The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaipbo.parliament, 2022-01-22 12:08:55

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ

พระรำชบญั ญัตงิ บประมำณรำยจ่ำยประจำปงี บประมำณต้องควำมสอดคลอ้ งกับยุทธศำสตรช์ ำติและแผนพฒั นำตำ่ งๆ
ดังนั้น กำรจัดทำงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเทศบาลนครและ
เทศบาลเมอื ง ในฐำนะหน่วยรับงบประมำณ ท่ขี อต้ังและรับกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำย ตอ้ งมีควำมเชือ่ มโยงและ
สอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติ แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติฉบับที่ 12
ยทุ ธศำสตร์กำรจดั สรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ไปสู่แผนงำนและงบประมำณรำยจ่ำยของ
เทศบาลนครและเทศบาลเมือง ดงั ภาพท่ี 10
ภาพท่ี 10 ควำมเช่ือมโยงระหว่ำงยุทธศำสตร์ชำติ แผนแมบ่ ทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ แผนพัฒนำเศรษฐกิจและ

สงั คมแหง่ ชำติฉบบั ที่ 12 ยุทธศำสตร์กำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564
กบั แผนงำนและงบประมำณของ เทศบาลนครและเทศบาลเมือง

ยุทธศำสตรช์ ำตดิ ้ำนกำรสร้ำงโอกำสควำมเสมอภำคและเทำ่ เทียมกันทำงสงั คม

แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ:พลังทำงสังคม

แผนพัฒนำฯ ฉบบั ที่ 12: กำรบรหิ ำรจัดกำรในภำครัฐกำรปอ้ งกนั กำรทุจรติ ประพฤติมชิ อบ
และธรรมำภบิ ำลในสงั คมไทย

ยทุ ธศำสตร์กำรจัดสรรงบประมำณปงี บประมำณ 2564 :
ยุทธศำสตรด์ ้ำนกำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงสงั คม

แผนงำนยุทธศำสตร์สง่ เสรมิ กำรกระจำยอำนำจใหแ้ ก่ อปท.

อปท.: กทม./เมอื งพทั ยำ/อบจ. 76 จังหวดั /เทศบาล/อบต.

319,232.7589 ล้านบาท
(เทศบาลนครและเทศบาลเมือง 214 แหง่ ไดร้ บั จัดสรร 38,290.3540 ลา้ นบาท)

3.6.3 งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เทศบาลนครและเทศบาลเมอื ง
ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 เทศบาลนครและเทศบาลเมือง เป็นปีแรกที่ อปท. ประเภทนี้ ขอต้ังและ
ได้รบั จดั สรรงบประมำณรำยจ่ำยโดยตรง โดยไดร้ บั กำรจดั สรรเปน็ เงนิ อุดหนุน จำนวนรวมทง้ั สิน้ 38,292.3540
ลำ้ นบำท เพิม่ ขึ้นจำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 830.5213 ล้านบาท หรือเพ่มิ ขน้ึ คิดเป็นร้อยละ 2.22
(ปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 ได้รับจดั สรรจำนวน 37,461.8327 ล้ำนบำท) โดยงบประมำณท่ไี ดร้ ับจดั สรรดงั กลำ่ ว

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หน้ำ 49 สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่

ข้ำงต้นเป็นงบประมำณรำยจ่ำยของหน่วยรับงบประมำณ ภำยใต้แผนยุทธศำสตร์ส่งเสริมกำรกระจำยอำนำจให้แก่
อปท. สำหรบั ดำเนนิ กำรตำมผลผลติ กำรจดั ทำบรกิ ำรสำธำรณะท้ังหมด

ท้ังน้ี ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 มีเทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ
รายจา่ ยเปน็ เงินอุดหนุนท่ีตา่ กว่าปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 จานวน 56 แห่ง หรือคดิ เปน็ ร้อยละ 26.17 ของ
ท้ังหมด (จานวน 214 แห่ง) ตำมตารางที่ 15

ตารางที่ 15 กำรจัดสรรงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 ให้แก่ เทศบาลนครและ

เทศบาลเมอื ง จานวน 214 แหง่ โดยตรง ปงี บประมำณ พ.ศ. 2563 และ 2564

หนว่ ย: ล้ำนบำท

หน่วยงาน ปงี บประมาณ เพิ่ม/(ลด)

เทศบาลนครและเทศบาลเมอื ง 2563 2564 จานวน รอ้ ยละ
37,461.8327 38,292.3540 830.5213 2.22

1.เทศบำลนครพระนครศรีอยธุ ยำ 317.1785 322.8455 5.6670 1.79

2.เทศบำลนครนครปฐม 529.0407 555.9656 26.9249 5.09

3.เทศบำลนครนนทบุรี 740.7283 782.3112 41.5829 5.61
4.เทศบำลนครปำกเกร็ด จ.นนทบรุ ี 466.2942 488.2541 21.9599 4.71

5.เทศบำลนครรังสิต จ.ปทุมธำนี 218.7476 224.5230 5.7754 2.64
6.เทศบำลนครสมทุ รปรำกำร 303.9962 314.9984 11.0022 3.62

7.เทศบำลนครสมุทรสำคร 335.6313 331.7374 -3.8939 -1.16
8.เทศบำลนครออ้ มน้อย จ.สมทุ รสำคร 179.1191 182.3676 3.2485 1.81

9.เทศบำลนครนครศรีธรรมรำช 752.7100 767.9191 15.2091 2.02
10.เทศบำลนครสงขลำ 410.6426 425.6809 15.0383 3.66

11.เทศบำลนครหำดใหญ่ จ.สงขลำ 648.7076 656.5657 7.8581 1.21
12.เทศบำลนครเกำะสมุย จ.สุรำษฎรธ์ ำนี 209.0791 217.0059 7.9268 3.79

13.เทศบำลนครสุรำษฎรธ์ ำนี 479.4862 480.3822 0.8960 0.19
14.เทศบำลนครตรัง 379.4234 388.9783 9.5549 2.52

15.เทศบำลนครภูเก็ต 483.6346 479.6362 -3.9984 -0.83

สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ หนำ้ 50 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่

หนว่ ยงาน ปีงบประมาณ เพ่ิม/(ลด)
16.เทศบำลนครยะลำ
2563 2564 จานวน ร้อยละ
439.4960 449.9910 10.4950 2.39

17.เทศบำลนครเจำ้ พระยำสรุ ศกั ดิ์มนตรี จ.ชลบุรี 254.0266 284.7305 30.7039 12.09
18.เทศบำลนครแหลมฉบัง จ.ชลบรุ ี 275.4228 278.0740 2.6512 0.96
19.เทศบำลนครระยอง 338.7618 360.6032 21.8414 6.45
20.เทศบำลนครอดุ รธำนี 706.0410 725.9062 19.8652 2.81
21.เทศบำลนครสกลนคร 255.6352 286.9463 31.3111 12.25
22.เทศบำลนครขอนแกน่ 734.4159 770.4921 36.0762 4.91
23.เทศบำลนครนครรำชสีมำ 615.2825 640.4722 25.1897 4.09
24.เทศบำลนครอุบลรำชธำนี 357.3608 347.1452 -10.2156 -2.86
25.เทศบำลนครเชียงใหม่ 557.7334 610.1511 52.4177 9.40
26.เทศบำลนครลำปำง 362.9463 359.2416 -3.7047 -1.02
27.เทศบำลนครเชยี งรำย 483.5789 478.2619 -5.3170 -1.10
28.เทศบำลนครแม่สอด จ.ตำก 307.0491 296.6078 -10.4413 -3.40
29.เทศบำลนครพิษณุโลก 331.8081 354.1637 22.3556 6.74
30.เทศบำลนครนครสวรรค์ 519.4771 531.4741 11.9970 2.31
31.เทศบำลเมืองชยั นำท 162.4713 174.2912 11.8199 7.28
32.เทศบำลเมอื งผกั ไห่ จ.พระนครศรีอยธุ ยำ 38.4297 53.4887 15.0590 39.19
33.เทศบำลเมืองลำตำเสำ จ.พระนครศรีอยธุ ยำ 54.1650 56.7309 2.5659 4.74
34.เทศบำลเมืองเสนำ จ.พระนครศรอี ยุธยำ 30.9067 30.9260 0.0193 0.06
35.เทศบำลเมอื งอโยธยำ จ.พระนครศรีอยุธยำ 52.6007 55.0634 2.4627 4.68
36.เทศบำลเมอื งเขำสำมยอด จ.ลพบรุ ี 91.9840 89.4429 -2.5411 -2.76

37.เทศบำลเมอื งบำ้ นหม่ี จ.ลพบรุ ี 56.9278 49.7116 -7.2162 -12.68

สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ หนำ้ 51 สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผ้แู ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น

หน่วยงาน ปงี บประมาณ เพม่ิ /(ลด)
38.เทศบำลเมืองลพบรุ ี
2563 2564 จานวน ร้อยละ
243.0585 241.7066 -1.3519 -0.56

39.เทศบำลเมอื งแกง่ คอย จ.สระบรุ ี 100.6912 102.2712 1.5800 1.57
40.เทศบำลเมอื งทบั กวำง จ.สระบุรี 69.8907 69.4008 -0.4899 -0.70
41.เทศบำลเมืองพระพุทธบำท จ.สระบรุ ี 130.7651 134.1358 3.3707 2.58
42.เทศบำลเมืองสระบุรี 350.1590 350.1666 0.0076 0.00
43.เทศบำลเมืองบำงระจนั จ.สงิ คบ์ รุ ี 64.9868 61.8481 -3.1387 -4.83
44.เทศบำลเมืองสงิ คบ์ ุรี 134.2084 142.1776 7.9692 5.94
45.เทศบำลเมืองอ่ำงทอง 177.1146 177.5163 0.4017 0.23
46.เทศบำลเมืองกระทมุ่ ล้ม จ.นครปฐม 57.3673 59.7617 2.3944 4.17
47.เทศบำลเมืองนครปฐม 23.8409 32.5771 8.7362 36.64
48.เทศบำลเมอื งไรข่ ิง จ.นครปฐม 74.2441 78.3980 4.1539 5.59
49.เทศบำลเมอื งสำมควำยเผือก จ.นครปฐม 24.5118 36.1058 11.5940 47.30
50.เทศบำลเมอื งสำมพรำน จ.นครปฐม 69.9133 76.3835 6.4702 9.25
51.เทศบำลเมอื งบำงกรวย จ.นนทบุรี 111.4540 113.2403 1.7863 1.60
52.เทศบำลเมอื งบำงครู ัด จ.นนทบุรี 62.0051 64.0431 2.0380 3.29
53.เทศบำลเมืองบำงบวั ทอง จ.นนทบรุ ี 181.7605 182.3222 0.5617 0.31
54.เทศบำลเมืองบำงรกั พฒั นำ จ.นนทบรุ ี 85.8048 89.9933 4.1885 4.88
55.เทศบำลเมอื งบำงศรีเมือง จ.นนทบุรี 77.7644 80.4244 2.6600 3.42
56.เทศบำลเมอื งพิมลรำช จ.นนทบุรี 65.4964 68.0935 2.5971 3.97
57.เทศบำลเมอื งคลองหลวง จ.ปทุมธำนี 130.4194 128.0274 -2.3920 -1.83
58.เทศบำลเมอื งคูคต จ.ปทมุ ธำนี 112.4580 113.0982 0.6402 0.57

59.เทศบำลเมืองทำ่ โขลง จ.ปทมุ ธำนี 222.3505 229.4921 7.1416 3.21

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หนำ้ 52 สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน

หนว่ ยงาน ปงี บประมาณ เพ่มิ /(ลด)
60.เทศบำลเมอื งบำงควู ดั จ.ปทมุ ธำนี
2563 2564 จานวน รอ้ ยละ
53.5379 72.5892 19.0513 35.58

61.เทศบำลเมอื งบงึ ยีโ่ ถ จ.ปทุมธำนี 86.3349 83.2441 -3.0908 -3.58
62.เทศบำลเมอื งปทุมธำนี 140.8419 134.4259 -6.4160 -4.56
63.เทศบำลเมืองลำดสวำย จ.ปทมุ ธำนี 93.2135 91.1189 -2.0946 -2.25
64.เทศบำลเมอื งลำสำมแก้ว จ.ปทุมธำนี 133.6862 134.9200 1.2338 0.92
65.เทศบำลเมืองสนน่ั รักษ์ จ.ปทมุ ธำนี 75.6995 74.5183 -1.1812 -1.56
66.เทศบำลเมอื งบำงแก้ว จ.สมทุ รปรำกำร 103.8973 106.2666 2.3693 2.28
67.เทศบำลเมอื งปำกนำ้ สมทุ รปรำกำร จ. 80.0315 80.7718 0.7403 0.93
6ส8ม.ุทเทรศปบรำำกลำเมรืองปู่เจำ้ สมิงพรำย จ.สมทุ รปรำกำร 213.5321 217.2042 3.6721 1.72
69.เทศบำลเมืองพระประแดง จ.สมุทรปรำกำร 127.1697 128.5992 1.4295 1.12
70.เทศบำลเมอื งแพรกษำใหม่ จ.สมทุ รปรำกำร 45.8094 53.0899 7.2805 15.89
71.เทศบำลเมืองลดั หลวง จ.สมทุ รปรำกำร 195.7849 197.0529 1.2680 0.65
72.เทศบำลเมอื งกำญจนบุรี 248.7692 255.1358 6.3666 2.56
73.เทศบำลเมืองทำ่ เรอื พระแท่น จ.กำญจนบรุ ี 55.8005 68.6121 12.8116 22.96
74.เทศบำลเมืองทำ่ ผำ จ.รำชบรุ ี 54.5714 58.9030 4.3316 7.94
75.เทศบำลเมืองบำ้ นโปง่ จ.รำชบุรี 136.5363 145.0273 8.4910 6.22
76.เทศบำลเมืองโพธำรำม จ.รำชบุรี 115.8604 117.6157 1.7553 1.52
77.เทศบำลเมืองรำชบรุ ี 339.1879 324.3837 -14.8042 -4.36
78.เทศบำลเมอื งสองพน่ี อ้ ง จ.สพุ รรณบรุ ี 117.9193 123.7102 5.7909 4.91
79.เทศบำลเมอื งสุพรรณบรุ ี 223.2781 224.2441 0.9660 0.43
80.เทศบำลเมืองประจวบครี ขี นั ธ์ 123.4950 146.9906 23.4956 19.03
81.เทศบำลเมอื งหัวหิน จ.ประจวบคีรขี นั ธ์ 262.5323 260.2522 -2.2801 -0.87

สำนักงบประมำณของรฐั สภำ หน้ำ 53 สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ

หน่วยงาน ปงี บประมาณ เพิม่ /(ลด)
82.เทศบำลเมอื งชะอำ จ.เพชรบรุ ี
2563 2564 จานวน รอ้ ยละ
264.2366 267.6239 3.3873 1.28

