The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา
โดยใช้พื้นที่เป็นฐาน ( Area base )
โรงเรียนวัดจันทร์ตะวันออก อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
ด้วยการประยุกต์ใช้รูปแบบการประเมิน
ซิปป์ (CIPP model) ปีการศึกษา 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tippaluk.ss, 2021-05-23 22:00:46

รายงานวิจัย

การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา
โดยใช้พื้นที่เป็นฐาน ( Area base )
โรงเรียนวัดจันทร์ตะวันออก อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
ด้วยการประยุกต์ใช้รูปแบบการประเมิน
ซิปป์ (CIPP model) ปีการศึกษา 2563

TRAVEL

FLYER TEMPLATEการประเมินหลกั สูตรสถานศกึ ษา

โดยใชพ้นื ท่เี ปนฐาน ( Area base )

BOOK NOW
โรงเรยี นวัดจนั ทรตะวันออก อำเภอเมอื ง จงั หวดั พิษณโุ ลก
ดวยการประยกุ ตใชรปู แบบการประเมนิ
ซิปป (CIPP model) ปการศกึ ษา 2563

SALE OFF

$550

YOUR TEXT HERE

Lorem Ipsum is simply dummy text of the printing and
typesetting industry. Lorem Ipsum has been the try san

นายสัมฤทธ์ิ กุลคง และคณะครูstandard dummy text ever.
YOUR TEXT HERE โรงเรยี นวัดจนั ทรตะวนั ออก
Lorem Ipsum is simply dummy text of the printing

and typesetting industry.

pLYorOirneUtminRgIpTasnuEdmXtiTyspsHeimsEeptRtlyiEndguimndสmuำysนttreกั yx.งtาoนf เtขheตพโ้นื รงทเกี่รียารนศวกึ ัดษจานั ปทรระตถะมวศันึกอษอากพิษณุโลก เขต 1
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

+ 012 3456 789

WWW.YOUR COMPANY.COM

รายงาน ิจัย

การประเมนิ ลัก ูตร ถาน ึก า โดยใชพ้นื ทเ่ี ปนฐาน (Area base)
โรงเรียน ดั จันทรตะ นั ออก อาํ เภอเมอื ง จงั ดั พิ ณโุ ลก ด ยการ
ประยกุ ตใชรูปแบบการประเมนิ ซิปป (CIPP model) ปการ กึ า 2563

นาย ัมฤทธิ์ กุลคง
และคณะครูโรงเรียน ดั จนั ทรตะ นั ออก

โรงเรียน ดั จนั ทรตะ นั ออก
ํานักงานเขตพื้นท่ีการ ึก าประถม ึก าพิ ณโุ ลก เขต 1

ํานักงานคณะกรรมการการ ึก าข้นั พ้ืนฐาน
กระทร ง ึก าธิการ

Research report
School curriculum assessment using the area base

Of Watjantawanook School Mueang District
Phitsanulok Province With the application of the

CIPP evaluation model, 2020

Mr.Sumrit Gulkong and others

Watjantawanook School
Phitsanulok Primary Educational Service Area Office 1

Office of the Basis Education Commission
Ministry of Education

บทคดั ยอ่

รายงานการประเมิน ลัก ูตร ถาน ึก าโรงเรียน ัดจันทร์ตะ ันออกตาม ลัก ูตรแกนกลาง
การ ึก าขัน้ พนื้ ฐาน พ. .๒๕๕๑(ฉบบั ปรับปรงุ พ. . ๒๕๖๑) ฉบับนี้ จัดทาข้ึนโดยมี ัตถุประ งค์ เพ่ือประเมนิ
ลัก ูตร ถาน ึก าข้ันพื้นฐาน ของโรงเรยี น ัดจันทรต์ ะ ันออก ในองค์ประกอบทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ ๑. ด้าน
บริบท ๒. ดา้ นปจั จัยการใช้ ลกั ตู ร ๓. ดา้ นกระบ นการใช้ ลัก ตู ร และ ๔. ด้านผลผลติ กลุ่มเป้า มาย ที่ใช้
ในการประเมนิ ประกอบด้ ย ผู้บริ ารและครผู ู้ อน คณะกรรมการ ถาน กึ าข้นั พ้ืนฐาน ผปู้ กครองนกั เรยี น
และนักเรียนช้ันประถม ึก าปที ่ี ๓ นักเรียนช้ันประถม ึก าปที ี่ ๖ และนักเรียนช้ันมัธยม ึก าปีท่ี ๓ ร ม
ทงั้ ิน้ ๑๔๔ คน โดยใช้ ิธีการ มุ่ แบบแบ่งชน้ั อยา่ งเปน็ ัด ่ น โดยใช้ แบบ อบถามเพอ่ื การประเมิน ลัก ตู ร
ถาน ึก า จาน น ๔ ฉบับ ได้แก่แบบ อบถามเพ่ือการประเมิน ลัก ูตร ถาน ึก า า รับผู้บริ ารและ
ครผู ู้ อน นักเรยี น ผปู้ กครองนกั เรียน และคณะกรรมการ ถาน ึก าขั้นพื้นฐาน

ผลการประเมนิ พบ ่า
๑. ดา้ นบริบท พบ า่ ผู้บริ ารและครผู ู้ อนมีค ามคิดเ น็ อยใู่ นระดับ มาก เม่ือพจิ ารณาเปน็

รายดา้ น พบ ่า ดา้ นทผ่ี ู้บริ ารและครผู ู้ อนเ ็นด้ ยในระดบั มากท่ี ุด คอื องคป์ ระกอบท่ี ๒ โครง รา้ ง
ลกั ตู ร ถาน กึ า และองคป์ ระกอบที่ ๓ คาอธิบายราย ิชา

๒. ดา้ นปจั จยั การใช้ ลกั ตู ร พบ ่า ทุกกลมุ่ เปา้ มาย มีค ามคิดเ ็นเก่ยี กบั ด้านปจั จัยการใช้
ลกั ตู ร อยใู่ นระดบั มาก

๓. ด้านกระบ นการใช้ ลกั ตู ร พบ า่ ทุกกลมุ่ เป้า มาย มีค ามคดิ เ ็นเก่ีย กบั ด้าน
กระบ นการใช้ ลกั ตู ร มคี ามเ น็ อยใู่ น ระดับมาก

๔. ดา้ นผลผลติ พบ ่า ทกุ กลุม่ เป้า มาย มคี ามคิดเ น็ เกี่ย กบั ด้านผลผลติ มีค ามเ ็นอยูใ่ น
ระดับมาก

Abstract

Evaluation Report of Watjantawanook School curriculum according to the core
curriculum of basic education B.E. 2551 (Revised Edition 2018), this edition has been
prepared with the objective To assess the curriculum of basic education institutions Of
Watjantawanook School The four components were: 1. Context, 2. Curriculum Utilization
Factors, 3. Curriculum-Based Process, and 4. Productivity Target Groups. The evaluation
consists of administrators and teachers. Basic Education Commission A total of 144 parents,
students and elementary school students, grade 6 students, and MathayomSuksa 3
students were stratified randomly by using questionnaires for assessing curriculum,
educational establishments. 4 issues: questionnaire for curriculum evaluation, educational
institutions for administrators and teachers, students, parents, students And board Basic
school

The evaluation results showed that
1. In context, it was found that administrators and teachers had opinions at a
high level. When considering each aspect, it was found that the area that administrators and
teachers agreed at the highest level was component 2, curriculum structure, educational
institutions. And component 3 course description
2. In terms of curriculum use factors, it was found that all target groups there
are opinions about the course utilization factor. High level
3. On the process of using the curriculum, it was found that all target groups
Have opinions about the course process Has a high level of opinion
4. Productivity, it was found that all target groups Have feedback on productivity
Have a high level of opinion



บทที่ ๑

บทนำ

ค ำมเปน็ มำและค ำม ำคญั ของปญั ำ

กระทร ง ึก าธิการมีนโยบายในการพัฒนาเยา ชนของชาติ ู่โลก ยุค ต รร ท่ี ๒๑ โดย
่งเ ริมใ ้ผู้เรียนมีคุณธรรมรักค ามเป็นไทย มีทัก ะการคิด ิเคราะ ์ คิด ร้าง รรค์ ทัก ะ ามารถทางาน
ร่ มกับผู้อ่ืนและ ามารถอยู่ร่ มกับผู้อื่นใน ังคมโลกได้อย่างมีค าม ุขจึงมีการทบท น ลัก ูตรการ ึก าขัน้
พ้ืนฐานพุทธ ักราช ๒๕๕๑ นัก ิชาการและมาตรฐานการ ึก า(๒๕๕๐, น้า๑๓) กล่า ถึง ปัญ าการ ร้าง
และพัฒนา ลกั ูตรการ กึ าขน้ั พื้นฐานพุทธ ักราช ๒๕๔๔ า่ บุคลากรขาดค ามรู้ค าม เขา้ ใจในการ ร้าง
และพัฒนา ลัก ูตร ครูเข้าใจเก่ีย กับการจัดทา ลัก ูตรการ ึก าไม่ชัดเจนในเร่ืองการจัดทา ลัก ูตร
ถาน ึก าการจัดทา าระเพิ่มเติม การจัดทาโครง ร้าง ลัก ูตร ถาน ึก าคุณลัก ณะอันพึงประ งค์ของ
นักเรียน ครูขาดค ามม่ันใจในการจัดทา ลัก ูตร ถาน ึก า ชุมชนเข้ามามี ่ นร่ มน้อย เกี่ย กับ ลัก ูตร
ด้านบุคลากร พบ ่า ขาด บุคลากรที่มีค ามรู้ค ามชานาญในการ ิเคราะ ์ ลัก ูตรของแต่ละกลุ่ม าระ
ปญั าดา้ นการเรยี นการ อนครูบางคนยงั ไม่ปรับพฤติกรรมการ อนใ ้ อดคล้องกับ ลกั ูตรขาดเทคนิค. การ
อนท่ี ลาก ลาย ขาดค ามรู้ค ามเข้าใจ น ัตกรรมการ อน และใช้ ื่อเทคโนโลยีมาประกอบการ อนน้อย
กิจกรรมการฝึกคิด ิเคราะ ์ของนักเรียนยังมีน้อย ครูไม่ อนตามแผนการจัดการเรียนรู้ และไม่นาผลการ
ประเมนิ การเรยี นมาปรับปรุงการเรียนการ อน ซง่ึ อดคลอ้ งกบั ผลการ ิจยั ทดลองกระบ นการ ร้าง ลัก ูตร
ถาน กึ าแบบอิงมาตรฐาน ระยะที่ ๑ ( านกั ิชาการและมาตรฐาน ๒๕๕๐, น้า ๕)

ปัญ าการจัดการเรียนการ อนของครูยังไม่เปลี่ยนแปลง คือเน้นเน้ือ า มากก ่ากระบ นการเรียนรู้
อน นัง ือโดยยึด นัง ือเรียนและแบบฝึก ัดเป็น ลัก จึงไป ู่การพัฒนา ลัก ูตรแกนกลางการ ึก าขั้น
พื้นฐานพุทธ ักราช ๒๕๕๑ ใ ้เ มาะกับค ามแตกต่างระ ่างบุคคลเพ่ือใ ้การจัดการ ึก าขั้นพื้นฐาน
อดคล้องกับ ภาพค ามเปล่ียนแปลงทางเ ร ฐกจิ ังคมและค ามเจริญก้า นา้ ทาง ิทยาการ เป็นการ รา้ ง
กลยุทธใ์ ม่ ในการพัฒนาคุณภาพการ ึก าใ ้ ามารถตอบ นองค ามตอ้ งการของบุคคล งั คมไทยผู้เรียนใ ้
มี ักยภาพในการแข่งขันและร่ มอย่าง ร้าง รรค์ ใน ังคมโลกปลูกฝังใ ้ผู้เรียนมีจิต านึกในค ามเป็นไทย มี
ระเบียบ ินัย ประโยชน์ ่ นร ม และยึดมัน่ ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระม าก ตั รยิ ์ทรงเปน็
ประมขุ โดยมกี ารกา นด ิ ยั ทั น์ จุด มาย มรรถนะ าคัญของผเู้ รียน คุณลัก ณะอันพึงประ งค์ มาเรยี นรู้
และตั ช้ี ัดที่ชัดเจน เพ่อื ใชเ้ ป็นทิ ทางในการจัดทา ลัก ูตรการเรยี นการ อนนอกจากนน้ั ยงั กา นดโครง ร้าง
เ ลาเรยี นพ้ืนฐานของแตล่ ะกล่มุ าระการเรียนรู้ ในแต่ละช้ันปีไ ใ้ น ลกั ตู รแกนกลางการ ึก าขน้ั พื้นฐานและ
เปิดโอกา ใ ้ ถาน ึก าเพมิ่ เตมิ เ ลาเรียนไดต้ ามค ามเ มาะ ม และจุดเน้น อกี ทง้ั ได้ปรับกระบ นการ ัดและ
ประเมนิ ผลการเรียนรู้ เกณฑก์ ารจบการ ึก าแต่ละระดับ และเอก ารแ ดง ลกั ฐานทางการ ึก า ใ ้มคี าม
อดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้ และมคี ามชัดเจน ต่อการนาไปปฏบิ ตั ิ

ตามท่ีกระทร ง ึก าธิการได้ออกคา ั่งท่ี พฐ..๑๒๓๔/๒๕๖๐ เรื่องการใช้มาตรฐานการเรียนรู้
และ ตั ช้ี ดั กลุม่ าระการเรียนรู้คณิต า ตร์ ิทยา า ตร์ และ าระภูมิ า ตร์ในกลุ่ม าระการเรียนรู้ ังคม
ึก า า นาและ ัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ. .๒๕๖๐) ตาม ลัก ูตรแกนกลางการ ึก าขั้นพ้ืนฐาน



พุทธ ักราช ๒๕๕๑ ลง ันที่ ๗ ิง าคม พ. .๒๕๖๐ เพ่ือใ ้การจัดการ ึก าขั้นพื้นฐาน อดคล้องกับการ
เปล่ียนแปลงทาง เ ร ฐกิจ ังคม ัฒนธรรม ภาพแ ดล้อมและค ามก้า น้าทาง ิทยา า ตร์และ
เทคโนโลยี เป็นการเ ริม ร้าง ักยภาพคนของชาติ ยกระดับคุณภาพการ ึก าในระดับ ากล อดคล้องกบั
ประเท ไทย ๔.๐ โลกใน ต รร ที่ ๒๑ และทัดเทียมกับนานาชาติ ผู้เรียนมี ักยภาพในการแข่งขันและ
ดารงชี ิตอย่าง ร้าง รรค์ในประชาคมโลก ตามปรัชญาของเ ร ฐกิจพอเพียง กา นดใ ้ทุกโรงเรียนเร่ิมใช้
ลัก ูตรนี้ ในระดับช้ัน ป.๑ และ ป.๔ ในปี การ ึก า ๒๕๖๒ และใ ้ครบทุกระดับช้ันในปีการ ึก า ๒๕๖๓
นัน้

