The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaipbo.parliament, 2022-01-22 12:08:55

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ

วิเคราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ

สารบัญ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น (อปท.)

สว่ นที่ 1 ภาพรวม หนา้

-วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ อำนำจหน้ำที่ และภำพรวมอ่นื ท่เี ก่ยี วขอ้ ง 1
1
-ภำพรวมของกำรจัดกำรปกครองท้องถ่ินและกฎหมำยทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
-ควำมเชอ่ื มโยงยทุ ธศำสตร์ แผนแม่บทฯ แผนพฒั นำฯ ยุทธศำสตรก์ ำรจดั สรรงบประมำณ แผนงำน 2
ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 4
-นโยบำย & แนวทำงกำรจดั ทำงบประมำณรำยจำ่ ย ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ทเี่ กีย่ วข้อง
6
ส่วนที่ 2 บทวเิ คราะห์ 7
7
-สรุปภำพรวมรำยได้ งบประมำณรำยจำ่ ยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 และเงินนอกงบประมำณ 8
-เป้ำหมำยกำรจัดสรรภำษีฯ เงินอดุ หนุนและรำยได้อน่ื ให้แก่ อปท. ตำมแผนกำรกระจำยอำนำจ 9
-อปท. และควำมสำมำรถในกำรพึง่ ตนเองด้ำนรำยได้ 10
-อปท. และกำรพึ่งพำเงนิ อดุ หนุนจำกรัฐบำล 11
-กำรจดั สรรงบประมำณรำยจ่ำยฯ ให้แก่ อปท. จำแนกตำมวธิ ีกำรจัดสรรและประเภท อปท. 16
-สรปุ ภำพรวมเงนิ นอกงบประมำณปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 19
-กำรจดั สรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 ใหแ้ ก่ อปท. จำแนกตำมหนว่ ยงำน 20
-กำรจัดสรรงบประมำณฯ ให้แก่เทศบำลตำบลและ อบต. ผ่ำนกรมสง่ เสริมกำรปกครองท้องถนิ่ 22
-กำรจัดสรรงบประมำณฯ องคก์ ำรบริหำรส่วนจังหวัด 32
-กำรจัดสรรงบประมำณฯ กรุงเทพมหำนคร 39
-กำรจดั สรรงบประมำณฯ เมืองพัทยำ 46
-กำรจดั สรรงบประมำณฯ เทศบำลนครและเทศบำลเมือง 60
60
ส่วนท่ี 3 ขอ้ มูลประกอบการพิจารณาอ่นื 68

-ประเดน็ ข้อสังเกตของกรรมำธกิ ำรฯ ทสี่ ำคัญ ในปีทผ่ี ำ่ นมำ 74
-สรปุ ผลรำยงำนวิชำกำรของ PBO ทเ่ี กี่ยวข้อง

ขอ้ สังเกต PBO : หนา้ 6 / 11 / 14 / 18 / 21 / 23 / 31 / 34 / 41 / 47 / 59
บรรณานุกรม

สำนักงบประมำณของรฐั สภำ หนำ้ ก สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่

องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่

สว่ นท่ี 1 ภาพรวม

1. วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ อานาจหน้าท่ี และภาพรวมอ่ืนทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
1.1 วิสยั ทศั น์

ประชำชนมีรำกฐำนกำรดำรงชวี ติ และพัฒนำสอู่ นำคตไดอ้ ย่ำงม่ันคงและสมดุลตำมหลกั ปรชั ญำของ
เศรษฐกจิ พอเพียง*
1.2 พนั ธกจิ

1.รักษำควำมสงบเรียบร้อย ควำมปลอดภัยและควำมมน่ั คงภำยใน
2.เสริมสรำ้ งควำมเข้มแข็งของชมุ ชนและเศรษฐกิจฐำนรำก
3.สง่ เสริมกำรพฒั นำเมืองและโครงสร้ำงพนื้ ฐำน
4.สง่ เสริมและสนับสนนุ กำรบรหิ ำรรำชกำรในระดับพ้นื ท่ี
1.3 ผลสัมฤทธ์แิ ละประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะได้รับจากการใชจ้ า่ ยงบประมาณ

ผลสัมฤทธิ์และประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รบั หน่วย คา่ เป้าหมาย
นบั ปี 2563 ปี 2564

1) ผลสัมฤทธิ์: ชมุ ชนมีควำมสงบเรียบร้อยปลอดภัยและมี ครงั้ 1,500,548 1,600,228
ควำมสุขตำมหลักปรชั ญำเศรษฐกิจพอเพียง
- ตวั ชว้ี ดั : กำรดำเนนิ กำรรักษำควำมมน่ั คงภำยในแบบ ร้อยละ 85 85
พลเรอื นและกำรรักษำควำมสงบเรียบรอ้ ย**
- ตัวชวี้ ดั : ดัชนีควำมสุขมวลรวมของหมูบ่ ำ้ น/ชุมชน รอ้ ยละ 94 70
(Gross Village Happiness: GVH) เพม่ิ ขนึ้
- ตวั ชว้ี ัด: ร้อยละขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ที่ผำ่ นเกณฑ์
กำรประเมนิ ประสทิ ธภิ ำพ
(Local Performance Assessment: LPA)

หมายเหตุ *เป็นวสิ ัยทศั น์กระทรวงมหาดไทยซ่งึ เปน็ ต้นสังกัดขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น (อปท.) และ
กฎหมายกาหนดให้มีหนา้ ท่แี ละอานาจในการสง่ เสรมิ การปกครองท้องถิ่น

** ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 กาหนดตวั ช้ีวดั : จานวนครง้ั ในการดาเนินการรักษาความสงบ
เรียบรอ้ ยภายในและการเตรียมความพร้อมด้านการจดั การสาธารณภยั ในพ้นื ท่ี

สำนักงบประมำณของรฐั สภำ หนำ้ 1 สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน

1.4 ภาพรวมของการจดั การปกครองท้องถิน่ และกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง

- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยให้ควำมสำคัญกับกำรกระจำยอำนำจให้แก่องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น (อปท.) โดย มำตรำ 249 และ 250 กำหนดให้การจัดการปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นไปตามหลักแห่ง
การปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถ่ิน และให้ อปท. มีหนำ้ ทแี่ ละอำนำจดแู ลและจัดทำ
บริกำรสำธำรณะและกิจกรรมสำธำรณะเพ่ือประโยชน์ของประชำชนในท้องถิ่นตำมหลักกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืน
และเพื่อให้ อปท. มีรำยได้เพียงพอสำหรับทำหน้ำท่ีดังกล่ำว จึงบัญญัติให้เป็นหน้าท่ีของรัฐท่ีต้องดาเนินการให้
อปท. มีรายได้ของตนเองโดยจดั ระบบภำษีหรอื กำรจัดสรรภำษีท่ีเหมำะสม รวมท้ังส่งเสริมและพัฒนำกำรหำรำยได้
ของ อปท. ทั้งนี้ ระหว่างที่ อปท. ยังมีรายได้ไม่เพียงพอจึงบัญญัติให้รัฐจัดสรรงบประมาณเพ่ือสนับสนุน อปท.
ไปพลางก่อน

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เป็นรำชกำรสว่ นท้องถ่ินตำมระเบยี บบรหิ ำรรำชกำรส่วนทอ้ งถิ่น
ซ่ึงอยู่ภำยใต้ระเบียบกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินปัจจุบัน โดยเป็นไปตำมพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และทแ่ี กไ้ ขเพม่ิ เตมิ ประกอบด้วย (1) อปท.รปู แบบทั่วไป ได้แก่ องค์กำรบริหำร
ส่วนจังหวัด (อบจ.) เทศบำล และองค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) และ (2) อปท.รูปแบบพิเศษ ได้แก่
กรุงเทพมหำนคร และเมืองพัทยำ โดยมีจุดมุ่งหมายให้ อปท. เป็นหน่วยการปกครองตนเองตามหลักการ
กระจายอานาจ (Decentralization) เพื่อจัดทาบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะตามความต้องการ
ของท้องถิ่นและประชาชน โดยอยู่ภายใต้การสนับสนุน ให้ความช่วยเหลือและกากับดูแลของส่วนกลาง
(กระทรวงและกรม) และส่วนภูมิภาค (จังหวัดและอาเภอ) ท้ังนี้ ควำมสัมพันธ์ของกำรจัดระเบียบบริหำร
รำชกำรแผ่นดิน ปรำกฏตำมภาพท่ี 1

ภาพที่ 1 โครงสรำ้ งกำรจดั ระเบยี บบริหำรรำชกำรแผ่นดนิ ในปจั จบุ ัน

ทีม่ ำ: แผนยุทธศำสตร์เฉพำะด้ำนกระทรวงมหำดไทย 20 ปี (พ.ศ. 2557 – 2566), น.10

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หน้ำ 2 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) มีหน้าท่ีและอานาจจัดทาบริการสาธารณะและกิจกรรม
สาธารณะ และได้รับการจัดสรรสัดส่วนภาษีและอากร รวมทั้งงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอุดหนุนสำหรับ
สนับสนุนกำรจัดทำบริกำรสำธำรณะและกิจกรรมสำธำรณะเพ่ือประโยชน์ของประชำชนในท้องถ่ินของตนเอง
ท้ังนี้ เป็นไปตำมกฎหมำย ได้แก่ กฎหมายจัดตั้ง อปท. กฎหมายว่าด้วยการกระจายอานาจ กฎหมายว่าด้วย
วิธกี ารงบประมาณ และกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลัง โดยมีสำระสำคญั สรุปได้ ดังนี้

 กฎหมำยจัดต้ัง อปท. ในแต่ละประเภทได้จัดระเบียบกำรปกครองและกำหนดหน้ำที่และ
อำนำจของอปท.ในกำรจัดทำบริกำรสำธำรณะและกิจกรรมสำธำรณะเพื่อประโยชน์ของประชำชนในท้องถ่ิน
ของตนเอง เช่น พระรำชบัญญัติองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม หมวด 4 อำนำจ
หน้ำที่ขององค์กำรบริหำรส่วนจังหวดั (อบจ.) มำตรำ 45 บัญญัตอิ ำนำจหน้ำที่ของ อบจ. ที่สำมำรถดำเนินกำร
ได้ภำยในเขตพนื้ ที่ จำนวน 9 ประกำร เช่น มหี น้ำทด่ี ้ำนคุ้มครอง ดูแล และบำรงุ รักษำทรัพยำกรธรรมชำติและ
สิง่ แวดล้อม บำรงุ ศิลปะ จำรีตประเพณี ภูมิปัญญำท้องถ่ิน และวฒั นธรรมอนั ดีของท้องถิ่น เปน็ ต้น

 พระราชบัญญัติกาหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม กำหนดอำนำจและหน้ำที่ในกำรจัดระบบกำรบริกำรสำธำรณะเพ่ือประโยชน์
ของประชำชนในท้องถ่ินของตนเอง ใหแ้ ก่ เทศบำล เมืองพัทยำ และองคก์ ำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) จำนวน
31 รำยกำร ตำมมำตรำ 16 ให้แก่ อบจ. จำนวน 29 รำยกำร ตำมมำตรำ 17 และมำตรำ 18 กำหนดให้
กรุงเทพมหำนคร มีอำนำจและหน้ำที่ตำมมำตรำ 16 และ 17 ตลอดจนมีจัดสรรสัดส่วนภาษีและอากรให้แก่
อปท. ให้แก่ เทศบำล เมืองพัทยำ และ อบต. จำนวน 20 รำยกำร ตำมมำตรำ 23 ให้แก่ อบจ. จำนวน 13
รำยกำร ตำมมำตรำ 24 ให้แก่ กรุงเทพมหำนคร จำนวน 21 รำยกำร ตำมมำตรำ 25 รวมทั้งกฎหมำยดังกล่ำว
ได้กำหนดแผนกำรกระจำยอำนำจให้แก่ อปท. เช่น กำรถ่ำยโอนภำรกจิ ให้แก่ อปท. กำรจัดสรรภำษีและอำกร
เงินอุดหนุน และรำยได้อื่นให้แก่ อปท. เป็นต้น ทั้งนี้ มาตรา 30 (4) ยังได้กาหนดการจัดสรรภาษีและอากร
เงินอุดหนนุ และรายไดอ้ ืน่ ใหแ้ ก่ อปท. เพือ่ ใหส้ อดคล้องกบั การดาเนนิ การตามอานาจและหนา้ ที่ของ อปท.
แต่ละประเภทอย่างเหมาะสม โดยตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 เป็นต้นไป ให้ อปท.มีรายได้คิดเป็น
สดั ส่วนต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 และมีจุดมุ่งหมายท่ีจะให้ อปท. มีรายได้เพิ่มขึ้นคิด
เป็นสัดส่วนต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 35 โดยการจัดสรรสัดส่วนที่เป็นธรรมแก่
อปท. และคานึงถึงรายไดข้ อง อปท. นน้ั ด้วย

 พระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 มำตรำ 4 บญั ญัตใิ ห้ อปท. เป็นหนว่ ยงาน
ของรัฐและเป็นหน่วยรับงบประมาณท่ีขอรับหรือได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่าย และ มำตรำ 29 บัญญัติ
ให้ อปท. ขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำยเพื่อสนับสนุนกำรดำเนินงำนเป็นเงินอุดหนุน โดยย่ืนคำขอต้ังงบประมำณ
รำยจ่ำยต่อรัฐมนตรวี ำ่ กำรกระทรวงมหำดไทยเพอ่ื เสนอตอ่ ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณ ทั้งน้ี ตำมหลกั เกณฑ์
วธิ ีกำร และระยะเวลำที่ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณกำหนดขน้ึ

โดยสำนักงบประมำณกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีกำรย่ืนคำขอต้ังงบประมำณรำยจ่ำยของ อปท.
ปรำกฏตำมคู่มือปฏิบัติกำรจัดทำคำของบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ข้อ 13 (สำนัก
งบประมำณ, 2562, น.164) ดงั นี้

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หน้ำ 3 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น

(1) กรุงเทพมหำนครและเมืองพัทยำย่ืนคำขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำยต่อรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวง
มหำดไทยเพื่อยน่ื ตอ่ ผอู้ ำนวยกำรสำนักงบประมำณ

(2) องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด เทศบำลนคร และเทศบำลเมือง ยื่นคำขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำยต่อ
รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทยโดยตรงในระบบสำรสนเทศเพื่อกำรบริหำรงบประมำณขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นตำมที่สำนักงบประมำณกำหนด โดยกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่นรวบรวมและให้ควำมเห็น
ประกอบกำรพิจำรณำของรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย เพื่อยื่นคำขอตั้งงบประมำณต่อผู้อำนวยกำร
สำนกั งบประมำณ

(3) เทศบำลตำบลและองค์กำรบรหิ ำรส่วนตำบล ยนื่ คำขอตงั้ งบประมำณรำยจ่ำยเพ่ือตงั้ งบประมำณรำยจ่ำย
ไว้ท่กี รมส่งเสริมกำรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ โดยเสนอตัง้ งบประมำณผ่ำนทอ้ งถ่ินจังหวัด และผูว้ ่ำรำชกำรจงั หวดั

จำกหลักเกณฑ์ดังกล่ำวข้ำงต้น ทาให้ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 อปท. มีวิธีการงบประมาณท่ีแตกต่าง
กัน จาแนกเป็น 2 กลุ่ม กล่าวคือ กลุ่มที่ (1) กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องค์การบริหารส่วนจังหวัด
เทศบาลนคร และเทศบาลเมือง เป็นหน่วยรับงบประมาณและย่ืนคาขอต้ัง/รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย
ดว้ ยตนเองโดยตรง ขณะที่ กลมุ่ ที่ (2) เทศบาลตาบลและองค์การบรหิ ารส่วนตาบล เป็นหน่วยรบั งบประมาณและ
ย่ืนคาขอตง้ั และรบั การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายผา่ นกรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถน่ิ กระทรวงมหาดไทย

พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 มำตรำ 17 บัญญัติการจัดสรร
งบประมาณรายจา่ ยให้แก่หนว่ ยงานของรฐั ทเ่ี กี่ยวข้องกับ อปท. โดยกำหนดให้ต้องคำนึงถงึ

- ความจาเปน็ และภารกจิ ของหนว่ ยงำนของรัฐที่ขอรบั จดั สรรงบประมำณ

- ฐานะเงินนอกงบประมาณของหน่วยงำนของรัฐท่ีสำมำรถใช้จ่ำยได้รวมตลอดถึงรำยไดห้ รือ

เงนิ อื่นใดทห่ี นว่ ยงำนของรฐั นัน้ มอี ยู่หรอื สำมำรถนำมำใช้จำ่ ยได้

- ความสามารถในการใชจ้ ่ายและการกอ่ หนีผ้ ูกพันของหน่วยงำนของรัฐภำยในปงี บประมำณนน้ั

- กรณี อปท. ต้องเป็นไปเพ่อื สนับสนุน อปท. ในการทาหน้าท่ีดูแลและจดั ทาบริการสาธารณะ
และกิจกรรมสาธารณะเพ่ือประโยชน์ของประชาชนในท้องถนิ่ โดยคำนึงถงึ ควำมสำมำรถในกำรหำรำยได้ของ
อปท. ตลอดจนควำมเหมำะสมและควำมแตกต่ำงของ อปท. แตล่ ะรูปแบบ ***

1.5 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบบั ที่ 12
ยุทธศาสตรก์ ารจดั สรรงบประมาณและแผนงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ท่ีเกย่ี วข้องกับ อปท.

รฐั ธรรมนูญฯ มำตรำ 65 บัญญตั ิให้รัฐจัดใหม้ ียุทธศำสตร์ชำตเิ ป็นเปำ้ หมำยกำรพฒั นำประเทศอย่ำงยั่งยืน
เพ่ือเป็นกรอบในกำรจัดทำแผนต่ำงๆ เกิดกำรผลักดันไปสู่เป้ำหมำยเดียวกัน และ มำตรำ 142 กำรเสนอร่ำง
พระรำชบัญญตั ิงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปงี บประมำณตอ้ งควำมสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศำสตรช์ ำตแิ ละแผนพฒั นำตำ่ งๆ
ดังน้นั กำรจัดทำงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ในสว่ นที่เก่ียวข้องกับ อปท. ในฐำนะหน่วยรับ
งบประมำณ ที่ขอต้งั และรับกำรจัดสรรงบประมำณรำยจำ่ ย จงึ ตอ้ งมีควำมเช่ือมโยงและสอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติ

สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ หนำ้ 4 สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ

แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติฉบับที่ 12 ยุทธศำสตร์กำรจัดสรร
งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ไปสแู่ ผนงำนและงบประมำณรำยจำ่ ยของ อปท. ดงั ภาพท่ี 2
ภาพที่ 2 ควำมเชื่อมโยงระหว่ำงยุทธศำสตร์ชำติ แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ แผนพัฒนำเศรษฐกิจและ

สงั คมแหง่ ชำติฉบบั ท่ี 12 ยุทธศำสตร์กำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564
กับแผนงำนและงบประมำณของ อปท.

ยุทธศำสตร์ชำติด้ำนกำรสรำ้ งโอกำสควำมเสมอภำคและเทำ่ เทียมกนั ทำงสังคม

แผนแมบ่ ทภำยใต้ยทุ ธศำสตรช์ ำติ:พลังทำง แผนฯ 12: ยทุ ธศำสตร์กำรบริหำรจดั กำรใน
สงั คม ภำครฐั กำรป้องกันกำรทุจริตประพฤติมิชอบ

และธรรมำภบิ ำลในสงั คมไทย

ยทุ ธศำสตร์กำรจัดสรรงบประมำณปงี บประมำณ 2564 :
ยทุ ธศำสตรด์ ำ้ นกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม

แผนงำนยุทธศำสตร์สง่ เสรมิ กำรกระจำยอำนำจ แผนงำนบูรณำกำรเขตพฒั นำพเิ ศษภำค
ใหแ้ ก่ อปท.* ตะวันออก

อปท.: กทม./เมอื งพทั ยำ/อบจ./เทศบำล/ อปท.: กทม.และเมืองพัทยำ
อบต. 378.1700 ล้านบาท

319,232.7589 ลา้ นบาท

หมายเหต*ุ ภายใต้แผนงานยุทธศาสตรด์ ังกลา่ วมีการขอต้ังและจดั สรรงบประมาณเปน็ เงินอุดหนุนให้แก่ อปท.
ผ่านส่วนราชการ ได้แก่ สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี/กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน/สานักงาน
นโยบายแผนทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รวมจานวน 226,457.9165 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ
70.94 ของวงเงินตามแผนงานยุทธศาสตร์ฯ (319,232.7589 ล้านบาท) และวงเงินที่เหลือ จานวน
92,774.8424 ลา้ นบาท หรือคิดเป็นรอ้ ยละ 29.06 ขอตั้งและจัดสรรงบประมาณเป็นเงินอดุ หนุนโดยตรงใหแ้ ก่
อปท. ไดแ้ ก่ กทม. เมอื งพัทยา อบจ. เทศบาลนคร และเทศบาลเมือง

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หนำ้ 5 สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่

1.6 นโยบายและแนวทางการจดั ทางบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ทีเ่ กีย่ วกบั อปท.