83.เทศบำลเมอื งเพชรบรุ ี 219.4504 223.6757 4.2253 1.93
84.เทศบำลเมืองสมทุ รสงครำม 219.4517 214.1043 -5.3474 -2.44
85.เทศบำลเมืองกระทุม่ แบน จ.สมทุ รสำคร 182.7581 177.6629 -5.0952 -2.79
86.เทศบำลเมอื งคลองมะเดื่อ จ.สมทุ รสำคร 37.7252 46.5611 8.8359 23.42
87.เทศบำลเมืองชมุ พร 162.0360 163.9671 1.9311 1.19
88.เทศบำลเมอื งหลงั สวน จ.ชุมพร 81.2385 77.5895 -3.6490 -4.49
89.เทศบำลเมอื งทุ่งสง จ.นครศรธี รรมรำช 413.2001 322.5419 -90.6582 -21.94
90.เทศบำลเมอื งปำกพนงั จ.นครศรธี รรมรำช 224.7767 258.4358 33.6591 14.97
91.เทศบำลเมอื งปำกพนู จ.นครศรีธรรมรำช 98.0392 113.0921 15.0529 15.35
92.เทศบำลเมอื งพทั ลุง 340.0179 343.8900 3.8721 1.14
93.เทศบำลเมอื งกำแพงเพชร จ.สงขลำ 94.1521 70.6220 -23.5301 -24.99
94.เทศบำลเมอื งเขำรูปชำ้ ง จ.สงขลำ 91.8907 107.2866 15.3959 16.75
95.เทศบำลเมืองคลองแห จ.สงขลำ 88.6484 107.7663 19.1179 21.57
96.เทศบำลเมืองควนลงั จ.สงขลำ 90.4825 114.7292 24.2467 26.80
97.เทศบำลเมอื งคอหงส์ จ.สงขลำ 85.8357 106.4382 20.6025 24.00
98.เทศบำลเมืองท่งุ ตำเสำ จ.สงขลำ 57.1936 67.4019 10.2083 17.85
99.เทศบำลเมอื งบำ้ นพรุ จ.สงขลำ 71.0324 65.6545 -5.3779 -7.57
100.เทศบำลเมอื งปำดังเบซำร์ จ.สงขลำ 47.8675 68.2258 20.3583 42.53
101.เทศบำลเมอื งมว่ งงำม จ.สงขลำ 61.3671 55.9436 -5.4235 -8.84
102.เทศบำลเมอื งสะเดำ จ.สงขลำ 158.7515 173.8932 15.1417 9.54

103.เทศบำลเมืองสิงหนคร จ.สงขลำ 104.2349 112.4389 8.2040 7.87

สำนักงบประมำณของรฐั สภำ หนำ้ 54 สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น

หนว่ ยงาน ปงี บประมาณ เพม่ิ /(ลด)
104.เทศบำลเมอื งดอนสัก จ.สรุ ำษฎรธ์ ำนี
2563 2564 จานวน รอ้ ยละ
68.6186 53.4982 -15.1204 -22.04

105.เทศบำลเมอื งท่ำขำ้ ม จ.สุรำษฎร์ธำนี 103.8865 107.8771 3.9906 3.84
106.เทศบำลเมืองนำสำร จ.สุรำษฎร์ธำนี 141.9811 153.3280 11.3469 7.99
107.เทศบำลเมอื งกระบ่ี 253.7977 185.5520 -68.2457 -26.89
108.เทศบำลเมอื งกนั ตงั จ.ตรัง 108.2872 117.5161 9.2289 8.52
109.เทศบำลเมืองตะก่ัวปำ่ จ.พงั งำ 132.0744 139.4486 7.3742 5.58
110.เทศบำลเมืองพงั งำ 85.8058 78.3719 -7.4339 -8.66
111.เทศบำลเมืองกะทู้ จ.ภูเก็ต 84.5319 95.4639 10.9320 12.93
112.เทศบำลเมืองปำ่ ตอง จ.ภเู ก็ต 73.8264 72.6312 -1.1952 -1.62
113.เทศบำลเมืองบำงรน้ิ จ.ระนอง 51.3117 54.9971 3.6854 7.18
114.เทศบำลเมอื งระนอง 133.4721 144.9848 11.5127 8.63
115.เทศบำลเมืองสตูล 185.4926 198.1709 12.6783 6.83
116.เทศบำลเมืองตำกใบ จ.นรำธวิ ำส 63.1608 79.1077 15.9469 25.25
117.เทศบำลเมอื งนรำธวิ ำส 290.2764 306.0988 15.8224 5.45
118.เทศบำลเมืองสไุ หงโก-ลก จ.นรำธวิ ำส 258.8448 275.6981 16.8533 6.51
119.เทศบำลเมืองตะลบุ ัน จ.ปตั ตำนี 161.0366 170.7034 9.6668 6.00
120.เทศบำลเมอื งปัตตำนี 289.0773 290.5099 1.4326 0.50
121.เทศบำลเมืองเบตง จ.ยะลำ 152.6307 157.4283 4.7976 3.14
122.เทศบำลเมอื งสะเตงนอก จ.ยะลำ 94.0810 100.5799 6.4989 6.91
123.เทศบำลเมืองฉะเชิงเทรำ 185.4730 191.8857 6.4127 3.46
124.เทศบำลเมืองชลบรุ ี 257.5546 260.2956 2.7410 1.06

125.เทศบำลเมอื งบำ้ นบึง จ.ชลบุรี 91.7542 100.1916 8.4374 9.20

สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ หนำ้ 55 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่

หน่วยงาน ปงี บประมาณ เพิ่ม/(ลด)
126.เทศบำลเมืองบำ้ นสวน จ.ชลบุรี
2563 2564 จานวน รอ้ ยละ
133.7918 138.8085 5.0167 3.75

127.เทศบำลเมืองปรกฟ้ำ จ.ชลบรุ ี 44.7044 59.3423 14.6379 32.74
128.เทศบำลเมอื งพนสั นคิ ม จ.ชลบุรี 121.3056 130.9786 9.6730 7.97
129.เทศบำลเมืองศรีรำชำ จ.ชลบรุ ี 237.0117 172.0029 -65.0088 -27.43
130.เทศบำลเมืองสัตหีบ จ.ชลบรุ ี 86.5986 80.1091 -6.4895 -7.49
131.เทศบำลเมอื งแสนสขุ จ.ชลบรุ ี 111.7304 119.3507 7.6203 6.82
132.เทศบำลเมอื งหนองปรอื จ.ชลบรุ ี 230.7233 212.4107 -18.3126 -7.94
133.เทศบำลเมอื งอ่ำงศิลำ จ.ชลบุรี 71.1588 72.7555 1.5967 2.24
134.เทศบำลเมืองบำ้ นฉำง จ.ระยอง 79.4432 101.9888 22.5456 28.38
135.เทศบำลเมอื งมำบตำพุด จ.ระยอง 164.3678 165.5634 1.1956 0.73
136.เทศบำลเมอื งขลงุ จ.จนั ทบรุ ี 113.1643 114.4796 1.3153 1.16
137.เทศบำลเมอื งจนั ทนิมิต จ.จันทบุรี 43.5471 44.7070 1.1599 2.66
138.เทศบำลเมืองจนั ทบรุ ี 217.2066 227.6252 10.4186 4.80
139.เทศบำลเมอื งทำ่ ช้ำง จ.จนั ทบุรี 36.0289 37.5556 1.5267 4.24
140.เทศบำลเมืองทำ่ ใหม่ จ.จนั ทบรุ ี 112.5364 101.9733 -10.5631 -9.39
141.เทศบำลเมืองตรำด 98.6500 100.4171 1.7671 1.79
142.เทศบำลเมืองนครนำยก 143.8042 137.5049 -6.2993 -4.38
143.เทศบำลเมืองปรำจนี บรุ ี 213.3755 191.3033 -22.0722 -10.34
144.เทศบำลเมอื งวังนำ้ เย็น จ.สระแก้ว 213.9660 142.5626 -71.4034 -33.37
145.เทศบำลเมอื งสระแกว้ 98.7708 100.1457 1.3749 1.39
146.เทศบำลเมืองอรัญประเทศ จ.สระแก้ว 124.5208 124.3758 -0.1450 -0.12

147.เทศบำลเมืองเลย 207.9868 198.8609 -9.1259 -4.39

สำนักงบประมำณของรฐั สภำ หน้ำ 56 สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ

หนว่ ยงาน ปงี บประมาณ เพ่มิ /(ลด)
148.เทศบำลเมอื งวังสะพงุ จ.เลย
2563 2564 จานวน รอ้ ยละ
86.9197 103.4090 16.4893 18.97

149.เทศบำลเมืองทำ่ บ่อ จ.หนองคำย 101.5747 95.7405 -5.8342 -5.74
150.เทศบำลเมอื งหนองคำย 265.4517 277.2237 11.7720 4.43
151.เทศบำลเมอื งหนองบัวลำภู 80.9588 102.6209 21.6621 26.76
152.เทศบำลเมอื งโนนสงู -นำ้ คำ จ.อุดรธำนี 26.3655 27.2866 0.9211 3.49
153.เทศบำลเมอื งบำ้ นดุง จ.อดุ รธำนี 65.7906 87.0116 21.2210 32.26
154.เทศบำลเมืองหนองสำโรง จ.อุดรธำนี 81.2665 79.8257 -1.4408 -1.77
155.เทศบำลเมืองนครพนม 239.4586 239.2115 -0.2471 -0.10
156.เทศบำลเมืองมกุ ดำหำร 141.4051 143.5795 2.1744 1.54
157.เทศบำลเมอื งกำฬสนิ ธุ์ 225.0839 229.2329 4.1490 1.84
158.เทศบำลเมอื งกฉุ นิ ำรำยณ์ จ.กำฬสินธ์ุ 95.7182 68.3151 -27.4031 -28.63
159.เทศบำลเมืองกระนวน จ.ขอนแกน่ 30.2158 31.7034 1.4876 4.92
160.เทศบำลเมืองชมุ แพ จ.ขอนแกน่ 115.6304 132.8478 17.2174 14.89
161.เทศบำลเมอื งบำ้ นทุ่ม จ.ขอนแก่น 62.5734 84.6221 22.0487 35.24
162.เทศบำลเมืองบำ้ นไผ่ จ.ขอนแก่น 111.7508 119.5126 7.7618 6.95
163.เทศบำลเมอื งเมืองพล จ.ขอนแกน่ 164.5915 175.1717 10.5802 6.43
164.เทศบำลเมืองศิลำ จ.ขอนแก่น 96.0693 96.7384 0.6691 0.70
165.เทศบำลเมืองมหำศำลคำม 311.0948 321.0497 9.9549 3.20
166.เทศบำลเมืองรอ้ ยเอด็ 381.6060 402.0448 20.4388 5.36
167.เทศบำลเมอื งชัยภมู ิ 221.1986 222.7367 1.5381 0.70
168.เทศบำลเมืองบัวใหญ่ จ.นครรำชสีมำ 109.7834 130.8455 21.0621 19.19

169.เทศบำลเมอื งปำกชอ่ ง จ.นครรำชสมี ำ 128.8841 140.9529 12.0688 9.36

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หน้ำ 57 สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน

หนว่ ยงาน ปงี บประมาณ เพมิ่ /(ลด)
170.เทศบำลเมอื งเมอื งปัก จ.นครรำชสีมำ
2563 2564 จานวน ร้อยละ
46.9812 57.1609 10.1797 21.67

171.เทศบำลเมอื งสคี ิ้ว จ.นครรำชสีมำ 56.6678 57.7425 1.0747 1.90
172.เทศบำลเมืองชุมเห็ด จ.นครรำชสีมำ 65.2167
173.เทศบำลเมอื งนำงรอง จ.บรุ ีรมั ย์ 68.8385 3.6218 5.55
174.เทศบำลเมืองบุรรี ัมย์ 125.9496
175.เทศบำลเมืองสุรินทร์ 242.5836 153.3379 27.3883 21.75
176.เทศบำลเมอื งยโสธร
177.เทศบำลเมอื งกันทรลักษ์ จ.ศรีสะเกษ 208.4055 254.5069 11.9233 4.92
178.เทศบำลเมอื งศรีสะเกษ 231.0899
179.เทศบำลเมืองอำนำจเจริญ 209.8745 1.4690 0.70
180.เทศบำลเมืองแจระแม จ.อบุ ลรำชธำนี 77.3450 227.4785 -3.6114 -1.56
181.เทศบำลเมอื งเดชอดุ ม จ.อบุ ลรำชธำนี 240.8275
182.เทศบำลเมอื งพบิ ลู มงั สำหำร จ.อุบลรำชธำนี 53.9113 -23.4337 -30.30
183.เทศบำลเมอื งวำรนิ ชำรำบ จ.อบุ ลรำชธำนี 148.4236
184.เทศบำลเมืองต้นเปำ จ.เชยี งใหม่ 44.4284 216.8172 -24.0103 -9.97
185.เทศบำลเมืองเมืองแกนพัฒนำ จ.เชียงใหม่
186.เทศบำลเมอื งแม่โจ้ จ.เชยี งใหม่ 66.1695 137.3820 -11.0416 -7.44
187.เทศบำลเมอื งแมเ่ หยี ะ จ.เชียงใหม่ 126.7427
188.เทศบำลเมืองแม่ฮ่องสอน 304.0989 39.7183 -4.7101 -10.60
189.เทศบำลเมืองเขลำงค์นคร จ.ลำปำง 53.2068
190.เทศบำลเมอื งพิชัย จ.ลำปำง 64.7497 -1.4198 -2.15
191.เทศบำลเมอื งลอ้ มแรด จ.ลำปำง 63.8413 142.2921 15.5494 12.27
61.0354 292.3707 -11.7282 -3.86
59.4291 6.2223 11.69
48.8125
106.3025 83.6487 19.8074 31.03

174.5308 69.7048 8.6694 14.20
34.9454
63.9842 15.1717 31.08
69.0159
56.7695 -49.5330 -46.60

179.8569 5.3261 3.05
38.1066 3.1612 9.05

63.8982 -5.1177 -7.42

สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ หน้ำ 58 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น

หนว่ ยงาน ปงี บประมาณ เพมิ่ /(ลด)
192.เทศบำลเมืองลำพนู จ.ลำพนู
2563 2564 จานวน ร้อยละ
150.3099 151.1973 0.8874 0.59

