วเิ คราะหป์ ระเด็นข้อสงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาร่างพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
สรปุ ประเด็นขอ้ สังเกตทีค่ ณะกรรมาธิการให้ความสาคญั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษาวิเคราะห์ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ 3 ปีย้อนหลัง
(ระหว่างปงี บประมาณพ.ศ. 2560- 2562) ของกระทรวงอุตสาหกรรม พบว่า มีประเด็นสาคัญเกี่ยวกับการดาเนินงาน
ภายใตภ้ ารกจิ ของกระทรวงอุตสาหกรรม ที่คณะกรรมาธิการวสิ ามัญฯ ใหค้ วามสาคัญอย่างต่อเน่ือง ดงั นี้
ประเด็นที่ 1 สรปุ ประเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ฯ
ปี 2562 การบริหารจดั การนโยบายต่างๆ ตามกฎหมายการจัดตัง้ กฎกระทรวง
ปี 2561
1) กระทรวงอตุ สาหกรรม ควรสง่ เสริมการผลติ สินค้าและอุปกรณ์เทคโนโลยีอานวยความสะดวกสาหรับผู้สูงอายุ
ปี 2560 เพอ่ื รองรบั สงั คมผู้สูงอายุของประเทศไทย เพอ่ื รองรบั การยา้ ยฐานการผลติ สนิ คา้ เพื่อผูส้ งู อายมุ าในประเทศไทย
2) กรมสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม ควรกากับ ติดตาม การดาเนนิ โครงการและวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคที่เกิดข้ึน
จากการส่งเสริมอุตสาหกรรมอนาคต (New S-Curve) วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม(SMEs)
ผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) และจัดถ่ายทอดความรู้จากผู้ประกอบการท่ีประสบความสาเร็จให้แก่
ผปู้ ระกอบการรายใหม่ รวมทง้ั ให้เข็มงวดในอุตสาหกรรมท่กี ่อมลพษิ ทุกประเภทมากขึ้น
3) กรมอตุ สาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมืองแร่ ควร กาหนดหลักเกณฑ์การดูแลสภาพแวดล้อมและชุมชน
บริเวณใกล้เคียงเหมืองแร่ และการออกใบอนุญาตทาเหมอื งแร่ ควรกาหนดระบบการทาเหมืองแร่ให้ชัดเจน
รวมถงึ เร่งรดั การออกใบอนุญาตสัมปทานเหมอื งแร่หนิ ทม่ี คี วามล่าช้า
1) กรมโรงงานอุตสาหกรรม ควรกาหนดเป็นข้อบังคับให้ทุกโรงงานต้องปฏิบัติและต้องมีบทลงโทษ
ผูป้ ระกอบการท่ไี ม่เข้ารว่ ม โครงการเพิ่มประสิทธิภาพโรงงานคัดแยกและรีไซเคิล กากผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและ
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ไม่ควรเป็นเพียงการเชญิ ชวนหรือชกั จงู ใหเ้ ขา้ รว่ มโครงการเท่านนั้
2) กรมส่งเสรมิ อตุ สาหกรรม ควรสง่ เสริมอุตสาหกรรมอนาคต (New S-Curve) โดยเริ่มจากการส่งเสริม
ให้ภาคเอกชนเข้ามาดาเนินการให้เป็นไปตามเป้าหมายของรัฐบาล รวมท้ังมีบทบาทในการช่วยเหลือ
วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) และผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) ที่มีปัญหาด้าน
เงินทุน โดยแนะนาแนวทางในการเพ่ิมศักยภาพ เพ่ิมมลู คา่ ผลติ ภัณฑ์ เช่น การบรรจุภัณฑ์ การแปร
3) กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ควรทบทวนค่าภาคหลวงให้มีความเหมาะสม โดยศึกษา
เปรียบเทียบกับประเทศต่าง ๆ รวมทั้งระบุให้ได้ว่ามีแร่ธาตุอะไรอยู่ในพ้ืนท่ีใดบ้าง และกาหนดเลื่อนไขใน
การขอต้งั โรงงานให้ชัดเจน เช่น มาตรฐานในการบาบัดน้าเสีย เป็นต้น เพ่ิมประสิทธิภาพในการกากับดูแล
โรงงานให้ชัดเจน เช่น มาตรฐานในการบาบัดน้าเสีย เป็นต้นเพ่ิมประสิทธิในการกากับดูแลโรงงานขนาด
กลางและขนาดย่อมให้มากขึ้น โดยเฉพาะการอนุญาตให้เปิดเหมืองแร่โปรแตส ควรทีแผนการดาเนินการ
อย่างรอบคอบ โดยอาจขอความร่วมมือจากต่างประเทศที่มีความเชี่ยวชาญในเร่ืองน้ี เพ่ือป้องกันการ
แพร่กระจายเกลอื ลงสูน่ า้ และพ้ืนดนิ ส่งผลให้ทาการเพาะปลกู ไม่ได้
4) สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ควรมีการประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้
ประชาชนรับรู้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เน่ืองจากผลการวิจัย พบว่า ประชาชนมีความต้องการ
สินคา้ ทมี่ ีคณุ ภาพเพ่ิมมากขนึ้ รวมทัง้ ส่งเสรมิ ผปู้ ระกอบการในภาคอุตสาหกรรมใหจ้ ดทะเบียนมาตรฐานเพ่มิ
มากขน้ึ โดยอาจจะรวบรวมและศึกษาจากกฎหมายของต่างประเทศเพ่ือหาจุดที่เหมาะสมในการกาหนดมาตรการ
ในการกากับ ดแู ลตดิ ตามผูไ้ ด้รบั อนุญาต หากไม่ปฏบิ ตั ิตามมาตรฐานควรยกเลิกการอนุญาตโดยเข้มงวด
1) กรมโรงงานอุตสาหกรรม ต้องเร่งรัดการออกใบอนุญาตจัดต้ังโรงงาน การตรวจโรงงาน ให้รวดเร็วขึ้น
เน่ืองจากส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิตและต่อเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ โดยนาระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงานและมีการบูรณาการฐานข้อมูลร่วมกันกับหน่วยงานภายในกระทรวง
รวมทง้ั เร่งการพัฒนาบุคลากร เพ่ือรองรับการดาเนนิ งานตามกฎหมายท่ปี รบั ปรงุ ใหม่
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 93 - กระทรวงอุตสาหกรรม
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณารา่ งพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ประเดน็ ท่ี 2 สรุปประเด็นข้อสงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ
ปี 2562 การบริหารจดั การงบประมาณ สนบั สนนุ สรา้ งนวัตกรรมและสิ่งแวดล้อม
ปี 2561
กรมอุตสาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมืองแร่ ควร กาหนดหลักเกณฑ์การดูแลสภาพแวดล้อมและชุมชน
ปี 2560 บรเิ วณใกล้เคยี งเหมอื งแร่ และการออกใบอนญุ าตทาเหมืองแร่ ควรกาหนดระบบการทาเหมืองแร่ให้ชัดเจน
รวมถงึ เร่งรดั การออกใบอนญุ าตสัมปทานเหมืองแร่หินท่มี ีความล่าช้า
ประเดน็ ท่ี 3
1) กรมโรงงานอุตสาหกรรม ควรตรวจโรงงานขนาดเล็กที่ตั้งอยู่ริมคลอง ซ่ึงเป็นโรงงานที่ตั้งมาก่อนท่ีจะมี
ปี 2562 มติคณะรฐั มนตรี เพ่ือไมใ่ หป้ ล่อยของเสยี ลงแมน่ า้ และหาแนวทางทจ่ี ะยา้ ยที่ตั้งโรงงาน โดยร่วมกับกรมโยธาธิ
การและผังเมือง จัดหาพืน้ ที่ต้ังโรงงานทม่ี ีความเหมาะสม และเป็นพื้นที่ท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาการลงทุน
ปี 2561 ภาคอตุ สาหกรรมต่อไป
ปี 2560
2) สานกั งานคณะกรรมการออ้ ยและนา้ ตาล ควรสง่ เสริมและสร้างนวัตกรรมใหม่ของอตุ สาหกรรมต่อเนื่อง
จากอ้อยและน้าตาลทราบ เช่น การทาถ่านกัมมันต์จากชานอ้อยและภารชนะบรรจุอาหาร ควรทีการ
ส่งเสรมิ การพฒั นานวตั กรรมให้มีความชัดเจน หาแนวทางแก้ไข ข้อจากัด ปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ในการนา
ออ้ ยไปพฒั นาหรือแปรรูปเปน็ ผลติ ภัณฑอ์ นื่ ๆ เพอ่ื เพม่ิ มลู ค่า รวมทั้งเสนอแนะนโยบายและแนวทางในการ
ปรับปรุงกฎหมายทเ่ี กี่ยวขอ้ งแกร่ ัฐบาล เพือ่ แกไ้ ขปญั หาอปุ สรรค ข้อจากดั ในการปรับปรงุ คณุ ภาพ
3) สานกั งานเศรษฐกิจอตุ สาหกรรม ต้องมีความชดั เจนในการท่จี ะชี้นาอุตสาหกรรมประเทศไทยให้เดินไป
ในทางท่ีกาหนดเป้าหมายไว้ ควรมีส่วนช่วยผลักดันผู้ประกอบการใหม่ (Startup) ในเร่ืองนวัตกรรม
เพ่ือให้พ้นจากกับดักของประเทศรายได้ปานกลาง และเน้นที่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs)
เปน็ หลกั อตุ สาหกรรมใดทปี่ ระเทศมปี ระสิทธิภาพการผลติ เหนอื กว่าประเทศอ่ืน ๆ ควรมุ่งไปทอี่ ตุ สาหกรรม
นนั้ เปน็ หลกั
กรมโรงงานอตุ สาหกรรม ต้องใหค้ วามสาคัญกับภารกิจกาจัดขยะและกากอุตสาหกรรมที่มีอันตราย ส่งผล
กระทบต่อสภาพแวดล้อมและชุมชน โดยเฉพาะพื้นท่ีท่ีประกาศเป็นเขตควบคุมมลพิษต้องตรวจสอบดูแล
อย่างเข้มงวด และจริงจัง โดยร่วมมือกับกรมควบคุมมลพิษ รวมท้ังกาหนดมาตรการรองรับขยะและกาก
อุตสาหกรรมที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อันเน่ืองมาจากการเพ่ิมปริมาณของรถยนต์ไฟฟ้า ซึ่งจะก่อให้เกิดขยะ
อตุ สาหกรรมอกี เป็นจานวนมาก
ดา้ นการพัฒนาบุคลากร และสง่ เสรมิ การวิจยั และนวัตกรรม
1) สานกั งานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาล ควรเพ่ิมนักวิจัยและงบประมาณสาหรับการวิจัยละพัฒนาให้
มากข้ึน เพ่ิมการวิจัยผลิตภัณฑ์ในกลุ่มสินค้าท่ีไม่ใช่อาหาร (Non –Food) เพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับ
ผลผลติ รวมท้ังนาผลการวจิ ยั ตา่ ง ๆ มาพฒั นาตอ่ ยอด ส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ นวัตกรรมใหม่ ๆ
2) สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ควรหาแนวทางเพม่ิ จานวนบุคลากร หรือวิธีการตรวจสอบ
ในรูปแบบอ่ืน ๆ ท่ีรวดเร็วและมีมาตรฐาน เนื่องจากบุคลากรท่ีทาหน้าท่ีตรวจสอบไม่เพียงพอต่อจานวน
ผปู้ ระกอบการทขี่ อรับการบั รอง
กรมโรงงานอุตสาหกรรม ควรพัฒนาระบบยืน่ คาขออนญุ าตประกอบกจิ การโรงงานแบบดิจิทัล โดยเน้นการ
ฝึกอบรมเจ้าหน้าทเี่ กยี่ วกบั การปฏบิ ตั ิงานใหม้ ากขนึ้ และเพม่ิ บคุ ลากรใหเ้ พยี งพอ รวมทั้งแก้ไขกฎหมาย ซึ่ง
เป็นอุปสรรคต่อผู้ประกอบการเพ่ือลดขั้นตอนการขอใบอนุญาตและเร่งรัดการจ ดทะเบียนเครื่องจักร
เนื่องจากสามารถนามาใช้เป็นหลักทรัพย์ค้าประกันในการขออนุมัติสินเชื่อ เพื่อผู้ประกอบการจะได้เข้าถึง
แหล่งเงินทุนได้มากขึ้น รวมท้ังมีการจัดทาฐานข้อมูลและบูรณาการกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวง
พาณิชย์ และมมี าตรการกากับ ดูแลเจา้ หน้าท่ไี มใ่ หม้ ีการทุจรติ ในการออกใบอนญุ าต
กระทรวงอตุ สาหกรรม ควรเนน้ การวจิ ยั และพฒั นา โดยร่วมกับสถาบันการศึกษาเพื่อนาผลงานวิจัยต่าง ๆ
มาใช้ในการพฒั นาอุตสาหกรรม ควบคู่ไปกบั การส่งเสรมิ ให้ภาคอตุ สาหกรรมใชเ้ ทคโนโลยเี ครื่องจักรกลมาก
ขึน้ เพอ่ื ปอ้ งกันปญั หาการขาดแคลนแรงงานท่ีจะเกดิ ข้นึ ในอนาคต รวมท้ังสนับสนุนโครงการสหกิจศึกษาที่
สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร - 94 - กระทรวงอุตสาหกรรม
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ประเดน็ ท่ี 4 สรุปประเด็นข้อสงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ฯ
ปี 2562 เป็นความร่วมมือระหว่างสถานประกอบการกับสถาบันการศึกษา เพ่ือเป็นการสร้างบุคลากรด้าน
ปี 2561 อตุ สาหกรรม ตลอดจนการพัฒนาศกั ยภาพแรงงานให้เป็นแรงงานฝีมือสามารถควบคุมการใช้เครื่องจักรกล
หรอื ใช้เทคโนโลยีข้นั สูงได้
ปี 2560
การบรู ณาการกับหน่วยงานอื่น
การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ควรคานึงถึงผังเมืองโดยรวมของพื้นท่ีการสร้างนิคมอุตสาหกรรม
รวมถึงโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ และความเชื่อมโยงทางด้านคมนาคมขนส่ง โดยประสานกับ
กรมทางหลวงและกรมทางหลวงชนบท
1) กรมโรงงานอุตสาหกรรม ควรตรวจโรงงานขนาดเล็กท่ีตั้งอยู่ริมคลอง ซ่ึงเป็นโรงงานที่ต้ังมาก่อนท่ีจะมี
มติคณะรัฐมนตรี เพื่อไม่ให้ปล่อยของเสียลงแม่น้าและหาแนวทางที่จะย้ายท่ีตั้งโรงงานโดยร่วมกับ
กรมโยธาธิการและผังเมืองจัดหาพ้ืนท่ีต้ังโรงงานที่มีความเหมาะสม และเป็นพ้ืนที่ท่ีมีศักยภาพในการ
พฒั นาการลงทุนภาคอุตสาหกรรมตอ่ ไป
2) กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ควรจัดทาข้อมูลอุตสาหกรรมแต่ละประเภทท่ีต้องส่งเสริมโดยร่วมกับ
สถาบนั การศกึ ษาและภาคเอกชน เพอื่ ให้ทราบความตอ้ งการและความจาเป็นในการใช้แรงงานแต่ละประเภท
เพอ่ื ใหม้ ีการผลิตเพื่อสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน และเป็นการส่งสัญญาณว่าจะนาแรงงาน
สว่ นไหนเขา้ มาสูก่ ระบวนการผลติ เพอื่ แกไ้ ขปัญหาแรงงานต่างดา้ วเดินทางกลบั ประเทศจานวนมาก
1) สานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย ควรเน้นการวิจัยและพัฒนา โดยร่วมกับ
สถาบันการศึกษาเพื่อนาผลงานวิจัยต่าง ๆ มาใช้ในการพัฒนาอุตสาหกรรม ควบคู่ไปกับการส่งเสริมให้
ภาคอุตสาหกรรมใชเ้ ทคโนโลยเี ครอื่ งจักรกลมากขึน้ เพ่ือปอ้ งกนั ปญั หาการขาดแคลนแรงงานท่ีจะเกิดข้ึนใน
อนาคต รวมท้ังสนับสนุนโครงการสหกิจศึกษาที่เป็นความร่วมมือระหว่างสถานประกอบการกับ
สถาบันการศึกษา เพ่อื เปน็ การสร้างบคุ ลากรด้านอุตสาหกรรม ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพแรงงานให้เป็น
แรงงานฝีมือสามารถควบคุมการใช้เครื่องจกั รกลหรือใช้เทคโนโลยขี นั้ สงู ได้
2) สานักงานคณะกรรมการอ้อยและน้าตาลทราย ควรร่วมมือกับสถาบันการศึกษาและสถาบันวิจัย เพ่ือ
นาผลการศกึ ษาวจิ ยั ไปต่อยอดในการเพิม่ มูลค่าผลิตภัณฑ์อย่างครบวงจร ต้ังแต่การศึกษาวิจัยพันธุ์เพื่อเพ่ิม
ปริมาณผลผลิต จัดหาพันธุ์แจกจ่ายให้เกษตรกร ขยายปริมาณการปลูกและปริมาณโรงงาน รวมถึง
ศกึ ษาวิจัยและพฒั นาอุปกรณ์ เครือ่ งจกั รกล นวัตกรรม ทีจ่ ะช่วยลดต้นทุนการผลิต
3) สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ต้องประสานงานกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพ่ือร่วมกันวาง
หลักเกณฑ์การกาหนดมาตรฐานบังคับสินค้าอุตสาหกรรมบางประเภทท่ีมีหลายหน่วยงานดาเนินงาน เช่น
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) สานกั งานคณะกรรมการคุ้มครองผูบ้ ริโภค (สคบ.) เพื่อให้เป็น
มาตรฐานเดยี วกนั และไม่สรา้ งภาระให้กบั ผู้ประกอบการ รวมท้ัง พฒั นาบุคลากรของหน่วยงานให้มีความรู้
ความสามารถในการดาเนินงานเองแทนการจ้างบุคลากรภายนอก เพื่อลดภาระงบประมาณและเพ่ิมขีด
ความสามารถของหน่วยงาน
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 95 - กระทรวงอุตสาหกรรม
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่างพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ท้งั น้ี สานกั งบประมาณของรัฐสภาได้วเิ คราะหข์ อ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารแลว้ มคี วามเห็นเพิ่มเตมิ ดังนี้
1. รัฐบาลควร สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนปรับตัวให้ทันต่อการพัฒนาประเทศและการเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศเพื่อขับเคล่ือนไปสู่ไทยแลนด์ 4.0 โดยการกาหนด 12 อุสาหกรรมเป้าหมาย
เพ่อื เปน็ มาตรการระยะยาวทจี่ ะกาหนดทิศทางของการปรับโครงสร้างด้านการผลิต ทั้งเกษตร อุตสาหกรรม และการ
บริการของประเทศให้มีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการแข่งขัน มีการสร้างงานคุณภาพ และมีการสนับสนุน
เศรษฐกิจภูมิภาคอย่างเป็นระบบ ต่อเน่ืองและย่ังยืน มีการลงทุนด้านนวัตกรรม ซ่ึงรัฐบาลจูงใจด้วยการให้บริษัทท่ี
ลงทุนด้านการวิจัยและนวัตกรรม สามารถนาเงินลงทุนดังกล่าวมาลดหย่อนภาษีได้ 3 เท่า เป็นต้น นอกจากนี้ ยังจูง
ใจให้บริษทั ต่างชาติเข้ามาลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนาในประเทศไทย เช่น การลดหน่อยภาษีเงินได้ อัตราเดียวคือ
ร้อยละ 15 และปรับเปล่ียนเรื่องการขอวซี า่ ใหส้ ะดวกแก่นักลงทุนและนักวจิ ัยต่างชาติ เป็นตน้
2. ท่ีผ่านมา คณะกรรมาธิการฯ ได้มีข้อสังเกตเก่ียวกับการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย
ตัวชี้วัดของกระทรวงอุตสาหกรรมอย่างต่อเน่ือง ดังนั้น ในการจัดทางบประมาณปี 2563 จึงควรมีการทบทวน
วิสัยทัศน์ พันธกิจ ภารกิจ เป้าหมายการให้บริการระดับต่างๆ ตัวชี้วัดให้สะท้อนถึงผลสัมฤทธ์ิของหน่วยงานท่ี
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนพัฒนาอื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้อง รวมทั้ง ควรนาข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการฯ ใน
ปที ี่ผ่านมา ไปใชเ้ ป็นแนวทางในการจัดทางบประมาณดว้ ย ซ่ึงประเด็นดังกล่าวสอดคล้องกับหลักเกณฑ์และวิธีการ
ยืน่ คาขอตั้งงบประมาณประจาปงี บประมาณ 2563 ตามทสี่ านกั งบประมาณกาหนด
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 96 - กระทรวงอุตสาหกรรม
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเด็นข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
21. ส่วนราชการในพระองค์
1. วิสยั ทัศน์ เป็นหน่วยงานที่มหี น้าท่ีมงุ่ ธารงไว้ ซึง่ สถาบันพระมหากษัตริย์ ปฏิบัติงานท้ังราชการแผ่นดินและงานส่วน
พระองคถ์ วาย เผยแพร่เกียรตคิ ณุ ตลอดจนประสานความรว่ มมือกบั องค์กร และหน่วยงานต่าง ๆ อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ
2. พันธกิจ 1. ปฏิบัติงานเลขานุการในพระองค์พระมหากษัตริย์ ทั้งในราชการแผ่นดินและส่วนพระองค์ รวมทั้งงาน
เลขานุการในพระองค์ พระบรมวงศานุวงศ์ ตลอดจนงานเลขานุการของคณะองคมนตรี
2. จดั งานพระราชพิธี รัฐพิธี งานพธิ ี งานพระราชกุศลตา่ ง ๆ ตลอดจนงานเสดจ็ พระราชดาเนนิ
3. ประสานงานระหว่างสถาบันพระมหากษัตริย์กับรัฐบาล รัฐสภา หน่วยงานราชการ และองค์กรต่าง ๆ
ท้ังในและต่างประเทศ รวมทง้ั ประชาชนท่วั ไปให้เปน็ ไปด้วยความเรยี บร้อย
4. ดาเนินการเกี่ยวกับการขอพระราชทานพระมหากรุณาในเร่ืองต่าง ๆ และสนองพระราชกระแสรับสั่ง
เกีย่ วกบั การบาบัดทกุ ข์บารงุ สขุ ของพสกนกิ ร
5. เผยแพร่พระราชกรณียกิจ ศิลปวัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมราชประเพณีให้ประชาชนได้รับทราบ
อย่างกวา้ งขวางทงั้ ในและต่างประเทศ
6. จัดการกองทุน โครงการต่าง ๆ และผลประโยชน์ทรัพย์สินของวัดหลวงที่อยู่ในความดูแลของสานัก
พระราชวัง รวมทง้ั วัดในพระบรมราชูปถัมภ์ ตลอดจนทรัพย์สินของพระบรมวงศานุวงศ์ให้เป็นไปตามพระ
ราชอธั ยาศัย
7. ปฏบิ ตั ิงานอนื่ ใดตามพระราชอธั ยาศัย
3. ส่วนราชการ หน่วยงานในกากบั และกองทนุ หมุนเวียน
สว่ นราชการ* หน่วยงานในกากบั / รัฐวิสาหกิจในกากบั กองทนุ และเงนิ ทุน
องคก์ ารมหาชน หมุนเวยี น
1. สานักงานองคมนตรี - ไม่มี – - ไม่มี – - ไม่มี –
2. สานักพระราชวัง
3. หนว่ ยบัญชาการถวายความ
