The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการวิเคราะห์งบประมาณกระทรวงการคลัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaipbo.parliament, 2021-12-08 10:56:24

กระทรวงการคลัง

รายงานการวิเคราะห์งบประมาณกระทรวงการคลัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

กระทรวงการคลัง
แผนงานบรหิ ารจัดการหนีภ้ าครัฐ
แผนงานรายจ่ายเพอ่ื ชดใช้เงนิ คงคลัง
แผนงานรายจา่ ยเพอ่ื ชดใช้เงนิ ทนุ สารองจา่ ย

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั หน้า
1
สารบัญ
24
1. ภาพรวมกระทรวง 29
2. แผนงาน 29
2.1 แผนงานบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ
2.2 แผนงานรายจ่ายเพ่ือชดใชเ้ งินคงคลัง 32
2.3 แผนงานรายจา่ ยเพ่ือชดใช้เงนิ ทนุ สารองจ่าย 37
3. การวเิ คราะหร์ ายหนว่ ยงาน 41
3.1 สานักงานปลัดกระทรวงการคลงั 46
3.2 กรมธนารักษ์ 50
3.3 กรมบัญชกี ลาง 54
3.4 กรมศุลกากร 57
3.5 กรมสรรพสามิต 61
3.6 กรมสรรพากร 64
3.7 สานกั งานคณะกรรมการนโยบายรฐั วิสาหกจิ 68
3.8 สานกั งานบรหิ ารหน้ีสาธารณะ 72
3.9 สานักงานเศรษฐกิจการคลงั 79
3.10 สานักงานความร่วมมอื พัฒนาเศรษฐกิจกบั ประเทศเพื่อนบา้ น (องคก์ ารมหาชน) 84
3.11 ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร 92
3.12 ธนาคารออมสนิ 99
3.13 ธนาคารพัฒนาวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย 105
3.14 บรรษทั ประกนั สินเช่ืออตุ สาหกรรมขนาดยอ่ ม 112
3.15 บริษัทบรหิ ารสนิ ทรพั ย์ ธนาคารอสิ ลามแห่งประเทศไทย จากัด 115
3.16 ธนาคารอาคารสงเคราะห์
3.17 กองทุนประชารฐั สวสั ดกิ ารเพอื่ เศรษฐกจิ ฐานรากและสังคม
3.18 กองทนุ การออมแหง่ ชาติ

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า ก

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

กระทรวงการคลงั

ส่วนที่ 1 ภาพรวมกระทรวง

1. วิสัยทัศน์ พนั ธกจิ อานาจหน้าท่ี
- วสิ ัยทศั น์
เสาหลักทางการคลังและเศรษฐกิจ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

- พันธกิจ
1. เสนอแนะนโยบายการคลังและเศรษฐกจิ
2. บริหารการจัดเก็บรายได้ภาครฐั
3. บริหารการเงินแผ่นดนิ
4. บริหารจัดการทรัพย์สนิ ภาครฐั

- ผลสัมฤทธ์แิ ละประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ บั จากการใช้จา่ ยงบประมาณ
กระทรวงการคลังเสนอมาตรการการคลงั และเศรษฐกิจ จัดเก็บรายได้ภาครัฐ บริหารการเงินแผ่นดิน
และบริหารจัดการทรัพย์สินภาครัฐ บริหารการเงินแผ่นดิน และบริหารจัดการทรัพย์สินภาครัฐ เพ่ือสนับสนุน
ศักยภาพและความสามารถในการแข่งขัน ลดความเหล่ือมล้าทางเศรษฐกิจและสังคม และรักษาความยั่งยืน
ทางการคลงั

หมายเหตุ : กระทรวงการคลังมลี กั ษณะพเิ ศษ ดังนี้
1. มหี นว่ ยงานทั้งในส่วนกลาง สว่ นภูมภิ าค และตา่ งประเทศ อยา่ งครบถว้ น
2. นอกเหนอื จากหนา้ ท่ีตามกฎหมายเป็นการเฉพาะแลว้ ยงั มลี ักษณะเปน็ หน่วยงานกลางสาหรบั การกากบั ดแู ลการ

ปฏิบตั หิ น้าทีห่ น่วยงานอ่ืนของรฐั ด้วย เช่น การเบิกจา่ ยงบประมาณ การจดั ซอื้ จัดจ้างภาครัฐการพสั ดภุ าครฐั การกากับดูแลทนุ
หมุนเวยี นและรฐั วสิ าหกจิ การบรหิ ารหน้สี าธารณะ ฯลฯ

3. มีหนว่ ยงานอสิ ระทส่ี าคญั ภายใตก้ ารกากบั ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังทไี่ มไ่ ด้ขอรับงบประมาณแผน่ ดิน
แต่มบี ทบาทต่อการบรหิ ารเศรษฐกจิ มหภาค รวมท้งั การกากบั ธรุ กิจการเงินเพอ่ื ให้มีประสิทธิภาพและการแข่งขันอยา่ งเปน็
ธรรมซงึ่ ได้แก่ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย สานักงานคณะกรรมการกากบั หลกั ทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และสานักงาน
คณะกรรมการกากับและสง่ เสรมิ การประกอบธรุ กจิ ประกนั ภยั

4. เปน็ หน่วยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั สารสนเทศและข้อมลู ขนาดใหญ่ (Big Data) ทัง้ ข้อมูลดา้ นเศรษฐกิจมหภาค การ
เบกิ จา่ ยงบประมาณ ผู้เสียภาษี การประเมนิ ราคาทด่ี ินรายแปลง ฯลฯ จงึ อาจมีจาเปน็ ต่อการขอรับการจัดสรรงบประมาณดา้ น
สารสนเทศคอ่ นขา้ งมาก

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 1

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

2. สรปุ ภาพรวมงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และเงินนอกงบประมาณ

(จาแนกตามหน่วยงาน)

2.1 งบประมาณรายจ่ายประจาปี

หนว่ ย : ลา้ นบาท

หน่วยงาน ปงี บประมาณ เพม่ิ /ลด
2564 2565 จานวน ร้อยละ

รวมทง้ั สน้ิ 416,912.1731 386,800.1031 -30,112.0700 -7.22

สว่ นราชการ 267,852.1233 273,351.5624 5,499.4391 2.05

สนง.ปลัดกระทรวงการคลงั 1,545.7326 1,191.4348 -354.2978 -22.92

กรมธนารักษ์ 3,740.4879 3,858.5233 118.0354 3.16

กรมบญั ชีกลาง 1,604.2498 1,490.2449 -114.0049 -7.11

กรมศลุ กากร 3,958.2968 4,095.2584 136.9616 3.46

กรมสรรพสามติ 2,541.9768 2,194.3170 -347.6598 -13.68

กรมสรรพากร 9,986.0952 9,569.3189 -416.7763 -4.17

สนง.คณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกจิ 174.7235 136.4899 -38.2336 -21.88

สนง.บริหารหน้สี าธารณะ 243,297.3707 249,890.9776 6,593.6069 2.71

สานักงานเศรษฐกจิ การคลงั 1,003.1900 924.9976 -78.1924 -7.79

องคก์ ารมหาชน 588.0536 589.7386 1.6850 0.29

สนง.ความร่วมมอื พฒั นาเศรษฐกจิ กบั ประเทศเพอื่ น 588.0536 589.7386 1.6850 0.29

บ้าน (องคก์ ารมหาชน)

รัฐวสิ าหกจิ 98,365.3751 82,558.8021 -15,806.5730 -16.07

ธ.พฒั นาวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมแหง่ 666.7750 546.5224 -120.2526 -18.03

ประเทศไทย

ธ.เพอ่ื การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร 82,038.4934 70,466.4185 -11,572.0749 -14.11

ธ.ออมสิน 5,498.2882 4,059.3967 -1,438.8915 -26.17

ธ.อาคารสงเคราะห์ 156.3705 67.6074 -88.7631 -56.76

บรรษทั ประกนั สนิ เช่อื อตุ สาหกรรมขนาดย่อม 7,034.4480 5,418.8571 -1,615.5909 -22.97

บริษทั บริหารสนิ ทรัพย์ ธ.อสิ ลามแห่งประเทศไทย 2,971.0000 2,000.0000 -971.0000 -32.68

จากดั

กองทนุ และเงินทนุ หมุนเวยี น 50,106.6211 30,300.0000 -19,806.6211 -39.53

กองทุนการออมแหง่ ชาติ 605.7869 300.0000 -305.7869 -50.48

กองทุนประชารัฐสวัสดกิ ารเพอื่ เศรษฐกจิ ฐานราก 49,500.8342 30,000.0000 -19,500.8342 -39.39

และสังคม

ท่มี า : เอกสารงบประมาณ

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 2

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

2.2 เงนิ นอกงบประมาณ

หนว่ ย : ล้านบาท

หน่วยงาน ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565
เงินนอกฯ เงินนอกฯ
รวมทง้ั สน้ิ งปม. 11,415.2860 สดั สว่ น งปม. 10,320.0205 สดั สว่ น งปม. เงินนอกฯ สดั สว่ น
สว่ นราชการ 392,956.3293 7,167.0558 0.03 416,912.1731 6,393.2475 0.02
สนง.ปลดั กระทรวงการคลัง 248,364.0258 - 0.03 267,852.1233 - 0.02 386,800.1031 10,488.2388 0.03
กรมธนารักษ์ 585.0000 - 625.0000 -
กรมบัญชีกลาง 1,664.9305 - 0.16 1,545.7326 - 0.17 273,351.5624 6,710.6242 0.02
กรมศลุ กากร 3,769.7021 549.7929 - 3,740.4879 643.2475 -
กรมสรรพสามติ 2,018.7857 3,138.0000 0.15 1,604.2498 2,638.0000 0.16 1,191.4348 --
กรมสรรพากร 3,600.1545 2,856.0000 1.30 3,958.2968 2,487.0000 1.04
สนง.คณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกจิ 2,420.7777 - 0.29 2,541.9768 - 0.25 3,858.5233 650.0000 0.17
สนง.บริหารหนี้สาธารณะ 9,813.7260 - - 9,986.0952 - -
สานักงานเศรษฐกจิ การคลงั 125.6961 38.2629 - 174.7235 - - 1,490.2449 --
องคก์ ารมหาชน 222,221.0059 800.1496 0.01 243,297.3707 1,889.5319 -
สนง.ความร่วมมอื พฒั นาเศรษฐกจิ กบั ประเทศเพอ่ื น 2,729.2473 800.1496 0.96 1,003.1900 1,889.5319 4,095.2584 773.0242 0.19
บา้ น (องคก์ ารมหาชน) 837.3226 0.96 588.0536 3.21
รฐั วสิ าหกจิ 837.3226 588.0536 2,194.3170 2,803.6000 1.28
ธ.พฒั นาวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมแหง่
ประเทศไทย 9,569.3189 2,484.0000 0.26
ธ.เพอ่ื การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร
ธ.ออมสนิ 136.4899 --
ธ.อาคารสงเคราะห์
บรรษทั ประกนั สินเช่ืออตุ สาหกรรมขนาดย่อม 249,890.9776 --
บริษทั บริหารสนิ ทรัพย์ ธ.อสิ ลามแหง่ ประเทศไทย
จากดั 924.9976 --
กองทนุ และเงินทนุ หมุนเวียน
กองทุนการออมแห่งชาติ 589.7386 1,126.8038
กองทนุ ประชารัฐสวสั ดกิ ารเพอื่ เศรษฐกจิ ฐานราก
และสังคม 589.7386 1,126.8038 1.91

ทม่ี า : เอกสารงบประมาณ 103,274.0514 3,448.0806 0.03 98,365.3751 2,037.2411 0.02 82,558.8021 2,650.8108 0.03
1,386.7491 -- 666.7750 - - 546.5224 - -

89,819.7587 - - 82,038.4934 - - 70,466.4185 - -
5,045.4393 - - 4,059.3967 - -
148.3900 -- 5,498.2882 - - - -
4,073.7143 2,037.2411 0.29 67.6074 2,650.8108 0.49
2,800.0000 -- 156.3705 - - 5,418.8571 - -
2,000.0000
3,448.0806 0.85 7,034.4480

-- 2,971.0000

40,480.9295 - - 50,106.6211 -- 30,300.0000 --
480.9295 -- 300.0000 --
-- 605.7869 -- --
40,000.0000 30,000.0000
- - 49,500.8342

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 3

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

3. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (จาแนกตามงบรายจา่ ย)

หนว่ ย : ล้านบาท

หน่วยงาน งบบคุ ลากร งบดาเนินการ งบลงทนุ งบเงินอดุ หนนุ งบรายจา่ ยอน่ื เงินนอก งปม. รวม

รวมทงั้ สนิ้ 12,977.5383 5,123.9090 3,875.5655 594.9465 364,228.1438 10,488.2388 397,288.3419
สว่ นราชการ 12,977.5383 5,123.9090 3,875.5655 3.4741 251,371.0755 6,710.6242 280,062.1866
สนง.ปลดั กระทรวงการคลงั -
กรมธนารักษ์ 120.2080 173.6474 588.7888 - 308.7906 - 1,191.4348
กรมบัญชกี ลาง 700.1193 2,740.1708 418.2332 - - 650.0000 4,508.5233
กรมศลุ กากร 879.6488 246.3447 198.6453 1.4499 1,490.2449
กรมสรรพสามติ 1,918.4762 667.8526 1,507.4797 2.0242 165.6061 - 4,868.2826
กรมสรรพากร 1,498.4670 111.0026 177.7484 - - 773.0242 4,997.9170
สนง.คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกจิ 7,575.5381 1,069.5840 899.1968 - 2,803.6000 12,053.3189
สนง.บริหารหนสี้ าธารณะ 69.9978 23.2664 - 405.0748 2,484.0000 136.4899
สานักงานเศรษฐกจิ การคลัง 72.0892 39.2257 16.7218 - 25.0000 249,890.9776
องคก์ ารมหาชน 142.9939 25.7281 45.4851 4.0000 - 924.9976
สนง.ความร่วมมอื พฒั นาเศรษฐกจิ กบั ประเทศเพอื่ น 50.3531 589.7386 249,776.4385 - 1,716.5424
บา้ น (องคก์ ารมหาชน) - - 589.7386 686.1655 - 1,716.5424
รฐั วสิ าหกจิ - - - 1,126.8038
ธ.พฒั นาวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมแห่ง - - 1,126.8038
ประเทศไทย -
ธ.เพอ่ื การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร
ธ.ออมสิน --- 1.7338 82,557.0683 2,650.8108 85,209.6129
ธ.อาคารสงเคราะห์ --- - 546.5224 - 546.5224
บรรษทั ประกนั สนิ เชื่ออตุ สาหกรรมขนาดย่อม
บริษทั บริหารสินทรัพย์ ธ.อสิ ลามแหง่ ประเทศไทย --- 1.7338 70,464.6847 - 70,466.4185
จากดั --- - 4,059.3967 - 4,059.3967
กองทนุ และเงินทนุ หมุนเวียน --- - 67.6074 -
กองทุนการออมแห่งชาติ --- - 5,418.8571 2,650.8108 67.6074
กองทุนประชารัฐสวสั ดกิ ารเพอ่ื เศรษฐกจิ ฐานราก --- - 2,000.0000 - 8,069.6679
และสงั คม 2,000.0000

ท่ีมา : เอกสารงบประมาณ --- - 30,300.0000 - 30,300.0000
--- - 300.0000 - 300.0000
--- - 30,000.0000 - 30,000.0000

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 4

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

4. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (จาแนกตามแผนงาน)

หนว่ ย : ลา้ นบาท

หน่วยงาน แผนงาน แผนงานพน้ื ฐาน แผนงานยทุ ธศาสตร์ แผนงานบรู ณาการ แผนงานบรหิ าร รวม รวม (ยกเวน้
บคุ ลากรภาครัฐ จดั การหนภี้ าครัฐ แผนงานบคุ ลากรฯ)
รวมทง้ั สน้ิ
สว่ นราชการ 13,115.8769 2,303.5586 94,052.4834 71.3500 277,256.8342 386,800.1031 373,684.2262
สนง.ปลัดกระทรวงการคลงั
กรมธนารักษ์ 13,115.8769 2,303.5586 8,390.4785 71.3500 249,470.2984 273,351.5624 260,235.6855
กรมบญั ชีกลาง
กรมศลุ กากร 121.4626 568.7616 501.2106 - - 1,191.4348 1,069.9722
กรมสรรพสามติ
กรมสรรพากร 709.7696 550.2889 2,529.9648 68.5000 - 3,858.5233 3,148.7537
สนง.คณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกจิ
สนง.บริหารหนีส้ าธารณะ 885.2997 - 604.9452 - - 1,490.2449 604.9452
สานักงานเศรษฐกจิ การคลัง
องคก์ ารมหาชน 1,940.8422 - 2,154.4162 - - 4,095.2584 2,154.4162
สนง.ความร่วมมอื พฒั นาเศรษฐกจิ กบั ประเทศ
เพอื่ นบา้ น (องคก์ ารมหาชน) 1,517.9538 - 676.3632 - - 2,194.3170 676.3632
รฐั วสิ าหกจิ
ธ.พฒั นาวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมแห่ง 7,646.1904 - 1,920.2785 2.8500 - 9,569.3189 1,923.1285
ประเทศไทย
ธ.เพอื่ การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร 70.4718 66.0181 - -- 136.4899 66.0181
ธ.ออมสนิ
ธ.อาคารสงเคราะห์ 72.3690 345.0102 3.3000 - 249,470.2984 249,890.9776 249,818.6086
บรรษทั ประกนั สนิ เชอ่ื อตุ สาหกรรมขนาดย่อม
บริษทั บริหารสนิ ทรัพย์ ธ.อสิ ลามแห่งประเทศไทย 151.5178 773.4798 924.9976 773.4798
จากดั
กองทนุ และเงินทนุ หมุนเวยี น - - 589.7386 - - 589.7386 589.7386
กองทุนการออมแหง่ ชาติ
กองทนุ ประชารัฐสวสั ดกิ ารเพอ่ื เศรษฐกจิ ฐานราก 589.7386 589.7386 589.7386
และสังคม
- - 54,772.2663 - 27,786.5358 82,558.8021 82,558.8021
ท่ีมา : เอกสารงบประมาณ 546.5224
546.5224 546.5224