193.เทศบำลเมืองนำ่ น จ.นำ่ น 151.0625 156.8558 5.7933 3.84
194.เทศบำลเมอื งดอกคำใต้ จ.พะเยำ 62.4255 76.0442 13.6187 21.82
195.เทศบำลเมอื งพะเยำ จ.พะเยำ 211.3072 218.6413 7.3341 3.47
196.เทศบำลเมอื งแพร่ จ.แพร่ 205.2138 181.4398 -23.7740 -11.58
197.เทศบำลเมอื งตำก จ.ตำก 179.8086 188.4308 8.6222 4.80
198.เทศบำลเมืองอรญั ญิก จ.พิษณุโลก 60.4076 67.3434 6.9358 11.48
199.เทศบำลเมอื งเพชรบูรณ์ จ.เพชรบรู ณ์ 183.1560 183.8388 0.6828 0.37
200.เทศบำลเมอื งวิเชียรบรุ ี จ.เพชรบรู ณ์ 63.0911 64.9087 1.8176 2.88
201.เทศบำลเมืองหล่มสัก จ.เพชรบรู ณ์ 135.2536 156.5185 21.2649 15.72
202.เทศบำลเมืองศรสี ัชนำลยั จ.สุโขทัย 76.8213 82.9342 6.1129 7.96
203.เทศบำลเมืองสวรรคโลก จ.สโุ ขทยั 272.7897 284.5039 11.7142 4.29
204.เทศบำลเมืองสูโขทัยธำนี จ.สโุ ขทัย 167.5830 168.9540 1.3710 0.82
205.เทศบำลเมอื งอุตรดติ ถ์ จ.อุตรดติ ถ์ 327.2716 322.2353 -5.0363 -1.54
206.เทศบำลเมืองกำแพงเพชร จ.กำแพงเพชร 183.8566 186.6700 2.8134 1.53
207.เทศบำลเมืองปำงมะคำ่ จ.กำแพงเพชร 67.6081 92.8670 25.2589 37.36
208.เทศบำลเมอื งหนองปลงิ จ.กำแพงเพชร 39.4171 51.5265 12.1094 30.72
209.เทศบำลเมอื งชมุ แสง จ.นครสวรรค์ 97.3860 104.4911 7.1051 7.30
210.เทศบำลเมืองตำคลี จ.นครสวรรค์ 78.5595 97.8976 19.3381 24.62
211.เทศบำลเมืองตะพำนหิน จ.พิจติ ร 125.2188 129.2096 3.9908 3.19
212.เทศบำลเมืองบำงมลู นำก จ.พิจติ ร 120.3118 118.6288 -1.6830 -1.40

213.เทศบำลเมอื งพจิ ิตร จ.พจิ ิตร 174.4036 163.0610 -11.3426 -6.50

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หนำ้ 59 สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่

หน่วยงาน ปีงบประมาณ เพ่มิ /(ลด)
214.เทศบำลเมืองอทุ ัยธำนี จ.อุทยั ธำนี
2563 2564 จานวน รอ้ ยละ
144.1086 139.2440 -4.8646 -3.38

ท่ีมาของข้อมูล : สำนักงบประมำณ.เอกสำรงบประมำณ ฉบับท่ี 3 (ขำวคำดแดง) งบประมำณรำยจ่ำยประจำปี
งบประมำณ พ.ศ. 2564 เล่มท่ี 16 (1) – (3)

ขอ้ สังเกต PBO

1) ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 เป็นปีแรกท่ี เทศบำลนคร จำนวน 30 แห่ง และเทศบำลเมือง จำนวน 184 แห่ง
รวม 214 แห่ง ในฐำนะหน่วยรบั งบประมำณตำมมำตรำ 4 ของ พรบ.วิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 และขอต้ัง
และได้รับจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยโดยตรง ตำมมำตรำ 29 ของ พรบ.ดังกลำ่ ว (เทศบำลเป็นหน่วยงำนเจำ้ ของ
งบประมำณ) โดยภำพรวมได้รับกำรจัดสรรเป็นเงินอุดหนุน จำนวนรวมทั้งส้ิน 38,292.3540 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้น
จำกปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 จำนวน 830.5213 ล้ำนบำท หรือเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 2.22 แต่มีเทศบาลนคร
และเทศบาลเมืองท่ีได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอุดหนุนท่ีต่ากว่าปีงบประมาณ พ.ศ.
2563 จานวน 56 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 26.17 ของทั้งหมด ท้ังนี้ ปรากฏการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นจาก
สาเหตุใด? และจะมีผลกระทบต่อการจดั ทาบรกิ ารสาธารณะของเทศบาลให้แก่ประชาชนหรอื ไม่?

2) มีหลักเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอุดหนุน โดยเฉพาะเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ (รายจ่าย
ลงทุน) ให้แก่ อปท. ที่มีจำนวนมำกและกระจำยอยู่ทั่วประเทศ ให้เปน็ ไปตำมควำมจำเปน็ เหมำะสม คุ้มค่ำ
ท่วั ถงึ และเป็นธรรม ได้อย่ำงไร?

3) ปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 - 2566 เทศบาลตาบล มีจานวน 2,237 แหง่ และองค์การบรหิ ารส่วนตาบล
(อบต.) 5,320 แห่ง จะไดร้ ับโอกำสให้ขอต้ังและรบั กำรจดั สรรงบประมำณรำยจ่ำยโดยตรง จะมีรูปแบบและ
วิธกี ำรวิเครำะหแ์ ละจัดสรรงบประมำณรำยจำ่ ยให้แก่ เทศบำลตำบล ซ่ึงมีจำนวนมำก อย่ำงไร?

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หน้ำ 60 สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน

ส่วนที่ 3 ขอ้ มูลประกอบการพจิ ารณาอน่ื

4. ประเดน็ ขอ้ สังเกตของกรรมาธิการฯ ทีส่ าคญั ในปีที่ผา่ นมา

สำนักงบประมำณของรัฐสภำได้ศึกษำ รวบรวม และจัดหมวดหมู่ข้อสังเกตของคณะกรรมำธิกำร
วิสำมัญพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 สภำผู้แทนรำษฎร
และข้อสังเกตของคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำศึกษำร่ำงพระรำชบัญญัติงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี
งบประมำณ พ.ศ. 2563 วุฒิสภำ พบว่ำ มีประเด็นที่เกี่ยวกับกำรดำเนินงำนภำยใต้ภำรกิจขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ิน (อปท.) ซึ่งเป็นหน่วยรับงบประมำณภำยใต้กำรกำกับดูแลของกระทรวงมหำดไทย ซึ่ง
คณะกรรมำธกิ ำรให้ควำมสำคญั ดังนี้

4.1 ข้อสงั เกตในภาพรวมตอ่ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ
1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เป็นหน่วยงำนของรัฐที่เป็นหน่วยรับงบประมำณตำม

บทบัญญัติของพระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 โดยในปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 เป็นปีแรกที่
กำหนดให้องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) ซ่ึงหน่วยรับงบประมำณตำมกฎหมำยดังกล่ำวต้องขอรับกำร
จดั สรรงบประมำณรำยจำ่ ยประจำปีโดยตรง อยำ่ งไรก็ดี อบจ.ในฐานะหนว่ ยรบั งบประมาณใหม่ ยงั ขาดความ
พร้อมในการจัดทาคาขอเพ่ือขอรับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายตามบทบัญญัติของกฎหมาย และใน
ปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 จะขยำยให้ครอบคลุมถึงเทศบำลนครและเมือง ตลอดจนในปีงบประมำณถัด ๆ ไป
จะขยำยเพ่ิมเป็นเทศบำลตำบลและองค์กรบริหำรส่วนตำบลท้ังหมดให้ขอรับกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำย
ประจำปีโดยตรง ดังน้ัน เพื่อให้กำรดำเนินกำรตำมกฎหมำยดังกล่ำวเป็นไปด้วยควำมเรียบร้อย สานัก
งบประมาณและกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินควรมีการเตรยี มความพรอ้ มให้แก่ อปท. ในการเปน็ หน่วย
รับงบประมาณเพอ่ื ให้มีความสามารถในการจัดทาคาขอเพื่อขอรับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายได้อย่างมี
ประสทิ ธิผล

2. เน่ืองจำกพระรำชบญั ญัตวิ ิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 กำหนดให้องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น
(อปท.) เป็นหน่วยรับงบประมำณและขอรับกำรจัดสรรงบประมำณโดยตรง โดยรูปแบบและวิธีกำรดังกล่ำวจะ
เป็นทำให้ อปท. และหน่วยงำนท่เี กีย่ วขอ้ ง มภี ำระงำนเพ่ิม ต้องใช้เวลำและทรัพยำกรในกำรดำเนินงำนเพ่มิ ข้ึน
มำก โดยเฉพำะกำรมำช้ีแจงงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี ดังนั้น ควรปรับปรุงรูปแบบและวิธีการเข้าชี้แจง
ของ อปท. ดังกล่าว โดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีประชุมทางไกล (Teleconference) ในการประชุม
พิจารณางบประมาณในปีงบประมาณถัดไป ซ่ึงจะช่วยลดภำระงบประมำณและอำนวยควำมสะดวกแก่ทุก
ฝำ่ ยในกำรบรหิ ำรจัดกำรไดอ้ ยำ่ งมปี ระสทิ ธิผล

3. การถ่ายโอนภารกิจตามแผนปฏิบัติการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(อปท.) ควรมีการจัดสรรรายได้และเงินอดุ หนุนให้แก่ อปท.สาหรับดาเนินงานตามภารกิจถ่ายโอนดังกล่าว
อยา่ งเพยี งพอและควบคู่ไปด้วย เพื่อไมเ่ ป็นกำรสร้ำงภำระแก่ อปท.ที่รับภำรกจิ ถำ่ ยโอนและเพื่อให้ประชำชน
ในท้องถิ่นได้รับบริกำรจำกภำรกิจถ่ำยโอนอย่ำงมีคุณภำพตำมมำตรฐำนท่ีกำหนด ทั้งนี้ กำรจัดสรรรำยได้และ
เงินอุดหนุนให้แก่ อปท.ข้ำงต้น ควรมีจำนวนเพ่ิมขึ้นตำมเป้ำหมำยและหลักเกณฑ์ของคณะกรรมกำรกำร
กระจำยอำนำจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่กำหนดขึ้นตำมพระรำชบัญญัติกำหนดแผนและขั้ นตอนกำร

สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ หนำ้ 61 สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน

กระจำยอำนำจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 โดยคำนึงถงึ กำรกระจำยงบประมำณระหว่ำง อป
ท.อยำ่ งทัว่ ถงึ เป็นธรรม และมีธรรมำภิบำล รวมท้ังกำรบรหิ ำรเงินรำยไดแ้ ละเงนิ อุดหนุนดังกล่ำว ควรให้ อปท.
สำมำรถใช้ดุลยพินิจในกำรใช้จ่ำยหรือลงทุนได้ตำมกรอบภำรกิจ อำนำจหน้ำท่ี และตำมแผนพัฒนำท้องถิ่น
โดยคำนงึ ถึงประโยชน์ของประชำชนในทอ้ งถนิ่ และศักยภำพของ อปท. เป็นสำคญั

4. กำรถ่ำยโอนภำรกิจตำมแผนปฏิบัติกำรกระจำยอำนำจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(อปท.) เพื่อรับไปดำเนินกำรแทนส่วนรำชกำรและหนว่ ยงำนของรัฐ คณะกรรมการกระจายอานาจให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถนิ่ สานกั งานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี ควรมอบหมายใหส้ ่วนราชการและหนว่ ยงานของ
รัฐ ดาเนินการจัดทาโครงการตามภารกิจถ่ายโอนดังกล่าวให้แลว้ เสรจ็ ก่อนแล้วจึงถ่ายโอนให้ อปท. เพ่ือรับ
ไปบริหารจัดการหรือบารุงรักษาต่อไป ยกตัวอย่ำงเช่น กรณีกำรรับถ่ำยโอนแหล่งน้ำขนำดเลก็ ทม่ี ปี รมิ ำตรกัก
เก็บน้ำ น้อยกว่ำ 2,000,000 ลูกบำศก์เมตร ซ่ึงที่ประชุมคณะกรรมกำรกระจำยอำนำจให้แก่องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น คร้ังที่ 2/2561 เมื่อวันที่ 30 พฤษภำคม 2561 มีมติเห็นชอบให้ อปท. เป็นผู้รับโอนและต้อง
ดำเนินกำรตำมหลักเกณฑ์วิธีกำรและข้ันตอนกำรบริหำรจัดกำรภำรกิจถ่ำยโอนด้ำนแหล่งน้ำ ซ่ึงในหลักเกณฑ์
ดังกล่ำวกำหนดให้หน่วยงำนภำครัฐถ่ำยโอนภำรกิจในเร่ือง กำรก่อสร้ำง ดูแล บำรุงรักษำแหล่งน้ำ ให้ อปท.
เป็นผู้ดำเนินกำร โดยหำก อปท.ไม่สำมำรถดำเนินกำรได้ ให้ร้องขอควำมช่วยเหลือจำกองค์กำรบริหำรส่วน
จงั หวดั แต่ในควำมเป็นจรงิ องค์กำรบริหำรสว่ นจงั หวดั ไม่ไดม้ งี บประมำณชว่ ยเหลอื ในส่วนนเี้ ช่นกนั

5. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ภำยในจังหวัด ควรดาเนินงานตามภารกิจท่ีกฎหมาย
กาหนดและภารกิจถ่ายโอนอย่างมีบูรณาการ โดยผ่านการจัดทา“แผนพัฒนาท้องถิ่นในภาพรวมระดับ
จังหวัด” ซ่ึงรวบรวมควำมต้องกำรของประชำชนในพื้นท่ีภำยในจังหวัดและผ่ำนทำงแผนพัฒนำท้องถ่ินของ
องค์กำรบริหำรส่วนตำบลและเทศบำลต่ำง ๆ ภำยในจังหวัด และแผนพัฒนำท้องถ่ินในภำพรวมระดับจังหวัด
ดังกล่ำวควรมีควำมสอดคล้องเชื่อมโยงกับแผนปฏิบัติรำชกำรของจังหวัด ยุทธศำสตร์ชำติ 20 ปี แผนแม่บท
ภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ และแผนกำรปฏิรูปประเทศด้วย ตลอดจน อปท.ต่ำงๆ ภำยในจังหวัดควรจัดทำคำขอ
งบประมำณในแต่ละปีตำมกรอบของแผนดังกล่ำว และสำนักงบประมำณในฐำนะผู้พิจำรณำคำของบประมำณ
ควรให้ควำมสำคัญและพิจำรณำจัดสรรงบประมำณให้ตำมคำขอตำมกรอบแผน เพื่อให้งบประมำณท่ีมีจำกัด
สำมำรถตอบสนองกำรดำเนินงำนตำมภำรกิจของ อปท. และกำรดำเนินงำนตำมภำรกิจของ อปท. สำมำรถ
ตอบสนองกบั ควำมต้องกำรของประชำชนในพ้นื ที่ได้อยำ่ งแทจ้ ริง

6. กรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่นควรร่วมกับหน่วยงำนท่ีเก่ียวข้องเพ่ือกาหนดหลักเกณฑ์ใน
การจดั สรรงบประมาณในลักษณะงบเงินอุดหนนุ เฉพาะกจิ ให้แกเ่ ทศบาลและองค์การบรหิ ารส่วนตาบล โดย
คานึงถึงการกระจายงบประมาณระหวา่ งองคป์ กครองส่วนทอ้ งถิน่ อย่างทั่วถงึ เป็นธรรม และมธี รรมาภิบาล