รัฐบำลกำหนดนโยบำยและแนวทำงกำรจัดทำงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564
จำนวน 7 ข้อ (สำนักงบประมำณ, บันทึกวิเครำะห์สรุปสำระสำคัญร่ำง พรบ.งบประมำณรำยจ่ำยประจำปี
งบประมำณ พ.ศ. 2564, น. 1- 3) โดยมสี ว่ นทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับ อปท. ดงั นี้

ข้อ 3 ให้ควำมสำคัญกับกระบวนการมีสว่ นร่วมของประชาชนและความต้องการของประชาชนท้ัง
ในระดับชำติ ระดับพื้นท่ี ภำค กลุ่มจังหวัด จังหวัด และท้องถ่ิน รวมท้ังภำรกิจที่ต้องดำเนินกำรในพื้นท่ีให้มี
การกระจายอย่างเป็นธรรม โดยยึดหลกั ควำมโปร่งใส ตรวจสอบได้ โดยมรี ำยละเอียดค่ำใช้จ่ำยท่ีมีควำมชดั เจน
และสมเหตสุ มผล

ข้อ 4 ให้ควำมสำคัญกับการเสริมสร้างศักยภาพทางการคลังของ อปท. เพื่อเพ่ิมศักยภำพกำรถ่ำยโอน
ภำรกจิ กำรจัดบรกิ ำรสำธำรณะระดับท้องถ่ินแก่ประชำชนให้มีคุณภำพชีวิตท่ีดีย่ิงขึ้น ลดควำมเหลื่อมล้ำทำงกำรคลัง
ระหว่ำงท้องถ่ิน รวมทัง้ กำรพัฒนำประสิทธิภำพกำรจดั เก็บรำยได้และประสิทธิผลกำรใช้จำ่ ยของ อปท. ซึ่งสอดคล้อง
กับหลักกำรตำม พรบ. กำหนดแผนและขั้นตอนกำรกระจำยอำนำจให้แก่ อปท. พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม
ที่จะตอ้ งใหม้ ีกำรกระจำยอำนำจเพ่ิมข้ึน และสอดคล้องกับแนวทำงกำรปฏริ ปู รำยได้ของ อปท.

ขอ้ สังเกต PBO

การอภิปรายของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในคราวการพิจารณาร่าง พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 วาระหนึ่ง ได้มีประเด็นเกี่ยวกับการถ่ายโอนภารกิจให้แก่ อปท. แต่ไม่ได้จัดสรร
รายได้ให้แก่ อปท. อย่างเพียงพอสาหรับการดาเนินงานตามภารกิจดังกล่าว ทาให้เกิดผลกระทบต่อ
ประชาชน จำกประเด็นดังกล่ำว PBO มีข้อสังเกตว่ำ แม้รัฐธรรมนูญฯ 250 วรรคส่ี กำหนดให้รัฐท่ีต้อง
ดำเนินกำรให้ อปท. มีรำยได้ของตนเอง (โดยจัดระบบภำษีหรือกำรจัดสรรภำษีที่เหมำะสม รวมท้ังส่งเสริม
และพัฒนำกำรหำรำยได้ของ อปท.) แต่ 4 ปีที่ผ่ำนมำ กำรดำเนินกำรของรัฐตำมบทบัญญัติดังกล่ำวยังไม่
ประสบผลสำเร็จ ดังน้ัน รัฐบำลจึงต้องจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เพิ่มข้ึนอย่ำง
ต่อเนื่อง ตำมนัยรัฐธรรมนูญที่กำหนดว่ำในระหว่ำงที่ อปท. ยังมีรำยได้ไม่เพียงพอ ให้รัฐจัดสรรงบประมำณเพื่อ
สนับสนุน อปท. ไปพลำงก่อน อย่ำงไรก็ดี เน่ืองจำกรัฐธรรมนูญมีจุดมุ่งหมำยให้รัฐดำเนินกำรให้ อปท. มีรำยได้
ของตนเองเป็นหลัก ลดกำรพ่ึงพำเงินอุดหนุนจำกรัฐส่วนกลำง ซ่ึงอำจทำให้ถูกแทรกแซงทำงกำรเมืองได้ง่ำย
(คณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญ, 2562, น.448) ดังน้ัน รัฐบาลควรตระหนักและเร่งรัดดาเนินการให้บรรลุ
จุดมุ่งหมายของรัฐธรรมนูญ เพ่ือให้ อปท. มีรายได้ของตนเองที่เพียงพอสาหรับจัดทาบริการสาธารณะเพ่ือ
ประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามหลักการพัฒนาอยา่ งย่ังยนื

สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ หนำ้ 6 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ

สว่ นที่ 2 บทวเิ คราะห์

2. สรปุ ภาพรวมรายได้ งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และเงนิ นอกงบประมาณ

2.1 สรุปภาพรวมการจัดสรรรายไดแ้ ละงบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ของ อปท.

2.1.1 สรปุ ภาพรวมการจดั สรรรายได้ ให้แก่ อปท.

สรุปสำระสำคัญของภำพรวมกำรจัดสรรรำยได้ของรัฐให้แก่ อปท.ทุกประเภทในปีงบประมำณ พ.ศ.
2564 รวมทั้งส้ิน 789,803.3 ล้ำนบำท ลดลงจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 14,060.9 ล้ำนบำท หรือ
ลดลงคิดเป็นร้อยละ -1.7 ของปีงบประมำณ พ.ศ.2563 (ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 803,864.2 ล้ำนบำท)
โดยจำแนกเป็น

2.1.1.1 ด้านการจัดสรรรายได้ (ภำษีอำกร ค่ำธรรมเนียม และเงินได้) ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 มี
ประมำณกำรรำยได้ท่ี อปท. จัดเก็บเอง และรำยได้ที่รัฐบำลจดั เก็บและรำยได้ทร่ี ัฐบำลแบ่งให้ ซึ่งคำดว่ำ อปท.
จะได้รับทั้งสิ้น 467,552.9 ล้ำนบำท ลดลงจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 29,323.1 ล้านบาท หรือ
ลดลงคิดเป็นร้อยละ 5.9 (ปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 496,876.0 ล้ำนบำท)

2.1.1.2 ด้านการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 มีกำรจัดสรรงบประมำณ
รำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. ตำมร่ำงพระรำชบัญญัติงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564
เป็นจำนวน 322,250.4 ล้านบาท เพิ่มข้ึนจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 15,262.2 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้น
คดิ เป็นร้อยละ 5.0 (ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 306,988.2 ล้ำนบำท) รำยละเอยี ดตำม ตารางที่ 1

ตารางท่ี 1 กำรจัดสรรรำยได้และงบประมำณรำยจ่ำยให้แก่ อปท. ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 - 2564

หนว่ ย: ลำ้ นบำท

รายการ ปีงบประมาณ เพ่มิ /ลด
2563 2564 จานวน ร้อยละ

1.รำยไดส้ ุทธขิ องรัฐบำล (ไมร่ วมเงนิ ก้)ู 2,731,000.0 2,677,000.0 -54,000.0 -2.0
-14,060.9 -1.7
2.รำยไดข้ อง อปท. 803,864.2 789,803.3 -29,323.1 -5.9

2.1 รำยไดท้ ี่ อปท. จดั เก็บเองและรำยได้ที่ 496,876.0 467,552.9 15,262.2 5.0
รัฐบำลเกบ็ ใหแ้ ละแบง่ ให้

2.2 เงินอุดหนนุ ทจ่ี ัดสรรให้ อปท. 306,988.2 322,250.4

ทม่ี า: งบประมำณสังเขป ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 สำนักงบประมำณ

สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ หน้ำ 7 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ

2.1.1.3 เป้าหมายการจัดสรรภาษีและอากร เงินอุดหนุน และรายไดอ่ืนให้แก่ อปท. ตามแผน
การกระจายอานาจ

พระรำชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนกำรกระจำยอำนำจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2542
และที่แก้ไขเพ่ิมเติม มำตรำ 30 (4) 1 กาหนดเป้าหมายของการจัดสรรภาษีและอากร เงินอุดหนุน และ
รายได้อื่นให้แก่ อปท. เพื่อให้สอดคล้องกับกำรดำเนินกำรตำมอำนำจและหน้ำท่ีของ อปท. แต่ละประเภท
อย่ำงเหมำะสม โดยต้ังแต่ปงี บประมำณ พ.ศ. 2550 เป็นตน้ ไป ให้ อปท. มีรำยได้คดิ เป็นสัดส่วนต่อรำยได้สุทธิ
ของรัฐบำล (ไมร่ วมเงินกู้) ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 25 และมีจดุ ม่งุ หมำยให้ อปท. มีรำยได้เพิ่มขึ้นคิดเป็นสัดส่วนต่อ
รำยไดส้ ุทธขิ องรัฐบำลในอัตราไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 35

ทั้งน้ี กำรจดั สรรรำยได้ใหแ้ ก่ อปท. ของปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 (ขอ้ 2.1.1.1 + 2.1.1.2) รวมทัง้ สิ้น
789,803.3 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 29.5 ของรายได้สุทธิของรัฐบาล (ไม่รวมเงินกู้) จานวน
2,677,000.0 ล้านบาท ซ่ึงเป็นไปตำมมำตรำ 30 (4) ของพระรำชบัญญัติฯ และเพิ่มข้ึนจากปีงบประมาณ
พ.ศ. 2563 ที่มีสัดส่วนร้อยละอยู่ที่ 29.4 ของรำยได้สุทธิของรัฐบำล (ไม่รวมเงินกู้) หรือเพ่ิมขึ้นเป็นร้อยละ
0.01 ของปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 อย่ำงไรก็ดี เม่ือเปรียบเทียบกับปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 และ 2562 ซ่ึง
กำรจัดสรรรำยได้ให้แก่ อปท. ต่อรำยได้สุทธิของรัฐบำล (ไม่รวมเงินกู้) มีสัดส่วนร้อยละ 28.8 และ 29.5
ตำมลำดับ พบวำ่ ตลอดระยะเวลำ 4 ปี (ปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 – 2564) กำรจัดสรรรำยได้ใหแ้ ก่ อปท. ตำมสดั ส่วน
เป้ำหมำยดงั กลำ่ วเพิม่ ขนึ้ และลดลงเล็กนอ้ ยในลกั ษณะปีเวน้ ปี ซง่ึ สะท้อนถึงสดั สว่ นร้อยละท่มี ลี ักษณะคงที่ หรอื กล่ำว
อีกนัยได้ว่ำกำรจัดสรรรำยได้ให้แก่ อปท. เมื่อเปรียบเทียบกับรำยได้สุทธิของรัฐบำลไม่ได้เพิ่มขึ้นและจะนำไปสู่
เป้ำหมำย คือ สัดส่วนร้อยละ 35 ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรกระจำยอำนำจ รำยละเอยี ดตำม ตารางท่ี 2

1 กาหนดการจัดสรรภาษีและอากร เงินอุดหนุน และรายได้อื่นให้แก่ อปท. เพื่อให้สอดคล้องกับ
การดาเนินการตามอานาจและหน้าท่ีของ อปท. แต่ละประเภทอย่างเหมาะสม โดยต้ังแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.
2550 เป็นต้นไป ให้ อปท. มีรายได้คิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 และโดยมี
จุดมุ่งหมายที่จะให้ อปท. มีรายได้เพ่ิมข้ึนคิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้สุทธิของรัฐบาลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ
35 โดยการจัดสรรสดั สว่ นทเ่ี ปน็ ธรรมแก่ อปท. และคานงึ ถงึ รายได้ของ อปท. นน้ั ดว้ ย

การเพ่ิมสัดส่วนรายได้ของ อปท. ต่อรายได้สุทธิของรัฐบาล ตามวรรคหน่ึงให้เพ่ิมข้ึนตามระยะเวลาที่
เหมาะสมแก่การพัฒนาให้ อปท. สามารถดาเนินกิจการบริการสาธารณะได้ด้วยตนเอง และให้เป็นไปตาม
ภารกิจท่ีถ่ายโอนให้แก่ อปท. ท่ีถ่ายโอนเพ่ิมขึ้นภายหลังปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป แต่ไม่ว่ากรณีจะ
เป็นประการใดเงินอุดหนุนท่ีจัดสรรให้ต้องมีจานวนไม่น้อยกว่าเงินอุดหนุนที่ อปท. ได้รับการจัดสรรใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 (จานวน 126,013 ลา้ นบาท)

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หน้ำ 8 สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ

ตารางที่ 2 สดั สว่ นร้อยละของรำยได้ อปท. ต่อรำยไดส้ ทุ ธิของรฐั บำล (ไม่รวมเงินกู้) และ สดั ส่วนร้อยละของ
รำยได้ อปท. ต่อเงินอุดหนนุ ท่ีรฐั บำลจัดสรรให้ อปท. ระหวำ่ งปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 – 2564

หน่วย: ลำ้ นบำท

ปีงบประมาณ รายได้ อปท. รายได้ อปท. ทง้ั หมด รายได้สุทธิ % รายไดร้ วม
ทัง้ หมด (%) ของรัฐบาล อปท.ต่อ
รายได้ อปท. เงินอุดหนุนทร่ี ฐั บาล (ไม่รวมเงินก้)ู รายได้สทุ ธิ
(%) จดั สรรให้ อปท. (%) รัฐบาล

2561 720,822.0 456,900.0 263,259.4 2,499,641.9 28.8
(100.0%) (63.4 %) (36.6%)

2562 751,480.1 475,350.0 276,130.1 2,550,000.0 29.5
(100.0%) (63.3%) (36.7%)

2563 803,864.2 496,876.0 306,988.2 2,731,000.0 29.4
(100.0%) (61.8%) (38.2%)

2564 789,803.3 467,552.9 322,250.4 2,677,000.0 29.5
(100.0%) (59.2%) (40.8%)

ที่มา: งบประมำณโดยสังเขป ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 (ฉบบั ปรบั ปรุง), 2563 – 2564 สำนักงบประมำณ

2.1.1.4 อปท. และความสามารถในการพึ่งตนเองด้านรายได้

รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย มำตรำ 250 วรรคสี่ กาหนดให้รัฐต้องดาเนินการให้ อปท. มี
รายได้ของตนเองโดยจัดระบบภาษีหรือการจดั สรรภาษีทเี่ หมาะสม รวมท้ังส่งเสริมและพัฒนาการหารายได้
ของ อปท. เพ่ือให้สามารถดาเนินการตามอานาจหน้าที่ได้อย่างเพียงพอ โดยในระหว่ำงท่ียังไม่อำจ
ดำเนนิ กำรได้ ให้รัฐจดั สรรงบประมำณเพ่อื สนบั สนุน อปท.ไปพลำงก่อน

จำกตารางท่ี 2 ข้ำงตน้ สัดส่วนของรำยได้ อปท. (รำยได้ อปท. ซ่ึงมำจำกภำษีอำกร คำ่ ธรรมเนียม และ
เงินไดต้ ่ำง ๆ ที่ อปท. จัดเกบ็ เอง+ทร่ี ัฐบำลเก็บใหแ้ ละแบง่ ให้ แตไ่ ม่รวมเงนิ อดุ หนุนทร่ี ัฐบำลจดั สรรใหแ้ ก่ อปท.)
ต่อ รำยได้ อปท. ท้งั หมด (รำยได้ อปท. + เงินอุดหนุนทีร่ ัฐบำลจัดสรรให้แก่ อปท.) ระหว่ำงปีงบประมำณ พ.ศ.
2561 - 2564 มีสัดสว่ นเท่ำกบั ร้อยละ 63.4 63.3 61.8 และ 59.2 ตามลาดบั ซง่ึ ลดลงอย่างต่อเนอ่ื งตลอด
4 ปีงบประมาณหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฯ ซึ่งมีจุดมุ่งหมายให้รัฐดาเนินการให้ อปท. มีรายได้ของ
ตนเองเป็นสาคัญ หรอื กล่าวอีกนัยได้ว่า การจัดสรรรายได้ให้ อปท. (จากภาษีอากร ค่าธรรมเนียม และเงิน
ได้ ที่ อปท. จัดเก็บเอง และท่ีรัฐบาลจดั เก็บและแบ่งให้) ลดลงอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงบ่งชี้ถึงการดาเนินการของ
รัฐเพื่อทาให้ อปท. มีรายได้ของตนเองยังไม่ประสบผลสาเร็จตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญดังกล่าว และ
ระดับความสามารถในการพึ่งตนเองด้านรายได้ของ อปท. ลดลง โดยเมื่อเปรียบเทียบควำมแตกต่ำงของ

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หน้ำ 9 สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ

สัดส่วนร้อยละดังกล่ำวของปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 และ 2564 พบว่ามีช่องว่างร้อยละ 4.2 (63.4 – 59.2
= 4.2) ตามภาพท่ี 3

ภาพที่ 3 กำรเปรียบเทยี บสัดส่วนร้อยละของกำรจัดสรรรำยได้ อปท. (จำกภำษีอำกร ค่ำธรรมเนียม และเงินได้)
และกำรจัดสรรงบประมำณเป็นเงนิ อดุ หนนุ ให้ อปท. ปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 และ 2564

ปงี บประมำณ พ.ศ. 2561 ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564

2.1.1.5 อปท. และการพึ่งพาเงินอดุ หนนุ จากรฐั บาล

จำกตำรำงที่ 2 พบว่ารายได้จากการจัดสรรงบประมาณเป็นเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เพิ่มข้ึนอย่าง
ต่อเน่ือง โดยตั้งแต่ปีงบประมำณ พ.ศ. 2561 – 2564 พบว่ำสัดส่วนร้อยละของเงินอุดหนุนท่ีรัฐบาลจัดสรร
ให้แก่ อปท. ต่อ รายได้ อปท. ท้ังหมด เท่ากับร้อยละ 36.6 36.7 38.2 และ 40.8 ตามลาดับ ซึ่งเพิ่มข้ึน
อย่างต่อเน่ืองตลอด 4 ปีงบประมาณหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฯ เม่ือเปรียบเทียบความแตกต่าง
ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 และ 2564 ตำมภาพที่ 2 (ข้างต้น) พบว่าสัดส่วนร้อยละดังกล่าวมี
ช่องว่างสูงถึงร้อยละ -4.2 (36.6 - 40.8 = -4.2) หรือกล่าวอีกนัยได้ว่าระดับการพ่ึงพาเงินอุดหนุนจากรัฐ
ของ อปท. เพิ่มขึ้น อย่ำงไรก็ดีรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย มำตรำ 250 วรรคสี่ มีสำระสำคัญว่ำใน
ระหว่างที่รัฐยังไม่สามารถดาเนินการให้ อปท. มีรายได้ของตนเองได้ ให้รัฐจัดสรรงบประมาณเพ่ือ
สนบั สนนุ อปท.ไปพลางกอ่ น เพอ่ื ไมใ่ ห้มีผลกระทบต่อกำรจัดทำบริกำรสำธำรณะใหแ้ ก่ประชำชนในพืน้ ท่ี

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หน้ำ 10 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น

ข้อสังเกต PBO

1) กำรจัดสรรรำยได้ให้แก่ อปท. ตำมเป้ำหมำย มำตรำ 30 (4) ของ พรบ.กำหนดแผนและขั้นตอน
กำรกระจำยอำนำจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติม โดยกำหนดเป็น
สัดส่วนรำยได้ของ อปท. ต่อรำยได้สุทธิของรัฐบำล (ไม่รวมเงินกู้) ไม่น้อยกว่ำร้อยละ 25 และมีเป้ำหมำย
สูงสุดร้อยละ 35 ทาให้รายได้ อปท. มีความสัมพันธ์โดยตรงกับรายได้รัฐบาล ดังน้ัน ในทางกลับกันเม่ือ
รายได้ของรัฐบาลลดย่อมมผี ลทาให้รายไดข้ อง อปท. ลดลงตามไปด้วย เน่ืองจำก อปท. พง่ึ พำรำยได้ท่รี ัฐบำล
เก็บให้/แบ่งให้ และเงินอุดหนุนจำกรัฐบำลเป็นสัดส่วนกว่ำร้อยละ 90 ของรำยได้ อปท.ทั้งหมด ส่งผลต่อฐำนะ
กำรเงนิ กำรคลังของ อปท.

2) รัฐบำลจัดสรรรำยได้ให้แก่ อปท. ของปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 รวมท้ังส้ิน 789,803.3 ล้ำนบำท คิดเป็น
สัดส่วนร้อยละ 29.5 ของรำยได้สุทธิของรัฐบำล (ไม่รวมเงินกู้) หรือจำนวน 2,677,000.0 ล้ำนบำท ซ่ึงเป็นไป
ตำมมำตรำ 30 (4) ของ พรบ. แต่การจัดสรรรายได้ให้แก่ อปท. ดังกล่าวอาจไม่เป็นไปตามเป้าหมาย หาก
รายได้จากภาษีอากร ค่าธรรมเนียม และเงินได้ต่าง ๆ ที่ อปท. จัดเก็บเอง+ท่ีรัฐบาลเก็บให้และแบ่งให้
อปท. ลดลงจากภาวการณ์ทางเศรษฐกิจและมาตรการของรัฐบาล เช่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 รัฐบาล
ตรา พรฎ. ลดภาษีท่ีดินและสิง่ ปลูกสร้างบางประเภท พ.ศ. 2563 ซง่ึ มีผลบังคับใช้วันท่ี 11 มิถุนายน 2563
มีผลให้การจัดเก็บภาษีดังกล่าวลดลงร้อยละ 90 ของจานวนภาษีท่ีคานวณได้ หรือเป็นวงเงินประมาณ
36,000 ล้านบาท ทาให้สัดส่วนรายได้ของ อปท. ต่อรายได้สุทธิของรัฐบาล (ไม่รวมเงินกู้) ลดลงจากท่ี
รัฐบาลกาหนดไว้ท่ีร้อยละ 29.4 เป็นร้อยละ 28.1 หรือลดลงร้อยละ 1.3 ขณะท่ีรัฐบำลยังไม่มีกำรกำหนด
มำตรกำรเพื่อชดเชยกำรขำดรำยได้ดงั กล่ำวให้แก่ อปท.