เพื่อใ ้โรงเรียน ัดจันทร์ตะ ันออก ามารถใช้ ลัก ูตร ถาน ึก าขั้นพ้ืนฐาน พุทธ ักราช ๒๕๕๑
(ฉบับปรับปรุง พ. . ๒๕๖๑) ท่ี อดคล้องกับ ลัก ูตรแกนกลางดังกล่า จึงแต่งต้ังคณะกรรมการบริ าร
ลัก ูตรและงาน ิชาการโรงเรียน ัดจันทร์ตะ ันออกข้ึน จะเ ็นได้ ่าในการจัดการ ึก าของโรงเรียน ัด
จันทร์ตะ ันออกได้ออกแบบใ ้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มตาม ักยภาพ ของ ลัก ูตร ถาน ึก า
ตลอดจนโรงเรียนมีบทบาทท่ี าคัญในการจัดทา ลัก ูตร ถาน ึก า ตาม ลักการและเป้า มายของการจัด
การ ึก าของชาติ และดาเนินการนา ลัก ูตร ู่การปฏิบัติจัดการเรียนการ อนในชั้นเรียนทุกระดับอย่างมี
ประ ทิ ธภิ าพ มีการติดตามผลการใช้ ลกั ตู รอย่างตอ่ เนอ่ื งเป็นระยะเพอ่ื นาผลจากการติดตามมาใช้เปน็ ข้อมูล
พจิ ารณาปรบั ปรงุ ลัก ูตรใ ้มีคณุ ภาพ

ดังนน้ั การประเมนิ ลัก ตู ร ถาน ึก าจึงเปน็ กระบ นการ าคัญอยา่ ง น่ึงทม่ี ีบทบาทในการพฒั นา
ลัก ูตร เป็นกำรพิจารณาตร จ อบประ ิทธิภาพของ ลัก ูตร ่ามีคุณค่าเ มาะ ม รือไม่พิจารณาและ
ตร จ อบประ ิทธิภาพในการดาเนินงาน ฉะน้ันการประเมิน ลัก ูตร ถาน ึก าจึงค รประเมินอย่างรอบ
ด้าน ซึ่งจะช่ ยทาใ ้ได้ข้อมูลท่ีช่ ยใ ้ผู้ที่มี ่ นรับผิดชอบต่อ ลัก ูตรใช้เป็นแน ทางปรับปรุงและพัฒนา
ลัก ตู รตอ่ ไป

จากการ ึก า ิธีการประเมิน ลัก ูตร พบ ่า มีรูปแบบของการประเมิน ลัก ูตร ลายรูปแบบ
ด้ ยกัน โรงเรียน ัดจันทร์ตะ ันออก านักงานเขตพ้ืนท่ีการ ึก าประถม ึก าพิ ณุโลก เขต๑ได้เลือก
ประยุกต์ใช้รูปแบบการประเมินผลเชิงระบบ (Input Output Model) โดยการประเมิน ลัก ูตร ถาน ึก า
ขั้นพน้ื ฐาน ของโรงเรยี น ัดจันทรต์ ะ ันออก ในองค์ประกอบทง้ั ๔ ดา้ น ไดแ้ ก่ ๑. ด้านบริบท ๒. ด้านปจั จัยการ
ใช้ ลัก ูตร ๓. ด้านกระบ นการใช้ ลัก ูตร และ ๔. ด้านผลผลิต เพ่ือการนาไปประกอบการพิจารณา ู่
คาตอบ า่ ลกั ูตรมีค ามเ มาะ มเพียงใด. การดาเนนิ งานเปน็ ไปตามค ามม่งุ มายที่โรงเรียน างไ ้ รือไม่
มปี ัญ าและอุป รรคและมีข้อผิดพลาดในด้านใดบ้าง เพื่อ ามารถตัด นิ ใจได้ ่าค รมี การปรบั ปรงุ และพฒั นา
ลัก ูตรในด้านใด เพื่อใ ้ ลัก ูตร ถาน ึก าโรงเรียน ัดจันทร์ตะ ันออกเป็น ลัก ูตรที่ดี และมี
ประ ทิ ธิภาพต่อไป

ัตถุประ งค์ของกำรประเมิน

เพื่อประเมิน ลกั ูตร ถาน ึก าขั้นพื้นฐาน ของโรงเรยี น ัดจนั ทรต์ ะ นั ออก ใน
องค์ประกอบท้งั ๔ ด้าน ไดแ้ ก่

๑. ดา้ นบริบท



๒. ดา้ นปจั จัยการใช้ ลัก ูตร
๓. ดา้ นกระบ นการใช้ ลกั ตู ร
๔. ด้านผลผลิต

ขอบเขตกำรประเมิน

การประเมนิ ลกั ตู ร ถาน กึ าโรงเรยี น ัดจันทร์ตะ นั ออก งั กัด านกั งานเขตพน้ื ที่

การ ึก าประถม ึก าพิ ณโุ ลก เขต ๑ คร้งั นี้ มีขอบเขตของการประเมนิ ดงั น้ี

๑. กลุ่มเป้า มาย

กลมุ่ เปา้ มาย ที่ใช้ในการประเมินครัง้ น้ี ประกอบด้ ย

๑) ผบู้ ริ ารโรงเรยี น และครผู ู้ อน ๑๙ คน

๒) คณะกรรมการ ถาน ึก าข้ันพืน้ ฐาน ๕ คน

๓) ผู้ปกครองนักเรียน ใช้ ธิ ีการ มุ่ แบบแบ่งชน้ั อยา่ งเป็น ดั ่ น ๖๐ คน

๔) นกั เรียนชน้ั ประถม กึ าปีที่ ๓ ๒๐ คน

นักเรยี นชนั้ ประถม ึก าปที ี่ ๖ ๒๐ คน

นกั เรียนชน้ั มธั ยม ึก าปที ี่ ๓ ๒๐ คน

ร มทง้ั ิน้ ๑๔๔ คน

๒. ขอบเขตด้านเนื้อ า

เน้อื าการประเมินในคร้ังนี้ เป็นการประเมนิ ลัก ตู ร ถาน ึก าโรงเรยี น ัดจันทร์

ตะ ันออก งั กดั านักงานเขตพ้ืนท่กี าร ึก าประถม ึก าพิ ณโุ ลก เขต ๑ ประกอบด้ ยการประเมนิ

ทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่

๑. ด้ำนบริบท ประกอบด้ ย

องค์ประกอบที่ ๑ ่ นนา

๑.๑ ค ามนา

๑.๒ ิ ยั ทั น์

๑.๓ มรรถนะ าคัญของผูเ้ รียน

๑.๔ คณุ ลัก ณะอนั พึงประ งค์

องคป์ ระกอบท่ี ๒ โครง ร้าง ลกั ตู ร ถาน ึก า
๒.๑ โครง รา้ งเ ลาเรยี น
๒.๒ โครง ร้าง ลกั ตู รชั้นปี

องคป์ ระกอบท่ี ๓ คาอธบิ ายราย ิชา
องค์ประกอบที่ ๔ กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น
องค์ประกอบที่ ๕ เกณฑ์การจบการ กึ า



๒. ดำ้ นปจั จัยกำรใช้ ลัก ูตร ประกอบด้ ย
๑. ค ามพรอ้ มของนักเรียน
๒. ค ามพร้อมของครูผู้ อน
๓. ทกั ะการถา่ ยทอดของครู
๔. อ่ื การเรียนรู้
๕. เทคโนโลยี
๖. อ้ งเรียน
๗. อ้ งปฏิบตั ิการ
๘. เทคนิคการ อน
๙. การ ดั และประเมินผล
๑๐. โครงการ นบั นุน ลัก ตู ร
๑๑. กจิ กรรมเ ริม ลัก ตู ร
๑๒. การบริ ารจดั การ

๓. ด้ำนกระบ นกำรใช้ ลกั ตู ร
๑. กระบ นการจัดการเรียนรู้
๒. กระบ นการ ัดและประเมนิ ผล
๓. การนิเท ตดิ ตามการใช้ ลกั ตู ร
๔. การมี ่ นร่ มของชมุ ชน

๔. ดำ้ นผลผลติ
๑. คุณลัก ณะอันพึงประ งคข์ องนกั เรยี นทจี่ บการ ึก าเปน็ ไปตามเป้า มายท่ี

กา นด
๒. ผล ัมฤทธทิ์ างการเรียนเป็นไปตามเป้า มาย



ตำรำงที่ ๑ กรอบกำรประเมิน ลัก ูตร ถำน ึก ำ เคร่อื งมือเกบ็ ข้อมูล ผู้ประเมนิ
องคป์ ระกอบ แบบ อบถามเพ่ือ ๑.ผบู้ ริ าร ร.ร
ประเดน็ กำรประเมิน การประเมิน ลัก ูตร ครผู ู้ อน
๑. ด้ำนบริบท องค์ประกอบที่ ๑ ่ นนา ถาน กึ า
๑.ผ้บู ริ าร ร.ร
๒. ดำ้ นปจั จยั ๑.๑ ค ามนา แบบ อบถามเพอื่ ครูผู้ อน
กำรใช้ ลกั ูตร ๑.๒ ิ ยั ทั น์ การประเมิน ลกั ตู ร ๒.นักเรยี น
๑.๓ มรรถนะ าคญั ของผ้เู รยี น ถาน กึ า ๓.ผปู้ กครอง
๓. ดำ้ น ๑.๔ คุณลัก ณะอันพงึ ประ งค์ นกั เรยี น
กระบ นกำรใช้ องคป์ ระกอบท่ี ๒ โครง ร้าง ลกั ตู ร แบบ อบถามเพอื่ ๔.คณะกรรมการ
ถาน ึก า การประเมนิ ลัก ตู ร ถาน กึ าข้ัน
ลัก ตู ร ๒.๑ โครง ร้างเ ลาเรยี น ถาน ึก า พื้นฐาน
๒.๒ โครง รา้ ง ลัก ูตรช้นั ปี
องค์ประกอบท่ี ๓ คาอธบิ ายราย ิชา ๑.ผบู้ ริ าร ร.ร
องค์ประกอบท่ี ๔ กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ครูผู้ อน
องคป์ ระกอบที่ ๕ เกณฑ์การจบการ กึ า ๒.นักเรียน
๓.ผูป้ กครอง
๑. ค ามพร้อมของนกั เรียน นักเรยี น
๒. ค ามพร้อมของครผู ู้ อน ๔.คณะกรรมการ
๓. ทกั ะการถ่ายทอดของครู ถาน กึ าขน้ั
๔. อ่ื การเรยี นรู้ พ้ืนฐาน
๕. เทคโนโลยี
๖. อ้ งเรยี น
๗. ้องปฏบิ ัตกิ าร
๘. เทคนิคการ อน
๙. การ ดั และประเมินผล
๑๐. โครงการ นบั นนุ ลัก ตู ร
๑๑. กิจกรรมเ รมิ ลัก ูตร
๑๒. การบริ ารจัดการ
๑. กระบ นการจัดการเรยี นรู้
๒. กระบ นการ ัดและประเมินผล
๓. การนเิ ท ติดตามการใช้ ลัก ตู ร
๔. การมี ่ นร่ มของชุมชน



๔. ดำ้ นผลผลิต ๑. คณุ ลกั ณะอันพึงประ งคข์ อง แบบ อบถามเพ่ือ ๑.ผู้บริ าร ร.ร
นักเรียนที่จบการ ึก าเปน็ ไปตาม
เป้า มายท่กี า นด การประเมิน ลกั ตู ร ครผู ู้ อน

๒. ผล มั ฤทธิ์ทางการเรียนเป็นไปตาม ถาน กึ า ๒.ผ้ปู กครอง
เปา้ มาย
นักเรยี น

๓.คณะกรรมการ

ถาน ึก าข้ัน

พนื้ ฐาน

นยิ ำม พั ทเ์ ฉพำะ

โรงเรยี น มายถงึ โรงเรียน ัดจันทร์ตะ นั ออก งั กดั านักงานเขตพ้นื ที่การ กึ าประถม กึ า
พิ ณโุ ลก เขต ๑

ลัก ูตร ถาน กึ า มายถึง ลัก ูตร ถาน ึก าโรงเรียน ัดจันทร์ตะ นั ออก ปกี าร กึ า ๒๕๖๓
ทย่ี ดึ แน ทางตาม ลกั ูตรแกนกลางการ กึ าขั้นพน้ื ฐาน พุทธ กั ราช ๒๕๕๑

การประเมิน ลกั ตู ร มายถงึ การประเมนิ ลัก ูตร ถาน ึก าโรงเรยี น ดั จนั ทร์ตะ ันออก ปี
การ ึก า ๒๕๖๓ ที่ยึดแน ทางตาม ลัก ูตรแกนกลางการ ึก าขั้นพ้ืนฐาน พุทธ ักราช ๒๕๕๑

ผู้บริ ารโรงเรียน มายถึง ผ้อู าน ยการโรงเรียนโรงเรยี น ัดจันทร์ตะ นั ออก งั กัด านักงานเขต
พน้ื ทีก่ าร กึ าประถม กึ าพิ ณโุ ลก เขต ๑

คณะครู มายถึง ขา้ ราชการครู ครูผชู้ ่ ย และครูอัตราจา้ งที่ปฏิบัติการ อนในโรงเรยี น ดั จันทร์
ตะ ันออก งั กดั านกั งานเขตพน้ื ทก่ี าร ึก าประถม ึก าพิ ณุโลก เขต ๑

นกั เรยี น มายถงึ นักเรยี นที่ กึ าอยูใ่ นระดับประถม ึก า รือมธั ยม ึก าโรงเรยี น ัดจนั ทร์
ตะ ันออก ังกัด านักงานเขตพ้ืนท่ีการ กึ าประถม กึ าพิ ณโุ ลก เขต ๑

ผปู้ กครองนักเรียน มายถึง ผปู้ กครองของนักเรียนท่ี ึก าอยูใ่ นระดบั ประถม ึก า รือมัธยม ึก า
โรงเรยี น ดั จนั ทร์ตะ นั ออก งั กัด านกั งานเขตพน้ื ท่ีการ ึก าประถม ึก าพิ ณุโลก เขต ๑

คณะกรรมการ ถาน ึก า มายถึง คณะกรรมการ ถาน ึก าข้นั พืน้ ฐานของ โรงเรยี น ัดจันทร์
ตะ ันออก งั กัด านักงานเขตพ้ืนท่กี าร ึก าประถม กึ าพิ ณโุ ลก เขต ๑

ประโยชน์ท่คี ำด ำ่ จะไดร้ บั

๑. เพอื่ ตร จ อบคณุ ภาพของ ลัก ูตร ถาน ึก าโรงเรยี น ัดจันทรต์ ะ นั ออก ผู้เรยี น ตลอดจน
ผู้ าเร็จการ กึ า ่ามีคณุ ภาพเป็นไปตามที่กา นดไ ้ใน ลกั ูตร รอื ไมเ่ พียงใด

๒. เพือ่ นาผลการประเมนิ มาพจิ ารณาปรบั ปรุง ลัก ตู ร ถาน ึก าโรงเรียน ัดจนั ทรต์ ะ ันออก
ใ ้มคี ณุ ภาพมากยิง่ ขึน้



บทท่ี ๒
เอกสารและงานวิจัยท่เี ก่ียวของ

การประเมนิ หลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี นวัดจันทรตะวนั ออก สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา
ประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต ๑ ผปู ระเมินไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยทเ่ี ก่ยี วของ ดังนี้
๑. การประเมินหลกั สตู ร