7. สำนักงบประมำณควรกาหนดรูปแบบและวิธีการขอต้ังงบประมาณรายจ่ายประจาปีเพ่ือ
สนับสนุนองค์การบริหารส่วนจังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) ประเภทอื่นซึ่งเป็นหน่วยรับ
งบประมาณใหม่ตามพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 ให้เป็นไปตามนัยมาตรา 29 ของ
กฎหมาย กล่ำวคือ อปท.ยื่นคำขอต้ังงบประมำณรำยจ่ำยโดยตรง โดยรูปแบบและวิธีกำรดังกล่ำวควร
สอดคล้องตำมหลักกำรกระจำยอำนำจและลักษณะกำรดำเนินงำนของ อปท. ซ่ึงแตกต่ำงไปจำกหน่วยรับ
งบประมำณประเภทส่วนรำชกำรในส่วนกลำงและส่วนภูมิภำค

สำนักงบประมำณของรฐั สภำ หน้ำ 62 สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผ้แู ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ

8. องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) มีเงนิ นอกงบประมำณและรำยงำนสถำนะและแผนกำรใช้
จ่ำยเงินอกงบประมำณให้แก่สำนักงบประมำณ รวมท้ังมีกำรนำเงินนอกงบประมำณดังกล่ำวมำสมทบร่วมใช้
จ่ำยกับงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 แต่พบว่ำ อปท. แต่ละแห่งมีจำนวนเงินนอก
งบประมำณท่ีนำมำสมทบแตกต่ำงกัน ดังน้ัน สำนักงบประมำณจึงควรมีการกาหนดหลักเกณฑ์และสัดส่วน
ร้อยละของการนาเงินนอกงบประมาณส่วนหน่ึงมาสมทบร่วมใช้จ่ายกับงบประมาณรายจ่ายประจาปี โดย
คานึงถึงจานวนเงินนอกงบประมาณ จานวนรายได้ และฐานะทางเศรษฐกิจของ อปท. แต่ละพื้นท่ีเป็น
สาคญั

9. กำรเสนอขอรับกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีในปีต่อไปขององค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถิ่น (อปท.) ควรให้ความสาคัญกับการวางแผนพัฒนาท้องถ่ินในเชิงบูรณาการร่วมกับส่วนราชการอ่ืน
และเสนอของบประมำณรำยจ่ำยประจำปีในลักษณะของแผนงำนบูรณำกำร เพ่ือให้กำรพัฒนำท้องถ่ินมี
ประสทิ ธิภำพและเกดิ กำรบูรณำกำรอย่ำงรอบด้ำนเพม่ิ มำกข้ึน

10. กรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่นและส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้องควรพิจารณาปรับปรุงแก้ไข
กฎหมายและระเบียบเพ่ือผ่อนคลายการควบคุมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และส่งเสริมให้มีกำร
กระจำยอำนำจเพื่อให้ อปท. มีอำนำจหน้ำท่ีในกำรบริหำรจัดกำรงบประมำณได้อย่ำงคล่องตัวและสอดคล้อง
ตำมหลักกำรปกครองตนเองอย่ำงแท้จรงิ

11. กำรบังคับใช้พระรำชบัญญัติกำหนดแผนและข้ันตอนกำรกระจำยอำนำจให้แก่องค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ิน พบว่ำด้านการกระจายงบประมาณลงสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ยังไม่
บรรลุผลสาเร็จตามเจตนารมณ์ของกฎหมายดังกล่าว เนอื่ งจำกกำรจัดสรรงบประมำณเป็นเงินอุดหนุนให้แก่
อปท. ยังมลี ักษณะเป็น “งบฝำก” จำนวนมำก โดยเป็นเงนิ ผ่ำนมือ อปท. ไปยังผู้รับเงิน ดังนั้น จึงควรบังคับใช้
กฎหมำยในทิศทำงท่ีเป็นกำรกระจำยอำนำจและงบประมำณให้แก่ อปท. อย่ำงแท้จริง โดยต้องจัดสรรเงิน
อดุ หนนุ ใหแ้ ก่ อปท. ในลักษณะท่ี อปท. สำมำรถตัดสินใจไดเ้ อง และบริหำรจดั กำรเองได้

12. องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินควรให้ควำมสำคัญกับกำรสร้ำงควำมรู้และควำมเข้ำใจเก่ียวกับ
การจดั เกบ็ ภาษที ีด่ ินและส่ิงปลกู สร้าง ซึ่งเปน็ เรอ่ื งใหม่ และมีผลกระทบกับประชำชนในวงกว้ำง

13. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ควรบริหารจัดการเงินสะสมของ อปท. อย่างเกิด
ประสิทธิภาพ คุ้มค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด โดยควรนำเงินสะสมดังกล่ำวมำใช้เพ่ือสร้ำงโอกำสและแก้ไข
ปญั หำของหนว่ ยงำนและประชำชนในพื้นที่

4.2 กรงุ เทพมหานคร
1. กรุงเทพมหำนครได้รบั จัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 ในลกั ษณะ
งบเงินอดุ หนุนเป็นรายการผูกพนั ข้ามปใี นสัดสว่ นที่สูง ทำใหเ้ กิดภำระผกู พันตอ่ กำรต้ังงบประมำณในปีถัดไป
ดงั น้ัน จงึ ควรมกี ำรกำหนดหลักเกณฑ์กำรจัดสรรงบประมำณในลักษณะงบเงนิ อดุ หนุนท่ีเป็นรำยกำรผูกพนั ข้ำม
ปีเพ่ือให้กำรจัดสรรงบประมำณให้แก่กรุงเทพมหำนครมีควำมเหมำะสม ทั่วถึง และเป็นธรรม รวมทั้งป้องกัน
กำรเพิ่มภำระทำงงบประมำณของประเทศในอนำคต
2. กรุงเทพมหำนครควรมีกำรพัฒนำตำมแนวทำง “องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรูปแบบพิเศษ”
อยำ่ งแท้จริง โดยควรมีกำรพัฒนำด้ำนต่ำง ๆ เช่น โครงสรำ้ งกำรบริหำร อำนำจหนำ้ ท่ีจัดบรกิ ำรสำธำรณะ กำร

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หนำ้ 63 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่

บรหิ ำรงำนบุคคล กำรบริหำรงำนคลังและงบประมำณ เป็นต้น ใหม้ ีอิสระ ยืดหยุ่นและคล่องตัว เพ่ือรองรบั กำร
เป็นเมอื งใหญแ่ ละเพอ่ื สนับสนนุ กำรสรำ้ งควำมเจรญิ เตบิ โตของท้องถ่ินในอนำคต

3. กรุงเทพมหำนครควรให้ควำมสำคัญกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยควรมีกำรจัดสรร
งบประมำณเพอ่ื ดำเนนิ โครงกำรทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั กำรป้องกนั และแก้ไขปัญหำยำเสพติดอย่ำงเปน็ รูปธรรม

4. กรุงเทพมหำนครควรให้กำรสนับสนุนกจิ กรรมของมัสยดิ ในพื้นทก่ี รุงเทพมหานคร เพอ่ื อำนวย
ควำมสะดวกในกำรปฏิบตั ศิ ำสนกิจของศำสนิกชน รวมทงั้ ควรใหก้ ำรสนับสนนุ กำรกอ่ สรำ้ งอำคำรสำนกั งำนของ
คณะกรรมกำรอิสลำมประจำกรุงเทพมหำนครตำมควำมเหมำะสม ทั้งน้ี กำรสนับสนุนดังกล่ำวข้ำงต้นให้
ดำเนนิ กำรตำมบทบญั ญัติของกฎหมำยและระเบียบทเ่ี กี่ยวข้อง

5. กรุงเทพมหำนคร ควรให้ควำมสำคัญกับโรงเรียนซึ่งอยู่ในสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยเฉพำะ
กำรพัฒนำคุณภำพโรงเรียนให้มีคุณภำพเพ่ือแก้ไขปัญหำควำมเหล่ือมล้ำคุณภำพด้ำนกำรศึกษำในพื้นท่ี
กรุงเทพมหำนคร ทั้งน้ี ในส่วนงบประมำณเพื่อสนับสนุนอำหำรกลำงวันสำหรับนักเรียนในสังกัด ควรดูแล
คุณภำพอำหำรกลำงวันและจัดสรรงบประมำณให้เพียงพอต่อกำรดำเนินกำรในโครงกำรดังกล่ำวและให้มีกำร
ติดตำมประเมินผลกำรจดั ซ้ืออำหำรกลำงวนั ของแตล่ ะโรงเรยี นเพ่ือทำให้เกิดควำมคุ้มค่ำและประโยชน์สูงสุดกับ
นกั เรียน

6. กรุงเทพมหำนครควรทบทวนกำรกำหนดวิสัยทัศน์ให้เข้าใจง่าย แสดงให้เห็นจุดมุ่งหมำยและ
ทิศทำง มีควำมเป็นไปได้ท่ีจะบรรลุถึงในระยะเวลำท่ีกำหนดและวัดผลสำเร็จได้ และควรทบทวนกำรกำหนด
ผลสัมฤทธแ์ิ ละประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รบั จำกกำรใชจ้ ่ำยงบประมำณ รวมทั้งตัวชี้วดั ใหส้ อดคล้องตำมวิสยั ทัศน์
ดังกลำ่ ว

7. หาบเร่แผงลอยเป็นธุรกิจขนำดเล็กที่เป็นแหล่งรำยได้ของคนจำนวนมำกและมีส่วนสนับสนุน
ต่อกำรท่องเท่ียว ดังน้ัน กรุงเทพมหำนครควรมีนโยบำยกำรจดั ระเบียบให้หำบเร่แผงลอยเพื่อใหห้ ำบเรแ่ ผงลอย
อยไู่ ด้อย่ำงมีคุณภำพควบคู่ไปกับไม่มีผลกระทบต่อผู้ใช้ทำงเท้ำ และควรบริหำรจัดกำรหำบเร่แผงลอยให้มีควำม
สมดลุ มขี อบเขตของกำรผอ่ นปรนให้จำหน่ำยหำบเร่แผงลอยท่ีเหมำะสม

8. กรุงเทพมหำนครดำเนินโครงการจ้างเหมาเอกชนกาจัดมูลฝอยด้วยระบบเตาเผามูลฝอย
ขนาดไมน่ ้อยกว่า 1,000 ตันต่อวัน จานวน 2 แห่ง ได้แก่ ศนู ย์กำจดั มูลฝอยหนองแขม และศูนย์กำจัดมลู ฝอย
ออ่ นนชุ ซง่ึ เป็นโครงกำรลงทนุ ที่จำเปน็ ตอ้ งใช้เงินลงทนุ สูงมำก ดังนั้น จงึ ควรเปิดใหภ้ ำคเอกชนเขำ้ มำร่วมลงทุน
เพ่ือนำขยะไปกำจัดควบคู่ไปกับกำรผลิตกระแสไฟฟ้ำ โดยกรุงเทพมหำนครได้รับส่วนแบ่งรำยได้จำกกำร
จำหน่ำยกระแสไฟฟ้ำของภำคเอกชน ทั้งน้ี รูปแบบวิธีกำรดังกล่ำวควรนำไปเป็นต้นแบบให้แก่องค์กรปกครอง
สว่ นท้องถ่นิ อ่นื ดว้ ย

9. กรุงเทพมหำนคร ควรกลับมำให้ควำมสำคัญกับการแก้ไขปัญหาและฟื้นฟูคูคลองต่าง ๆ ใน
พน้ื ที่ให้น้ำมีคุณภำพดีและกลับมำใช้สัญจรได้ เพ่ือให้คูคลองท่ีสำคัญและเป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงประวัติศำสตร์
เน่ืองจำกพ้ืนท่ีสองฟำกฝั่งคลองส่วนใหญ่เป็นสถำนที่สำคัญทำงประวัติศำสตร์และมีควำมสวยงำม เช่น วัง วัด
บ้ำนโบรำณ ตลำด สะพำน เป็นต้น ซ่ึงสำมำรถพัฒนำและส่งเสริมให้เป็นแหล่งท่องเท่ียวได้ โดยเฉพำะกลุ่ม
นักท่องเท่ียวที่ให้ควำมนิยมแหล่งท่องเท่ียวเชิงประวัติศำสตร์ของไทย เช่น คลองแสนแสบซ่ึงปัจจุบันมีปัญหำ
กำรรุกล้ำและน้ำเสยี เป็นตน้

สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ หนำ้ 64 สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ

10. กรุงเทพมหำนคร ดำเนินกำรเปิดให้บริกำรโรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน โดยปัจจุบัน
สถำนะกำรดำเนินงำนอยู่ในข้ันตอนใด มีปัญหำหรือข้อจำกัดอย่ำงไร ทั้งนี้ ควรให้ควำมสำคัญและพัฒนำกำร
ดำเนินกำรใหบ้ รรลุเป้ำหมำย เพือ่ รองรบั กำรเข้ำสูส่ ังคมผู้สูงอำยุ

11. กรุงเทพมหำนคร ควรมีรุกขกรหรือผู้ดูแลรักษาต้นไม้ เพื่อให้กำรดูแลรักษำและตัดแต่ง
ต้นไม้ท้งั ในสวนสำธำรณะ ริมถนน และพนื้ ทอี่ ื่น ๆ ของกรงุ เทพมหำนคร ให้เป็นไปตำมหลักวิชำกำร มีควำมร่ม
รื่น และสวยงำม

12. กรุงเทพมหำนคร ควรให้ความสาคัญและดาเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นขนาดจ๋ิว

หรือ PM 2.5 (ฝุ่นท่ีมีขนำดเล็กกว่ำ 2.5 μM) อย่ำงเป็นรูปธรรม ท้ังในระยะส้ันและระยะยำว เพ่ือสวัสดิภำพ
ในชวี ติ ของประชำชนในพน้ื ทกี่ รุงเทพมหำนคร

13. กรุงเทพมหำนคร ควรให้ควำมสำคัญและดาเนินการติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างในพื้นที่ต่ำง ๆ
โดยเฉพำะจุดเสี่ยง เพื่อเป็นมำตรกำรในเชิงป้องกันโอกำสของกำรเกิดอำชญำกรรม และเพ่ือสวัสดิภำพในชีวิต
และทรัพยส์ ินของประชำชนในพืน้ ที่กรุงเทพมหำนคร

14. กรุงเทพมหำนครควรให้ควำมสำคัญและเดินหน้ำกำรพัฒนำให้กรุงเทพมหำนครเป็นเมือง
อัจฉรยิ ะ (Smart City) ให้เกดิ ผลสำเร็จตำมเป้ำหมำย