3) จำกกำรท่ีสัดส่วนของเงินอุดหนุนท่ีรัฐบำลจัดสรรให้ อปท. ต่อรำยได้รวม อปท. ของปีงบประมำณ พ.ศ.
2561 - 2564 เพม่ิ ขึน้ อย่ำงตอ่ เนื่องจำกร้อยละ 36.6 36.7 38.2 และ 40.8 ตำมลำดับ บ่งช้ถี ึงความสามารถใน
การพ่ึงตนเองด้านรายได้ของ อปท. ลดลง และระดับการพึ่งพารัฐบาลเพิ่มขึ้น ซึ่งไม่สอดคล้องตาม
จุดมุ่งหมายของรฐั ธรรมนูญฯ มาตรา 250 วรรคสี่ ที่ต้องการให้รฐั ดาเนนิ การเพื่อให้ อปท. มสี ่วนแบง่ ภาษี
อากรท่ีชัดเจน ลดการพึง่ พาเงินอุดหนุนจากรัฐส่วนกลาง ซึ่งอาจทาให้ถูกแทรกแซงทางการเมืองได้ง่าย
(คณะกรรมกำรรำ่ งรัฐธรรมนูญ, 2562, น.448)

2.1.1.6 การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นเงินอุดหนุนให้แก่

อปท. จาแนกตามวิธีการจดั สรร และประเภท อปท.

ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 รัฐบำลจัดสรรรำยได้ให้แก่ อปท. โดยกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำย
ประจำปีเป็นเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. ท้ังหมด จำนวน 7,852 แห่ง (กรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถ่ิน, 2563)
รวมท้ังสิ้น 322,250.4 ล้ำนบำท คิดเป็นร้อยละ 40.8 ของรำยได้ท่ีจัดสรรให้แก่ อปท. ทั้งหมด จำนวน
789,803.3 ล้ำนบำท โดยจำแนกตำมวธิ กี ำรจดั สรร และประเภท อปท. ดงั นี้

1) การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีเป็นเงินอุดหนุนผ่านกรมส่งเสริมการปกครอง
ทอ้ งถิ่น กระทรวงมหาดไทย ใหแ้ ก่ อปท. 2 ประเภท ได้แก่ เทศบาลตาบล จำนวน 2,238 แหง่ และองค์การ

สำนักงบประมำณของรฐั สภำ หนำ้ 11 สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน

บริหารส่วนตาบล (อบต.) จำนวน 5,322 แห่ง รวมท้ังส้ิน 226,450.0 ล้ำนบำท เพ่ิมข้ึนจำกปีงบประมำณ
พ.ศ. 2563 จำนวน 9,879.3 ลำ้ นบำท หรอื เพิม่ ขนึ้ คดิ เป็นร้อยละ 4.6

2) การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีเป็นเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. โดยตรง ได้แก่
กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั เทศบาลนคร และเทศบาลเมือง รวมจำนวนทั้งสิ้น
93,152.9 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 2,735.5 ล้ำนบำท หรือเพิ่มข้ึนคิดเป็นร้อยละ 3.0
โดยจำแนกเปน็

2.1) องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด จำนวน 76 แห่ง รวมจำนวน 28,797.8 ล้ำนบำท เพ่ิมขึ้น
จำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 855.6 ล้ำนบำท หรือเพิ่มข้ึนคิดเป็นร้อยละ 3.1 (ปีงบประมำณ พ.ศ.
2563 จำนวน 27,942.2 ลำ้ นบำท)

2.2) กรุงเทพมหำนคร จำนวน 24,084.1 ล้ำนบำท เพ่ิมข้ึนจำกปีงบประมำณ
พ.ศ. 2563 จำนวน 986.3 ล้ำนบำท หรือเพ่ิมข้ึนคิดเป็นร้อยละ 4.3 (ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน
23,097.8 ลำ้ นบำท)

2.3) เมืองพัทยำ จำนวน 1,980.7 ล้ำนบำท เพิ่มข้ึนจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน
65.2 ลำ้ นบำท หรือเพิม่ ขึ้นคดิ เป็นรอ้ ยละ 3.4 (ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 1,915.5 ลำ้ นบำท)

2.4) เทศบำลนคร จำนวน 30 แห่ง จำนวน 13,393.4 ล้ำนบำท เพ่ิมข้ึนจำกปีงบประมำณ
พ.ศ. 2563 จำนวน 399.9 ล้ำนบำท หรือเพ่ิมขึ้นคิดเป็นร้อยละ 3.1 (ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน
12,993.5 ลำ้ นบำท)

2.5) เทศบำลเมือง จำนวน 184 แห่ง จำนวน 24,896.9 ล้ำนบำท เพ่ิมขึ้นจำกปีงบประมำณ
พ.ศ. 2563 จำนวน 428.5 ล้ำนบำท หรือเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 1.8 (ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน
24,468.4 ลำ้ นบำท)

3) กำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีเป็นเงินอุดหนุนให้แก่กองทุนประชำรัฐสวัสดิกำรเพ่ือ
เศรษฐกิจฐำนรำกและสังคม จำนวน 2,647.4 ล้ำนบำท เพื่อเพ่ิมเบ้ียผู้พิกำรที่มีบัตรประจำตัวผู้พิกำรและผ่ำน
คณุ สมบัติกำรลงทะเบียนเพ่ือสวัสดกิ ำรแห่งรัฐ 200 บำทต่อคนต่อเดือน (เพ่ิมจำก 800 บำท เป็น 1,000 บำท
ตอ่ คนต่อเดอื น) ตำมตารางที่ 3

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หน้ำ 12 สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่

ตารางท่ี 3 กำรจดั สรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปเี ป็นอุดหนุนให้แก่ อปท. ปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 – 2564
หน่วย: ล้ำนบำท

การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงนิ ปงี บประมาณ เพมิ่ /(ลด)
อุดหนนุ ให้แก่ อปท. 2563 2564 จานวน รอ้ ยละ
306,988.2 322,250.4 15,262.1 5.0
รวมท้ังส้นิ
216,570.8 226,450.0 9,879.3 4.6
1.เงินอดุ หนนุ อปท. ทข่ี อต้ังและได้รับจัดสรร
ผำ่ นกรมส่งเสรมิ กำรปกครองทอ้ งถ่นิ 90,417.4 93,152.9 2,735.5 3.0
กระทรวงมหำดไทย : เทศบำลตำบลและ
องค์กำรบริหำรสว่ นตำบล 27,942.2 28,797.8 855.6 3.1
23,097.8 24,084.1 986.3 4.3
2.เงินอดุ หนุน อปท. ทข่ี อต้งั และได้รบั จดั สรร 1,915.5 1,980.7 65.2 3.4
โดยตรง 12,993.5 13,393.4 399.9 3.1
24,468.4 24,896.9 428.5 1.8
2.1 องค์กำรบรหิ ำรส่วนจงั หวัด (อบจ.)
- 2,647.4 2,647.4 100.0
2.2 กรงุ เทพมหำนคร (กทม.)

2.3 เมืองพทั ยำ

2.4 เทศบำลนคร

2.5 เทศบำลเมือง

3.กองทนุ ประชำรฐั สวสั ดิกำรฯ

ทีม่ า: งบประมำณโดยสงั เขป ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 สำนกั งบประมำณ

หำกพิจำรณำตำมวิธีกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นอุดหนุนให้แก่ อปท. ซึ่ง พ.ร.บ.วิธีกำร
งบประมำณ พ.ศ. 2561 มำตรำ 4 กำหนดให้ อปท. เป็นหน่วยงำนของรัฐ และเป็นหน่วยรับงบประมำณ และ
มำตรำ 29 กำหนดให้กำรขอต้ังงบประมำณรำยจ่ำยเพื่อสนับสนุน อปท. จัดทำเป็นเงินอุดหนุน และให้ อปท.
ย่ืนคำขอตั้งงบประมำณดังกล่ำวต่อรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทยเพื่อเสนอต่อผู้อำนวยกำรสำนัก
งบประมำณ หรอื “ยื่นคำขอต้ังและรับกำรจัดสรรงบประมำณโดยตรง”

อยำ่ งไรกต็ ำม สำนกั งบประมำณกำหนดหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ำรย่ืนของต้ังงบประมำณรำยจ่ำยของ อปท.
ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 โดยกำหนดให้ กทม. เมืองพัทยำ อบจ. เทศบำลนคร และเทศบำลนครเมือง
“ยน่ื คำขอตงั้ และรับกำรจัดสรรงบประมำณโดยตรง” และให้เทศบำลตำบล และ อบต. ยืน่ คำขอตั้งงบประมำณ
รำยจ่ำยไว้ท่ีกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหำดไทย หรือ “ย่ืนคำขอและรับกำรจัดสรร
งบประมำณผ่ำนกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น” และเมื่อเปรียบเทียบสัดส่วนร้อยละของกำรจัดสรร

สำนักงบประมำณของรฐั สภำ หน้ำ 13 สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น

งบประมำณรำยจ่ำยเป็นอุดหนุนให้แก่ อปท. ของปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 – 2564 จำแนกตำมวิธีกำร
ดงั กล่ำว พบว่ำกำรจัดสรรงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 เปน็ เงินอุดหนุนใหแ้ ก่ อปท. ท่ี
ผ่ำนกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถ่ินมีสัดส่วนร้อยละและจำนวนงบประมำณที่มำกกว่ำกำรจัดสรรให้ อปท.
โดยตรง รวมท้ังเพมิ่ ข้ึนกวำ่ ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 ตามภาพท่ี 4

ภาพท่ี 4 เปรยี บเทยี บสัดส่วนรอ้ ยละและจำนวนกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นอุดหนุนให้แก่ อปท. ของ
ปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 – 2564 ระหวำ่ งกำรจัดสรรฯ ให้ อปท. ผำ่ นกรมสง่ เสริมกำรปกครอง
ทอ้ งถน่ิ และจดั สรรฯ ให้ อปท. โดยตรง

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

29.5% 29.1%
(90,417.4 ลบ.) (93,152.9 ลบ.)

70.5% 70.9%
(216,570.8 ลบ.) (226,450.0 ลบ.)

เงนิ อุดหนุน อปท. ท่ีขอตงั้ และได้รับจดั สรรผำ่ นกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถนิ่

เงินอุดหนุน อปท. ทขี่ อตงั้ และได้รับจัดสรรโดยตรง

ข้อสังเกต PBO

1) พ.ร.บ.วิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 มำตรำ 4 ที่มีสำระสำคัญกำหนดให้ อปท. เป็นหน่วยรับ
งบประมาณ ทำให้หน่วยรับงบประมำณมีจำนวนเพ่ิมขึ้น จำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 มีจำนวน 424
หน่วยงำน ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 เพิ่มเป็นจำนวน 516 หน่วยงำน ( เพิ่ม อบจ. เป็นหน่วยรับงบประมำณ)
และปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 จำนวน 728 หน่วยงำน (เพ่ิมเทศบำลนครและเทศบำลเมืองเป็นหน่วยรับ
งบประมำณ) และคำดว่ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 - 2566 จะมีเพ่ิมข้ึนเป็นจำนวน 8,288 หน่วยงำน (เพิ่ม
เทศบำลตำบลและ อบต.) หรือหน่วยรับงบประมำณเพิ่มขึ้น 19.5 เท่ำจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2562 ขณะที่
วงเงินงบประมำณรำยจ่ำยเพ่ิมข้ึนในสัดส่วนร้อยละที่ต่ำกว่ำมำก ทำให้ภำระงำนของสำนักงบประมำณและฝ่ำย
นิติบัญญัติในกำรพิจำรณำงบประมำณเพ่ิมขึ้น ขณะท่ีกรอบระยะเวลำในกำรพิจำรณำร่ำง พรบ.งบประมำณ
ของฝ่ำยนิติบัญญัติตำมบทบัญญัติมำตรำ 143 ของรัฐธรรมนูญยังเท่ำเดิม คือ 105 วัน และ 20 วัน นับตั้งแต่
วันท่ีร่ำง พ.ร.บ. มำถึงสภำผู้แทนรำษฎรและวุฒิสภำ ตำมลำดับ ดังนั้น จึงต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบและ
วิธีการพิจารณางบประมาณ สาหรับหน่วยรับงบประมาณในมิติพ้ืนท่ี (Area) โดยเฉพาะ อปท. เพ่ือให้การ
ทาหน้าท่ีของฝ่ายนิติบัญญัติเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพตามเงื่อนเวลาที่รัฐธรรมนูญกาหนด และลดภาระ

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หนำ้ 14 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน

ของหน่วยรับงบประมาณในพื้นท่ีท่ีต้องเดินทางเข้ามาช้ีแจง ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง
พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สภาผู้แทนราษฎรได้เคยได้ตั้งข้อสังเกตใน
ประเดน็ ดังกลา่ วไวแ้ ล้วด้วย

2) พ.ร.บ.วิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 มำตรำ 29 ท่ีมีสำระสำคัญกำหนดให้การขอตั้งงบประมาณ
รายจ่ายเพ่ือสนับสนุน อปท. จัดทาเป็นเงินอุดหนุน และให้ อปท. ยื่นคาขอต้ังงบประมาณดังกล่าวต่อ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเพ่ือเสนอต่อผู้อานวยการสานักงบประมาณ หรือ “ย่ืนคาขอต้ังและ
รับการจัดสรรงบประมาณโดยตรง” อย่ำงไรก็ตำม เน่ืองจำก อปท. ทุกประเภทมีจำนวนมำก ทำให้สำนัก
งบประมำณกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีกำรยื่นของต้ังงบประมำณรำยจ่ำยของ อปท. ประจำปีงบประมำณ
พ.ศ. 2564 โดยกำหนดให้ กทม. เมอื งพทั ยำ อบจ. เทศบำลนคร และเทศบำลนครเมือง รวม 295 หน่วยงำน
“ยืน่ คำขอต้ังและรับกำรจัดสรรงบประมำณโดยตรง” (ทำให้ อปท. เป็นหน่วยงำนเจ้ำของงบประมำณ) และ
ให้เทศบำลตำบล และ อบต. รวม 7,557 หน่วยงำน ยื่นคำขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำยไว้ที่กรมส่งเสริมกำร
ปกครองท้องถิ่น (กรมฯ เป็นส่วนรำชกำรเจ้ำของงบประมำณ) กระทรวงมหำดไทย ทำให้วิธีกำรขอต้ังและ
จัดสรรงบประมำณที่ใช้กับ อปท. ในฐำนะหน่วยรับงบประมำณตำมกฎหมำยเหมือนกันมี 2 รูปแบบท่ี
แตกตำ่ งกัน

3) อปท. เป็นหน่วยงำนของรัฐ และมีกำรจัดระเบียบบริหำรให้มีกำรปกครองตนเองตำมหลักกำรกระจำย
อำนำจกำรปกครอง กำรบริหำรงำนบุคคล กำรคลังและงบประมำณ ดังนั้น ควรปรับเปล่ียนวิธีกำรขอตั้งและ
จัดสรรงบประมำณของ อปท. ซ่ึงเป็นหน่วยรับงบประมำณใหม่ ตำมมำตรำ 4 ของพ.ร.บ.วิธีกำรงบประมำณ
พ.ศ. 2561 เพ่ือให้วิธีกำรงบประมำณเป็นไปตำมบทบัญญัติมำตรำ 29 โดยนำเทคโนโลยีสำรสนเทศเข้ำมำใช้
ประโยชน์ เพื่อให้สำมำรถอำนวยควำมสะดวกให้แก่ อปท. ซ่ึงมีจำนวนมำก และต้ังอยู่ในท้องถิ่นทั่วประเทศ
รวมทั้งได้รับจัดสรรงบประมำณรำยจำ่ ยเป็นเงินอุดหนุน ตลอดจนควรมีรูปแบบวิธีกำรที่สอดคล้องตำมหลักกำร
กระจำยอำนำจและลักษณะของกำรดำเนินงำนตำมภำรกิจของ อปท. ที่แตกต่ำงไปจำกหน่วยรับงบประมำณที่
เป็นสว่ นรำชกำรในส่วนกลำง รวมท้ังเพอ่ื เป็นกำรเพม่ิ ควำมคล่องตวั ในกำรจดั ทำและบริหำรงบประมำณรำยจำ่ ย
ดังนั้น ส่วนกลางจึงควรมีการมอบอานาจและกระจายอานาจให้แก่ อปท. ในฐานะหน่วยรับงบประมาณ
(Devolution) อย่างเปน็ รปู ธรรมเพ่ิมมากขึ้นเพ่อื ให้สามารถวางแผน จดั ทา และใช้จา่ ยงบประมาณสาหรับ
การจดั ทาบริการสาธารณะตามภารกจิ ถ่ายโอน ตามแผนพัฒนาท้องถ่ินและเพ่ือสนองตอบตอ่ ความต้องการ
ของประชาชนในแต่ละพ้นื ทไี่ ด้อยา่ งมีประสิทธผิ ล

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หนำ้ 15 สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผ้แู ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ

2.2 สรปุ ภาพรวมเงนิ นอกงบประมาณปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

2.2.1 สรุปภาพรวมเงนิ นอกงบประมาณปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ของ อปท.

ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 อปท. ได้แก่ กรุงเทพมหำนคร เมืองพัทยำ องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด
เทศบำลนคร และเทศบำลเมือง รวม 292 หน่วยงาน รำยงำนสถำนะและแผนกำรใช้จำ่ ยเงินนอกงบประมำณ2
ของหน่วยงำนตนเอง ตำมแบบและหลักเกณฑ์ท่ีผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณกำหนด ซึ่งอำศัยอำนำจตำม
มำตรำ 19 (3)3 ของพระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 และเปน็ ไปตำมหลักกำรเพ่ิมขอบเขตควำม
ครอบคลุมของงบประมำณ (Expanding Budget Coverage) ท่ตี ้องกำรรวบรวมกจิ กรรมของหน่วยงำนภำครัฐ
ที่อยู่นอกระบบงบประมำณรำยจ่ำย (Extra Budgetaries Activities) เช่น เงินกู้ เงินอุดหนุนหรือเงินบริจำค
เปน็ ต้น เข้ำมำเปน็ ส่วนหนึง่ ของกำรจัดทำงบประมำณรำยจำ่ ย เพอ่ื ทำให้แผนกำรเงนิ โดยรวมของภำครัฐมคี วำม
สมบูรณ์ และรัฐสำมำรถใช้ประโยชน์ในกำรวำงแผนทำงกำรเงินและกำรคลังได้ถูกต้องเหมำะสมยิ่งขึ้น รวมท้ัง
กำรเพ่ิมขอบเขตควำมครอบคลุมของงบประมำณดังกล่ำวสำมำรถชี้ให้เห็นถึงผลกระทบของนโยบำยกำรคลัง
ของรฐั บำลที่มีตอ่ เศรษฐกิจของประเทศไทย และสนับสนนุ ให้กำรตัดสินใจของผู้กำหนดนโยบำยมีควำมถกู ต้อง
เพิม่ มำกขนึ้ ดว้ ย

จำกรำยงำนดังกล่ำวข้ำงต้น ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 อปท. มีจำนวนเงินนอกงบประมำณท้ังส้ิน
397,371.0226 ลา้ นบาท ลดลงจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 32,659.5158 ล้ำนบำท หรอื ลดลงคิด
เป็นร้อยละ 7.59 ของเงินนอกงบประมำณปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 (จำนวน 430,030.5384 ล้ำนบำท) ท้ังน้ี
รายการเงินนอกงบประมาณของ อปท. ท่ีลดลงมากที่สุด คือ เงินรายได้ โดยคำดว่ำในปีงบประมำณ พ.ศ.
2564 มีกำรจัดเก็บรำยได้จำนวนรวมท้ังส้ิน 105,315.4558 ล้านบาท ลดลงจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563
จานวน 10,280.4780 ล้านบาท หรือลดลงคิดเป็นร้อยละ 8.89 ของเงินนอกงบประมำณปีงบประมำณ พ.ศ.
2563 (จำนวน 115,595.9338 ลำ้ นบำท) ตำมตารางที่ 4

2 เงนิ นอกงบประมาณ หมายถึง บรรดาเงินทง้ั ปวงท่ีหนว่ ยงานของรฐั จัดเก็บหรือได้รับไว้เป็นกรรมสิทธ์ิ
ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือจากนิติกรรมหรือนิติเหตุ หรือกรณีอื่นใดท่ีต้องนาส่งคลังแต่มีกฎหมาย
อนุญาตให้สามารถเก็บไว้ใช้จ่ายได้โดยไม่ต้องนาส่งคลัง (นิยามตามมาตรา 4 ของพระราชบัญญัติวินัยการเงิน
การคลังของรัฐ พ.ศ. 2561) สาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้รวมถึงรายได้ที่รัฐบาลจัดเก็บและแบ่งให้
(สานกั งบประมาณ, คู่มอื ปฏบิ ตั กิ ารจัดทางบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564, หนา้ 177)

3 หน้าทแี่ ละอานาจของผ้อู านวยการสานักงบประมาณ (3) เรียกใหห้ น่วยรับงบประมาณเสนอประมาณ
การรายรับและรายจ่ายและสถานะเงินนอกงบประมาณตามแบบและหลักเกณฑ์ พร้อมด้วยรายละเอียดที่
ผอู้ านวยการกาหนด

