพอ่ื เปลยี่ นผา่ นอุตสาหกรรมไทยสู่
อตุ สาหกรรม 4.0
3. ส่งเสรมิ การประกอบกิจการอตุ สาหกรรมให้เปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ ม
4. บูรณาการดาเนนิ งานหน่วยงานภายในและภายนอกกระทรวง เพอื่ ใหบ้ รรลผุ ลสัมฤทธิ์ ตามเปา้ หมาย
3. สว่ นราชการ หน่วยงานในกากับ และกองทุนหมุนเวียน
ส่วนราชการ หนว่ ยงานใน รฐั วิสาหกิจในกากบั กองทนุ และเงนิ ทุน
กากับ/องคก์ าร หมนุ เวียน
มหาชน
1.สานกั งานปลดั กระทรวงอุตสาหกรรม - - 1.เงนิ ทนุ หมุนเวยี นเพ่อื
2.กรมโรงงานอตุ สาหกรรม การส่งเสริมอาชีพ
3.กรมส่งเสริมอตุ สาหกรรม อตุ สาหกรรมในครอบครัว
4.กรมอตุ สาหกรรมพน้ื ฐานและ และหตั ถกรรมไทย
การเหมืองแร่ 2.กองทุนออ้ ยและน้าตาล
5.สานกั งานคณะกรรมการอ้อยและ
นา้ ตาลทราย
6.สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์
อตุ สาหกรรม
7.สานกั งานเศรษฐกิจอตุ สาหกรรม
4. แผนงานบรู ณาการภายใตก้ ระทรวง หน่วยงานเจ้าภาพ
1.แผนงานบรู ณาการการพัฒนาอตุ สาหกรรมศักยภาพ กระทรวงอตุ สาหกรรม
1) สานกั งานเศรษฐกิจอตุ สาหกรรม
กระทรวงแรงงาน
2) กรมพฒั นาฝีมือแรงงาน
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 92 - กระทรวงอตุ สาหกรรม
สานกั งบประมาณของรัฐสภา