15. กรงุ เทพมหำนครควรให้ควำมสำคญั กับสำนต่อโครงการโรงเรียนคณุ ธรรม และควรพิจำรณำ
กำรก่อสร้ำงสะพำนลอยข้ำมถนนตรงหน้ำศูนย์วัฒนธรรมแห่งชำติเพ่ือควำมสะดวกและปลอดภัยแก่ประชำชน
ซ่ึงกระทรวงวัฒนธรรมจะดำเนินกำรเองแต่ไดร้ ับกำรทักทว้ งวำ่ ไม่ใช่ภำรกิจ

16. กรงุ เทพมหำนครควรใหค้ วำมสำคัญกับการบงั คับใช้ผังเมืองอย่างเคร่งครัดเพือ่ ใหก้ ำรพฒั นำ
กรุงเทพมหำนครเป็นไปอย่ำงมีทิศทำง เกิดควำมสวยงำม ควำมปลอดภัย เป็นระเบียบเรียบร้อย ตลอดจน กำร
รักษำไว้ซึ่งสภำพสงั คมและสิง่ แวดลอ้ ม

4.3 เมืองพทั ยา
1. เมืองพัทยาได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในลักษณะ
งบเงินอดุ หนุนเป็นรายการผูกพนั ข้ามปใี นสัดสว่ นท่ีสูง ทำใหเ้ กิดภำระผูกพันตอ่ กำรตั้งงบประมำณในปีถัดไป
ดงั นั้น จงึ ควรมกี ำรกำหนดหลกั เกณฑ์กำรจดั สรรงบประมำณในลักษณะงบเงนิ อดุ หนุนท่ีเปน็ รำยกำรผกู พันขำ้ ม
ปีสำหรับเมืองพัทยำเพื่อให้กำรจัดสรรงบประมำณมีควำมเหมำะสม ท่ัวถึง และเป็นธรรม รวมท้ังป้องกันกำร
เพิ่มภำระทำงงบประมำณของประเทศในอนำคต นอกจำกน้ี หลักเกณฑ์กำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำย
ประจำปคี วรคำนึงถงึ จำนวนประชำกรแฝงทีอ่ ยู่ในพนื้ ทขี่ ององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่
2. เมืองพัทยำควรมีกำรพัฒนำตำมแนวทำง “องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรูปแบบพิเศษ” อย่ำง
แท้จริง โดยควรมีกำรพัฒนำด้ำนต่ำง ๆ เช่น โครงสร้ำงกำรบริหำร อำนำจหน้ำท่ีจัดบริกำรสำธำรณะกำร
บริหำรงำนบุคคล กำรบรหิ ำรงำนคลงั และงบประมำณ เป็นต้น ใหม้ ีอิสระ ยืดหยุ่นและคล่องตัว เพ่ือรองรบั กำร
เป็นเมืองใหญ่และเพ่ือสนับสนนุ กำรสร้ำงควำมเจริญเติบโตของทอ้ งถ่ินในอนำคต ทั้งน้ี อำจมีควำมจำเป็นต้องมี
กำรปรบั ปรงุ แกไ้ ขกฎหมำยเมืองพทั ยำ เพอื่ พฒั นำใหเ้ ปน็ เมืองรปู แบบพิเศษอยำ่ งแทจ้ ริง
3. เมืองพัทยาเป็นแหล่งท่องเที่ยวท่ีมีช่ือเสียงติดอันดับโลก ในแต่ละปีมีนักท่องเที่ยวเดินทำงมำ
ท่องเท่ียวเป็นจำนวนมำก สร้ำงรำยได้ให้แก่ประเทศ แต่มีปัญหำด้ำนภำพลักษณ์ โดยเฉพำะเกี่ยวกับกลุ่มผู้มี

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หน้ำ 65 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน

อิทธิพลหรือมำเฟีย และปัญหำด้ำนส่ิงแวดล้อม ทั้งน้ำเสียและขยะ เมืองพัทยำควรมีแนวทำงปรับปรุงแก้ไข
ปัญหำดังกล่ำวเพอื่ ใหเ้ มืองพทั ยำเป็นแหล่งท่องเทย่ี วท่ีมภี ำพลักษณ์ที่ดี

4. เมืองพัทยำมีสถำนท่ีท่องเที่ยวหลำกหลำยด้ำนแต่ยังไม่เพียงพอสำหรับกำรจูงใจให้เกิด
กำรเพ่ิมนักท่องเที่ยว โดยเฉพำะจำกต่ำงประเทศ ดังน้ัน จึงควรดำเนินโครงการลงทุนขนาดใหญ่ (Mega
Project) เพื่อสร้างส่ิงมหัศจรรย์สาหรบั ใช้ดงึ ดดู นกั ท่องเท่ยี ว

5. เมืองพัทยำมีการบริหารจัดการทสี่ ามารถเป็นต้นแบบ (Model) ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
อ่ืน ๆ ได้ ยกตัวอย่ำงเช่นในด้ำนกำรนำกล้องวงจรปิด (Closed Circuit Television: CCTV) มำใช้ในกำร
บริหำรจัดกำรและควบคมุ กำรจรำจรของเมอื งพัทยำไดอ้ ย่ำงมีประสิทธภิ ำพและเกิดประสทิ ธิผล

6.เมืองพทั ยำเป็น “เมืองจัดการตนเองขนาดเล็ก” ท่ีน่ำสนใจ โดยเฉพำะในด้ำนควำมสำมำรถในกำร
ประสำนงำนกับจังหวัด ส่วนรำชกำรภำยในจังหวัด และองค์กำรปกครองส่วนท้องถ่ินที่ตั้งอยู่ภำยในจังหวัด
ชลบรุ ไี ด้เป็นอยำ่ งดี ควรนำประสบกำรณด์ งั กล่ำวมำแลกเปล่ียนเรียนรู้รว่ มกบั องคก์ รปกครองท้องถิน่ อนื่

7.เมืองพัทยำตั้งอยู่ในพื้นที่ของโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern
Economic Corridor : EEC) โดยโครงกำรดังกล่ำวมีควำมเก่ียวข้องและส่งผลกระทบต่อเมืองพัทยำ เช่น
ปญั หำสิ่งแวดล้อม กำรยกเลิกผังเมืองพัทยำเดิมและตอ้ งมีกำรจัดทำผังเมืองใหม่ตำมกรอบผังเมือง EEC ดังน้ัน
ขอทรำบว่ำเมอื งพทั ยำมีกำรวำงแผนและเตรียมดำเนินกำรรองรบั ผลกระทบดงั กลำ่ ว

8. เมืองพัทยำควรใหค้ วำมสำคัญ มีกำรกำหนดเป้ำหมำยและมุ่งดำเนินกำรด้ำนการพัฒนาการเรียนรู้
ของเด็กและเยาวชนในระดับปฐมวัย โดยเฉพำะกำรพัฒนำทักษะภำษำต่ำงประเทศ ซึ่งควรเน้นทักษะกำรฟัง
และพดู เป็นสำคญั

9. เมืองพัทยำเป็นองคก์ รปกครองทอ้ งถ่นิ รูปแบบพิเศษที่มีผลกำรดำเนินงำนทีด่ ี โดยเฉพำะในด้ำนกำร
จดั เก็บรำยได้ตำมเป้ำหมำย ทำให้มีรำยไดท้ ่ีเพียงพอในกำรจัดทำบริกำรสำธำรณะให้แก่ประชำชนในพื้นทีแ่ ละมี
ควำมสำมำรถพ่ึงพำตนเองทำงกำรคลังได้ในระดับหน่ึง ดังน้ัน ควรถ่ำยทอดองค์ควำมรู้และประสบกำรณ์ด้ำน
กำรบรหิ ำรงำนและกำรจดั เกบ็ รำยไดใ้ หแ้ กอ่ งคก์ รปกครองท้องถ่นิ อ่ืน ๆ

10. เมืองพัทยำรองรับนักท่องเท่ียวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศจานวนมากซึ่งส่งผลให้ต้อง
รับภำระและผลกระทบที่เกิดข้ึน เช่น ขยะท่ีมีปริมำณมำก ทำงระบำยน้ำอุดตัน ปัญหำน้ำเสีย เป็นต้น ดังน้ัน
เมอื งพัทยำควรมีกำรวำงแผนเพื่อรองรับกบั กำรเพิ่มข้ึนของปริมำณนักท่องเท่ียวใหเ้ หมำะสมกับสภำพพื้นท่ีและ
แหลง่ ทอ่ งเท่ียว (Carrying Capacity) รวมท้งั ป้องกนั และแก้ไขปญั หำทีจ่ ะเกดิ จำกผลกระทบดังกล่ำวล่วงหน้ำ

11. เมืองพัทยำควรใหค้ วำมสำคัญและจดั กำรแก้ไขปัญหาเด็กเร่ร่อนอย่ำงเป็นรูปธรรม

4.4 : องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั 76 แห่ง
1. องค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั ควรเป็นหน่วยงานเจ้าภาพในการบรู ณาการการทางานร่วมกบั จังหวัด
และหนว่ ยงำนที่เก่ียวข้องในกำรแก้ไขปัญหำแหล่งน้ำเพอ่ื กำรเกษตรในพ้ืนท่ี เน่ืองจำกเปน็ องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถนิ่ ทีม่ พี นื้ ท่รี ับผดิ ชอบครอบคลมุ ทง้ั จังหวัด และรบั ร้เู ขำ้ ใจปญั หำควำมต้องกำรของเกษตรกรในพืน้ ท่ีดี
2. กำรจัดสรรงบประมำณเพ่ือเป็นเงินอุดหนุนให้แก่องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) ไม่ควรนา
ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนการดาเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) มากาหนดไว้
ในรายการงบประมาณของ อบจ. เน่ืองจำกไมไ่ ด้เปน็ หนว่ ยงำนทีใ่ ช้งบประมำณโดยตรง

สำนกั งบประมำณของรัฐสภำ หนำ้ 66 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่

3. สำนักงบประมำณควรกาหนดหลักเกณฑ์เก่ียวกับการให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) นา
เงินนอกงบประมาณมาร่วมสมทบกับงบประมาณรายจ่ายประจาปี เน่ืองจำกในปีงบประมำณ พ.ศ. 2563
พบวำ่ อบจ. ในหลำยจังหวัดมีกำรนำเงินนอกงบประมำณมำร่วมสมทบกบั งบประมำณรำยจำ่ ยประจำปีท่ี อบจ.
ได้รบั จัดสรรในลักษณะเงนิ อุดหนนุ เฉพำะกจิ ในสัดสว่ นร้อยละและจำนวนทีแ่ ตกตำ่ งกัน

4. กำรบริหำรจัดกำรขององค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) โดยเฉพำะด้านงบประมาณ ไม่ได้เป็น
อิสระตามหลักการกระจายอานาจ โดยพบว่ำยังมีข้อจำกัดด้ำนระเบียบด้ำนกำรใช้จ่ำยงบประมำณ และด้ำน
กำรจัดซื้อจัดจ้ำง ทำให้กำรใช้จ่ำยงบประมำณขององค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดมีควำมยำกลำบำกและเป็น
อุปสรรค ดังนั้น กรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถ่ินและหน่วยงำนท่ีเก่ียวข้องควรพิจำรณำแก้ไขปัญหำด้ำนกำร
บริหำรจัดกำรดังกล่ำวของ อบจ.

5. การจัดสรรเงินอุดหนุนจากงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ให้แก่องค์การ
บริหารส่วนจังหวัดมคี วามแตกต่างกัน ดงั นน้ั คณะกรรมกำรกระจำยอำนำจใหแ้ ก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น
และสำนักงบประมำณควรมีกำรกำหนดหลักเกณฑ์กำรจัดสรรงบประมำณในลักษณะเงินอุดหนุนให้แก่ อบจ.
ให้เกดิ ควำมชดั เจน และนำมำใชอ้ ยำ่ งเครง่ ครดั

6. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) เป็นหน่วยงำนในระดับพื้นที่ โดยรับผิดชอบครอบคลุมพื้นที่ท้ัง
จังหวัดและมีศักยภำพในกำรพัฒนำพ้ืนท่ีในภำพรวมของจังหวัด แต่ในกำรปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 มี อบจ.
ท่ีได้รับจัดสรรงบประมำณตำมแผนงานบูรณาการพัฒนาพื้นท่ีระดับภาค จำนวน 2 จังหวัด ได้แก่ มุกดำหำร
และเลย ดังน้ัน ในปีงบประมำณต่อ ๆ ไป ควรสนับสนุนให้ อบจ. มีบทบำทในกำรพัฒนำพ้ืนที่เพ่ิมมำกข้ึนและ
ควรไดร้ ับจัดสรรงบประมำณตำมแผนงำนบรู ณำกำรกำรพฒั นำพ้นื ที่ระดับภำค

7. ปัจจุบันกำรบูรณำกำรระหว่ำงองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) กันเองและระหว่ำง อบจ.กับ
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินประเภทอื่น เพื่อจัดทำบริกำรสำธำรณะให้แก่ประชำชนค่อนข้ำงมีน้อย ดังนั้ น
หนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้องควรสนับสนนุ ใหเ้ กิดการบรู ณาการระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ เพ่ิมมากขึน้

8. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) ควรเตรียมการรองรับการเลือกตั้งท้องถ่ินที่คำดว่ำจะมีข้ึนเร็ว
ๆ นี้ โดยเฉพำะกำรเตรียมกำรด้ำนงบประมำณสำหรับเป็นค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดกำรเลือกต้ัง เพ่ือให้สำมำรถ
ดำเนินกำรได้อย่ำงมีประสิทธภิ ำพและประสิทธผิ ลตำมกฎหมำยกำหนด

9. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) เป็นหน่วยรับงบประมำณตำมบทบัญญัติมำตรำ 4 ของ
พระรำชบัญญัตวิ ิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 โดยในปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 เป็นปีแรกที่สำนักงบประมำณ
กำหนดให้ อบจ. ในฐำนะหน่วยรับงบประมำณตำมกฎหมำยดังกล่ำวต้องขอรับกำรจดั สรรงบประมำณรำยจ่ำย
ประจำปีโดยตรง อย่ำงไรก็ดี พบว่ำ อบจ. ส่วนใหญ่ มีข้อจากัดในการดาเนินการ เช่น ขำดควำมพร้อม มี
ระยะเวลำดำเนินกำรท่ีมีจำกัด กำรขำดข้อมูลข่ำวสำรและกำรขำดกำรประสำนงำนที่ดีระหว่ำง อบจ. และ
สำนักงบประมำณ เป็นต้น ทำให้ในกำรจัดทำคำของบประมำณของ อบจ. ขำดรำยละเอียด โดยเฉพำะควำม
เช่ือมโยงของคำของบประมำณกับยุทธศำสตร์ชำติ 20 ปี และทำให้กำรจัดทำคำของบประมำณเพิ่มเติมของ
อบจ. ไม่สำมำรถจัดส่งได้ทันตำมกำหนดเวลำของสำนักงบประมำณ ดังนั้น ในกำรจัดทำงบประมำณปีต่อไป
อบจ. ควรมีกำรเตรียมกำรและป้องกันแก้ไขข้อจำกัดต่ำง ๆ ดังกล่ำว เพื่อให้กำรดำเนินกำรด้ำนกำรจัดทำ
งบประมำณเปน็ ไปด้วยควำมเรียบร้อย เกดิ ประสิทธิภำพและประสทิ ธผิ ล