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หนำ้ 16 สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน

ตารางท่ี 4 สถำนะและแผนกำรใชจ้ ำ่ ยเงนิ นอกงบประมำณของ อปท. ปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 – 2564
หนว่ ย: ลำ้ นบำท

สถานะและแผนการใช้จ่ายเงินนอก ปงี บประมาณ เพ่ิม/(ลด)
งบประมาณของ อปท. 2563 2564 จานวน ร้อยละ

รวมท้ังส้ิน (1.1+1.2) 430,030.5384 397,371.0226 -32,659.5158 -7.59

1.1 เงนิ นอกงบประมำณสะสมคงเหลือ 167,859.5955 146,144.2064 -21,715.3891 -12.94
ยกมำ

1.2 รำยได้ประเภทเงนิ นอกงบประมำณ 262,170.9429 251,226.8162 -10,944.1267 -4.17

1.2.1 เงินรำยได้ 115,595.9338 105,315.4558 -10,280.4780 -8.89

1.2.2 เงนิ ที่รฐั บำลอุดหนนุ หรือจัดสรร
ให้ 125,348.0375 130,454.2113 5,106.1738 4.07

1.2.3 ทนุ หมุนเวยี น 295.7625 318.0983 22.3358 7.55

1.2.4 เงนิ อดุ หนุนและบรจิ ำค 403.2421 411.3860 8.1439 2.02

1.2.5 เงินกู้ในประเทศ 393.1380 282.8010 -110.3370 -28.07

1.2.6 อ่ืนๆ 20,134.8290 14,444.8638 -5,689.9652 -28.26

1.3 นำไปสมทบกับงบประมำณ 2,000.0502 2,273.7910 273.7408 13.69

1.4 คงเหลอื หลังหักเงนิ นำไปสมทบกบั

งบประมำณ 428,030.4882 395,097.2316 -32,933.2566 -7.69

1.5 แผนกำรใช้จำ่ ยอนื่ 281,899.5852 247,046.2110 -34,853.3742 -12.36

1.6 คงเหลอื 146,130.9030 148,051.0206 1,920.1176 1.31

ท่ีมา: รำยงำนสถำนะและแผนกำรใช้จ่ำยเงินนอกงบประมำณของหน่วยรับงบประมำณ ประจำปีงบประมำณ
พ.ศ. 2564 สำนักงบประมำณ

2.2.2 สรุปภาพรวมการนาเงนิ นอกงบประมาณไปสมทบกับเงนิ งบประมาณรายจา่ ยประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564

อปท. มีแผนนำเงินนอกงบประมำณ จำนวน 397,371.0226 ล้ำนบำท ไปสมทบกับงบประมำณ
รำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 จานวน 2,273.7910 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจำกปีงบประมำณ พ.ศ.
2563 จำนวน 273.7408 ล้ำนบำท หรือเพ่ิมขึ้นคิดเป็นร้อยละ 13.69 ของเงินนอกงบประมำณปีงบประมำณ

สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ หน้ำ 17 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่

พ.ศ. 2563 (จำนวน 2,000.0502 ล้ำนบำท) โดย อปท. ให้ควำมร่วมมือเพิ่มข้ึนจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563
ตำมหลักเกณฑ์กำรจัดทำงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ข้อ 9 ท่ีสำนักงบประมำณ
กำหนดให้ อปท. ที่สำมำรถนำเงินนอกงบประมำณมำใช้จำ่ ยได้ ใหพ้ ิจำรณำนำเงินนอกงบประมำณทีม่ ีอย่นู ั้นมำ
สมทบตำมควำมเหมำะสม โดยถือเป็นหลักกำรว่ำเงินนอกงบประมำณนั้นเป็นเงินท่ีพึงต้องนำมำใช้ดำเนิน
ภำรกิจเพ่ือประโยชน์ของประเทศชำติและประชำชน เช่นเดียวกับเงินงบประมำณ (สำนักงบประมำณ, คู่มือ
ปฏิบัติกำรจัดทำคำของบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564, น.164) ตำมตารางที่ 4 ข้ำงต้น

ข้อสังเกต PBO

1) การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอุดหนุนโดยกาหนดให้ อปท. ร่วมสมทบจ่าย (copayment)
หำก อปท. ดังกล่ำวมีควำมต้องกำรและขอรับกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุนเฉพำะกิจ โดย
รูปแบบดังกล่ำวเป็นกำรวำงเงอื่ นไขของกำรได้รับกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำย เน่ืองจำกมีวงเงินจำกัดและไม่
สำมำรถจัดสรรให้แก่ อปท. ทุกแห่งได้อย่ำงท่ัวถึงตำมควำมต้องกำรได้ จึงกำหนดให้ อปท. ท่ีต้องกำร
งบประมำณร่วมสมทบจ่ำยตำมสัดส่วนของค่ำใช้จ่ำยรวมทั้งหมดของโครงกำร/รำยกำรงบลงทุน ตัวอย่ำงเช่น
หำกค่ำใช้จ่ำยรวมของโครงกำร/รำยกำรสิง่ ก่อสร้ำงมีจำนวน 100 ล้ำนบำท รัฐบำลกำหนดให้ อปท. ร่วมสมทบ
จ่ำยในอัตรำร้อยละ 5 - 10 ดังน้ัน อปท. ร่วมสมทบจ่ำย 5 - 10 ล้ำนบำท (ขณะที่รัฐบำลจัดสรรให้ 90 – 95
ล้ำนบำท) เป็นต้น ทั้งนี้ รูปแบบวิธีกำรดังกล่ำวมีทั้งข้อดีและข้อเสีย ได้แก่ ข้อดี คือ 1. ส่งเสริมกำรมีส่วนร่วม
ของประชำชนและท้องถ่ินในกำรลงทุนในโครงสร้ำงพ้ืนฐำนตำมควำมจำเป็นหรือควำมต้องกำรเฉพำะของ
ท้องถิ่นเพื่อให้บริกำรสำธำรณะท่ีดีข้ึนแก่ประชำชน 2. ส่งเสริมให้ อปท.วิเครำะห์และตัดสินใจเลือกขอรับกำร
จัดสรรงบประมำณเป็นเงินอุดหนุนตำมควำมจำเป็นหรือต้องกำรอย่ำงแท้จริงและเกิดควำมคุ้มค่ำในกำรลงทุน
3. อปท.และประชำชนในท้องถิ่นมีจิตสำนึกควำมเป็นเจ้ำของในโครงกำร/รำยกำรลงทุน ทำให้เกิดกำรดูแล
บำรุงรักษำและใช้ประโยชน์ มีข้อเสีย คือ 1. อปท. ท่ีมีรำยได้จำกัดและไม่มีศักยภำพพอเพียง โดยเฉพำะเร่ือง
รำยได้ของท้องถ่ิน ไม่สำมำรถร่วมสมทบจ่ำยเพ่ือให้ได้มำซ่ึงโครงกำร/รำยกำรลงทุนท่ีมีควำมจำเป็นสำหรับ
ท้องถ่ิน 2. อปท. ท่ีมีรำยได้มำก และตั้งอยู่ในพื้นที่ท่ีมีฐำนทำงเศรษฐกิจดีหรือมีควำมเจริญอยู่แล้วยิ่งเจริญมำก
ขึ้นได้ ทำให้เกิดควำมแตกต่ำงและเหลื่อมล้ำระหว่ำงพื้นที่มำกขึ้นได้ ดังนั้น การกาหนดให้ อปท. ร่วมสมทบ
จ่ายควรมีหลักเกณฑ์ที่ชัดเจน โดยพิจารณาจากความแตกต่างเหลื่อมล้าระหว่างรายได้และฐานเศรษฐกิจ
ของ อปท. ในแต่ละพ้ืนท่ี เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเท่าเทียม (Equality) ของการจดั สรรงบประมาณ

สำนักงบประมำณของรฐั สภำ หน้ำ 18 สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ

3. การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ใหแ้ ก่ อปท. จาแนกตามหน่วยงาน

3.1 ภาพรวมของการจดั สรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ใหแ้ ก่ อปท.

ปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 อปท. ทุกประเภท ไดร้ ับกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุน จำนวน
รวมท้ังส้ิน 322,250.4 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 15,262.1 ล้ำนบำท หรือเพ่ิมขึ้น
คิดเป็นร้อยละ 5.0 (ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 ได้รับจัดสรรจำนวน 306,988.2 ล้ำนบำท) โดยเทศบาลตาบลและ
องค์การบริหารส่วนตาบล ได้รับจัดสรรงบประมำณเพิม่ ขึ้นมากที่สดุ ขณะทเ่ี ทศบาลเมอื ง ไดร้ ับจดั สรรงบประมำณ
เพิ่มขนึ้ นอ้ ยทีส่ ุด คิดเปน็ ร้อยละ 4.6 และ 1.8 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ตำมลำดับ โดยตำมตารางท่ี 5

ตารางท่ี 5 กำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีเป็นอุดหนุนใหแ้ ก่ อปท. ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 – 2564

หนว่ ย: ล้ำนบำท

การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงนิ อดุ หนุน ปีงบประมาณ เพิม่ /(ลด)
จานวน ร้อยละ
ใหแ้ ก่ อปท. 2563 2564 15,262.1 5.0

รวมทง้ั สิน้ 306,988.2 322,250.4 9,879.3 4.6

1.เทศบาลตาบลและองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล 855.6 3.1
(ขอต้ังและได้รับจัดสรรงบประมำณผำ่ นกรมส่งเสริม 986.3 4.3
กำรปกครองทอ้ งถิน่ ปรำกฏตำมร่ำง พรบ. งบประมำณ 216,570.8 226,450.0 65.2 3.4
399.9 3.1
รำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 มำตรำ 20 428.5 1.8
งบประมำณรำยจำ่ ยกระทรวงมหำดไทย)
2,735.5 3.0
2.องค์การบริหารส่วนจงั หวัด (อบจ.) 27,942.2 28,797.8

3.กรุงเทพมหานคร (กทม.) 23,097.8 24,084.1

4.เมืองพัทยา 1,915.5 1,980.7

5.เทศบาลนคร 12,993.5 13,393.4

6.เทศบาลเมอื ง 24,468.4 24,896.9

(ขอต้ังและได้รับจัดสรรโดยตรง ปรำกฏตำมร่ำง พรบ.

งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564
มำตรำ 33 งบประมำณรำยจ่ำย อปท. และ มำตรำ 37

งบประมำณรำยจำ่ ยบูรณำกำร)

รวม (2+3+4+5+6) 90,417.4 93,152.9

7.กองทุนประชำรฐั สวสั ดิกำรฯ - 2,647.4 2,647.4 100.0

ทม่ี า: งบประมำณโดยสงั เขป ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 สำนักงบประมำณ

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หน้ำ 19 สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น

3.2 การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของเทศบาลตาบลและองคก์ าร
บรหิ ารส่วนตาบลผ่านกรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิน่

ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 เทศบำลตำบล (ทต.) และองค์กำรบริหำรส่วนตำบล (อบต.) เสนอขอต้ัง
และไดร้ ับกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุนผ่ำนกรมสง่ เสริมกำรปกครองท้องถน่ิ ตำมหลักเกณฑ์ฯ
ท่ีสำนักงบประมำณกำหนด จำนวนรวมทั้งส้ิน 226,450.0 ล้านบาท เพ่ิมข้ึนจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563
จำนวน 9,879.3 ล้ำนบำท หรือเพิ่มข้ึนคิดเป็นร้อยละ 4.6 (ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 ได้รับจัดสรรจำนวน
216,570.8 ลำ้ นบำท) โดยเปน็ อปท. กลุ่ม/ประเภทที่ได้รบั จดั สรรงบประมำณเพ่มิ ขน้ึ มำกทสี่ ดุ

อย่ำงไรก็ดี แม้ ทต. และ อบต. เป็นหน่วยรับงบประมำณตำม พรบ.วิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 แต่ยัง
ต้องขอต้ังและได้รับจัดสรรงบประมำณเป็นเงินอุดหนุนผ่ำนกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถ่ิน ตำมหลักเกณฑ์ฯ ท่ี
สำนักงบประมำณกำหนด โดยส่วนใหญ่ต้ังงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุนไว้ที่กรมส่งเสริมกำรปกครอง
ส่วนท้องถนิ่ จำนวน 225,604.8109 ลำ้ นบำท หรอื คดิ เป็นร้อยละ 99.63 ของท้งั หมด ตำมตารางท่ี 6

ตารางที่ 6 งบประมำณรำยจ่ำยปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ของกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น ท่ีขอตั้งและรับ

จดั สรรเป็นเงนิ อุดหนนุ ให้แก่ ทต. และ อบต. หน่วย: ลำ้ นบำท

หนว่ ยงาน/โครงการ งบประมาณ

กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถนิ่ 225,604.8109

1.โครงกำรป้องกันและแก้ไขปญั หำยำเสพตดิ 688.5553

2.โครงกำรสนบั สนนุ ค่ำใช้จ่ำยในกำรจดั กำรศึกษำตง้ั แต่ระดบั อนุบำลจนจบกำรศึกษำขัน้ พืน้ ฐำน 562.5480

3.โครงกำรสรำ้ งหลกั ประกันดำ้ นรำยได้แกผ่ สู้ งู อำยุ 65,428.4004

4.โครงกำรสนับสนุนกำรเสรมิ สร้ำงสวัสดกิ ำรทำงสงั คมใหแ้ กผ่ ้พู กิ ำรหรอื ทุพพลภำพ 16,631.0496

5.โครงกำรเสริมสนบั สนนุ กำรแกไ้ ขปัญหำและพัฒนำจงั หวดั ชำยแดนภำคใต้ 953.8708

6.โครงกำรสง่ เสริมสนบั สนนุ กำรบริหำรจัดกำรน้ำอย่ำงบูรณำกำร 4,500.0645

7.โครงกำรสนบั สนุนกำรจดั สวสั ดิกำรทำงสงั คมแกผ่ ดู้ อ้ ยโอกำสทำงสังคม 483.0600

8.โครงกำรพฒั นำคณุ ภำพกำรศกึ ษำดว้ ยเทคโนโลยีสำรสนเทศ DLTV 183.1869

9.โครงกำรเสรมิ สนับสนุนกำรจัดกำรสิง่ ปฏกิ ูลและขยะมูลฝอยของ อปท. 299.3950

10.ผลผลติ : จดั สรรเงนิ อดุ หนุนให้แกอ่ งคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ 135,874.6804

ทม่ี า: เอกสำรงบประมำณฉบบั ที่ 4 งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 จำแนกตำมโครงสรำ้ ง
แผนงำนตำมยทุ ธศำสตร์ (ขำวคำดเหลือง). สำนกั งบประมำณ

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หน้ำ 20 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ

สำหรับที่เหลืออีก จำนวน 845.1891 ล้ำนบำท เป็นงบประมำณของสำนักงำนปลัดสำนัก
นำยกรัฐมนตรี ท่ีต้ังไว้เป็นเงินอุดหนุน อปท. ภำยใต้โครงกำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำรของท้องถิ่น
และงบประมำณของสำนักงำนนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อม ท่ีตั้งไว้เป็นเงินอุดหนุน
อปท. ภำยใต้โครงกำรถำ่ ยโอนกำรสนบั สนนุ แผนปฏิบัติกำรเพ่อื จัดกำรน้ำเสยี ในระดบั จังหวัด และโครงกำรถ่ำย
โอนกำรสนับสนุนแผนปฏิบัติกำรเพ่ือจัดกำรขยะในระดับจังหวัด ภำยใต้แผนงำนยุทธศำสตร์ส่งเสริม
กำรกระจำยอำนำจให้แกอ่ งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ

ข้อสังเกต PBO

1) จำกหลักเกณฑ์และวิธีกำรย่ืนคำขอต้ังงบประมำณรำยจ่ำยของ อปท. ที่สำนักงบประมำณกำหนด4 ทำให้
ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 เทศบำลตำบล (ทต.) และองค์กำรบรหิ ำรส่วนตำบล (อบต.) เสนอขอตั้งและได้รับกำร
จัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุนผ่ำนกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น ส่งผลให้งบประมาณท่ีได้รับ
จัดสรร จานวน 225,604.8109 ล้านบาท เป็นของกรมส่งเสริมฯ ในฐานะส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ
ดังกล่ำว และจะทยอยจัดสรรให้แก่ ทต. และ อบต. ต่อไป ท้ังนี้ ท้องถ่ินท้ัง 2 ประเภทดังกล่ำวยังไม่มี
ควำมสำมำรถด้ำนกำรงบประมำณตำมมำตรำ 4 และ 29 ของ พรบ.วิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 ทำให้เสีย
โอกำสในกำรเขำ้ ถึงงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีโดยตรงเชน่ เดียวกบั อปท. ประเภทอื่น

2) งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ของกรมส่งเสริมฯ / สำนักงำนปลัดสำนัก
นำยกรัฐมนตรี/สำนักงำนนโยบำยและแผนทรัพยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อม ที่ขอตั้งและไดร้ ับจัดสรรเป็น
เงินอุดหนุนให้แก่ อปท. (ทต. และ อบต.) จำนวน 226,450.0 ล้ำนบำท โดยเฉพำะของกรมส่งเสริมฯ เป็นเงิน
อุดหนนุ เฉพำะกิจ เช่น โครงกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำยำเสพติด จำนวน 688.5553 ล้ำนบำท สำหรับจัดสรร
เป็นค่ำกอ่ สร้ำงลำนกีฬำ/สนำมกีฬำ 391 แห่ง , โครงกำรส่งเสริมสนับสนุนกำรบริหำรจัดกำรน้ำอย่ำงบูรณำกำร
จำนวน 4,500.0645 ล้ำนบำท สำหรับจัดสรรเป็นค่ำก่อสร้ำงและปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภำพระบบประปำ
หมู่บ้ำน 776 แห่ง+ค่ำก่อสร้ำง/ปรับปรุงและพัฒนำแหล่งกักเก็บน้ำ 554 แห่ง+ค่ำก่อสร้ำง/ปรับปรุงและ
พัฒนำกำรบริหำรจัดกำรน้ำระบบธนำคำรน้ำใต้ดิน 28,101 บ่อ, โครงกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำด้วย
เทคโนโลยีสำรสนเทศ DLTV จำนวน 183.1869 ลำ้ นบำท สำหรบั จดั สรรเปน็ คำ่ ชดุ อุปกรณส์ ำหรบั หอ้ งเรยี น
คุณภำพแห่งกำรเรียนรู้ด้ำนส่ือเทคโนโลยีสำรสนเทศ DLTV 5,967 ชุด เป็นต้น ซ่ึงมีปริมำณที่จำกัดและไม่
สำมำรถจัดสรรให้แก่ อปท. (ทต.และ อบต. รวม 7,557 แหง่ ) ทง้ั หมดไดอ้ ย่ำงท่ัวถึง ดังน้ัน กรมส่งเสริมฯ มี
เปา้ หมายและหลักเกณฑก์ ารจัดสรรเงินอดุ หนนุ เฉพาะกิจดังกล่าวอยา่ งไร

4 (3) เทศบาลตาบลและองค์การบรหิ ารส่วนตาบล ยน่ื คาขอตง้ั งบประมาณรายจ่ายเพ่ือต้งั
งบประมาณรายจา่ ยไว้ที่กรมส่งเสริมการปกครองสว่ นท้องถ่ิน โดยเสนอตั้งงบประมาณผา่ นท้องถ่นิ จังหวัด และ
ผ้วู า่ ราชการจังหวัด

สำนักงบประมำณของรฐั สภำ หนำ้ 21 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่

3.3 การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ขององค์การบริหารส่วน
จงั หวดั (อบจ.)