42,679.8827 27,786.5358 70,466.4185 70,466.4185
4,059.3967 4,059.3967 4,059.3967

67.6074 67.6074 67.6074
5,418.8571 5,418.8571 5,418.8571
2,000.0000 2,000.0000 2,000.0000

- - 30,300.0000 - - 30,300.0000 30,300.0000
300.0000 300.0000 300.0000

30,000.0000 30,000.0000 30,000.0000

สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 5

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

5. งบประมาณแผนงานบรู ณาการ ปงี บประมาณ หนว่ ย : ลา้ นบาท
2564 2565
แผนงานบรู ณาการ เพมิ่ /ลด

แผนงานบรู ณาการรัฐบาลดจิ ิทลั จานวน รอ้ ยละ
- กรมธนารักษ์
- กรมสรรพากร - 68.5000 68.5000 100.0

ทม่ี า : เอกสารงบประมาณ - 2.8500 2.8500 100.0

6. รายการผูกพนั หน่วย : ล้านบาท

หน่วยงาน จานวนรายการ 2565 2566 ปงี บประมาณ 2568-จบ รวม เงนิ นอกฯ
4,067.8986 4,192.8793 2567 42,916.2648 54,471.7072
สว่ นราชการ 44 1,775.9997
สนง.ปลัดกระทรวงการคลงั 4 397.5082 193.6494 3,294.6645 1.5772 593.8742 -
กรมธนารักษ์ 18 2,586.4664 2,610.8353 1.1394 42,583.1728 50,567.2698 -
กรมบัญชีกลาง 2 -
กรมศลุ กากร 9 2.6128 2.6128 2,786.7953 - 5.2256
กรมสรรพสามติ 3 763.2532 961.3305 - 330.2188 2,489.9399 1,775.9997
กรมสรรพากร 5 56.9729 118.5260 -
สนง.คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกจิ 3 258.9023 304.8885 435.1374 - 194.0249 -
18.5260 - 615.8204 -
ที่มา : เอกสารงบประมาณ 2.1828 1.0368 52.0296 1.2960
1.0368 5.5524

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 6

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

7. ผลการเบกิ จ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 5 ปยี อ้ นหลงั (พ.ศ. 2560 – 2564)

หนว่ ย : ลา้ นบาท

หนว่ ยงาน ปี 2560 (ณ 30 ก.ย. 60) ปี 2561 (ณ 30 ก.ย. 61) ปี 2562 (ณ 30 ก.ย. 62)

งปม. หลงั โอน เบกิ จ่าย % งปม. หลงั โอน เบิกจ่าย % งปม. หลงั โอน เบิกจ่าย %

สว่ นราชการ

สนง.ปลัดกระทรวงการคลัง 711.62 646.51 90.9 975.81 846.80 86.8 1,377.58 1,113.89 80.9

กรมธนารักษ์ 3,474.89 3,395.22 97.7 3,427.22 3,393.06 99.0 3,749.29 3,683.88 98.3

กรมบัญชีกลาง 1,419.40 1,297.22 91.4 1,484.33 1,449.52 97.7 1,861.82 1,514.01 81.3

กรมศลุ กากร 3,842.45 3,236.43 84.2 4,449.16 3,489.70 78.4 4,344.43 3,874.40 89.2

กรมสรรพสามติ 2,784.37 2,400.71 86.2 2,549.61 2,414.76 94.7 2,611.14 2,399.52 91.9

กรมสรรพากร 9,747.99 9,477.20 97.2 9,335.72 9,000.28 96.4 9,557.89 9,338.15 97.7

สนง.คณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกจิ 143.49 134.84 94.0 140.64 135.85 96.6 150.92 144.74 95.9

สนง.บริหารหนีส้ าธารณะ 193,141.08 193,126.98 100.0 213,662.55 213,648.31 100.0 216,660.00 216,650.93 100.0

สานักงานเศรษฐกจิ การคลงั 2,318.09 2,290.18 98.8 2,247.18 2,221.73 98.9 2,139.56 2,096.96 98.0

องคก์ ารมหาชน

สนง.ความร่วมมอื พฒั นาเศรษฐกจิ กบั ประเทศเพอ่ื น 227.35 227.35 100.0 78.06 78.06 100.0 741.58 741.58 100.0

บ้าน (องคก์ ารมหาชน)

รัฐวิสาหกจิ

ธ.พฒั นาวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมแหง่ 180.29 180.29 100.0 162.98 162.98 100.0 492.52 492.52 100.0

ประเทศไทย

ธ.เพอื่ การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร 66,019.35 66,019.35 100.0 72,254.42 72,254.42 100.0 79,595.40 79,595.40 100.0

ธ.ออมสิน 3,111.08 3,111.08 100.0 5,649.88 5,241.54 92.8 5,931.11 5,715.34 96.4

ธ.อาคารสงเคราะห์ - -- - -- - --

บรรษทั ประกนั สินเช่อื อตุ สาหกรรมขนาดย่อม 5,959.62 5,959.62 100.0 4,475.55 4,475.55 100.0 4,888.48 4,888.48 100.0

บริษทั บริหารสินทรัพย์ ธ.อสิ ลามแห่งประเทศไทย - -- - -- 775.17 775.17 100.0

จากดั

กองทนุ และเงินทนุ หมุนเวยี น

กองทุนการออมแห่งชาติ 645.99 645.99 100.0 144.63 144.63 100.0 299.62 299.62 100.0

กองทุนประชารัฐสวสั ดกิ ารเพอ่ื เศรษฐกจิ ฐานราก - - - 62,603.01 62,603.01 100.0 40,000.00 40,000.00 100.0

และสงั คม

ที่มา : กรมบัญชีกลาง

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 7

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

หนว่ ย : ล้านบาท

หน่วยงาน ปี 2563 (ณ 30 ก.ย. 63) ปี 2564 (ณ 31 ม.ี ค. 64)

สว่ นราชการ งปม. หลงั โอน เบิกจ่าย % งปม. หลังโอน เบิกจ่าย %
สนง.ปลัดกระทรวงการคลงั
กรมธนารักษ์ 1,633.58 1,399.21 85.7 1,545.73 438.20 28.3
กรมบญั ชกี ลาง 3,733.76 3,673.22 98.4 3,740.49 3,004.38 80.3
กรมศลุ กากร 1,988.82 1,449.14 72.9 1,604.25 34.3
กรมสรรพสามติ 3,584.06 3,216.14 89.7 3,958.30 550.36 35.1
กรมสรรพากร 2,356.23 2,169.88 92.1 2,541.98 1,390.99 36.7
สนง.คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกจิ 9,616.01 9,420.31 98.0 9,986.10 44.7
สนง.บริหารหน้ีสาธารณะ 94.0 933.99 25.1
สานักงานเศรษฐกจิ การคลงั 124.55 117.03 100.0 174.72 4,459.16 59.4
องคก์ ารมหาชน 186,635.69 186,619.40 97.5 243,297.37 75.4
สนง.ความร่วมมอื พฒั นาเศรษฐกจิ กบั ประเทศเพอ่ื น 43.90
บ้าน (องคก์ ารมหาชน) 2,720.52 2,652.36 1,003.19 144,428.53
รฐั วสิ าหกจิ
ธ.พฒั นาวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมแห่ง 756.77
ประเทศไทย
ธ.เพอ่ื การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร 837.32 837.32 100.0 588.05 588.05 100.0
ธ.ออมสิน
ธ.อาคารสงเคราะห์ 1,386.75 1,386.75 100.0 666.78 666.78 100.0
บรรษทั ประกนั สินเช่ืออตุ สาหกรรมขนาดย่อม
บริษทั บริหารสนิ ทรัพย์ ธ.อสิ ลามแห่งประเทศไทย 89,819.76 89,819.76 100.0 82,038.49 79,658.49 97.1
จากดั 5,045.44 4,932.61 97.8 5,498.29 5,226.21 95.1
กองทนุ และเงินทนุ หมุนเวยี น 63.4 78.6
กองทุนการออมแห่งชาติ 148.39 94.10 100.0 156.37 122.95 100.0
กองทนุ ประชารัฐสวัสดกิ ารเพอ่ื เศรษฐกจิ ฐานราก 4,073.71 4,073.71 100.0 7,034.45 7,034.45 100.0
และสงั คม 2,800.00 2,800.00 2,971.00 2,971.00

ทีม่ า : กรมบัญชีกลาง 480.93 480.93 100.0 605.79 454.34 75.0
40,000.00 40,000.00 100.0 49,500.83 24,750.42 50.0

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 8

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

8. เงนิ กันไวเ้ บกิ เหลอ่ื มปีและขยายระยะเวลาเบกิ จ่าย

หนว่ ย : ลา้ นบาท

เงินกนั ไว้เบกิ เหลอื่ มปี ณ 31 มี.ค. 64
คงเหลอื เงินกนั
รวมเงินกนั เบกิ จา่ ยเหลอื่ มปี
สะสม เงินกนั ฯ กรณีมี เงินกนั ฯ อยรู่ ะหวา่ ง
หนว่ ยงาน
หนผ้ี กู พัน กรณีไม่ ดาเนนิ การ

มีหนผี้ กู พนั

รวม 1,105.73 1,102.64 1.36 - 1.72

สนง.ปลดั กระทรวงการคลงั 131.00 130.83 - - 0.17

กรมธนารักษ์ 14.17 13.92 0.25 - -

กรมบญั ชีกลาง 380.41 379.34 1.06 - 0.01

กรมศลุ กากร 157.47 157.43 - - 0.04

กรมสรรพสามิต 169.73 169.01 0.00 - 0.72

กรมสรรพากร 195.67 194.86 0.04 - 0.77

สนง.คณะกรรมการนโยบายรัฐวสิ าหกจิ 3.49 3.49 - - -

สนง.บรหิ ารหนส้ี าธารณะ 3.34 3.32 - - 0.02

สานักงานเศรษฐกจิ การคลงั 50.45 50.45 - - -

สนง.ความรว่ มมือพฒั นาเศรษฐกจิ กบั ประเทศ -----

เพอ่ื นบา้ น (องคก์ ารมหาชน)

ทม่ี า : กรมบัญชกี ลาง

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 9

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

9. ประเด็นขอ้ สงั เกตของกรรมาธกิ ารฯ ที่สาคัญในปที ่ผี า่ นมา

สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ศึกษา รวบรวม และจัดหมวดหมู่ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ

วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564 สภา

ผู้แทนราษฎร และข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณ

รายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 – 2564 วุฒิสภา พบว่า มีประเด็นท่ีเกี่ยวกับการดาเนินงานภายใต้

ภารกจิ ของกระทรวงการคลงั ซึง่ คณะกรรมาธิการให้ความสาคัญ ดังนี้

ประเด็นขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ฯ ปี 2563 ปี 2564
ส.ส. ส.ว. ส.ส. ส.ว.

ประเด็นที่ 1 : โครงการตามนโยบายรัฐ เพอื่ ช่วยเหลือประชาชน ผู้มีรายได้น้อย

เกษตรกร และวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

- กระทรวงการคลังควรจัดทารายงานแสดงข้อมูลหนี้ค้างจ่ายของหน่วยรับ /

งบประมาณท่ีไม่ถูกนบั รวมเป็นหน้ีสาธารณะตามกฎหมาย ซ่ึงเปน็ หน้ที ่เี กดิ จาก

การทรี่ ฐั บาลมอบหมายให้หน่วยงานดาเนินการตามนโยบาย เพ่ือประกอบการ

พิจารณาของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ เชน่ หนคี้ า้ งจ่ายของรัฐบาลต่อสถาบัน

การเงนิ เฉพาะกิจ และหนี้คา้ งจ่ายของรัฐบาลต่อกองทนุ ประกนั สังคม เป็นตน้

- กระทรวงการคลังควรให้การสนบั สนุนโดยใช้หลกั สทิ ธิเสมอภาคในการ /

สนับสนนุ เงินเยียวยาตามนโยบายของรัฐ ไม่ควรใหป้ ระชาชนต้องลาบากเดือดรอ้ น

หรอื แสดงความยากจนก่อนท่ีจะได้รับความชว่ ยเหลอื จากภาครัฐเพราะอาจมคี ่า

บริหารจดั การมากกวา่ การให้สิทธิเสมอภาค เป็นการสร้างกาลงั ซือ้ ให้กับประชาชน

ซง่ึ เปน็ การกระตุ้นเศรษฐกจิ รูปแบบหน่งึ

- กระทรวงการคลงั ควรเร่งรัดการจดั ทาฐานข้อมูลเพื่อประโยชนใ์ นการดาเนนิ /

มาตรการทางการคลัง โดยเชอ่ื มโยงระบบฐานขอ้ มูลหนว่ ยงานของรัฐในลกั ษณะ

ฐานขอ้ มลู กลาง ทค่ี รอบคลมุ ขอ้ มลู ความจาเป็นพนื้ ฐานของครวั เรอื นหรอื กลุ่มของ

ผู้มีรายได้นอ้ ย เพ่ือนาไปสู่การดาเนนิ นโยบาย ทเี่ หมาะสม และการให้

ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายทสี่ อดคล้องกับกลุ่มเป้าหมายมากย่งิ ขนึ้ อีกท้งั ควรจดั

ระเบยี บข้อมูลท่ีมีอยู่อย่างกระจดั กระจายเพ่ือป้องกนั มใิ ห้เกดิ การตกหล่นหรือ

ซา้ ซอ้ น โดยตอ้ งจดั ทาขอ้ มลู ใหม้ ีความเปน็ ปจั จุบันเพ่ือมิใหเ้ กดิ ข้อผดิ พลาด

นอกจากน้ี การจัดทาระบบการลงทะเบียนเพือ่ รับการช่วยเหลือจากรัฐจะต้อง

พจิ ารณาให้ครอบคลมุ ถึงประชาชนที่อยู่ในพนื้ ทห่ี ่างไกล และมุ่งเนน้ ถึงคุณภาพ

ของขอ้ มูลใหม้ คี วามถกู ต้อง เพือ่ ใหส้ ามารถตรวจสอบสิทธิของประชาชนดังกล่าว

ได้ พร้อมกับมแี นวทางการแก้ไขปัญหาในกรณีท่ปี ระชาชนตกสารวจหรือไม่มี

คุณสมบัติตามท่ีกาหนดจากข้อมูลที่มีอยู่ และควรเพิ่มศักยภาพของบุคลากรใน

ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อใหส้ ามารถวเิ คราะห์ข้อมูลขนาดใหญไ่ ด้

- ธนาคารเพ่อื การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตรควรสนับสนนุ ทุนให้กับเกษตรกร /

เพ่ือนางบประมาณไปซื้ออปุ กรณป์ จั จยั การผลิตโดยเรว็ เพราะปจั จบุ ันหนว่ ยงานจะ

จ่ายเงินสนับสนนุ ให้เกษตรกรหลังจากฤดูเกบ็ เก่ยี วพืชผลผ่านพน้ ไปแล้ว ซงึ่ อาจไม่

ทันการณ์และไม่สามารถช่วยเหลอื แกป้ ัญหาใหเ้ กษตรกรได้

สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 10

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

ประเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ฯ ปี 2563 ปี 2564
ส.ส. ส.ว. ส.ส. ส.ว.

- ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรควรทบทวนอัตราดอกเบย้ี ของ / / /

ธนาคารจากปัจจบุ ัน ซงึ่ อัตราดอกเบีย้ อย่ทู ่รี ้อยละ 6.5 ให้ลดตา่ ลง เพอื่ เปน็ การ

ชว่ ยเหลอื เกษตรกร

- ธนาคารออมสนิ ควรมีการบูรณาการกับหนว่ ยงานอืน่ เพ่ือแก้ปัญหาหนน้ี อก /

ระบบเชอื่ มโยงขอ้ มูลกับศนู ย์ดารงธรรม เมอื่ ได้รับการร้องเรียนจากประชาชนใน

เรื่องปญั หาหน้นี อกระบบ

- ธนาคารออมสนิ ควรที่จะพิจารณาทบทวนหลักเกณฑก์ ารขอกู้เงินของประชาชน /

และผู้ประกอบการรัฐวิสาหกิจชมุ ชนขนาดกลางและขนาดเล็กใหม่ เพื่อใหส้ ามารถ

ช่วยเหลอื ประชาชนและผปู้ ระกอบการทีเ่ ดือดรอ้ นอย่างแทจ้ ริงได้

- บรรษทั ประกนั สนิ เช่อื อตุ สาหกรรมขนาดย่อมควรมกี ารเพ่ิมสดั สว่ นในโครงการ /

ค้าประกันสินเช่ือระยะท่ี 9 (PGS 9) วงเงิน 200,000 ลา้ นบาท เนื่องจากผลกระทบ

ทางเศรษฐกจิ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019

- สานกั งานเศรษฐกิจการคลังควรกาหนดแนวทางหรอื มาตรการเพื่อให้ประชาชน /

สามารถเขา้ ถงึ แหลง่ เงินทนุ ของหน่วยงานรฐั ท้งั นี้ เพอ่ื ใหป้ ระชาชนมีศักยภาพใน

การแข่งขนั และสามารถพึ่งพาตนเองได้ ซ่งึ เปน็ แนวทางขับเคลือ่ นทีส่ อดคล้องกบั

แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติในประเดน็ เศรษฐกจิ ฐานรากท่ีมุ่งเนน้ ด้านการ

สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ที่จะก่อให้เกิดการยกระดบั มาตรฐาน

การครองชีพและความเป็นอยู่ของประชาชนใหด้ ีข้ึน

- ธนาคารพัฒนาวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทยควรมี / /

แผนงานหรือโครงการในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

เพื่อใหส้ ามารถเข้าถงึ แหลง่ เงินทุนได้อย่างเปน็ รปู ธรรม โดยมีการบรู ณาการ

รว่ มกบั หนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้องท่ีมีภารกิจในลกั ษณะทานองเดียวกนั เชน่ บรรษัท

ประกนั สนิ เช่อื อุตสาหกรรม ธนาคารออมสนิ เปน็ ต้น

- ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ควรกาหนดกลุ่มเปา้ หมายใน /

การดาเนินการตามแผนงานหรอื โครงการให้มีความชดั เจน และพิจารณาวา่

แผนงานหรอื โครงการดังกล่าวกาหนดแนวทางในการสร้างรายไดข้ องเกษตรกร

ได้มากน้อยเพยี งใด ท้งั นี้ เพื่อให้สามารถตดิ ตามและประเมินผลเพอื่ ให้เกดิ การ

พัฒนาของผู้เข้ารว่ มแผนงานหรือโครงการดงั กล่าว ตลอดจนควรมีการเตรียม

ความพร้อมในการรับมือจากกรณโี ครงสร้างของกลมุ่ ลกู คา้ ทจ่ี ะเปลยี่ นแปลงไป

เชน่ เปน็ กล่มุ ผสู้ ูงอายมุ ากขนึ้ จานวนลูกคา้ ทีล่ ดลง เปน็ ต้น รวมทง้ั ควรมีการ

กาหนดแผนงานและโครงการในการสร้างและพัฒนาลูกค้าของธนาคารเพื่อ

ยกระดบั ให้ไปสู่การทาธรุ กิจหรือมีการส่งเสริมสนับสนุนให้คนรุ่นใหมเ่ ขา้ มาอยู่ใน

ภาคการเกษตรมากขึน้

- ธนาคารออมสินควรกาหนดมาตรการในการใหส้ นิ เช่อื แกผ่ ้ปู ระกอบการและ /

ประชาชนท่มี รี ายได้ต่ารวมท้งั กาหนดแนวทางการบรหิ ารความเส่ียงเพื่อมใิ หเ้ กดิ

หน้ีท่ไี ม่กอ่ ให้เกิดรายได้ (Non Performing Loans: NPLs) ตลอดจนควร

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 11

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

ประเดน็ ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ฯ ปี 2563 ปี 2564
ส.ส. ส.ว. ส.ส. ส.ว.

กาหนดใหม้ ีมาตรการในการใหส้ ินเช่อื เพ่ือใหเ้ กิดการพฒั นาเศรษฐกจิ อยา่ งต่อเนอื่ ง

ท้ังในระยะสน้ั และระยะยาว อีกทั้งควรคงหลักการในเร่ืองการปลกู ฝงั สร้างและ

ส่งเสรมิ การออมเงนิ ของเด็กและเยาวชนดว้ ยวิธกี ารการออมประเภทตา่ ง ๆ และ

ช้ใี หเ้ หน็ ถงึ ประโยชน์ของการออมเงินดว้ ย

- ธนาคารอาคารสงเคราะหค์ วรมีนโยบายในการจดั ทาโครงการที่เกยี่ วข้องกับการ /

ดูแลและซ่อมแซมท่ีอยอู่ าศัย เพอ่ื อานวยความสะดวกใหแ้ ก่ลูกคา้ ของธนาคาร

โดยประสานความรว่ มมือกับหน่วยงานหรือสถาบนั การศึกษาเพื่อให้คาปรึกษา

หรือดาเนนิ การในการพัฒนาประสทิ ธภิ าพเพ่ือประโยชนผ์ ู้มาใชบ้ ริการ

ประเดน็ ท่ี 2 : การจดั เก็บรายได้ ประมาณการรายได้ และนโยบายภาษี

- กระทรวงการคลังควรแก้ปัญหาการประมาณการรายได้ของทอ้ งถ่ินที่ไม่เป็น /

ตามเป้าหมายทุกปตี ่อเนื่องมาเป็นระยะเวลา 5 ปี แลว้ ซึง่ ส่งผลกระทบต่อสัดส่วน

รายได้ทีม่ ีการจัดสรรใหก้ ับท้องถน่ิ

- กระทรวงการคลังควรแกป้ ัญหาทีเ่ กิดจากนโยบายของรฐั ในการลดอัตราการ //

จัดเก็บภาษีที่ดินซ่ึงเปน็ รายได้ของทอ้ งถิน่ ลงรอ้ ยละ 90 และใหท้ อ้ งถ่ินนาเงนิ

สะสมมาใช้แทนเงินชดเชย โดยจัดวงเงนิ จัดสรรตามความเหมาะสม

- กระทรวงการคลังควรกาหนดแนวทางการเพิม่ ประสิทธิภาพการจัดเกบ็ รายได้ /

เนอ่ื งจากการจัดเกบ็ รายได้ของรัฐบาลไมเ่ ปน็ ไปตามประมาณการรายรบั ในปี

พ.ศ. 2563 รวมทัง้ พิจารณาทบทวนหลักเกณฑ์ วิธีการ หรอื เงอื่ นไขในการบรหิ าร

จดั การเงนิ สะสมท่ีมีเหลืออยู่ในหน่วยงานตา่ ง ๆ มาสมทบงบประมาณรายจา่ ย

ประจาปี ซึ่งจะเป็นการชว่ ยเหลือและบรรเทาในกรณีการจัดเก็บรายได้ของรฐั บาล

ไมเ่ ปน็ ไปตามเป้าหมาย

- กรมสรรพสามติ ควรศึกษาและแก้ไขปัญหาผลกระทบจากการออก //

พระราชบญั ญตั ิเก็บภาษยี าสูบ พ.ศ. 2560 ที่สง่ ผลให้ยาสูบไทยท่ีผลิตจาก

โรงงานยาสบู ของกระทรวงการคลังต้องสญู เสยี ส่วนแบ่งการตลาดให้กับบุหร่ี

นาเขา้ จากต่างประเทศท่ตี ้งั ราคาจาหน่ายตา่ กว่าปกติ ทาให้รัฐสูญเสียรายได้

ทาให้ประเทศต้องเสียดุลการชาระเงินใหก้ ับต่างประเทศ และทาใหโ้ รงงานยาสูบ

และเกษตรกรชาวไร่ยาสูบเดือดร้อน

- กรมสรรพากรควรมีการประชาสมั พนั ธว์ ธิ ีการจัดเก็บภาษี e-service ของ /

กรมสรรพากร ให้กบั ประชาชนทราบอยา่ งท่วั ถงึ

- กรมสรรพากร กรมศุลกากร และกรมสรรพสามติ ควรพจิ ารณาถงึ ความเปน็ ไป /

ไดใ้ นการนาข้อมูลสว่ นบคุ คลทม่ี อี ยู่ในความครอบครองของหน่วยงานตา่ ง ๆ มาใช้

ประโยชนใ์ นการจดั เกบ็ ภาษขี องรัฐ ซ่งึ ทผ่ี า่ นมา พบวา่ มปี ระเด็นปัญหาเก่ยี วกบั

การตีความบทบญั ญตั ิแห่งพระราชบญั ญัติคุ้มครองข้อมลู ส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

ของหนว่ ยงานท่ีเกย่ี วข้องว่า สามารถกระทาได้หรือไม่ โดยพจิ ารณาขอ้ ยกเว้นใน

การใชบ้ งั คับพระราชบญั ญตั ดิ ังกลา่ วตามความในมาตรา 4 (2) ซงึ่ มใิ ห้ใชบ้ งั คับกับ

ในกรณีทีเ่ ปน็ การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐทมี่ หี น้าท่ีรกั ษาความมัน่ คงของ

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 12

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

ประเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ฯ ปี 2563 ปี 2564
ส.ส. ส.ว. ส.ส. ส.ว.

รัฐ รวมถงึ ความม่ันคงทางการคลังของรัฐ หรือการรักษาความปลอดภัยของ

ประชาชน ดงั นั้น จึงควรมีการจัดตง้ั คณะกรรมการบรู ณาการเก่ียวกับการจดั เกบ็

รายไดภ้ าครฐั รว่ มกนั ระหว่างกรมสรรพากร กรมศุลกากร กรมสรรพสามิต และ

หนว่ ยงานท่เี กยี่ วข้อง อาทิ กระทรวงดิจิทัลเพ่อื เศรษฐกิจและสังคม ใหเ้ กิดความ

ชัดเจนและเป็นประโยชน์ในส่วนทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การจดั เกบ็ ภาษตี อ่ ไป

- กรมสรรพสามิตควรพิจารณาถึงแนวทางการจดั เกบ็ ภาษรี ถยนตแ์ บบพลงั งาน /

ไฟฟ้า (Electric Powered Vehicle) ให้มีความเหมาะสมและชัดเจน เพอื่ ให้

ประชาชนมขี อ้ มลู ประกอบการตดั สนิ ใจหรอื การวางแผนได้ถูกทิศทาง และเป็น

การส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนสามารถเลือกใช้พลังงานสะอาดที่เป็นมติ รต่อสง่ิ แวดล้อม

รวมทง้ั ควรมกี ารกาหนดนโยบายส่งเสริมการใช้รถยนต์แบบพลังงานไฟฟา้ ทีช่ ดั เจน

- กรมสรรพากรควรพิจารณาแนวทางการขยายฐานการจดั เกบ็ ภาษเี งนิ ไดบ้ คุ คล /

ธรรมดาโดยวธิ ีประเมินเงนิ ได้จากคา่ เพ่มิ ทรัพย์สินสทุ ธิ สาหรบั ผ้ทู ่ีไม่ไดย้ น่ื แบบ

เสยี ภาษีหรอื ยื่นเสียภาษตี า่ กว่าความเป็นจรงิ โดยหาหลักฐานไดจ้ ากขอ้ มลู ของ

หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ของรฐั รฐั วสิ าหกจิ หรือหนว่ ยงานเอกชนอ่ืนทีส่ บื คน้ ไดจ้ าก

หมายเลขบตั รประชาชน เชน่ บ้าน ทดี่ นิ รถยนต์ อาวธุ ปนื คา่ น้า คา่ ไฟฟ้า เปน็ ต้น

ซ่งึ เจา้ พนักงานประเมินโดยอนุมตั ิอธบิ ดีมีอานาจกาหนดเงินไดส้ ุทธิ ตามวิธี

คานวณย้อนกลับจากทรัพยส์ ินท่เี พม่ิ ขึน้ และคา่ ใช้จ่ายที่ใช้ไปแล้วประเมนิ ภาษีแจ้ง

ไปใหผ้ ูต้ ้องเสยี ภาษที ราบ ท้งั นี้ ตามมาตรา 49 แห่งประมวลรษั ฎากร เพือ่ ให้

ประชาชนท่มี เี งินได้และไม่ได้รบั ยกเว้นภาษี หรือบคุ คลทไ่ี ม่สามารถพสิ จู น์

แหลง่ ทีม่ าของเงินได้แตม่ ีทรัพยส์ ินเพิม่ ข้นึ จะไดเ้ ขา้ มาอยูใ่ นระบบภาษี ให้มากขึน้

- การดาเนนิ การตามระบบบริจาคอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Donation) กรมสรรพากร /

ควรประเมนิ ผลสัมฤทธ์ิของกฎหมายว่ามปี ญั หาและอปุ สรรคในการดาเนินการ

อยา่ งไร รวมทั้งกาหนดแนวทางการแกไ้ ขปญั หาและพัฒนาระบบใหส้ รา้ งแรงจูงใจ

ใหห้ นว่ ยรับบรจิ าคและผู้บริจาค ไดเ้ ข้ามาใชผ้ ่านระบบน้ีมากขน้ึ กรมสรรพากร

ควรสรา้ งระบบการตรวจสอบหรือระบบบนั ทกึ ข้อมลู การบริจาคให้สามารถ

ตรวจสอบได้ โดยแสดงผลยอดเงนิ บรจิ าคพร้อมกบั การประเมนิ ผลขอ้ มลู ลดหย่อน

ภาษีของผบู้ รจิ าคทง้ั ปภี าษโี ดยอัตโนมตั ิทุกครั้งที่มีการบรจิ าค

- กรมสรรพากรควรให้ความสาคัญกบั การจดั ทาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศและ /

การส่อื สารทีส่ ามารถเช่อื มโยงข้อมูลกบั หนว่ ยงานหรือองค์กรต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง

เพือ่ ให้ไดร้ บั ทราบถงึ ข้อมูลที่เกยี่ วขอ้ งกบั การจัดเก็บภาษหี รือข้อมูลที่สามารถ

นาไปสู่การพจิ ารณาจัดเกบ็ ภาษขี องกรมสรรพากรท่ีถูกตอ้ งและลดการใชด้ ลุ พินิจ

ในการพจิ ารณาภาษีมากข้ึน นอกจากนี้ ควรสรา้ งความเขา้ ใจถงึ ความสาคัญของ

ระบบภาษกี บั การพัฒนาประเทศใหก้ บั ประชาชน เพื่อสร้างจติ สานึกและความ

รับผดิ ชอบในการเสยี ภาษี รวมท้งั โทษทีเ่ กิดจากการหลีกเลีย่ งการเสยี ภาษี ซ่งึ จะ

ทาใหป้ ระชาชน เกิดความเข้าใจถงึ ระบบภาษแี ละให้ความสาคญั กับการเสียภาษี

มากขึน้

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 13

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

ประเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญฯ ปี 2563 ปี 2564
ส.ส. ส.ว. ส.ส. ส.ว.

ประเดน็ ท่ี 3 : ทรี่ าชพสั ดุ

- กระทรวงการคลังควรให้ความสาคัญกับการจดั เก็บรายได้จากการใหเ้ อกชนเช่า /

ทร่ี าชพัสดซุ ึง่ มีการลงทุนเชิงธุรกิจขนาดใหญ่และมรี าคาสูง โดยเฉพาะทรี่ าชพัสดุ

พื้นท่ขี องกองทพั ที่มีจานวนมากและควรส่งคืนที่ราชพสั ดเุ พ่ือนาไปจัดประโยชน์

- กรมธนารักษค์ วรกาชับสว่ นราชการที่ครอบครองทร่ี าชพัสดทุ มี่ โี บราณสถาน /

ต้งั อย่ใู นพน้ื ที่ให้ดาเนินการแจ้งขึน้ ทะเบียนโบราณสถานต่อกรมศิลปากรเพื่อ

ประโยชน์ในการบรู ณะซ่อมแซมและการดแู ลโบราณสถานเหลา่ นน้ั

ประเดน็ ที่ 4 : การจ้างทป่ี รึกษาโครงการ

- กระทรวงการคลังควรปรบั หลกั เกณฑ์การจา่ ยคา่ จ้างท่ีปรกึ ษาแตล่ ะโครงการให้ /

เหมาะสมไมค่ วรมีอัตราสงู เกินไป

ประเด็นท่ี 5 : การจดั ซอื้ จัดจ้างภาครัฐ

- กรมบญั ชกี ลางควรมีการวางระบบในการป้องกันการทจุ ริตหรือการเขา้ ถึงขอ้ มลู / / /

การยื่นซองประมูลการขายข้อมูล E-Bidding ของกรมโดยดาเนินการร่วมกับ

สานักงานการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ สานักงานป้องกันและปรามปราบการทุจรติ

แหง่ ชาติ และกรมสอบสวนคดีพเิ ศษ (DSI) เพือ่ ให้ทราบกระบวนการของ

กรมบัญชีกลางทุกขัน้ ตอน

ประเดน็ ท่ี 6 : ราคามาตรฐานครภุ ัณฑ์

- กรมบญั ชกี ลางควรกาหนดราคามาตรฐานครภุ ณั ฑ์เพมิ่ เติม หรือออกระเบยี บ /

การสอบราคาครุภัณฑใ์ หม้ มี าตรฐานรดั กมุ ยง่ิ ขน้ึ

ประเด็นที่ 7 : การส่งเสริมการออม

- กองทนุ การออมแห่งชาติควรใหค้ วามสาคัญกบั เร่อื งภาคีเครอื ข่าย /

กลมุ่ เป้าหมายท้ัง 9 กลุ่ม โดยเป้าหมายการเพมิ่ สมาชิกตอ้ งทาใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ

มากขึ้น และควรมีการสร้างความรว่ มมือกับสถาบันการเงนิ ของชุมชนและส่งเสรมิ

การออมในเยาวชนให้มากข้นึ รวมทง้ั ตอ้ งมีการกาหนดตวั แทนของกระทรวง

ศกึ ษาธิการและต้องกาหนดใหม้ ีการเชื่อมโยงไปถึงระดบั นักศกึ ษาเพื่อให้มคี วาม

ตอ่ เน่อื งในการออมต้ังแต่วยั เรียนและวัยทางาน

- กองทนุ การออมแห่งชาตคิ วรมกี ารสร้างความมั่นใจให้กับสมาชิกทีเ่ ข้าร่วม /

โครงการ โดยดาเนินการสือ่ สารผ่านทางประชาสัมพนั ธ์เพ่ือเพิ่มแรงจูงใจ และรบั รู้

ถึงสิทธกิ ารได้รบั ความคุ้มครองของการเป็นสมาชิก

- กองทนุ การออมแห่งชาตคิ วรมกี ารกระตนุ้ การออมโดยทาใหก้ ารรับรใู้ นเรื่องการ /

ออมเข้าใจไดง้ ่าย และควรมีการจดั อบรมเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจกบั ผู้นาชุมชน

กลุม่ สตรี แกนนา และอาสาสมัครสาธารณสขุ

- สานกั งานเศรษฐกจิ การคลังควรจัดทาแนวทางการดาเนินการเพื่อสร้างความรู้ / /

ทางการเงนิ (Financial Literacy) โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงสง่ เสริมและสร้างความ

ตระหนกั ถึงความสาคญั ของการออมและการใชจ้ ่ายในสิ่งท่ีจาเป็นเพราะจะเป็น

การสร้างภมู ิคุม้ กนั ทางการเงินเบื้องต้น ซึ่งจะเป็นการแก้ไขปญั หาในเชิงรกุ และมี

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 14

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

ประเดน็ ขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการวสิ ามญั ฯ ปี 2563 ปี 2564
ส.ส. ส.ว. ส.ส. ส.ว.