๑.๑ ความหมายของการประเมินหลักสตู ร
๑.๒ ความสาํ คญั ของการประเมนิ หลักสตู ร
๑.๓ ประโยชนของการประเมินหลกั สูตร
๒. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑
๒.๑ ความนาํ
๒.๒ วิสัยทศั น
๒.๓ หลักการ
๒.๔ จุดมมุงหมาย
๒.๕ สมรรถนะสําคัญของผเู รียน
๒.๖ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค
๒.๗ มาตรฐานการเรียนรู
๒.๘ ตัวช้วี ดั
๒.๙ สาระการเรยี นรู
๒.๑๐ คณุ ภาพผูเรยี น ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน
๒.๑๑ การจดั การเรยี นรู
๒.๑๒ สอ่ื การเรยี นรู
๒.๑๓ การวัดและประเมนิ ผล
๓. ประเดน็ การประเมนิ ตามรปู แบบ CIPP Model
๔. แนวคิดเกีย่ วกบั ความพงึ พอใจ
๑. การประเมินหลักสูตร
๑. ความหมายของการประเมินหลกั สูตร
ผูประเมินไดศึกษาถึงความหมายของการประเมิน และการประเมนิ หลกั สตู รไดมีผใู ห
ความหมายไวดงั นี้ คอื
กมั พล ธติ กิ ร (๒๕๔๒, หนา ๕๑) การประเมินเปนกระบวนการทใ่ี หคําตอบเกย่ี วกบั คุณ สิ่งที่
ทํา หรือเปนกระบวนการทีไ่ ดขอมลู ทเี่ ชือ่ ถือได เพื่อการตัดสินใจในทุกขนั้ ตอน โดยเฉพาะอยางย่ิงการ
ประเมนิ หลกั สูตรทีไ่ ดเร่ิมมกี ารปฏิบตั ิงานไปแลววามีความกาวหนาไปแกปญหาในการปฏบิ ตั อิ ยางไร บรรลุ
เปาหมายและวัตถปุ ระสงคทีก่ าํ หนดไวหรอื ไม



โสภา ชมช่นื (๒๕๔๖, หนา ๒๑) การประเมนิ คอื การใชกระบวนการรวบรวมและวิเคราะห
ขอมลู อยางเปนระบบโดยใชเครอ่ื งมอื ที่มีคุณภาพ นําผลการประเมินมาตัดสินคณุ คาสวนท่ใี ชได
ตองปรับปรงุ ใหดียิ่งขึ้น

ศกั ดิ์ศรี ปาณะกลุ (๒๕๔๙, หนา-๒๓) ไดรวบรวมความหมายของคําวา การประเมินไวซง่ึ มี
สาระสาํ คญั ดงั น้ี

๑. การประเมนิ (evaluation) = การวัด (measurement) เปนการใหความหมายของการ
ประเมินในความหมายเดยี วกบั คาํ วา การวดั การใหความหมายในลกั ษณะนี้มีสวนดี ในแงที่เปนการ
ประเมนิ เกี่ยวของกบั หลกั การทางวิทยาศาสตรของการวดั ซ่ึงเนนความเปนปรนยั และความเที่ยงของ
เคร่อื งมือ

๒.การประเมิน (evaluation) = การวิจัยประยกุ ต (applied research) การให ความหมายใน
ลกั ษณะนผี้ ูใหความหมายเห็นวา การประเมินมีลกั ษณะใกลเคยี งกบั การวจิ ยั เปน ท้งั ในแงของระเบียบ
วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร การออกแบบเคร่อื งมือ และการวิเคราะหเปนการ ประเมนิ วาเปนวทิ ยาศาสตร
ประยกุ ตหรอื การวจิ ยั ประยุกต

๓.การประเมิน (evaluation) = การตรวจสอบความสอดคลอง (determining
Congruence) หมายถึง กระบวนการตรวจสอบความสอดคลองระหวาง“ผลท่ีไดกับวตั ถุประสงคที่กําหนด
ไว” ซ่งึ ความหมายนีไ้ ดรบั การยอมรบั อยางและมอี ทิ ธพิ ลตอการประเมนิ ผลในปจจบุ นั m

๔. การประเมนิ (evaluation) = การชวยตัดสนิ ใจ (assistant decision making) เปน
ความหมายท่ีเห็นวาการประเมินหมายถงึ กระบวนการระบุและเสนอสารนิเทศเพือ่ ชวยการตัดสนิ ใจ

๕.การประเมนิ (evaluation) = การบรรยายอยางลมุ ลกึ (description or portrayal)
หมายถึง การบรรยายความสมั พันธและความสอดคลองของสิง่ ทค่ี าดหวงั สงิ่ ที่เกิดข้นึ จรงิ มาตรฐานของ
โครงการ ซึ่งเหมาะสาํ หรับการใชศึกษาเฉพาะกรณี(case study)

๖.การประเมิน (evaluation) = การตดั สนิ คุณคา(determining of worth or
value) หมายถึง การตดั สินคุณคาของส่งิ ทม่ี งุ ประเมิน เชน ตัดสนิ คณุ คาโดยผูเชี่ยวชาญ
(professional judgment)และการตดั สินคุณคาตามมาตรฐานวิชาชพี (professional review)

สวนการประเมนิ หลักสูตร ไดมนี ักการศึกษาหลายทานใหความหมายของการประเมิน
หลักสตู ร ไวดังนี้

นริ มล ศตวุฒิ (๒๕๔๓, หนา ๑๐๕) การประเมินหลักสูตรหมายถึง การหาคาํ ตอบวาหลกั สูตร
บรรลุผลตามที่กําหนดจดุ มงุ หมายไวหรือไม บรรลุผลมากหรอื นอยเพยี งไร และสาเหตุที่ไมบรรลุเพราะ
อะไร การประเมนิ หลักสูตรจึงเปนกระบวนการเปรียบเทียบระหวางผลการใชหลักสูตรกบั จุดมุงหมายของ
หลักสูตรวาการนาํ ไปใชจริงแลวนนั้ ไดผลใกลเคยี งกบั จุดมุงหมายท่กี ําหนดไวหรือไม

ครอนบาซ (cronbach, ๑๙๗๐, p.๒๓๑) ใหความหมายวา การประเมินหลกั สตู ร คือการ
รวบรวมขอมลู และการใชขอมูลเพ่อื ตัดสนิ ใจในเร่ืองโปรแกรมหรอื หลกั สตู รการศึกษา



สตัมเฟลบมี , และคณะ ( stufflebeam,et all, ๑๙๗๑, p.๑๒๘) ใหความหมายของการประเมนิ
หลักสูตรวาการประเมินหลักสูตรคือกระบวนการหาขอมูล เกบ็ ขอมลู เพอ่ื นาํ มาใชเปนประโยชนในการ
ตดั สินหาทางเลือกท่ีดีกวาเดมิ

กูด(good,๑๙๗๓, p.๒๐๙) ไดใหความหมายวา การประเมินหลักสูตรคอื การประเมินผลของ
กิจกรรมการเรยี นภายในขอบขายของการสอนทีเ่ นนเฉพาะจุดประสงคของการตัดสนิ ใจในความถกู ตอง
ของ ความสัมพนั ธและความตอเน่ืองของเน้อื หา และผลสมั ฤทธขิ์ องวัตถุประสงคเฉพาะ การตดั สนิ ใจใน
การวางแผน การจัดโครงการ การตอเนื่องและการหมนุ เวยี นของกจิ กรรมโครงการตางๆ ทีจ่ ะจัดใหมีขน้ึ

จากท่กี ลาวมาสรุปไดวา การประเมินเปนกระบวนการรวบรวมและวเิ คราะหขอมูลอยางเปน
กอใหเกดิ สารสนเทศเพ่อื ชวยในการตดั สนิ ใจ สวนการประเมินหลกั สตู รจะทําใหรูคณุ คาของหลักสตู ร ใชได
ดเี พียงใด และขอมูลทไี่ ดจากการประเมนิ จะเปนประโยชนอยางยิ่งตอการพัฒนาหลักสูตรมากขนึ้ ซ่ึงจะ
สงผลตอการนาํ หลกั สูตรไปใชไดอยางมปี ระสิทธิภาพ การประเมนิ หลักสูตรควรมีการประเมินอยางเปน
ระบบและทุกขน้ั ตอนของการบริหารหลักสูตรเพอ่ื ใหไดสารสนเทศเพอ่ื การวางแผนและพฒั นา

๒. จุดมุงหมายของการประเมนิ หลกั สตู ร
วิชัย วงษใหญ (๒๕๔๐, หนา ๒๑๗) ไดใหแนวคิดวา การประเมนิ หลักสูตรน้นั มี

วตั ถุประสงคเพอ่ื พจิ ารณาทบทวนเกยี่ วกับคุณภาพของหลกั สตู รโดยใชผลการวัดในแงมุมตางๆของสง่ิ ท่จี ะ
ประเมินนาํ มาพจิ ารณารวมกัน เชน ตวั เอกสารหลักสตู ร วสั ดุหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนเรียนรู
ความคิดเห็นของผูใชหลักสตู รและความคิดเห็นของผเู กี่ยวของในชมุ ชนและสงั คม เปนตน

ประเมนิ หลกั สูตรสามารถทําไดเปน๓ ระยะดวยกัน คือ ระยะกอนโครงการเพ่อื การสรางและ
พฒั นาหลกั สูตร สวนระยะระหวางโครงการ เพ่อื การนําหลักสูตรไปใช และระยะหลงั โครงการเพอ่ื การ
ติดตามประเมินหลักสูตรทง้ั ระบบ

ทศิ นา แขมมณี (๒๕๔๐ ก, หนา ๑๓๔) กลาววา การประเมินหลกั สูตรใด ๆ ก็ตาม จะมี
จุดมงุ หมายคลายคลึงกันอยู ๓ ประการสําคญั ๆ คือ

๑. องคประกอบทห่ี ลักสูตรน้นั ตองการหรือไม เชน หลักสูตรพยาบาล มีวตั ถปุ ระสงค
ผเู รยี นใหเปนพยาบาล การประเมนิ หลักสูตรพยาบาล ก็จะดูวาหลักสูตรน้นั ชวยใหผูเรียนเปนพยาบาล
ตามวตั ถุประสงคดงั กลาวหรือไม

๒. เพอ่ื ตัดสนิ วา การวางเคาโครงและรปู แบบของหลักสตู ร ตลอดจนการบรหิ ารงานและ
จัดการเรยี นรตู ามหลักสูตร เปนไปในทางที่ถูกตองแลวหรอื ไม

๓. เพอ่ื วดั ผลดูวา ผลผลติ คอื ผเู รียนนนั้ เปนอยางไร
ศกั ดศิ์ รี ปาณะกุล (๒๕๔๙, หนา๓๓) การประเมนิ หลกั สูตรโดยท่วั ไปจะมีจดุ มุงหมายสาํ คญั
คลายคลงึ กันดงั น้ี
๑. เพอ่ื หาทางปรับปรุงแกไขสง่ิ บกพรองท่ีพบในองคประกอบตางๆของหลกั สตู ร
ประเมินในลกั ษณะน้ี มกั จะดาํ เนนิ การในชวงท่กี ารพัฒนาหลักสตู รยังคงดาํ เนินการอยู เพื่อตรวจสอบ
องคประกอบตางๆ ของหลกั สตู ร เชน จดุ มงุ หมาย โครงสราง เนือ้ หา การวดั ผลมีความสอดคลองและ

๑๐

เหมาะสมหรือไม สามารถนาํ มาปฏิบตั ิในชวงการนําหลักสูตรไปทดลองใชหรอื ในขณะท่กี ารใชหลกั สตู ร
และกระบวนการจัดการเรียนรกู ําลงั ดาํ เนนิ การอยไู ดมากนอยเพยี งใด ไดผลเพียงใดหาอุปสรรคและมี
ปญหาอะไร จะไดเปนประโยชนแกนักพฒั นาหลักสตู รและผมู ีสวนเกย่ี วของในการปรบั ปรุง องคประกอบ
ตาง ๆ ของหลกั สูตรใหมคี ุณภาพดขี ้นึ ไดทันทวงที

๒. เพือ่ หาทางปรบั ปรงุ แกไขระบบการบริหารหลกั สูตร การนิเทศกํากบั ดูแล และ
กระบวนการเรยี นรใู หมีประสิทธิภาพยง่ิ ข้ึน การประเมินในลกั ษณะน้ี จะดําเนินการในขณะท่ีนําหลักสูตร
ไปใช จะไดชวยปรับปรุงหลักสูตรใหบรรลุตามเปาหมายที่วางไว

๓. เพื่อชวยในการตดั สนิ ใจของผูบรหิ ารวา ควรใชหลักสูตรตอไปอีก หรือควรยกเลิก
หลักสตู รเพียงบางสวน หรือยกเลิกทั้งหมด การประเมนิ ในลกั ษณะนจ้ี ะดําเนินการหลักจากทใ่ี ชหลักสตู ร
ไปแลวระยะหนง่ึ แลวจงึ ประเมินเพ่ือสรปุ ผลตดั สินวา หลักสูตรมีคุณภาพดหี รอื ไมดบี รรลเุ ปาหมาย
หลักสูตรกําหนดไวมากนอยเพยี งใด สนองตอบความตองการของสงั คมเพียงใดและเหมาะสมกบั การ
นําไปใช ตอไปหรอื ไม

๔. เพ่อื ตองการทราบคุณภาพของผูเรียนซง่ึ เปนผลผลติ ของหลักสูตรวา มีการเปลี่ยนแปลง
พฤตกิ รรมไปตามความมงุ หวงั ของหลักสูตร หลกั จากผานกระบวนการทางการศึกษามาแลวหรือไมอยางไร
การประเมนิ ในลักษณะนจ้ี ะดําเนินการในขณะท่มี กี ารนําหลักสตู รไปใชหรือหลงั จากที่ใชหลกั สตู รไปแลว
ระยะหนง่ึ ก็ได

จากท่กี ลาวมาสรุปไดวา การประเมินหลักสูตรมีจุดมุงหมายเพอื่ หาคุณคาของหลักสูตรพิจารณา
การบริหารหลกั สูตรทงั้ ระบบ ตัง้ แตบรบิ ทหรอื สภาวะแวดลอม ปจจยั เบอื้ งตน การบรหิ ารหรือการนาํ
หลกั สูตรไปใช รวมท้ังผลผลิตและกระทบจากการนาํ หลกั สตู รไปใชวามคี วาม เหมาะสมและสามารถ
ตอบสนองความตองการของผเู รยี นและสังคมเพียงใด เพือ่ ปรับปรงุ หลักสตู รใหมี ประสิทธิภาพมากยง่ิ ขึ้น

๓. ประโยชนของการประเมนิ หลกั สตู ร
สําราญ มแี จง (๒๕๔๓, หนา ๒๓) กลาววา การประเมินมปี ระโยชนดงั ตอไป น