ปลอดภัยรักษาพระองค์
4. แผนงานบรู ณาการภายใตก้ ระทรวง หน่วยงานเจา้ ภาพ
- ไมม่ ี –
หมายเหตุ : * พระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบรหิ ารราชการในพระองค พ.ศ. 2560 มาตรา 4 ไดบ้ ัญญตั ไิ วว้ ่า สว่ นราชการในพระองคไ์ ม่เปน็ สว่ นราชการ
ตามกฎหมายว่าดว้ ยระเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดิน และไมเ่ ปน็ หน่วยงานของรัฐตามกฎหมายอื่นใด
สรุปประเดน็ ข้อสังเกตที่คณะกรรมาธกิ ารให้ความสาคัญอย่างตอ่ เนือ่ ง
- ไม่มี –
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 97 - ส่วนราชการในพระองค์
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเด็นขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
22. ส่วนราชการไมส่ งั กัดสานกั นายกรฐั มนตรี กระทรวง หรือทบวง
และหนว่ ยงานภายใตก้ ารควบคมุ ดูแลของนายกรัฐมนตรี
สว่ นราชการ หนว่ ยงานในกากับ/ รัฐวสิ าหกิจในกากบั กองทุนและเงินทุน
องค์การมหาชน หมุนเวยี น
1. สานักงานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ 1. กองทุนเพอื่ การ
2. สานักงานคณะกรรมการพิเศษ สืบสวนและสอบสวน
เพือ่ ประสานงานโครงการ คดีอาญา
อนั เนือ่ งมาจากพระราชดาริ
3. สานักงานคณะกรรมการวจิ ัย
แหง่ ชาติ
4. สานักงานราชบัณฑติ ยสภา
5. สานักงานตารวจแหง่ ชาติ
6. สานกั งานปอ้ งกันและปราบปราม
การฟอกเงนิ
7. ศูนย์อานวยการบรหิ ารจังหวดั
ชายแดนภาคใต้
8. สานักงานคณะกรรมการปอ้ งกนั
และปราบปรามการทุจริตในภาครฐั
9. สานกั งานสภาที่ปรกึ ษาเศรษฐกจิ
และสงั คมแหง่ ชาติ
10. สานกั งานคณะกรรมการปฏริ ปู
กฎหมาย
11. สานกั งานคณะกรรมการนโยบาย
เขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
แผนงานบูรณาการภายใตก้ ระทรวง หน่วยงานเจา้ ภาพ
1. แผนงานบูรณาการวิจัยและนวตั กรรม สานักงานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ และ
สานักงานคณะกรรมการนโยบายวทิ ยาศาสตร์
เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมแห่งชาติ
2. แผนงานบรู ณาการขบั เคล่อื นเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพฒั นาพิเศษ
ภาคตะวันออก และ สานักงานคณะกรรมการ
พฒั นาการเศรษฐกิจสังคมแห่งชาติ
สรุปประเดน็ ขอ้ สังเกตท่คี ณะกรรมาธกิ ารให้ความสาคญั อย่างต่อเน่อื ง
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
วิสามัญฯ ในส่วนภารกิจของส่วนราชการไม่สังกัดสานักนายกรัฐมนตรีฯ 3 ปีย้อนหลัง (ระหว่างปีงบประมาณ
พ.ศ. 2560 - 2562) พบว่ามีประเด็นสาคัญเกี่ยวกับการดาเนินงานภายใต้ภารกิจของส่วนราชการไม่สังกัด
สานักนายกรฐั มนตรีฯ ท่ีคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ ใหค้ วามสาคญั อยา่ งต่อเนือ่ ง ดังน้ี
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร ส่วนราชการไมส่ ังกดั สานกั นายกรฐั มนตรฯี
- 98 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเดน็ ข้อสงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ประเด็นที่ 1 สรุปประเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ
1.1
การพัฒนาประสิทธภิ าพการการบรหิ ารจัดการ (management)
ปี 2562
ดา้ นความปลอดภัย/ความม่นั คง
ปี 2561
1) สานกั งานตารวจแหง่ ชาติ ควรมศี ูนยก์ ลอ้ งวงจรปิด (CCTV) และเป็นหน่วยงานหลักในการเช่ือมโยง
ปี 2560 กลอ้ ง CCTV กับหนว่ ยงานอ่นื รวมทั้งพฒั นาบคุ ลากรให้เป็นผเู้ ชีย่ วชาญเทคนคิ การดูภาพ
1.2 การวิเคราะห์ภาพวงจรปดิ
ปี 2562 2) สานกั งานตารวจแห่งชาติ ควรกาหนดแผนการเรง่ รัดการเพิม่ พนักงานสอบสวนหญงิ ให้เพียงพอกบั
ความต้องการและมปี ระจาสถานตี ารวจทกุ แหง่ เพือ่ ใหก้ ารดูแลผเู้ สยี หายทเ่ี ป็นเด็กหรอื ผหู้ ญงิ มี
ปี 2561 ประสทิ ธภิ าพ
1.3
1) สานกั งานตารวจแหง่ ชาติ ควรมีนโยบายป้องกันด้วยการติดตงั้ กล้องวงจรปดิ (CCTV) ในถนน
ปี 2562
ปี 2560 สายหลักทุกเส้นทาง บรเิ วณทางเขา้ ออกทกุ แห่ง
ประเด็นที่ 2
ปี 2562 2) ศนู ย์อานวยการบรหิ ารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ควรทบทวนการติดตง้ั กล้องวงจรปดิ (CCTV) ให้
เป็นระบบเดียวกนั ทง้ั หมด เพือ่ ใหส้ ามารถเชื่อมโยงข้อมลู กนั ได้ และควรประสานเชอ่ื มโยงขอ้ มลู ระหวา่ ง
หนว่ ยงาน ภาคเอกชนและประชาชนในพืน้ ท่ี
1) สานักงานตารวจแห่งชาติ ควรประสานหนว่ ยงานแต่ละพืน้ ทแ่ี ละรวบรวมข้อมลู จดั ทาแผนการตดิ ตั้ง
กล้องวงจรปดิ (CCTV) โดยเฉพาะการจัดระบบในถนนเส้นหลักท่ีเขา้ จงั หวดั ตา่ ง ๆ รวมท้ังขอความ
รว่ มมอื กบั ภาคเอกชนเพือ่ ให้สามารถบรหิ ารจดั การขอ้ มลู และนามาใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ
2) สานกั งานตารวจแห่งชาติ ควรพัฒนาดา้ นการข่าวทง้ั ด้านการปอ้ งกันและปราบปรามอาชญากรรม
การรกั ษาความสงบเรียบรอ้ ย โดยเน้นดา้ นการข่าวและการสรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมือของประชาชน
การป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
1) สานักงานป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงิน ควรนาเทคโนโลยีตา่ งๆ มาปรบั ใช้เพื่อป้องกนั ขอ้ มลู
ด้านความม่นั คงและข้อมลู ลบั ของทางราชการรว่ั ไหล ควรเพม่ิ บุคลากรเทา่ ทจี่ าเปน็ และควรให้
ความสาคญั ในการคดั กรองบคุ ลากรท่ีมีคณุ ภาพ ความซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ
2) สานักงานป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงิน ควรเร่งรดั ดาเนนิ การกบั ผกู้ ระทาความผดิ ในเรื่องหนุ้ กู้
ทีล่ งทุนในตลาดหลกั ทรัพย์ เพราะหากลา่ ช้าอาจเกดิ ความเสียหายตอ่ ประเทศ
สานักงานปอ้ งกันและปราบปรามการฟอกเงิน ควรพฒั นาการดาเนินงานให้เปน็ ท่ยี อมรบั ในระดับสากล
ดา้ นการปอ้ งกันและปราบปรามการฟอกเงิน และเร่งรัดดาเนินงานต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่
ผู้กอ่ การร้าย
ด้านการวิจัย
สานกั งานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ควรกาหนดยุทธศาสตร์ท่ีเกี่ยวข้องกับการนางานวิจัยไปใช้ขยายผล
กาหนดตัวช้ีวัดเชิงคุณภาพเพ่ิมเติมให้สะท้อนผลลัพธ์ให้ชัดเจน และควรปรับบทบาทเป็นหน่วยงานท่ี
ดาเนนิ การเรอ่ื งนโยบายและอานวยการระบบวิจยั
สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ควรให้ความสาคัญในการตรวจสอบการจัดสรรงบวิจัยไม่ให้มี
ความซ้าซอ้ น และสง่ เสริมใหภ้ าคธรุ กจิ ภาคเอกชนนาผลงานวิจัยไปต่อยอดเพื่อประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ที่สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์ในการพฒั นาประเทศ
การพัฒนาเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวันออก
สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ควรทาการวิเคราะห์ขีด
ความสามารถในการรองรบั ของพืน้ ท่ี (Carrying Capacity) เพ่อื ใหก้ ารพัฒนามีความย่ังยืน รวมท้ังหา
แนวทางเพ่อื ปอ้ งกันผลกระทบทอี่ าจเกดิ ข้ึนจากโครงการพฒั นาท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร สว่ นราชการไมส่ งั กดั สานักนายกรฐั มนตรฯี
- 99 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ประเดน็ ท่ี 3 การปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ
3.1
การปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตเพอ่ื ค้มุ ครองพระพทุ ธศาสนา
ปี 2562
สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ควรกาหนดมาตรการและหลักเกณฑ์ในการจัดสรรงบประมาณ
ปี 2561 สาหรับเงินอุดหนุนการบูรณปฏิสังขรณ์วัดให้มีความชัดเจน และมาตรการป้องกันและปราบปราม
การออกใบอนโุ มทนาบัตร เพ่อื ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ การทุจรติ
3.2
ปี 2562 สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ควรกาหนดหลักเกณฑ์และแนวทางการจัดสรรเงินอุดหนุน
งบบูรณะและปฏิสังขรณ์วัดให้ชัดเจน รวมท้ังควรจัดทาแผนการดาเนินงาน กากับดูแลและติดตามผล
ปี 2561 อย่างต่อเนื่อง สามารถตรวจสอบการดาเนินงานเพื่อให้มีความโปร่งใสในการใช้จ่ายงบประมาณ รวมท้ัง
กากับดูแลการออกใบอนโุ มทนาบตั รท่ีวัดเปน็ ผ้อู อกให้
ประเด็นท่ี 4
ปี 2562 การปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตในภาครัฐ
1) สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ ในภาครัฐ ควรนาระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศมาแกไ้ ขปัญหาเพอ่ื ใหป้ ระชาชนเขา้ ถงึ ขอ้ มูลขา่ วสาร สะดวกในการรอ้ งเรียน การแจง้ เบาะแส
และควรมมี าตรการค้มุ ครองผู้แจ้งเบาะแส
2) สานกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ ในภาครฐั ควรผลักดนั ให้มกี ฎหมายให้
ผรู้ ่วมกระทาผดิ ได้รบั ยกเว้นโทษทางอาญาเหลือเพยี งความผดิ ทางแพง่ เทา่ นั้น ซึ่งจะทาใหม้ ผี ูย้ นิ ดี
ให้ขอ้ มลู เพ่ิมขึ้น
สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ควรให้ความสาคัญกับ
การประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ผลงานคดีความท่ีผ่านการพิพากษาเสร็จสิ้นแล้วให้ประชาชนรับทราบ
รวมทัง้ หาแนวทางในการเร่งรดั ดาเนินการในคดที คี่ ้างการพิจารณาจานวนมาก
การประชาสัมพนั ธ์
1) สานักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพ่อื ประสานโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ ควรสนับสนนุ
และขยายผลการถา่ ยทอดโครงการตามแนวพระราชดารทิ มี่ อี งค์ความรูใ้ นเรื่องการฟ้ืนฟสู ภาพดนิ
การแก้ไขปญั หาดนิ เสือ่ มสภาพ การใชส้ ารเคมีในพืน้ ท่ี เพ่ือใหเ้ กษตรกรไดน้ าองค์ความรไู้ ปแกไ้ ขปญั หา
2) สานักงานราชบณั ฑติ ยสภา ควรมกี ารสารวจจานวนผรู้ บั ฟงั รายการของหนว่ ยงานท่มี กี ารเผยแพร่
ผา่ นช่องทางตา่ งๆ เช่น การสง่ เสรมิ และเผยแพร่ภาษาไทยทถี่ ูกต้องตามหลักภาษา เพอ่ื นาไปทบทวน
ปรับปรงุ การดาเนินงานใหเ้ กดิ ประโยชนเ์ พ่ิมขึน้
ทัง้ นี้ สานกั งบประมาณของรัฐสภาได้วเิ คราะหข์ อ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการแล้วมีความเห็นเพมิ่ เติมดังน้ี
1. ทุกหน่วยงานควรมีการกาหนดตัวชี้วัดเชิงคุณภาพให้สามารถวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม รวมถึง
ควรมีการติดตาม/ประเมินผลการดาเนินงานของหน่วยงานอย่างจริงจัง เพ่ือให้สามารถนาผลการดาเนินงาน
ดังกลา่ วมาทบทวนและปรบั ปรุงการดาเนนิ งานในปีถัดไป
2. สานกั งานป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ ภาครฐั ควรเรง่ รดั การสืบสวนคดีท่ีมีความล่าช้าให้แล้ว
เสร็จโดยเร็ว พร้อมบังคับใช้กฎหมายกับผู้กระทาความผิดอย่างจริงจัง เพื่อให้เกิดความเกรงกลัวกฎหมายและ
เป็นบทเรียนแก่สังคม
สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร - 100 - ส่วนราชการไมส่ งั กัดสานกั นายกรฐั มนตรฯี
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะห์ประเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณาร่างพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
23. หนว่ ยงานของรัฐสภา
1. วสิ ัยทัศน์ สานกั งานเลขาธิการวฒุ ิสภา
2. พนั ธกจิ องคก์ รท่เี ปน็ เลิศในการส่งเสริม สนับสนนุ งานฝ่ายนติ บิ ัญญัติ
1. วิสัยทัศน์ ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ งานฝา่ ยนิตบิ ญั ญัตติ ามรฐั ธรรมนูญและกฎหมาย
2. พนั ธกจิ
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร
1. วสิ ัยทัศน์
2. พันธกจิ สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเป็นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง (High Performance
Organization) เพ่ือสนบั สนุนบทบาทภารกิจสถาบนั นติ บิ ญั ญตั ใิ หเ้ กิดประโยชนส์ ขุ ตอ่ ประชาชน
1.การสนบั สนนุ สถาบนั นติ ิบญั ญัตติ ามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญ
2.การสนับสนนุ สถาบันนติ ิบัญญตั ใิ นเวทีประชาคมอาเซยี นและรัฐสภาระหว่างประเทศ
3.การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ให้ประชาชนมสี ว่ นรว่ มทางการเมอื งและพัฒนาประชาธิปไตย อนั มี
พระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ
สถาบนั พระปกเกล้า
สถาบันวชิ าการชนั้ นาดา้ นการพฒั นาประชาธิปไตย ธรรมาภบิ าล และสันตวิ ิธี เพือ่ ประโยชน์สว่ นรวม
1. ศึกษาวจิ ยั ทางวชิ าการเพื่อสร้างองคค์ วามรู้และเสนอแนะการแกไ้ ขปัญหาเกยี่ วกบั การพฒั นาการเมอื ง
การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอย่างเปน็ ระบบ
2 ใหบ้ รกิ ารทางวชิ าการทงั้ ในรปู ของการศกึ ษาอบรมทางวชิ าการ ใหค้ าปรกึ ษา ให้ ข้อเสนอแนะเชิง
นโยบาย และบริการขอ้ มลู ข่าวสารเกยี่ วกบั ความรูท้ างการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ธรรมาภิบาลและสันติวิธี
3. สง่ เสรมิ งานวชิ าการของรัฐสภา
4. เผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์ และสนับสนุนความรูค้ วามเข้าใจและการใช้สิทธิ หน้าท่ขี อง พลเมืองตาม
รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย
5.ส่งเสรมิ ความร่วมมือกับองค์การท้ังในและต่างประเทศเพื่อการพัฒนาการเมือง การปกครองใน
ระบอบ
ประชาธิปไตย ธรรมาภิบาลและสันตวิ ธิ ี
6.สง่ เสรมิ และพฒั นาพพิ ธิ ภณั ฑ์พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ให้เปน็ แหล่งเรยี นรดู้ า้ น
พระปกเกลา้ ศกึ ษา
7.บริหารงานกองทุนเพื่อการพฒั นาและเผยแพรป่ ระชาธิปไตย
สานักงานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร - 101 - หน่วยงานของรฐั สภา
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเด็นข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่างพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
3. สว่ นราชการ หน่วยงานในกากับ และกองทุนหมนุ เวียน
ส่วนราชการ หนว่ ยงานใน รัฐวสิ าหกจิ ใน กองทนุ และเงินทุน
กากบั /องคก์ าร กากบั หมุนเวียน
มหาชน
1. สานกั งานเลขาธิการวฒุ สิ ภา - - 1.เงินทนุ หมุนเวยี นเพอ่ื ให้
2. สานกั งานเลขาธกิ ารสภา ข้าราชการสานกั งานเลขาธิการ
ผแู้ ทนราษฎร สภาผแู้ ทนราษฎรกยู้ มื เพ่อื ชาระ
3. สถาบนั พระปกเกล้าอตุ สาหกรรม หนี้สนิ
2.กองทุนเพ่ือผูเ้ คยเปน็ สมาชิก
รฐั สภา
3.กองทุนเพอื่ การพัฒนาและ
เผยแพรป่ ระชาธิปไตย
4. กองทุนพฒั นาการเมอื งภาค
พลเมอื ง
4. แผนงานบรู ณาการภายใตก้ ระทรวง หนว่ ยงานเจ้าภาพ
-ไมม่ ี-
สรปุ ประเดน็ ข้อสงั เกตที่คณะกรรมาธกิ ารให้ความสาคญั อย่างต่อเนื่อง
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษาวิเคราะห์ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ 3 ปีย้อนหลัง
(ระหว่างปีงบประมาณพ.ศ. 2560- 2562) ของหน่วยงานของรัฐสภา พบว่า มีประเด็นสาคัญเกี่ยวกับการดาเนินงาน
ภายใตภ้ ารกิจของกระทรวงอุตสาหกรรม ท่คี ณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ ให้ความสาคญั อยา่ งต่อเนื่อง ดงั นี้
ประเดน็ ท่ี 1 สรุปประเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั ฯ
ปี 2562
ปี 2561 การบรหิ ารจัดการนโยบายต่างๆ ตามกฎหมายการจัดต้งั กฎกระทรวง
ปี 2560 สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ควรผลักดันให้เกิดการจัดตั้งองค์กรด้านการวิเคราะห์
งบประมาณของรัฐสภา ให้การวิเคราะห์งบประมาณของรัฐสภามีประสิทธิภาพสูงข้ึนอีก โดยเปิดรับ
โอนบุคลากรที่มีความรู้ความเช่ียวชาญด้านการวิเคราะห์งบประมาณเพิ่มมากข้ึน ทั้งน้ี เพ่ือให้การ
ตรวจสอบการใชจ้ ่ายงบประมาณของฝ่ายบรหิ ารโดยฝ่ายนติ บิ ัญญัตมิ ีความเข้มแขง็ มากข้ึน
1) สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร ควรปรับปรุงระบบต่าง ๆ ท่ีรับผิดชอบในการอานวยความ
สะดวกให้แก่สมาชิกรัฐสภา และผู้เข้ามาติดต่อราชการ เช่น สัญญาณอินเทอร์เน็ตไร้สาย (Wi-Fi)
ระบบเผยแพร่ข้อมูลเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ รวมท้ังอาคารสถานท่ี ความสะอาด สุขอนามัย
ระบบปรบั อากาศในอาคาร และมาตรฐานความปลอดภัย เป็นตน้
2) สานกั งานเลขาธกิ ารวฒุ สิ ภา ควรมีแนวคดิ ในการพฒั นาหนว่ ยงานใหเ้ ป็นหนว่ ยงานอานวยการของ
รัฐสภา ปรับปรุงการทางานให้มีประสิทธิภาพและประหยัด พัฒนาระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์เพื่อ
ช่วยลดการใชก้ ระดาษ
1) รัฐสภาจาเปน็ ตอ้ งได้รบั การปฏริ ูประบบการบรหิ ารงานอย่างเร่งด่วนเพื่อเพิ่มภาพลักษณ์และความ
สง่างามของความเป็นรัฐสภาไทยให้ทดั เทียมกบั รฐั สภาต่างประเทศ โดยต้องเริ่มต้นตั้งแต่การแยกพื้นที่
การประชมุ พนื้ ท่ที างานและพน้ื ทบ่ี ริการ ให้ขัดเจน มีการใช้เคร่ืองควบคุมเพ่ือคัดกรองคนผ่าน เข้า –
ออก แต่ละพนื้ ทอ่ี ย่างเขม้ งวด เพอื่ ประโยชนใ์ นการรักษาความปลอดภยั
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 102 - หน่วยงานของรัฐสภา
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ประเด็นที่ 2 สรุปประเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ
ปี 2561
ปี 2560 2) รัฐสภา ควรต้องปรับโครงสร้างการทางานของหน่วยงานให้แยกการทางานของหนว่ ยรบั ผดิ ชอบการ
ประเด็นท่ี 3 ประชมุ และหนว่ ยงานบริการอยา่ งชดั เจน เพ่ือเพิม่ ประสิทธิภาพการประชมุ คณะกรรมาธิการชุดตา่ ง ๆ
ปี 2562 ให้มากขึ้น ท้ังน้ี หน่วยงานบริการต้องรับผิดชอบการบริการทุกเรื่องต้ังแต่การดูแลความสะอาดของ