3.3.1 ขอ้ มูลพ้นื ฐาน

3.3.1.1 ความเปน็ มา

องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) จัดต้ังข้ึนคร้ังแรกเมื่อ พ.ศ. 2498 ตำม พรบ. ระเบียบบริหำร

รำชกำรส่วนจังหวัด พ.ศ. 2498 เปน็ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ที่มีผวู้ ำ่ รำชกำรจงั หวดั ซงึ่ เป็นข้ำรำชกำรประจำ

เป็นหัวหน้ำฝ่ำยบริหำร และมีสภำจังหวัดซึ่งสมำชิกมำจำกกำรเลือกต้ังของประชำชนทำหน้ำท่ีเป็นฝ่ำยนิติบัญญัติ

ปัจจุบันกำรบริหำรงำนของ อบจ. เป็นไปตำม พรบ. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด พ.ศ.2540 ซึ่งมีกำรแก้ไข

เพิ่มเติมปี พ.ศ. 2562 (ฉบับท่ี 5) โดย อบจ. เป็นหน่วยกำรบริหำรรำชกำรส่วนท้องถ่ินรูปแบบหนึ่งและมีในทุก

จังหวัด ๆ ละ 1 แห่ง รวม 76 แห่ง มีฐำนะเป็นนิติบุคคลและมีพื้นที่รับผิดชอบท้ังจังหวัด โดยทับซ้อนกับพ้ืนที่

ของหนว่ ยกำรบรหิ ำรรำชกำรส่วนท้องถน่ิ อ่ืน คอื เทศบำล และองค์กำรบรหิ ำรส่วนตำบลในจังหวดั น้ัน หรอื เป็น

กำรปกครองท้องถ่ิน 2 ชั้น โดยมีนำยก อบจ. ทำหน้ำท่ีฝ่ำยบริหำร และสมำชิกสภำ อบจ. ทำหน้ำที่ฝ่ำยนิติ

บัญญตั ิ ซง่ึ ต่ำงก็มำจำกกำรเลอื กตั้งโดยตรงของประชำชนในจังหวดั

3.3.1.2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ผลสัมฤทธิ์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ

รวมทง้ั เปา้ หมายการให้บรกิ ารหนว่ ยงาน

- วิสัยทศั น์ของ อบจ. 76 จงั หวดั มีกำรกำหนดแตกต่ำงกันตำมภำพที่คำดหวังให้เกิดข้ึนของ อบจ. ใน

แต่ละจังหวัด

- พันธกิจของ อบจ. 76 จังหวัด มีการกาหนดเหมือนกันทั้งหมด กล่ำวคือ กำรจัดระบบบริกำร

สำธำรณะเพือ่ ประโยชนข์ องประชำชนในทอ้ งถน่ิ ของตนเอง 5 ด้ำน ดงั นี้

1. กำรจดั บรกิ ำรสำธำรณะดำ้ นกำรศกึ ษำ

2. กำรจัดบริกำรสำธำรณะด้ำนโครงสร้ำงพ้นื ฐำน

3. กำรจัดบริกำรสำธำรณะดำ้ นสังคม

4. กำรจัดบรกิ ำรสำธำรณะดำ้ นสิง่ แวดลอ้ ม

5. กำรจัดบรกิ ำรสำธำรณะด้ำนกำรบรหิ ำรจดั กำร

- ผลสัมฤทธิ์และประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รบั จากการใชจ้ า่ ยงบประมาณ

มีการกาหนดเหมอื นกนั ให้แก่ อบจ. 76 จงั หวัด ดงั นี้

ผลสมั ฤทธิแ์ ละประโยชนท์ ค่ี ำดวำ่ จะไดร้ บั หนว่ ยนบั คำ่ เป้ำหมำย

ปี 2563 ปี 2564

(1) ผลสมั ฤทธ์ิ : ประชำชนในพ้ืนทไ่ี ดร้ ับบรกิ ำรสำธำรณะท่มี ี

ประสทิ ธิภำพ

- ตวั ชี้วัด : กำรจัดกิจกรรมบรกิ ำรสำธำรณะสอดคลอ้ งกับ ร้อยละ 70 80

ปญั หำและควำมต้องกำรของประชำชนและชมุ ชนไม่น้อยกว่ำ

-เป้ำหมำยกำรใหบ้ ริกำรหน่วยงำน

สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ หนำ้ 22 สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น

มีการกาหนดเหมอื นกันให้แก่ อบจ. 76 จงั หวัด ดงั น้ี หน่วยนบั คำ่ เปำ้ หมำย
เป้ำหมำยกำรใหบ้ ริกำรหนว่ ยงำน ปี 2563 ปี 2564

(1) องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ มีการบริหารจัดการท่ีดีและมี รอ้ ยละ 70 80
ความเข้มแข็งในการบรกิ ารสาธารณะอย่างมีประสิทธิภาพ ร้อยละ
- ตวั ชี้วดั เชิงปริมำณ : องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ผ่ำน 70 80
เกณฑก์ ำรประเมนิ ประสทิ ธิภำพ (Local Performance
Assessment : LPA) ไมน่ ้อยกว่ำ

- ตัวชี้วัดเชิงคุณภำพ : องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผ่ำนเกณฑ์
กำรประเมนิ ดำ้ นกำรบริหำรจัดกำรในระดบั ดมี ำกไมน่ อ้ ยกว่ำ

ขอ้ สังเกต PBO

1) การกาหนดพันธกจิ ของ อบจ. 76 จังหวดั ให้เหมอื นกันทั้งหมด กลำ่ วคอื กำรจดั ระบบบริกำรสำธำรณะ
เพ่ือประโยชน์ของประชำชนในท้องถ่ินของตนเอง 5 ด้ำน ได้แก่ กำรจัดบริกำรสำธำรณะด้ำนกำรศึกษำ/
โครงสรำ้ งพ้นื ฐำน/สังคม/ส่ิงแวดล้อม/กำรบรหิ ำรจดั กำร เป็นกำรกำหนดพันธกิจกว้ำงๆ ตำมกรอบของกฎหมำย
แต่ไม่มีความสัมพันธ์โดยตรงต่อการดาเนินการเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของ อบจ. ซึ่งในแต่ละแห่งมีการ
กาหนดแตกตา่ งกัน

2) กำรกำหนดผลสมั ฤทธ์ิและประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รับจากการใชจ้ ่ายงบประมาณและตัวชวี้ ัดของ อบจ.
76 จังหวัดให้เหมือนกันท้ังหมด กล่ำวคือ ประชำชนในพื้นท่ีได้รับบริกำรสำธำรณะท่ีมปี ระสิทธภิ ำพ และมี
ตวั ช้ีวดั คือ กำรจดั กจิ กรรมบริกำรสำธำรณะสอดคล้องกบั ปัญหำและควำมตอ้ งกำรของประชำชนและชุมชน
ไม่น้อยกว่ำร้อยละ 80 โดย อบจ. จะมีวิธีกำรติดตำมและประเมินผลสัมฤทธ์ิฯ ตำมตัวช้ีวัดดังกล่ำวอย่ำงไร?
และผลสมั ฤทธิข์ องปีทีผ่ ำ่ นมำเปน็ อยำ่ งไร?

3.3.2 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

แห่งชาติฉบับท่ี 12 ยทุ ธศาสตรก์ ารจดั สรรงบประมาณและแผนงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่เกี่ยวข้อง

กบั องค์การบริหารส่วนจงั หวัด (อบจ.)

รฐั ธรรมนญู ฯ มำตรำ 65 บญั ญัติให้รัฐจดั ใหม้ ียุทธศำสตร์ชำติเป็นเปำ้ หมำยกำรพัฒนำประเทศอย่ำงยั่งยืน
เพื่อเป็นกรอบในกำรจัดทำแผนต่ำงๆ เกิดกำรผลักดันไปสู่เป้ำหมำยเดียวกัน และ มำตรำ 142 กำรเสนอร่ำง
พระรำชบญั ญตั ิงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปงี บประมำณตอ้ งควำมสอดคล้องกบั ยุทธศำสตร์ชำติและแผนพฒั นำต่ำงๆ
ดงั น้นั กำรจัดทำงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ในส่วนท่ีเก่ียวข้องกับ อบจ. ในฐำนะหน่วยรับ
งบประมำณ ที่ขอต้ังและรับกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำย ต้องมีควำมเช่ือมโยงและสอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติ
แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติฉบับท่ี 12 ยุทธศำสตร์กำรจัดสรร
งบประมำณรำยจ่ำยประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 ไปสู่แผนงำนและงบประมำณรำยจ่ำยของ อบจ. ดังภาพที่ 5

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หน้ำ 23 สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ

ภาพที่ 5 ควำมเช่ือมโยงระหว่ำงยุทธศำสตร์ชำติ แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ แผนพัฒนำเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชำตฉิ บับที่ 12 ยุทธศำสตร์กำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564
กบั แผนงำนและงบประมำณของ อบจ.

ยทุ ธศำสตร์ชำติด้ำนกำรสร้ำงโอกำสควำมเสมอภำคและเทำ่ เทียมกนั ทำงสงั คม

แผนแม่บทภำยใตย้ ทุ ธศำสตร์ชำติ:พลงั ทำงสงั คม

แผนพัฒนำฯ ฉบับที่ 12: กำรบรหิ ำรจดั กำรในภำครัฐกำรปอ้ งกันกำรทุจริตประพฤติมชิ อบ
และธรรมำภิบำลในสังคมไทย

ยุทธศำสตรก์ ำรจัดสรรงบประมำณปีงบประมำณ 2564 :
ยทุ ธศำสตรด์ ้ำนกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสงั คม

แผนงำนยุทธศำสตรส์ ่งเสรมิ กำรกระจำยอำนำจใหแ้ ก่ อปท.

อปท.: กทม./เมอื งพัทยำ/อบจ. 76 จังหวัด/เทศบำล/อบต.

319,232.7589 ลา้ นบาท
(อบจ. 76 จังหวดั ไดร้ บั จดั สรร 28,797.8445 ล้านบาท)

3.3.3 งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ของ อบจ.
3.3.3.1 ภาพรวมของการจดั สรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ใหแ้ ก่ อบจ.
ปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 เป็นปีท่ีสองที่องคก์ ำรบรหิ ำรสว่ นจังหวัด (อบจ.) 76 จงั หวัด ขอตง้ั และได้รับ
จดั สรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีโดยตรง โดยได้รับกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุน จำนวน
รวมท้ังสิ้น 28,797.8445 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 855.67 ล้ำนบำท หรือ
เพ่ิมข้ึนคิดเป็นร้อยละ 3.06 (ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 ได้รับจัดสรรจำนวน 27,942.1761 ล้ำนบำท) โดยมี
อบจ. ได้รับจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุนเพิ่มข้ึนจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จานวน 60
จงั หวดั และไดร้ บั จัดสรรงบประมำณฯ ลดลงจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จานวน 16 จังหวัด
- อบจ. ท่ีได้รับจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุนเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละสูงสุด 5 จังหวัดแรก
ได้แก่ อบจ.เพชรบรุ ี / จนั ทบรุ ี / ภูเก็ต / นครนำยก / รำชบรุ ี ตำมลำดบั
- อบจ. ท่ีได้รับจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุนลดลงเป็นร้อยละสูงสุด 5 จังหวัดแรก
ได้แก่ อบจ.ระยอง / เลย / พังงำ / มุกดำหำร / สงิ หบ์ ุรี ตำมลำดบั รำยละเอียดตำมตารางที่ 7

สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ หน้ำ 24 สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ

ตารางที่ 7 กำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ให้แก่ อบจ. 76 จังหวัด โดยตรง

ปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 และ 2564

หน่วย: ลำ้ นบำท

หนว่ ยงาน ปีงบประมาณ เพม่ิ /(ลด)

อบจ. 76 จังหวัด 2563 2564 จานวน ร้อยละ
27,942.1761 28,797.8445 855.67 3.06

1.อบจ.ชัยนำท 192.4855 202.1221 9.64 5.01

2.อบจ.พระนครศรีอยธุ ยำ 264.3646 287.9523 23.59 8.92

3.อบจ.ลพบรุ ี 225.0893 232.4286 7.34 3.26

4.อบจ.สระบุรี 189.9033 211.362 21.46 11.30

5.อบจ.สงิ ห์บุรี 129.4914 118.7988 -10.69 -8.26

6.อบจ.อ่ำงทอง 146.8379 153.5922 6.75 4.60

7.อบจ.นครปฐม 228.7343 215.3765 -13.36 -5.84

8.อบจ.นนทบุรี 692.6495 673.0958 -19.55 -2.82

9.อบจ.ปทมุ ธำนี 246.3929 275.5921 29.20 11.85

10.อบจ.สมุทรปรำกำร 163.7941 170.387 6.59 4.03

11.อบจ.กำญจนบรุ ี 330.3018 380.0015 49.70 15.05

12.อบจ.รำชบรุ ี 205.8722 254.0203 48.15 23.39

13.อบจ.สพุ รรณบุรี 257.755 293.0092 35.25 13.68

14.อบจ.ประจวบคีรีขนั ธ์ 204.4506 214.9518 10.50 5.14

15.อบจ.เพชรบุรี 148.0003 202.4386 54.44 36.78

16.อบจ.สมุทรสงครำม 110.1825 120.5006 10.32 9.36

17.อบจ.สมุทรสำคร 170.5174 183.5885 13.07 7.67

18.อบจ.ชุมพร 259.6645 301.1143 41.45 15.96

19.อบจ.นครศรธี รรมรำช 519.8916 530.3997 10.51 2.02

20.อบจ.พทั ลุง 305.4586 338.9262 33.47 10.96

21.อบจ.สงขลำ 310.9524 352.1583 41.21 13.25

22.อบจ.สรุ ำษฎร์ธำนี 449.8936 447.4385 -2.46 -0.55

23.อบจ.กระบ่ี 196.4021 213.2134 16.81 8.56

24.อบจ.ตรัง 198.1732 236.1656 37.99 19.17

25.อบจ.พงั งำ 205.2515 166.2701 -38.98 -18.99

26.อบจ.ภูเกต็ 183.8988 231.6372 47.74 25.96

27.อบจ.ระนอง 90.6527 103.4347 12.78 14.10

28.อบจ.สตูล 166.8114 183.6205 16.81 10.08

29.อบจ.นรำธวิ ำส 201.5797 195.8534 -5.73 -2.84

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หน้ำ 25 สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ

หน่วยงาน ปีงบประมาณ เพ่มิ /(ลด)

30.อบจ.ปตั ตำนี 2563 2564 จานวน รอ้ ยละ
31.อบจ.ยะลำ 227.9262 242.8774 14.95 6.56
32.อบจ.ฉะเชงิ เทรำ 18.62 11.01
33.อบจ.ชลบรุ ี 169.0726 187.6941 19.27 7.86
34.อบจ.ระยอง -28.92 -4.49
35.อบจ.จันทบุรี 245.2878 264.5609
36.อบจ.ตรำด -220.72 -40.46
37.อบจ.นครนำยก 644.7405 615.8222 43.70 26.27
38.อบจ.ปรำจนี บุรี 15.09 12.29
39.อบจ.สระแก้ว 545.5042 324.7823 28.35 24.71
40.อบจ.บงึ กำฬ 5.54 2.04
41.อบจ.เลย 166.3582 210.0549 19.04 4.42
42.อบจ.หนองคำย -1.85 -0.86
43.อบจ.หนองบวั ลำภู 122.8057 137.8962
44.อบจ.อุดรธำนี -179.49 -33.84
45.อบจ.นครพนม 114.7026 143.0504 -4.51 -1.86
46.อบจ.มกุ ดำหำร 5.48 2.40
47.อบจ.สกลนคร 272.4268 277.9708 -15.57 -2.43
48.อบจ.กำฬสนิ ธ์ุ 1.85 0.65
49.อบจ.ขอนแกน่ 430.6027 449.6454 -33.75 -15.47
50.อบจ.มหำสำรคำม 16.81 2.99
51.อบจ.รอ้ ยเอด็ 213.7826 211.9346 43.22 6.34
52.อบจ.ชยั ภูมิ 23.52 2.30
530.3523 350.8577 7.04 0.91
53.อบจ.นครรำชสมี ำ 7.63 1.15
243.0729 238.5621
54.อบจ.บรุ ีรัมย์ 32.98 3.43
228.0964 233.5728
55.อบจ.สุรนิ ทร์ 48.12 2.13
641.3852 625.8141
56.อบจ.ยโสธร -3.35 -0.61
286.5323 288.3809
57.อบจ.ศรีสะเกษ 2.37 0.52
218.2221 184.4739
58.อบจ.อำนำจเจริญ 6.45 2.38
59.อบจ.อุบลรำชธำนี 561.7711 578.5801
60.อบจ.เชยี งใหม่ 5.83 0.44
61.อบจ.แม่ฮ่องสอน 681.2706 724.4886
62.อบจ.ลำปำง 16.46 9.50
1021.0803 1044.5989 39.43 4.04

775.0677 782.1103 63.18 9.99
13.81 7.52
665.3084 672.937
45.38 14.54
962.5889 995.5663

2255.2753 2303.3987

551.6884 548.3357

452.4831 454.8568

271.1542 277.6009

1336.3032 1342.1359

173.3098 189.7656

977.1929 1016.6267

632.6158 695.7971

183.6352 197.4486

312.1756 357.5558

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หน้ำ 26 สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ

หน่วยงาน ปงี บประมาณ เพม่ิ /(ลด)

2563 2564 จานวน รอ้ ยละ
63.อบจ.ลำพูน 235.1156 259.8951 24.78 10.54

64.อบจ.เชยี งรำย 453.3236 492.8917 39.57 8.73

65.อบจ.นำ่ น 249.2141 267.711 18.50 7.42
66.อบจ.พะเยำ 232.1385 229.9918 -2.15 -0.92

67.อบจ.แพร่ 300.8289 315.3847 14.56 4.84

68.อบจ.ตำก 249.2778 282.5926 33.31 13.36

69.อบจ.พิษณุโลก 338.189 375.1755 36.99 10.94

70.อบจ.เพชรบรู ณ์ 301.6725 300.7365 -0.94 -0.31

71.อบจ.สุโขทัย 234.2249 264.5631 30.34 12.95

72.อบจ.อตุ รดิตถ์ 232.6263 263.1266 30.50 13.11

73.อบจ.กำแพงเพชร 234.8097 271.4585 36.65 15.61

74.อบจ.นครสวรรค์ 337.3464 363.9995 26.65 7.90

75.อบจ.พจิ ติ ร 267.3232 274.9431 7.62 2.85

76.อบจ.อทุ ยั ธำนี 166.8413 176.1713 9.33 5.59

ท่มี าของขอ้ มูล : สำนกั งบประมำณ.เอกสำรงบประมำณ ฉบบั ท่ี 3 (ขำวคำดแดง) งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564

เลม่ ท่ี 16 (1) ถึง (3)

3.3.2.2 การจดั สรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ให้แก่ อบจ. จาแนกตาม

ประเภทเงินอดุ หนุน

ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 อบจ. 76 จังหวัด ได้รับกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุน
จำนวนรวมทั้งส้ิน 28,797.8445 ล้ำนบำท โดยจำแนกเป็นเงินอดุ หนุนทั่วไป จำนวน 25,981.2363 ล้านบาท
และเงินอุดหนุนเฉพำะกิจ จำนวน 2,816.6082 ลา้ นบาท ซ่ึงสัดส่วนระหว่างเงินอุดหนนุ ทว่ั ไป : เงนิ อดุ หนุน
เฉพาะกิจ คอื ร้อยละ 90.22 : 9.78 รำยละเอียดตำมตารางท่ี 8 และภาพท่ี 5

ทงั้ น้ี มี อบจ. 7 จังหวดั ที่ไมไ่ ด้รับจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เป็น
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ได้แก่ อบจ.สิงห์บุรี / นนทบุรี / สมุทรปรำกำร / สมุทรสำคร / ภูเก็ต / พะเยำ /
เพชรบูรณ์

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หน้ำ 27 สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่

ตารางท่ี 8 กำรจัดสรรงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 ใหแ้ ก่ อบจ. 76 จังหวดั
ปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 จาแนกตามประเภทเงนิ อุดหนนุ รวมทง้ั เงินนอกงบประมำณ
หนว่ ย: ลำ้ นบำท

หนว่ ยงาน งบประมาณรายจา่ ยประจาปี 2564 เงินนอกฯ

รวม อดุ หนนุ ท่วั ไป อดุ หนุนเฉพาะกิจ

อบจ. 76 จังหวดั 28,797.8445 25,981.2363 2,816.6082 176.6380

1.อบจ.ชยั นำท 202.1221 195.2021 6.9200 0.0000
2.อบจ.พระนครศรีอยธุ ยำ 287.9523 251.9523 36.0000 4.0000

3.อบจ.ลพบุรี 232.4286 216.2646 16.1640 1.7960
4.อบจ.สระบรุ ี 211.362 201.3620 10.0000 3.4950

5.อบจ.สิงห์บุรี 118.7988 118.7988 0.0000 0.0000
6.อบจ.อำ่ งทอง 153.5922 121.7249 31.8673 4.4047
7.อบจ.นครปฐม 215.3765 192.7335 22.6430 0.0000

8.อบจ.นนทบุรี 673.0958 673.0958 0.0000 0.0000
9.อบจ.ปทุมธำนี 275.5921 253.3891 22.2030 2.4670

10.อบจ.สมุทรปรำกำร 170.387 170.3870 0.0000 0.0000
11.อบจ.กำญจนบรุ ี 380.0015 304.1545 75.8470 7.5000

12.อบจ.รำชบรุ ี 254.0203 215.2503 38.7700 2.9000
13.อบจ.สพุ รรณบรุ ี 293.0092 243.1092 49.9000 0.0000

14.อบจ.ประจวบครี ีขนั ธ์ 214.9518 170.7088 44.2430 3.0290
15.อบจ.เพชรบุรี 202.4386 153.2186 49.2200 0.0000
16.อบจ.สมทุ รสงครำม 120.5006 89.7672 30.7334 5.9906
17.อบจ.สมทุ รสำคร 183.5885 183.5885 0.0000 0.0000
18.อบจ.ชุมพร 301.1143 246.6783 54.4360 0.0000
19.อบจ.นครศรีธรรมรำช 530.3997 483.8301 46.5696 3.9035
20.อบจ.พทั ลงุ 338.9262 302.3133 36.6129 4.0681
21.อบจ.สงขลำ 352.1583 306.2483 45.9100 0.0000
22.อบจ.สรุ ำษฎรธ์ ำนี 447.4385 378.2110 69.1795 16.1795
23.อบจ.กระบ่ี 213.2134 180.8134 32.4000 3.6000
24.อบจ.ตรัง 236.1656 183.3079 52.8577 2.0133
25.อบจ.พงั งำ 166.2701 129.0631 37.2070 2.3260
26.อบจ.ภูเก็ต 231.6372 231.6372 0.0000 0.0000
27.อบจ.ระนอง 103.4347 94.1387 9.2960 0.0000
28.อบจ.สตลู 183.6205 143.1308 40.4897 4.4955

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หน้ำ 28 สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