๑. การประเมนิ ชวยใหการกาํ หนดวตั ถุประสงคและมาตรฐานของการดาํ เนินงานมีความ
ชดั เจน กลาวคือ กอนท่จี ะนําโครงการไปใชยอมจะไดรับการตรวจสอบอยางละเอยี ดจากผูบริหารและ
ผูเกยี่ วของ มสี วนใดท่ีไมชัดเจน เชน วัตถปุ ระสงคหรือมาตรฐานการดําเนินงาน หากขาดความแนนอน
จะตองไดรบั การปรบั ปรงุ แกไขใหมคี วามถกู ตองชัดเจนเสียกอน

๒. ประโยชนเตม็ ที่ ทงั้ น้เี พราะการประเมนิ จะตองวิเคราะหทกุ สวนของโครงการขอมูล
ปจจยั ใดท่เี ปนปญหาจะไดรับการปรบั ปรุงแกไขเพอื่ ใหสามารถปฏิบตั ิงานหรอื ใชในการปฏิบัติอยาง
เหมาะสมคุมคา ทรัพยากรทกุ ชนิดจะไดรบั การจัดสรรใหอยูในจํานวนหรือปรมิ าณที่เหมาะสมการ
ดาํ เนินงานทรัพยากรท่ไี มจําเปนหรอื มมี ากเกินไปจะไดรบั การตัดทอน และทรพั ยากรใดขาดแคลนจะไดรับ
การจดั สรรเพิ่มเติม

๓. การประเมินชวยใหแผนงานบรรลุวตั ถปุ ระสงคเพราะโครงการเปนสวนหนง่ึ ของแผน
ดงั น้นั เม่อื โครงการไดรับการตรวจสอบวเิ คราะหปรบั ปรุงแกไข เพ่ือใหดาํ เนินการเปนไปดวยดี

๑๑

๔. การประเมินมีสวนชวยในการแกปญหาอันเกิดจากผลกระทบ (Impact) ของโครงการ และ
ทําให โครงการมีขอที่ทําใหความเสียหายลดนอยลง

๕. การประเมินมสี วนชวยอยางสําคัญในการควบคมุ คุณภาพของงาน เพราะการประเมนิ เปน
การตรวจสอบ และควบคมุ ชนดิ หนึ่ง

๖. การประเมนิ มีสวนในการสรางขวญั และกําลังใจใหผูปฏบิ ัตงิ านตามโครงการเพราะประเมิน
มิใชเปนการควบคมุ บังคบั บญั ชาหรอื สั่งการ แตเปนการศึกษาเพือ่ วเิ คราะห ปรบั ปรุงแกไขและ
เสนอแนะวธิ ีการใหมๆ เพือ่ ใชในการปฏบิ ัติโครงการอันยอมจะนํามาซ่งึ ผลงานท่ีดี

๗. ผลของการประเมินอาจเปนขอมูลอยางสาํ คญั ในการวางแผน หรอื การกําหนดนโยบายของ
ผูบรหิ าร

๘. การประเมินชวยในการตดั สินใจในการบริหารโครงการ กลาวคอื การประเมนิ จะทาํ ให
ผบู รหิ ารไดทราบถึงอปุ สรรคปญหา ขอดี ขอเสีย ความเปนไปได และแนวทางในการปรบั ปรุงการ
ดาํ เนนิ การโครงการ โดยขอมลู ดังกลาวจะชวยทําใหผบู รหิ ารตัดสินใจวาจะดาํ เนินโครงการหรือยตุ ิ
โครงการนัน้ เสีย

จากท่กี ลาวมาสรปุ ไดวา ประโยชนของการประเมนิ โครงการ หมายถงึ การประเมนิ โครงการม
ประโยชนตอการตดั สินใจ การกําหนดวัตถปุ ระสงค การวางแผนการดําเนนิ การใชทรัพยากร การควบคุม
คณุ ภาพ ตลอดจนแนวทางแกไขปญหา อุปสรรคเพ่ือเปนขอมูลประกอบการตดั สนิ ใจในการบริหาร
โครงการใหบรรลุวตั ถุประสงค

๒. หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๑. ความนาํ
จากขอมูลในการศึกษาวิจยั และติดตามผลการใชหลักสูตรการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช

๒๕๔๕ ที่ผานมา ประกอบกับขอมลู แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี ๑๐ เกย่ี วกบั แนวทาง
การพัฒนาคนในสังคมไทย และจุดเนนของกระทรวงศึกษาธกิ ารในการพัฒนาเยาวชน สูศตวรรษที่ ๒๑ จงึ
เกิดการทบทวน หลักสูตรการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานพุทธศักราช ๒๕๔๕ เพ่ือนําไปสูการพฒั นาหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ทมี่ ีความเหมาะสมชัดเจน ทัง้ เปาหมายของหลักสตู ร
ในการพฒั นาคุณภาพผูเรียน และกระบวนการนาํ หลักสูตรไปสูการปฏิบตั ใิ นระดับเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาและ
สถานศึกษา โดยไดมกี ารกําหนดวิสยั ทัศน จดุ หมาย สมรรถนะสําคัญของผเู รยี น คุณลักษณะอันพึง
ประสงค มาตรฐานการเรยี นรแู ละตัวช้ีวัดท่ีชดั เจน เพอ่ื ใชเปนทิศทางในการจัดทาํ หลักสูตร การเรียนการ
สอนในแตละระดบั นอกนน้ั ไดกาํ หนดโครงสรางเวลาเรยี นขน้ั ต่ําของแตละกลุมสาระการเรียนรใู นแตละชน้ั
ปไวในหลักสตู รแกนกลาง และเปดโอกาสใหสถานศกึ ษาเพ่ิมเตมิ เวลาเรยี นไดตามความพรอมและจุดเนน
อีกทัง้ ไดปรับกระบวนการวดั และประเมินผลผเู รียน เกณฑการจบการศกึ ษาแตละระดับ และเอกสารแสดง
หลกั ฐานทางการศึกษาใหมีความสอดคลองกบั มาตรฐานการเรยี นรู และมีความชดั เจนตอการนาํ ไปปฏบิ ัติ
จะประสบความสําเร็จตามเปาหมายท่คี าดหวงั ไดทุกฝายท่ีเกยี่ วของทงั้ บุคลากรในโรงเรียนตองรวม
รับผดิ ชอบรวมกันทํางานอยางเปนระบบ และตอเนื่อง ในการวางแผนดําเนินการ ชุมชน ครอบครัว ใหการ

๑๒

สงเสรมิ สนบั สนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรบั ปรงุ แกไข เพือ่ พฒั นาผูเรยี นไปสคู ณุ ภาพตามมาตรฐานการ
เรียนรูทก่ี าํ หนดไว

จากขอคนพบในการศึกษาวจิ ัยและติดตามผลการใชหลักสูตรการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๔ ท่ี
ผานมา ประกอบกับขอมูลจากแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๐ เกยี่ วกบั แนวทางการ
พัฒนาคน ในสังคมไทย และจดุ เนนของกระทรวงศกึ ษาธิการในการพฒั นาเยาวชนสูศตวรรษ ท่ี ๒๑ จึงเกิด
การทบทวน หลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราชเพ่อื นาํ ไปสกู ารพฒั นาหลกั สูตร๒๕๔๔ แกนกลาง
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ทีม่ คี วามเหมาะสม ชัดเจน ท้งั เปาหมายของ หลักสูตรในการ
พัฒนาคุณภาพผเู รยี นและกระบวนการนําหลกั สูตรไปสูการปฏิบัตใิ นระดบั เขตพนื้ การศกึ ษาและ
สถานศึกษา โดยไดมีการกําหนด วสิ ัยทัศน จุดหมาย สมรรถนะสําคญั ของผเู รียน อันพึงประสงค มาตรฐาน
การเรียนรูและตวั ช้วี ัดทช่ี ัดเจน เพอื่ ใชเปนทศิ ทางในการจัดทําการเรยี นการสอนในแตละ ระดับ
นอกจากนนั้ ไดกําหนดโครงสรางเวลาเรยี นขน้ั ตางๆของแตละกลุมการเรยี นรใู นแตละช้ันปไวในหลักสูตร
แกนกลาง และเปดโอกาสใหสถานศกึ ษาเพิม่ เตมิ เวลาเรยี นไดตามความพรอมและจดุ เนน อีกทั้งไดปรบั
กระบวนการวัดและประเมนิ ผลผูเรียนเกณฑการจบระดบั การศกึ ษาและเอกสารแสดงหลักฐานทาง
การศึกษา ใหมีความสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู และมีความชดั เจนตอการนาํ ไปปฏิบัติ

เอกสารหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จัดทาํ ข้นึ สําหรบั ทองถ่นิ
และสถานศึกษา ไดนําไปใชเปนกรอบและทศิ ทางในการจดั ทาํ หลกั สูตรสถานศึกษา และจัดการเรียน
การสอนเพอื่ พัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐานใหมคี ุณภาพดานความรูทกั ษะ
ท่ีจําเปนสําหรบั การดํารงชวี ิตในสังคมทม่ี ีการเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรูอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต

มาตรฐานการเรยี นรูและตัวชวี้ ดั ที่กาํ หนดไวในเอกสารน้ีชวยทาํ ใหหนวยงานในทุกระดบั เห็นผล
คาดหวังที่ตองการในการพัฒนาการเรยี นรขู องผูเรยี นที่ชัดเจนตลอดแนว ซ่ึงจะสามารถ ชวยใหหนวยงาน
ทเ่ี กีย่ วของในระดับทองถ่นิ และสถานศึกษารวมกนั พัฒนาหลกั สูตรไดอยางม การจดั ทําหลักสตู รในระดับ
สถานศกึ ษามีคณุ ภาพและมคี วามเปนเอกภาพย่งิ ขึ้น อกี ทั้งยงั ชวย ชัดเจนเรอ่ื งการวดั และประเมินผลการ
เรยี นรู และชวยแกปญหาการเทียบโอนระหวางสถานศึกษา ในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดบั ตง้ั แต
ระดับชาตจิ นกระท่ังถงึ สถานศกึ ษา จะตองสะทอนคุณภาพ มาตรฐานการเรียนรูและตวั ชว้ี ัดทก่ี ําหนดไวใน
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานเปนกรอบ รวม ทศิ ทางในการจัดการศกึ ษาทุกรปู แบบ และ
ครอบคลุมผเู รยี นทุกกลมุ เปาหมายในระดับการศึกษา

การจดั หลกั สูตรการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานจะประสบความสําเร็จตามเปาหมายทีค่ าดหวังได ทเ่ี ก่ียวของ
ท้งั ระดับชาติ ชมุ ชน ครอบครวั และรับผดิ ชอบ บุคคลตองรวมรับรโู ดยรวมกนั ทํางานอยางเปนระบบ และ
ตอเน่ือง ในการวางแผน ดาํ เนินการ สงเสรมิ สนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแกไข เพอ่ื เยาวชนของ
ชาติไปสูคณุ ภาพ ตามมาตรฐานการเรยี นรูท่กี าํ หนดไว

๑๓

๒. วิสัยทัศน

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐานมงุ พฒั นาผเู รียนทกุ คน ซงึ่ เปนกําลงั ของชาติใหเปนที่ มี
ความสมดุลทัง้ ดานรางกาย ความรู มีจิตคุณธรรม สํานกึ ในความเปนพลเมืองไทยและเปนพลโลก ยึดม่นั ใน
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมุข มคี วามรูและทกั ษะพืน้ ฐาน
เจตคติ ที่จาํ เปนตอการศกึ ษาตอการประกอบอาชีพและการศกึ ษาตลอดชวี ิต โดยมงุ เนนผเู รยี นเปนสาํ คญั
บนพ้นื ฐานความเช่อื วา ทกุ คนสามารถเรยี นรูและพฒั นาตนเองไดเตม็ ตามศกั ยภาพ

๓. หลกั การ
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน มีหลกั การที่สาํ คัญ ดังนี้
๑. เปนหลักสูตรการศกึ ษาเพอ่ื ความเปนเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรยี น
เปนเปาหมายสาํ หรบั พัฒนาเด็กและเยาวชนใหมีความรูทักษะเจตคตแิ ละคณุ ธรรมบนพืน้ ฐาน ของความ
เปนไทยควบคูกับความเปนสากล
๒. เปนหลักสูตรการศกึ ษาเพ่อื ปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมโี อกาสไดรบั การศกึ ษาอยางเสมอภาค
และมีคุณภาพ
๓. เปนหลักสตู รการศกึ ษาทส่ี นองการกระจายอํานาจ ใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา
ใหสอดคลองกบั สภาพและความตองการของทองถิน่
๔. เปนหลกั สตู รการศึกษาทม่ี โี ครงสรางยืดหยนุ ทั้งดานสาระการเรียนรูเวลาและการจดั
การเรยี นรู
๕. เปนหลกั สูตรการศกึ ษาทเ่ี นนผูเรียนเปนสําคัญ
๖. เปนหลกั สตู รการศกึ ษาสาํ หรบั การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั ครอบคลุม
ทุกกลุมเปาหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรยี นรูประสบการณ
๔. จดุ มุงหมาย

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน มงุ พฒั นาผเู รียนใหเปนคนดี มีปญญา มีศักยภาพใน
การศึกษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกาํ หนดเปนจุดหมายเพอ่ื ใหเกิดกบั ผูเรียนเม่อื จบ การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
ดังนี้

๑. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และคานยิ มทพ่ี ึงประสงค เหน็ คุณคาของตนเอง มวี ินยั และปฏิบัติตน
ตามหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือ ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๒. มีความรู ความสามารถในการสอื่ สาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยี และ
มีทกั ษะชีวติ

๓. มสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตท่ดี ี มีสุขนสิ ัย และรกั การออกกําลังกาย
๔. มคี วามรกั ชาติ มจี ติ สํานกึ ในความเปนพลเมอื งไทยและพลโลก ยึดมัน่ ในวถิ ีชุมชน
การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริยทรงเปนประมขุ
๕. มจี ติ สาํ นกึ ในการอนรุ กั ษวฒั นธรรมและภูมปิ ญญาไทย การอนุรักษและพฒั นาส่ิงแวดลอม
มีจิตสาธารณะทมี่ งุ ทําประโยชนและสรางสิง่ ทีด่ ีงามในสังคม และอยูรวมกนั ในสงั คมอยางมีความสุข

๑๔

๕. สมรรถนะสําคัญของผูเรยี น
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานเรียนเกดิ สมรรถนะสาํ คญั ๕ ประการ ดังน้ี

๑. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสารมวี ัฒนธรรมในการใช
ภาษาถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทศั นะของตนเองเพอ่ื แลกเปลย่ี นขอมูล และ
ประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสงั คม รวมทง้ั การเจรจาตอรองเพอ่ื ขจัด ลด
ปญหาความขดั แยงตาง ๆการเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความถกู ตอง ตลอดจน
การเลอื กใชวิธีการสือ่ สาร ที่มีประสทิ ธิภาพโดยคํานึงถงึ ผลกระทบทม่ี ตี อตนเองและสังคม