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หนำ้ 67 สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น

10. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) ควรให้ความสาคัญกับการเพ่ิมประสิทธิภาพของการจัดเก็บ
รายได้เพื่อให้เป็นไปตำมเจตนำรมณ์ของรัฐธรรมนูญและกฎหมำย ตลอดจนเป็นกำรสร้ำงควำมม่ันคงและย่ังยืน
ทำงกำรคลังของท้องถ่ิน เนื่องจำกได้รับกำรจัดสรรเงินอุดหนุนจำกงบประมำณค่อยข้ำงจำกัด โดยเฉพำะเงิน
อุดหนุนเฉพำะกิจท่ไี ด้รับกำรจัดสรรค่อยขำ้ งน้อย นอกจำกน้ี เน่ืองจำกแหล่งท่ีมำของรำยได้มหี ลำยแหล่ง ทำให้
เงินรำยได้ของ อบจ. เข้ำมำไม่พร้อมกัน ดังน้ัน ควรมีกำรบริหำรจัดกำรเงินรำยได้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหำ
กำรขำดสภำพคล่อง

11. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) ได้รับจัดสรรงบประมาณสาหรับภารกิจท่ีได้รับการถ่ายโอน
มาตามแผนปฏิบัติการกาหนดข้ันตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินไม่เพียงพอต่อ
การดาเนนิ งาน และพบว่ำกำรดำเนินงำนสว่ นหนงึ่ ไม่ตรงกับควำมต้องกำรของประชำชนในพ้ืนท่ี ดังน้ัน เพื่อให้
เกิดกำรบูรณำกำรงบประมำณท่ีมีจำนวนจำกัดอย่ำงเพียงพอและสำมำรถดำเนินงำนตำมภำรกิจของท้องถ่ินได้
ตรงตำมควำมต้องกำรของประชำชนในพ้ืนที่ อบจ. ควรเป็นเจ้ำภำพหลักในกำรจัดทำ“แผนพัฒนำท้องถิ่นใน
ภำพรวมระดับจังหวัด” โดยกำรรวบรวมควำมต้องกำรของประชำชนในพ้ืนที่ผ่ำนทำงแผนพัฒนำท้องถ่ินของ
องค์กำรบริหำรส่วนตำบลและเทศบำลภำยในพื้นท่ีจังหวัด นอกจำกน้ีกำรจัดทำแผนพัฒนำท้องถ่ินในภำพรวม
ระดับจังหวัดดังกล่ำวต้องมีควำมสอดคล้องเชื่อมโยงกับแผนปฏิบัติรำชกำรของจังหวัด ยุทธศำสตร์ชำติ 20 ปี
แผนแมบ่ ทภำยใตย้ ทุ ธศำสตร์ชำติ และแผนกำรปฏริ ปู ประเทศด้วย

12. องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ได้รับถ่ายโอนภารกิจจากส่วนราชการมำรับผิดชอบตำม
กฎหมำยกำหนดแผนและข้ันตอนกำรกระจำยอำนำจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่ อบจ.ไม่สำมำรถ
ดำเนินกำรตำมภำรกิจดังกลำ่ วได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและประสิทธิผล เช่น กำรดูแลบำรุงรักษำถนนหรือแหล่ง
น้ำ เป็นต้น เน่ืองจำกไม่ได้รับกำรจัดสรรงบประมำณท่ีเหมำะสมและเพียงพอตำมภำรกิจ ดังนั้ น สำนัก
งบประมำณและหน่วยงำนท่ีเก่ียวข้องควรแก้ไขปัญหำดังกล่ำวและให้กำรสนับสนุนแก่ อบจ. เพ่ือให้สำมำรถ
ดำเนนิ กำรตำมภำรกจิ ถ่ำยโอนดงั กลำ่ วไดอ้ ยำ่ งมปี ระสิทธภิ ำพและประสิทธิผล

13. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) ควรมีการทบทวนวิสัยทัศน์และตัวชี้วัดให้สอดคล้องตำม
ข้อกำหนดของคู่มือของสำนักงบประมำณ โดยวิสัยทัศน์จะต้องเป็นสิ่งที่มุ่งหมำยให้เกิดข้ึนในอนำคตหรือส่ิงที่
อบจ.กำหนดเป้ำหมำยว่ำจะให้เกิดขึ้นในอนำคต และตัวช้ีวัดต้องเป็นรูปธรรมที่สำมำรถวัดผลกำรดำเนินงำน
ของ อบจ.ได้จริง และควรเปิดให้ประชำชนในพ้ืนท่ีเป็นผู้ประเมินเพื่อให้เกิดควำมชัดเจนว่ำกำรใช้งบประมำณ
เป็นไปตำมทป่ี ระชำชนอยำ่ งแท้จรงิ

14. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) ควรมีกำรกำหนดวิสัยทัศน์ เป้ำหมำย และบูรณำกำรกำร
พัฒนำระหวำ่ งองค์กำรบริหำรสว่ นจังหวัดในพืน้ ทีใ่ กล้เคยี งกันหรือภำคเดียวกนั โดยมีกำรกำหนดวิสัยทัศน์ และ
เป้ำหมำยร่วมระดับภำคด้วยกำรเชิดชูอัตลักษณ์ท้องถิ่น เช่น องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดภำคใต้ที่ต้องมีแหล่ง
ท่องเที่ยวทำงทะเลและควำมหลำกหลำยทำงวัฒนธรรม องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดภำคกลำงท่ีต้องมีแหล่ง
ท่องเท่ียวเชิงประวัติศำสตร์และอำหำร เป็นต้น นอกจำกน้ัน อบจ. ในเขตพ้ืนที่ชำยแดนที่ติดต่อกับประเทศ
เพอ่ื นบ้ำนควรสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดกำรทอ่ งเทย่ี วในกลุ่มประเทศอำเซยี นเพื่อสร้ำงรำยได้เพ่มิ ขน้ึ อีกทำงหน่งึ

15. ในกำรจัดทำคำของบประมำณรำยจ่ำยประจำปี องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) ควรมีข้อมูล
ในรายละเอียดของแผนงานและโครงการท่ีลงลึกในระดับพื้นท่ีเพื่อกาหนดแผนงานท่ีตอบสนองความ

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หนำ้ 68 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วเิ คราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่

ต้องการของประชาชนอย่างเป็นรูปธรรม และมีกำรกำหนดวิธีกำรให้ประชำชนเข้ำมำมีส่วนร่วมกำหนด
แผนงำน จดั ทำคำของบประมำณ และเปน็ ผ้ปู ระเมนิ ควำมสำเร็จ (KPI) ของกำรดำเนินงำน

16. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) ควรให้ควำมสำคัญกับการส่งเสริมผู้ประกอบการธุรกิจขนาด
กลางและขนาดย่อย (SMEs) ในพื้นที่ท้องถ่ิน เนื่องจำก SMEs มีส่วนสำคัญต่อกำรส่งเสริมและพัฒนำ
เศรษฐกิจและกำรทอ่ งเทย่ี วของทอ้ งถิ่นบนฐำนของอัตลักษณ์ ประเพณี และวฒั นธรรมของทอ้ งถ่นิ

17. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) ควรมีบทบำทในการแก้ไขปัญหาภัยแล้ง และเข้ำไปให้ควำม
ช่วยเหลอื ประชำชนที่ประสบปัญหำดังกล่ำว รวมท้ังขอข้อมลู กำรจดั หำแหลง่ น้ำขนำดเลก็ ทใ่ี ช้งบประมำณของ อบจ.
สถำนกำรณภ์ ยั แล้งและวธิ ีกำรบริหำรจัดกำร และผลกำรดำเนินงำนในเรื่องดงั กล่ำวย้อนหลัง 3 ปขี อง อบจ.

18. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) ควรมีบทบำทในการส่งเสริมการท่องเที่ยว โดยในแต่ละ
จังหวัดมีแหล่งท่องเท่ียว เช่น แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอีสำนซ่ึงสะท้อนเอกลักษณ์และวัฒนธรรมไทยกำร
แสดงของคนในท้องถ่ินซ่งึ เป็นที่รูจ้ ักในระดบั สำกล กำรนวดไทย กำรท่องเท่ียววัดและศำสนสถำน เป็นต้น โดย
อบจ. ควรนำขอ้ มลู ดังกลำ่ วมำเผยแพรผ่ ่ำนช่องทำงต่ำง ๆ เช่น ผ่ำนเวบไซดข์ อง อบจ. เปน็ ต้น และประสำนงำน
กบั กำรทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทยเพื่อบรรจุไวใ้ นแผนทที่ ่องเทย่ี ว

19. กระทรวงมหำดไทยและหน่วยงำนที่เก่ียวข้องควรพัฒนำให้คณะกรรมการบริหารงานบุคคลของ
องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เป็นองค์กรกลำงด้ำนกำรบริหำรงำนบุคคลของ อปท. ทุกแห่งในจังหวัด
เพ่ือให้สำมำรถบริหำรจัดกำรทรัพยำกรบุคคลระหว่ำง อปท.ภำยในจังหวัดได้อย่ำงคล่องตัว คุ้มค่ำ และเกิด
ประสทิ ธิผล

20. กระทรวงมหำดไทยและหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องควรพัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศ โดยแก้ไขปัญหำ
ควำมซ้ำซ้อนของข้อมูลที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน และมีกำรบูรณำกำรข้อมูลให้เป็นเอกสำร โดยองค์กำรบริหำรส่วน
จังหวัด (อบจ.) เป็นเจ้ำภำพ เพ่ือให้มีฐำนข้อมูลสำรสนเทศระดับพื้นท่ีจังหวัด เพ่ือให้ อปท. ภำยในจังหวัด
สำมำรถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่ำงมปี ระสิทธิผล

21. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวดั (อบจ.) ควรส่งเสรมิ ให้เกษตรกรในพื้นท่ีมีคุณภาพชีวิตท่ีดี มีอำชีพมี
รำยไดท้ ่ีม่นั คงย่ังยืน เช่น กำรส่งเสรมิ เกษตรอินทรีย์ กำรสง่ เสรมิ กำรผลติ ผำ้ เพอ่ื เป็นสินคำ้ ของท้องถน่ิ เป็นตน้

5. สรปุ ผลรายงานวชิ าการของ PBO ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

5.1 การศึกษาผลกระทบของพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 ที่มีต่อรูปแบบและ
วธิ ีการขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจาปเี พื่อสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่

กำรศึกษำมีวัตถุประสงค์หลักเพ่ือศึกษำผลกระทบของพระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561
ท่ีมีต่อรูปแบบและวิธีกำรขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีเพื่อสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.)
เปรียบเทียบก่อนและหลังกำรใชบ้ ังคับ และผลกระทบที่มีต่อหลักกำรกระจำยอำนำจกำรปกครองและลักษณะ
ของกำรดำเนินงำนตำมภำรกิจของ อปท. โดยใช้วิธีกำรศึกษำเชิงคุณภำพ ทั้งนี้ กำรศึกษำดังกล่ำวมีสรุปผล
กำรศกึ ษำและขอ้ เสนอแนะ ดังนี้

1) การวิเคราะหค์ วามจาเปน็ ของเงินอุดหนนุ ของรฐั ตอ่ การดาเนินงานตามภารกจิ ของ อปท.

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หนำ้ 69 สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน

ภำรกิจของ อปท. เป็นปัจจัยที่สำคญั ต่อกำรกำหนดรำยจ่ำยของ อปท. (Expenditure Assignment)
ซ่ึงเป็นไปตำมหลักท่ีกำรเงินต้องสอดคล้องกับภำรกิจ (Finance Follows Function) โดยภำยหลังกำรตรำ
พระรำชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนกำรกระจำยอำนำจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2542 รัฐ
จัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. เพิ่มมำกขึ้น แต่ก็เป็นไปตำมภำรกิจและอำนำจหนำ้ ที่ที่ถ่ำยโอนให้แก่ อปท. ซ่ึง
เพิ่มข้ึน และเม่ือเปรียบเทียบแล้วพบว่ำปริมำณของภำรกิจที่ถ่ำยโอนให้ อปท. ดังกล่ำว มีมำกกว่ำรำยได้ซ่ึง
รวมถึงเงินอุดหนุนของรัฐที่จัดสรรให้ อปท. รวมท้ังเงินอุดหนุนท่ีจัดสรรดังกล่ำวส่วนหน่ึงเป็นค่ำใช้จ่ำยตำม
นโยบำยของรัฐบำล ส่งผลให้สัดส่วนของเงินอุดหนุนที่ได้รับจัดสรรจำกรัฐบำล ไม่เพิ่มขึ้นอย่ำงแท้จริงตำม
เป้ำหมำย และไมส่ อดคล้องตำมวตั ถุประสงคท์ ่ีต้องกำรให้ อปท. มรี ำยได้เหมำะสมกับภำรกจิ

2) การวิเคราะห์ผลกระทบของพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 ที่มีต่อรูปแบบและ
วิธีการขอต้ังงบประมาณรายจ่ายประจาปีเพ่ือสนับสนุน อปท. โดยศึกษาเปรียบเทียบก่อนและหลังการใช้
บังคบั

พระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 ตรงขึ้นทดแทนพระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ
พ.ศ. 2502 และท่ีแก้ไขเพม่ิ เติม และมีผลกระทบกับ อปท. โดยเฉพำะต่อรูปแบบและวิธีกำรขอต้ังงบประมำณ
รำยจ่ำยเพ่อื สนับสนุน อปท. ก่อนและหลังกำรใช้บงั คับกฎหมำย ดังน้ี

2.1) กำรเป็นหน่วยรับงบประมำณของ อปท. เกดิ ขน้ึ ตำมมำตรำ 4 ของกฎหมำยทำใหม้ สี ิทธิและหน้ำที่
และควำมรับผิดชอบด้ำนกำรงบประมำณ

2.2) รูปแบบและวิธีกำรขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีของ อปท. ตำมมำตรำ 29 ท่ีกำหนดให้
จัดสรรงบประมำณเป็นเงินอุดหนุนและให้ย่ืนคำขอต้ังงบประมำณรำยจ่ำยต่อรัฐมนตรีว่ำ กำร
กระทรวงมหำดไทยเพ่ือเสนอต่อผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณ ท้ังนี้ ตำมหลักเกณฑ์ วิธีกำรและระยะเวลำท่ี
ผู้อำนวยกำร

สำนักงบประมำณกำหนดทำให้เกิดประสิทธิภำพในกำรดำเนินงำนและกำรประสำนงำน รวมท้ังลด
ควำมเสี่ยงจำกกำรดำเนินกำรผ่ำนคนกลำง อย่ำงไรก็ดีหลักเกณฑ์และวิธีกำรกำรย่ืนคำขอต้ังงบประมำณ
รำยจ่ำยประจำปี พ.ศ. 2563 ที่กำหนดให้องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด (อบจ.) ย่ืนคำขอต้ังงบประมำณรำยจ่ำย
โดยตรงเท่ำนั้น (เช่นเดียวกับกรุงเทพมหำนครและเมืองพัทยำ) ขณะที่เทศบำลและองค์กำรบริหำรส่วนตำบล
ยื่นคำขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำยท่ีกรมส่งเสริมกำรปกครองส่วนท้องถ่ินหรือเหมือนเดิมไปก่อน โดยอ้ำงเหตุผล
ด้ำนควำมพร้อมและมีเป้ำหมำยท่ีจะให้ อปท. ท้งั หมดขอตง้ั งบประมำณรำยจ่ำยได้โดยตรงในปีต่อไป

3) กำรวิเครำะห์ผลกระทบของรูปแบบและวิธีกำรขอรับกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีเพื่อ
สนบั สนนุ อปท. ทก่ี ำหนดตำมนัยพระรำชบญั ญัตวิ ิธกี ำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 ที่มีต่อหลักกำรกระจำยอำนำจ
กำรปกครองและลกั ษณะกำรดำเนินงำนของ อปท.