ความยงั่ ยนื มากกว่าการให้การช่วยเหลอื เปน็ เงนิ เนอื่ งจากการใช้มาตรการทาง

การคลังเพื่อช่วยเหลอื ฟน้ื ฟู และเยียวยาผ้ไู ด้รับผลกระทบจากการแพรร่ ะบาดของ

โรคติดเชอื้ ไวรัส โคโรนา 2019 เพอ่ื ชดเชยรายไดแ้ ก่ลูกจ้างของสถานประกอบการที่

ไดร้ บั ผลกระทบหรือผู้ไดร้ ับผลกระทบอนื่ ๆ ของการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อ

ไวรสั โคโรนา 2019 โดยผู้ลงทะเบียนและผ่านการตรวจสอบคุณสมบัตจิ ะได้รบั การ

ชว่ ยเหลือรายละ 5,000 บาท เป็นระยะเวลา 3 เดือนนนั้ เปน็ มาตรการทีส่ ามารถ

กระตนุ้ เศรษฐกจิ ไดใ้ นระดับหนง่ึ แต่อาจก่อให้เกดิ ผลกระทบระยะยาวและสรา้ ง

ความคุ้นชินในการขอรบั ความช่วยเหลือของประชาชน

- สานักงานกองทุนการออมแหง่ ชาติ ควรกาหนดกลมุ่ สมาชิกเป้าหมายใหช้ ัดเจน / /

รวมถึงควรมกี ารหารอื รว่ มกนั กบั หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือให้ผลตอบแทนของการ

ออมอยู่ในระดบั ท่ีเหมาะสม อนั จะนาไปสู่การขยายฐานการออมให้ครอบคลุมมาก

ข้นึ และควรมีการประชาสัมพันธ์เพอ่ื ใหป้ ระชาชนตระหนักถึงความสาคัญของ

ความรทู้ างการเงิน (Financial Literacy) เพอ่ื ใหเ้ หน็ คุณคา่ ของการออมมากข้นึ

อกี ทั้งควรมุ่งเน้นการส่งเสรมิ การปลูกฝังการออมแก่กลุ่มเปา้ หมายทเ่ี ปน็ เด็ก

เพอ่ื ให้เกิดการออมในระยะยาว และการสร้างความมั่นคงแก่ประชาชนในวัย

เกษยี ณจากเงนิ บานาญและเงินทไ่ี ด้สะสมในช่วงวยั ทางาน

ประเด็นที่ 8 : ระบบบริหารการเงินการคลังภาครฐั แบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์และการ

เบกิ จา่ ยงบประมาณ

- การจัดทาระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่หรือ /

ระบบ New GFMIS Thai ในช่วงเปลี่ยนผ่านควรมีความต่อเนื่องและเชื่อมโยงกับ

ระบบ GFMIS ท่ีใช้อยู่ในปัจจุบัน เพ่ือมิให้เกิดปัญหาหรือข้อผิดพลาดในการใช้

ระบบงาน นอกจากน้ี การเชื่อมต่อระบบ New GFMIS Thai กับระบบฐานข้อมูล

องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่เป็นระบบ Electronic Local Administration

Accounting System : e - LAAS ของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินควร

ครอบคลุมการควบคมุ และตรวจสอบการใช้จ่ายเงินสะสมขององค์กรปกครองส่วน

ทอ้ งถ่ินให้เป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพและเกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ตอ่ ประชาชน

- กรมบญั ชกี ลางได้เสนอผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณของหนว่ ยงานของ /

องค์กรอิสระตามรฐั ธรรมนญู 3 หนว่ ยงาน ประกอบด้วย สานกั งานการตรวจเงิน

แผน่ ดิน สานักงานคณะกรรมการการเลือกตงั้ และสานกั งานคณะกรรมการ

ปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติวา่ มีผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ

รายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ร้อยละ 100 ซงึ่ วิธกี ารเบกิ จ่ายของ

องค์กรอิสระจะแตกต่างกบั ส่วนราชการท่ัวไป คือ เป็นการเบิกจ่ายงบประมาณ

เตม็ ท้งั จานวน กรณนี ้อี าจเขา้ ใจคลาดเคล่อื นว่าหน่วยงานดงั กล่าวใชจ้ ่ายเงิน

งบประมาณไดร้ ้อยละ 100 ซง่ึ กรมบญั ชีกลางควรตดิ ตามข้อมูลว่า หน่วยงาน

ดังกล่าวได้ใช้จ่ายเงินงบประมาณท่ีเบิกไปอยา่ งไร มีผลการเบิกจ่ายเปน็ ประการใด

โดยเฉพาะเม่ือเปรียบเทยี บกับมติคณะรฐั มนตรที ี่กาหนดเปา้ หมาย การเบิกจ่าย

สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 15

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

ประเดน็ ข้อสังเกตของคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญฯ ปี 2563 ปี 2564
ส.ส. ส.ว. ส.ส. ส.ว.

ประจาปไี ว้ชัดเจนใหส้ ว่ นราชการยดึ ถือปฏบิ ัติ

ประเดน็ ท่ี 9 : พธิ กี ารศุลกากร

- กรมศลุ กากรควรพิจารณาและวางแผนแนวทางการเร่งรัดและผลักดันการใช้ /

ระบบ National Single Window (NSW) ใหม้ คี วามชดั เจน เพอ่ื ลดกระบวนการ

และข้นั ตอน การใหบ้ ริการ และการอานวยความสะดวกให้ผู้ใช้บรกิ ารสามารถทา

ธุรกรรมกบั หนว่ ยงานภาครัฐ และภาคธรุ กจิ ในลกั ษณะไร้เอกสาร รวมทั้งให้มี

การบูรณาการร่วมกบั หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการพิจารณารูปแบบและแนว

ทางการลดขน้ั ตอนการอนุมตั ิหรืออนญุ าตเพ่ือใหเ้ กดิ ความสะดวกแก่

ผู้ประกอบการ ตลอดจนเพื่อใหส้ อดคล้องกับแนวทางการดาเนินการตามรายงาน

ความยากง่ายในการประกอบธุรกิจ (Ease of Doing Business) ของธนาคารโลก

(World Bank)

ประเดน็ ที่ 10 : การกากบั ดแู ล และพฒั นารฐั วิสาหกจิ

- สานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจควรเสนอแนวทางและให้ /

ความสาคัญกับการกากับดูแลรัฐวิสาหกิจท่ีประสบภาวะการขาดทุน โดยการ

ประเมินผลการดาเนินการและกาหนดแนวทางการบริหารความเส่ียงท่ีอาจเกิด

ข้ึนกับการดาเนินการของรัฐวิสาหกิจดังกล่าวในลักษณะของการแจ้งเตือนหรือส่ง

สัญญาณเพ่ือให้มีการปรับเปล่ียนการดาเนินการเพื่อป้องกันความเสี่ยงท่ีอาจ

เกดิ ขนึ้ ซึ่งจะทาให้รฐั สามารถลดการอดุ หนนุ งบประมาณลงได้

- สานกั งานคณะกรรมการนโยบายรฐั วสิ าหกจิ ควรให้ความสาคัญกบั การกากบั /

ดูแลการออกแบบแผนการลงทนุ ภายใตพ้ ระราชบัญญัติการพัฒนาการกากบั ดแู ล

และบริหารรัฐวิสาหกจิ พ.ศ. 2562 ท่ีใหภ้ าคเอกชน เข้ารว่ มการลงทนุ เพื่อเร่งรดั

ใหเ้ กิดการลงทนุ ท่มี ุ่งเนน้ ในภาคสงั คมเป็นสาคัญ

- สานักงานคณะกรรมการนโยบายรฐั วิสาหกจิ ควรกาหนดกรอบแนวทางใน /

ทศิ ทางท่ีสนับสนุนการดาเนนิ การของรฐั วิสาหกจิ ให้สอดคลอ้ งตามยุทธศาสตรช์ าติ

และแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าตใิ นประเดน็ ต่าง ๆ เนอ่ื งจากปจั จุบันพบวา่

มรี ัฐวสิ าหกิจบางแห่งยงั มนี โยบายและแนวทางการดาเนนิ การท่ีไมช่ ัดเจน และ

ไมไ่ ด้มกี ารปรบั เปา้ หมายตวั ช้ีวัดหรอื แนวนโยบายเพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์

ชาตแิ ละแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ

- สานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจควรพิจารณาแนวทางในการ /

บริหารจัดการหรือเร่งรัดให้การดาเนินการเป็นไปตามพระราชบัญญัติการ

พัฒนาการกากับดูแลและบริหารรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2562 เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม

2562 โดยเรว็ เพ่ือให้สามารถพัฒนาและขับเคล่อื นการดาเนินการของรัฐวิสาหกิจให้

เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการออกกฎหมายลาดับรองท่ีอยู่ใน

หน้าทแี่ ละอานาจของคณะกรรมการนโยบายรฐั วสิ าหกิจ ท่ีเป็นองค์กรกากับในเชิง

นโยบาย

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 16

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

ประเด็นขอ้ สงั เกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ปี 2563 ปี 2564
ส.ส. ส.ว. ส.ส. ส.ว.

- สานกั งานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจควรมที ศิ ทางการดาเนนิ งานที่ /

ชดั เจนเพ่ือใหร้ ฐั วิสาหกจิ ดาเนินแผนงานโครงการใหส้ อดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ชาติ

และนโยบายรัฐบาล รวมท้ังควรใหค้ วามสาคญั กบั การรณรงคแ์ ละประชาสมั พนั ธ์

เพอ่ื ให้เกิดความเชือ่ มัน่ ของภาคเอกชน ซ่ึงจะนาไปสกู่ ารลงทนุ ในกจิ การของรัฐ

มากยิ่งขน้ึ

ประเด็นท่ี 11 : การบรหิ ารหน้สี าธารณะ

- สานักงานบริหารหนีส้ าธารณะควรกาหนดหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเง่ือนไขใน /

การพิจารณา การสรา้ งหน้สี าธารณะ ซึง่ ปัจจบุ นั มสี ดั ส่วนอยทู่ ่ีรอ้ ยละ 57 – 58

ของผลติ ภณั ฑ์มวลรวมภายในประเทศ ท่ีถือวา่ อยู่ในระดบั ท่ีใกล้เคียงกับกรอบ

เพดานหน้สี าธารณะตามพระราชบญั ญัติวนิ ัยการเงนิ การคลังของรฐั พ.ศ. 2561

โดยพิจารณาใหเ้ ป็นไปตามสภาพเศรษฐกิจและบรบิ ทของประเทศไทยในปจั จุบัน

โดยกาหนดตัวช้วี ดั ในการดาเนินการตามแผนเพ่ือใหส้ ามารถบรหิ ารจดั การหนี้ได้

อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

- สานกั งานบรหิ ารหน้สี าธารณะควรทบทวนสัดส่วนหน้ีสาธารณะตาม /

พระราชบัญญัติวินยั การเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 ทก่ี าหนดให้มีการทบทวน

ทกุ 3 ปี โดยควรพจิ ารณาถึงความสามารถในการชาระหนี้ของประเทศ (Debt

Service Capability) สัดส่วนดอกเบย้ี ต่อรายได้ รวมท้งั กรอบเพดานในการก่อหน้ี

สาธารณะให้เป็นไปภายใตก้ รอบทก่ี ฎหมายกาหนด

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 17

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

10. ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะของ PBO
10.1 ประมาณการการจดั เก็บรายไดข้ องรัฐบาลและหนีส้ าธารณะ
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้จดั ทารายงานการวเิ คราะห์ เรือ่ ง ภาวะเศรษฐกิจมหภาคและประมาณ

การฐานะทางการคลัง โดยประมาณการฐานะทางการคลังจะอยู่ในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2565
ผลการวิเคราะห์ พบว่า การจัดเก็บรายได้ของรัฐบาลจะปรับเพิ่มข้ึนจากปีงบประมาณก่อนหน้าตามการ
ขยายตัวทางเศรษฐกิจ ท่ีเร่ิมฟื้นตัวจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 อย่างไรก็ตาม
การจัดเก็บรายได้ของรัฐบาลท่ีเพ่ิมสูงขึ้น จะยังคงต่ากว่าความต้องการใช้จ่ายภาครัฐ ทาให้ยังคงมีการกู้เงิน
เพ่อื ชดเชยการขาดดุลงบประมาณต่อไป ทั้งนี้ การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือจะทาให้ความต้องการใช้จ่ายของ
ภาครัฐเพ่ิมสูงข้ึน ทาให้อาจต้องมีการก่อหน้ีสาธารณะเพ่ิมขึ้น เพื่อนาเงินที่ได้ไปเยียวยาผู้ท่ีได้รับผลกระทบ
ทาให้คาดว่า สัดส่วนหน้ีสาธารณะต่อ GDP จะเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 49.4 ณ สิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
เป็น ร้อยละ 56.7 และ 56.7 ณ สน้ิ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และ 2565 ตามลาดับ นอกจากน้ี เม่ือกาหนดให้
ระบบเศรษฐกิจขยายตัวลดลง เท่ากับ ร้อยละ 1 ต่อปี พบว่า สัดส่วนหน้ีสาธารณะต่อ GDP จะปรับเพ่ิมข้ึน
เล็กน้อย เป็นร้อยละ 57.3 และ 58.1 ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 และ 2565 ตามลาดบั

กรณฐี าน 2563 สมมตฐิ าน/ประมาณการ
2564 2565
สมมตฐิ านเศรษฐกจิ มหภาค
- อตั ราการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ (รอ้ ยละ) -6.1% 3.0% 4.7%
- อตั ราเงินเฟ้อทวั่ ไป (รอ้ ยละ) -0.85% 1.2% 1.0%
สมมตฐิ านประสทิ ธภิ าพการจดั เกบ็ รายไดข้ องรัฐบาล
- สดั สว่ นรายไดส้ ทุ ธหิ ลงั หกั จดั สรร ตอ่ GDP ปี งปม. 15.0% 15.0% 15.0%
(รอ้ ยละ)
ประมาณการ GDP และการจดั เกบ็ รายไดข้ องรฐั บาล 2,391,569.4 2,485,968.2 2,627,668.4
- รายไดส้ ทุ ธหิ ลงั หกั จดั สรร (ลา้ นบาท) 49.4 56.7 56.7
ประมาณการหนส้ี าธารณะ
- สดั สว่ นหนส้ี าธารณะ ตอ่ GDP (ร้อยละ)

กรณเี ศรษฐกิจขยายตัวลดลง 2563 สมมตฐิ าน/ประมาณการ
2564 2565
สมมตฐิ านเศรษฐกจิ มหภาค
- อตั ราการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ (ร้อยละ) -6.1% 2.0% 3.7%
- อตั ราเงินเฟ้อทว่ั ไป (ร้อยละ) -0.85% 1.2% 1.0%
สมมตฐิ านประสทิ ธภิ าพการจดั เกบ็ รายไดข้ องรฐั บาล
- สดั สว่ นรายไดส้ ทุ ธหิ ลงั หกั จดั สรร ตอ่ GDP ปี งปม. 15.0% 15.0% 15.0%
(ร้อยละ)
ประมาณการ GDP และการจดั เกบ็ รายไดข้ องรฐั บาล 2,391,569.4 2,462,110.6 2,577,829.8
- รายไดส้ ทุ ธหิ ลงั หกั จดั สรร (ลา้ นบาท) 49.4 57.3 58.1
ประมาณการหนสี้ าธารณะ
- สดั สว่ นหนส้ี าธารณะ ตอ่ GDP (รอ้ ยละ)