๒. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคดิ วิเคราะห การคดิ สังเคราะห การคดิ
อยางสรางสรรค การคดิ อยางมวี ิจารณญาณ และการคดิ เปนระบบ เพื่อนําไปสูการสรางองคความรู
สารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจเกยี่ วกับตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอปุ สรรคตางๆ
ทเ่ี ผชิญไดอยางถกู ตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ ความสัมพันธ
และการเปลีย่ นแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู ประยกุ ตความรู การปองกนั และแกไข
ปญหาและมกี ารตัดสินใจท่ีมปี ระสิทธภิ าพโดยคํานงึ ถงึ ผลกระทบที่เกดิ ขน้ึ ตนเอง สังคมและสงิ่ แวดลอม

๔. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ิต เปนความสามารถในการนํากระบวนการตาง ๆ ไปใช
ใน การดาํ เนนิ ชวี ติ ประจาํ วนั การเรียนรดู วยตนเอง การเรียนรอู ยางตอเน่ืองการทํางานและการอยูรวมกนั
ใน สังคมดวยการสรางเสริมความสมั พนั ธอนั ดีระหวางบคุ คลการจดั การปญหาและความขดั แยงตาง ๆ
อยาง เหมาะสม การปรับตวั ใหทนั กับการเปลีย่ นแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลกี
พฤตกิ รรมไมพงึ ประสงคทีส่ งผลกระทบตอตนเองและผอู ื่น

๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยีเปนความสามารถในการเลอื ก และใช เทคโนโลยีดาน
ตางๆและมที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยเี พื่อการพฒั นาตนเองและสงั คม ในดานการเรยี นรู การ
ส่ือสาร การทาํ งาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถูกตอง เหมาะสม และมีคุณธรรม

๖. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงพฒั นาผูเรยี นใหมีคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค
เพอื่ ใหสามารถอยรู วมกับผูอน่ื ในสงั คมไดอยางมีความสขุ ในฐานะเปนพลเมอื งไทยและพลโลกดงั น้ี

๑. รกั ชาติ ศาสน กษตั ริย
๒. ซือ่ สตั ยสุจรติ
๓. มีวนิ ยั
๔. ใฝเรียนรู
๕. อยูอยางพอเพียง
๖. มงุ มั่นในการทํางาน
๗. รักความเปนไทย
๘. มีจติ สาธารณะ

๑๕

นอกจากน้ี สถานศึกษาสามารถกําหนดคุณลักษณะอันพงึ ประสงคเพ่ิมเตมิ และใหสอดคลองตาม
จุดเนนของตนเอง

๗. มาตรฐานการเรยี นรู
การพฒั นาผเู รียนใหเกดิ ความสมดุล ตองคํานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปญญา
หลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน จึงกาํ หนดใหผูเรียนเรียนรู ๘ กลุมสาระการเรียนรู ดังนี้

๑. ภาษาไทย
๒. คณิตศาสตร
๓. วิทยาศาสตร
๔. สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๕. สขุ ศึกษาและพลศึกษา
๖. ศิลปะ
๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี
๘. ภาษาตางประเทศ
ในแตละกลมุ สาระการเรยี นรไู ดกําหนดมาตรฐานการเรยี นรเู ปนเปาหมายสําคัญของการพัฒนา
คณุ ภาพผูเรียน มาตรฐานการเรยี นรรู ะบสุ ิ่งทีผ่ ูเรียนพึงรูมคี ณุ ธรรมจริยธรรมปฏิบตั ไิ ดและคานิยม
ทพี่ ึงประสงคเมอ่ื จบการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน นอกจากน้ันมาตรฐานการเรียนรยู งั เปน ในการขับเคล่ือนพฒั นา
การศึกษาทัง้ ระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรูจะสะทอนใหทราบวาตองการ จะสอนอยางไร และประเมนิ
อยางไร รวมทัง้ เปนเครื่องมอื ในการตรวจสอบเพอ่ื การประกันคณุ ภาพ
การศกึ ษาโดยใชระบบการประเมนิ คุณภาพภายในและการประเมินคณุ ภาพภายนอก ซง่ึ รวมถึง
การทดสอบระดบั เขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพ่ือประกันคุณภาพ
ดังกลาวเปนสงิ่ สาํ คญั ท่ชี วยสะทอนภาพการจัดการศึกษาวาสามารถพัฒนาผูเรียนใหมคี ณุ ภาพตามที่
มาตรฐานการเรียนรูกําหนดเพยี งใด
๘. ตัวชวี้ ดั
ตวั ชว้ี ัดระบุส่ิงทน่ี ักเรยี นพงึ รแู ละปฏบิ ตั ไิ ดรวมทั้งคุณลกั ษณะของผูเรยี นในแตละชนั้
ซึ่งสะทอนถึงมาตรฐานการเรียนรู มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเปนรูปธรรมนําไปใช
ในการกําหนดเนือ้ หา จัดทาํ หนวยการเรยี นรู จัดการเรยี นการสอน และเกณฑเปนสงิ่ สาํ คญั สาํ หรบั การวัด
ประเมินผลเพ่อื ตรวจสอบคณุ ภาพผูเรยี น
๑. ตวั ช้ีวัดชั้นปเปนเปาหมายในการพัฒนาผูเรียนแตละชน้ั ป ในระดับการศึกษา(ประถมศึกษาปท่ี
๑-๖)
๒. ตวั ชวี้ ัดชวงชัน้ เปนเปาหมายในการพัฒนาผเู รียนในระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน (มธั ยมศึกษาปท่ี
๑- ๓)
หลกั สูตรไดมกี ารกาํ หนดรหัสกํากับมาตรฐานการเรียนรแู ละตวั ช้วี ดั เพอ่ื ความเขาใจ ตรงกนั ดงั นี้

๑๖

ว ๑.๑ ป. ๑/๒

ป.๑/๒ ตัวชี้วดั ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๑ ขอที่ ๒
๑.๑ สาระที่ ๑ มาตรฐานขอท่ี ๑
ว กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร

ต ๒.๒ ม.๔-๖/ ๓

ม.๔-๖/๓ ตวั ช้วี ัดชั้นมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ขอท่ี ๓
๒.๓ สาระที่ ๒มาตรฐานขอท่ี ๒
ต กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาตางประเทศ

๙. สาระการเรยี นรู
สาระการเรียนรู ประกอบดวย องคความรู ทักษะหรือกระบวนการเรยี นรู และคณุ ลกั ษณะ อันพงึ ประสงค
ซึง่ กําหนดใหผูเรยี นทกุ คนในระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานจําเปนตองเรียนรู กลุมสาระการเรียนรู ดังน้ี

๑๗

ภาษาไทย : ความรู ทักษะ และ คณติ ศาสตร: การนําความรู ทกั ษะ วิทยาศาสตร: การนําความรู และ
วัฒนธรรมการใชภาษา เพื่อการ
สอื่ สารความช่นื ชม การเหน็ คณุ คา และกระบวนการทาง คณติ ศาสตรไป กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร ไปใชใน
ภูมิปญญา ไทย และ ภมู ิใจในภาษา ใชใน การแกปญหา การดาํ เนินชวี ิต การศึกษา คนควาหาความรู และ
ประจาํ ชาติ และศกึ ษาตอ การมีเหตุมผี ล มเี จตคติ แกปญหาอยางเปนระบบ การคิด อยาง
ที่ดีตอคณติ ศาสตร พัฒนาการคิด เปนเหตุเปนผล คิดวเิ คราะห คดิ
อยางเปนระบบและ สรางสรรค
สรางสรรค และจิตวทิ ยาศาสตร

ภาษาตางประเทศ : ความรู องคความรู ทกั ษะสำคัญ และ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม: การ
ทักษะ เจตคติ และวัฒนธรรม อยูรวมกันในสงั คมไทยและสงั คม อยางสนั ติ
การใชภาษาตางประเทศใน คุณลักษณะ ในหลกั สูตรแกนกลาง สุข การเปนพลเมอื งดี ศรัทธา ในหลักธรรม
สอื่ สารการแสวงหาความรู และ ของศาสนา การเหน็ คณุ คาของทรัพยากร
การประกอบอาชีพ การศกึ ษา ขนั้ พน้ื ฐาน และ สง่ิ แวดลอม ความรักชาติ และภูมิใจ
ความเปนไทย
การงานอาชีพและเทคโนโลย:ี ศลิ ปะ: ความรแู ละทักษะใน การ
ความรู ทักษะ และเจตคติ คิดรเิ รมิ่ จนิ ตนาการ สรางสรรค สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา: ความรู ทกั ษะ
งานศิลปะ สนุ ทรียภาพและการ และเจตคตใิ นการสรางเสรมิ สขุ ภาพ
ในการทาํ งาน การจดั การ เห็น คณุ คาทางศลิ ปะ พลานามัยของตนเองและผู การปองกนั
และปฏบิ ตั ิตอสิง่ ตาง ๆ ทมี ีผลตอสขุ ภาพ
การดาํ รงชวี ติ การประกอบอาชพี
และการใชเทคโนโลยี อยาง ถูกวิธแี ละทกั ษะในการดำเนนิ ชีวิต

๑๘

๑๐. คุณภาพผเู รียน ระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
ความสมั พนั ธของการพัฒนาคุณภาพผเู รียนตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

๑๙

๑๑. การจดั การเรยี นรู
การจดั การเรียนรูเปนกระบวนการสาํ คัญในการนาํ หลักสูตรสูการปฏิบัติหลกั สูตรการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
เปนหลกั สูตรที่มมี าตรฐานการเรียนรู สมรรถนะสําคญั และคุณลกั ษณะ ของผเู รียนเปนเปาหมายสําหรับการพฒั นา
เด็กและเยาวชนในการพฒั นาผูเรียนใหมีคุณสมบัติตามเปาหมายหลกั สตู ร ผสู อนพยายามคัดสรร กระบวนการ
เรียนรู จดั การเรียนรโู ดยชวยใหผูเรยี นเรยี นรูผานสาระท่ีกาํ หนดไวในหลักสูตรการเรยี นรรู วมทัง้ ปลูกฝงเสริมสราง
คุณลกั ษณะอันพึงประสงค พัฒนาทักษะตางๆ อนั เปนสมรรถนะผูเรียนบรรลุตามเปาหมาย

๑. หลักการจดั การเรยี นรู
การจัดการเรียนรูเพือ่ ใหผเู รียนมคี วามรคู วามสามารถตามมาตรฐานการเรียนรูพึงประสงคตามที่กําหนดไว
ในหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐานโดยยดึ หลกั วา ผูเรียนมีความสที่สุดเชอื่ วาทกุ คนมคี วามสามารถเรยี นรู
และพัฒนาตนสาํ คญั ไดยึดประโยชนท่ีเกิดกับผูเรียนกระบวนการจัดการเรียนรตู องสงเสรมิ ใหผเู รียน คาํ นงึ ถงึ ความ
แตกตางระหวางบุคคลและพัฒนาการทางสมอธรรมชาติและเตม็ ตามศักยภาพเนนใหความสําคญั ท้ังความรู และ
คณุ ธรรม

๒. กระบวนการเรยี นรู
การจดั การเรียนรูท่ีเนนผเู รยี นเปนสําคญั ผเู รยี นจะตองอาศยั กระบวนกระบวนการเรยี นรหู ลากหลาย
เปนเครอ่ื งมอื ท่จี ะนาํ พาตนเองไปสูเปาหมายของหลกั สูตรกระบวนการคิดกระบวนการเรยี นรสู าํ หรับผเู รียน
อาทิ กระบวนการเรยี นรูแบบบูรณาการ กระบวนการสรางความรู กระบวนการทางสังคมกระบวนการเผชิญ
สถานการณและแกปญหาลงมอื ทําจรงิ กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจยั จากประสบการณจรงิ กระบวนการ
ปฏบิ ตั ิกระบวนการเรยี นรูการเรยี นรูของตนเอง กระบวนการพฒั นาลักษณะนสิ ัยกระบวนการเหลานเี้ ปนแนวทาง
ในการจดั การเรียนรทู ี่ผเู รยี นควรไดรับการฝกฝนบรรลเุ ปาหมายของหลักสตู ร
ดังนั้นเพื่อใหสามารถเลอื กใชกระบวนการเรยี นรูในการจัดการเรยี นการสอน เพราะจะสามารถชวยให
ผเู รยี นเกดิ การเรยี นรูไดดีจาํ เปนตองศึกษาทําความเขาใจในกระบวนการเรียนรตู างๆ ไดอยางมีประสิทธภิ าพ

๓. การออกแบบการจดั การเรียนรู
ผูสอนตองศกึ ษาหลักสตู รสถานศึกษาใหเขาใจถงึ มาตรฐานการเรียนรูทส่ี ําคัญของผเู รียนคณุ ลกั ษณะ
อันพงึ ประสงคละสาระการเรียนรทู ่ีเหมาะสมกับผูเรยี นและออกแบบการจัดการเรยี นรูโดยเลอื กใชวธิ สี อนและ
เทคนิคการสอน ส่อื /แหลงเรยี นรู การวดั และประเมนิ ผลเพ่อื ใหผูเรียนไดพฒั นาเตม็ ตามศักยภาพและบรรลุ
ตามเปาหมายทีก่ าํ หนด
๔. บทบาทของผูสอนและผูเรียน

การจัดการเรียนรเู พื่อใหผูเรยี นมีคุณภาพตามเปาหมายของหลักสูตร ท้งั ผสู อนและผเู รยี น
มีบทบาท ดงั น้ี

๒๐

๔.๑ บทบาทของผูสอน
๑) ศกึ ษาวเิ คราะหผเู รียนเปนรายบคุ คล แลวนาํ ขอมูลมาใชในการวางแผน การจดั การเรยี นรู

ที่ทาทายความสามารถของผูเรยี น
๒) กําหนดเปาหมายท่ตี องการใหเกดิ ขนึ้ กบั ผเู รยี น ดานความรูและทกั ษะ กระบวนการ

ที่เปนความคิดรวบยอด หลกั การ และความสมั พันธ รวมทัง้ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค
๓) ออกแบบการเรียนรแู ละจดั การเรียนรทู ่ีตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคล

และพฒั นาการทางสมอง เพื่อนําผเู รยี นไปสเู ปาหมาย
๔) จัดบรรยากาศทเี่ ออื้ ตอการเรยี นรู และดแู ลชวยเหลอื ผเู รยี นใหเกิดกา
๕) จดั เตรยี มและเลอื กใชสอ่ื ใหเหมาะสมกบั กิจกรรม นาํ ภูมิปญญาทองถน่ิ เทคโนโลยที ี่

เหมาะสมมาประยุกตจัดใชในการเรียนการสอน
๖) ประเมินความกาวหนาของผเู รยี นดวยวิธีการทหี่ ลากหลาย เหมาะสมกบั ธรรมชาติ

ของวชิ าและระดับพฒั นาการของผเู รียน
๗) วิเคราะหผลการประเมนิ มาใชในการซอมเสรมิ และพัฒนาผเู รยี น รวมทงั้ ปรับปรุง

การจดั การเรยี นการสอนของตนเอง
๔.๒ บทบาทของผูเรยี น
๑. กาํ หนดเปาหมาย วางแผนและรบั ผิดชอบการเรยี นรูของตนเอง
๒. เสาะแสวงหาความรู เขาถงึ แหลงการเรียนรู วเิ คราะห สังเคราะห ขอความรู