อาคารสถานท่ี งานจดั เลีย้ ง งานจัดซอ้ื จดั จ้าง เป็นต้น เพอื่ ความเปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ยของรฐั สภา
ปี 2561 3) รัฐสภา ควรต้องปรบั ปรุงโครงสรา้ งองคก์ รให้ประธานรฐั สภามีอานาจในการบริหารและเคลื่อนย้าย
การใช้ทรัพยากรระหว่างสานักงานเลขาธิการวุฒิสภาและสานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ให้มี
ปี 2560 ความคล่องตัวและเหมาะสมกับสถานการณ์ รวมถึงกาหนดจานวนอัตรากาลังและการพัฒนาขีด
ความสามารถของข้าราชการให้มีคุณสมดุลกบั ปรมิ าณงานท่แี ต่ละสภาต้องรบั ผดิ ชอบ
ประเดน็ ที่ 4
ปี 2562 การบริหารจดั การงบประมาณ สนับสนนุ สร้างนวัตกรรมและส่ิงแวดลอ้ ม
สถาบันพระปกเกล้า ควรให้ความสาคัญกับการวิจัยและพัฒนา โดยเฉพาะการวิจัยที่เก่ียวข้องกับ
กฎหมายเรื่องสาคัญๆ ท่ีจะนาเข้าสู่การพิจารณาของสภาบันนิติบัญญัติแห่งชาติและนาผลการวิจัย
เสนอให้สมาชกิ สภานติ บิ ญั ญัตแิ ห่งชาตใิ ชป้ ระกอบการพิจารณากฎหมายดังกล่าว
สถาบันพระปกเกล้า ต้องมีบทบาทในการช่วยเหลืองานของรัฐสภา ท้ังการวิจัย สภาพปัญหา และ
ส่งเสรมิ การดาเนนิ ของรัฐสภา เช่น การหาแนวทางในการพัฒนารฐั สภาให้มรี ะบบงานท่ีดี โปร่งใส และ
มีประสทิ ธภิ าพ มีศักด์ิศรที ดั เทยี มรัฐสภาในระดบั สากล
ด้านการพัฒนาบคุ ลากร และสง่ เสริมการวิจัยและนวัตกรรม
สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ควรพฒั นาบคุ ลากรดา้ นกฎหมายของรัฐสภาให้มีความรู้ความ
เช่ียวชาญในการวิเคราะห์กฎหมาย เพ่ือเป็นประโยชน์ในการสนับสนุนงานของฝ่ายนิติบัญญัติให้มี
ประสิทธิภาพมากขน้ึ รวมทั้งปรับปรงุ ระบบสารสนเทศของรัฐสภาโดยนาปัญหาของรัฐสภาในปัจจุบัน
ไปปรบั ปรุงท่ีรัฐสภาแห่งใหม่
1) สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ควรมีแผนบริหารงานบุคคล เพ่ือสนับสนุนกระบวนการ
ด้านนติ บิ ัญญตั ริ ว่ มกับสานักงานเลขาธกิ ารวุฒิสภาในการสนับสนุนภารกจิ ของสภานติ บิ ัญญัติแห่งชาติ
ตามรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย มาตรา 263 ทสี่ ภานิติบญั ญตั แิ ห่งชาตยิ งั คงทาหนา้ ท่รี ัฐสภา
สภาผู้แทนราษฎร และวฒุ สิ ภา ตามบทบัญญัตแิ หง่ รัฐธรรมนญู น้ี
2) สถาบันพระปกเกล้า ควรให้ความสาคัญกับการวิจัยและพัฒนา โดยเฉพาะการวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับ
กฎหมายเร่อื งสาคญั ๆ ท่จี ะนาเข้าสู่การพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติและนาผลการวิจัยเสนอ
ใหส้ มาชิกสภานิตบิ ญั ญตั แิ ห่งชาตใิ ช้ประกอบการพิจารณากฎหมายดงั กล่าว
1) สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ต้องเร่งรัดปรับปรุงบทบาทและขีดความสามารถ ของ
นักวิเคราะห์งบประมาณ สานักงบประมาณของรัฐสภา ในการวิเคราะห์ ร่างพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจาปีของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่น เพ่ือให้สามารถจัดทา
ข้อเสนอแนะการจัดสรรงบประมาณท่เี หมาะสมของแต่ละหน่วยงาน
2) สถาบันพระปกเกล้า ควรมีบทบาทในการช่วยเหลืองานของรัฐสภา ท้ังการวิจัยสภาพปัญหา และ
สง่ เสริมการดาเนินงานของรัฐสภา เชน่ การหาแนวทางในการพัฒนารัฐสภาให้มีระบบงานที่ดี โปร่งใส
และมปี ระสทิ ธภิ าพ มีศักดศิ์ รที ดั เทยี มรัฐสภาในระดับสากล
การบูรณาการกบั หน่วยงานอ่นื
สถาบนั พระปกเกล้า ควรเพมิ่ โครงการรางวัลพระปกเกล้าให้กบั องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีผลการ
ดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพให้มากข้ึน เพ่ือเป็นการกระตุ้นให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแข่งขันกัน
พฒั นาพ้นื ท่ีของตน ซึง่ ทาให้ประชาชนในพื้นท่ขี ององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ เป็นผู้ไดร้ ับประโยชน์
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 103 - หนว่ ยงานของรฐั สภา
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะห์ประเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ปี 2561 สรุปประเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ
ปี 2560
สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ควรมีแผนบริหารงานบุคคล เพ่ือสนับสนุนกระบวนการ
ด้านนิติบัญญตั ิรว่ มกบั สานกั งานเลขาธกิ ารวุฒิสภาในการสนับสนุนภารกิจของสภานติ ิบัญญัตแิ หง่ ชาติ
ตามรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย มาตรา 263 ทีส่ ภานิตบิ ัญญตั แิ หง่ ชาตยิ งั คงทาหนา้ ทร่ี ัฐสภา
สภาผู้แทนราษฎร และวฒุ ิสภา ตามบทบญั ญัตแิ หง่ รัฐธรรมนญู น้ี
รัฐสภา ควรปรับปรุงเปล่ียนแปลงรูปแบบและกลไกการทางานให้รวดเร็ว โปร่งใส ลดการผลิตและใช้
เอกสารจานวนมากซง่ึ มีคา่ ใช้จา่ ยสงู โดยการนาระบบดจิ ทิ ัลเข้ามาใชใ้ นกระบวนการทางานทุกขั้นตอน
เพ่ือพัฒนาระบบงานรัฐสภาให้เป็น Smart Parliament ที่มีมาตรฐาน และเป็นไปในทิศทาง
เดียวกัน สามารถเช่ือมโยงและแลกเปล่ยี นข้อมูลท้งั สองสภาได้อย่างสมบูรณ์
ทัง้ นี้ สานักงบประมาณของรัฐสภาได้วิเคราะห์ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารแล้วมคี วามเห็นเพม่ิ เตมิ ดังนี้
1. แผนบริหารทรัพยากรบุคคล มีความเห็นว่าทั้ง 2 สานักงาน คือ สานักงานเลขาธิการวุฒิสภา และ
สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ต้องสารวจตาแหน่งอัตราว่าง ท่ีมีเงินอยู่ ให้สามารถบริหารจัดการได้ เช่น
ในตาแหน่งอัตราว่างมีเงินที่ไม่สามารถบรรจุบุคลากร มาลงตรงตาแหน่งได้น้ัน ให้ตัดโอนไปบรรจุส่วนที่มีความ
จาเป็นเร่งด่วนก่อน เพื่อเพิ่มประสิทธิในการปฏิบัติงาน หรือเกลี่ยบุคลากรทีเกินปริมาณไปลงส่วนที่ขาด เป็นต้น
2. สถาบันพระปกเกล้าเป็นสถาบันทางวิชาการอยู่ในกากับดูแลของประธานรัฐสภา มีหน้าที่
เผยแพร่ความรู้ด้านการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตยไปสู่ประชาชนรวมทั้งเพื่อการศึกษาค้นคว้า
และวิจัยปัญหาและแนวทางการพัฒนาประชาธิปไตยอย่างเป็นระบบเพื่อให้ระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขให้มีความเป็นปึกแผ่นและย่ังยืน ควรให้การสนับสนุนกิจกรรมของฝ่ายนิติ
บัญญตั ิให้มากขน้ึ โดยเฉพาะให้ความสาคัญในการเพมิ่ ศักยภาพของสมาชิกรัฐสภาและสนับสนุนข้อมูลทางวิชาการ
เชิงลกึ ในการตัดสินใจได้อย่างแทจ้ ริง
3. สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรและสานักงานเลขาธิการวุฒิสภา ควรวิเคราะห์กระบวนงาน
และทรัพยากรที่สามารถใช้ร่วมกัน ควรมีการบริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพและควรปรับปรุงการบริหารให้
สอดคล้องกบั การจะไปใช้อาคารรัฐสภาแหง่ ใหม่
4. อาคารรัฐสภาแห่งใหม่ ควรมีระบบการบริหารจัดการระบบสาธารณูปโภค การใช้ประโยชน์อาคาร
ที่มีความทันสมัย คล่องตัวสูง ไม่ควรใช้รูปแบบการบริหารจัดการของระบบราชการ ระบบสาธารณูปโภค
การจราจร การอานวยความสะดวก ทาความสะอาด บรหิ ารจดั การพ้ืนท่ธี ุรกิจ (การเช่าพืน้ ท่ี)
สานกั งานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร - 104 - หน่วยงานของรฐั สภา
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะห์ประเด็นข้อสงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
24. หนว่ ยงานของศาล
1.สานกั งานศาลรฐั ธรรมนญู
วสิ ัยทัศน์ “ศาลรัฐธรรมนูญเป็นสถาบันหลักท่ีคุ้มครองความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญตามหลัก
นติ ิธรรมสร้างความเชื่อมัน่ แกป่ ระชาชน โดยมีกลไกสนับสนนุ ที่มีประสิทธภิ าพและมีมาตรฐานเป็นที่
ยอมรับ”
พันธกิจ 1. รกั ษาความชอบธรรมของการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็น
ประมขุ
2. รกั ษาความเป็นกฎหมายสงู สุดของรฐั ธรรมนูญ
3. รักษาความสมดุลในระบบการเมือง
4. สร้างความเช่ือมน่ั ตอ่ ภารกจิ ของศาลรัฐธรรมนญู
5. สรา้ งความถูกต้องเปน็ ธรรมตามหลกั นิติธรรม
6. สร้างบรรทดั ฐานในการคุ้มครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพให้แก่ประชาชน
2. สานักงานศาลยตุ ธิ รรม
วสิ ยั ทศั น์ “ศาลยุตธิ รรมเป็นสถาบันทอี่ านวยความยุตธิ รรมเพ่ือให้สังคมสงบสขุ เปน็ ธรรม และเสมอภาค โดย
ยึดหลักนติ ิธรรม”
พันธกจิ 1. อานวยความยตุ ิธรรมเพ่ือสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทยี มกันทางสังคม
2. พฒั นาและสรา้ งระบบสนับสนนุ การอานวยความยตุ ธิ รรมให้มีความรวดเรว็ สะดวก ทันสมยั และ
เปน็ สากล
3. เสรมิ สรา้ งความร่วมมอื ทางการศาลและกระบวนการยตุ ิธรรมไทยและตา่ งประเทศ
4. ธารงความศรทั ธาและเช่อื ม่นั ในการอานวยความยตุ ิธรรมเพอ่ื ความสงบสขุ และความมั่นคงของ
สงั คมไทยที่ยัง่ ยืน
3. สานักงานศาลปกครอง
วิสยั ทศั น์ “ศาลปกครองเป็นสถาบนั หลักทใี่ ช้อานาจตุลาการในการอานวยความยตุ ิธรรมทางปกครองตาม
หลกั นติ ธิ รรม อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และมีมาตรฐานในระดับสากล กอ่ ใหเ้ กิดบรรทดั ฐานการบริหาร
ราชการแผน่ ดนิ และสรา้ งความสมดุลระหว่างสทิ ธแิ ละเสรภี าพของประชาชนกบั ประโยชน์
สาธารณะ”
พนั ธกจิ 1. พิพากษาคดีและบงั คบั คดปี กครองด้วยความถูกต้อง เป็นธรรม รวดเรว็ และเกิดสัมฤทธิผล
ทุกภาคส่วนในสงั คมเขา้ ถึงการอานวยความยตุ ธิ รรมทางปกครองไดโ้ ดยง่าย และทว่ั ถงึ
2. วางหลกั ปฏิบตั ริ าชการทางปกครองทเ่ี ปน็ บรรทัดฐานในการใชอ้ านาจทางปกครองทเี่ ป็นธรรม
เพื่อป้องกนั และลดการเกดิ ขอ้ พพิ าททางปกครอง
3. ยกระดบั การดาเนินงานของศาลปกครองใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานสากล
และมีธรรมาภิบาล เพอื่ ให้ทุกภาคส่วนในสังคมได้รับการบรกิ ารอย่างมคี ณุ ภาพ
4. เสริมสรา้ งและเผยแพรค่ วามรคู้ วามเขา้ ใจด้านสทิ ธแิ ละหนา้ ท่ตี ามกฎหมายปกครองและ
หลกั ปฏิบตั ริ าชการจากคาพิพากษาของศาลปกครองใหแ้ ก่ทกุ ภาคสว่ นในสังคม
5. เสรมิ สรา้ งความสมั พันธ์และเครอื ขา่ ยความร่วมมือทางวิชาการทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ
4. แผนงานบรู ณาการภายใตก้ ระทรวง หนว่ ยงานเจ้าภาพ
--
สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร - 105 - หนว่ ยงานของศาล
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
สรปุ ประเดน็ ขอ้ สงั เกตที่คณะกรรมาธิการให้ความสาคญั อย่างตอ่ เน่ือง
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษาวิเคราะห์ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ 3 ปีย้อนหลัง
(ระหว่าง ปีงบประมาณพ.ศ. 2560- 2562) พบว่ามีประเด็นสาคัญเกี่ยวกับการดาเนินงานภายใต้ภารกิจของ
กระทรวงมหาดไทย ทคี่ ณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ฯ สภานติ บิ ญั ญัติแหง่ ชาติ ให้ความสาคญั อย่างตอ่ เนอ่ื ง ดังนี้
สรปุ ประเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ
1. สานกั งานศาลรัฐธรรมนญู
ประเดน็ ที่ 1 ด้านการบรหิ ารจัดการ
ปี 2561 ควรกาหนดขนั้ ตอนทีช่ ดั เจนและระยะเวลาแลว้ เสรจ็ ในการพิจารณาคดี เพอ่ื ให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทยที่มีบทบัญญัติให้ประชาชนได้รับความยุติธรรมโดยไม่ล่าช้า รวมท้ังเป็นตัวอย่าง
ใหก้ ับหน่วยงานอื่นในกระบวนการยุตธิ รรม
ปี 2560 เนื่องจากปริมาณคดีของศาลมีจานวนเพ่ิมมากขึ้นเป็นสองเท่า ในขณะท่ีปริมาณกาลังคนมีไม่เพียงพอ
ทาให้มีปริมาณคดีค้างเป็นจานวนมาก จึงควรพิจารณาทบทวนอัตรากาลังให้มี ความเหมาะสม รวมทั้ง
เร่งรัดพัฒนากระบวนการพิจารณาคดีให้เป็นไปอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และเป็นประโยชน์ต่อ
ประชาชนต่อไป
2. สานกั งานศาลยตุ ธิ รรม
ประเด็นท่ี 1 ด้านการบรหิ ารจัดการ
ปี 2562 ควรมีการวิจัยและนาผลการวิจัยมาใช้ในการปรับปรุงงานของศาลปกครอง เพ่ือให้การ
อานวยความยตุ ิธรรมรวดเรว็ และเป็นธรรมมากข้ึน
ปี 2561 ควรมีการนาระบบเทคโนโยลีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการดาเนินงาน เพื่อช่วยให้การพิจารณาคดีรวดเร็ว
ขน้ึ เชน่ ระบบ e-court ระบบเกบ็ บนั ทึกขอ้ มลู ผู้กระทาผิด เป็นตน้ รวมทง้ั การนาอุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์
(Electronic Monitoring : EM) มาใช้ในระบบการปล่อยตัวช่ัวคราว แต่ไม่ควรนามาใช้กับผู้กระทาผิด
ชาวตา่ งชาติ เน่ืองจากอาจจะทาให้ผู้กระทาความผดิ ชาวต่างชาตอิ ยู่ในประเทศไทยนานขึ้น
ปี 2560 เน่ืองจากปริมาณคดีของศาลมีจานวนเพิ่มมากข้ึนเป็นสองเท่า ในขณะท่ีปริมาณกาลังคนมีไม่เพียงพอ
ทาให้มีปริมาณคดีค้างเป็นจานวนมาก จึงควรพิจารณาทบทวนอัตรากาลังให้มี ความเหมาะสม รวมท้ัง
เร่งรัดพัฒนากระบวนการพิจารณาคดีให้เป็นไปอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และเป็นประโยชน์ต่อ
ประชาชนตอ่ ไป
3. สานักงานศาลปกครอง
ประเดน็ ที่ 1 ดา้ นการบริหารจดั การ
ปี 2562 ควรมีการพฒั นาและควรมแี นวทางในการช่วยเหลอื ผู้พิพากษาอาวโุ สใหส้ ามารถทางานได้อย่าง
มปี ระสิทธิภาพ
ปี 2561 ควรมกี ารกาหนดหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี ารในการคัดกรองการยนื่ ฟอ้ งร้องเป็นคดคี งคา้ งมากจนเกินไป
ปี 2560 เน่ืองจากปริมาณคดีของศาลมีจานวนเพิ่มมากข้ึนเป็นสองเท่า ในขณะที่ปริมาณกาลังคนมีไม่เพียงพอ
ทาให้มีปริมาณคดีค้างเป็นจานวนมาก จึงควรพิจารณาทบทวนอัตรากาลังให้มี ความเหมาะสม รวมทั้ง
เร่งรัดพัฒนากระบวนการพิจารณาคดีให้เป็นไปอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และเป็นประโยชน์
ตอ่ ประชาชนต่อไป
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 106 - หนว่ ยงานของศาล
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเด็นข้อสงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณารา่ งพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ทั้งนี้ สานกั งบประมาณของรัฐสภาได้วิเคราะห์ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารแล้วมีความเห็นเพม่ิ เตมิ ดังนี้
สานกั งานศาลฯ ควรมีการวิจยั และพฒั นาปรับปรงุ กระบวนการทางานของหน่วยงาน โดยใช้ทรัพยากร
ที่มีอยู่ พ่ึงพาทรัพยากรบุคคลภายในองค์กร รู้จักการนาเทคโนโลยีเข้ามาปรับใช้กับระบบการทางานเพื่อ
ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การทางานท่ีมีภายใต้ข้อจากัด
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร - 107 - หน่วยงานของศาล
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะห์ประเด็นข้อสงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
25. หนว่ ยงานขององค์กรอิสระและองคก์ รอัยการ
1. สานกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้งั
วิสัยทัศน์ “สานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นองค์การมืออาชีพ ในการสนับสนุนคณะกรรมการการ
เลือกต้ังเพ่ือการจัดการ กากับ ตรวจสอบกระบวนการจัดการเลือกตั้งและการออกเสียงประชามติใน
ทุกระดับส่งเสรมิ และสนับสนนุ ประชาชน และองค์กรทางการเมือง ให้เกิดการเลือกต้ังที่น่าเช่ือถือและ
เป็นที่ยอมรับของสังคม”
พันธกิจ 1.พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและจัดการเลือกตั้ง การออกเสียงประชามติที่มีมาตรฐานและมีแนว
ทางการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เพ่ือให้ประชาชนได้เข้าถึงการใช้สิทธิอย่างทั่วถึงด้วยความสะดวก รวดเร็ว
ถกู ตอ้ ง ไมเ่ ป็นภาระ เสมอภาคและเปน็ ธรรม
2. พัฒนาองคก์ ารและบคุ ลากรในกระบวนการเลอื กตัง้ และการออกเสียงประชามติ สนับสนุนการวิจัย
การสร้างนวัตกรรม และการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏบิ ัติงาน
3. ส่งเสริม สนับสนุน และบูรณาการความร่วมมือกับภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคเอกชน และภาค
ประชาสังคมในการเขา้ มามีส่วนรว่ มทางการเมืองอย่างตอ่ เนื่องและยง่ั ยืน
4. ส่งเสริม สนับสนุน และสร้างความเข้มแข็งให้แก่พรรคการเมืองและองค์กรทางการเมือง ในการ
ดาเนินกิจกรรมทางการเมืองท่ีถูกต้อง เพื่อสร้างเสริมความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ
5.บูรณาการ และหรือแลกเปล่ียนความร่วมมือขององค์กร และหรือหน่วยงานจัดการเลือกตั้งทั้งใน
และนอกภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพ่ือขับเคล่ือนการพัฒนาการเลือกตั้งและการออกเสียง
ประชามตใิ ห้มีประสทิ ธภิ าพ และมมี าตรฐานเปน็ ทีย่ อมรบั ในระดับสากล
2. สานกั งานผู้ตรวจการแผน่ ดนิ
วสิ ัยทศั น์ “เปน็ กลไกหลักในการตรวจสอบการใชอ้ านาจรัฐเพอ่ื ความเปน็ ธรรมของแผน่ ดิน”
พนั ธกจิ 1. การแสวงหาขอ้ เทจ็ จริงเพ่ือแกไ้ ขความเดอื ดร้อนของประชาชนอยา่ งเป็นธรรม
2. การเสนอแนะต่อหน่วยงานของรฐั เพื่อปรับปรุง แก้ไขกฎหมาย ท่ีก่อให้เกิดความเดือดร้อนหรือไม่
เป็นธรรม
3.การตดิ ตามและรายงานการไมป่ ฏบิ ัติตามรฐั ธรรมนญู ตามหมวด 5 หนา้ ท่ขี องรฐั
3. สานักงานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ
วสิ ัยทศั น์ “ผสานพลงั สรา้ งประเทศไทยใสสะอาด เพอ่ื ตอ่ ต้านการทจุ ริต”
พนั ธกิจ 1. บูรณาการความรว่ มมอื กับทกุ ภาคส่วนในการผลกั ดันการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต
2. สรา้ งวฒั นธรรมสจุ ริตในสังคมไทย
3. พฒั นามาตรการและกลไกในการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
4. ติดตามและประเมนิ ผลความสาเรจ็ ในการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ อย่างต่อเนือ่ ง
4. สานักงานการตรวจเงินแผน่ ดิน