หน่วยงาน งบประมาณรายจา่ ยประจาปี 2564 เงนิ นอกฯ
รวม อดุ หนุนท่ัวไป อดุ หนุนเฉพาะกจิ
29.อบจ.นรำธวิ ำส 16.8812
30.อบจ.ปตั ตำนี 195.8534 181.5488 14.3046 15.9043
31.อบจ.ยะลำ 242.8774 199.7730 43.1044 0.0000
32.อบจ.ฉะเชงิ เทรำ 187.6941 138.5823 49.1118 6.4303
33.อบจ.ชลบุรี 264.5609 225.7191 38.8418 12.3162
34.อบจ.ระยอง 615.8222 586.4026 29.4196 8.4200
35.อบจ.จันทบุรี 324.7823 297.6023 27.1800 4.1428
36.อบจ.ตรำด 210.0549 172.6997 37.3552 0.0000
37.อบจ.นครนำยก 137.8962 116.6462 21.2500 2.5749
38.อบจ.ปรำจนี บรุ ี 143.0504 110.0193 33.0311 0.0000
39.อบจ.สระแกว้ 277.9708 262.9908 14.9800 3.7402
40.อบจ.บึงกำฬ 449.6454 389.3211 60.3243 2.4310
41.อบจ.เลย 211.9346 177.1656 34.7690 0.0000
42.อบจ.หนองคำย 350.8577 287.5683 63.2894 0.0000
43.อบจ.หนองบวั ลำภู 238.5621 202.6606 35.9015 0.0000
44.อบจ.อดุ รธำนี 233.5728 190.5449 43.0279 0.0000
45.อบจ.นครพนม 625.8141 576.8341 48.9800 0.0000
46.อบจ.มกุ ดำหำร 288.3809 249.3769 39.0040 0.0000
47.อบจ.สกลนคร 184.4739 143.8334 40.6405 0.0000
48.อบจ.กำฬสนิ ธุ์ 578.5801 533.0621 45.5180 0.0000
49.อบจ.ขอนแก่น 724.4886 683.3996 41.0890 0.0000
50.อบจ.มหำสำรคำม 1044.5989 988.8728 55.7261 0.0000
51.อบจ.ร้อยเอ็ด 782.1103 745.4203 36.6900 0.0000
52.อบจ.ชัยภมู ิ 672.937 631.2570 41.6800 5.1260

53.อบจ.นครรำชสมี ำ 995.5663 949.4323 46.1340 0.0000

54.อบจ.บุรรี ัมย์ 2303.3987 2,244.2127 59.1860 2.6850

55.อบจ.สุรนิ ทร์ 548.3357 524.1707 24.1650 1.5480

56.อบจ.ยโสธร 454.8568 409.5628 45.2940 0.0000

57.อบจ.ศรีสะเกษ 277.6009 241.3759 36.2250 0.0000
58.อบจ.อำนำจเจริญ 0.0000
59.อบจ.อุบลรำชธำนี 1342.1359 1,297.5599 44.5760 1.2440
60.อบจ.เชียงใหม่ 5.2784
61.อบจ.แม่ฮ่องสอน 189.7656 150.7756 38.9900 4.5000
1016.6267 963.6657 52.9610

695.7971 640.3204 55.4767
197.4486 132.9179 64.5307

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หนำ้ 29 สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น

หน่วยงาน งบประมาณรายจ่ายประจาปี 2564 เงินนอกฯ

รวม อดุ หนนุ ทั่วไป อุดหนนุ เฉพาะกจิ

62.อบจ.ลำปำง 357.5558 297.5958 59.9600 0.0000

63.อบจ.ลำพนู 259.8951 223.7106 36.1845 4.0205

64.อบจ.เชียงรำย 492.8917 447.8917 45.0000 1.4420

65.อบจ.นำ่ น 267.711 226.3580 41.3530 0.0000
66.อบจ.พะเยำ 229.9918 229.9918 0.0000 0.0000

67.อบจ.แพร่ 315.3847 280.2819 35.1028 0.0000

68.อบจ.ตำก 282.5926 211.0420 71.5506 0.0000

69.อบจ.พิษณโุ ลก 375.1755 316.7255 58.4500 0.0000

70.อบจ.เพชรบรู ณ์ 300.7365 300.7365 0.0000 0.0000

71.อบจ.สโุ ขทยั 264.5631 226.0531 38.5100 0.0000

72.อบจ.อตุ รดติ ถ์ 263.1266 206.2619 56.8647 1.0174

73.อบจ.กำแพงเพชร 271.4585 233.3860 38.0725 0.0000

74.อบจ.นครสวรรค์ 363.9995 324.2685 39.7310 0.0000

75.อบจ.พจิ ิตร 274.9431 238.0487 36.8944 4.7676

76.อบจ.อทุ ัยธำนี 176.1713 139.5103 36.6610 0.0000

ทีม่ าของข้อมูล : สำนกั งบประมำณ.เอกสำรงบประมำณ ฉบับที่ 3 (ขำวคำดแดง) งบประมำณรำยจำ่ ยประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564

เล่มท่ี 16 (1) ถึง (3)

ภาพท่ี 5 สัดส่วนงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ของ อบจ. ประเภทเงินอุดหนุนทั่วไป : เงิน

อุดหนุนเฉพำะกจิ

เงนิ อดุ หนนุ เฉพำะกจิ
2,816.5602 ลำ้ นบำท

/ 9.78 %

เงินอดุ หนุนทัว่ ไป
25,981.2843 ลำ้ น
บำท / 90.22 %

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หน้ำ 30 สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ

3.3.3.3 เงินนอกงบประมาณและการนามาสมทบกับงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ของ อบจ.

ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 อบจ. 76 จงั หวัดไดร้ ำยงำนสถำนะและแผนกำรใช้จำ่ ยเงนิ นอกงบประมำณ
ของตนเอง ซึง่ ทกุ จงั หวัดมเี งนิ นอกฯ แต่มีเพียง อบจ. 35 จังหวัด หรอื คิดเปน็ ร้อยละ 46.05 ของทั้งหมด 76
จังหวัด ท่ีนาเงินนอกฯ ดังกล่าวมาสมทบร่วมใช้จ่ายกับงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2564 เพิ่มข้ึนจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ซึ่งมี อบจ. เพียง 17 จังหวัด เท่ำนั้น ท่ีมีกำรนำเงินนอกฯ ของ
หนว่ ยงำนตนเองมำรว่ มสมทบจ่ำย

จำกตารางที่ 8 ข้ำงต้น อบจ. 35 จงั หวัด นำเงินนอกฯ มำสมทบจำ่ ยกับงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี
งบประมำณ พ.ศ. 2564 เป็นจำนวน 176.6380 ล้านบาท คดิ เป็นร้อยละ 0.61 ของงบประมาณรายจ่ายของ
อบจ. ในภาพรวม (28,797.84 ล้านบาท) และคิดเป็นร้อยละ 6.27 ของงบประมาณรายจ่ายของ อบจ. ที่
ได้รับจัดสรรในลักษณะเงินอุดหนุนเฉพาะกิจท่ีได้รับจัดสรรท้ังหมด (2,816.6082 ล้านบาท) เน่ืองจำกเงิน
นอกฯ ที่นำมำสมทบจ่ำยทั้งหมดเป็นกำรนำมำสมทบในรำยกำรงบประมำณรำยจ่ำยที่ อบจ. ได้รับจัดสรรใน
ลักษณะเงินอุดหนุนเฉพำะกิจ ซ่ึงท้ังหมดเป็นรำยจ่ำยลงทุนที่ อบจ. ได้รับจัดสรรเป็นค่ำครุภัณฑ์และค่ำ
สง่ิ กอ่ สร้ำง

ขอ้ สังเกต PBO

1) เนื่องจำกงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ของ อบจ. 16 จังหวัด (จำก 76 จังหวัด)
ลดลงจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 โดยลดลงระหว่ำงร้อยละ 0.55 – 40.46 โดยงบประมำณรำยจ่ำยส่วนใหญ่
ของ อบจ. (ร้อยละ 90) ได้รับจัดสรรในลักษณะเงินอุดหนุนท่ัวไป ซ่ึงมีกำรใช้จ่ำยในลักษณะรำยจ่ำยประจำ
ดังนั้น การลดลงของงบประมาณรายจ่ายท่ีจัดสรรให้แก่ อบจ. ดังกล่าว เกิดจากสาเหตุใด? และจะมี
ผลกระทบต่อการดาเนนิ งานของ อบจ. หรือไม่

2) ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 อบจ. 76 จังหวัด ได้รับจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุนเฉพำะกิจ (งบ
ลงทุน) คิดเป็นร้อยละ 9.78 ของงบประมำณ ซ่ึงมีสัดส่วนท่ีค่อนข้ำงน้อย และมี อบจ. 7 จังหวัด ท่ีไม่ได้รับ
จดั สรรเงินอุดหนนุ เฉพาะกจิ ไดแ้ ก่ อบจ.สิงห์บุรี / นนทบุรี / สมุทรปราการ / สมทุ รสาคร / ภูเก็ต / พะเยา
/ เพชรบูรณ์ ทาให้ขาดการสนับสนุนงบลงทุนจากรัฐ กรณีดังกล่าวเกิดจากสาเหตุใด? และจะมีผลกระทบ
ต่อการดาเนินงานของ อบจ. หรือไม่

3) ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 อบจ. ทุกจังหวัดแจ้งว่ำมีเงินนอกงบประมำณ แต่มีเพียง 35 จังหวัด หรือคิด
เป็นร้อยละ 46.05 ของท้ังหมด ท่ีนำเงินนอกฯ ของตนเองดังกล่ำวมำสมทบร่วมใช้จ่ำยกับงบประมำณ
รำยจำ่ ยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 เปน็ จำนวน 176.6380 ล้ำนบำท คิดเปน็ ร้อยละ 0.61 งบประมำณ
รำยจ่ำยของ อบจ. ในภำพรวม (28,797.84 ล้ำนบำท) มีหลักเกณฑใ์ นการจงู ใจให้ อบจ. นาเงินนอกฯ มา
สมทบกับเงินงบประมาณรายจ่ายอย่างไร? กรณี อบจ. ที่มีเงินนอกฯ จากัด และไม่สามารถนามาร่วม

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หนำ้ 31 สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ

ข้อสังเกต PBO

สมทบจ่ายได้ แต่มีความจาเป็นต้องการรบั การสนับสนุนงบประมาณรายจา่ ยเป็นเงินอุดหนุน จะมีวิธีการ
แกไ้ ขปญั หาในลกั ษณะดงั กลา่ วอย่างไร?

3.4 การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกรงุ เทพมหานคร

3.4.1 ขอ้ มูลพน้ื ฐาน

3.4.1.1 ความเปน็ มา
กรงุ เทพมหำนคร (กทม.) เป็นมหำนครทม่ี ีบทบำทและควำมสำคัญในหลำกหลำยมิติ กลำ่ วคือ ในฐำนะ
เป็นเมืองหลวงของประเทศ ในฐำนะศูนย์กลำงทำงเศรษฐกิจ กำรเงินกำรธนำคำร กำรพำณิชยก รรม
กำรคมนำคมขนส่ง ฯลฯ และในฐำนะเป็นองคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ รปู แบบพิเศษและเป็นนิตบิ ุคคลซึ่งเป็นไป
ตำมบทบญั ญัติของ พรบ.ระเบยี บบรหิ ำรรำชกำรกรุงเทพมหำนคร พ.ศ. 2528 โดย กทม. มีกำรจัดรูปแบบกำร
บริหำรรำชกำรส่วนทอ้ งถน่ิ เปน็ ระบบช้ันเดียว หรือ กทม. เปน็ องคก์ รเดยี วที่รับผดิ ชอบดแู ลพืน้ ทีท่ ้องถิน่ ทัง้ หมด
50 เขต ฝำ่ ยบริหำรมีผู้ว่ำรำชกำร กทม. และฝ่ำยนติ บิ ัญญตั ิมีสภำ กทม. ซึ่งทั้งสองฝำ่ ยตำ่ งทม่ี ำจำกกำรเลือกตั้ง
โดยตรงของประชำชนและมีวำระในกำรดำรงตำแหนง่ 4 ปี
3.4.1.2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ผลสัมฤทธิ์และประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ
รวมท้ังเป้าหมายการใหบ้ รกิ ารหนว่ ยงาน
วิสัยทัศน์ : กรงุ เทพมหานคร ปี 2575 : กรงุ เทพมหานครเป็นมหานครแหง่ เอเชีย Bangkok :

Vibrant of Asia
พันธกิจ :

1.จัดบรกิ ำรสำธำรณะเพ่อื ประโยชนข์ องประชำชนในพื้นท่ีกรุงเทพมหำนคร
2.ป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย รักษำควำมสงบเรียบร้อย และแก้ไขปัญหำควำม
เดอื ดรอ้ นของประชำชนในพ้ืนท่ี
3.ควบคมุ ดูแลและพัฒนำพน้ื ทก่ี รงุ เทพมหำนคร โครงสรำ้ งทำงกำยภำพ กำรใช้ประโยชน์
ทด่ี นิ และสง่ิ แวดลอ้ ม
4.พัฒนำขีดควำมสำมำรถในกำรบริกำรประชำชนด้ำนงำนทะเบียนรำษฎร บัตร
ประจำตัวประชำชน ทะเบยี นทว่ั ไป และทะเบยี นอืน่ ๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง
5.สนับสนุนกำรจัดกำรศึกษำ เรียนรู้ตลอดชีวิต และเตรียมควำมพร้อมของสังคมเพ่ือ
รองรบั กำรเปลี่ยนแปลง
6.เสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งของชุมชนและสนับสนุนกำรมีส่วนร่วมของประชำชนในกำร
แก้ไขปญั หำและพัฒนำกรุงเทพมหำนครรว่ มกัน
7.เสรมิ สร้ำงสุขภำพ กำรป้องกนั โรค กำรบำบดั รกั ษำ เพ่อื สุขภำพพลำนำมัยและคณุ ภำพ
ชวี ติ ที่ดี ข่ องประชำชน
8.ส่งเสรมิ และพฒั นำดำ้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยีส่กู ำรเป็น Smart City

สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ หน้ำ 32 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ

9.ส่งเสรมิ กำรประกอบอำชีพ พัฒนำเศรษฐกจิ ชุมชน เพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน

ทำงเศรษฐกิจ และกำรขยำยตวั ของเมือง

10.กำรสืบสำน กำรบรู ณำกำร กำรถ่ำยทอดด้ำนพหุวฒั นธรรมควบคกู่ ับกำรส่งเสริมและ

พฒั นำกำรทอ่ งเทีย่ วสู่ระดบั สำกล

11.ส่งเสริมและพัฒนำศักยภำพบุคลำกรให้มีควำมสำมำรถในกำรปฏิบัติรำชกำรและ

บริหำรรำชกำรได้อยำ่ งมีประสทิ ธิภำพ

ผลสัมฤทธ์ิและประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ :

ผลสมั ฤทธิแ์ ละประโยชน์ที่คำดว่ำจะไดร้ บั หนว่ ยนับ คำ่ เปำ้ หมำย

ปี 2563 ปี 2564

(1) ผลสัมฤทธ์ิ : ประชำชนในกรุงเทพมหำนครทุกกลุ่มวัยมี

คุณภำพชีวิตที่ดี ท้ังสุขภำพกำยและใจ มีควำมสะดวก ปลอดภัย

และมคี วำมสุขในกำรดำรงชีวิต

- ตัวชี้วัด : กรุงเทพมหำนครสำมำรถจดั สวัสดิกำรดูแลประชำชน เขต 50 50

ทกุ กล่มุ วัยในพืน้ ทก่ี รงุ เทพมหำนครใหไ้ ด้รบั บริกำรอย่ำงทวั่ ถงึ

-เป้าหมายการให้บรกิ ารหน่วยงาน

เป้ำหมำยกำรใหบ้ ริกำรหน่วยงำน หน่วยนับ คำ่ เป้ำหมำย

ปี 2563 ปี 2564

(1) จัดบริการสาธารณะให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับ

ความต้องการของประชาชนในพ้ืนท่ี เพ่ือยกระดับคุณภาพ

ชวี ติ ทด่ี ขี องประชาชนในกรงุ เทพมหานคร

- ตัวชี้วัดเชิงปริมำณ : จำนวนรำยกำรที่ กทม. ดำเนินกำร รำยกำร 40 54

จดั บริกำรสำธำรณะ

- ตัวช้ีวัดเชิงคุณภำพ : ร้อยละควำมสำเร็จของรำยกำรท่ี กทม.

ดำเนินกำรจัดบรกิ ำรสำธำรณะ ร้อยละ 100 100

(2) ก่อสร้างระบบโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีไดร้ ับผลกระทบตามแนว

เส้นทางก่อสรา้ งโครงการรถไฟความเรว็ สูงเชื่อมสามสนามบนิ

- ตัวช้ีวัดเชิงปริมำณ : จำนวนรำยกำรท่ี กทม. ดำเนินกำรตำมที่

ได้รับผลกระทบตำมแนวเส้นทำงก่อสร้ำงโครงกำรรถไฟควำมเร็ว รำยกำร - 7

สูงเช่อื มสำมสนำมบิน

- ตัวชี้วัดเชิงคุณภำพ : ร้อยละควำมสำเร็จของรำยกำรที่ กทม.

ดำเนินกำรตำมท่ีได้รับผลกระทบตำมแนวเส้นทำงก่อสร้ำง ร้อยละ - 100

โครงกำรรถไฟควำมเรว็ สงู เช่อื มสำมสนำมบิน

สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ หนำ้ 33 สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน

ขอ้ สังเกต PBO
1) วิสยั ทัศน์ของ กทม. “กรุงเทพมหานคร ปี 2575 : กรุงเทพมหานครเปน็ มหานครแหง่ เอเชยี Bangkok
: Vibrant of Asia” ท่ีกาหนดตามปรากฏในเอกสารงบประมาณไม่สอดคล้องกับข้อกาหนดในคู่มือฯ
กล่ำวคือ วิสัยทัศน์ หมำยถึง ภำพท่ีคำดหวังให้เกดิ ข้ึนในอนำคตโดยมีพ้ืนฐำนอยู่บนควำมเป็นจริงในปัจจุบัน
โดยวิสัยทัศน์ที่ดีควรเป็นข้อควำมท่ีเข้ำใจง่ำย แสดงให้เห็นจุดมุ่งหมำยและทิศทำง มีควำมเป็นไปได้ที่จะ
บรรลุถึงในระยะเวลำที่กำหนดและวัดผลสำเร็จได้ (สำนักงบประมำณ.คู่มือปฏิบัติกำรจัดทำงบประมำณ
รำยจ่ำยประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564.หนำ้ 36)
2) ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายปี พ.ศ. 2564 ของผลสัมฤทธิ์และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่าย
งบประมาณของ กทม. ท่ีกาหนดในเอกสารงบประมาณ คือ “กรุงเทพมหำนครสำมำรถจัดสวัสดิกำรดูแล
ประชำชนทุกกลุ่มวัยในพ้ืนที่กรุงเทพมหำนครให้ได้รับบริกำรอย่ำงทว่ั ถึง จำนวน 50 เขต” ไม่สอดคล้องกับ
การใช้วัดความสาเร็จของการบรรลุผลผลสัมฤทธ์ิและประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่าย
งบประมาณ คือ “ประชำชนในกรงุ เทพมหำนครทุกกลุ่มวยั มีคุณภำพชีวิตที่ดี ท้ังสุขภำพกำยและใจ มีควำม
สะดวก ปลอดภัย และมีควำมสุขในกำรดำรงชีวิต” ได้ เนื่องจากต่างระดับกัน โดยตัวชี้วัดและค่ำเป้ำหมำย
ดงั กล่ำวเป็นระดับผลผลติ (Output) หรือผลทีเ่ กิดขึน้ จำกกิจกรรม ขณะที่ผลสัมฤทธ์ิและประโยชน์ที่คำดว่ำ
จะได้รับฯ เป็นระดับผลลัพธ์ (Outcome) หรือผลประโยชน์ที่มีต่อกลุ่มเป้ำหมำย (สำนักงบประมำณ.คู่มือ
ปฏบิ ตั กิ ำรจดั ทำงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564.หน้ำ 36)
3) เป้าหมายการให้บริการหน่วยงานของ กทม. ท่ีกาหนดเป็นระดับกิจกรรมนาส่งผลผลิต ซ่ึงไม่เป็นไป
ตามข้อกาหนดในคู่มือฯ ที่ต้องเป็นผลลัพธ์หรือผลประโยชน์ท่ีมีต่อกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการ (สำนัก
งบประมำณ.คมู่ อื ปฏบิ ตั ิกำรจดั ทำงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564.หนำ้ 37)

3.4.2 ความเช่ือมโยงยุทธศาสตร์ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณและแผนงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่เกย่ี วข้อง
กับกรุงเทพมหานคร

รัฐธรรมนญู ฯ มำตรำ 65 บญั ญตั ใิ ห้รฐั จดั ให้มียทุ ธศำสตร์ชำติเป็นเป้ำหมำยกำรพัฒนำประเทศอย่ำงย่ังยืน
เพื่อเป็นกรอบในกำรจัดทำแผนต่ำงๆ เกิดกำรผลักดันไปสู่เป้ำหมำยเดียวกัน และ มำตรำ 142 กำรเสนอร่ำง
พระรำชบัญญัติงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณตอ้ งควำมสอดคล้องกับยทุ ธศำสตร์ชำตแิ ละแผนพัฒนำตำ่ งๆ
ดังน้ัน กำรจัดทำงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ในส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับกรุงเทพมหานครใน
ฐำนะหน่วยรับงบประมำณ ท่ีขอตั้งและรับกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำย ต้องมีควำมเชื่อมโยงและสอดคล้องกับ

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หนำ้ 34 สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผ้แู ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ

ยุทธศำสตร์ชำติ แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติฉบับท่ี 12 ยุทธศำสตร์
กำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ไปสู่แผนงำนและงบประมำณรำยจ่ำยของ
กรงุ เทพมหานคร ดงั ภาพท่ี 6

ภาพที่ 6 ควำมเชื่อมโยงระหว่ำงยุทธศำสตร์ชำติ แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ แผนพัฒนำเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชำติฉบับที่ 12 ยุทธศำสตร์กำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 กับ
แผนงำนและงบประมำณของกรงุ เทพมหานคร (กทม.)