ตั้งคําถาม คดิ หาคําตอบหรอื หาแนวทางแกปญหาดวยวิธีการตาง ๆ
๓. มปี ฏสิ มั พนั ธ ทาํ งาน ทาํ กิจกรรมรวมกบั กลมุ และครู
๔. ประเมินและพฒั นากระบวนการเรียนรขู องตนเองอยาง

๑๒. สอ่ื การเรยี นรู
สือ่ การเรยี นรูเปนเครอื่ งมอื สงเสรมิ สนับสนุนการจดั การกระบวนการเรียนรู ใหผเู รียนมีทกั ษะ
กระบวนการ และคุณลกั ษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ สื่อการเรยี น หลากหลายประเภท
ทั้งส่ือธรรมชาติ สอ่ื สิ่งพมิ พ ส่ือเทคโนโลยีเครือขายการเรยี นรูตางๆและเครือขายที่มใี นทองถน่ิ การเลือกใชส่ือ
ควรเลอื กใหมีความเหมาะสมกับระดบั พฒั นาการ และลลี าการเรยี นรขู องผูเรยี น
การจัดหาสอ่ื การเรยี นรู ผูเรยี นและผูสอนสามารถจดั ทําและพัฒนาขึน้ เองหรือปรับอยางมีคณุ ภาพ
จากสื่อตางๆมอี ยูรอบตวั เพือ่ ที่ มาใชประกอบในการจดั การเรยี นรทู ่สี ามารถสงเสรมิ สื่อสารใหผเู รยี นเกดิ การเรยี นรู
โดยสถานศกึ ษาควรจดั ใหมีอยางพอเพยี ง เพ่ือพัฒนาใหเกิดการเรียนรูอยางแทจริง สถานศึกษาเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา
หนวยงานท่ีเกยี่ วของและผมู ีหนาที่จัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน ควรดําเนนิ การดงั นี้
๑. จัดใหมีแหลงการเรยี นรู ศนู ยสือ่ การเรียนรู ระบบสารสนเทศการเรยี นรู และจดั การเรยี นรู
ทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพทัง้ ในสถานศกึ ษาและในชุมชน เพือ่ การศึกษาคนควาและการ ประสบการณการเรียนรู ระหวาง
สถานศึกษา ทองถิ่น ชมุ ชน สังคมโลก

๒๑

๒. จดั ทาํ และจัดหาส่ือการเรียนรูสาํ หรับการศึกษาคนควาของผเู รียน เสรมิ ความรู รวมทัง้ จัดหา
สง่ิ ที่มอี ยใู นทองถ่นิ มาประยุกตใชเปนสือ่ การเรยี นรู

๓. เลือกและใชสอื่ การเรยี นรูทีม่ คี ุณภาพความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคลอง กับวธิ ีการ
เรียนรู ธรรมชาตขิ องสาระการเรยี นรู และความแตกตางระหวางบุคคลของผเู รียน

๔. ประเมินคุณภาพของสื่อการเรยี นรูท่เี ลือกใชอยางเปนระบบ
๕. ศกึ ษาคนควา วิจัย เพอื่ พัฒนาสื่อการเรียนรใู หสอดคลองกับกระบวนการเรียนรขู องผเู รียน
๖. จดั ใหมกี ารกาํ กับ ติดตาม ประเมนิ คุณภาพและประสทิ ธิภาพเก่ียวกับสอ่ื และการเรียนรู
เปนระยะๆ และสม่าํ เสมอ
ในการจดั ทํา การเลอื กใช และการประเมินคุณภาพส่อื การเรียนรูที่ใชในสถานศกึ ษา ควรคํานึงถงึ
หลกั การสําคญั ของสอื่ การเรยี นรู เชน ความสอดคลองกับหลกั สูตร วตั ถปุ ระสงค การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู
การจัดประสบการณใหผูเรยี น เน้ือหามีความถูกตองและ ไมกระทบความมน่ั คงของชาติ ไมขัดตอศีลธรรม มกี ารใช
ภาษาท่ถี ูกตอง ที่เขาใจงายรปู แบบการนาเสนอ และนาสนใจ
๑๓. การวัดและประเมินผลการเรียนรู
การวดั และประเมินผลการเรยี นรูของผเู รียนตองอยูบนหลักการพน้ื ฐานสองประการคือ การประเมนิ เพื่อ
พฒั นาผเู รียนและเพือ่ ตัดสินผลการเรียนในการพฒั นาคุณภาพการเรยี นรู ใหประสบผลสําเร็จนัน้ ผูเรยี นจะตอง
ไดรบั การพฒั นาและประเมินตามตวั ช้ีวดั เพื่อใหบรรลุ การเรียนรู สะทอนสมรรถนะสาํ คญั และคุณลกั ษณะ
อันพึงประสงคของผูเรียนซึ่งเปนเปาหมายวัดและประเมินผลการเรียนรูในทุกระดบั ไมวาจะเปนระดบั ชั้นเรยี น
ระดับสถานศึกษาระดับเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา และระดบั ชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู เปนกระบวนการ
พฒั นาคุณภาพผูเรยี น ผลการประเมินเปนขอมลู และสารสนเทศท่ีแสดงพัฒนาการ ความกาวหนา และความสาํ เรจ็
ทางการเรียนของผูเรียนตลอดจนขอมูลทีเ่ ปนประโยชนตอการสงเสรมิ ใหผเู รียนเกิดการพัฒนาและเรยี นรูอยาง
เตม็ ตามศกั ยภาพ
รปู แบบการประเมนิ ผลแบบ CIPP
คําวา “รูปแบบ”หรือแบบจําลอง ภาษาองั กฤษใชคาํ วา “Model”ซ่ึงหมายถงึ วธิ กี ารที่บคุ คลใดบุคคลหนึง่
ไดถายทอดความคิด ความเขาใจ ตลอดจนจินตนาการท่มี ีตอปรากฏการณหรือเรือ่ งราวใด ๆ ใหปรากฏโดยใช
การสื่อสารในลักษณะตาง ๆ เชน ภาพวาด ภาพเหมอื น แผนภูมิ แผนผัง ฯลฯเพ่อื ใหเขาใจไดงายและสามารถ
นําเสนอเร่อื งราวไดอยางมีระบบ
ในการประเมินผลโครงการนนั้ มีแนวคิดและโมเดลหลายอยาง แตในท่ีนี้ ขอเสนอแนวคดิ และ
โมเดลการประเมนิ แบบซปิ หรือ “CIPP Model” ของสตัฟเฟลบมี (Stufflebeam) เพราะเปนโมเดลทีไ่ ดรบั
การยอมรับกนั ทวั่ ไปในปจจุบัน
แนวคดิ ของสตัฟเฟลบีม เนนการแบงแยกบทบาทของการทํางานระหวางฝายประเมินกับฝาย
บริหารออกจากกันอยางเดนชดั กลาวคือฝายประเมนิ มีหนาทีร่ ะบุจัดหา และนําเสนอสารสนเทศใหกบั
ฝายบริหาร สวนฝายบรหิ ารมหี นาทเ่ี รียกหาขอมลู และนําผลการประเมินทไี่ ดไปใชประกอบการตดั สินใจ

๒๒

เพอ่ื ดาํ เนนิ กจิ กรรมใด ๆ ทเ่ี ก่ยี วของแลวแตกรณี ท้ังน้เี พื่อปองกนั การมีอคตใิ นการประเมนิ
๓. ประเด็นการประเมินตามรูปแบบ CIPP Model

สตฟั เฟลบีม ไดกาํ หนดประเด็นการประเมนิ ออกเปน ๔ ประเภท ตามอกั ษรภาษาองั กฤษตวั แรก
ของ “CIPP Model” ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

๑. การประเมินสภาวะแวดลอม (Context Evaluation : C)
เปนการประเมินกอนการดาํ เนินการโครงการ เพ่ือพจิ ารณาหลักการและเหตผุ ล ความจําเปนท่ีตองดําเนิน
โครงการ ประเดน็ ปญหา และความเหมาะสมของเปาหมายโครงการ เชน โครงการอาหารเสรมิ แกเดก็ วยั กอนเรยี น
เราจะตองวดั สวนสูง และช่งั นา้ํ หนกั ตลอดจน ดหู ิด เหา กลาก เกลื้อน ของเดก็ กอน
๒. การประเมินปจจยั นําเขา (Input Evaluation : I )
เปนการประเมนิ เพือ่ พจิ ารณาถึงความเปนไปไดของโครงการ ความเหมาะสม และความพอเพยี งของ
ทรพั ยากรทจ่ี ะใชในการดําเนนิ โครงการ เชน งบประมาณ บุคลากร วสั ดุอปุ กรณ เวลา ฯลฯ รวมทั้งเทคโนโลยี
และแผนการดาํ เนนิ งาน
๓. การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation : P )
เปนการประเมินเพอ่ื หาขอบกพรองของการดาํ เนินโครงการ ทจี่ ะใชเปนขอมูลในการพฒั นา แกไข
ปรับปรุงใหการดําเนินการชวงตอไปมีประสทิ ธิภาพมากข้ึน และเปนการตรวจสอบกิจกรรม เวลา ทรพั ยากร
ทีใ่ ชในโครงการ ภาวะผูนาํ การมสี วนรวมของประชาชนในโครงการ โดยมีการบันทกึ ไวเปนหลักฐานทุกข้ันตอน
การประเมนิ กระบวนการนี้ จะเปนประโยชนอยางมากตอการคนหาจดุ เดน หรอื จุดแข็ง (Strengths) และ
จุดดอย (Weakness) ของนโยบาย / แผนงาน/โครงการ ซึ่งมกั จะไมสามารถศกึ ษาไดภายหลังจากสนิ้ สุด
โครงการแลว
๔. การประเมินผลผลติ (Product Evaluation : P )
เปนการประเมินเพื่อเปรียบเทียบผลผลติ ทีเ่ กดิ ขน้ี กับวตั ถปุ ระสงคของโครงการ หรือมาตรฐานทก่ี าํ หนดไว
รวมท้งั การพจิ ารณาในประเดน็ ของการยุบ เลิก ขยาย หรือปรับเปล่ียนโครงการ
แตการประเมนิ ผลแบบน้ีมไิ ดใหความสนใจตอเรือ่ งผลกระทบ (Impact) และผลลพั ธ ( Outcomes )
ของ นโยบาย / แผนงาน / โครงการเทาท่ีควร
นอกจากน้ี สตฟั เฟลบมี ได นําเสนอประเภทของการตดั สนิ ใจท่ีสอดคลองกับประเดน็ ทป่ี ระเมนิ ดงั น้ี
๑. การตดั สินใจเพื่อการวางแผน (Planning Decisions) เปนการตดั สนิ ใจที่ใชขอมูลจากการ
ประเมนิ สภาพแวดลอมทีไ่ ดนําไปใชในการกําหนดจุดประสงคของโครงการ ใหสอดคลองกบั แผนการดาํ เนนิ งาน
๒. การตัดสินใจเพ่ือกาํ หนดโครงสรางของโครงการ (Structuring Decisions) เปนการตัดสนิ ใจทีใ่ ชขอมูล
จากปจจัยนําเขาทไ่ี ดนําไปใชในการกาํ หนดโครงสรางของแผนงาน และขั้นตอนของการดาํ เนินการของโครงการ
๓. การตัดสนิ ใจเพอื่ นาํ โครงการไปปฏบิ ัติ (Implementation Decisions) เปนการตัดสนิ ใจท่ใี ช
ขอมลู จากการประเมินกระบวนการเพ่ือพจิ ารณาควบคมุ การดาํ เนินการใหเปนไปตามแผน และปรบั ปรุงแกไข
การดาํ เนนิ การใหมปี ระสิทธิภาพมากท่สี ดุ

๒๓

๔. การตัดสนิ ใจเพือ่ ทบทวนโครงการ (Recycling Decisions) เชน การตดั สินใจเพอ่ื ใชขอมลู จาก
การประเมินผลผลิต ( Output ) ท่ีเกดิ ขึน้ เพอื่ พิจารณาการยตุ /ิ ลมเลิก หรือขยายโครงการที่จะนําไปใชใน
โอกาสตอไป

๕. จากขอมูลเกย่ี วกบั ประเดน็ การประเมนิ แบบ CIPP ทั้ง ๔ ประการและประเภทของการตัดสินใจ
ดังกลาวขางตน พอจะสรปุ ความสมั พนั ธระหวางประเภทของการประเมินกับการตดั สินใจ ดงั แผนภมู ทิ ี่ ๑

ประเภทการประเมิน ประเภทการตดั สินใจ

การประเมนิ สภาวะแวดลอม การตดั สินใจเพอ่ื การวางแผน
(Context Evaluation) (Planning Decisions)

การประเมนิ ปจจัยเบอื้ งตน/ตวั ปอน การตัดสนิ ใจเพอ่ื กําหนดโครงสราง
(Input Evaluation) (Structuring Decisions)

การประเมนิ กระบวนการ การตัดสินใจเพ่ือนําโครงการไปปฏบิ ตั ิ
(Process Evaluation) (implementing Decisions)

การประเมนิ ผลผลิต การตัดสินใจเพ่ือทบทวนโครงการ
(Product Evaluation) (Recycling Decisions)

แผนภูมทิ ่ี ๑ : ความสมั พันธของการตัดสนิ ใจ และประเภทของการประเมนิ แบบ CIPP Model
เกณฑ และตวั ชว้ี ดั ความสาํ เร็จ

การประเมินผลโครงการนั้นตองมเี กณฑและตัวช้ีวดั (Indicator) ระดับความสาํ เรจ็ ของโครงการใหทราบ
ซึง่ โดยท่วั ไปแลวเกณฑทีใ่ ชในการประเมินผลโครงการ (วรเดช จนั ทรศร และไพโรจน ภัทรนรากลุ . ๒๕๔๑ : ๔๔ )
มดี ังน้ี

๑. เกณฑประสิทธิภาพ (Efficiency) มีตัวชวี้ ัด เชน สดั สวนของผลผลติ ตอคาใชจาย ผลิตภาพตอ
หนวยเวลา ผลติ ภาพตอกําลังคน ระยะเวลาในการใหบรกิ ารผูปวย

๒. เกณฑประสิทธผิ ล (Effectiveness) มีตัวช้ีวัดเชน ระดบั การบรรลเุ ปาหมาย ระดับการ
บรรลุตามเกณฑมาตรฐาน ระดับการมีสวนรวม ระดับความเสย่ี งของโครงการ