วิสยั ทศั น์ “องค์กรธรรมาภิบาลชั้นนาด้านการตรวจเงินแผ่นดิน เพื่อประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและ
ประเทศชาติ”
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 108 - หนว่ ยงานขององคก์ รอสิ ระและองค์กรอยั การ
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะห์ประเดน็ ข้อสงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
4. สานักงานการตรวจเงนิ แผ่นดนิ (ต่อ)
พนั ธกจิ 1. ตอบสนองต่อนโยบายการตรวจเงนิ แผน่ ดินคณะกรรมการตรวจเงินแผน่ ดิน ดว้ ยระบบการบรหิ าร
จัดการทดี่ ี และเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ
2. ปรบั ปรงุ การบรหิ ารจดั การภายในของสานักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดิน และงานตรวจสอบการเงนิ
แผน่ ดนิ ด้วยเทคโนโลยดี จิ ิทัลให้เปน็ ที่ยอมรับท้งั ในระดับประเทศและในระดับสากลภายใตห้ ลัก
ธรรมาภบิ าล
3. ปรับปรงุ กระบวนการจดั ทารายงานผลการปฏิบตั ิงานประจาปี และการรายงานผลการปฏิบตั ิงาน
ระหว่างปใี หม้ ีความรวดเรว็ ทันต่อการใช้งาน ดว้ ยเทคโนโลยดี ิจทิ ลั
4. สรา้ งเครอื ข่าย มาตรการ และรปู แบบการเช่ือมโยงขอ้ มลู ท่มี ีประสทิ ธิภาพ สาหรบั การตรวจสอบ
และการตดิ ตามผลการดาเนนิ งานของหนว่ ยตรวจ ตามข้อเสนอแนะของสานักงานการตรวจเงนิ
แผ่นดินดว้ ยเทคโนโลยดี ิจทิ ัล
5. สานกั งานคณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแหง่ ชาติ
วิสยั ทศั น์ “เป็นสถาบันในการรว่ มสรา้ งสังคมให้เคารพสิทธมิ นษุ ยชน”
พันธกจิ 1. ดาเนินงานให้เกิดการปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญ กฎหมาย พันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิทธิ
มนุษยชนท่ีประเทศไทยจะตอ้ งปฏิบัติตาม
2. สง่ เสรมิ ความรู้ความเข้าใจและสร้างความตระหนักในหลักสิทธิมนุษยชนแก่ทุกภาคส่วนอย่างท่ัวถึง
และคุ้มครองสทิ ธมิ นษุ ยชนอยา่ งเท่าเทียมกนั
3. ทางานร่วมกับทุกภาคส่วนในลักษณะเครือข่ายอย่างเป็นระบบด้วยกระบวนการปฏิบัติงานที่มี
มาตรฐาน
4. ประสานความรว่ มมอื กบั สถาบนั สทิ ธมิ นษุ ยชนระดบั นานาชาติ
6. สานกั งานอัยการสูงสุด
วสิ ัยทศั น์ “องค์กรอัยการมคี วามเปน็ เลิศในการยตุ ิธรรม และเป็นท่ีเชอื่ มน่ั ของประชาชน”
พนั ธกจิ 1. อานวยความยตุ ธิ รรมทางอาญาและบงั คับใชก้ ฎหมายตามหลักนิตธิ รรม
2. รกั ษาผลประโยชน์ของรัฐและประชาชน
3. คุ้มครองสทิ ธิและเสรีภาพของประชานทั้งในและนอกประเทศ
4. พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือทางกฎหมายกับองค์กรหรือหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องท้ังในและ
ต่างประเทศ
8. สานกั งานคณะกรรมการปฏริ ปู กฎหมาย
วิสยั ทศั น์ “เป็นองค์กรวิชาการท่ีสนับสนุนงานตามภารกิจของคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย โดยมีภาค
ประชาชนเป็นศูนย์กลางในการปฏิรูปกฎหมาย ซึ่งยึดหลักสิทธิมนุษยชน ความเป็นสากล นิติธรรม
และธรรมาธิปไตย”
พนั ธกจิ 1. พัฒนากฎหมาย พฒั นางานวจิ ัยให้มปี ระสทิ ธภิ าพ และเป็นศูนยข์ อ้ มลู ทเี่ ก่ยี วกบั การปฏิรปู กฎหมาย
เพ่อื ใหบ้ ุคลากรในสานักงานและสาธารณะเข้าถงึ ไดง้ า่ ยและรวดเร็ว
2.สร้างเครอื ข่ายความรว่ มมอื ในการปฏริ ปู กฎหมายในทกุ ภาคส่วนทีเ่ กี่ยวขอ้ งและภาคประชาชนทัง้ ใน
ประเทศและตา่ งประเทศ
3.ส่งเสรมิ และพฒั นาทรัพยากรบุคคลในองค์กรให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีและมีความรู้ทางวิชาการเพื่อเป็น
ผู้เชี่ยวชาญในการปฏิบัติด้านการปฏิรูปกฎหมายโดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมและกา ร
บรหิ ารองค์กรดว้ ยหลักธรรมาภิบาล
4.สนับสนุนการดาเนินงานตามภารกจิ ของคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 109 - หนว่ ยงานขององคก์ รอสิ ระและองคก์ รอัยการ
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเดน็ ข้อสงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณารา่ งพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
3. ส่วนราชการ หน่วยงานในกากับ และกองทนุ หมุนเวยี น
สว่ นราชการ หนว่ ยงานในกากบั / รฐั วิสาหกิจในกากับ กองทุนและเงินทุน
องคก์ ารมหาชน หมนุ เวยี น
1. สานักงานคณะกรรมการ - - กองทนุ เพื่อการพฒั นา
การเลอื กตั้ง พรรคการเมือง
2. สานักงานผตู้ รวจการแผ่นดิน
3. สานกั งานคณะกรรมการปอ้ งกัน
และปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ
4. สานกั งานการตรวจเงนิ แผน่ ดิน
5. สานกั งานคณะกรรมการสทิ ธิ
มนษุ ยชนแห่งชาติ
6. สานกั งานอยั การสงู สดุ
7. สานกั งานสภาทีป่ รึกษาเศรษฐกจิ และ
สังคมแห่งชาติ
8. สานักงานคณะกรรมการปฏริ ูป
กฎหมาย
4. แผนงานบูรณาการภายใตก้ ระทรวง หนว่ ยงานเจา้ ภาพ
แผนงานบูรณาการป้องกนั ปราบปรามการทจุ รติ มชิ อบ สานกั งานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปราม
การทุจรติ แห่งชาติ
สรุปประเดน็ ขอ้ สงั เกตทคี่ ณะกรรมาธิการให้ความสาคัญอยา่ งต่อเน่อื ง
สานกั งบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
ในส่วนภารกิจของกระทรวงคมนาคม 3 ปีย้อนหลัง (ระหว่าง ปีงบประมาณพ.ศ. 2560 - 2562) พบว่ามี
ประเด็นสาคัญเก่ียวกับการดาเนินงานภายใต้ภารกิจของกระทรวงคมนาคม ท่ีคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ให้
ความสาคญั อยา่ งตอ่ เน่ือง ดงั น้ี
สรุปประเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ
1. สานกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ัง
ประเด็นท่ี 1 การบรหิ ารจดั การการเลอื กตงั้ ให้บรสิ ุทธย์ิ ตุ ธิ รรม
ปี 2562 ควรมีแนวทางหรือนวัตกรรมที่จะทาให้การเลือกต้ังสุจริตยุติธรรม โดยไม่จัดการเลือกต้ังแบบเดิม ๆ
เหมือนที่ผ่านมา มีการร่วมมือกับสานักงานตารวจแห่งชาติในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
เลือกตัง้ อย่างจรงิ จงั และมคี วามเป็นกลางทางการเมือง
ปี 2561 ควรสนับสนุนการใช้กล้องวงจรปิด (CCTV) ในจุดท่ีมีความเส่ียงต่อการทุจริตเลือกตั้งเช่น ในช่วงเวลา
การนบั คะแนน เปน็ ต้น
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร - 110 - หนว่ ยงานขององคก์ รอิสระและองค์กรอยั การ
สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณารา่ งพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
สรุปประเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั ฯ
ปี 2560 หน่วยงานอิสระของรัฐซ่ึงเป็นหน่วยงานท่ีมีเงินรายได้ ต้องมีการจัดทาแผนการใช้จ่ายท่ีครอบคลุมแหล่ง
เงินนอกงบประมาณ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการใช้จ่ายเงิน รวมท้ังกาหนดให้มีการจัดทารายงาน
สถานะการเงินจากแหล่งเงินรายได้และเงินสะสมของหน่วยงานดังกล่าว และมีการตรวจสอบข้อมูล
สถานะการเงินอย่างเข้มงวด เพ่ือใช้ประกอบการพิจารณาจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีบริหาร
การใช้จ่ายงบประมาณให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่าและคานึงถึงผลสัมฤทธิ์ท่ีเป็นรูปธรรม
สามารถสร้างความเช่ือม่ันให้กับประชาชนให้ความสาคัญกับการสร้างความตระหนักรู้เก่ี ยวกับสิทธิ
พลเมืองและสรา้ งความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกต้ังให้กับประชาชนอย่างต่อเน่ืองด้วยวิธีการและรูปแบบ
ท่หี ลากหลาย
2. สานกั งานผู้ตรวจการแผน่ ดนิ
ประเด็นท่ี 1 การเร่งรัดเรอ่ื งรอ้ งเรียนท่คี า้ งพิจารณา
ปี 2561 ควรมีนโยบายหรือแนวทางในการเร่งรัดแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียนท่ียังไม่แล้วเสร็จเพ่ือลดจานวนเร่ือง
ร้องเรียนทีย่ งั ค้างอยูจ่ านวนมาก
3. สานกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ
ปี 2560 - 2562 -กรรมาธิการฯ ไมม่ ีประเดน็ ข้อสงั เกต-
4. สานกั งานการตรวจเงินแผน่ ดนิ
ประเดน็ ท่ี 1 การเพิ่มประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การการตรวจเงนิ แผน่ ดิน
ปี 2562 ควรใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้สามารถตรวจสอบเบ้ืองต้นได้ครอบคลุมทุกหน่วยงาน ปรับปรุง
บทบาทแนวทางการทางานให้หนว่ ยท่ีถกู ตรวจสอบเหน็ วา่ เป็นการให้ความชว่ ยเหลือและให้ข้อเสนอแนะ
ตลอดจนตอบข้อหารืออยา่ งเปน็ มติ ร
ปี 2561 ควรจะมกี ารจดั ทาสายดว่ น (hotline) บรกิ ารประชาชน หน่วยงานของรฐั เพื่อตอบข้อซกั ถามในประเดน็
ที่เกี่ยวข้องกับการใช้จ่ายเงินแผ่นดิน โดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ซึ่งไม่เข้าใจกฎหมายและ
ระเบียบ ทาให้การดาเนนิ โครงการและใชจ้ า่ ยเงนิ มีความลา่ ชา้
ปี 2560 ควรเพ่ิมประสิทธิภาพระบบการตรวจสอบ โดยนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ โดยเฉพาะการ
ทางานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สามารถตรวจสอบผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ได้ครบทุกมิติสร้าง
มาตรฐานการใช้จา่ ยงบประมาณใหก้ บั องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ วางกฎระเบียบหรือฝึกอบรมในเร่ือง
ดังกล่าวให้แก่เจ้าหน้าท่ี ตลอดจนจัดทาคู่มือจัดต้ังศูนย์บริการข้อมูล (Call Center) เพ่ือให้คาปรึกษา
และอานวยความสะดวกให้กับผ้ปู ฏิบัตงิ านเพ่ิมข้นึ
5. สานักงานคณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ
ปี 2560 - 2562 -กรรมาธกิ ารฯ ไมม่ ปี ระเด็นขอ้ สังเกต-
6. สานักงานอยั การสงู สดุ
ปี 2560 - 2562 -กรรมาธกิ ารฯ ไมม่ ปี ระเด็นขอ้ สงั เกต-
7. สานกั งานสภาทปี่ รึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ปี 2560 - 2562 -กรรมาธกิ ารฯ ไม่มปี ระเด็นขอ้ สังเกต-
8. สานักงานคณะกรรมการปฏริ ปู กฎหมาย
ปี 2560 - 2562 -กรรมาธิการฯ ไม่มีประเด็นขอ้ สงั เกต-
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 111 - หนว่ ยงานขององค์กรอิสระและองค์กรอยั การ
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณารา่ งพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ทง้ั น้ี สานกั งบประมาณของรัฐสภาได้วเิ คราะหข์ ้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารแลว้ มคี วามเห็นเพ่มิ เตมิ ดังนี้
หน่วยงานขององค์กรอิสระและองค์กรอัยการควรนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้กับ
กระบวนการทางานของหน่วยงานตามบริบทของอานาจหน้าที่ให้มากขึ้น เพ่ือส่งเสริมศักยภาพการทางานของ
หนว่ ยงานฯ และเปน็ ประโยชน์ต่อประชาชน
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 112 - หนว่ ยงานขององค์กรอิสระและองค์กรอัยการ
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะห์ประเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณารา่ งพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
26. หน่วยงานอื่นของรัฐ
1. วสิ ยั ทัศน์ เป็นองค์กรกากับดูแลการประกอบธุรกิจให้มีการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรี เป็นธรรม และได้รับการ
ยอมรบั จากทุกภาคสว่ น
2. พันธกิจ 1. กากบั ดูแลการแข่งขนั ทางการคา้ ให้เสรี เป็นธรรมและเปน็ ไปตามหลักสากล
2. พัฒนากลไกและเครอื่ งมือในการกากับดแู ลการแขง่ ขันทางการค้าให้เปน็ มาตรฐานสากล
3. เสรมิ สร้างการมสี ว่ นร่วมในการส่งเสริมการแขง่ ขนั ทางการคา้ ทเ่ี ปน็ ธรรม
4. พฒั นาองคก์ รใหเ้ ป็นหน่วยงานสมรรถนะสูงที่มีธรรมาภบิ าลและไดร้ บั ความเชื่อถอื ยอมรับจากทุกภาคสว่ น
5. พฒั นาความรว่ มมอื ดา้ นการแขง่ ขันทางการค้าทงั้ ในและตา่ งประเทศ
3. สว่ นราชการ หน่วยงานในกากับ และกองทนุ หมุนเวยี น
ส่วนราชการ หนว่ ยงานในกากบั / รัฐวิสาหกิจในกากับ กองทนุ และเงนิ ทุน
หนว่ ยงานอ่นื ของรฐั / หมุนเวยี น
องค์การมหาชน
- 1. สานกั งานคณะกรรมการ - -
การแขง่ ขนั ทางการค้า
4. แผนงานบูรณาการภายใตก้ ระทรวง หนว่ ยงานเจ้าภาพ
- -
สรปุ ประเด็นข้อสงั เกตทีค่ ณะกรรมาธกิ ารให้ความสาคญั อยา่ งต่อเนอ่ื ง
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
วิสามัญฯ ในส่วนภารกิจของหน่วยงานอ่ืนของรัฐ 3 ปีย้อนหลัง (ระหว่าง ปีงบประมาณพ.ศ. 2560 - 2562)
พบวา่ มีประเด็นสาคัญเกยี่ วกับการดาเนินงานภายใต้ภารกิจของหน่วยงานอื่นของรัฐ (สานักงานคณะกรรมการ
การแข่งขันทางการคา้ ) ซ่ึงเพ่ิงจัดต้ังข้ึนเป็นปีแรกในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ท่ีคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ให้
ความสาคญั ดงั นี้
ประเด็นท่ี 1 สรุปประเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ฯ
1.1
ปี 2562 การดาเนินงานของสานกั งานฯ
รูปแบบการบรหิ าร
สานักงานคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้า การดาเนินงานไม่ควรจ้างที่ปรึกษาชาวต่างประเทศ
เนื่องจากเป็นข้อมูลการค้าภายในประเทศและการแข่งขันทางการค้า ควรดาเนินงานในรูปแบบของ
คณะกรรมการ โดยเชญิ ผทู้ รงคุณวฒุ เิ ขา้ รว่ มเป็นคณะกรรมการ
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร - 113 - หน่วยงานอ่นื ของรฐั
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะห์ประเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณารา่ งพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ทง้ั น้ี สานกั งบประมาณของรัฐสภาได้วิเคราะหข์ อ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารแล้วมคี วามเหน็ เพิม่ เตมิ ดังนี้
สานักงานคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้าจัดตั้งขึ้น เพื่อจัดการกับปัญหาการผูกขาดทาง
การคา้ โดยสามารถเอาผดิ กบั ผ้ปู ระกอบการได้ ดงั น้ัน ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการฯ จึงควรเน้นเรื่อง
ความโปร่งใส เช่น มีการเปิดเผยข้อมูลเก่ียวกับข้อร้องเรียน (ท่ีไม่มีผลกระทบต่อการสอบสวน) เปิดเผยคา
ตัดสนิ หรอื แนวทางการวนิ จิ ฉยั ของคณะกรรมการฯต่อสาธารณะ เพ่ือไมใ่ หเ้ ปน็ ทกี่ งั ขา
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 114 - หน่วยงานอนื่ ของรฐั
สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเด็นข้อสงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
สว่ นท่ี 3
การวิเคราะหป์ ระเด็นขอ้ สังเกตงบประมาณภายใต้แผนงานบรู ณาการ
1. แผนงานบูรณาการขับเคลอื่ นการแกไ้ ขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
1. หลักการที่มาของแผนงานบูรณาการ
แผนงานบรู ณาการขบั เคลื่อนการแกไ้ ขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีวัตถุประสงค์เพ่ือสนับสนุน
การขับเคล่ือนการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างเป็นระบบและมีเอกภาพ พัฒนาการ
บริหารจัดการท่ีมุ่งบูรณาการภารกิจงานที่ดาเนินการในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมนาศาสตร์ของ
พระราชามาเป็นแนวทาง ยึดม่ันในหลักสันติวิธีท่ีได้รับการสนับสนุนจากทุกภาคส่วนที่เก่ียวข้องท้ังในและนอก
ภาครัฐ มุ่งขจัดเงื่อนไขที่เป็นภัยคุกคามต่อสถานการณ์ในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ สร้างความเข้าใจต่อ
สถานการณ์ ความเป็นจริงท่ีเกิดข้ึนต่อสังคมอย่างถูกต้องต่อเนื่อง เน้นการสร้างความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพยส์ นิ สง่ เสรมิ อานวยความยุตธิ รรมและชว่ ยเหลอื เยียวยาผู้ได้รับผลกระทบฯ อย่างท่ัวถึง เป็นธรรม รวมทั้ง
ขยายการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ตลอดจนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
โดยเฉพาะในสถานศึกษาของรัฐ เสริมสร้างความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม และ
ขนบธรรมเนียมประเพณที ้องถนิ่ ในจงั หวดั ชายแดนภาคใตส้ งั คมพหวุ ฒั นธรรมทแี่ ขง็ แรง
2. การเชอ่ื มโยงยทุ ธศาสตร/์ นโยบาย/วาระแหง่ ชาติ
ยทุ ธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี : ยทุ ธศาสตร์ ดา้ นความมน่ั คง
แผนพฒั นา ฯ ฉบบั ที่ 12 : ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 การเสริมสรา้ งความมนั่ คงแหง่ ชาติเพอ่ื การพัฒนาประเทศ
สคู่ วามม่งั คงั่ และยงั่ ยืน
เป้าหมายที่ 3 ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มี
โอกาสในการศึกษาและการประกอบอาชีพท่สี รา้ งรายได้เพ่ิมขึ้น
3. เป้าหมายแผนงานบูรณาการ ฯ
ลดเหตกุ ารณร์ นุ แรงในพื้นที่ 3 จงั หวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละ 4 อาเภอของจังหวดั สงขลา
4. งบประมาณ
11,924,266,300 ลา้ นบาท
5. สว่ นราชการ หน่วยงานรับผดิ ชอบดาเนินงานแผนบูรณาการ
แผนงานบรู ณาการขบั เคลือ่ นการแกไ้ ขปญั หาจังหวดั ชายแดนภาคใต้
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 115 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณารา่ งพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
สว่ นราชการ หน่วยงานในกากบั / รฐั วสิ าหกจิ ในกากับ กองทุนและเงินทุน
องคก์ ารมหาชน หมุนเวียน
หนว่ ยงานเจา้ ภาพหลัก
สานักงานสภาความม่นั คงแหง่ ชาติ และ กองอานวยการรักษาความม่นั คงภายใน
ราชอาณาจกั ร สานักนายกรฐั มนตรี
ศูนยอ์ านวยการบริหารจังหวดั ชายแดนภาคใต้ สว่ นราชการไมส่ ังกดั สานัก
นายกรฐั มนตรี กระทรวง หรือทบวง และหน่วยงานภายใต้การควบคมุ ดแู ลของ
นายกรัฐมนตรี
1. สานักนายกรฐั มนตรี (4 หน่วยงาน)