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 18

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

หมายเหตุ : 1. กรณฐี าน สมมติฐานเศรษฐกจิ มหภาค เปน็ ไปตามผลการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน วันที่ 24 มีนาคม 2564
2. กรณเี ศรษฐกจิ ขยายตวั ลดลง เปน็ การวิเคราะหเ์ พิ่มเตมิ เน่อื งจากความไม่แน่นอนของการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อ
3. รายได้สุทธหิ ลังหักจดั สรร สามารถนาไปสนบั สนนุ งบประมาณรายจา่ ยได้ทนั ที เน่ืองจากหักรายการทีเ่ กยี่ วขอ้ งแลว้
4. งบประมาณชาระคืนต้นเงินกู้ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 และ 2565 จานวน 99,000 และ 100,000 ลา้ นบาท ตามลาดบั
5. ผลการประมาณการไมร่ วมการกูเ้ งนิ ตาม พรก. ใหอ้ านาจกระทรวงการคลงั กู้เงินฉบบั ใหม่ จานวน 5 แสนลา้ นบาท
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3 ของ GDP ณ GDP เทา่ กบั 16.5 ล้านลา้ นบาท

สแกน QR Code เพื่อเข้าถงึ เอกสาร
ในรปู แบบ pdf

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 19

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

10.2 ภาระงบประมาณคา้ งจ่ายกิจกรรมกึง่ การคลังของสถาบนั การเงินเฉพาะกจิ
สถาบันการเงินเฉพาะกิจ หมายถึง สถาบันการเงินของรัฐท่ีมีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น เพื่อดาเนินการ
ตามนโยบายของรัฐในการพัฒนาส่งเสริมเศรษฐกิจและสนับสนุนการลงทุนต่าง ๆ โดยอยู่ภายใต้การกากับดูแล
ของกระทรวงการคลัง ซึ่งได้มอบหมายให้ธนาคารแห่งประเทศไทยทาหน้าท่ีตรวจสอบผลการดาเนินงานและ
ความเส่ียง และรายงานผลการตรวจสอบไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ได้แก่ ธนาคารออมสิน
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศ
ไทย ธนาคารเพ่ือการสง่ ออกและนาเข้าแห่งประเทศไทย ธนาคารพัฒนาวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่ง
ประเทศไทย บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม และบรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย
โดยสถาบันการเงินเฉพาะกิจดังกล่าว จะมีเงินทุนของหน่วยงาน เพ่ือดาเนินภารกิจตามที่ระบุไว้ในกฎหมาย
จัดต้ัง ท้ังนี้ หากผลการดาเนินงานในแต่ละปีมีกาไร สถาบันการเงินเฉพาะกิจดังกล่าว จะนาส่งกาไรเข้าคลัง
เพ่ือเปน็ รายได้แผ่นดินในอตั ราท่ไี ดม้ กี ารกาหนดไว้ต่อไป
ท่ีผ่านมา สถาบันการเงินเฉพาะกิจจะขอรับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี เพื่อวัตถุประสงค์
2 ข้อ คือ 1. เพิ่มทุนในการดาเนินงาน และ 2. สนับสนุนค่าใช้จ่ายโครงการตามนโยบายรัฐ โดยโครงการตาม
นโยบายรัฐ เปน็ งานเฉพาะกิจที่คณะรฐั มนตรีมีมติอนุมัติให้สถาบันการเงินเฉพาะกิจรับผิดชอบดาเนินการ และ
ขอรับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี เพ่ือสนับสนุนต่อไป ท้ังนี้ ตัวอย่างโครงการตามนโยบายรัฐ
ดังกลา่ ว อาทิ

 โครงการประกันภัยข้าวนาปี รับผิดชอบโดยธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์
การเกษตร และรฐั บาลชดเชยคา่ เบยี้ ประกนั ภยั บางสว่ น

 โครงการสนิ เชื่อชะลอการขายข้าวเปลอื กนาปี รับผดิ ชอบโดยธนาคารเพ่ือการเกษตร
และสหกรณ์การเกษตร และรัฐบาลชดเชยสว่ นตา่ งอัตราดอกเบยี้

สานักงบประมาณของรัฐสภาได้ติดตามข้อมูลในประเด็นดังกล่าว พบว่า สถาบันการเงินเฉพาะกิจจะ
ดาเนินโครงการตามนโยบายรัฐตามที่คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติแล้วในชั้นต้น โดยใช้เงินทุนของหน่วยงานสารอง
จ่ายไปก่อน ต่อมา จึงจัดทาคาของบประมาณรายจ่ายประจาปี เพ่ือชดเชยผลการดาเนินงานที่เกิดข้ึนจริงตาม
รายละเอียดและอัตราค่าใช้จ่ายท่ีคณะรัฐมนตรีกาหนด แต่วงเงินงบประมาณรายจ่ายท่ีมีอย่างจากัดและต้อง
จดั สรรเพ่ือสนบั สนนุ ภารกจิ ภาครฐั อื่น ๆ ทาใหก้ ารจัดสรรงบประมาณไม่สามารถชดเชยค่าใช้จ่ายโครงการตาม
นโยบายรัฐได้อย่างเตม็ ประสิทธิภาพ ทาให้เกิดภาระงบประมาณค้างจ่ายของโครงการตามนโยบายรัฐ ท่ีรัฐบาล
ต้องจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเพ่ือชดเชยแก่สถาบันการเงินเฉพาะกิจจานวนมาก สานักงบประมาณของ
รัฐสภาได้รวบรวมประมาณการงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าในระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 – 2568
ของโครงการตามนโยบายรัฐของสถาบันการเงินเฉพาะกิจ ท่ีดาเนินการในปัจจุบันและไม่รวมโครงการใน
อนาคต ตามเอกสารงบประมาณ พบว่า การดาเนินโครงการตามนโยบายรัฐที่ผ่านมา เพื่อช่วยเหลือผู้มีรายได้
น้อย เกษตรกร และวิสาหกิจขนาดลางและขนาดย่อม เป็นภาระงบประมาณจานวนมาก โดยรัฐบาลจะต้อง
จัดสรรงบประมาณชดเชยผลการดาเนนิ งาน จานวน 80,558.8021 ลา้ นบาท ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และ
จานวน 280,861.1884 ล้านบาท ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 – 2568 ท้ังน้ี หากมีการอนุมัติให้ดาเนิน
โครงการใหม่เพ่ิมเติม จะทาให้ภาระงบประมาณเพิ่มขึ้นจากเดิม ดังนั้น หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องจึงควรคานึงถึง
ภาระงบประมาณดงั กล่าวก่อนพิจารณานาเสนอโครงการใหม่ตอ่ ไป

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 20

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

หน่วยงาน ประมาณการงบประมาณรายจา่ ยลว่ งหน้า หนว่ ย : ลา้ นบาท
รวมทงั้ สน้ิ
ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567 ปี 2568 5,152.2575
-
ธ.พฒั นาวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาด 546.5224 2,983.1507 1,622.5844

ย่อมแหง่ ประเทศไทย

ธ.เพอื่ การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร 70,466.4185 92,692.8043 72,648.7000 49,559.3908 285,367.3136
1,225.5555 11,018.1211
ธ.ออมสนิ 4,059.3967 4,499.5912 1,233.5777 3,903.6689
867.5112 55,978.6294
ธ.อาคารสงเคราะห์ 67.6074 1,092.9781 1,875.5722 8,475.0067

บรรษทั ประกนั สนิ เชอื่ อตุ สาหกรรมขนาด 5,418.8571 31,553.9694 10,530.7962

ย่อม

รวมทง้ั สน้ิ 80,558.8021 132,822.4937 87,911.2305 60,127.4642 361,419.9905

ทม่ี า : เอกสารงบประมาณ ฉบบั ที่ 3 งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 เลม่ ที่ 14

สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 21

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

10.3 การอ่อนคา่ ของเงนิ บาทและผลที่มตี ่องบประมาณกระทรวงการคลัง
การตรวจสอบข้อมูลอัตราและเปล่ียน พบว่า อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทต่อดอลลาร์ได้ปรับเพ่ิมจาก
29.9857 บาทต่อดอลลาร์ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 เป็น 31.3406 บาทต่อดอลลาร์ ในเดือนเมษายน 2564
ทาใหเ้ งนิ บาทออ่ นคา่ ประมาณร้อยละ 4.5 ในระยะเวลา 2 เดอื น รายละเอียดเปน็ ไปตามแผนภาพตอ่ ไปน้ี

ที่มา : ธนาคารแหง่ ประเทศไทย
ท้ังนี้ ภายใต้ภาวะเศรษฐกิจไทยในปัจจุบัน ท่ีได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส

โคโรนา 2019 คร้ังท่ี 3 ในเดือนเมษายน 2564 จะทาให้ระดับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การบริโภค และการ
ลงทุนลดลง ซึ่งอาจทาให้เศรษฐกิจไทยมีการขยายตัวต่ากว่าท่ีคาด ในขณะเดียวกัน สหรัฐอเมริกา ซ่ึงสามารถ
กระจายการฉีดวัคซีนให้กับประชาชนจานวนมากอย่างต่อเนื่อง ทาให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจปรับเพ่ิมข้ึน และ
อตั ราการขยายตัวทางเศรษฐกจิ ในปี 2564 มีการปรับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเท่ากับร้อยละ 6.3 – 6.4 ท้ังนี้ หาก
สถานการณ์ดังกล่าว ยังคงดาเนินต่อไป จะทาให้ความเช่ือม่ันท่ีมีต่อเงินดอลลาร์เพิ่มสูงขึ้นและความเชื่อมั่นต่อ
เงนิ บาทลดลง ซงึ่ จะทาใหเ้ งินบาทออ่ นค่าลงต่อเนอ่ื งต่อไป

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 22

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

ที่มา : เอกสารการประชมุ นักวิเคราะห์ (Analyst Meeting) ครั้งที่ 1/2564 ธนาคารแห่งประเทศไทย เม่ือวันที่ 9 เมษายน 2564
สานักงบประมาณของรัฐสภา พิจารณาแล้ว เห็นว่า หากค่าเงินบาทยังคงอ่อนค่าต่อเนื่องใน

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สถานการณ์ดังกล่าวอาจส่งผลต่อการบริหารงบประมาณในรายการท่ีต้องจ่ายเป็น
เงินตราต่างประเทศ อาทิ 1. รายการชาระค่าสมาชกิ องคก์ รต่างประเทศและการชาระค่าเพ่ิมทุนสถาบันการเงิน
ระหวา่ งประเทศของสานักงานเศรษฐกิจการคลงั และ 2. รายการชาระคืนต้นเงินกู้และดอกเบี้ยหนี้ต่างประเทศ
ของสานักงานบริหารหน้ีสาธารณะ ดังน้ัน หน่วยรับงบประมาณดังกล่าว จะมีแผนการรับมือเพ่ือบริหาร
งบประมาณให้มีความเหมาะสมภายใต้แนวโน้มเงินบาทอ่อนค่าอย่างไร เน่ืองจากการอ่อนค่าของเงินบาทจะทา
ให้ต้องใช้งบประมาณรายจ่ายในรูปเงินบาทเพ่ิมสูงขึ้น เพ่ือชาระรายการงบประมาณท่ีต้องจ่ายเป็นเงินตรา
ตา่ งประเทศดงั กลา่ ว

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 23

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

สว่ นที่ 2 แผนงานบรหิ ารจัดการหน้ภี าครัฐ

การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายภายใต้แผนงานน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือชาระต้นเงินกู้ ดอกเบี้ย และ
คา่ ธรรมเนียมทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับหน้ีสาธารณะ ทั้งในส่วนท่ีกระทรวงการคลังกู้โดยตรง และรัฐวิสาหกิจกู้โดยรัฐบาล
ชาระคืนเงินต้นและดอกเบี้ย ทั้งนี้ การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แก่หน่วย
รบั งบประมาณต่าง ๆ มีรายละเอียด ดังนี้

หนว่ ย : ล้านบาท

หน่วยงาน งบประมาณ เพม่ิ /ลด
จานวน รอ้ ยละ
ปี 2564 ปี 2565

1. สานักงานบริหารหน้ีสาธารณะ 243,181.1996 249,470.2984 6,289.0988 2.6

2. การรถไฟฟา้ ขนสง่ มวลชนแหง่ ประเทศไทย 9,900.3750 7,896.6187 -2,003.7563 -20.2

3. การรถไฟแห่งประเทศไทย 9,025.8490 10,232.9475 1,207.0985 13.4

4. ธนาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร 28,688.2664 27,786.5358 -901.7306 -3.1

5. องคก์ ารขนส่งมวลชนกรุงเทพ 2,658.6268 2,181.7229 -476.9039 -17.9

6. การเคหะแหง่ ชาติ - 63.3156 63.3156 100.0

รวมทงั้ สน้ิ 293,454.3168 297,631.4389 4,177.1221 1.4

ทมี่ า : เอกสารงบประมาณ

สานักงานบริหารหนสี้ าธารณะ รัฐวสิ าหกจิ รวม หนว่ ย : ล้านบาท

ปงี บประมาณ ตน้ เงินกู้ ดอกเบย้ี ตน้ เงินกู้ ดอกเบยี้ ตน้ เงินกู้ ดอกเบย้ี รวมทง้ั สน้ิ
และคา่ ธรรมเนยี ม และคา่ ธรรมเนยี ม และคา่ ธรรมเนียม
183,271
2558 39,680 121,967 16,020 5,604 55,700 127,571 201,033
243,882
2559 40,639 134,026 21,353 5,015 61,992 139,041 260,819
259,610
2560 48,868 142,152 32,318 20,544 81,186 162,696 272,127
293,454
2561 57,073 155,168 29,869 18,709 86,942 173,877 297,631

2562 49,083 166,156 29,122 15,249 78,205 181,405

2563 56,892 164,932 32,279 18,025 89,170 182,957

2564 66,970 176,212 32,030 18,243 99,000 194,454

2565 66,482 182,988 33,518 14,643 100,000 197,631

ท่มี า : เอกสารงบประมาณ

หมายเหตุ : ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ไมร่ วมวงเงนิ ตาม พรบ. โอนงบประมาณรายจ่าย พ.ศ. 2563

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 24

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

ข้อสังเกต/ความเห็นของ PBO
1. ข้อมูลสดั ส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP
ข้อมูลสัดส่วนหน้ีสาธารณะต่อ GDP ปีงบประมาณ พ.ศ. 2541 – 2564 ปรากฏตามแผนภาพต่อไปน้ี

ทั้งน้ี พบว่า สัดส่วนดังกล่าว ณ วันที่ 30 เมษายน 2564 มีค่าเท่ากับ ร้อยละ 54.91 ซ่ึงต่ากว่าค่าท่ีกาหนดไว้
ตามประกาศคณะกรรมการนโยบายการเงนิ การคลังของรัฐ ร้อยละ 60

ที่มา : สานกั งานบรหิ ารหนสี้ าธารณะ กระทรวงการคลัง หนา้ 25

สานกั งบประมาณของรฐั สภา

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

2. ข้อเสนอแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดสรรงบประมาณเพ่ือชาระหน้ีภายใต้แผนงาน
บรหิ ารจดั การหน้ภี าครัฐ

สานักงบประมาณของรัฐสภาได้จัดทารายงานการวิเคราะห์ เร่ือง ข้อเสนอแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
การจัดสรรงบประมาณเพ่ือชาระหนี้ภายใต้แผนงานบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ โดยรายงานการวิเคราะห์ฉบับน้ี
จัดทาข้นึ เพอื่ วเิ คราะห์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีภายใต้แผนงานบริหารจัดการหน้ีภาครัฐ ท่ีนาไป
ชาระภาระหน้ีสาธารณะของรัฐบาล รวมทั้งหนี้ของรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานภาครัฐท่ีเป็นภาระงบประมาณ
และนาเสนอแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีภายใต้แผนงานดังกล่าว
โดยการวิเคราะห์จะครอบคลุมงบประมาณรายจ่ายประจาปีภายใต้แผนงานบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ที่จัดสรร
ให้แก่ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ เพ่ือชาระหน้ีสาธารณะท้ังในส่วนต้นเงินกู้ ดอกเบี้ย และค่าธรรมเนียม
ที่เกี่ยวข้อง โดยแผนงานบริหารจัดการหน้ีภาครัฐเป็นแผนงานตามโครงสร้างงบประมาณตามยุทธศาสตร์
ท่ีสานักงบประมาณ สานักนายกรัฐมนตรี จัดทาข้ึนสาหรับใช้ในการพิจารณาจัดสรรงบประมาณให้สอดคล้อง
กับเป้าหมายยุทธศาสตร์ในระดับชาติ ซึ่งแผนงานบริหารจัดการหนี้ภาครัฐมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้การบริหาร
จดั การหน้ีและการชาระหนภี้ าครฐั เป็นไปอย่างมีประสทิ ธภิ าพและเกิดประโยชน์สูงสุดตอ่ เศรษฐกจิ