๒๔

๓. เกณฑความพอเพียง (Adequacy) มีตัวชีว้ ดั เชน ระดับความพอเพียงของทรัพยากร
๔. เกณฑความพึงพอใจ (Satisfaction) มตี ัวชี้วดั เชน ระดับความพึงพอใจ
๕. เกณฑความเปนธรรม (Equity) มตี ัวช้วี ัดคือ การใหโอกาสกับผูดอยโอกาส ความเปนธรรม
ระหวางเพศ ระหวางกลุมอาชพี ฯลฯ
๖. เกณฑความกาวหนา (Progress) มีตัวชี้วัด เชน ผลผลิตเปรยี บเทยี บกับเปาหมายรวม
กจิ กรรมท่ีทําแลวเสร็จ ทรพั ยากร และเวลาทีใ่ ชไป
๗. เกณฑความยั่งยืน ( Sustainability ) ตวั ช้ีวดั เชน ความอยูรอดของโครงการดานเศรษฐกิจ
สมรรถนะดานสถาบนั ความเปนไปไดในดานการขยายผลของโครงการ
๘. เกณฑความเสียหายของโครงการ ( Externalities ) มตี วั ชวี้ ดั เชน ผลกระทบดาน
สง่ิ แวดลอม ผลกระทบดานเศรษฐกิจ ผลกระทบดานสงั คมและวฒั นธรรม เปนตน
สาํ หรับตวั ชว้ี ดั (Indicators) ความสําเรจ็ ของโครงการน้ัน หมายถงึ ขอความทแี่ สดงหรอื ระบุ
ประเดน็ ทีต่ องการจะวดั หรอื ประเมนิ หรือตัวแปรที่ตองการจะศกึ ษา โดยจะมีการระบลุ กั ษณะที่
คอนขางเปนรูปธรรม ทง้ั สวนท่มี ีลกั ษณะเชงิ ปรมิ าณ และสวนทีแ่ สดงลักษณะเชงิ คุณภาพ
หลักการสรางตัวชี้วดั ทดี่ ี
ในการสรางตัวช้วี ัดท่ดี จี ําเปนจะตองมีหลักการทีใ่ ชเปนเปาหมายในการดําเนินการดังน้ี
๑. เลอื กใช / สรางตัวชี้วดั ท่เี ปนตัวแทนทส่ี าํ คญั เทานนั้
๒. คําอธบิ าย หรอื การกาํ หนดตัวชี้วดั ควรเปนวลีทมี่ ีความชดั เจน
๓. ตวั ชวี้ ัดอาจจะกาํ หนดไดท้งั เชิงปริมาณ และเชงิ คุณภาพก็ได
๔. ควรนําจุดประสงคของโครงการ หรือประเดน็ การประเมนิ มากําหนดตัวช้วี ัด
๕. การเกบ็ รวบรวมขอมลู เก่ียวกบั ตัวช้วี ัดควรรวบรวมขอมลู ทัง้ จากแหลงปฐมภูมแิ ละทตุ ิยภูมิ
การจําแนกประเภทของตัวช้ีวดั ตามลกั ษณะของส่งิ ทีไ่ ดรบั การประเมิน
ตวั ชีว้ ัดดานบรบิ ท ( Context ) : ตัวชว้ี ดั สามารพิจารณาไดจากส่งิ ตาง ๆ ดังน้ี
๑. สภาวะแวดลอมของ กอนมีโครงการ (ปญหาวิกฤต)
๒. ความจําเปน หรือความตองการขณะน้นั และอนาคต
๓. ความเขาใจรวมกนั ของทุกฝายท่เี กี่ยวของกับโครงการ
ตวั ชี้วดั ดานปจจัยนําเขา ( Input ) : ตวั ช้วี ัดสามารถพจิ ารณาไดจากส่ิงตาง ๆ ดังน้ี
๑. ความชดั เจนของวตั ถปุ ระสงคของโครงการ
๒. ความพรอมของทรพั ยากร เชน งบประมาณ คน วสั ดุอปุ กรณ เวลา กฎระเบียบ
๓. ความเหมาะสมของขั้นตอนระหวางปญหา สาเหตุของปญหา และกจิ กรรม
ตัวชีว้ ดั ดานกระบวนการ ( Process ) : ตวั ชวี้ ดั สามารถพจิ ารณาไดจากสง่ิ ตาง ๆ ดงั น้ี
๑. การตรวจสอบกิจกรรม เวลา และทรพั ยากรของโครงการ
๒. ความยอมรบั ของประชาชนและหนวยงานที่เกย่ี วของกับโครงการในพืน้ ท่ี

๒๕

๓. การมสี วนรวมของประชาชน และหนวยงานทเี่ ก่ยี วของกบั โครงการ
๔. ภาวะผูนําในโครงการ
ตัวชีว้ ัดดานผลผลิต ( Product ) : ตวั ช้ีวดั สามารถพิจารณาไดจากส่ิงตาง ๆ ดงั นี้
๑. อตั ราการมงี านทาํ ของประชาชนทีย่ ากจน
๒. รายไดของประชาชนท่ีเขารวมโครงการ
๓. ความพึงพอใจของประชาชนทีเ่ ขารวมโครงการ
ตัวช้วี ดั ดานผลลัพธ ( Outcomes ) : ตัวช้วี ัดสามารถพิจารณาไดจากสงิ่ ตาง ๆ ดงั น้ี
๑. คุณภาพชวี ติ ของตนเอง และครอบครัวตามเกณฑมาตรฐาน
๒. การไมอพยพยายถิ่น
๓. การมีสวนรวมในการพฒั นาชุมชน
ตัวชว้ี ัดดานผลกระทบ( Impact ) : ตวั ชี้วัดสามารถพจิ ารณาไดจากส่งิ ตาง ๆ ดังน้ี
๑. ผลกระทบทางบวก / เปนผลที่คาดหวงั จากการมีโครงการ
๒. ผลกระทบทางลบ / เปนผลท่ไี มคาดหวงั จากโครงการ
เกณฑ และตวั ชีว้ ัดดังกลาวน้ี สามารถใชเปนเครื่องมอื ในการประเมนิ ผลโครงการไดดี ซง่ึ จะครอบคลุม
มติ ดิ านเศรษฐกจิ สงั คม ดานบริหารจัดการ ดานทรัพยากร และดานสง่ิ แวดลอม เปนตนนอกจากนนั้
ยังสามารถวดั ถึงความสําเร็จ และความลมเหลวของโครงการพฒั นาตางๆ ของรัฐได ซ่งึ ในทางปฏบิ ตั ิ นกั ประเมนิ ผล
จะตองนําเกณฑ และตวั ชวี้ ดั ดังกลาวมาปรับใชใหเหมาะสมกับลกั ษณะ และบรบิ ทของโครงการดวย
๔. แนวคดิ เก่ยี วกบั ความพึงพอใจ
๑. ความหมาย
ความพงึ พอใจเปนคําทมี่ คี วามหมายหลากหลาย ซึง่ ไดจากแนวคดิ แตละทศั นะตามกรอบความคดิ และ
ความเชื่อของแตละบุคคลท่ียดึ ถือ นกั วชิ าการหลายทานไดใหความหมายไว ดงั น้ี
จิราภรณ หอมกลนิ่ (๒๕๔๘ : ๕๒) ใหความหมายไววา ความพึงพอใจ หมายถงึ ความรูสึกทเ่ี กิดขน้ึ
ภายในจิตใจของบคุ คลตอสงิ่ ใดสิง่ หน่ึง เมอ่ื ไดรับการตอบสนองตามความตองการหรอื ไดรบั การยกยองชมเชย
จาํ ปา วัฒนศริ นิ ทรเทพ (๒๕๕๐ : ๔๘) สรปุ ไววา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรสู ึกนึกคดิ ความเชอื่
การแสดงความรูสกึ ความคดิ เหน็ ตอส่ิงใดสงิ่ หน่ึง โดยแสดงพฤติกรรมออกมา ๒ ลกั ษณะ คอื ทางบวก ซ่งึ
แสดงในลกั ษณะความชอบ ความพึงพอใจ ความสนใจ เห็นดวย ทําใหอยากทํางานหรอื ปฏิบัติกจิ กรรม
อกี ลกั ษณะหนึง่ คือ ทางลบ ซงึ่ จะแสดงออกในลักษณะของความเกลยี ด ไมพงึ ประสงค ไมพอใจ ไมสนใจ
ไมเห็นดวย อาจทาํ ใหบุคคลเกิดความเบ่ือหนาย หรือตองการหนหี างจากส่ิงนนั้ นอกจากนค้ี วามพงึ พอใจ
อาจจะแสดงออกในลกั ษณะความเปนกลางกไ็ ด เชน รูสกึ เฉย ๆ ไมรักไมชอบไมนาสนใจในส่ิงนนั้ ๆ
สมพิศ ไชยเสนา (๒๕๕๐ : ๕๔) กลาววา ความพงึ พอใจ คือ ความรสู กึ ของบคุ คลตอสิ่งใด สงิ่ หน่งึ
ความรสู ึกพึงพอใจเกดิ ขึน้ เมอื่ บุคคลไดรับสงิ่ ที่ตนตองการและทาํ ใหบุคคลมพี ฤตกิ รรม ตอส่งิ เรานั้นในเชงิ บวก
หรอื เปนไปตามเปาหมายทตี่ นเองตองการ หรอื ไมมคี วามรสู กึ ขัดแยงกบั ส่งิ เหลาน้นั และถาระดบั ความรูสึก

๒๖

ถามคี วามเครยี ดมากจะทาํ ใหเกดิ ความไมพึงพอใจในการทํางาน ความพงึ พอใจเปลย่ี นแปลงไปตามเวลาและ
สถานการณแวดลอม

จากที่กลาวมาสรุปไดวา ความพึงพอใจ หมายถึง ความรสู กึ นึกคิด ความเช่อื การแสดงความรูสึก
ความคดิ เหน็ ตอส่ิงใดสงิ่ หน่งึ หรือทศั นคตขิ องบุคคล ทม่ี ีตองานหรือกิจกรรมซึ่งสามารถเปนไปไดทงั้ ทางบวก
และทางลบ ระดบั ความพึงพอใจของแตละบคุ คลยอมมคี วามแตกตางกัน

๒. ทฤษฎที ่ีเกี่ยวของกับความพงึ พอใจ
ไชยยันห ชาญปรีชารตั น (๒๕๔๓ : ๕๒) ไดกลาวถึงทฤษฎที างพฤติกรรมศาสตรท่เี กย่ี วกับลกั ษณะ
และความตองการของมนุษยซ่ึงสามารถนํามาประยุกตใชในการสรางเสรมิ ความพงึ พอใจของบคุ คลไดอยาง
เหมาะสม ประกอบดวยทฤษฎีทสี่ ําคญั ดังน้ี
๑. ทฤษฎขี องอบั ราฮมั มาสโลว (Abraham Maslow) มาสโลวต้ังทฤษฎีนีโ้ ดยมีแนวคดิ พ้ืนฐาน
เกย่ี วกับพฤติกรรมของมนุษยไว ดังนี้

๑.๑ ลักษณะความตองการมนุษย ประกอบดวย
๑.๑.๑ ความตองการของมนุษยเปนไปตามลําดับข้ันความสําคญั โดยเร่มิ จากระดบั

ความตองการขนั้ ต่ําไปสคู วามตองการขั้นสงู
๑.๑.๒ มนุษยมคี วามตองการอยูเสมอ เมือ่ ความตองการอยางหนึ่งไดรับการตอบสนอง

แลวกจ็ ะมีความตองการสง่ิ ใหมเขามาแทนที่
๑.๑.๓ เม่ือความตองการในระดับหนึ่งไดรับการตอบสนองแลว จะไมจูงใจใหเกิด

พฤติกรรมตอสิ่งหน่ึงแตจะมีความตองการในระดบั สูงเขามาแทนและเปนแรงจงู ใจใหเกดิ พฤตกิ รรมในส่ิงนัน้
๑.๑.๔ ความตองการท่เี กิดข้ึนอาศัยซึ่งกันและกนั มลี กั ษณะควบคกู นั คอื เม่ือ

ความตองการ อยางหน่งึ ไมหมดสิ้นไป ก็จะมคี วามตองการอยางหน่ึงเกดิ ขนึ้ มา
๑.๒ ลาํ ดับขน้ั ความตองการของมนษุ ย (hierarchy of needs) มี ๕ ระดบั คือ
๑.๒.๑ ความตองการทางดานกายภาพ (physiological needs) เปนความตองการ

เบ้ืองตนเพอ่ื ความอยรู อด เชน ความตองการเรอ่ื งอาหาร ทอี่ ยอู าศยั ความตองการทางเพศ ความตองการทางดาน
รางกาย จะมีอทิ ธพิ ลตอพฤติกรรมของคนก็ตอเมือ่ ความตองการทัง้ หมดของตนยังไมไดรบั การตอบสนองเลย

๑.๒.๒ ความตองการทางดานความปลอดภัย (safety needs) เปนเรื่องท่ีเกย่ี วกบั
ความปองกนั เพ่ือใหเกดิ ความปลอดภัยจากอนั ตรายตาง ๆ ทเี่ กดิ กับรางกาย ความเจบ็ ปวยและความสญู เสียทาง
เศรษฐกจิ รวมถึงการรับประกนั ตอความมน่ั คงในหนาทกี่ ารงานและสงเสริมเพือ่ ใหเกดิ ความมัน่ คงทางดานเศรษฐกิจ

๑.๒.๓ ความตองการความรักและความตองการทางดานสงั คม (love and belonging
needs) เปนความตองการท่เี กี่ยวกับการอยูรวมกันและการไดรับการยอมรบั จากบุคคลอื่นโดยมีความรูสึกวาตนเอง
น้ันเปนสวนหนึ่งของกลมุ ทางสงั คมเสมอ เมอ่ื ความตองการทางดานกายภาพและความปลอดภัยไดรับการตอบสนอง
แลว ความตองการดานสงั คม เปนสิง่ จูงใจท่ีสําคญั ตอพฤติกรรมของคน ทั้งนี้เพราะคนมนี สิ ัยชอบอยูรวมกันเปนกลมุ

๑.๒.๔ ความตองการทีจ่ ะไดรับการยกยอง (esteem needs) เปนความตองการระดับ

๒๗

ท่เี ก่ยี วกบั ความมั่นใจในตนเอง ในเร่ืองความรู ความสามารถ เปนความตองการที่จะใหผอู นื่ ยกยอง สรรเสรญิ
เม่อื ทํางานสงิ่ ใดสง่ิ หนึ่งไดสาํ เรจ็ และความพึงพอใจในการมีฐานะเดนทางสงั คม

๑.๒.๕ ความตองการที่จะไดรับความสําเรจ็ ในชีวติ (self actualization needs)
เปนความตองการทีพ่ ิจารณาถึงสมรรถนะท่ีเปนไปไดของตนและการบรรลุเปาหมายที่ตนตองการ เม่ือบุคคลมี
การพิจารณาถึงบทบาทของเขาในชวี ิตวาจะเปนอยางไร บคุ คลนนั้ จะผลักดันชวี ติ ของตนเองใหเปนไปในทางทดี่ ี
ทส่ี ดุ ตามที่คาดหมายไว อยางไรกต็ ามยอมขนึ้ อยกู บั ขดี ความสามารถของเขาเองดวย

๒. ทฤษฎี ERG Theory เคลยตนั อลั เดอรเฟอร (Clayton Alderfer) มคี วามเช่ือวาความตองการ
มอี ทิ ธพิ ลตอการแสดงพฤตกิ รรมของมนษุ ยเชนเดยี ว Maslow แตความตองการตามแนวคดิ อัลเดอรเฟอร
แบงออกเปน ๒ กลุมใหญดวยกนั คือ