2. กระทรวงกลาโหม (4 หนว่ ยงาน)
3. กระทรวงการต่างประเทศ
(1 หนว่ ยงาน)
4. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
(1 หน่วยงาน)
5. กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมนั่ คงของมนษุ ย์ (2 หน่วยงาน)
6. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (8
หนว่ ยงาน)
7. กระทรวงคมนาคม (1 หน่วยงาน)
8. กระทรวงพาณชิ ย์ (1 หน่วยงาน)
9. กระทรวงมหาดไทย (4 หนว่ ยงาน)
10. กระทรวงยุตธิ รรม (7 หนว่ ยงาน)
11. กระทรวงแรงงาน (1 หน่วยงาน)
12. กระทรวงวฒั นธรรม (5
หนว่ ยงาน)
13. กระทรวงศึกษาธกิ าร (10
หน่วยงาน)
14. กระทรวงสาธารณสุข (1
หน่วยงาน)
15. ส่วนราชการไมส่ ังกัดสานกั
นายกรัฐมนตรี กระทรวง หรอื ทบวง
และหนว่ ยงานภายใตก้ ารควบคุมดแู ล
ของนายกรัฐมนตรี (3 หน่วยงาน)
16. หน่วยงานขององคก์ รอิสระและ
องคก์ รอยั การ (1 หนว่ ยงาน)
แผนงานบูรณาการขบั เคลอื่ นการแกไ้ ขปญั หาจังหวดั ชายแดนภาคใต้
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 116 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณารา่ งพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
6. สรปุ ประเดน็ ข้อสังเกตคณะกรรมาธิการวสิ ามัญฯ
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ ข้อสังเกตของ
คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ของงบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการขับเคล่ือนการแก้ไขปัญหาจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ 3 ปีย้อนหลัง (ระหว่าง ปีงบประมาณพ.ศ. 2560 - 2562) พบว่ามีประเด็นสาคัญ ท่ี
คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ ใหค้ วามสาคญั อยา่ งตอ่ เน่ือง ดังนี้
ปี 2562 สรปุ ประเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ฯ
ปี 2561 ควรทบทวนเปา้ หมายและปรับแผนการดาเนนิ การ โดยใช้ข้อมลู เชงิ ลกึ กาหนดกจิ กรรมทท่ี ารว่ มกัน หรือ
ปี 2560 แยกดาเนนิ การ เพ่อื นาไปสู่เป้าหมายเดียวกนั โดยบรู ณาการรว่ มกันท้งั ภายในกระทรวงและภายนอก
กระทรวง เพอ่ื มใิ ห้เกดิ ความซ้าซอ้ น
ควรแกไ้ ขปัญหาโดยสันตวิ ธิ ี เช่น ใช้การพูดคยุ เนน้ การป้องกัน ดแู ลความเท่าเทยี มระหวา่ งชาวไทยพุทธ
และมสุ ลมิ ส่งเสรมิ อาชีพอยา่ งตอ่ เน่อื ง ขบั เคลื่อนวิสาหกจิ ชมุ ชน
ควรให้ความสาคัญกบั การใชเ้ ครอื ข่ายภาคประชาชน นกั เรียน นกั ศกึ ษา
ทั้งนี้ สานักงบประมาณของรัฐสภาไดว้ เิ คราะห์ข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารแล้วมคี วามเหน็ เพม่ิ เตมิ ดังนี้
1. ควรจัดทาแผนปฏิบัติการโดยระบุเป้าหมายเดียวกัน และกิจกรรมของแต่ละส่วนราชการให้ชัดเจน
เพ่อื มใิ ห้เกดิ ความซ้าซอ้ น และใชก้ ารบูรณาการร่วมกนั ทงั้ ภายในกระทรวงและภายนอกกระทรวง
2. เน้นแก้ไขปัญหาโดยใช้ข้อมูลเชิงลึก และการแก้ไขปัญหาด้วยสันติวิธี เช่น ใช้การพูดคุย เน้นการ
ปอ้ งกัน ดูแลความเทา่ เทยี มระหวา่ งชาวไทยพุทธและมุสลิมส่งเสริมอาชีพอย่างต่อเนื่อง เน้นกระบวนการมีส่วน
ร่วมของประชาชนในพืน้ ท่ี
3. หน่วยงานเจ้าภาพต้องจัดทาระบบการติดตาม ประเมินผลสัมฤทธ์ิให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดของ
แผนงานบูรณาการฯ
แผนงานบรู ณาการขบั เคลื่อนการแกไ้ ขปญั หาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร - 117 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเด็นขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่างพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
2. แผนงานบูรณาการจดั การปัญหาแรงงานต่างด้าวและการคา้ มนุษย์
1. หลกั การที่มาของแผนงานบรู ณาการ
แผนงานบูรณาการจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและการค้ามนุษย์ มีวัตถุประสงค์เพื่อบริหาร
จัดการแรงงานต่างด้าว/บุคคลซึ่งไม่มีสัญชาติไทยให้ทางานถูกต้องตามกฎหมายได้สิทธิประโยชน์ตามท่ี
กฎหมายกาหนดและได้รับการคุ้มครองดาเนินการให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เด็ก สตรี แรงงานไทย
และแรงงานต่างด้าวได้รับความปลอดภัยจากขบวนการค้ามนุษย์ สนับสนุนการป้องกันการช่วยเหลือและ
คมุ้ ครองผู้เสยี หายใหพ้ รอ้ มคนื สู่สังคม ส่งเสริมความร่วมมือและชี้แจงทาความเข้าใจกับต่างประเทศ บูรณาการ
ฐานข้อมลู ด้านแรงงานตา่ งด้าวและด้านการป้องกันปราบปรามการค้ามนุษย์ระหว่างหน่วยงาน เผยแพร่ความรู้
แก่กลุ่มเป้าหมาย รณรงค์สร้างจิตสานึกแก่สถานประกอบการและองค์กรเครือข่ายในการป้องกันแก้ไขปัญหา
และเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินคดีต่อผู้กระทาความผิดรูปแบบต่าง ๆ อย่างเข้มงวด รวมทั้งดาเนินการ
ใหแ้ รงงานประมงปลอดภัยจากการค้ามนษุ ย์
2. การเชื่อมโยงยุทธศาสตร/์ นโยบาย/วาระแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี : ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ดา้ นความม่ันคง
แผนพัฒนา ฯ ฉบบั ท่ี 12 : ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพ่ือการพัฒนาประเทศ
สคู่ วามมง่ั ค่ังและยง่ั ยนื
เปา้ หมายที่ 4 ประเทศไทยมีความสัมพันธ์และความร่วมมือด้านความมั่นคงในกลุ่มประเทศ
สมาชิกอาเซียน มิตรประเทศ และนานาประเทศในการป้องกันภัยคุกคาม
ในรูปแบบต่าง ๆ ควบค่ไู ปกบั การรกั ษาผลประโยชน์ของชาติ
3. เปา้ หมายแผนงานบูรณาการ
แ ร ง ง า น ต่ า ง ด้ า ว / บุ ค ค ล ซึ่ ง ไ ม่ มี สั ญ ช า ติ ไ ท ย เ ข้ า สู่ ร ะ บ บ ที่ ถู ก ต้ อ ง ต า ม ก ฎ ห ม า ย แ ล ะ ป ร ะ ช า ก ร
กลมุ่ เป้าหมายปลอดภัยจากการคา้ มนษุ ย์
4. งบประมาณ
643,284,300 บาท
5. ส่วนราชการ หน่วยงานรับผดิ ชอบดาเนินงานแผนงานบรู ณาการ
ส่วนราชการ หนว่ ยงานในกากบั / รัฐวสิ าหกจิ ในกากบั กองทนุ และเงนิ ทนุ
องคก์ ารมหาชน หมนุ เวยี น
หน่วยงานเจา้ ภาพหลัก
1. กรมประชาสมั พนั ธ์ กรมการจดั หางาน กระทรวงแรงงาน
2. กองอานวยการรักษาความม่ันคง
ภายใน
3. สานักปลัดกระทรวงการตา่ งประเทศ
4. กรมการปกครอง
5. สานกั งานปลัดกระทรวงการพฒั นา
แผนงานบูรณาการจดั การปญั หาแรงงานตา่ งดา้ วและการคา้ มนุษย์
สานกั งานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร - 118 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเด็นข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
สว่ นราชการ หน่วยงานในกากบั / รฐั วสิ าหกิจในกากับ กองทุนและเงินทนุ
องคก์ ารมหาชน หมุนเวียน
สงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์
6. กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ
7. สานักงานปลดั กระทรวงแรงงาน
8. กรมการจัดหางาน
9. กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน
10. สานักงานปลัดกระทรวง
สาธารณสุข
11. กรมประมง
12. กรมเจ้าท่า
13. สานกั งานตารวจแห่งชาติ
14. สานักงานป้องกนั และปราบปราม
การฟอกเงนิ
15. สานกั งานอัยการสูงสดุ
6. สรปุ ประเดน็ ข้อสงั เกตคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ ข้อสังเกตของ
คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ของงบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการจัดการปัญหาแรงงานต่างด้าวและ
การค้ามนุษย์ 3 ปีย้อนหลัง (ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2562) พบว่ามีประเด็นสาคัญ
ท่คี ณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ฯ ใหค้ วามสาคัญอย่างต่อเน่อื ง ดงั น้ี
ปี 2562 สรุปประเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ
ปี 2561 1) ควรเพ่ิมประสิทธภิ าพในการใหบ้ ริการแรงงานตา่ งด้าว และปรบั เปลย่ี นสถานการณ์ดาเนินการ
ปี 2560
คุ้มครองเหยอื่ การคา้ มนษุ ยเ์ พอื่ ให้ลาดับ (Tier) ไปในทางทดี่ ีข้นึ โดยเพิม่ การประสานความรว่ มมือและ
บรู ณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานอยา่ งสม่าเสมอ รวมท้งั มกี ารตดิ ตามประเมนิ ผลการดาเนินการของ
หนว่ ยงานใหม้ ีความเขม้ ข้นมากขนึ้ เพ่อื นามาแก้ไขปญั หาทเ่ี กิดขนึ้ อย่างเป็นรูปธรรม ซงึ่ จะนามาสภู่ าวะ
ทางเศรษฐกิจท่ดี ีขนึ้
2) คา่ ใช้จา่ ยบางรายการท่มี ลี กั ษณะเปน็ งานประจาหรือเป็นภารกจิ พ้ืนฐานของหน่วยงานไม่ควรนามา
ตงั้ ไว้ในแผนงานบรู ณาการ ควรเนน้ เฉพาะค่าใช้จ่ายท่ีเกี่ยวกบั การแกไ้ ขปัญหาแรงงานต่างด้าวและ
การคา้ มนษุ ยโ์ ดยตรง
ควรมีระบบสารสนเทศและฐานข้อมูลเพ่ือเช่ือมโยงการทางานของแต่ละหน่วยงาน มีการจัดต้ังศูนย์
บัญชาการ (War Room) เป็นศนู ยก์ ลางในการบริหารจัดการ การกาหนดเป้าหมายแผนการปฏิบัติงาน
(Time line) ทชี่ ดั เจน และมกี ารติดตามประเมนิ ผลอย่างตอ่ เน่อื ง
1) ควรกาหนดหน่วยงานเจา้ ภาพเพียงหนว่ ยงานเดยี วเพ่อื เอกภาพในการกากับดูแลและติดตามผล
การดาเนนิ งาน และควรมกี ารกาหนดเป้าหมายและตวั ชวี้ ัดใหช้ ัดเจนว่าประเทศชาติและประชาชน
จะไดร้ บั ผลกระทบจากการดาเนินการอยา่ งไร
2) กองทัพเรอื ควรเข้าร่วมบรู ณาการเพอ่ื ทาหน้าท่สี กดั ก้นั ขบวนการคา้ มนษุ ย์ทลี่ กั ลอบเข้ามาใน
ประเทศไทย โดยใชเ้ ส้นทางทางทะเลโดยเฉพาะทะเลฝั่งอันดามัน รว่ มกบั กรมเจา้ ทา่ กรมประมง และ
สานกั งานตารวจแห่งชาติ รวมทงั้ หาแนวทางแกไ้ ขปัญหาแรงงานประมงตา่ งดา้ วท่ที างานบนเรือสญั ชาติ
แผนงานบูรณาการจดั การปญั หาแรงงานตา่ งดา้ วและการคา้ มนษุ ย์
สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร - 119 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะห์ประเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
สรุปประเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ฯ
ไทยใหถ้ กู ต้องตามกฎหมายและมมี าตรฐานสากลเปน็ ทยี่ อมรบั เพื่อเป็นการแก้ไขปญั หาการขาดแคลน
แรงงาน และลดปัญหาการลักลอบนาแรงงานผิดกฎหมายเข้ามาสู่ภาคประมง
3) ควรมมี าตรการกระตุ้นให้มกี ารนาแรงงานต่างดา้ วเขา้ มาจดทะเบยี นใหม้ ากข้ึน รวมท้ังกาหนดให้มี
มาตรการควบคมุ แรงงานต่างด้าวที่มาจดทะเบยี นระหวา่ งท่ีอยใู่ นประเทศไทย เพอื่ ปอ้ งกนั ปัญหาการกอ่
อาชญากรรม และสามารถติดตามตวั มาดาเนนิ การตามกฎหมายได้
ท้ังน้ี สานกั งบประมาณของรัฐสภาได้วเิ คราะห์ข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารแลว้ มีความเห็นเพิม่ เติมดังนี้
1. หน่วยงานที่รับผิดชอบควรร่วมกันดาเนินการโครงการ/กิจกรรมท่ีมีลักษณะโครงการ/กิจกรรม
ใกล้เคียงกนั เพ่อื ลดความซา้ ซ้อน และลดภาระงบประมาณ
2. เม่ือพิจารณาจากสถิติ
การแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ
จากการค้ามนุษย์ในประเทศไทย
ปี พ.ศ. 2557 - 2560 จาแนกตาม
รูปแบบ ประกอบกับการจัดสรร
งบประมาณเพ่ือการแก้ไขปัญหา ทม่ี า: รายงานผลการดาเนินงานปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนุษยข์ องประเทศไทย ประจาปี 2560
กระทรวงพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์
การค้ามนุษย์ พบว่า งบประมาณ
ส่ ว น ใ ห ญ่ มี จุ ด เ น้ น เ พ่ื อ ก า ร
ดาเนินการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ด้านแรงงาน แต่จากสถิติดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า รูปแบบการแสวงหา
ประโยชน์โดยมิชอบจากการค้ามนุษย์ในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นการแสวงหาประโยชน์ทางเพศ ดังน้ัน ควร
จัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องกบั สภาพปญั หาและบริบทแวดลอ้ มทีเ่ กิดขึน้
แผนงานบูรณาการจดั การปญั หาแรงงานตา่ งดา้ วและการคา้ มนุษย์
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 120 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
3. แผนงานบูรณาการปอ้ งกัน ปราบปราม และบาบดั รักษาผตู้ ดิ ยาเสพตดิ
1. หลักการท่ีมาของแผนงานบูรณาการ
แผนงานบูรณาการป้องกัน ปราบปราม และบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันภัยจากยา
เสพติด โดยป้องกันเด็ก เยาวชน ผู้ใช้แรงงานและประชาชนกลุ่มเสี่ยงไม่ให้ไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดปราบปราม
จับกุมผู้ผลิต ผู้ค้า ผู้มีอิทธิพลและเจ้าหน้าท่ีรัฐท่ีเก่ียวข้องกับยาเสพติดทุกรายสร้างความร่วมมือ
กับต่างประเทศในการควบคุมและสกัดก้ันยาเสพติดรวมท้ังบาบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดให้
สามารถกลับไปใช้ชวี ติ ในสังคมได้ตามปกติ โดยมกี ลไกติดตามการช่วยเหลือผูผ้ ่านการบาบดั รักษาอยา่ งเปน็ ระบบ
2. การเชอื่ มโยงยุทธศาสตร/์ นโยบาย/วาระแห่งชาติ
ยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี : ยทุ ธศาสตรด์ ้านความม่นั คง
แผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ 12 : ยุทธศาสตรท์ :ี่ 5 การเสริมสร้างความมน่ั คงแหง่ ชาตเิ พือ่ การพัฒนา
ประเทศสู่ความม่ังคงั่ และยงั่ ยืน
เป้าหมายท่ี 4 ประเทศไทยมีความสมั พันธแ์ ละความร่วมมือด้านความม่นั คงในกลมุ่ ประเทศ
สมาชิกอาเซยี นมติ รประเทศและนานาประเทศในการป้องกันภยั คุกคามในรปู แบบต่างๆควบคไู่ ปกับการรักษา
ผลประโยชนข์ องชาติ
3. เปา้ หมายแผนงานบรู ณาการ
เปา้ หมายท่ี 1 เด็ก เยาวชน ผู้ใช้แรงงานและประชาชนได้รบั การสร้างภมู ิคุม้ กันและปอ้ งกันยาเสพ
ตดิ หมบู่ า้ น/ชมุ ชนพืน้ ทีเ่ ปา้ หมายมีการป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพ
เปา้ หมายที่ 2 ผคู้ า้ ยาเสพติด และเครือขา่ ยถูกจับกุมและดาเนินการตามกฎหมายและพัฒนา
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
เปา้ หมายท่ี 3 ผู้ใช้ ผู้เสพ ผ้ตู ิดยาเสพติดได้รบั การบาบัดรักษาตดิ ตามดแู ลช่วยเหลือตามมาตรฐาน
4. งบประมาณรายจ่าย ปี 2562
งบประมาณ จานวน 5,256,373,100 บาท
แผนงานบรู ณาการปอ้ งกัน ปราบปราม และบาบัดรกั ษาผตู้ ิดยาเสพติด
สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร - 121 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเดน็ ข้อสงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
5. สว่ นราชการ หน่วยงานรับผิดชอบดาเนนิ งานแผนบูรณาการ
สว่ นราชการ หน่วยงานในกากบั / รฐั วิสาหกิจในกากับ กองทุนและเงินทุน
องคก์ ารมหาชน หมุนเวยี น
หน่วยงานเจ้าภาพหลัก สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงยุติธรรม
1. สานกั นายกรฐั มนตรี (1 หน่วยงาน) - - -
2. กระทรวงกลาโหม (5 หนว่ ยงาน)
3. กระทรวงพัฒนาสังคมและความ
ม่ันคงของมนุษย์ (1 หนว่ ยงาน)
4. กระทรวงมหาดไทย (3 หนว่ ยงาน)
5. กระทรวงยุติธรรม (4 หนว่ ยงาน)
6. กระทรวงแรงงาน (2 หน่วยงาน)
7. กระทรวงศกึ ษาธิการ (4 หน่วยงาน)
8. กระทรวงสาธารณสุข (5 หน่วยงาน)
9. สว่ นราชการไม่สังกัดสานัก
นายกรัฐมนตรี กระทรวง หรอื ทบวง
(สานักงานตารวจแห่งชาติ สานักงาน
ป้องกนั และปราบการฟอกเงนิ )
6. สรุปประเด็นข้อสงั เกตคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
ของงบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการป้องกัน ปราบปราม และบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด 3 ปีย้อนหลัง
(ระหวา่ ง ปงี บประมาณพ.ศ.2560 - 2562) พบวา่ มปี ระเดน็ สาคัญ ทคี่ ณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ให้ความสาคัญอย่าง
ต่อเน่ือง ดงั น้ี
สรุปประเด็นขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ฯ
ปี 2562 หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องควรร่วมป้องกัน ปราบปราม และฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด ให้เกิด
ผลสัมฤทธ์ิเป็นรูปธรรม โดยต้องร่วมมือกับประเทศเพ่ือนบ้าน เพ่ือการสกัดกั้นต้นทางของ
ยาเสพติด และควรใช้มาตรการยึดทรัพย์เพื่อทาลายแหล่งทุนของกลุ่มผู้ค้ายาเสพติด
สกัดก้ันสารต้ังต้นยาเสพติดให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซ่ึงการดาเนินการดังกล่าวจะทาให้
ยาเสพติดท่เี ขา้ สู่ประเทศไทยลดลง
ปี 2561 1) ควรให้ความสาคัญกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาผู้ติดยาเสพติดรายใหม่ ซึ่งปัจจุบัน
ผ้เู สพยารายใหมย่ ังคงมอี ัตราเพม่ิ ขึน้ รวมทงั้ มีการติดตามและประเมนิ ผลอย่างต่อเน่ือง
2) ควรศึกษาตรวจสอบและหาแนวทางการแก้ไขปัญหาการค้ายาเสพติดในจังหวัดภาคใต้
เพื่อปอ้ งกันไมใ่ ห้มีการขยายไปสู่จงั หวัดอ่นื ๆ
แผนงานบูรณาการป้องกัน ปราบปราม และบาบดั รักษาผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ
สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร - 122 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะห์ประเด็นข้อสงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ท้งั นี้ สานักงบประมาณของรัฐสภาไดว้ ิเคราะห์ข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารแล้วมคี วามเห็นเพิ่มเติมดังน้ี
1. ควรสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการป้องกัน ปราบปราม และบาบัดรักษาผู้ติดยาเสพ
ติดในระบบชุมชน เน้นให้มีส่วนร่วมทุกขั้นตอนต้ังแต่การวางแผนดาเนินกิจกรรม การปฏิบัติงาน และติดตาม
การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยจัดเวทีในระดับชุมชน เพื่อให้เกิดการอภิปรายเกี่ยวกับการป้องกัน
ปราบปรามและแกไ้ ขปญั หายาเสพติด
2. เพิ่มการประชาสัมพันธ์เพ่ือให้ประชาชนตระหนักถึงปัญหา และผลกระทบที่จะเกิดจากยาเสพติด
อนั นาไปสู่กระบวนการปอ้ งกนั ปราบปราม และบาบดั รกั ษาผ้ตู ิดยาเสพตดิ ในชุมชนเพอื่ ให้ชุมชนน่าอยู่