ยทุ ธศำสตรช์ ำติด้ำนกำรสรำ้ งโอกำสควำมเสมอภำคและเทำ่ เทยี มกนั ทำงสงั คม

แผนแมบ่ ทภำยใต้ยุทธศำสตรช์ ำติ:พลงั ทำง แผนฯ 12: ยุทธศำสตรก์ ำรบรหิ ำรจัดกำรใน
สังคม ภำครัฐ กำรปอ้ งกันกำรทจุ ริตประพฤติมิชอบ

และธรรมำภิบำลในสังคมไทย

ยทุ ธศำสตรก์ ำรจัดสรรงบประมำณปงี บประมำณ 2564 :
ยุทธศำสตร์ดำ้ นกำรสรำ้ งโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสังคม

แผนงำนยุทธศำสตร์ส่งเสรมิ กำรกระจำยอำนำจ แผนงำนบรู ณำกำรเขตพัฒนำพเิ ศษภำค
ใหแ้ ก่ อปท. ตะวันออก

อปท.: กทม./เมอื งพทั ยำ/อบจ./เทศบำล/ อปท.: กทม.และเมอื งพัทยำ
อบต. 378.1700 ลา้ นบาท

319,232.7589 ลา้ นบาท (กทม. : 297.1700 ลา้ นบาท)
(กทม. : 23,786.9155 ล้านบาท)

3.4.3 งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ของ กทม.

3.4.3.1 ภาพรวมของการจดั สรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ให้แก่ กทม.

ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 กรุงเทพมหำนคร (กทม.) ไดร้ ับจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีโดยตรง
โดยได้รับกำรจัดสรรเป็นเงินอุดหนุน จำนวนรวมทั้งส้นิ 24,084.0855 ล้ำนบำท ลดลงจำกปีงบประมำณ พ.ศ.
2563 จำนวน 385.7236 ล้ำนบำท หรือลดลงคิดเป็นร้อยละ 1.58 (ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 ได้รับจัดสรร
จำนวน 24,469.8091 ล้ำนบำท)

สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ หน้ำ 35 สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ

โดยจำแนกเป็น (1) งบประมำณรำยจ่ำยของหน่วยรับงบประมำณ ภำยใต้แผนยุทธศำสตรส์ ่งเสริมกำร
กระจำยอำนำจให้แก่ อปท. สำหรับดำเนินกำรตำมผลผลิตกำรจัดทำบริกำรสำธำรณะ จำนวน 23,786.9155
ล้ำนบำท และ (2) งบประมำณรำยจ่ำยของบูรณำกำร:แผนงำนบูรณำกำรเขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออก
สำหรับดำเนินโครงกำรปรับปรุงระบบระบำยน้ำและระบบสัญญำณไฟจรำจรท่ีได้รับผลกระทบจำกโครงกำร
รถไฟควำมเร็วสงู เชื่อมสำมสนำมบินจำกพญำไทถงึ ดอนเมือง จำนวน 297.1700 ลำ้ นบำท ตำมตารางท่ี 9

ตารางที่ 9 กำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 ใหแ้ ก่ กทม. โดยตรง

ปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 และ 2564

หน่วย: ลำ้ นบำท

หน่วยงาน ปีงบประมาณ เพิม่ /(ลด)

กรงุ เทพมหานคร (กทม.) 2563 2564 จานวน ร้อยละ
24,469.8091* 24,084.0855 -385.7236 -1.58

งบประมาณรายจ่ายของหนว่ ยรบั 24,469.8091 23,786.9155 -682.892346, -2.79
งบประมาณ 084.0855

แผนยทุ ธศำสตร์สง่ เสรมิ กำรกระจำยอำนำจ

ใหแ้ ก่ อปท.

งบประมาณรายจ่ายของบรู ณาการ - 297.1700 297.1700 100.00

แผนงำนบรู ณำกำรเขตพฒั นำพเิ ศษภำค

ตะวันออก

ที่มาของข้อมลู : สำนักงบประมำณ.เอกสำรงบประมำณ ฉบับที่ 3 (ขำวคำดแดง) งบประมำณรำยจ่ำยประจำปี

งบประมำณ พ.ศ. 2564 เล่มที่ 16 (1)

หมายเหตุ : * ปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 กทม. ได้รบั จัดสรรงบประมำณรำยจำ่ ยสูงกว่ำกรอบวงเงินีจัดสรรรำย

ไีดใ้ ีหแ้ ีก่ อปท. ตำมแผนกระจำยอำนำจตำมมำตรำ 30 (4) ของกฎหมำยวำ่ ด้วยกำรกระจำย

อำนำจฯ จำนวน 1,372.0000 ล้ำนบำท (23,097.8091+1,372.0000=24,469.8091 ล้ำนบำท)

3.4.3.2 การจดั สรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ให้แก่ กทม. จาแนกตาม
ประเภทเงินอดุ หนุน

ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 กรุงเทพมหำนคร (กทม.) ได้รับกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงิน
อุดหนุน จำนวนรวมท้ังสิ้น 24,084.0855 ล้ำนบำท โดยจำแนกเป็นเงินอุดหนุนทั่วไป จำนวน 20,198.0483
ล้านบาท และเงินอุดหนุนเฉพำะกิจ จำนวน 3,886.0372 ล้านบาท ซ่ึงสัดส่วนระหว่างเงินอุดหนุนท่ัวไป :
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ คือ ร้อยละ 83.86 : 16.14 รวมท้ังมีกำรนำเงินนอกงบประมำณมำร่วมสมทบจ่ำย
จำนวน 1,956.8567 ลำ้ นบำท จำแนกเป็น

(1) งบประมำณรำยจ่ำยของหน่วยรับงบประมำณ ภำยใต้แผนยทุ ธศำสตร์สง่ เสริมกำรกระจำยอำนำจให้แก่
อปท. สำหรับดำเนินกำรตำมผลผลิตกำรจัดทำบริกำรสำธำรณะ จำนวน 23,786.9155 ล้านบาท จำแนกเป็นเงิน
อดุ หนุนทวั่ ไป จำนวน 20,198.0483 ลา้ นบาท และเงินอดุ หนนุ เฉพำะกจิ จำนวน 3,588.8672 ลา้ นบาท

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หนำ้ 36 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน

(2) งบประมำณรำยจ่ำยของบูรณำกำร:แผนงำนบูรณำกำรเขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออก สำหรับ

ดำเนินโครงกำรปรับปรุงระบบระบำยน้ำและระบบสัญญำณไฟจรำจรท่ีได้รับผลกระทบจำกโครงกำรรถไฟ

ควำมเร็วสูงเชื่อมสำมสนำมบินจำกพญำไทถึงดอนเมือง จานวน 297.1700 ล้านบาท โดยเป็นเงินอุดหนุน

เฉพาะกจิ ทง้ั หมด

รำยละเอียดตำมตารางท่ี 10 และภาพที่ 7

ตารางท่ี 10 กำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ให้แก่ กทม. จำแนกเป็นเงิน

อุดหนุนท่วั ไปและเฉพำะกจิ รวมทงั้ เงนิ นอกงบประมำณ

หนว่ ย: ล้ำนบำท

หน่วยงาน งบประมาณรายจ่ายประจาปี 2564 เงนิ นอกฯ

รวม อุดหนุนท่ัวไป อดุ หนุนเฉพาะกิจ

กรงุ เทพมหานคร (กทม.) 24,084.0855 20,198.0483 3,886.0372 1,956.8567
งบประมาณรายจ่ายของ 23,786.9155 20,198.0483 3,588.8672 1,851.1267
หน่วยรบั งบประมาณ
แผนยทุ ธศำสตรส์ ง่ เสริมกำร 297.1700 - 297.1700 105,7300
กระจำยอำนำจให้แก่ อปท.

งบประมาณรายจา่ ยของ
บูรณาการ
แผนงำนบรู ณำกำรเขตพัฒนำ
พิเศษภำคตะวนั ออก

ภาพท่ี 7 สัดส่วนงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ของกทม. เงินอุดหนุนทั่วไป : เงินอุดหนุนเฉพำะ
กจิ

สำนักงบประมำณของรฐั สภำ หนำ้ 37 สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผ้แู ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ

เงินอดุ หนุนเฉพำะกจิ
3,886.0372 ล้ำนบำท

/ 16.14%

เงนิ อดุ หนนุ ทว่ั ไป
20,198.0483 ล้ำนบำท /

83.86%

3.4.3.3 เงินนอกงบประมาณและการนามาสมทบกับงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ

พ.ศ. 2564 ของ กทม.

ปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 กทม. ได้รำยงำนสถำนะและแผนกำรใชจ้ ่ำยเงินนอกงบประมำณของตนเอง
โดยมีรวมทั้งสิ้น 123,002.4717 ล้านบาท และได้นำเงินนอกฯ ดังกล่ำวมำสมทบร่วมใช้จ่ำยกับงบประมำณ
รำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 เป็นจำนวน 1,956.8567 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.59 เงินนอก
งบประมำณทั้งส้ินของ กทม. (123,002.4717 ล้ำนบำท) และคิดเป็นร้อยละ 8.13 งบประมำณรำยจ่ำยของ
กทม. ในภำพรวม (24,084.0855 ล้ำนบำท) จำแนกเป็น

(1) งบประมำณรำยจ่ำยของหน่วยรับงบประมำณ ภำยใต้แผนยุทธศำสตร์ส่งเสริมกำรกระจำยอำนำจ
ให้แก่ อปท. สำหรับดำเนินกำรตำมผลผลิตกำรจัดทำบริกำรสำธำรณะ จำนวน 23,786.9155 ล้านบาท และ
ได้นำเงินนอกฯ ดังกล่ำวมำสมทบร่วมใช้จ่ำยกับงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 เป็น
จำนวน 1,851.1267 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.50 เงินนอกงบประมำณท้ังสิ้นของ กทม. (123,002.4717
ล้ำนบำท) และคดิ เปน็ ร้อยละ 0.08 งบประมำณรำยจำ่ ยของ กทม. ในภำพรวม (24,084.0855 ลำ้ นบำท)

(2) งบประมำณรำยจ่ำยของบูรณำกำร:แผนงำนบูรณำกำรเขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออก สำหรับ
ดำเนินโครงกำรปรับปรุงระบบระบำยน้ำและระบบสัญญำณไฟจรำจรที่ไ ด้รับผลกระทบจำกโครงกำรรถไฟ
ควำมเร็วสูงเชื่อมสำมสนำมบินจำกพญำไทถึงดอนเมือง จานวน 297.1700 ล้านบาท และได้นำเงินนอกฯ
ดังกล่ำวมำสมทบร่วมใช้จ่ำยกับงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 เป็นจำนวน 105,7300
ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.09 เงินนอกงบประมำณท้ังสิ้นของ กทม. (123,002.4717 ล้ำนบำท) และคิดเป็น
รอ้ ยละ 0.44 งบประมำณรำยจ่ำยแผนงำนบรู ณำกำรของ กทม. ในภำพรวม (297.1700 ลำ้ นบำท)

รำยละเอียดปรำกฏตำม ตารางที่ 11

ตารางท่ี 11 สถำนะและแผนกำรใช้จ่ำยเงนิ นอกงบประมำณของ กทม. นำมำรว่ มสมทบจำ่ ยรว่ มกับ
งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หน้ำ 38 สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น

หน่วยงาน งบประมาณ หนว่ ย : ลำ้ นบำท
รายจ่าย สถานะและแผนการใช้จา่ ยเงนิ นอกงบประมาณ ปี 2564

ปงี บประมาณ เงินนอกฯ ท้งั สน้ิ เงนิ นอกฯ ท่นี า % ต่อ % ตอ่ งบ
พ.ศ. 2564
มาร่วมสมทบจา่ ย เงินนอก ประมาณ
ท้งั สนิ้ ทง้ั สน้ิ

กรงุ เทพมหานคร (กทม.) 24,084.0855 123,002.4717 1,956.8567 1.59 8.13

งบประมาณรายจา่ ยของ 23,786.9155 123,002.4717 1,851.1267 1.50 0.08
หนว่ ยรับงบประมาณ
แผนยทุ ธศำสตรส์ ่งเสรมิ
กำรกระจำยอำนำจให้แก่ อปท.

งบประมาณรายจ่ายของ 297.1700 123,002.4717 105,7300 0.09 0.44
บรู ณาการ
แผนงำนบรู ณำกำรเขตพัฒนำ
พเิ ศษภำคตะวนั ออก

ทีม่ าของขอ้ มลู : สำนกั งบประมำณ. เอกสำรงบประมำณ ฉบบั ท่ี 7 (ขำวคำดชมพ)ู รำยงำนสถำนะและแผนกำรใช้จำ่ ย
เงินนอกงบประมำณของหน่วยรบั งบประมำณ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564

3.5 การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของเมอื งพัทยา

3.5.1 ข้อมลู พนื้ ฐาน

3.5.1.1 ความเปน็ มา
เมืองพัทยำเป็นหน่วยกำรปกครองส่วนท้องถ่ินรูปแบบพิเศษเช่นเดียวกับ กทม. โดยเมืองพัทยำจัดตั้ง
ขึ้นตำมพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรเมืองพัทยำ พ.ศ. 2521 เพื่อนำเอำระบบกำรจัดกำรปกครอง
แบบผู้จัดกำรเมือง (City Manager) มำใช้ ต่อมำมีกำรตรำพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรเมืองพัทยำ พ.ศ.
2542 ขึ้นทดแทน เพ่ือปรับเปล่ียนเมืองพัทยำให้เป็นไปตำมกรอบของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 โดยกำหนด
รปู แบบโครงสร้ำงของเมืองพัทยำรูปแบบใหม่ ประกอบด้วย (1) สภำเมืองพัทยำ ทำหน้ำท่ีฝ่ำยนิติบัญญัติ และ
(2) นำยกเมืองพัทยำ ทำหน้ำท่ีฝ่ำยบริหำร ซ่ึงสมำชิกที่มำจำกกำรเลือกตั้งโดยตรงจำกประชำชนและมี
ระยะเวลำดำรงตำแหน่ง 4 ปี
3.5.1.2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ผลสัมฤทธ์ิและประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ
รวมท้ังเป้าหมายการใหบ้ รกิ ารหน่วยงาน
วิสัยทัศน์ : นครศนู ย์กลางเศรษฐกิจการท่องเที่ยวที่มีมาตรฐาน ย่ังยนื และนา่ อยู่สาหรับทกุ คน
พนั ธกจิ :

1.พัฒนำเมืองน่ำอยู่และย่ังยืน ครอบคลุมทั้งเศรษฐกิจ สังคม โครงสร้ำงพ้ืนฐำนและ
สิ่งแวดลอ้ ม

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หนำ้ 39 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น

2.เสริมสร้ำงขีดควำมสำมำรถของพัทยำสู่กำรเป็นเมืองเศรษฐกิจกำรท่องเที่ยวท่ีมีมำตรฐำน
และเป็นศนู ยก์ ลำงกำรเช่ือมโยงในภมู ภิ ำค

3.พฒั นำศกั ยภำพทรัพยำกรมนุษยแ์ ละคุณภำพชีวิตของประชำชนโดยกำรมีส่วนรว่ มและเป็นธรรม

ผลสมั ฤทธิ์และประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รบั จากการใช้จ่ายงบประมาณ :

ผลสมั ฤทธแ์ิ ละประโยชน์ท่คี ำดว่ำจะได้รบั หนว่ ยนบั ค่ำเปำ้ หมำย

ปี 2563 ปี 2564

(1) ผลสมั ฤทธ์ิ : เมืองพัทยำมีศกั ยภำพในกำรแข่งขันด้ำนกำรท่องเที่ยว

และองคก์ รท่ีมีกำรจัดกำรท่ดี ีตำมหลักธรรมำภิบำลโดยกำรมีส่วนร่วม

ของประชำชน

- ตัวช้ีวัด : กำรบริหำรงำนตำมหลักธรรมำภิบำลเพ่ิมขึ้นร้อยละ ร้อยละ 10 10

10 ภำยในปี 2565

เป้าหมายการใหบ้ ริการหนว่ ยงาน

เป้ำหมำยกำรให้บริกำรหน่วยงำน หน่วยนบั ค่ำเปำ้ หมำย

ปี 2563 ปี 2564

(1) เมืองพัทยาเปน็ เมืองน่าอยู่และย่ังยืนครอบคลุมท้ัง

เศรษฐกจิ สังคม โครงสรา้ งพื้นฐานและสงิ่ แวดล้อม

- ตัวชี้วัดเชิงคุณภำพ : อัตรำกำรขยำยตัวของรำยได้จำกกำรท่องเท่ียว

ของเมืองพทั ยำเฉลยี่ ร้อยละ 10 ภำยในปี 2565 ร้อยละ 10 10

(2) เมืองพัทยาเป็นศูนย์กลางทางการค้า การลงทุน มีการเช่ือมโยง

โครงข่ายครอบคลุมระดับภูมิภาค ชุมชน มีความเข้มแข็ง มี

ส่ิงแวดล้อมที่ดี มีการสืบสานวัฒนธรรมที่ดีงาม และองค์กรมี

การบริหารจดั การทีด่ ี

- ตวั ช้ีวัดเชิงปรมิ ำณ : รำยได้จำกกำรท่องเท่ียวเพมิ่ ขนึ้ ร้อยละ 10 ร้อยละ 10 10

ภำยในปี 2565

- ตัวช้ีวัดเชิงคุณภำพ : ดัชนีวัดควำมสขุ และควำมอยู่ดี กินดีมีสุข

เพม่ิ ขน้ึ ร้อยละ 10 ภำยในปี 2565 รอ้ ยละ 10 10

3.5.2 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับท่ี 12 ยทุ ธศาสตรก์ ารจดั สรรงบประมาณและแผนงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่เกีย่ วข้อง
กบั เมืองพัทยา

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หน้ำ 40 สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน

รฐั ธรรมนูญฯ มำตรำ 65 บญั ญตั ใิ ห้รฐั จัดให้มียุทธศำสตร์ชำตเิ ป็นเปำ้ หมำยกำรพัฒนำประเทศอย่ำงย่ังยืน
เพื่อเป็นกรอบในกำรจัดทำแผนต่ำงๆ เกิดกำรผลักดันไปสู่เป้ำหมำยเดียวกัน และ มำตรำ 142 กำรเสนอร่ำง
พระรำชบัญญัตงิ บประมำณรำยจ่ำยประจำปงี บประมำณตอ้ งควำมสอดคลอ้ งกับยทุ ธศำสตรช์ ำติและแผนพัฒนำตำ่ งๆ
ดังนั้น กำรจัดทำงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเมืองพัทยาในฐำนะ
หน่วยรับงบประมำณ ที่ขอต้ังและรับกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำย ต้องมีควำมเช่ือมโยงและสอดคล้องกับ
ยุทธศำสตร์ชำติ แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติฉบับที่ 12 ยุทธศำสตร์
กำรจดั สรรงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ไปสแู่ ผนงำนและงบประมำณรำยจำ่ ยของเมืองพัทยา
ดงั ภาพท่ี 8

ภาพที่ 8 ควำมเช่ือมโยงระหว่ำงยุทธศำสตร์ชำติ แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ แผนพัฒนำเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชำตฉิ บับที่ 12 ยุทธศำสตร์กำรจัดสรรงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564
กับแผนงำนและงบประมำณของเมืองพัทยา

ยุทธศำสตรช์ ำติด้ำนกำรสรำ้ งโอกำสควำมเสมอภำคและเทำ่ เทยี มกนั ทำงสงั คม

แผนแม่บทภำยใตย้ ุทธศำสตร์ชำติ:พลงั ทำง แผนฯ 12: ยุทธศำสตร์กำรบริหำรจดั กำรใน
สังคม ภำครัฐ กำรปอ้ งกันกำรทุจรติ ประพฤติมชิ อบ

และธรรมำภบิ ำลในสงั คมไทย

ยุทธศำสตร์กำรจดั สรรงบประมำณปงี บประมำณ 2564 :
ยุทธศำสตร์ดำ้ นกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสงั คม

แผนงำนยุทธศำสตร์สง่ เสรมิ กำรกระจำยอำนำจ แผนงำนบรู ณำกำรเขตพฒั นำพเิ ศษภำค
ให้แก่ อปท. ตะวนั ออก

อปท.: กทม./เมืองพัทยา/อบจ./เทศบำล/ อปท.: กทม.และเมืองพทั ยา
อบต. 378.1700 ล้านบาท

319,232.7589 ลา้ นบาท (เมอื งพัทยา : 81.0000 ล้านบาท)
(เมืองพทั ยา: 1,899.7284 ล้านบาท)