ขอ้ มูลที่ใช้จะเกี่ยวข้องกับงบประมาณรายจ่ายภายใต้แผนงานบริหารจัดการหน้ีภาครัฐ ตลาดพันธบัตร
ตลาดการเงิน กฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี แผนการบริหารหน้ีสาธารณะ และอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง โดยผู้ศึกษาได้
วิเคราะห์ลักษณะการจัดสรรงบประมาณในระยะเวลาที่ผ่านมา ข้อมูลที่ได้จากสานักงานบริหารหน้ีสาธารณะ
กระทรวงการคลัง และธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เพ่ือสังเคราะห์จัดทาข้อเสนอแนว
ทางการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดสรรงบประมาณต่อไป ท้ังน้ี ข้อเสนอแนะดังกล่าวจะเกี่ยวข้องกับการ
ดาเนินงานภายใต้ความรับผิดชอบของสานักงบประมาณ สานักนายกรัฐมนตรี เป็นหลัก และเน่ืองจาก
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 144 กาหนดให้ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ ร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม และร่างพระราชบัญญัติ
โอนงบประมาณรายจ่าย สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎรไม่สามารถแปรญัตติเปล่ียนแปลง แก้ไขเพ่ิมเติมรายการหรือ
จานวนในรายการ หรือปรับลดวงเงินงบประมาณสาหรับต้นเงินกู้ ดอกเบ้ียเงินกู้ และเงินท่ีกาหนดให้จ่ายตาม
กฎหมายได้ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจึงสามารถใช้ผลการวิเคราะห์จากรายงานฉบับนี้ ในการให้ความเห็นแก่
รฐั บาลและสานักงบประมาณไดใ้ นเชงิ วชิ าการเทา่ นั้น

ข้อคน้ พบ
1. งบประมาณรายจ่ายประจาปีที่จัดสรรเพื่อชาระคืนต้นเงินกู้หน้ีสาธารณะท่ีรัฐบาลกู้โดยตรง
และทร่ี ฐั วิสาหกิจกู้และรัฐบาลรับภาระงบประมาณ มักไม่เพียงพอกับวงเงินหนี้ที่ครบกาหนดชาระ ทาให้ในแต่
ละปีงบประมาณ สานักงานบริหารหนี้สาธารณะและรัฐวิสาหกิจต้องทาการปรับโครงสร้างหนี้ โดยการก่อหน้ี
ใหมม่ าชาระหน้ีเก่า ทคี่ รบกาหนดชาระและไมไ่ ดร้ บั จดั สรรงบประมาณชาระคนื ตน้ เงนิ กู้

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 26

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

หนว่ ย : ล้านบาท

สานักงานบริหารหนส้ี าธารณะ ธนาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร

ปงี บประมาณ วงเงินหนท้ี คี่ รบ งบประมาณเพอื่ ชาระคนื วงเงินหนท้ี คี่ รบ งบประมาณเพอื่ ชาระคนื

กาหนดชาระ เงินตน้ ทไ่ี ดร้ บั จดั สรร กาหนดชาระ เงินตน้ ทไี่ ดร้ ับจดั สรร

2560 216,674.3 48,868.3 160,055.2 23,000.0

2561 182,831.8 57,073.4 139,301.1 23,000.0

2562 377,914.1 49,082.6 119,990.0 23,000.0

2563 286,148.5 21,588.8 64,068.0 23,000.0

2564 341,437.2 66,969.5 64,643.5 23,000.0

หมายเหตุ : : - กรณสี านกั งานบรหิ ารหนส้ี าธารณะ เปน็ หนี้สาธารณะท่รี ัฐบาลโดยกระทรวงการคลงั ก้โู ดยตรง

- กรณีธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร เปน็ หน้ีสาธารณะของโครงการรับจานาผลิตผลทางการเกษตร
- วงเงนิ งบชาระหนีท้ ่ีไดร้ บั จัดสรรปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 ของสานกั งานบรหิ ารหนสี้ าธารณะเปน็ วงเงินหลงั การ
ดาเนนิ การตาม พ.ร.บ. โอนงบงบประมาณรายจา่ ย พ.ศ. 2563 ท่ีใหโ้ อนเข้างบกลางเปน็ จานวน 35,303 ล้านบาท

2. การปรับโครงสร้างหนี้ดังกล่าว มีค่าใช้จ่ายท่ีสาคัญ คือ รายจ่ายดอกเบี้ย ซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับ SOE
Spread Matrix โดยสมาคมตลาดตราสารหน้ไี ทย แสดงให้เหน็ ว่า รัฐวิสาหกิจจะมีอัตราดอกเบ้ียในการกู้เงินสูง
กว่ารัฐบาลโดยสานักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง เน่ืองจากรัฐบาลจะมีความมั่นคงทางการเงิน
และความเส่ียงในการผิดนัดชาระหนี้น้อยกว่ารัฐวิสาหกิจ ซ่ึงสถานการณ์ดังกล่าวสอดคล้องกับแนวคิดส่วน
ชดเชยความเส่ยี ง (Risk Premium)

หนว่ ย: Basis Points

ผอู้ อกพันธบตั ร 3 เดอื น 1 ปี ระยะเวลาการกู้
3 ปี 5 ปี 10 ปี 15 ปี

- ธนาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร 15.0 20.0 33.0 39.5 46.0 52.5

- องคก์ ารขนสง่ มวลชนกรุงเทพ 18.5 21.0 36.0 43.5 48.5 55.0

- การทางพิเศษแหง่ ประเทศไทย 8.5 18.5 35.0 39.5 43.0 49.5

- ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร 10.0 10.0 20.0 26.5 32.5 42.5

(กรณรี ัฐบาลคา้ ประกนั )

- ธนาคารอาคารสงเคราะห์ 11.0 18.5 20.0 39.5 43.5 50.0

- ธนาคารออมสนิ 10.0 18.5 20.0 39.5 43.5 50.0

- การเคหะแหง่ ชาติ 8.5 18.5 35.0 42.0 46.0 52.5

- การประปาสว่ นภูมิภาค 8.5 18.5 35.0 42.0 47.0 51.5

- ธนาคารพัฒนาวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาด 6.0 6.0 15.0 11.0 15.0 32.5

ยอ่ มแหง่ ประเทศไทย

- การรถไฟแหง่ ประเทศไทย 8.5 19.0 36.0 43.5 50.0 54.0

หมายเหตุ : : - ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 16 เมษายน 2564

- ธนาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (กรณีรฐั บาลค้าประกนั ) เปน็ การกู้เงนิ
สาหรบั โครงการรบั จานาผลิตผลทางการเกษตร
- 100 Basis Points เท่ากบั ร้อยละ 1

ท้งั น้ี เมอ่ื ต้นทุนอัตราดอกเบ้ียในการกู้เงินเพื่อปรับโครงสร้างหนี้ของรัฐวิสาหกิจ อาทิ ธนาคารเพ่ือ
การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตรสูงกว่าสานกั งานบรหิ ารหนสี้ าธารณะ กระทรวงการคลัง ดังน้ัน การพิจารณา
จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีภายใต้แผนงานบริหารจัดการหนี้ภาครัฐ ควรพิจารณาจัดสรรชาระคืนต้น
เงินกู้ให้กับหน่วยรับงบประมาณ ที่มีต้นทุนในการปรับโครงสร้างหนี้สูงกว่าเป็นลาดับแรก เพ่ือประหยัดภาระ
ดอกเบย้ี การบรหิ ารหนีส้ าธารณะในภาพรวมท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต ทั้งน้ี แนวทางการดาเนินการดังกล่าว จะทา

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 27

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

ให้ค่าใช้จ่ายดอกเบ้ียในการบริหารหนี้สาธารณะลดลง โดยยังคงรักษาระดับการชาระคืนต้นเงินกู้ของหน้ี
สาธารณะให้คงเดิม ซึ่งจะทาให้บรรลุเป้าหมายในการชาระหน้ีสาธารณะและมีค่าใช้จ่ายดอกเบ้ียลดลง ทาให้
ประสิทธิภาพการดาเนินงานท่ีเกี่ยวข้องเพ่ิมสูงขึ้น ซึ่งการดาเนินการดังกล่าว จะสอดคล้องกับหลัก
ประสิทธิภาพท่ีว่า เป็นการทางานท่ีประหยัดต้นทุน สาเรจ็ ภายในระยะเวลา และมีคุณภาพตามทกี่ าหนดไว้

ขอ้ เสนอ
ผลการศกึ ษาและวเิ คราะหข์ ้อมูลในส่วนต่าง ๆ ท่เี กยี่ วขอ้ ง ทาให้ผศู้ กึ ษาสามารถเสนอแนะข้ันตอนและ
แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายภายใต้แผนงานบริหารจัดการหน้ีภาครัฐได้ ซ่ึง
การพจิ ารณาจัดสรรงบประมาณดังกล่าวรับผดิ ชอบโดยสานักงบประมาณ สานักนายกรัฐมนตรี ดงั นี้
1. วิเคราะห์โครงสร้างงบประมาณรายจ่ายในระดับภาพรวมให้มีความเหมาะสม มีการประมาณการ
การจัดเก็บรายได้ของรัฐบาลและการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ ท่ีสอดคล้องกับหลักการความ
ย่ังยนื ทางการคลัง ต่อมา จึงกาหนดวงเงินที่เหมาะสมสาหรับรายจ่ายที่เกี่ยวข้อง อาทิ รายจ่ายประจา รายจ่าย
ลงทุน รายจา่ ยเพอื่ ชดใช้เงนิ คงคลงั และรายจา่ ยเพ่อื ชาระคืนตน้ เงนิ กู้
2. รวบรวมคาของบประมาณรายจ่ายประจาปีภายใต้แผนงานบริหารจัดการหน้ีภาครัฐจากหน่วยรับ
งบประมาณท่เี กยี่ วขอ้ ง
3. วิเคราะห์ต้นทุนการกู้เงินหรืออัตราดอกเบี้ยเงินกู้ของหน่วยรับงบประมาณดังกล่าวในการปรับ
โครงสรา้ งหนี้
4. จัดลาดับความสาคัญของหน่วยรับงบประมาณ โดยหน่วยรับงบประมาณที่มีอัตราดอกเบ้ียเงินกู้ใน
การปรบั โครงสร้างหนใ้ี นระดบั สูง จะได้รบั ความสาคัญมากกวา่
5. จดั สรรงบประมาณรายจ่ายเพ่ือชาระคืนต้นเงินกู้ท่ีได้ตามข้อ 1 แก่หน่วยรับงบประมาณที่ได้รับการ
จัดลาดบั ความสาคญั ในระดบั สงู ตามข้อ 4 และพิจารณางบประมาณเพ่ือชาระดอกเบ้ียในการปรับโครงสร้างหน้ี
แก่หนว่ ยงานทม่ี ีลาดบั ความสาคัญในระดบั ต่าตามความเหมาะสม

สานกั งบประมาณของรัฐสภา สแกน QR Code เพอื่ เข้าถงึ เอกสาร
ในรปู แบบ pdf

หนา้ 28

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

ส่วนที่ 2 แผนงานรายจา่ ยเพอื่ ชดใช้เงินคงคลงั แผนงานรายจา่ ยเพ่อื ชดใช้เงนิ ทนุ สารองจา่ ย

การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายภายใต้แผนงานรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง และแผนงานรายจ่ายเพ่ือ
ชดใชเ้ งนิ ทุนสารองจา่ ย มวี ัตถปุ ระสงค์ดงั นี้

1. เพื่อเป็นรายจ่ายชดใช้เงินคงคลังที่ได้จ่ายไปแล้วตามพระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ. 2491 และที่
แก้ไขเพ่ิมเติม

2. เพ่ือเป็นเงินทุนสาหรับนาไปใช้จ่ายกรณีท่ีมีความจาเป็นและเร่งด่วนเพ่ือประโยชน์แก่ราชการ
แผ่นดิน และงบประมาณรายจ่ายงบกลาง รายการเงินสารองจ่ายเพ่ือกรณีฉุกเฉินหรือจาเป็นไม่เพียงพอ และ
เป็นรายจ่ายชดใช้เงินทุนสารองจ่ายที่ได้จ่ายไปแล้วตามพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 มาตรา
45

การจัดสรรงบประมาณภายใต้แผนงานรายจ่ายเพ่ือชดใช้เงินคงคลังและแผนงานรายจ่ายเพ่ือชดใช้
เงนิ ทุนสารองจา่ ย ปรากฏตามตารางต่อไปนี้

ท่มี า : เอกสารงบประมาณ หน้า 29

สานักงบประมาณของรฐั สภา

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

กฎหมายที่เก่ียวข้อง
1. พระราชบญั ญัตเิ งินคงคลัง พ.ศ. 2491

มาตรา 6

มาตรา 7

สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 30

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

2. พระราชบัญญตั ิวิธกี ารงบประมาณ พ.ศ. 2561 มาตรา 45

ความเห็นของ PBO
สานกั งบประมาณของรัฐสภาพิจารณาแล้วเห็นว่า การจัดสรรงบประมาณภายใต้แผนงานรายจ่ายเพื่อ
ชดใชเ้ งินคงคลังและแผนงานรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินทุนสารองจ่าย เป็นการดาเนินการตามภาระจริงที่เกิดข้ึนใน
อดีตและต้องชดเชยตามที่กฎหมายกาหนด จึงไม่สามารถเสนอให้ปรบั ปรุงรายละเอียดของรายการและวงเงินได้
อย่างไรก็ดี กรณีรายจ่ายเพ่ือชดใช้เงินคงคลัง หากมีจานวนมาก อาจสะท้อนให้เห็นถึงการจัดสรรงบประมาณ
ในช้ันแรกท่ีไม่เพียงพอกับรายจ่ายที่เกิดขึ้นจริง และหน่วยรับงบประมาณจาเป็นต้องใช้จ่ายเพ่ือรักษา
ผลประโยชน์ของทางราชการ ทาให้ต้องมีการเบิกเงินคงคลังเพื่อชาระไปก่อน และรัฐบาลต้องจัดสรรรายจ่าย
เพ่ือชดใช้เงนิ คงคลงั ในระยะเวลาตอ่ มา

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 31

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

ส่วนท่ี 3 การวเิ คราะห์รายหนว่ ยงาน (สว่ นราชการ องคก์ ารมหาชน รัฐวิสาหกิจ กองทุนและ

เงนิ ทนุ หมนุ เวียน)

สานกั งานปลัดกระทรวงการคลัง (เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบับที่ 3 เล่มที่ 2 หนา้ 7)

1. วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ อานาจหน้าท่ี
- วสิ ยั ทศั น์
เป็นศูนย์กลางการบริหารงานของกระทรวงการคลังทมี่ ีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล
- พันธกิจ
1. กาหนดนโยบาย เปา้ หมายและผลสัมฤทธ์ิของงานในกระทรวง
2. พัฒนายุทธศาสตร์การบริหารของกระทรวงรวมท้ังการแปลงนโยบายเป็นแนวทางและแผนการ

ปฏิบตั ิราชการ
3. ดาเนินการเกี่ยวกับการบริหารและพัฒนาบุคลากรของกระทรวง รวมถึงการกาหนดนโยบาย

และวางแผนเพอ่ื บริหารและพัฒนาบุคลากรของกระทรวง
4. ดาเนินการเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบที่อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงและกฎหมาย

อื่นทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
5. ดาเนินการเก่ียวกับการตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติราชการและเรื่องราวร้องทุกข์ของ

ส่วนราชการในสังกดั กระทรวง
6. เผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศด้านการคลังแก่สาธารณชนเพ่ือเสริมสร้างความเชื่อม่ันต่อระบบ

เศรษฐกจิ ของประเทศ
7. เป็นศูนย์ข้อมูลสารสนเทศของกระทรวงตลอดจนให้คาแนะนาเก่ียวกับนโยบายและแผนการ

พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมทั้งการใช้ประโยชน์ของข้อมูลของหน่วยงานในสังกัด
กระทรวง

8. บูรณาการและขับเคลื่อนแผนการป้องกันและปราบปรามทุจริตและการส่งเสริมคุ้มครองจริยธรรม
ในกระทรวง

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 32

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

2. ความเช่ือมโยงกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ เป้าหมาย ตวั ชี้วัดแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายสาคัญ

สานักงบประมาณของรัฐสภาได้พิจารณาข้อเสนอการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 ของหน่วยรับงบประมาณน้ีแล้ว พบว่า มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนงานงบประมาณ
ภายใต้ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวมท้ังแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแหง่ ชาติ และยุทธศาสตร์ชาติ

3. สรุปภาพรวมงบประมาณ

3.1 งบประมาณตามแผนงาน

งบประมาณปี 2565 สานักงานปลัดกระทรวงการคลังได้รับจัดสรรท้ังส้ิน จานวน 1,191.4348

ล้านบาท ลดลงจากปีงบประมาณ 2564 จานวน 354.2978 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ -22.92 โดยงบประมาณ

จาแนกตามแผนงานต่างๆ ดงั น้ี

หน่วย : ลา้ นบาท

แผนงาน งบประมาณ ร้อยละ

รวมทั้งสน้ิ 1,191.4348 100

1. แผนงานบคุ ลากรภาครฐั 121.4626 10.2

2. แผนงานพืน้ ฐาน

2.1 แผนงานพ้นื ฐานดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั 568.7616 47.7

3. แผนงานยทุ ธศาสตร์

3.1 แผนงานยทุ ธศาสตร์พฒั นาบรกิ ารประชาชนและการพัฒนา 501.2106 42.1

ประสิทธิภาพภาครัฐ

ท่มี า : เอกสารงบประมาณ

3.2 งบประมาณตามงบรายจา่ ย

หน่วย : ล้านบาท

แผนงาน / ผลผลติ หรอื โครงการ งบบคุ ลากร งบดาเนนิ การ งบลงทนุ งบเงินอดุ หนนุ งบรายจา่ ยอน่ื เงินนอก งปม. รวม