แผนงานบรู ณาการป้องกัน ปราบปราม และบาบัดรักษาผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 123 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเด็นข้อสงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่างพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
4. แผนงานบรู ณาการการพฒั นาอุตสาหกรรมศักยภาพ
1. หลกั การที่มาของแผนงานบูรณาการ
แผนงานบูรณาการการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อ
ต่อการลงทุนและการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพส่งเสริมสถานประกอบการให้มี ผลิตภาพการผลิตและผลิต
ภาพแรงงานเพ่ิมข้ึนมี การพัฒนาทักษะเทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่การผลิตผลิตภัณฑ์ท่ีมีมูลค่าสูงได้รับการ
รับรองมาตรฐานท่ีสาคัญในอุตสาหกรรมศักยภาพพร้อมท้ังสร้างศักยภาพการแข่งขันการส่งออกสินค้าใน กลุ่ม
อุตสาหกรรมศกั ยภาพ
2. การเช่ือมโยงยุทธศาสตร์/นโยบาย/วาระแหง่ ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี : ยุทธศาสตร์ที่ 2 ดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั
แผนพฒั นา ฯ ฉบับท่ี 12 : ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสรา้ งความเข้มแข็งทางเศรษฐกจิ และแขง่ ขนั ได้อย่างยัง่ ยืน
เปา้ หมายท่ี 4 เพ่ิมผลติ ภาพการผลิตของประเทศ
ตวั ชว้ี ดั 4.1 ผลติ ภาพการผลิตของปัจจัยการผลิต ไม่ตา่ กว่าร้อยละ 2.5 ต่อปี
ตวั ช้ีวัด 4.2 ผลิตภาพการผลิตของปัจจัยแรงงาน ไม่ตา่ กวา่ ร้อยละ 2.5 ต่อปี
3. เป้าหมายแผนงานบูรณาการ ฯ
เปา้ หมายที่ 1 พัฒนาปจั จยั แวดลอ้ มท่ีเอื้อต่อการลงทุนและการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ
เป้าหมายท่ี 2 การสร้างศกั ยภาพการแขง่ ขนั การสง่ ออกสินค้าอุตสาหกรรมศักยภาพ
เป้าหมายท่ี 3 สถานประกอบการท่เี ขา้ ร่วมโครงการมผี ลติ ภาพการผลิตและผลติ ภาพแรงงานเพ่ิมข้ึน /
สถานประกอบการท่ีได้มาตรฐานในอุตสาหกรรมศักยภาพเพิ่มข้ึน / สถานประกอบการมีการพัฒนาทักษะ
เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมสกู่ ารผลติ ผลิตภัณฑท์ ี่มีมูลค่า
4. งบประมาณ
1,442,153,200 บาท
5. สว่ นราชการ หน่วยงานรับผิดชอบดาเนินงานแผนบรู ณาการ
สว่ นราชการ หน่วยงานในกากับ/ รัฐวสิ าหกจิ ใน กองทุนและเงินทุน
หมุนเวียน
หนว่ ยงานเจา้ ภาพหลัก องคก์ ารมหาชน กากับ
1. สานักนายกรฐั มนตรี (1 หน่วยงาน) สานกั งานเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
2. กระทรวงพาณชิ ย์ (1 หน่วยงาน) กรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน กระทรวงแรงงาน
3. กระทรวงแรงงาน (1 หนว่ ยงาน: 1. สถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน 1. สถาบนั วจิ ยั
อาชวี ะ) (องคก์ ารมหาชน) วิทยาศาสตร์และ
4. กระทรวงวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี (4 หน่วยงาน) 2. ศนู ย์ความเป็นเลิศด้าน เทคโนโลยแี หง่
5. กระทรวงศกึ ษาธิการ (1 หนว่ ยงาน)
ชีววทิ ยาศาสตร์ (องค์การ ประเทศไทย
มหาชน)
แผนงานบูรณาการการพัฒนาอุตสาหกรรมศกั ยภาพ
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 124 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเด็นข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
สว่ นราชการ หน่วยงานในกากบั / รฐั วิสาหกจิ ใน กองทุนและเงนิ ทุน
องคก์ ารมหาชน กากบั หมนุ เวยี น
6. กระทรวงสาธารณสขุ (3
หนว่ ยงาน)
7. กระทรวงอุตสาหกรรม (5
หน่วยงาน)
6. สรุปประเด็นข้อสังเกตคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ ข้อสังเกตของ
คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ของงบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ
3 ปีย้อนหลงั (ระหวา่ ง ปงี บประมาณพ.ศ. 2560 - 2562) พบว่า มีประเด็นสาคัญ ท่ีคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
ให้ความสาคัญ ดงั นี้
ปี 2562 สรุปประเด็นขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ฯ
ปี 2561
ปี 2560 ควรประเมินจานวนแรงงานระดับอาชีวะศึกษาท่ีเข้าสู่อุตสาหกรรมและผลกระทบจากการขาดแคลน
แรงงานระดับอาชีวะต่อการพัฒนาอุตสาหกรรม ควรพิจารณาเป้าหมาย ผลการดาเนินงานของการ
ส่งเสริมยานยนต์ประหยัดพลังงาน (Eco Car) ที่ผ่านมา เพื่อกาหนดเป้าหมายการส่งเสริมการขาย
ยานยนต์ไฟฟ้า ควรมีระบบการรายงานผลของการบูรณาการกระบวนงานร่วมกันในเชิงปฏิบัติ
(Action-oriented) ระหว่างสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพและกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ในระยะเวลา 3 เดือน
เพื่อใหต้ อบตัวช้วี ดั และสามารถติดตามผลได้ นอกจากน้ีการทางานร่วมกับภาคเอกชน ควรเน้นกิจการ
ทม่ี ีการยกระดบั ธุรกิจด้วยเทคโนโลยีและสามารถขยายตลาดได้ และภาคเอกชนต้องร่วมรับความเสี่ยง
(Risk sharing) ดว้ ย โดยเฉพาะภาระค่าใชจ้ า่ ย
ควรมีการวางเป้าหมายและทิศทางของอุตสาหกรรม 4.0 ในระยะยาว 10 ปี หรือ 20 ปี การเตรียม
โครงสร้างพ้ืนฐานที่จาเป็น รวมถึงเน้นการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในภาคอุตสาหกรรม อาศัย
ความร่วมมอื ระหวา่ งรฐั บาล สถาบันการศึกษา และภาคอุตสาหกรรม โดยกาหนดให้การพัฒนาคนเป็น
โครงสรา้ งพ้นื ฐานอย่างหนงึ่ ที่จาเปน็ ในการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพและอุตสาหกรรมเป้าหมาย 10
อุตสาหกรรม ควรกาหนดรายละเอยี ดการดาเนนิ งานและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในแต่ละอุตสาหกรรมให้
ชดั เจน ซ่งึ ทาใหง้ า่ ยตอ่ การตดิ ตามประเมนิ ผล
ตอ้ งกาหนดแผนงานในการจัดลาดับอุตสาหกรรมท่ีจะพัฒนาให้ชัดเจน และร่วมมือกับภาคเอกชนใน
การพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ เพ่ือให้สามารถก้าวไปสู่อุตสาหกรรม 4. ได้ตามเป้าหมาย สาหรับ
อตุ สาหกรรมการแพทย์ควรสง่ เสรมิ การพฒั นาอย่างครบวงจร โดยสร้างบคุ ลากรทีม่ คี วามเชย่ี วชาญใน
การผลิตเครอื่ งมอื แพทยเ์ พอ่ื การวจิ ัยและพัฒนาในการรองรับการเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์และเป็น
ฐานการผลติ เคร่ืองมือแพทย์ในอนาคต รวมทั้งผลักดันให้เคร่ืองมือแพทย์เป็นสินค้าท่ีเป็นทรัพย์สินทาง
ปญั ญาในเชงิ พาณิชย์
แผนงานบูรณาการการพฒั นาอตุ สาหกรรมศักยภาพ
สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร - 125 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณารา่ งพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ทง้ั น้ี สานักงบประมาณของรัฐสภาไดว้ เิ คราะหข์ อ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการแล้วมคี วามเหน็ เพิม่ เตมิ ดังนี้
1. ควรมีการวางเป้าหมายและทิศทางของอุตสาหกรรม 4.0 ในระยะยาว 10 ปี หรือ 20 ปี การ
เตรียมการโครงสร้างพื้นฐานท่ีจาเป็น รวมถึงเน้นการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในภาคอุตสาหกรรม อาศัย
ความร่วมมือระหว่างรัฐบาล สถาบันการศึกษา และภาคอุตสาหกรรม โดยกาหนดให้การพัฒนาคนเป็น
โครงสร้างพ้ืนฐานอย่างหน่ึงท่ีจาเป็นในการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพและในอุตสาหกรรมเป้าหมาย 10
อุตสาหกรรม กาหนดรายละเอียดการดาเนินงานและหน่วยงานที่เก่ียวข้องในแต่ละอุตสาหกรรมเป้าหมายให้
ชัดเจน ซงึ่ จะทาใหง้ า่ ยตอ่ การตดิ ตามประเมนิ ผล
2. ต้องกาหนดแผนงานในการจัดลาดับอุตสาหกรรมที่จะพัฒนาให้ชัดเจน และร่วมมือกับภาคเอกชน
ในการพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ เพ่ือให้สามารถก้าวไปสู่อุตสาหกรรม 4.0 ได้ตามเป้าหมายสาหรับด้าน
อุตสาหกรรมการแพทย์ควรส่งเสริม การพัฒนาอย่างครบวงจร โดยสร้างบุคลากร ที่มีความเช่ียวชาญในการ
ผลติ เคร่อื งมือแพทยเ์ พอ่ื การวิจัยและพฒั นาในการรองรับการเป็นศนู ยก์ ลางทางการแพทย์และเป็นฐานการผลิต
เครอ่ื งมือแพทย์ในอนาคต รวมทงั้ ผลักดันให้เคร่อื งมือแพทยเ์ ปน็ สินค้าท่ีเปน็ ทรัพยส์ ินทางปญั ญาในเชงิ พาณิชย์
แผนงานบูรณาการการพัฒนาอุตสาหกรรมศกั ยภาพ
สานักงานเลขาธิการสภาผูแ้ ทนราษฎร - 126 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
5. แผนงานบรู ณาการสร้างรายได้จากการท่องเทย่ี ว กฬี า และวัฒนธรรม
1. หลกั การที่มาของแผนงานบูรณาการ
เพื่อพัฒนาและเพ่ิมรายได้จากการท่องเที่ยวและบริการ ด้วยการส่งเสริมการตลาด เพื่อยกระดับ
ภาพลกั ษณ์ของประเทศ และสนับสนนุ การเปน็ เจา้ ภาพจัดประชมุ ระดบั นานาชาติจากทุกภาคส่วน ส่งเสริมและ
สนับสนนุ กจิ กรรมกฬี า การจดั มหกรรมกฬี านานาชาติ ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ความ
เป็นไทย ยกระดับสินค้าและบริการใหม่ รวมทั้งธุรกิจท่ีเกี่ยวเน่ืองกับการท่องเท่ียวให้มีคุณภาพ พัฒนาการ
ท่องเทีย่ วรายสาขาอย่างสร้างสรรค์ รวมท้ังพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในเชิงกลุ่มให้สอดคล้องกับพื้นที่และเป็นมิตร
กับส่ิงแวดล้อม พัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกและโครงสร้างพ้ืนฐาน สร้างความเช่ือมั่นและแก้ไขปัญหาด้าน
ความปลอดภัย ควบคู่ไปกับการบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยวโดยมุ่งเน้นการบูรณาการการทางานร่วมกัน
ของหน่วยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง พัฒนาระบบข้อมูล พัฒนาบุคลากรและผู้ประกอบการด้านการท่องเท่ียวในทุกระดับ
ให้มีศักยภาพ เพื่อขยายโอกาสทางการตลาดและการลงทุนท้ังในระดับประเทศและภูมิภาค อันนาไปสู่การ
เติบโตด้านการทอ่ งเที่ยวอย่างสมดลุ และย่งั ยืน
2. การเชอื่ มโยงยุทธศาสตร์/นโยบาย/วาระแห่งชาติ
ยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี : ยทุ ธศาสตร์ด้าน : การสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน
แผนพัฒนา ฯ ฉบบั ที่ 12 : ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 : การสรา้ งความเข้มแข็งทางเศรษฐกจิ และแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
เปา้ หมายท่ี 4 : ประเทศไทยมีรายได้จากการท่องเทย่ี วเพ่ิมข้ึนและมขี ีดความสามารถ
3. เป้าหมายแผนงานบรู ณาการ
3.1 รายไดจ้ ากการท่องเที่ยวเพิม่ ขน้ึ
3.2 ประเทศไทยมขี ดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ด้านการท่องเทีย่ วระดบั สูงขึ้น
4. งบประมาณ 8,560.2699 ลา้ นบาท
5. สว่ นราชการ หน่วยงานรับผดิ ชอบดาเนินงานแผนบรู ณาการ
สว่ นราชการ หนว่ ยงานในกากบั / รัฐวิสาหกจิ ในกากับ กองทุนและเงนิ ทุน
องค์การมหาชน หมนุ เวยี น
หนว่ ยงานเจา้ ภาพหลัก
1. กระทรวงการท่องเที่ยวและกฬี า สานักงานปลดั กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกฬี า กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า
2. สานักนายกรัฐมนตรี
3. กระทรวงกลาโหม 1. สานักงานส่งเสรมิ การ 1. การทอ่ งเท่ียวแหง่ - ไมม่ -ี
4. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
5. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ จดั ประชมุ และ ประเทศไทย
สิ่งแวดล้อม
6. กระทรวงวฒั นธรรม นิทรรศการ 2. การกีฬาแหง่ ประเทศ
7. กระทรวงสาธารณสุข
8. กระทรวงคมนาคม 2. องคก์ ารบรหิ ารการ ไทย
พฒั นาพนื้ ท่พี เิ ศษเพ่อื
การทอ่ งเทยี่ วอย่างยง่ั ยืน
3. หอภาพยนตร์
แผนงานบรู ณาการสร้างรายไดจ้ ากการทอ่ งเท่ยี ว กีฬา และวฒั นธรรม
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 127 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะห์ประเด็นขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
สว่ นราชการ หนว่ ยงานในกากับ/ รัฐวสิ าหกจิ ในกากับ กองทุนและเงนิ ทนุ
องคก์ ารมหาชน หมุนเวยี น
9. กระทรวงมหาดไทย
10. กระทรวงศกึ ษาธิการ
6. สรปุ ประเดน็ ข้อสังเกตคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
วสิ ามัญฯ ของงบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการสรา้ งรายได้จากการท่องเท่ียว กีฬา และวัฒนธรรม 3 ปี
ย้อนหลัง (ระหว่างปีงบประมาณพ.ศ. 2560 - 2562) พบว่ามีประเด็นสาคัญ ท่ีคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ให้
ความสาคัญอยา่ งต่อเนอื่ ง ดงั น้ี
ประเด็นที่ 1 สรุปประเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ
ปี 2562
การบูรณาการด้านท่องเท่ยี ว
ประเด็นที่ 2
ปี 2560 1) ควรเพ่มิ หนว่ ยงานมาร่วมดาเนนิ การเพอ่ื ใหแ้ ผนงานบรรลผุ ลสมั ฤทธ์ิมากขึ้น เชน่ สานกั งานตารวจ
และ 2562 แห่งชาติ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ เปน็ ตน้
ปี 2561 2) ควรปรบั ปรงุ ระบบฐานข้อมลู การท่องเท่ยี วและสามารถเช่อื มโยงกับหนว่ ยงานอื่นได้
3) ควรมีแผนเชอ่ื มโยงระหวา่ งเมอื งหลักและเมืองรอง โดยเน้นการทอ่ งเทีย่ วชมุ ชน (Cluster)
ประเด็นท่ี 3
ปี 2562 แหล่งทอ่ งเที่ยว
ปี 2561 ควรพัฒนาแหลง่ ท่องเทย่ี วแต่ละแห่งใหม้ ีความครบถว้ น ท้ังด้านภมู ทิ ัศน์ ความสะอาด อาหาร
ปี 2560 ความปลอดภัย และอานวยความสะดวกการท่องเทยี่ วเพอื่ คนท้งั มวล (Tourism for all)
ประเด็นที่ 4 1) ควรจดั ทาแผนดแู ล/รักษาแหลง่ ทอ่ งเท่ยี วธรรมชาตอิ ย่างย่งั ยนื
ปี 2560 2) ควรวิจัยเปรียบเทียบระหวา่ งรายได้ทเี่ พม่ิ ข้ึนกบั งบประมาณทตี่ อ้ งใช้จา่ ยเพ่อื ฟ้นื ฟแู หลง่ ท่องเท่ียวทาง
ธรรมชาติว่ามีความเหมาะสมและค้มุ คา่ หรือไม่
การส่งเสรมิ การท่องเทยี่ วและกฬี า
ควรจัดการแข่งขนั กฬี าระดบั นานาชาติ เพื่อสง่ เสรมิ ใหค้ นไทยเล่นกฬี าและดงึ ดดู นักกีฬาจาก
ตา่ งประเทศเข้ามาแขง่ ขนั ในประเทศไทย
ควรสนบั สนุนการทอ่ งเท่ียวเมืองรองและผลติ ภณั ฑช์ ุมชนมากขึ้น
สานกั งานปลัดกระทรวงการท่องเท่ยี วและกีฬา
ควรขอความรว่ มมอื จากสถาบันการศึกษาในพ้ืนท่ี เพื่อทาการวจิ ัยดา้ นการสง่ เสรมิ การท่องเทยี่ วท้องถิน่
การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติ ประเพณี และวัฒนธรรมชมุ ชน
การพฒั นาบุคลากรดา้ นการทอ่ งเทย่ี ว
ควรจัดทาโครงการพัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากรด้านการท่องเทย่ี ว ร่วมกบั กระทรวงศึกษาธิการ กาหนด
หลักสตู รมาตรฐานของหลักสูตรและคา่ ใชจ้ ่ายในการอบรมบคุ ลากรดา้ นการทอ่ งเทยี่ วของแตล่ ะ
มหาวิทยาลยั ให้เปน็ มาตรฐานเดียวกัน
แผนงานบรู ณาการสรา้ งรายได้จากการท่องเท่ยี ว กฬี า และวัฒนธรรม
สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร - 128 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ท้งั นี้ สานักงบประมาณของรัฐสภาไดว้ ิเคราะห์ข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารแลว้ มีความเหน็ เพ่มิ เตมิ ดังน้ี
การบูรณาการเพือ่ สรา้ งรายไดจ้ ากการท่องเท่ียว กีฬา และวัฒนธรรม เกี่ยวข้องกับการจัดระเบียบการ
ขนส่งภายในประเทศ โดยเฉพาะการพัฒนาระบบขนส่งทางถนนเพ่ือเช่ือมโยงเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญ
ดงั นน้ั ควรมีกรมการขนส่งทางบก เขา้ ร่วมแผนงานบูรณาการนี้ด้วย เน่ืองจากทาหน้าท่ีควบคุมและจัดระเบียบ
การขนส่งถนน นอกจากนี้ ในประเด็นข้อสังเกตเรื่อง “การวิจัยเปรียบเทียบรายได้จากการท่องเท่ียวท่ีเพ่ิม
ขึ้นกับงบประมาณที่ต้องใช้จ่ายเพื่อฟ้ืนฟูแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ” น้ัน มีความเห็นเพิ่มเติมว่า กระทรวง
การท่องเที่ยวและกีฬาควรกาหนดแนวทางเพ่ือสร้างความสมดุลการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืนใน 3 ด้าน คือ
เศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม เพื่อให้เกิดความย่ังยืน เสมอภาค และกระจายรายได้ไปสู่คนในพื้นที่ทั่วทุก
ภาคของประเทศไทย
แผนงานบูรณาการสร้างรายไดจ้ ากการทอ่ งเทยี่ ว กฬี า และวัฒนธรรม
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร - 129 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
6. แผนงานบรู ณาการพัฒนาศกั ยภาพการผลิตภาคเกษตร
1. หลกั การที่มาของแผนงานบูรณาการ
แผนงานบูรณาการพฒั นาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร มวี ัตถุประสงค์เพ่ือสร้างความม่ันคง
ให้กบั อาชพี เกษตรกรรม การผลิตภาคเกษตรมีความเขม้ แขง็ และยั่งยืน โดยเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
สินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่อุปทาน ตั้งแต่การพัฒนาศักยภาพ กระบวนการผลิต กระบวนการแปรรูป และ
กระบวนการตลาดสนิ คา้ เกษตร พัฒนาการเกษตรสมัยใหม่ ระบบเกษตรกรรมยั่งยืน ตามแนวทางหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนการใช้เทคโนโลยี นวัตกรรมทางการเกษตร เพื่อลดต้นทุนการผลิต ยกระดับ
มาตรฐานสินค้าเกษตร และเพิ่มรายได้ต่อครัวเรือนเกษตรกร ตลอดจนพัฒนาศักยภาพเกษตรกรและสถาบัน
เกษตรกรในรปู แบบประชารฐั ให้เขม้ แข็งสามารถพ่งึ พาตนเองได้
2. การเช่ือมโยงยุทธศาสตร/์ นโยบาย/วาระแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี : ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 ดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขนั
แผนพฒั นา ฯ ฉบับท่ี 12 : ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่าง
ยั่งยืน
เป้าหมายที่ 1 เศรษฐกจิ รายสาขาเติบโตอยา่ งเขม้ แข็ง และเป็นฐานในการสร้างความเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจของประเทศ
เปา้ หมายท่ี 2 เกษตรกรมีรายได้เงินสดสุทธิทางการเกษตรเพ่ิมขึ้นและพื้นที่การทาเกษตรกรรม
ยั่งยืนเพิม่ ขน้ึ ต่อเน่อื ง
3. เป้าหมายแผนงานบรู ณาการ
เปา้ หมายท่ี 1 เพิ่มประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการสนิ คา้ เกษตรตลอดหว่ งโซอ่ ุปทาน
เป้าหมายที่ 2 เกษตรกรได้รับการพัฒนาศักยภาพให้เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง สามารถพึ่งพาตนเอง
ไดต้ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสถาบนั เกษตรกรมีความเข้มแข็ง
4. งบประมาณ
7,779,863,600 บาท
5. ส่วนราชการ หน่วยงานรับผดิ ชอบดาเนนิ งานแผนงานบูรณาการ
ส่วนราชการ หน่วยงานในกากับ/ รฐั วิสาหกิจในกากบั กองทนุ และเงินทนุ
องคก์ ารมหาชน หมุนเวียน
หนว่ ยงานเจา้ ภาพหลัก สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
1. สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการ 1. องค์การตลาดเพื่อ
เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ การเกษตร
2. สานกั งานปลัดกระทรวงเกษตรและ 2. องค์การสะพานปลา
สหกรณ์
3. กรมการขา้ ว
4. กรมตรวจบญั ชสี หกรณ์
แผนงานบูรณาการพฒั นาศกั ยภาพการผลติ ภาคเกษตร
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 130 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเดน็ ข้อสงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
สว่ นราชการ หนว่ ยงานในกากับ/ รฐั วิสาหกจิ ในกากับ กองทนุ และเงนิ ทนุ
องค์การมหาชน หมนุ เวยี น
5. กรมประมง
6. กรมปศสุ ตั ว์
7. กรมพฒั นาทีด่ นิ
8. กรมวชิ าการเกษตร
9. กรมส่งเสรมิ การเกษตร
10. กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์
11. กรมหม่อนไหม
12. สานักงานปฏริ ปู ทด่ี ินเพือ่
เกษตรกรรม
13. สานักงานมาตรฐานสนิ คา้ เกษตร
และอาหารแหง่ ชาติ
14. สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร
15. กรมการค้าตา่ งประเทศ
16. กรมการค้าภายใน
17. กรมการปกครอง
18. สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยีแห่งชาติ
19. สานกั งานปลดั กระทรวง
ศึกษาธิการ
20. สานกั งานคณะกรรมการการ
อาชวี ศึกษา
21. มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
22. มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ
23. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี
24. มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
6. สรุปประเดน็ ข้อสงั เกตคณะกรรมาธิการวสิ ามัญฯ
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ข้อสังเกตของ
คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ของงบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร
3 ปีย้อนหลัง (ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2562) พบว่ามีประเด็นสาคัญ ที่คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
ใหค้ วามสาคญั อยา่ งตอ่ เน่ือง ดงั น้ี
แผนงานบูรณาการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคเกษตร
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 131 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ปี 2562 สรุปประเด็นข้อสงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ
ปี 2561
1) ควรเรง่ จัดทาแผนที่การเกษตร (Agri Map) และจัดทาสอ่ื เผยแพรเ่ พ่ือใหเ้ กษตรกรสามารถเขา้ ถงึ
ข้อมลู ด้านการเกษตรผ่านแผนท่เี พ่อื ให้สามารถวางแผนการเพาะปลกู ไดอ้ ย่างเหมาะสม โดยมี
การบูรณาการร่วมกบั สานักงานพฒั นาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) และสานกั งาน
พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน) (GISTDA) ในการสนบั สนนุ ข้อมลู แผนที่
จากดาวเทยี ม เพอ่ื ใชใ้ นการกาหนดนโยบายการสง่ เสรมิ การเกษตรตอ่ ไป
2) การพฒั นาศักยภาพเกษตรกรในกรณีที่มกี ารดาเนนิ การฝกึ อบรมสัมมนาใหก้ ับประชาชน ควรมีการ
ตดิ ตามและประเมินผลความสาเรจ็ ของโครงการเพอื่ นาขอ้ มลู มาปรบั ปรงุ ให้มปี ระสทิ ธิภาพมากย่ิงขึ้น
และเร่งรัดการจดั ทา Agri-Map เพอื่ ให้เกษตรกรเข้าถึงขอ้ มลู ด้านการเกษตร เพมิ่ ชอ่ งทางการเข้าถึง
กลุ่มเป้าหมาย โดยใชส้ ื่อรปู แบบ Mobile Application ซึ่งเปน็ วธิ กี ารท่ที าให้ประชาชนประหยดั และ
เขา้ ถึงไดง้ ่าย สาหรับการอบรมสัมมนาในระดบั เจา้ หน้าทท่ี ี่จะต้องมาดาเนนิ การพฒั นาศักยภาพให้กับ
เกษตรกรซ่ึงถือเป็นภารกจิ พน้ื ฐาน ไม่ควรตัง้ งบประมาณไว้ในแผนงานบรู ณาการ
แผนงานบรู ณาการพัฒนาศักยภาพการผลติ ภาคเกษตรมีลกั ษณะเป็นการนางบประมาณหลายหน่วยงาน
มารวมกัน โดยย้ายภารกิจและงบประมาณจากแผนงานพ้ืนฐานมาอยู่ในแผนงานบูรณาการซ่ึงไม่ใช่
การบูรณาการอย่างแท้จริง ควรมีข้อกาหนดจานวนหน่วยงานให้มีความเหมาะสม มีคณะกรรมการ
ในการติดตามประเมินผลการดาเนินโครงการ เพื่อท่ีจะได้ทราบผลสาเร็จตามระยะเวลา และสานักงาน
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ควรเป็นเจ้าภาพแผนงานบูรณาการน้ี
ท้งั น้ี สานักงบประมาณของรัฐสภาได้วเิ คราะห์ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการแลว้ มีความเหน็ เพม่ิ เตมิ ดังนี้
1. ควรทบทวนและปรับปรุงเป้าหมายของแผนงานบูรณาการฯ ให้ชัดเจน โดยควรกาหนดเป้าหมาย
ร่วมของแผนงานบูรณาการฯ ให้มีเพียงเป้าหมายเดียว รวมท้ังไม่ควรนาภารกิจงานที่มีชื่อหรือลักษณะงาน
ทเ่ี หมอื นๆ กันมารวมไว้ด้วยกนั
2. กรมวิชาการเกษตร มีการส่งเสริมในสินค้าท่ีกาลังล้นตลาดในปัจจุบันท้ังในส่วนของสับปะรดและ
มะพร้าว และในปี 2562 กรมวิชาการเกษตร และกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตรฯ ก็ได้รับการ
จัดสรรงบประมาณในการส่งเสริมการปลูกสับประรดและมะพร้าวเช่นเดียวกันกับปีท่ีผ่านมา ซ่ึงทาให้เห็นได้ว่า
ภารกจิ งานของแตล่ ะหน่วยงานมีความซ้าซ้อนกัน
แผนงานบูรณาการพัฒนาศกั ยภาพการผลติ ภาคเกษตร
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 132 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเด็นข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
7. แผนงานบรู ณาการพัฒนาผปู้ ระกอบการ เศรษฐกิจชมุ ชน และรฐั วสิ าหกิจขนาดกลาง
และขนาดย่อมสู่ สากล
1. หลักการที่มาของแผนงานบรู ณาการ
แผนงานบูรณาการพัฒนาผู้ประกอบการ เศรษฐกิจชุมชน และรัฐวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อมสู่ สากล มีวัตถุประสงค์เพ่ือสนับสนุนและพัฒนาวิสาหกิจเริ่มต้นและผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาด
กลางและขนาดย่อม (SME) รายใหม่ด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมและสร้างองค์ความรู้ให้กับผู้ประกอบการให้
สามารถเติบโตและแข่งขันได้ในตลาดยุคใหม่ (Smart SME) พัฒนา SME กลุ่มท่ัวไป (Regular) ให้มีศักยภาพ
และผลิตภาพโดยการพฒั นาปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพการผลิตการพัฒนาผลิตภัณฑ์การจัดการธุรกิจการตลาดและ
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) ตลอดจนการรวมกลุ่มและเชื่องโยงอุตสาหกรรมในรูปแบบคลัสเตอร์
ยกระดับ SME กลุ่มที่มีศักยภาพ (Strong) ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการพัฒนามาตรฐานสินค้า
แ ล ะ บ ริ ก า ร สู่ ร ะ ดั บ ส า ก ล ก า ร ส ร้ า ง แ ล ะ ข ย า ย ต ล า ด ใ น ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ร ว ม ท้ั ง พั ฒ น า ปั จ จั ย แ ว ด ล้ อ ม ที่ เ อ้ื อ
ตอ่ การประกอบธรุ กจิ ของ SME และพัฒนาอาชีพให้กับชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือให้ SME และ
เศรษฐกิจชมุ ชนเป็นพลังขบั เคล่อื นทางเศรษฐกิจ
2. การเชอ่ื มโยงยุทธศาสตร์/นโยบาย/วาระแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี : ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 ด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน
แผนพฒั นา ฯ ฉบับที่ 12 : ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การสรา้ งความเข้มแขง็ ทางเศรษฐกจิ และแขง่ ขนั ได้อย่างยงั่ ยนื
เปา้ หมายที่ 2.5 วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมมบี ทบาทต่อระบบเศรษฐกิจเพ่ิมมากขน้ึ
ตัวชี้วดั 2.5.1 สัดสว่ นผลิตภณั ฑ์มวลรวมในประเทศของ SME ตอ่ ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมใน
ประเทศเพม่ิ ขึน้ ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 45 เมื่อสิ้นสุดแผนพัฒนาฯ ฉบบั ท่ี 12
3. เป้าหมายแผนงานบูรณาการ
เปา้ หมายท่ี 1 วสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมได้รับการยกระดับเพื่อเพ่มิ ขดี ความสามารถในการ
แขง่ ขนั
4. งบประมาณ
1,3,328,368,900 บาท
แผนงานบรู ณาการพัฒนาผ้ปู ระกอบการ เศรษฐกจิ ชุมชน และรัฐวสิ าหกจิ ขนาดกลาง และขนาดย่อมสู่ สากล
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 133 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณารา่ งพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
5. ส่วนราชการ หน่วยงานรับผิดชอบดาเนินงานแผนบูรณาการ
สว่ นราชการและหนว่ ยงานใน หนว่ ยงานในกากับ/ รฐั วสิ าหกิจในกากับ กองทุนและ
กากบั องค์การมหาชน เงินทนุ หมุนเวียน
หน่วยงานเจา้ ภาพหลกั สานักงานสง่ เสริมวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม สานักนายกรัฐมนตรี
1. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (2 1. สานักงานบรหิ ารและ 1. สถาบันวจิ ัยวิทยาศาสตร์ 1. กองทุนสง่ เสรมิ
หน่วยงาน) พัฒนาองคค์ วามรู้ (องค์การ และเทคโนโลยีแหง่ ประเทศ วิสาหกิจขนาดกลาง
2. กระทรวงพาณชิ ย์ (4 หน่วยงาน) มหาชน) ไทย และขนาดยอ่ ม
3. กระทรวงยุติธรรม (1 หนว่ ยงาน) 2. สถาบันวิจยั และพัฒนา
4. กระทรวงแรงงาน (1 หน่วยงาน) อญั มณแี ละเครือ่ งประดบั
5. กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และ แหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน)
เทคโนโลยี (5 หน่วยงาน) 3. สถาบันเทคโนโลยนี ิวเคลียร์
6. กระทรวงศึกษาธกิ าร (2 แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
4. สานกั งานนวัตกรรม
หนว่ ยงาน : อาชวี ะ สกอ.) แหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน)
5. ศูนย์ความเปน็ เลิศดา้ น
7. กระทรวงสาธารณสุข (1 ชวี วทิ ยาศาสตร์ (องค์การ
หน่วยงาน) มหาชน)
8. กระทรวงอุตสาหกรรม (2
หน่วยงาน)
6. สรุปประเดน็ ข้อสังเกตคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ ข้อสังเกตของ
คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ฯ ของงบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาผู้ประกอบการ เศรษฐกิจชุมชน
และรฐั วสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมสู่ สากล 3 ปีย้อนหลัง (ระหว่าง ปีงบประมาณพ.ศ. 2560 - 2562)
พบว่า มีประเดน็ สาคัญ ทค่ี ณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ ใหค้ วามสาคญั ดงั น้ี
ปี 2562 สรุปประเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
ปี 2561
ควรให้ความสาคัญกับการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมเกิดใหม่ที่มีการเติบโตสูง (Innovative Startup)
เพ่ือระดมสมองและพัฒนาเป็นต้นแบบให้ภาคเอกชนนาไปขยายผลต่อยอดเชิงพาณิชย์ โดยประสาน
ความร่วมมือและเช่ือมโยงการดาเนินงานกับกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวง
อตุ สาหกรรม เพ่อื เพม่ิ มูลคา่ ทางเศรษฐกจิ ของประเทศ ควรดึงกลุ่มผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดย่อม (SMEs) ให้เข้าสู่ระบบภาษี มีการศึกษาความเส่ียงของผู้ประกอบการเพ่ือป้องกันให้
อยู่รอด ให้มีหลักสูตรกลางสาหรับการเรียนการสอนผู้ประกอบการ SMEs รวมทั้งควรมีแผนรักษา
ตลาดและขนาดของ SMEs และควรรักษาผลประโยชน์ในการจ่ายภาษีของ SMEs ในรูปภาษีเงินได้
บคุ คลธรรมดาด้วย
มีหน่วยงานเข้าร่วมบูรณาการจานวนมาก เป้าหมายและตัวช้ีวัดของแผนงานมีความซ้าซ้อน คล้ายกัน
ควรรวมโครงการท่ีมีลักษณะคล้ายกัน เพื่อให้สามารถวัดผลได้อย่างชัดเจน มีการประเมินผลการ
ดาเนนิ งานเพื่อพัฒนาปรับปรุงกระบวนการทางานให้บรรลุเป้าหมาย และควรมีหน่วยงานหลักในการ
อบรมอุตสาหกรรมแต่ละกลุ่ม และกาหนดหลักสูตรการอบรมและพัฒนาผู้ประกอบการด้านต่าง ๆ
ที่เป็นมาตรฐาน เพื่อลดความซ้าซ้อนในการจัดสรรงบประมาณ มีการกาหนดเป้าหมายท่ีชัดเจน
(Start Up Regular Strong) เพื่อให้หน่วยงานที่เข้าร่วมบูรณาการสามารถดาเนินกิจกรรมได้ตรงตาม
แผนงานบูรณาการพัฒนาผู้ประกอบการ เศรษฐกิจชมุ ชน และรัฐวสิ าหกิจขนาดกลาง และขนาดยอ่ มสู่ สากล
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร - 134 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณารา่ งพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ปี 2560 สรปุ ประเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามัญฯ
เป้าหมายที่กาหนดไว้
หมายเหตุ ปี 2561 ใช้ชอื่ “แผนงานบรู ณาการส่งเสรมิ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม”
ต้องให้ความสาคัญกับการบูรณาการร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ โดยจัดให้มีการสร้างหลักสูตรเพ่ือ
ส่งเสรมิ การสรา้ งผู้ประกอบการเพื่อเป็นทางเลือกใหม่ให้กับนักเรียน นักศึกษาที่ขาดโอกาสศึกษาต่อให้
สามารถสรา้ งอาชีพและประกอบอาชีพของตนเองได้ รวมท้ังสนับสนุนให้นักศึกษาได้มีโอกาสในการเข้า
ไปฝกึ งานในหน่วยงานท่เี กย่ี วขอ้ งเพอ่ื สามารถเรียนรจู้ ากประสบการณ์จริง
หมายเหตุ ปี 2560 ใช้ชื่อ “แผนงานบูรณาการส่งเสรมิ วิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม”
ทัง้ นี้ สานกั งบประมาณของรัฐสภาไดว้ เิ คราะหข์ ้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารแลว้ มีความเห็นเพิ่มเตมิ ดังนี้
1. จากสภาพแวดล้อมทางธุรกิจท่ีเปลี่ยนไป ประกอบกับการเข้าสู่ AEC ทาให้ SME มีคู่แข่งเพิ่มข้ึน
และตอ้ งเผชญิ กบั อุปสรรคมากมายโดยเฉพาะการแข่งราคาในสภาวะที่ต้นทุนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และการใช้กลยุทธ์
ทางทรพั ย์สนิ ทางปัญญาเพอ่ื กดี กนั คู่แขง่ ดงั นน้ั รัฐบาลควรมีนโยบายท่ีเปล่ียนแปลงจากอุปสรรคให้เป็นโอกาส
ในการยกระดับธุรกิจ การขยายธุรกิจสู่ต่างประเทศ โดยส่งเสริมให้มีการพัฒนา SME ไทยอย่างยั่งยืนด้วย
นวัตกรรมและทรพั ย์สินทางปัญญา
2. การเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของผู้ประกอบการ SME ควรให้ความสาคัญกับการพัฒนาธุรกิจ
SME ที่จดทะเบียนให้เข้มแข็งเพื่อต่อยอดให้ธุรกิจที่เหลือทั้งระบบแข็งแรงไปด้วย พร้อมท้ังส่งเสริมด้าน
การตลาดให้กับธุรกิจ SME เช่น ส่งเสริมให้มีช่องทางการค้าขายเพ่ิมข้ึนในต้นทุนต่า โดยใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ หรือ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) เป็นเครื่องมือเพ่ิมศักยภาพในการแข่งขันทั้งและ
ต่างประเทศ สนับสนุนสินค้าท่ีได้มาตรฐานให้ได้รับโอกาสในการจัดซ้ือจัดจ้างจากทั้งภาครัฐและองค์กร
ภาคเอกชน เพื่อสร้างคา่ นิยมในการใช้สินคา้ ไทยวงกว้าง เป็นต้น
3. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเข้ามาให้ความรู้ด้านภาษีให้แก่ผู้ประกอบการ SME ให้เสียภาษีอย่าง
ประหยดั และถูกตอ้ ง และกาหนดให้มมี าตรการทสี่ ่งเสรมิ ให้ธุรกิจ SME เขา้ สรู่ ะบบภาษีมากข้นึ
แผนงานบูรณาการพฒั นาผ้ปู ระกอบการ เศรษฐกิจชุมชน และรัฐวสิ าหกจิ ขนาดกลาง และขนาดย่อมสู่ สากล
สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร - 135 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเด็นข้อสงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณาร่างพระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
8. แผนงานบูรณาการพัฒนาพน้ื ท่เี ขตเศรษฐกจิ พิเศษ
1. หลกั การท่ีมาของแผนงานบรู ณาการ
แผนงานบูรณาการพัฒนาพ้ืนที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจ
พเิ ศษเปา้ หมาย ได้แก่ ตาก มุกดาหาร สระแก้ว ตราด สงขลา หนองคาย เชียงราย นครพนม กาญจนบุรี และ
นราธิวาส ให้มีการลงทุนเพิ่มข้ึน น้าไปสู่การกระจายความเจริญ ลดความเลื่อมล้า โดยจัดท้าแผนผังพื้นท่ี
พัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐานทางเศรษฐกิจ สังคมสิง่ แวดล้อมให้รองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจในพื้นที่ สนับสนุนการ
จัดระบบแรงงานต่างด้าวแบบไป-กลับ และระบบการจัดการด้านความมั่นคงตรวจคนเข้าเมืองท่ีได้มาตรฐาน
พัฒนาฝีมือแรงงาน และการให้บริการข้อมูลแก่นักลงทุน รวมท้ังประชาสัมพันธ์เพ่ือสร้างความเข้าใจแก่
ประชาชนในพื้นท่ี
2. การเชือ่ มโยงยุทธศาสตร์/นโยบาย/วาระแห่งชาติ
ยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี : ยุทธศาสตร์ ดา้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขนั
แผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ 12 : ยุทธศาสตรท์ ่ี 9 การพัฒนาภาค เมือง และพนื้ ทเี่ ศรษฐกจิ
เป้าหมายที่ 1 เพิ่มมูลค่าการลงทุนในพน้ื ที่เศรษฐกจิ ใหมบ่ รเิ วณชายแดน
3. เป้าหมายแผนงานบรู ณาการ
เปา้ หมาย เพิ่มมลู ค่าการลงทุนในพ้นื ที่เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษชายแดน
4. งบประมาณ
8,757,981,300 บาท
5. สว่ นราชการ หน่วยงานรับผิดชอบดาเนนิ งานแผนบรู ณาการ