ขอ้ สังเกต PBO

1) ตัวช้ีวัดผลสัมฤทธิ์ที่กาหนดว่า “การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ภายในปี 2565”
เป็ นตั วช้ี วั ดท่ี ไม่ ครอบคลุ มผลสั มฤทธ์ิ ของเมืองพั ทยาในด้ าน “เมืองพั ทยามีศั กยภาพใน

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หนำ้ 41 สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ

ขอ้ สังเกต PBO

การแข่งขันด้านการท่องเท่ียว” และตัวช้ีวัดดังกล่าวมีลักษณะเป็นการวัดตัวแทนหรือการวัดโดยประมาณการ
(Proximate Measures) ดังน้ัน ขอทราบมอี งคป์ ระกอบของตัวช้วี ัดและวิธกี ารวดั ผลอยา่ งไร?
2) เป้าหมายการให้บริการหน่วยงานและตัวช้ีวัดไม่มีความสัมพันธ์กัน กล่าวคือ 1.เมืองพัทยาเป็นเมือง
น่าอยู่และย่ังยืนครอบคลุมท้ังเศรษฐกิจ สังคม โครงสร้างพ้ืนฐานและส่ิงแวดล้อม : ตัวช้ีวัดอัตราการ
ขยายตวั ของรายได้จากการทอ่ งเทย่ี วของเมืองพทั ยาเฉลี่ยร้อยละ 10 ภายในปี 2565
3) การกาหนดค่าเป้าหมายของตัวช้ีวัดเป็นร้อยละ 10 โดยมีค่าคงทีเท่ากันท้ังสองปี ไม่สะท้อน
ความก้าวหน้าทีท่ า้ ทาย

3.5.3 งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 เมอื งพทั ยา

3.5.3.1 ภาพรวมของการจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ให้แก่ เมอื งพทั ยา

ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 เมืองพัทยา ได้รับจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีโดยตรง โดยได้รับ
กำรจัดสรรเป็นเงินอุดหนุน จำนวนรวมทั้งส้ิน 1,980.7284 ล้ำนบำท เพ่ิมข้ึนจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563
จำนวน 65.1927 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 3.40 (ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 ได้รับจัดสรรจำนวน
1,915.5357 ลำ้ นบำท)

โดยจำแนกเป็น (1) งบประมำณรำยจ่ำยของหน่วยรับงบประมำณ ภำยใต้แผนยุทธศำสตร์ส่งเสริม
กำรกระจำยอำนำจให้แก่ อปท. สำหรับดำเนินกำรตำมผลผลิตกำรจัดทำบริกำรสำธำรณะ จำนวน 1,899.7284
ล้ำนบำท และ (2) งบประมำณรำยจ่ำยของบูรณำกำร:แผนงำนบูรณำกำรเขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออก สำหรับ
ดำเนนิ โครงกำรพัฒนำพื้นทร่ี ะเบยี งเศรษฐกิจพเิ ศษภำคตะวันออก จำนวน 81.0000 ลำ้ นบำท ตำมตารางที่ 12

ตารางท่ี 12 กำรจดั สรรงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ใหแ้ ก่ เมืองพัทยา โดยตรง
ปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 และ 2564
หนว่ ย: ล้ำนบำท

หน่วยงาน ปีงบประมาณ เพ่ิม/(ลด)
เมืองพัทยา
2563 2564 จานวน ร้อยละ
1,915.5357 1,980.7284 65.1927 3.40

งบประมาณรายจ่ายของหน่วยรบั 1,915.5357 1,899.7284 -15.8073 -0.83

งบประมาณ
แผนยทุ ธศำสตร์ส่งเสริมกำรกระจำยอำนำจ
ใหแ้ ก่ อปท.

สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ หน้ำ 42 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ

งบประมาณรายจา่ ยของบูรณาการ - 81.0000 81.0000 100.00
แผนงำนบรู ณำกำรเขตพฒั นำพเิ ศษภำค
ตะวนั ออก

ท่ีมาของข้อมูล : สำนักงบประมำณ.เอกสำรงบประมำณ ฉบับที่ 3 (ขำวคำดแดง) งบประมำณรำยจ่ำยประจำปี

งบประมำณ พ.ศ. 2564 เล่มที่ 16 (1)

3.5.3.2 การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ให้แก่ เมืองพัทยา

จาแนกตามประเภทเงนิ อดุ หนนุ

ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 เมืองพัทยา ได้รับกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุน จำนวน

รวมทั้งส้ิน 1,980.7284 ล้ำนบำท โดยจำแนกเป็นเงินอุดหนุนทั่วไป จำนวน 616.1341 ล้านบาท และเงิน

อดุ หนุนเฉพำะกิจ จำนวน 1,364.5943 ล้านบาท ซึ่งสัดส่วนระหว่างเงินอุดหนุนทั่วไป : เงินอุดหนุนเฉพาะ

กิจ คือ ร้อยละ 31.11 : 69.89 รวมทั้งมีกำรนำเงินนอกงบประมำณมำร่วมสมทบจ่ำยจำนวน 120.8896

ลำ้ นบำท จำแนกเป็น

(1) งบประมำณรำยจ่ำยของหนว่ ยรับงบประมำณ ภำยใต้แผนยทุ ธศำสตร์ส่งเสริมกำรกระจำยอำนำจ

ใหแ้ ก่ อปท. สำหรับดำเนินกำรตำมผลผลิตกำรจัดทำบรกิ ำรสำธำรณะ จำนวน 1,899.7284 ล้านบาท จำแนก

เป็นเงินอุดหนุนท่ัวไป จำนวน 616.1341 ล้านบาท และเงนิ อดุ หนุนเฉพำะกิจ จำนวน 1,283.5943 ล้านบาท

รวมทง้ั มกี ำรนำเงนิ นอกงบประมำณมำรว่ มสมทบจ่ำยจำนวน 111.8896 ล้านบาท

(2) งบประมำณรำยจ่ำยของบูรณำกำร:แผนงำนบูรณำกำรเขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออก สำหรับ

ดำเนินโครงกำรพัฒนำพื้นท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภำคตะวนั ออก จำนวน 81.0000 ลำ้ นบำท โดยเป็นเงินอุดหนุน

เฉพาะกิจท้ังหมด รวมทั้งมีกำรนำเงินนอกงบประมำณมำร่วมสมทบจ่ำยจำนวน 9.0000 ล้านบาท

รำยละเอียดตำมตารางท่ี 13 และภาพท่ี 9

ตารางที่ 13 กำรจัดสรรงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ให้แก่ เมอื งพัทยา

จำแนกตำมประเภทเงินอุดหนนุ รวมทงั้ เงนิ นอกงบประมำณ

หนว่ ย: ลำ้ นบำท

หน่วยงาน งบประมาณรายจา่ ยประจาปี 2564 เงินนอกฯ

รวม อุดหนุนท่ัวไป อดุ หนุนเฉพาะกิจ

เมืองพทั ยา 1,980.7284 616.1341 1,364.5943 120.8896
1,899.7284 616.1341 1,283.5943 111.8896
งบประมาณรายจ่ายของ
หน่วยรับงบประมาณ 81.0000 0.0000 81.0000 9.0000
แผนยทุ ธศำสตรส์ ่งเสรมิ
กำรกระจำยอำนำจใหแ้ ก่ อปท.

งบประมาณรายจา่ ยของ
บรู ณาการ
แผนงำนบูรณำกำรเขตพฒั นำ
พิเศษภำคตะวนั ออก

สำนักงบประมำณของรฐั สภำ หน้ำ 43 สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หน้ำ 44 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่

ภาพที่ 9 สัดส่วนงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ของเมืองพัทยา ประเภทเงินอุดหนุนทั่วไป :
เงินอดุ หนนุ เฉพำะกจิ

เงินอุดหนนุ เฉพำะ เงินอุดหนุนทว่ั ไป
กิจ 1,364.5943 616.1341 ล้ำนบำท /
ล้ำนบำท / 69.89
31.11 %
%

3.5.3.3 เงินนอกงบประมาณและการนามาสมทบกับงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ

พ.ศ. 2564 ของเมอื งพัทยา

ปงี บประมำณ พ.ศ. 2564 เมืองพัทยา ได้รำยงำนสถำนะและแผนกำรใช้จำ่ ยเงนิ นอกงบประมำณของ

ตนเอง โดยมีรวมท้ังสิ้น 3,225.3154 ล้านบาท และได้นำเงินนอกฯ ดังกล่ำวมำสมทบร่วมใช้จ่ำยกับ

งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 เป็นจำนวน 120.8996 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.75

เงินนอกงบประมำณท้ังสิ้นของ เมืองพัทยา (3,225.3154 ล้ำนบำท) และคิดเป็นร้อยละ 6.10 งบประมำณ

รำยจ่ำยของ เมืองพัทยา ในภำพรวม (1,980.7284 ล้ำนบำท) จำแนกเป็น

(1) งบประมำณรำยจำ่ ยของหน่วยรับงบประมำณ ภำยใต้แผนยุทธศำสตร์สง่ เสริมกำรกระจำยอำนำจ
ให้แก่ อปท. สำหรับดำเนนิ กำรตำมผลผลิตกำรจัดทำบริกำรสำธำรณะ จำนวน 1,899.7284 ล้านบาท จำแนก
เป็นเงินอุดหนุนทั่วไป จำนวน 616.1341 ล้านบาท และเงนิ อดุ หนุนเฉพำะกิจ จำนวน 1,283.5943 ล้านบาท
รวมท้ังมีกำรนำเงินนอกงบประมำณมำร่วมสมทบจ่ำยจำนวน 111.8896 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.47 เงินนอก
งบประมำณท้ังส้ินของ เมืองพัทยา (3,225.3154 ล้ำนบำท) และคิดเป็นร้อยละ 5.89 งบประมำณรำยจ่ำยสำหรับ
ดำเนนิ กำรตำมผลผลิตกำรจัดทำบริกำรสำธำรณะของ เมืองพัทยา ในภำพรวม (1,899.7284 ล้านบาท)

(2) งบประมำณรำยจ่ำยของบูรณำกำร:แผนงำนบูรณำกำรเขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออก สำหรับ
ดำเนินโครงกำรพฒั นำพ้ืนท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภำคตะวนั ออก จำนวน 81.0000 ล้ำนบำท โดยเป็นเงินอุดหนุน
เฉพาะกิจท้ังหมด รวมท้ังมีกำรนำเงินนอกงบประมำณมำร่วมสมทบจ่ำยจำนวน 9.0000 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ

สำนักงบประมำณของรฐั สภำ หน้ำ 45 สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ

0.28 เงินนอกงบประมำณท้ังส้ินของ เมืองพัทยา (3,225.3154 ล้ำนบำท) และคิดเป็นร้อยละ 11.11
งบประมำณรำยจ่ำยบรู ณำกำร เมืองพทั ยา ในภำพรวม (81.0000 ล้านบาท)

รำยละเอยี ดปรำกฏตำม ตารางที่ 14

ตารางท่ี 14 สถำนะและแผนกำรใชจ้ ำ่ ยเงนิ นอกงบประมำณของ เมอื งพทั ยา นำมำร่วมสมทบจ่ำยร่วมกบั

งบประมำณรำยจ่ำยประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564

หน่วย : ล้ำนบำท

หน่วยงาน งบประมาณ สถานะและแผนการใช้จ่ายเงนิ นอกงบประมาณ ปี 2564

รายจา่ ย เงนิ นอกฯ ท้งั สิ้น เงนิ นอกฯ ทนี่ า % ต่อ % ต่องบ
ปงี บประมาณ ประมาณ
พ.ศ. 2564 มาร่วมสมทบจา่ ย เงินนอก ทง้ั ส้ิน
ทั้งสิ้น

เมืองพทั ยา 1,980.7284 3,225.3154 120.8896 3.75 6.10

งบประมาณรายจ่ายของหน่วย 1,899.7284 3,225.3154 111.8896 3.47 5.89
รบั งบประมาณ
แผนยุทธศำสตรส์ ่งเสรมิ กำร
กระจำยอำนำจใหแ้ ก่ อปท.

งบประมาณรายจา่ ยของ 81.0000 3,225.3154 9.0000 0.28 11.11
บูรณาการ
แผนงำนบูรณำกำรเขตพัฒนำ
พเิ ศษภำคตะวนั ออก

ที่มาของขอ้ มูล : สำนกั งบประมำณ. เอกสำรงบประมำณ ฉบบั ที่ 7 (ขำวคำดชมพู) รำยงำนสถำนะและแผนกำรใชจ้ ำ่ ย
เงนิ นอกงบประมำณของหน่วยรบั งบประมำณ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564

สำนักงบประมำณของรฐั สภำ หน้ำ 46 สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ

3.6 การจดั สรรงบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ของเทศบาลนครและเทศบาลเมือง

3.6.1 ข้อมูลพื้นฐาน

3.6.1.1 ความเปน็ มา

เทศบำลเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) ท่ีมีควำมเป็นมำยำวนำนมำกที่สุด (โดยไม่นับรวม

สุขำภิบำลซึ่งได้ปัจจุบันได้รับกำรยกฐำนะเป็นเทศบำลตำบลหมดแล้ว) โดยเทศบำลของไทยกำเนิดขึ้นตำม

พระรำชบัญญัติจัดระเบียบเทศบำล พ.ศ. 2476 ภำยหลังกำรเปล่ียนแปลงกำรปกครองเม่ือวันที่ 24 มิถุนำยน

2475 และกฎหมำยเทศบำลมีกำรปรับเปลี่ยนหลำยครงั้ ๆ สำคัญ เช่น พระรำชบญั ญตั ิเทศบำล พ.ศ. 2496 ซึ่ง

มีกำรกำหนดให้เทศบำลมี 3 ประเภท ได้แก่ เทศบำลนคร เทศบำลเมือง และเทศบำลตำบล รวมท้ังเป็น

กฎหมำยจัดตั้งเทศบำลที่บังคับใช้มำถึงปัจจุบัน ซึ่งมีกำรปรับปรุงแก้ไขกฎหมำยดังกล่ำวหลำยครั้งโดยคร้ัง

สุดท้ำย คือพระรำชบัญญัติเทศบำล (ฉบับท่ี 14) พ.ศ. 2562 ท้ังนี้ เทศบำลมีนำยกเทศมนตรีเป็นหัวหน้ำฝ่ำย

บริหำร และมีสภำเทศบำลเป็นฝ่ำยนิติบัญญัติ โดยนำยกเทศมนตรีและสมำชิกสภำเทศบำลต่ำงก็มำจำก

กำรเลือกต้ังโดยตรงของประชำชน

3.6.1.2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ผลสัมฤทธ์ิและประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณ

รวมทง้ั เป้าหมายการให้บริการหนว่ ยงาน

- วิสัยทัศน์ของ เทศบำลนคร 30 แห่ง และเทศบำลเมือง 184 แห่ง รวม 214 แห่ง มีกำรกำหนด

แตกตำ่ งกันตำมภำพที่คำดหวงั ให้เกดิ ขน้ึ ของเทศบำลในแตล่ ะแหง่

- พันธกิจของ เทศบาลนครและเทศบาลเมือง มีการกาหนดเหมือนกนั ทง้ั หมด (เช่นเดียวกบั องค์กำร

บริหำรส่วนจังหวัดหรือ อบจ.) กล่ำวคือ กำรจัดระบบบริกำรสำธำรณะเพ่ือประโยชน์ของประชำชนในท้องถ่ิน

ของตนเอง 5 ด้ำน ดังน้ี

1. กำรจดั บรกิ ำรสำธำรณะด้ำนกำรศกึ ษำ

2. กำรจดั บริกำรสำธำรณะดำ้ นโครงสรำ้ งพ้นื ฐำน

3. กำรจดั บรกิ ำรสำธำรณะด้ำนสังคม

4. กำรจัดบรกิ ำรสำธำรณะด้ำนสง่ิ แวดลอ้ ม

5. กำรจัดบรกิ ำรสำธำรณะด้ำนกำรบรหิ ำรจัดกำร

- ผลสมั ฤทธิ์และประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รบั จากการใช้จา่ ยงบประมาณ

มกี ารกาหนดเหมอื นกนั ใหแ้ ก่เทศบาลนครและเทศบาลเมือง 214 แห่ง (เชน่ เดียวกับ อบจ.) ดงั น้ี

ผลสมั ฤทธแิ์ ละประโยชน์ทีค่ ำดวำ่ จะได้รับ หนว่ ยนบั ค่ำเปำ้ หมำย

ปี 2563 ปี 2564

(1) ผลสมั ฤทธ์ิ : ประชำชนในพน้ื ที่ไดร้ ับบรกิ ำรสำธำรณะทีม่ ี

ประสิทธภิ ำพ

- ตวั ช้วี ดั : กำรจดั กจิ กรรมบริกำรสำธำรณะสอดคลอ้ งกบั ร้อยละ 80 70

ปญั หำและควำมตอ้ งกำรของประชำชนและชุมชนไม่น้อยกว่ำ

-เปา้ หมายการให้บรกิ ารหน่วยงาน

มกี ารกาหนดเหมอื นกันให้แก่ เทศบาลนครและเทศบาลเมอื ง (เช่นเดียวกบั อบจ.) ดังน้ี

สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ หน้ำ 47 สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผ้แู ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่

เป้ำหมำยกำรใหบ้ ริกำรหน่วยงำน หนว่ ยนับ ค่ำเป้ำหมำย

(1) องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ มีการบรหิ ารจดั การที่ดีและมี ปี 2563 ปี 2564
ความเขม้ แข็งในการบริการสาธารณะอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
- ตัวชวี้ ัดเชงิ ปรมิ ำณ : องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผ่ำน รอ้ ยละ 80 70
เกณฑก์ ำรประเมินประสทิ ธิภำพ ร้อยละ 80 70
(Local Performance Assessment : LPA) ไมน่ อ้ ยกว่ำ
- ตัวชี้วดั เชิงคุณภำพ : องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ผำ่ นเกณฑ์
กำรประเมนิ ด้ำนกำรบริหำรจัดกำรในระดับดมี ำกไมน่ อ้ ยกวำ่

ขอ้ สังเกต PBO

1) การกาหนดพันธกิจของเทศบาลนครและเทศบาลเมืองให้เหมือนกันท้ังหมด (เช่นเดียวและเหมือนกับ
องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด) กล่ำวคือ กำรจัดระบบบริกำรสำธำรณะเพื่อประโยชน์ของประชำชนในท้องถ่ิน
ของตนเอง 5 ด้ำน ได้แก่ กำรจัดบริกำรสำธำรณะด้ำนกำรศึกษำ/โครงสร้ำงพื้นฐำน/สังคม/ส่ิงแวดล้อม/
กำรบริหำรจัดกำร เป็นกำรกำหนดพันธกิจกว้ำงๆ ตำมกรอบของกฎหมำย แต่ไม่มีความสัมพันธ์โดยตรงต่อ
การดาเนินการเพอื่ ใหบ้ รรลุวสิ ัยทัศน์ของ อบจ. ซึง่ ในแต่ละแห่งมีการกาหนดวิสัยทศั น์แตกต่างกัน

2) กำรกำหนดผลสัมฤทธ์ิและประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับจากการใช้จ่ายงบประมาณและตัวชี้วัดของ
เทศบาลนครและเทศบาลเมอื งให้เหมอื นกันทั้งหมด (เชน่ เดียวและเหมอื นกับ อบจ.) กลำ่ วคอื ประชำชนใน
พื้นท่ีได้รับบริกำรสำธำรณะที่มีประสิทธิภำพ และมีตัวชี้วัด คือ กำรจัดกิจกรรมบริกำรสำธำรณะสอดคล้อง
กับปัญหำและควำมต้องกำรของประชำชนและชุมชนไมน่ ้อยกว่ำร้อยละ 70 โดย เทศบาลนครและเทศบาล
เมืองจะมีวิธีการติดตามและประเมินผลสัมฤทธ์ิฯ ตามตัวชี้วัดดังกล่าวอย่างไร? และผลสัมฤทธิ์ของปีที่
ผ่านมาเป็นอย่างไร?

3) ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ และตัวช้ีวัดค่ำเป้ำหมำยกำรให้บริกำรหน่วยงำนของปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 และ
2564 ของเทศบาลนครและเทศบาลเมือง มีค่าเป้าหมายร้อยละ 80 และ 70 ตามลาดับ ขณะท่ีของ
องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดมีตวั ชวี้ ัดเหมอื นกนั แตค่ า่ เป้าหมายของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และ 2564
สลบั เปน็ ร้อยละ 70 และ 80 ทง้ั น้ี การกาหนดคา่ เปา้ หมายของ อปท. ท้งั สองประเภทดงั กลา่ วเป็นไปตาม
ขอ้ เทจ็ จรงิ ของข้อมลู หรอื เกิดจากความผดิ พลาดของการสลบั ค่า ?

3.6.2 ความเช่ือมโยงยุทธศาสตร์ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับท่ี 12 ยทุ ธศาสตร์การจดั สรรงบประมาณและแผนงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ท่ีเกย่ี วข้อง
กบั เทศบาลนครและเทศบาลเมอื ง

รัฐธรรมนูญฯ มำตรำ 65 บัญญัติใหร้ ฐั จัดให้มียุทธศำสตร์ชำติเป็นเปำ้ หมำยกำรพฒั นำประเทศอย่ำงย่ังยืน
เพื่อเป็นกรอบในกำรจัดทำแผนต่ำงๆ เกิดกำรผลักดันไปสู่เป้ำหมำยเดียวกัน และ มำตรำ 142 กำรเสนอร่ำง

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หน้ำ 48 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564


Click to View FlipBook Version