รวมทงั้ สนิ้ 120.2080 173.6474 588.7888 - 308.7906 - 1,191.4348
แผนงานบคุ ลากรภาครัฐ 120.2080 1.2546 - -- - 121.4626
แผนงานพนื้ ฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถในการ -- - 568.7616
แข่งขัน - 172.3928 396.3688 -- - 568.7616
ผลผลิตท่ี 1 การบริหารจัดการ การตดิ ตาม และ - 172.3928 396.3688
การประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการของหน่วยงานใน - 308.7906 - 501.2106
กากบั - - 192.4200 - 308.7906 - 308.7906
แผนงานยทุ ธศาสตร์พฒั นาบรกิ ารประชาชนและ - - - -- - 192.4200
การพฒั นาประสทิ ธภิ าพภาครัฐ - -
โครงการท่ี 1 โครงการระบบสารสนเทศการเงนิ การ 192.4200
คลังภาครัฐ (GFMIS)
โครงการที่ 2 โครงการการบริหารจัดการดา้ น
เทคโนโลยีดจิ ิทลั ของกระทรวงการคลัง

ท่มี า : เอกสารงบประมาณ

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 33

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

4. ขอ้ มูลรายงานการเงิน

การแสดงฐานะการเงิน 2562 2563 เพิม่ (ลด) หนว่ ย : ล้านบาท
751.6079
สนิ ทรัพย์ 3,420.5720 4,172.1799 -114.8055 รอ้ ยละ
866.4133 22.0
หนีส้ ิน 234.2557 119.4502 -49.0
เพมิ่ (ลด) 27.2
ทนุ 3,186.3163 4,052.7296 -47,667.7917
-47,822.0263 หน่วย : ลา้ นบาท
ทม่ี า : ระบบ CFS กรมบญั ชกี ลาง สืบค้นขอ้ มูลเมื่อวันที่ 30 พ.ค. 2564
154.2345 รอ้ ยละ
การแสดงผลการดาเนินงาน 2562 2563 -52.9
-53.5
รายได้ 90,071.5579 42,403.7662 21.7

คา่ ใช้จา่ ย 89,360.4431 41,538.4168

รายไดส้ งู กวา่ ค่าใชจ้ ่ายสทุ ธิ 711.1148 865.3493

ท่ีมา : ระบบ CFS กรมบญั ชกี ลาง สืบคน้ ขอ้ มลู เม่ือวันท่ี 30 พ.ค. 2564

5. ผลการเบกิ จ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 3 ปีย้อนหลัง (พ.ศ. 2562 - 2564)

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

งปม. หลังโอนฯ (ล้านบาท) เบิกจา่ ย (ลา้ นบาท)

ประจา ลงทนุ รวม ประจา ลงทนุ รวม

จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ

835.803 541.776 1,377.579 727.457 87.03 386.432 71.32 1,113.889 80.85

ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

งปม. หลังโอนฯ (ล้านบาท) เบิกจา่ ย (ลา้ นบาท)

ประจา ลงทุน รวม ประจา ลงทนุ รวม

จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ

766.36 867.22 1,633.58 715.83 93.4 683.39 78.8 1,399.21 85.6

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ 31 ม.ี ค. 2564

งปม. หลงั โอนฯ (ลา้ นบาท) เบกิ จ่าย (ล้านบาท)

ประจา ลงทนุ รวม ประจา ลงทุน รวม

จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ

724.04 821.70 1,545.73 246.85 34.0 191.35 23.2 438.20 28.3

ท่ีมา : กรมบญั ชกี ลาง

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 34

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

6. ขอ้ สงั เกต/ความเหน็ ของ PBO
6.1 ตวั ช้ีวดั ผลสัมฤทธขิ์ องปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ปรับลดลง
เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 เล่มที่ 2 หน้า 8 ได้นาเสนอข้อมูลตัวชี้วัดผลสัมฤทธ์ิของหน่วยรับ

งบประมาณ โดยตัวชี้วัดในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เท่ากับ 826 หน่วย ปรับลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ.
2564 ท่ีเท่ากับ 900 หน่วย ทั้งน้ี สานักงบประมาณของรัฐสภาพิจารณาแล้ว เห็นว่า การปรับลดของตัวช้ีวัด
ผลสัมฤทธ์ิดังกล่าว อาจสะทอ้ นถงึ ปรมิ าณงานทลี่ ดลง และเห็นสมควรให้หน่วยรับงบประมาณชี้แจงในประเด็น
ดังกลา่ ว

อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาในประเด็นค่าใช้จ่ายต่อหน่วยโดยนางบประมาณรายจ่ายที่ได้รับจัดสรรใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และ 2565 มาวิเคราะห์ พบว่า การบริหารงบประมาณมีประสิทธิภาพมากข้ึน
เน่ืองจากมคี า่ ใชจ้ า่ ยต่อหนว่ ยชวี้ ัดผลสัมฤทธิ์ลดลง รายละเอยี ดปรากฏตามตารางต่อไปนี้

ตวั แปร 2564 2565

ตัวชี้วดั ผลสัมฤทธ์ิ 900 หน่วย 826 หนว่ ย
งบประมาณรายจ่าย 1,545.7326 ลา้ นบาท 1,191.4348 ลา้ นบาท
ค่าใชจ้ ่ายตอ่ หนว่ ย
1.7174 ล้านบาท 1.4424 ลา้ นบาท

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 35

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

6.2 การเชอื่ มโยงระบบสารสนเทศการเงนิ การคลงั ภาครฐั (GFMIS) กับหน่วยงานอ่ืน
เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 เล่มท่ี 2 หน้า 17 ให้รายละเอียดเก่ียวกับระบบ GFMIS ซ่ึงเป็นระบบ
สารสนเทศด้านการเงินการคลังภาครัฐของกระทรวงการคลัง ท่ีเกี่ยวข้องกับการเบิกจ่ายงบประมาณ ซ่ึงมีการ
พัฒนาและปรับปรุงตามลาดับ สานักงบประมาณของรัฐสภาพิจารณาแล้ว เห็นว่า ในปัจจุบัน หน่วยงานกลาง
ต่างมีระบบสารสนเทศในการบริหารงาน อาทิ 1. สานักงบประมาณ มีระบบ E-budgeting ในการจัดทา
งบประมาณรายจ่ายประจาปี กรอบวงเงินงบประมาณที่จัดสรรให้หน่วยรับงบประมาณ และเอกสารงบประมาณ
และ 2. สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ มีระบบ eMENSCR ในการติดตามและประเมินผล
การดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั ตามยทุ ธศาสตร์
สานักงบประมาณของรัฐสภา พิจารณาแล้วเห็นว่า หน่วยรับงบประมาณที่รับผิดชอบระบบ E-budgeting
GFMIS และ eMENSCR ควรมีการหารือและพัฒนาระบบร่วมกัน เพ่ือพัฒนาระบบสารสนเทศการเงินการคลัง
ภาครัฐให้เปน็ ระบบเดียว ครอบคลุมการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี การเบิกจ่ายงบประมาณ และการ
ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาเนินงานของหน่วยรับงบประมาณตามยุทธศาสตร์ในระดับชาติ ซ่ึงการดาเนินการ
ดังกลา่ ว จะมีข้อดี ได้แก่ 1. ลดระยะเวลาของหน่วยรับงบประมาณอ่ืน ๆ ในการจัดการข้อมูลเพ่ือนาเข้าระบบ
จากเดิม 3 ระบบ เหลือเพียง 1 ระบบ และ 2. สามารถพัฒนาระบบใหม่ที่มีการรวมศูนย์ ให้สามารถวิเคราะห์
ความคุ้มค่าในการดาเนินการของหน่วยรับงบประมาณตามแผนยุทธศาสตร์ในระดับต่าง ๆ ได้ เนื่องจาก
สามารถเขา้ ถงึ ตัวชวี้ ัดการดาเนนิ งานและการเบิกจ่ายงบประมาณของหนว่ ยรับงบประมาณท้งั หมดได้

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 36

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

กรมธนารกั ษ์ (เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบบั ที่ 3 เลม่ ท่ี 2 หนา้ 23)

1. วิสัยทศั น์ พนั ธกิจ อานาจหนา้ ที่
- วิสัยทศั น์
บริหารทรัพย์สินของแผ่นดินอย่างมืออาชีพ ด้วยหลักธรรมาภิบาลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมท่ีสมดุล

และยงั่ ยืน
- พนั ธกิจ
1. บริหารจัดการที่ราชพัสดุให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดท้ังในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม
2. ประเมนิ ราคาอสังหาริมทรพั ย์ให้ไดม้ าตรฐานสากล
3. ผลิตและบรหิ ารจัดการเหรียญกษาปณใ์ ห้เพยี งพอต่อความต้องการใช้ในระบบเศรษฐกิจ
4. จัดแสดง เผยแพร่ และดูแลรักษาทรัพย์สินมีค่าของรัฐตามหลักวิชาการเพ่ือสืบทอดมรดกทาง

วฒั นธรรมของชาติ

2. ความเช่ือมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมาย ตวั ชีว้ ดั แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนพัฒนา

เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ นโยบายสาคญั

สานักงบประมาณของรฐั สภาได้พิจารณาข้อเสนอการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 ของหน่วยรับงบประมาณน้ีแล้ว พบว่า มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนงานงบประมาณ
ภายใต้ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวมท้ังแผนพัฒนา
เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ และยุทธศาสตรช์ าติ

3. สรุปภาพรวมงบประมาณ

3.1 งบประมาณตามแผนงาน

งบประมาณปี 2565 กรมธนารักษ์ได้รับจัดสรรท้ังสิ้น จานวน 3,858.5233 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก

ปีงบประมาณ 2564 จานวน 118.0354 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.16 โดยงบประมาณจาแนกตามแผนงาน

ต่างๆ ดงั นี้

หน่วย : ลา้ นบาท

แผนงาน งบประมาณ รอ้ ยละ

รวมทั้งสิ้น 3,858.5233 100

1. แผนงานบุคลากรภาครฐั 709.7696 18.4

2. แผนงานพนื้ ฐาน

2.1 แผนงานพ้นื ฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน 550.2889 14.3

3. แผนงานยทุ ธศาสตร์

3.1 แผนงานยุทธศาสตรพ์ ฒั นาบริการประชาชนและการพัฒนา 2,529.9648 65.6

ประสิทธิภาพภาครฐั

4. แผนงานบรู ณาการ

4.1 แผนงานบรู ณาการรัฐบาลดิจิทลั 68.5000 1.8

ท่มี า : เอกสารงบประมาณ

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หนา้ 37

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

3.2 งบประมาณตามงบรายจา่ ย

หนว่ ย : ล้านบาท

แผนงาน / ผลผลติ หรือโครงการ งบบคุ ลากร งบดาเนินการ งบลงทนุ งบเงินอดุ หนนุ งบรายจา่ ยอน่ื เงินนอก งปม. รวม

รวมทง้ั สน้ิ 700.1193 2,740.1708 418.2332 - - 650.0000 4,508.5233
แผนงานบคุ ลากรภาครัฐ 700.1193 9.6503 - - - 205.0000 914.7696
แผนงานพนื้ ฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถในการ - - 445.0000 995.2889
แข่งขัน - 200.5557 349.7332
ผลผลิตที่ 1 การบริหารทร่ี าชพสั ดุ -
ผลผลติ ที่ 2 การบริหารเหรียญกษาปน์ - 78.3757 295.8332 - - 445.0000 819.2089
ผลผลติ ท่ี 3 ทรัพย์สนิ มคี า่ ของแผ่นดนิ ไดร้ ับการ - 50.4824 3.9000 - - - 54.3824
ดแู ลตามหลักการอนุรักษ์ - 8.7840 50.0000 - - 58.7840
ผลผลิตท่ี 4 ราคาประเมนิ อสังหาริมทรัพย์ -
แผนงานยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนาบริการประชาชนและ - 62.9136 -- - - 62.9136
การพัฒนาประสทิ ธภิ าพภาครัฐ - 2,529.9648 -- - 2,529.9648
โครงการที่ 1 โครงการเช่าพนื้ ทบ่ี ริเวณศนู ย์ราชการ -
เฉลิมพระเกยี รติ 80 พรรษา 5 ธนั วาคม 2550 - 2,529.9648 -- - 2,529.9648

แผนงานบรู ณาการรัฐบาลดจิ ทิ ลั - - 68.5000 - - - 68.5000

โครงการท่ี 1 : โครงการสร้างเคร่ืองมอื และแพลต - - 68.5000 - - - 68.5000

ฟอรมก์ ลาง

ที่มา : เอกสารงบประมาณ

4. ขอ้ มูลรายงานการเงนิ

หนว่ ย : ล้านบาท

การแสดงฐานะการเงิน 2562 2563 เพ่มิ (ลด) รอ้ ยละ

สนิ ทรพั ย์ 4,726,130.1889 6,483,781.2086 1,757,651.0197 37.2

หนส้ี ิน 22,710.6543 21,681.7630 -1,028.8913 -4.5

ทนุ 4,703,419.5346 6,462,099.4456 1,758,679.9110 37.4

ทมี่ า : ระบบ CFS กรมบญั ชีกลาง สืบค้นข้อมลู เมอื่ วนั ที่ 30 พ.ค. 2564

หนว่ ย : ล้านบาท

การแสดงผลการดาเนนิ งาน 2562 2563 เพม่ิ (ลด) รอ้ ยละ

รายได้ 7,400.4363 6,121.9385 -1,278.4978 -17.3

ค่าใช้จา่ ย 7,714.8825 6,964.9997 -749.8828 -9.7

รายไดส้ ูงกวา่ ค่าใช้จา่ ยสทุ ธิ -314.4462 -843.0611 -528.6149 168.1

ที่มา : ระบบ CFS กรมบญั ชีกลาง สบื คน้ ข้อมลู เม่ือวนั ท่ี 30 พ.ค. 2564

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 38

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

5. ผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 3 ปีย้อนหลัง (พ.ศ. 2562 – 2564)

ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

งปม. หลงั โอนฯ (ล้านบาท) เบกิ จา่ ย (ล้านบาท)

ประจา ลงทุน รวม ประจา ลงทุน รวม

จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ

3,543.441 205.846 3,749.287 3,520.419 99.35 163.461 79.40 3,683.880 98.25

ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563

งปม. หลงั โอนฯ (ล้านบาท) เบกิ จ่าย (ลา้ นบาท)

ประจา ลงทุน รวม ประจา ลงทุน รวม

จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ

3,536.70 197.06 3,733.76 3,528.13 99.7 145.09 73.6 3,673.22 98.3

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ วนั ที่ 31 มี.ค. 2564

งปม. หลังโอนฯ (ล้านบาท) เบกิ จ่าย (ลา้ นบาท)

ประจา ลงทนุ รวม ประจา ลงทุน รวม

จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ

3,540.20 200.29 3,740.49 3,001.18 84.7 3.20 1.5 3,004.38 80.3

ทม่ี า : กรมบัญชกี ลาง

6. ข้อสังเกต/ความเห็นของ PBO
6.1 งบดาเนินงานปรบั ลดลงมาก จะกระทบต่อการนาสง่ บรกิ ารสาธารณะแกป่ ระชาชนหรอื ไม่ ?
เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 เล่มที่ 2 หน้า 27 ได้นาเสนอข้อมูลงบประมาณจาแนกตามงบรายจ่าย

ของแผนงาน ผลผลติ และโครงการต่าง ๆ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้

คาถาม :
วงเงนิ ปงี บประมาณ
พ.ศ. 2565 ปรับลดจาก
ปงี บประมาณ พ.ศ.
2564 จานวนมาก
(สว่ นใหญเ่ ป็น
คา่ ตอบแทน ใชส้ อย
และพัสด)ุ จะกระทบ

การดาเนินงานหรอื ไม่ ?