ส่วนราชการ หน่วยงานในกากบั / รฐั วสิ าหกิจในกากับ กองทุนและเงนิ ทุน
องคก์ ารมหาชน หมนุ เวียน
หน่วยงานเจา้ ภาพหลกั ส้านกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สา้ นัก
นายกรฐั มนตรี
1. กระทรวงการคลัง (1 หน่วยงาน) การประปาสว่ นภมู ภิ าค
2. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (3 การนคิ มอุตสาหกรรม
หนว่ ยงาน) แห่งประเทศไทย
3. กระทรวงคมนาคม (4 หน่วยงาน)
4. กระทรวงพาณิชย์ ( 1 หน่วยงาน)
5. กระทรวงมหาดไทย ( 3 หน่วยงาน)
6. กระทรวงแรงงาน ( 3 หน่วยงาน)
7. กระทรวงสาธารณสขุ ( 3
หน่วยงาน)
8. กระทรวงอุตสาหกรรม ( 2
หน่วยงาน)
แผนงานบูรณาการพฒั นาพน้ื ทีเ่ ขตเศรษฐกิจพิเศษ
สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร - 136 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเด็นข้อสงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
สว่ นราชการ หน่วยงานในกากับ/ รฐั วิสาหกิจในกากับ กองทนุ และเงินทนุ
องคก์ ารมหาชน หมุนเวียน
9. สว่ นราชการไมส่ งั กัดสา้ นกั
นายกรฐั มนตรี กระทรวง หรือทบวง
และหนว่ ยงานภายใตก้ ารควบคุมดแู ล
ของนายกรฐั มนตรี ( 1 หน่วยงาน)
6. สรุปประเดน็ ข้อสังเกตคณะกรรมาธิการวสิ ามัญฯ
ส้านักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ข้อสังเกตของ
คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ของงบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาพ้ืนที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ 3 ปี
ย้อนหลัง (ระหว่าง ปีงบประมาณพ.ศ. 2560 - 2562) พบว่ามีประเด็นส้าคัญ ท่ีคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ให้
ความส้าคัญอยา่ งตอ่ เน่ือง ดังน้ี
ปี 2562 สรปุ ประเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามัญฯ
ปี 2561 1) ควรก้าหนดทิศทางให้ชัดเจนว่าจะเป็นศูนย์กลางทางการค้าหรือศูนย์กลางด้านอุตสาหกรรม เพื่อ
ปี 2560 คัดเลือกพ้ืนท่ีเป้าหมายให้ส่วนราชการได้ก้าหนดแนวทางบูรณาการการด้าเนินงานให้เป็นไปตาม
เปา้ หมายเดียวกัน
2) ควรมีการประเมินความสนใจลงทุน และประเมินความเสี่ยงอย่างรอบคอบก่อนขออนุมัติพ้ืนท่ีเขต
เศรษฐกิจพิเศษ หากกรณไี ม่ประสบความสา้ เร็จควรมกี ารหารือร่วมกนั ที่จะปรบั แนวทางใหเ้ หมาะสมกับ
ศกั ยภาพของพื้นที่
การวางผงั เขตเศรษฐกิจพเิ ศษ ควรคา้ นึงถงึ ภูมิประเทศ ภมู ิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ โดยก้าหนด
มาตรการแก้ไขปัญหาการปรับราคาท่ีดินให้สูงขึ้น นอกจากนี้ ควรวางแผนการพัฒนาบุคลากรให้
สอดคลอ้ ง เพยี งพอกบั การขับเคลื่อนในพน้ื ทเ่ี ขตเศรษฐกิจพิเศษ
ต้องให้ความส้าคัญกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อให้สามารถเชื่อมโยงและรองรับได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ
ทงั้ นี้ สานกั งบประมาณของรัฐสภาไดว้ ิเคราะห์ข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารแลว้ มคี วามเหน็ เพิ่มเติมดังนี้
1. ควรจัดทา้ แผนหลกั (Master Plan) และแผนปฏิบัติการ (Operation Plan) ให้มีความชัดเจน และ
สอดคล้องกัน โดยแบ่งเป็นระยะส้ัน กลาง และยาว เพ่ือให้แต่ละส่วนราชการสามารถก้าหนดกิจกรรมต่างๆให้
สอดคลอ้ งเพ่อื บรรลเุ ปา้ หมายท่กี า้ หนดไว้
2. ต้องก้าหนดเขตเศรษฐกิจพิเศษจะต้องเป็นไปลักษณะเหมาะสมกับภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
ทรพั ยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม ซง่ึ แต่ละเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษไม่จ้าเปน็ จะต้องเหมือนกัน
3. ตอ้ งมีการจัดทา้ แผนพัฒนาบคุ ลากรใหส้ อดคลอ้ ง และเพียงพอ
4. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานท่ีก้าหนดไว้ในแผนงานบูรณาการฯ ควรมีความสัมพันธ์กับการ
ดา้ เนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษ ไม่ใชภ่ ารกจิ ตามแผนงานพน้ื ฐานของหนว่ ยงาน
แผนงานบูรณาการพัฒนาพ้ืนท่เี ขตเศรษฐกิจพิเศษ
สานักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร - 137 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเด็นข้อสงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณารา่ งพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
9. แผนงานบูรณาการขับเคลือ่ นเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก
1. หลกั การที่มาของแผนงานบูรณาการ
แผนงานบรู ณาการขับเคล่อื นเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีวัตถุประสงค์เพ่ือขับเคลื่อน
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกให้มีโครงสร้างพื้นฐานด้านเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อมที่มีศักยภาพและ
เพียงพอ และส่งเสริมให้มีการลงทุนเพ่ิมขึ้น โดยสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศด้วย
การใช้เทคโนโลยีข้ันสูง มีกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ยกระดับการท่องเที่ยวในพื้นท่ี
ประชาสมั พันธ์ขอ้ มูลแก่นักลงทุนและประชาชน พฒั นาโครงสร้างดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ให้เชื่อมโยง
พ้ืนท่ีเศรษฐกิจและเมืองสาคัญ ส่งเสริมการพัฒนาเมือสาคัญในรูปแบบเมืองอัจฉริยะ จัดทาผังพัฒนาพื้นที่
พัฒนาระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และการจัดการสิ่งแวดล้อมเมือง พัฒนาการให้บริการระบบ
สาธารณสุข การบริการด้านอาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม การศึกษา การวิจัย และการพัฒนา
เทคโนโลยี รวมทง้ั การพัฒนาบุคลากรเพ่อื รองรบั การขยายตัวทางเศรษฐกจิ และสังคม
2. การเช่อื มโยงยุทธศาสตร/์ นโยบาย/วาระแห่งชาติ
ยทุ ธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี : ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 ดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั
แผนพฒั นา ฯ ฉบับท่ี 12 : ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 9 การพฒั นาภาค เมือง และพน้ื ทีเ่ ศรษฐกิจ
เปา้ หมายท่ี 1 สนับสนุนผลิตภณั ฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) เพม่ิ ขึน้ ร้อยละ 2
3. เป้าหมายแผนงานบูรณาการ
เพ่มิ มูลค่าการลงทุนในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา) เฉล่ียไม่น้อยกว่า
รอ้ ยละ 10 ตอ่ ปี
4. งบประมาณ
14,842,614,600 บาท
5. สว่ นราชการ หน่วยงานรับผดิ ชอบดาเนนิ งานแผนงานบรู ณาการ
ส่วนราชการ หน่วยงานในกากบั / รัฐวิสาหกิจในกากับ กองทนุ และเงินทนุ
องค์การมหาชน หมุนเวียน
หน่วยงานเจ้าภาพหลัก
สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก กระทรวง
1. สานักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ
การลงทุน อตุ สาหกรรม และ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจสังคมแหง่ ชาติ
2. กองทัพเรือ สานักนายกรฐั มนตรี
3. กรมทางหลวง
4. กรมทางหลวงชนบท 1. สานกั งานบรหิ ารและ 1. สถาบนั การบิน
5. สานกั งานนโยบายและแผนการ
พัฒนาองค์ความรู้ พลเรือน
ขนส่งและจราจร
6. สานกั งานส่งเสริมเศรษฐกิจดจิ ทิ ลั (องค์การมหาชน) 2. การรถไฟแหง่
ประเทศไทย
3. การประปา
ส่วนภูมภิ าค
แผนงานบูรณาการขบั เคลื่อนเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนั ออก
สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร - 138 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะห์ประเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
สว่ นราชการ หนว่ ยงานในกากับ/ รฐั วสิ าหกจิ ในกากับ กองทุนและเงินทนุ
องคก์ ารมหาชน หมุนเวยี น
7. กรมโยธาธิการและผงั เมอื ง
8. กรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน
9. กรมวทิ ยาศาสตร์บริการ
10. สานักงานคณะกรรมการ
การอาชวี ศกึ ษา
11. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี
พระจอมเกลา้ พระนครเหนอื
12. สานกั งานปลดั กระทรวง
สาธารณสุข
13. กรมควบคมุ โรค
14. สานักงานตารวจแหง่ ชาติ
15. สานักงานคณะกรรมการนโยบาย
เขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวันออก
6. สรุปประเดน็ ข้อสังเกตคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ ข้อสังเกตของ
คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ของงบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการขับเคล่ือนเขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออก 3 ปีย้อนหลัง (ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2562) พบว่ามีประเด็นสาคัญที่
คณะกรรมาธกิ าร วสิ ามญั ฯ ให้ความสาคัญอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ดังน้ี
ปี 2562 สรปุ ประเด็นข้อสงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ฯ
ปี 2561
1) ควรมีการจัดทาแผนรองรับการป้องกันผลกระทบจากสิง่ แวดลอ้ มและการประชาสมั พันธ์เพื่อให้
ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจสามารถเตรยี มการรองรับสถานการณ์ หากเกิดปญั หาจะไดป้ ฏิบตั ติ นได้
อยา่ งถกู ต้อง รวมทั้งเพิม่ หนว่ ยงานเขา้ ร่วมบรู ณาการด้านสาธารณสขุ เพือ่ จดั เตรียมบุคลากรทางการ
แพทยท์ จ่ี ะดแู ลประชาชนในพื้นทีใ่ ห้เพยี งพอ เพ่ิมหน่วยงานที่มีบทบาทภารกจิ เกยี่ วขอ้ งกับการตดิ ตาม
ประเมินผลกระทบดา้ นสง่ิ แวดล้อม และเตรยี มแผนในการเยยี วยาหากเกดิ ปญั หาขนึ้
2) ควรเร่งประชาสมั พันธเ์ พอื่ ให้เกดิ ความเขา้ ใจการพัฒนาถึงประโยชน์ทีป่ ระชาชนจะไดร้ บั โดยเฉพาะ
ในระดบั พน้ื ท่ี และเพ่อื ให้เกดิ ความมน่ั ใจของนกั ลงทนุ ทีจ่ ะตอ้ งดาเนินกจิ การในพ้นื ท่ี
โครงการก่อสร้างทางตามแผนงานบูรณาการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออกควรมีการวางแผน
ให้รอบคอบ มีการเชื่อมโยงเพื่อเสริมสร้างความเจริญในพ้ืนที่ 3 จังหวัด และบริเวณพื้นท่ีจังหวัด
ใกล้เคียง รวมทั้งมีการดาเนินการก่อสร้างและเชื่อมโยงถนนบริเวณด่านและเขตเศรษฐกิจพิเศษให้
ครบถ้วน นอกจากนน้ั การกอ่ สร้างทางทตี่ ้ังงบประมาณไว้ในแผนงานบูรณาการควรรวมงบประมาณใน
การสารวจออกแบบของสายทางนั้น ๆ ไวใ้ นแผนงานบูรณาการด้วย
แผนงานบูรณาการขับเคล่ือนเขตพัฒนาพเิ ศษภาคตะวันออก
สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร - 139 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วิเคราะหป์ ระเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
ท้ังน้ี สานักงบประมาณของรัฐสภาได้วเิ คราะหข์ อ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการแลว้ มีความเห็นเพิม่ เติมดังนี้
1. ควรให้หน่วยงานรายงานปัญหาและอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนในการดาเนินงาน รวมถึงแนวทางเพื่อเร่งรัด
การเบิกจ่ายงบประมาณรายการผูกพันเดิมที่เป็นค่าก่อสร้างอาคารสาธารณสุขและสิ่งก่อสร้างประกอบ ท่ีเกิด
จากการเบิกจ่ายงบประมาณที่ไมเ่ ป็นไปตามแผนท่ีกาหนด
2. ควรนาปัจจัยด้านรายได้หรือตัวชี้วัดความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้นของประชาชนในพ้ืนที่ EEC มากาหนด
ความท้าทายในเป้าหมายภาพรวมของแผนงานบรู ณาการฯ ดว้ ย
3. หน่วยงานภายใต้แผนงานบูรณาการฯ หรือหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาพ้ืนที่ EEC
ดาเนินงานในรูปแบบเชิงรับ โดยรอนโยบายหรือข้อมูลจาก สกรศ. และไม่มีช่องทางในการเข้าถึงข้อมูลท่ีเป็น
ปัจจุบันของการดาเนินงาน EEC เพื่อถ่ายทอดความคืบหน้าหรือข้อมูลท่ีถูกต้อง ครบถ้วน และทันสมัยให้กับ
ประชาชนหรอื ภาคเอกชนทม่ี คี วามสนใจขอ้ มูลการพฒั นา EEC
แผนงานบูรณาการขับเคลื่อนเขตพฒั นาพเิ ศษภาคตะวนั ออก
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผ้แู ทนราษฎร - 140 - สานักงบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะห์ประเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่างพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
10. แผนงานบรู ณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์
1. หลักการที่มาของแผนงานบรู ณาการ
แผนงานบูรณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจิสตกิ ส์ มวี ตั ถปุ ระสงค์เพื่อให้ประเทศไทยมีการ
คมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์ที่มีประสิทธิภาพ นาไปสู่การเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและ
ลดต้นทุนโลจิสติกส์ ด้วยการส่งเสริมให้เปล่ียนรูปแบบการขนส่งไปสู่ทางราง ทางน้า และพัฒนาโครงสร้าง
พ้ืนฐานเพ่ือส่งเสริมการขนส่งหลายรูปแบบ ต้ังแต่ต้นน้าเป็นการพัฒนา Hard infrastructure โดยวางแผน
พัฒนาและก่อสร้างโครงสร้างพ้ืนฐาน ทั้งด้านถนน ทางราง ทางน้าและทางอากาศ เพื่อเช่ือมโยงโครงข่าย
คมนาคมในประโครงข่ายคมนาคมในประเทศและในระดับภูมิภาคให้มีความสะดวก รวดเร็ว และมี
ประสทิ ธิภาพ
อีกทั้งพัฒนาด้าน Soft Infrastructure ครอบคลุมท้ังช่วงกลางน้าเพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิมจากโครงสร้าง
พ้ืนฐานท่ีมีระบบการนาเข้า-ส่งออก ที่สามารถอานวยความสะดวกและยกระดับมาตรฐานระบบโลจิสติกส์ท้ัง
ด้านการค้า การนาเข้า-ส่งออก การเดินทางสัญจร โดยพัฒนาระบบการเช่ือมโยงข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
(National Single Window : NSW) สนับสนุนการให้บริการผู้ประกอบการผ่านระบบ NSW ในรูปแบบ B2G
ปรับปรุงประสิทธิภาพการเช่ือมโยงข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์ และปลายน้า ประชาชนจะได้ประโยชน์จากการ
พัฒนาระบบคมนาคมและโลจิสติกส์ ที่สะดวก รวดเร็ว ประหยัดและปลอดภัย รวมท้ังผู้ประกอบการได้รับ
ประโยชน์จากต้นทนุ การขนสง่ ลดลง
2. การเชื่อมโยงยุทธศาสตร์/นโยบาย/วาระแหง่ ชาติ
ยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี : ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 ด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั
แผนพัฒนา ฯ ฉบบั ที่ 12 : ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 7 การพฒั นาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจสิ ตกิ ส์
เป้าหมายที่ 1 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสตกิ ส์ในภาพรวม
เปา้ หมายที่ 2 การพัฒนาโครงสรา้ งพ้นื ฐานดา้ นระบบขนส่ง
เป้าหมายที่ 3 การพฒั นาระบบโลจสิ ตกิ ส์
3. เป้าหมายของแผนงานบรู ณาการ
เป้าหมายที่ 1 โครงข่ายคมนาคมขนส่งมีความสะดวก รวดเรว็ และมปี ระสิทธภิ าพสามารถเชอ่ื มโยง
ภายในประเทศและตา่ งประเทศ
เปา้ หมายท่ี 2 การบริหารจัดการโลจิสตกิ สแ์ ละห่วงโซ่อปุ ทาน และการอานวยความสะดวกทางการคา้
ใหม้ ีประสิทธภิ าพและได้มาตรฐานสากล
4. งบประมาณ
98,384,002,200 บาท
แผนงานบรู ณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ติกส์
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎร - 141 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา
วเิ คราะหป์ ระเด็นข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2562
5. ส่วนราชการ หน่วยงานรับผดิ ชอบดาเนินงานแผนบรู ณาการ
ส่วนราชการ หน่วยงานในกากบั / รฐั วิสาหกิจในกากับ กองทุนและเงินทนุ
องค์การมหาชน หมุนเวียน
หน่วยงานเจา้ ภาพหลกั
สานักงานนโยบายและแผนการขนสง่ และจราจร กระทรวงคมนาคม
1. กรมเจ้าท่า
1. การรถไฟแห่ง
2. กรมการขนสง่ ทางบก ประเทศไทย
3. กรมท่าอากาศยาน 2. การรถไฟฟ้าขนสง่
4. กรมทางหลวง มวลชนแห่งประเทศไทย
5. กรมทางหลวงชนบท
6. สานกั งานนโยบายและแผนการ
ขนส่งและจราจร
6. สรปุ ประเด็นข้อสังเกตคณะกรรมาธิการวสิ ามัญฯ
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ข้อสังเกตของ
คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ของงบประมาณภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนาด้านคมนาคมและระบบ
โลจิสติกส์ 3 ปีย้อนหลัง (ระหว่าง ปีงบประมาณพ.ศ. 2560 - 2562) พบว่ามีประเด็นสาคัญ ท่ี
คณะกรรมาธิการวสิ ามัญฯ ใหค้ วามสาคญั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ดังน้ี
ปี 2562 สรุปประเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
ปี 2561
หนว่ ยงานควรรวมกนั พจิ ารณากาหนดโครงการ/กจิ กรรมในภาพรวม ให้มีการเช่อื มต่อการคมนาคมใน
แต่ละประเภท เพื่อตอบสนองตอ่ ความต้องการในการเดนิ ทางของประชาชนในทุกกลมุ่ และลดตน้ ทุนใน
การขนสง่ สนิ ค้า ใหส้ ามรถเขา้ ถึงระบบการขนส่งไดอ้ ย่างสะดวก ปลอดภัย และเทา่ เทยี มกนั
1) เป้าหมายของแผนงานฯมีจานวนมากและขาดความชัดเจน และไม่ได้บูรณาการอย่างแท้จริง
เนอ่ื งจากเปน็ การรวมภารกจิ ปกติซ่งึ ส่วนใหญ่เปน็ งบประมาณของกระทรวงคมนาคม
2) แผนงานฯเน้นประเด็นการขนส่งสินค้าผ่านด่านทางบกเป็นหลัก ควรดาเนินการควบคุมด่านทางน้า
และทางอากาศ และพัฒนาการเช่ือมโยงข้อมูลเพอื่ ปอ้ งกนั การลักลอบนาสินคา้ ที่เข้ามาโดยไมถ่ กู ต้อง
3) การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยควรเร่งรัดและแก้ไขปัญหาการออกบัตรโดยสารร่วมให้
สามารถใชไ้ ดโ้ ดยเร็ว รวมทัง้ พิจารณาอตั ราค่าโดยสารสาหรบั ผูม้ รี ายได้นอ้ ยเพอ่ื เพมิ่ จานวนผู้โดยสารลด
ปญั หาการขาดทนุ ในบางเสน้ ทาง
แผนงานบูรณาการพฒั นาดา้ นคมนาคมและระบบโลจสิ ตกิ ส์
สานักงานเลขาธกิ ารสภาผูแ้ ทนราษฎร - 142 - สานกั งบประมาณของรัฐสภา