3.1) ผลกระทบตอ่ หลกั กำรกระจำยอำนำจกำรปกครอง (Decentralization) พบวำ่ รูปแบบและวิธกี ำร
ขอรับกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีเพ่ือสนับสนุน อปท. ตำมนัยพระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ
พ.ศ. 2561 สอดคล้องกับหลักกำรกระจำยอำนำจกำรปกครอง โดยทำให้ อปท. มีสิทธิและหน้ำที่ด้ำน
กำรงบประมำณโดยตรงในฐำนะหน่วยรับงบประมำณตำมกฎหมำยดังกล่ำวแต่หลักเกณฑ์และวิธีกำรยื่นคำขอ
ต้ังงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี พ.ศ. 2563 ทก่ี ำหนดขึน้ ตำมนัยมำตรำ 29 ของกฎหมำยกลับชะลอกำรให้สิทธิ

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หนำ้ 70 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่

ดังกล่ำวกับเทศบำลและองค์กำรบริหำรส่วนตำบลทำให้เสียโอกำสเรียนรู้และใช้สิทธิตำมนัยกฎหมำยวิธีกำร
งบประมำณใหมเ่ พอื่ เปน็ เครื่องมือในกำรพฒั นำท้องถิ่น

3.2) ผลกระทบตอ่ ลักษณะกำรดำเนินงำนขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน เน่ืองจำกเป็นหน่วยงำนของ
รัฐซ่ึงจัดกำรปกครองตนเอง (self-government) ตำมรฐั ธรรมนูญและกฎหมำยทีเ่ กี่ยวข้องเพือ่ ตอบสนองควำม
ตอ้ งกำรและประโยชน์ของประชำชนในทอ้ งถนิ่ โดยจดั ทำบริกำรสำธำรณะภำยใต้กำรมีส่วนร่วม ทำให้ อปท. มี
ลักษณะกำรดำเนินกำรที่ยึดโยงกับประชำชนในท้องถิ่นโดยตรงผ่ำนแผนพัฒนำท้องถิ่นท่ีสอด คล้องตำมภูมิ
สังคมซึ่งมีควำมแตกต่ำงและหลำกหลำยตำมสภำพพ้ืนที่ รวมทั้งมีควำมแตกต่ำงจำกรำชกำรส่วนกลำงและ
ภูมิภำค จำกกำรศึกษำพบว่ำหลักเกณฑ์และวิธีกำรย่ืนคำขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี พ.ศ. 2563 ตำม
นยั มำตรำ 29 ให้ควำมสำคัญกับลักษณะกำรดำเนินกำรดังกล่ำวในระดับหน่ึง แต่ในรำยละเอียดซ่ึงปรำกฏตำม
แบบฟอร์มคำของบประมำณที่ใช้กับ อบจ. ยังคงคล้ำยคลึงกับหน่วยรำชกำรท่ีเป็นหน่วยรับงบประมำณ จึงไม่
สอดคล้องกับลักษณะกำรดำเนินงำนของ อปท. และอำจถูกมองว่ำเป็นส่วนหน่ึงของควำมพยำยำมท่ีจะทำให้
อปท. ซึ่งเป็นหน่วยงำนของรัฐระดบั ทอ้ งถ่นิ มคี วำมเปน็ รำชกำร (Bureaucratization)

4) ข้อเสนอแนะ
4.1) ขอ้ เสนอแนะเกย่ี วกับการนาผลการศกึ ษาไปประยุกตใ์ ช้ในการพฒั นารูปแบบและวธิ ีการขอรับ
การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยประจาปีเพ่ือสนับสนนุ อปท. โดยหน่วยงำนท่เี กีย่ วขอ้ งควรดำเนนิ กำรดงั นี้
4.1.1) ควรกำหนดเปำ้ หมำย แผน วิธกี ำรดำเนนิ งำน ผลสมั ฤทธ์ิ ตัวช้วี ดั และผรู้ ับผิดชอบ เกีย่ วกับกำร
เตรยี มควำมพร้อมใหแ้ ก่ อปท. ตำมนยั ของพระรำชบญั ญัติวธิ ีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 ตลอดจนนำไปปฏิบัติ
อย่ำงบรู ณำกำรร่วมกันในปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 เพอื่ อปท. มีควำมสำมำรถปฏบิ ัติกำรด้ำนงบประมำณของ
ตนเองไดใ้ นปีงบประมำณ พ.ศ. 2564
4.1.2) ควรกำหนดให้มีผู้ประสำนงำนหลักเพ่ือเป็นเจ้ำภำพเตรียมควำมพร้อมให้แก่ อปท. และให้
คำปรึกษำและควำมช่วยเหลือแก่ อปท. ในลักษณะพเี่ ลี้ยงทใ่ี หบ้ รกิ ำรจุดเดยี วเบ็ดเสร็จ มีช่องทำงท่ีหลำกหลำย
เพ่ือรองรบั กำรเข้ำใช้บริกำรของ อปท. จำกทัว่ ประเทศ
4.1.3) ควรพฒั นำระบบสำรสนเทศเพ่ือกำรจัดทำงบประมำณของ อปท. (ระบบ อปท.: BB LAO) โดย
นำประสบกำรณ์จำกกำรจัดทำงบประมำณและข้อมูลย้อนกลับจำก อปท. มำพัฒนำระบบให้เป็นมิตรกับ
ผู้ใช้งำน (user friendly) และควรเช่ือมโยงกับระบบสำรสนเทศที่เก่ียวข้อง เพื่อลดภำระของกำรทำงำนท่ี
ซ้ำซ้อนและสนับสนุนให้เกิดกำรบูรณำกำรเพื่อให้หน่วยงำนท่ีเกี่ยวข้องสำมำรถเข้ำถึงฐำนข้อมูลและใช้
ประโยชนร์ ่วมกันได้
4.1.4) ควรกำหนดหลักเกณฑ์กำรจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. ให้สอดคล้องช่วงเวลำกำรจัดทำ
งบประมำณตำมปฏิทินงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีเพื่อใช้ หลักเกณฑ์ดังกล่ำวสำหรับพิจำรณำคำขอต้ัง
งบประมำณรำยจำ่ ยและจัดสรรงบประมำณในลักษณะเงินอุดหนุนแก่ อปท. ให้สอดคลอ้ งตำมหลักเกณฑอ์ ย่ำง
มีประสทิ ธิผล
4.2) ข้อเสนอแนะทางเลือกของรูปแบบและวิธีการขอต้ังงบประมาณรายจ่ายประจาปีเพื่อ
สนบั สนุน อปท. ท่ีสอดคล้องตามนัยพระราชบญั ญัตวิ ธิ ีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 การกระจายอานาจการ
ปกครองและลกั ษณะของการดาเนนิ งานตามภารกจิ ของ อปท. โดยหน่วยงำนทเ่ี ก่ยี วข้องควรดำเนนิ กำรดงั นี้

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หนำ้ 71 สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น

4.2.1) ควรพัฒนำรูปแบบและวิธีกำรขอตัง้ งบประมำณรำยจำ่ ยประจำปีเพื่อสนบั สนุน อปท. ให้มคี วำม
ง่ำย (simplicity) ตอ่ กำรใชง้ ำนของบุคลำกรท้องถ่ิน และสำมำรถเป็นเครื่องมือกำหนดทิศทำงกำรใช้ทรัพยำกร
ของ อปท. อย่ำงมปี ระสทิ ธิภำพ ค้มุ คำ่ และเกิดประสิทธผิ ล

4.2.2) ควรพัฒนำรูปแบบและวิธีกำรขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีเพื่อสนบั สนุน อปท. ท่ีส่งเสริม
กำรจดั ทำงบประมำณแบบมีสว่ นร่วมซงึ่ สอดคล้องกับหลักกำรกระจำยอำนำจกำรและลกั ษณะของ
กำรดำเนินงำนของ อปท. เพื่อเปิดให้ อปท. จัดทำหรือทบทวนแผนพัฒนำท้องถ่ินและคำขอต้ังงบประมำณ
รำยจ่ำยประจำปีโดยให้สมัชชำพลเมือง องค์กรชุมชน และภำคประชำสังคมในพ้ืนท่ีเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำร
พิจำรณำตัดสินใจเพ่ือตอบสนองปัญหำและประโยชน์ของประชำชนในท้องถ่ิน (local interest) ท่ีมีควำม
หลำกหลำยไดอ้ ย่ำงมปี ระสิทธผิ ลและยัง่ ยนื

5.2 การศึกษา เร่ือง ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพ่ือการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอุดหนุน
ใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ตามภารกิจถ่ายโอน กรณศี กึ ษา โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบล

กำรศึกษำมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษำวิเครำะห์รูปแบบของกำรขอต้ังและรับกำรจัดสรรงบประมำณ
รำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนนุ ให้แก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) ตำมภำรกจิ ถ่ำยโอน กรณีศึกษำโรงพยำบำล
ส่งเสริมสุขภำพตำบล (รพ.สต.) ในปัจจุบัน และปัญหำอุปสรรค และเพื่อสังเครำะ ห์ข้อมูลและจัดทำ
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบำยสำหรับกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. ตำมภำรกิจถ่ำย
โอน กรณีศึกษำรพ.สต. ทสี่ อดคลอ้ งกับลกั ษณะของกำรดำเนนิ งำนภำยใต้สังกัด อปท. โดยคำนึงถึงกำรปกครอง
ตนเองภำยใต้หลักกำรกระจำยอำนำจ ควำมทั่วถงึ เป็นธรรม และมีธรรมำภบิ ำล

กำรศกึ ษำพบว่ำ รพ.สต. ซึ่งเป็นหนว่ ยบริกำรทำงสำธำรณสุขระดับปฐมภูมิที่มีภำรกิจหลักในกำรผสมผสำน
ทง้ั บรกิ ำรรักษำพยำบำล สงเสริมสขุ ภำพและปองกันโรคในระดบั ตำบล ซงึ่ เปนส่วนหน่ึงของระบบบริกำรสุขภำพระดับ
พื้นท่ีที่ใกลชิดประชำชน ท้ังน้ี ภำยหลังกำรกระจำยอำนำจด้ำนสำธำรณสุขจำกส่วนกลำงไปสู่ท้องถ่ิน ซ่ึงมุ่งถ่ำย
โอนภำรกิจ บุคลำกร และงบประมำณจำกกระทรวงสำธำรณสุขไปสังกัด อปท. อย่ำงไรก็ดี ในช่วง 9 ปี (พ.ศ.
2551 – 2559) มีกำรถ่ำยโอน รพ.สต. ไปสังกัด อปท. 32 แห่ง ใน 3 ประเภท ไดแ้ ก่ เทศบำล องค์กำรบริหำร
สว่ นตำบล และเมืองพัทยำ มจี ำนวน รพ.สต. ท่ีถ่ำยโอนทง้ั ส้ิน 51 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 0.005 ของทงั้ หมด
ซ่ึงเป็นสัดส่วนร้อยละที่น้อยมำก โดยปัญหำอุปสรรคประกำรหนึ่งมำจำกควำมไม่เช่ือม่ันต่อกำรจัดสรร
งบประมำณและทรัพยำกรเพ่ือสนบั สนนุ กำรดำเนนิ งำน รพ.สต. หลงั กำรถำ่ ยโอนใหแ้ ก่ อปท.

รูปแบบของกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. ตำมภำรกิจถ่ำยโอน
กรณีศึกษำ รพ.สต. ในปัจจุบัน โดยพบว่ำพระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 มำตรำ 4 กำหนดให้
อปท. เป็นหน่วยรับงบประมำณ ทำให้มีสิทธิ หน้ำที่และอำนำจ รวมทั้งควำมรับผิดชอบด้ำนงบประมำณของ
ตนเองซง่ึ รวมถึงกำรขอต้ังและได้รับจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยด้วย และตำมมำตรำ 29 ของกฎหมำยดังกล่ำว
โดย อปท. สำมำรถยื่นคำขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำยต่อกระทรวงมหำดไทยเพ่ือเสนอต่อสำนักงบประมำณ หรือ
ย่ืนคำขอโดยตรง และเป็น “เงินอุดหนุน” โดยในปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 สำนักงบประมำณได้กำหนด
หลักเกณฑ์และวิธีกำรให้เทศบำลนครและเทศบำลเมอื งยื่นคำขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำยต่อกระทรวงมหำดไทย
โดยตรงในระบบสำรสนเทศเพื่อกำรบริหำรงบประมำณของ อปท. รวมท้ังให้กรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถ่ิน
รวบรวมและให้ควำมเห็นประกอบกำรพิจำรณำ เพื่อย่ืนคำขอต้ังงบประมำณดังกล่ำวต่อสำนักงบประมำณ
เชน่ เดียวกบั องค์กำรบริหำรสว่ นจงั หวัด ซึ่งย่ืนคำขอต้งั ฯ ด้วยวธิ ีกำรดงั กลำ่ วตงั้ แต่ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หนำ้ 72 สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะห์งบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่

นอกจำกได้รับจัดสรรงบประมำณรำยจำ่ ยเป็นเงนิ อุดหนนุ ใหแ้ ก่ อปท. สำหรับสนับสนนุ กำรดำเนินงำน
แล้ว รพ.สต. ท่ีถ่ำยโอนยังได้รับงบประมำณและทรัพยำกรจำกแหล่งทุนอ่ืน ได้แก่ สำนักงำนหลักประกัน
สขุ ภำพแหง่ ชำติ อปท. และผรู้ ับบรกิ ำร เปน็ ต้น

ปัญหำอุปสรรคของกำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. สำหรับเป็นค่ำใช้จ่ำย
ดำเนินงำนของ รพ.สต. ที่ได้รับถ่ำยโอน ได้แก่ 1) เทศบำลตำบลและองค์กำรบริหำรส่วนตำบล ซึ่งเป็น อปท.
ส่วนใหญ่ที่ได้รับถ่ำยโอน รพ.สต. ยังต้องขอต้ังและรับจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุนผ่ำนกรม
ส่งเสริมกำรปกครองท้องถ่นิ ซึ่งเปน็ รำชกำรส่วนกลำง รูปแบบวธิ ีกำรดงั กล่ำวมีส่วนทำให้งบประมำณทจี่ ัดสรรไม่
สอดคล้องกับปัญหำและควำมต้องกำรของท้องถ่ินต่ำง ๆ ซึ่งมีควำมแตกต่ำงหลำกหลำยตำมภูมิสังคม
2) กำรจดั สรรงบประมำณรำยจ่ำยเพือ่ สนับสนุน อปท. ตำมภำรกจิ ถ่ำยโอนด้ำนสำธำรณสุขเป็นเงินอดุ หนุนทว่ั ไปแบบ
คงที่ในจำนวนเท่ำกันเป็นข้อจำกัดแก่ รพ.สต.ขนำดใหญ่ ซ่ึงได้รับไม่เพียงพอกับปริมำณงำน 3) กำรจัดสรร
งบประมำณรำยจ่ำยเพ่ือสนับสนุน อปท. ตำมภำรกิจถ่ำยโอนด้ำนสำธำรณสุขเป็นเงินอุดหนุนเฉพำะกิจซึ่งมี
จำนวนจำกัด ทำให้ไม่สำมำรถจัดสรรให้แก่ อปท. ตำมท่ีเสนอขอได้ทั้งหมด ดังนั้น จึงใช้วิธีเลือกจัดสรรตำม
ควำมจำเป็นเหมำะสม ซ่ึงพบกำรจัดสรรที่กระจุกตัวใน อปท. บำงแห่ง และไม่มีนำเงินนอกงบประมำณขอ ง
อปท. มำร่วมจ่ำยสมทบ 4) รูปแบบ วิธีกำร และหลักเกณฑ์กำรจ่ำยเงินกองทุนหลักประกันสุขภำพแห่งชำติ
ให้แก่ รพ.สต.ที่ถ่ำยโอน จำกหน่วยบริกำรประจำบำงส่วนมีควำมล่ำช้ำ ไม่สะท้อนปริมำณกำรให้บริกำรและต้นทุน
ของ รพ.สต. รวมทง้ั ใหค้ วำมสำคัญกบั กำรจ่ำยเงนิ เพ่ือแกไ้ ขมำกกว่ำป้องกันปัญหำด้ำนสขุ ภำพ 5) ข้อจำกัดดำ้ น
จดั ซ้อื จัดจ้ำง กำรบริหำรทำงกำรเงนิ กำรควบคมุ งบประมำณ กำรบริหำรสินทรพั ย์ และ 6) ข้อจำกดั อ่ืนๆ

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสาหรับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเป็นเงินอุดหนุนให้แก่ อปท.ตาม
ภารกจิ ถา่ ยโอน กรณศี ึกษา รพ.สต. มีดงั นี้

1) ควรพัฒนำรปู แบบของกำรย่ืนคำขอต้ังงบประมำณรำยจ่ำย โดยให้ อปท. ในฐำนะหน่วยรับงบประมำณย่ืน
คำขอต้ังงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุนต่อกระทรวงมหำดไทย เพ่ือยื่นต่อสำนักงบประมำณ หรือขอต้ังและรับ
กำรจัดสรรงบประมำณโดยตรง ตำมมำตรำ 4 และ 29 ของพระรำชบัญญัตวิ ิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 และ
มีควำมสอดคล้องกับกำรปกครองตนเองตำมหลักกำรกระจำยอำนำจซึ่งสนับสนุนให้ อปท. มีอิสระ เกิดควำม
คล่องตัวในกำรบริหำรงบประมำณ และสำมำรถเปิดให้ประชำชนมีส่วนร่วมในกำรพิจำรณำตัดสินใจนำ
งบประมำณไปใช้จำ่ ยได้ เชน่ กำรอุดหนนุ งบประมำณในลักษณะทว่ั ไปและไม่กำหนดเงื่อนไข (general grants)
เป็นวงเงินที่ชัดเจน (block grants) เป็นต้น ภำยใตค้ วำมรับผดิ ชอบที่ อปท. ตอ้ งดำเนินกำรให้เป็นไปตำมกรอบ
ภำรกิจ แผนพัฒนำทอ้ งถน่ิ ปัญหำ และควำมตอ้ งกำรของท้องถนิ่ ซึ่งแตกต่ำงกันตำมภูมสิ ังคม

2)ควรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุนทั่วไปให้แก่ อปท. ตำมภำรกิจถ่ำยโอน รพ.สต. ใน
จำนวนที่แน่นอนตำมปริมำณงำน ซึ่งกำหนดจำกเป้ำหมำย ซึ่งจำแนกตำมประเภทและขนำดเป็นเล็ก กลำง
และใหญ่ เพ่ือให้ รพ.สต. มีควำมมั่นคงด้ำนรำยได้ และได้รับจัดสรรงบประมำณท่ีสอดคล้องกับปริมำณงำนที่
แตกต่ำงกัน สำมำรถวำงแผนกำรจัดกำรทรัพยำกรและรำยได้ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ คุ้มค่ำ และเกิด
ประสิทธิผล และหลังกำรใช้จ่ำยงบประมำณตำมวัตถุประสงค์แล้ว หำกมีเงินเหลือจ่ำย ควรอนุญำตให้เก็บเงิน
เหลือจ่ำยดงั กลำ่ วไวใ้ ชจ้ ำ่ ยในปีงบประมำณต่อไปและไมต่ ้องนำสง่ เงนิ เหลือจ่ำยดังกลำ่ วเปน็ รำยได้แผ่นดนิ

3) กำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุนเฉพำะกิจให้แก่ อปท. ตำมภำรกิจถำ่ ยโอน รพ.สต.
สำหรับเป็นงบลงทนุ เพ่อื ยกระดับควำมสำมำรถในกำรใหบ้ ริกำร ควรจดั สรรในลักษณะ “เงนิ อุดหนุนเฉพำะด้ำน

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หนำ้ 73 สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ

(sectoral block grants)” โดยเป็นเงินอุดหนุนทั่วไปแต่กำหนดเง่ือนไขให้นำเงินไปใช้จ่ำยตำมวัตถุประสงค์ท่ี
กำหนด และควรกำหนดหลักเกณฑใ์ ห้ อปท. รว่ มจ่ำยเงินสมทบซึ่งเปน็ กำรเสริมสร้ำงจติ สำนึกควำมเปน็ เจำ้ ของ
รพ.สต. ใหแ้ กทอ้ งถิน่

4) ควรจัดสรรเงินอุดหนุนเพิ่มเติมสำหรับ อปท. ที่ตั้งในเขตเมืองใหญ่หรือพ้ืนที่แหล่งท่องเท่ียวและต้อง
รับภำระใหบ้ รกิ ำรสำธำรณะด้ำนสุขภำพแกผ่ ู้ใชบ้ ริกำรนอกพ้ืนทจ่ี นเกินขีดควำมสำมำรถ (Spillover)

5) ควรทบทวน ศึกษำ และวิเครำะห์โครงสร้ำงรำยได้และรำยจ่ำยของ อปท. ที่เหมำะสมในอนำคต
เพอื่ ปรับปรุงและพัฒนำรำยไดใ้ หเ้ พยี งพอสำหรับจดั ทำบริกำรสำธำรณะด้ำนสุขภำพ รวมทั้งจูงใจให้ รพ.สต. ใน
สังกัดของกระทรวงสำธำรณสุขสมัครใจเข้ำสู่กระบวนกำรถ่ำยโอนให้แก่ อปท. และเป็นกำรพัฒนำสัดส่วน
รำยได้ อปท. ตอ่ รำยได้สทุ ธขิ องรัฐบำลให้เพิ่มขนึ้ ในอตั รำใกล้เคยี งรอ้ ยละ 35

6) ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้ รพ.สต. ท่ีถ่ำยโอนให้แก่ อปท. ได้รับกำรพัฒนำตำมแนวทำงและ
มำตรฐำนของ รพ.สต. ติดดำว เพื่อพัฒนำสู่ควำมเป็นเลิศ 4 ด้ำน ซ่ึงรวมถึงระบบบริหำรจัดกำรสรรทรัพยำกร
ของ รพ.สต. (คน เงิน ของ) ใหเ้ พียงพอตอ่ กำรดำเนนิ งำนให้เกดิ ควำมสำเร็จ

7) ควรพัฒนำระบบวิธีกำรงบประมำณ กำรจัดซ้ือจัดจ้ำง และกำรบัญชี ของ อปท. โดยกำรทบทวน
ปรับปรุง และแก้ไขกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ให้ทันกับสภำพกำรณ์ในปัจจุบัน และเหมำะสมกับกำรปฏิบัติงำน
ของ อปท. ภำยใตร้ ูปแบบกำรปกครองตนเองตำมหลักกำรกระจำยอำนำจ

สำนักงบประมำณของรฐั สภำ หนำ้ 74 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรบั คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น

บรรณานกุ รม

กระทรวงมหำดไทย. (2563). หนังสือกระทรวงมหำดไทย ด่วนท่ีสุดที่ มท 0808.3/ว 3843 ลงวันท่ี 30
มิถุนำยน 2563 เรื่อง แนวทางการลดภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างตาม พระราชกฤษฎีกาลดภาษีสาหรับ
ภาษที ี่ดินและส่งิ ปลูกสรา้ งบางประเภท พ.ศ. 2563.

คณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญ. (2562). ความมุ่งหมายและคาอธิบายประกอบรายมาตราของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 (ปรบั ปรุงข้อมูล ณ วันที่ 17 ตลุ าคม 2562. กรุงเทพฯ : สำนักกำรพิมพ์
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร.

เจริญพงษ์ ศุภธีระธำดำ. (2562). การศึกษาผลกระทบของพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ. 2561 ท่ีมี
ต่อรูปแบบและวิธีการขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจาปีเพื่อสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่ น.
รำยงำนวชิ ำกำรฉบับที่ 9/2562. กรงุ เทพฯ: สำนกั กำรพิมพ์ สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผ้แู ทนรำษฎร

รัฐธรรมนญู แหง่ รำชอำณำจกั รไทยพทุ ธศักรำช 2560. (6 เมษำยน 2560). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่มที่ 134, ตอน
ท่ี 40 ก : 1 – 90.

สถำบันพระปกเกล้ำ. (2547). สารานุกรมการปกครองท้องถิ่น หมวดท่ี 3 พัฒนาการและรูปแบบการปกครอง
ท้องถน่ิ ไทย ลาดับท่ี 3 เรอ่ื ง เทศบาล. นนทบุรี: สถำบันพระปกเกล้ำ.

สมชัย จิตสุชน. (2558). ความเหล่ือมล้าในสังคมไทย:แนวโน้ม นโยบายและแนวทางขับเคล่ือนนโยบาย.
กรุงเทพฯ : สถำบนั วจิ ัยเพือ่ กำรพฒั นำประเทศไทย.

สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ. (2544). พระราชบัญญัติกาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอานาจให้แก่
องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ พ.ศ. 2542. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.

สำนักงบประมำณ, สำนักนำยกรัฐมนตรี. (2562ก).คู่มือปฏิบัติการจัดทาคาของบประมาณรายจ่ายประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2563. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.
. (2562ข).ค่มู ือปฏิบตั กิ ารจดั ทาคาของบประมาณรายจา่ ยประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.
. (2563).บันทึกวิเคราะห์สรุปสาระสาคัญร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564.
. (2563ก). งบประมาณโดยสังเขป ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564. กรุงเทพฯ : บรษิ ัท แพค เพรส จำกดั .
. (2563ข). เอกสำรงบประมำณ ฉบับที่ 3 งบประมำณรำยจ่ำย ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 เล่มที่ 8
กระทรวงมหำดไทย. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั รำไทยเพรส จำกัด.
. (2563ค). เอกสำรงบประมำณ ฉบับท่ี 3 งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 เล่มที่
11 (1) องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ (1). กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั แพค เพรส จำกดั .
. (2563ง). เอกสำรงบประมำณ ฉบับที่ 3 งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 เล่มท่ี
11 (2) องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ (2). กรุงเทพฯ : บรษิ ทั แพค เพรส จำกดั .
. (2563จ). เอกสำรงบประมำณ ฉบับท่ี 3 งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564 เล่มที่
11 (3) องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น (3). กรุงเทพฯ : บรษิ ทั แพค เพรส จำกดั .

สำนกั งบประมำณของรฐั สภำ หน้ำ 75 สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

วิเคราะหง์ บประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่

. (2563ฉ). เอกสำรงบประมำณ ฉบับท่ี 7 รำยงำนสถำนะและแผนกำรใช้จ่ำยเงินนอกงบประมำณของ
หน่วยรบั งบประมำณ ประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564. กรงุ เทพฯ : บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง จำกดั .
สำนักงบประมำณของรัฐสภำ. (2563). การวิเคราะห์แนวทางการจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564. รำยงำนฉบับที่ 8/2563. กรุงเทพฯ: สำนักกำรพิมพ์ สำนักงำนเลขำธิกำรสภำ
ผ้แู ทนรำษฎร
.(2563ข).การวเิ คราะหร์ ่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564.รำยงำน
ฉบบั ท่ี 12/2563. กรุงเทพฯ: สำนกั กำรพมิ พ์ สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผูแ้ ทนรำษฎร
.(2563ข).กำรวเิ ครำะหร์ ่ำงพระรำชบัญญัติงบประมำณรำยจ่ำยประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2564.รำยงำน
ฉบบั ท่ี 12/2563. กรงุ เทพฯ: สำนกั กำรพิมพ์ สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร
สำนักนโยบำยและแผน สำนักงำนปลัดกระทรวงมหำดไทย. (2556). แผนยุทธศาสตร์เฉพาะด้าน
กระทรวงมหาดไทย 20 ปี (พ.ศ. 2557 – 2566). ม.ป.ท.: ม.ป.พ.
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร. (2562). รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาร่าง
พระราชบัญญตั งิ บประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เล่มที่ 1. กรงุ เทพมหำนคร: สำนัก
กำรพิมพ์ สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร.

สำนักงบประมำณของรัฐสภำ หน้ำ 76 สำนกั งำนเลขำธกิ ำรสภำผู้แทนรำษฎร

เอกสารสาหรับคณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564


Click to View FlipBook Version