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 39

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

วงเงนิ ทีจ่ ัดสรร
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564

สานักงบประมาณของรัฐสภา หนา้ 40

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

กรมบญั ชกี ลาง (เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบบั ท่ี 3 เล่มที่ 2 หนา้ 52)

1. วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ อานาจหน้าท่ี
- วสิ ยั ทัศน์
กากบั ดแู ลและบริหารการใชจ้ ่ายเงินของแผ่นดินให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ
- พนั ธกจิ
1. กาหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ แนวปฏบิ ัติดา้ นกฎหมายการคลัง การบัญชี การจดั ซ้ือจัดจ้างภาครัฐ

และการบริหารพสั ดุภาครัฐ การตรวจสอบภายใน ค่าตอบแทนและสวัสดิการ เงินนอกงบประมาณ ลูกจ้างและ
ความรับผิดทางละเมดิ ของเจ้าหน้าท่ีของรัฐใหสั อดคล้องกบั การรักษาวินัยและความย่ังยืนทางการคลัง

2. บริหารเงนิ สดภาครัฐ บริหารการรับ - จ่ายเงิน ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้ระบบเทคโนโลยี
ทที่ นั สมยั

3. สนับสนุนการบริหารเศรษฐกจิ การคลังในส่วนภมู ิภาค
4. พฒั นาขีดความสามารถของบุคลากรภาครัฐทางด้านการบริหารการเงินภาครฐั
5. เป็นศูนยข์ ้อมลู สารสนเทศทางการคลัง

2. ความเช่ือมโยงกบั ยุทธศาสตร์ชาติ เปา้ หมาย ตวั ชีว้ ัดแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ แผนพัฒนา

เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ นโยบายสาคัญ

สานกั งบประมาณของรัฐสภาได้พิจารณาข้อเสนอการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 ของหน่วยรับงบประมาณน้ีแล้ว พบว่า มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนงานงบประมาณ
ภายใต้ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวมทั้งแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ และยทุ ธศาสตร์ชาติ

3. สรปุ ภาพรวมงบประมาณ
3.1 งบประมาณตามแผนงาน
งบประมาณปี 2565 กรมบัญชีกลางได้รับจัดสรรท้ังสิ้น จานวน 1,490.2449 ล้านบาท ลดลงจาก

ปีงบประมาณ 2564 จานวน 114.0049 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ -7.11 โดยงบประมาณจาแนกตามแผนงาน
ต่างๆ ดงั นี้

แผนงาน หนว่ ย : ลา้ นบาท
รวมท้ังสน้ิ
1. แผนงานบุคลากรภาครฐั งบประมาณ รอ้ ยละ
2. แผนงานยุทธศาสตร์ 1,490.2449 100

2.1 แผนงานยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาบริการประชาชนและการพัฒนา 885.2997 59.4
ประสทิ ธภิ าพภาครัฐ
604.9452 40.6
ทม่ี า : เอกสารงบประมาณ

สานักงบประมาณของรฐั สภา หนา้ 41

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลงั

3.2 งบประมาณตามงบรายจ่าย

หนว่ ย : ล้านบาท

แผนงาน / ผลผลติ หรอื โครงการ งบบคุ ลากร งบดาเนินการ งบลงทนุ งบเงินอดุ หนนุ งบรายจา่ ยอนื่ เงินนอก งปม. รวม

รวมทงั้ สนิ้ 879.6488 246.3447 198.6453 - 165.6061 - 1,490.2449
แผนงานบคุ ลากรภาครัฐ 879.6488 -- - 885.2997
แผนงานยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาบริการประชาชนและ 5.6509 - - 165.6061 - 604.9452
การพฒั นาประสทิ ธภิ าพภาครฐั -
ผลผลิตท่ี 1 การบริหารและกากบั ดแู ลดา้ นรายข่าย 240.6938 198.6453 - 165.6061 - 604.9452
ภาครัฐ -
240.6938 198.6453
ทม่ี า : เอกสารงบประมาณ

4. ขอ้ มลู รายงานการเงนิ

การแสดงฐานะการเงนิ 2562 2563 เพม่ิ (ลด) หน่วย : ลา้ นบาท
11,779.2148
สินทรัพย์ 17,253.8841 29,033.0989 46,466.2704 รอ้ ยละ
68.3
หนส้ี นิ 4,774.9632 51,241.2336 -34,687.0556 973.1

ทนุ 12,478.9209 -22,208.1347 -278.0

ทม่ี า : ระบบ CFS กรมบญั ชีกลาง สบื ค้นข้อมูลเมื่อวนั ท่ี 30 พ.ค. 2564

หน่วย : ล้านบาท

การแสดงผลการดาเนินงาน 2562 2563 เพ่มิ (ลด) รอ้ ยละ

รายได้ 50,517.1582 114,606.4787 64,089.3205 126.9

ค่าใชจ้ ่าย 40,128.8501 150,170.2110 110,041.3609 274.2

รายได้สูงกว่าค่าใช้จา่ ยสุทธิ 10,388.3081 -35,563.7322 -45,952.0403 -442.3

ที่มา : ระบบ CFS กรมบญั ชกี ลาง สบื คน้ ขอ้ มลู เมือ่ วนั ท่ี 30 พ.ค. 2564

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 42

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

5. ผลการเบิกจา่ ยงบประมาณประจาปีงบประมาณ 3 ปียอ้ นหลัง (พ.ศ. 2562 – 2564)

ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

งปม. หลงั โอนฯ (ล้านบาท) เบิกจ่าย (ลา้ นบาท)

ประจา ลงทุน รวม ประจา ลงทุน รวม

จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ

1,340.828 520.996 1,861.824 1,232.360 91.91 281.650 54.05 1,514.011 81.31

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

งปม. หลังโอนฯ (ลา้ นบาท) เบิกจ่าย (ล้านบาท)

ประจา ลงทนุ รวม ประจา ลงทนุ รวม

จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ

1,454.81 534.01 1,988.82 1,349.77 92.7 99.37 18.6 1,449.14 72.8

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ วันที่ 31 มี.ค. 2564

งปม. หลงั โอนฯ (ล้านบาท) เบกิ จ่าย (ลา้ นบาท)

ประจา ลงทุน รวม ประจา ลงทนุ รวม

จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ

1,439.45 164.80 1,604.25 537.97 37.3 12.40 7.5 550.36 34.3

ที่มา : กรมบญั ชกี ลาง

6. ข้อสังเกต/ความเห็นของ PBO

6.1 งบกลางภายใต้การดแู ลของกรมบัญชีกลาง

กรมบัญชีกลางมีอานาจหน้าท่ีในการควบคุมและอนุมัติการเบิกจ่ายงบกลางจานวนหน่ึง ซึ่งเก่ียวข้อง

กับการบริหารงานบุคคลและสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการ ซ่ึงจะมีการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย

ประจาปีเป็นรายการเฉพาะ ดังน้ัน ข้อเสนอวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของ

กรมบัญชกี ลาง จานวน 1,490.2449 ลา้ นบาท จึงไม่รวมวงเงินงบกลางดังกล่าว ท้ังน้ี รายการตามงบกลางท่ีอยู่

ในความรับผิดชอบของกรมบัญชีกลางและวงเงินงบประมาณที่เกี่ยวข้อง ปรากฏตามตาราง ท้ังนี้ พบว่า

รายการงบกลางต่าง ๆ มวี งเงนิ ลดลงหรอื ปรับเพม่ิ ขึน้ ไม่มาก

รายการ พรบ. 2564 ร่าง พรบ. 2565

1. ค่าใช้จ่ายในการรกั ษาพยาบาลข้าราชการ ลกู จ้าง และพนักงานของรัฐ 74,000.0 74,000.0

2. เงนิ เบย้ี หวัด บาเหน็จ บานาญ 300,435.5 310,600.0

3. เงินชว่ ยเหลือข้าราชการ ลกู จา้ ง และพนักงานของรัฐ 5,008.0 4,360.0

4. เงินเลื่อนเงินเดือนและเงินปรบั วฒุ ิขา้ ราชการ 15,500.0 11,547.3

5. เงนิ สารอง เงินสมทบ และเงนิ ชดเชยของขา้ ราชการ 69,707.1 72,370.0

6. เงนิ สมทบของลูกจา้ งประจา 640.0 570.0

7. ค่าใช้จ่ายชดใชเ้ งินทดรองราชการเพ่อื ชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภยั พิบตั กิ รณีฉกุ เฉนิ 6,000.0 5,000.0

ท่ีมา : เอกสารงบประมาณ

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 43

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

6.2 ความไมส่ อดคล้องระหว่างเป้าหมายการให้บริการหนว่ ยงานและตวั ชว้ี ดั
เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบับที่ 3 เล่มที่ 2 หน้า 53 ให้รายละเอียดเกี่ยวกับเป้าหมายการบริการ
หนว่ ยงานและตวั ชว้ี ดั ดังนี้

สานกั งบประมาณของรฐั สภาพิจารณาเป้าหมายการใหบ้ รกิ ารหน่วยงานและตัวชว้ี ัดดังกล่าวแล้ว ขอต้ัง
ข้อสังเกตดังน้ี

1. ตัวชี้วัด “ร้อยละการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายลงทุน” อาจไม่สะท้อนถึงศักยภาพการดาเนินการ
ของกรมบัญชีกลาง เนื่องจากอัตราการเบิกจ่ายงบประมาณจะขึ้นอยู่กับศักยภาพของหน่วยรับงบประมาณอ่ืน
ในการดาเนินโครงการงบประมาณเป็นหลัก หากการดาเนินโครงการเป็นไปอย่างรวดเร็ว จะทาให้การเบิกจ่าย
งบประมาณเป็นไปอย่างรวดเร็วด้วย ดังนั้น ตัวช้ีวัดดังกล่าวอาจไม่สามารถวัดศักยภาพและผลการปฏิบัติงาน
ของกรมบญั ชกี ลางได้อยา่ งเต็มท่ีและชัดเจน

2. ตัวชี้วัด “ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการท่ีมีต่อกรมบัญชีกลาง” อาจไม่เก่ียวข้องกับความ
ยั่งยืนทางการคลังโดยตรง เน่ืองจากความย่ังยืนทางการคลังจะเก่ียวข้องกับประเด็นต่าง ๆ อาทิ การจัดเก็บ
รายได้ที่เพียงพอ สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP ที่ไม่ปรับเพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็ว และรัฐบาลชาระหนี้ท้ังต้นเงินกู้
และดอกเบี้ยอย่างเพยี งพอและไม่ผิดนัดชาระหนี้ ดังน้ัน ตัวชี้วัดดังกล่าวอาจไม่สะท้อนถึงการรักษาความยั่งยืน
ทางการคลงั

สานักงบประมาณของรัฐสภา หน้า 44

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

6.3 งบดาเนินงานปรบั ลดลงมาก จะกระทบต่อการนาสง่ บรกิ ารสาธารณะแกป่ ระชาชนหรือไม่ ?
เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 เล่มที่ 2 หน้า 54 ได้นาเสนอข้อมูลงบประมาณจาแนกตามงบรายจ่าย
ของแผนงาน ผลผลิต และโครงการต่าง ๆ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดังน้ี

คาถาม :
วงเงินปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 ปรบั ลดจาก
ปงี บประมาณ พ.ศ.
2564 จานวนมาก
(สว่ นใหญ่เปน็
ค่าตอบแทน ใช้สอย
และพัสดุ) จะกระทบ
การดาเนินงานหรอื ไม่ ?

วงเงนิ ทจ่ี ัดสรร
ในปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564

สานกั งบประมาณของรฐั สภา หน้า 45

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

กรมศลุ กากร (เอกสารงบประมาณขาวคาดแดง ฉบับท่ี 3 เล่มที่ 2 หน้า 64)

1. วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ อานาจหนา้ ท่ี
- วสิ ยั ทศั น์
องคก์ รศลุ กากรชั้นนา ที่มงุ่ ส่งเสริมความยั่งยืนของเศรษฐกิจและความปลอดภัยของสังคม ด้วย

นวัตกรรมและบริการทเี ปน็ เลิศ
- พนั ธกจิ
1. อานวยความสะดวกทางการคา้ และส่งเสริมระบบโลจิสตกิ ส์ของประเทศ
2. ส่งเสริมเศรษฐกิจของประเทศด้วยมาตรการทางศุลกากรและข้อมลู การค้าระหว่างประเทศ
3. ปกป้องสงคมให้ปลอดภัยด้วยระบบควบคุมทางศลุ กากร
4. จดั เกบ็ ภาษีอย่างเปน็ ธรรม โปรง่ ใส และมีประสทธิภาพ

2. ความเช่ือมโยงกบั ยุทธศาสตร์ชาติ เปา้ หมาย ตวั ชี้วดั แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ แผนพฒั นา

เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ นโยบายสาคัญ

สานกั งบประมาณของรฐั สภาไดพ้ จิ ารณาข้อเสนอการจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ
พ.ศ. 2565 ของหนว่ ยรบั งบประมาณน้ีแล้ว พบว่า มีความสอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์ของแผนงานงบประมาณ
ภายใตย้ ุทธศาสตรก์ ารจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 รวมทั้งแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และยทุ ธศาสตรช์ าติ

3. สรปุ ภาพรวมงบประมาณ

3.1 งบประมาณตามแผนงาน

งบประมาณปี 2565 กรมศุลกากรได้รับจัดสรรท้ังสิ้น จานวน 4,095.2584 ล้านบาท เพ่ิมข้ึนจาก

ปีงบประมาณ 2564 จานวน 136.9616 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.46 โดยงบประมาณจาแนกตามแผนงาน

ตา่ งๆ ดังน้ี

หนว่ ย : ล้านบาท

แผนงาน งบประมาณ รอ้ ยละ

รวมทั้งส้ิน 4,095.2584 100

1. แผนงานบุคลากรภาครฐั 1,940.8422 47.4

2. แผนงานยุทธศาสตร์

2.1 แผนงานยทุ ธศาสตรพ์ ัฒนาบรกิ ารประชาชนและการพัฒนา 2,070.2700 50.6

ประสิทธิภาพภาครฐั

2.2 แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาพน้ื ทเ่ี ขตเศรษฐกิจพเิ ศษ 84.1462 2.0

ทม่ี า : เอกสารงบประมาณ

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หนา้ 46

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

3.2 งบประมาณตามงบรายจ่าย

หนว่ ย : ล้านบาท

แผนงาน / ผลผลติ หรือโครงการ งบบคุ ลากร งบดาเนินการ งบลงทนุ งบเงินอดุ หนุน งบรายจา่ ยอนื่ เงินนอก งปม. รวม

รวมทงั้ สนิ้ 1,918.4762 667.8526 1,507.4797 1.4499 - 773.0242 4,868.2826
แผนงานบคุ ลากรภาครฐั 1,918.4762 - - 117.4929 2,058.3351
แผนงานยทุ ธศาสตร์พัฒนาบรกิ ารประชาชนและ 22.3660 - - 655.5313 2,725.8013
การพัฒนาประสทิ ธภิ าพภาครัฐ - 1.4499
ผลผลิตท่ี 1 การจัดเกบ็ ภาษศี ลุ กากร 645.4866 1,423.3335 - 655.5313 2,725.8013
แผนงานยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาพน้ื ทเี่ ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ - 1.4499 - - 84.1462
โครงการที่ 1 โครงการพฒั นาดา่ นศลุ กากรพนื้ ท่ี - 645.4866 1,423.3335 - - - 84.1462
เศรษฐกจิ พเิ ศษ - - 84.1462 -
- 84.1462
ที่มา : เอกสารงบประมาณ

4. ขอ้ มูลรายงานการเงนิ

หนว่ ย : ลา้ นบาท

การแสดงฐานะการเงิน 2562 2563 เพมิ่ (ลด) รอ้ ยละ

สินทรพั ย์ 30,065.9374 31,010.0370 944.0996 3.1

หน้ีสิน 24,780.2912 23,842.0902 -938.2010 -3.8

ทนุ 5,285.6462 7,167.9468 1,882.3006 35.6

ทมี่ า : ระบบ CFS กรมบญั ชกี ลาง สืบค้นขอ้ มลู เม่ือวันท่ี 30 พ.ค. 2563

หนว่ ย : ลา้ นบาท

การแสดงผลการดาเนนิ งาน 2562 2563 เพ่มิ (ลด) ร้อยละ

รายได้ 32,615.2190 29,015.4779 -3,599.7411 -11.0

ค่าใช้จา่ ย 29,470.7176 27,134.2831 -2,336.4345 -7.9

รายไดส้ ูงกว่าค่าใช้จา่ ยสทุ ธิ 3,144.5013 1,881.1947 -1,263.3066 -40.2

ที่มา : ระบบ CFS กรมบญั ชกี ลาง สบื คน้ ข้อมลู เมอ่ื วนั ที่ 30 พ.ค. 2563

สานักงบประมาณของรฐั สภา หน้า 47

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 : กระทรวงการคลัง

5. ผลการเบกิ จ่ายงบประมาณประจาปีงบประมาณ 3 ปียอ้ นหลัง (พ.ศ. 2562 – 2564)

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

งปม. หลงั โอนฯ (ล้านบาท) เบิกจา่ ย (ลา้ นบาท)

ประจา ลงทุน รวม ประจา ลงทุน รวม

จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ

2,799.178 1,545.254 4,344.432 2,744.015 98.02 1,130.383 73.15 3,874.399 89.18

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

งปม. หลังโอนฯ (ลา้ นบาท) เบิกจ่าย (ลา้ นบาท)

ประจา ลงทนุ รวม ประจา ลงทุน รวม

จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ

3,016.41 567.65 3,584.06 2,807.28 93.06 408.86 72.02 3,216.14 86.7

ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ณ วันที่ 31 มี.ค. 2564

งปม. หลังโอนฯ (ล้านบาท) เบิกจา่ ย (ล้านบาท)

ประจา ลงทนุ รวม ประจา ลงทนุ รวม

จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ

2,978.74 979.56 3,958.30 1,301.77 43.7 89.22 9.1 1,390.99 35.1

ที่มา : กรมบัญชกี ลาง

6. ขอ้ สังเกต/ความเห็นของ PBO
6.1 งบดาเนินงานปรับลดลงมาก จะกระทบต่อการนาสง่ บรกิ ารสาธารณะแก่ประชาชนหรือไม่ ?
เอกสารงบประมาณ ฉบับที่ 3 เล่มท่ี 2 หน้า 54 ได้นาเสนอข้อมูลงบประมาณจาแนกตามงบรายจ่าย

ของแผนงาน ผลผลติ และโครงการตา่ ง ๆ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั น้ี

คาถาม :
วงเงนิ ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2565 ปรับลดจาก
ปีงบประมาณ พ.ศ.
2564 จานวนมาก
(ส่วนใหญ่เป็น
ค่าตอบแทน ใชส้ อย
และพสั ดุ) จะกระทบ

การดาเนินงานหรือไม่ ?

สานกั งบประมาณของรัฐสภา หน้า 48


Click to View FlipBook Version