๒.๑ ความตองการเพือ่ ดาํ รงชีวติ (existence needs) เปนความตองการทางกายภาพและความตองการ
ทางวัตถทุ ่ีชวยใหมนุษยอยูรอดได เชน อาหาร นาํ้ ท่ีอยูอาศัย นอกจากนีค้ าจางแรงงาน ความมั่นคง สวสั ดิภาพ
ความปลอดภัย ก็จัดอยูในกลุมน้ีเม่ือเปรียบเทยี บกับทฤษฎขี องมาสโลว ความตองการเพื่อการดาํ รงชีวิตจะ
รวมสวนทเี่ ปนความตองการทางดานสรีระทัง้ หมดกบั บางสวนของความตองการความมั่นคงปลอดภยั

๒.๒ ความตองการดานความสมั พนั ธ (relatedness needs) เปนความตองการทางสังคม ความตองการ
ความรูสึกปลอดภัยในความสัมพนั ธระหวางบคุ คล การไดรบั การยอมรับ การมีชอ่ื เสยี ง และการไดรับการยกยอง
จากสังคม เมื่อเทยี บกับทฤษฎีของมาสโลวความตองการดานความสัมพันธนจี้ ะรวมถึงสวนทเี่ ปนความตองการ
ความมัน่ คง ปลอดภยั ความตองการทางสังคมและบางสวนของความตองการเกยี รติและศักด์ิศรี และความตองการ
ทาํ ตนใหประจกั ษทง้ั หมด

๒.๓ แนวคิดพนื้ ฐานของทฤษฎนี ี้ มีดังน้ี
๒.๓.๑ มนุษยอาจจะมคี วามตองการหลาย ๆ อยางเกิดข้นึ ในเวลาเดียวกัน โดยไมตองจําเปนวา
ความตองการเบอื้ งลาง จะตองไดรบั การตอบสนองกอนจงึ จะเกิดความตองการเบ้อื งสงู
๒.๓.๒ ยิง่ ความตองการไดรบั การตอบสนองนอยเทาใด บุคคลกจ็ ะมีความตองการแตละประเภทมาก
ยง่ิ ขึน้
๒.๓.๓ ยิ่งความตองการระดบั ตํ่าไดรับการตอบสนองมากเทาใด บคุ คลก็จะมี ความตองการระดับสงู
มากขนึ้ ไปอกี
๒.๓.๔ ยง่ิ ความตองการระดับสงู ไดรับการตอบสนองนอยเทาใด บคุ คลก็จะมคี วามตองการในระดบั
ตาํ่ มากขึ้นเทานน้ั
จะเหน็ ไดวา ความตองการของมนุษยนั้นมีอยมู ากมาย ท้งั ปริมาณ และขอบเขต เพราะมนษุ ยอยใู น
สภาพแวดลอมท่ีไมเหมือนกัน การกาํ หนดความตองการพืน้ ฐานจงึ แตกตางกนั ไป แตอยางไรก็ตามหากความ
ตองการของมนุษยไดรบั การตอบสนองแลว มนุษยจะเกดิ ความพึงพอใจในระดับหน่ึง ซง่ึ สง่ิ เหลานีจ้ ะสงผลถงึ
ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตาง ๆ ดวย
๓. ปจจยั ทที่ ําใหเกิดความพงึ พอใจ ปจจัยท่ีทําใหเกิดความพึงพอใจในการทํางาน ๒ ปจจัย มีดงั นี้

๒๘

(เผชิญ กิจระการ, ๒๕๔๘ : ๑๗)
๓.๑ ปจจัยกระตุน (motivation factors) เปนปจจัยทเี่ กย่ี วกบั การงาน ซงึ่ มีผลกอใหเกิดความพงึ พอใจ

ในการทํางาน เชน ความสําเรจ็ ของงาน การไดรับการยอมรับนับถือ ลกั ษณะของงาน ความรับผิดชอบ
ความกาวหนาในตําแหนงการงาน

๓.๒ ปจจยั ค้ําจนุ (hygiene factors) เปนปจจัยทเี่ ก่ียวของกบั ส่งิ แวดลอมในการทาํ งาน และทาํ ให
บุคคลเกิดความพึงพอใจในการทาํ งาน เชน เงินเดอื นโอกาสท่ีจะกาวหนาในอนาคต สถานะของอาชีพ
สภาพการทาํ งาน เปนตน ในการดาํ เนินกิจกรรมการเรียนการสอน ความพึงพอใจเปนส่งิ สาํ คัญ ที่กระตนุ
ใหผูเรยี นทาํ งานทไี่ ดรับมอบหมาย หรือปฏบิ ตั ิงานใหบรรลผุ ลตามวัตถปุ ระสงค โดยมีครูผสู อนเปนเพยี ง
ผอู ํานวยความสะดวกหรือใหคาํ แนะนาํ ปรึกษา จงึ ตองคํานึงถงึ ความพงึ พอใจในการเรยี นรู ที่ทําใหผเู รียน
เกดิ ความพงึ พอใจในการเรียนรหู รือการปฏิบัติงานนนั้ ซงึ่ มแี นวคิดพน้ื ฐานทตี่ างกัน ๒ ลกั ษณะ คอื

๓.๒.๑ ความพงึ พอใจนําไปสูการปฏบิ ตั งิ าน การตอบสนองความตองการผูปฏบิ ัติงานจนเกดิ
ความพงึ พอใจ จะทาํ ใหเกดิ แรงจูงใจในการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการทํางานทส่ี งู กวาผไู มไดรับการตอบสนอง
เปนศูนยกลางบรรลุผลสาํ เร็จ จึงตองคาํ นึงถึงการจดั บรรยากาศและสถานการณรวมทั้งสอื่ อปุ กรณ
การเรียน การสอนทเ่ี อ้ืออํานวยตอการเรียน เพอื่ ตอบสนองความพงึ พอใจของผูเรียนใหมแี รงจูงใจในการทํา
กจิ กรรมบรรลุตามวัตถปุ ระสงคของหลักสตู ร

๓.๒.๒ ผลของการปฏิบตั ิงานนําไปสูความพงึ พอใจ ความสมั พันธระหวางความพึงพอใจและ
ผลการปฏบิ ตั งิ านจะถูกเช่อื มโยงดวยปจจยั อ่ืน ๆ ผลการปฏิบตั งิ านทีด่ ีจะนําไปสผู ลตอบแทนท่ีเหมาะสม
ซง่ึ ในทส่ี ดุ จะนาํ ไปสกู ารตอบสนองความพึงพอใจ ผลการปฏิบตั งิ านยอมไดรบั การตอบสนองในรปู ของรางวัล
หรอื ผลตอบแทน ซึ่งแบงออกเปนผลตอบแทนภายใน (intrinsic rewards) และผลตอบแทนภายนอก
(extrinsic rewards) โดยผานการรบั รูเก่ยี วกับความยตุ ิธรรมของผลตอบแทน ซ่งึ เปนตัวบงช้ปี ริมาณของผล
ตอบแทนทผ่ี ปู ฏิบตั งิ านไดรับ คือ ความพึงพอใจในงานของผปู ฏิบตั งิ าน จะถูกกําหนดโดยความแตกตางระหวาง
ผลตอบแทนทเ่ี กิดข้ึนจรงิ และการรับรเู รื่องเก่ียวกับความยตุ ิธรรม ของผลตอบแทน ทรี่ บั รแู ลวความพงึ พอใจ
ยอมเกดิ ข้นึ

๔. การสรางความพึงพอใจในการเรยี น
สมยศ นาวีการ (๒๕๔๔ : ๑๒๕) ไดกลาววา การดําเนนิ งานกิจกรรมการเรยี นการสอนนัน้ ความพงึ พอใจ
เปนสิง่ สาํ คัญท่ีจะกระตุนใหผเู รยี นทาํ งานทีไ่ ดรับมอบหมายหรือตองการปฏบิ ตั ใิ หบรรลุตามวตั ถุประสงค
ครผู ูสอนซ่งึ ในปจจบุ ันเปนเพยี งผอู าํ นวยความสะดวกหรือใหคาํ แนะนําปรกึ ษา การทาํ ใหผูเรยี นเกดิ ความรสู กึ
พงึ พอใจในการปฏิบัตงิ านครูผสู อนตองคํานึงถึงแนวคดิ พืน้ ฐานทม่ี คี วามแตกตางกันใน ๒ ลกั ษณะ ตอไปน้ี

๑. ความพึงพอใจนาํ ไปสูการปฏิบตั ิการตอบสนองความตองการผูปฏบิ ตั ิงาน จนเกิดความพงึ พอใจ
ซง่ึ จะทําใหเกดิ แรงจูงใจในการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการทาํ งานทสี่ ูงกวาผทู ่ไี มไดรับการตอบสนอง

๒. ความพึงพอใจนําไปสกู ารกระตนุ การเสริมแรง เปนแรงบลั ดาลใจเพือ่ ใหผูไดรับจากการกระตนุ
ดวยวธิ ีการหรือเทคนิคตาง ๆ ไดรับความพงึ พอใจอยางตอเนอื่ งและอยากปฏิบัติ เพอ่ื ตอบสนองการเสรมิ แรง

๒๙

ในเชงิ บวก กอใหเกิดผลสมั ฤทธขิ์ องการปฏบิ ตั ิงานใด ๆ ได ดังน้นั ครูผูสอนที่ตองการใหกจิ กรรมการเรยี น
การสอนที่เนนผูเรยี นเปนสาํ คญั บรรลจุ ุดประสงค ตองคาํ นึงถงึ การจดั บรรยากาศ สถานการณ สือ่ การสอน
ทเี่ ออื้ อาํ นวยตอการเรยี นเพ่ือตอบสนองความพึงพอใจของผเู รยี นใหมแี รงจงู ใจทํากจิ กรรมจนบรรลจุ ุดประสงค

จากแนวคดิ ทก่ี ลาวมา เมอ่ื นาํ มาใชในการเรยี น ผลตอบแทนภายในหรือรางวัลภายใน เปนผลดานความรูสกึ
ของผูเรยี นทีเ่ กิดแกตวั ผูเรยี นเอง เชน ความรูสกึ ตอความสําเร็จท่เี กดิ ขึน้ เมื่อสามารถเอาชนะความยุงยากตาง ๆ
และสามารถดําเนินงานภายใตความยุงยากทั้งหลายไดสําเรจ็ ทาํ ใหเกิดความภาคภมู ิใจ ความมน่ั ใจตลอดจนไดรบั
การยกยองจากบุคคลอืน่ สวนผลตอบแทนภายนอกเปนรางวัลที่ผอู ่นื จัดหาใหมากกวาที่ตนเองใหตนเอง เชน
การไดรบั คํายกยองชมเชยจากครูผูสอน พอแม ผูปกครอง หรือแมแตการไดคะแนนผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนใน
ระดบั ท่นี าพอใจ

สรุปไดวา ความพงึ พอใจในการประเมินหลกั สตู รสถานศกึ ษาจะมีความสมั พนั ธกนั ทางบวก ทง้ั นข้ี นึ้ อยูกับ
กจิ กรรมทผี่ ูที่มสี วนเก่ียวของไดมสี วนรวมในการปฏิบตั ิ ทําใหผูที่มีสวนเก่ียวของไดรบั การตอบสนองความตองการ
ทางดานรางกาย ความคิดและจติ ใจ ซึ่งเปนสวนสําคัญทจี่ ะทําใหเกิดความสมบูรณของหลกั สูตรสถานศึกษานั่นเอง

๓๐

บทที่ ๓

วิธีดาํ เนินการ

การประเมินหลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นวดั จันทรตะวันออก สาํ นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา

ประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต ๑ ไดดําเนินการ โดยใชรูปแบบการประเมิน CIPP Model ดังนี้

๑. กลมุ เปาหมาย

๒. เครอื่ งมือท่ีใชในการรวบรวมขอมูล

๓. ขั้นตอนการดาํ เนนิ การ

๔. การวิเคราะหขอมูล

๕. สถิตทิ ี่ใชในการวเิ คราะหขอมูล

กลมุ เปาหมาย

กลุมเปาหมายทใ่ี ชในการประเมินครัง้ นี้ ประกอบดวย

๑. กลุมเปาหมาย

กลุมเปาหมาย ท่ีใชในการประเมนิ ครงั้ นี้ ประกอบดวย

๑) ผูอํานวยการโรงเรียน ๑ คน

๒) ครูผูสอน ๑๘ คน

๓) คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ๕ คน

๔) ผูปกครองนกั เรียน ใชวิธีการสุมแบบแบงชนั้ อยางเปนสดั สวน ๖๐ คน

๕) นกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๓ ๒๐ คน

นกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๖ ๒๐ คน

นักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปที่ ๓ ๒๐ คน

เคร่ืองมอื ที่ใชในการรวบรวมขอมลู

การประเมนิ หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนวัดจนั ทรตะวันออก สํานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา

ประถม ศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต ๑ ครัง้ น้ี ใชเครอ่ื งมอื เกบ็ รวบรวมขอมลู ท่ีโรงเรยี นจัดทํา เพือ่ ให

โรงเรียน

ใชประเมนิ หลักสตู รสถานศกึ ษา ดังนี้

ฉบบั ที่ ๑ แบบสอบถามเพอ่ื การประเมินหลกั สตู รสถานศกึ ษา สําหรบั ผูบริหารและครผู ูสอน

ฉบับท่ี ๒ แบบสอบถามเพอ่ื การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา สําหรบั นกั เรยี น

ฉบบั ท่ี ๓ แบบสอบถามเพอื่ การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา สําหรบั ผปู กครองนกั เรยี น

ฉบบั ท่ี ๔ แบบสอบถามเพื่อการประเมนิ หลกั สูตรสถานศกึ ษา สาํ หรบั คณะกรรมการ

สถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน

๓๑

ขัน้ ตอนการดําเนินการ
การเก็บรวบรวมขอมูลดําเนนิ การดงั น้ี
๑) ศกึ ษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั เกยี่ วกบั การจดั ทําหลักสูตรสถานศกึ ษา

การประเมินหลักสูตร
๒) สรางเครื่องมอื ท่ีใชในการประเมนิ ไดแก แบบสอบถามเพ่อื การประเมินหลักสูตร

โดยใชรูปแบบ CIPP Model จํานวน ๔ ฉบับ
๓) เก็บรวบรวมขอมลู และวเิ คราะหขอมลู สอบถามความคดิ เหน็ เก่ยี วกับ ดานบรบิ ท

ดานปจจยั การใชหลกั สตู ร ดานกระบวนการใชหลกั สตู ร และ ดานผลผลิต ดงั น้ี
๓.๑) โรงเรียนแตงต้งั คณะกรรมการปรบั ปรงุ หลกั สตู รและงานวิชาการโรงเรยี นวัด

จันทรตะวนั ออก
๓.๒) เกบ็ รวบรวมขอมูล กาํ หนดการ ดังน้ี
๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ชีแ้ จงรายละเอยี ดการประเมนิ หลกั สูตรสถานศกึ ษา
มอบหมายงานและแจกแบบสอบถามแกกลุมเปาหมาย
๑-๑๕ สิงหาคม ๒๕๖๓ เก็บรวบรวมขอมลู
สิงหาคม ๒๕๖๓ วิเคราะหขอมูลและรายงานประเมนิ
หลกั สูตรสถานศึกษา

๔) สรุปผลการประเมินและนําเสนอรายงานผลการประเมิน

การวิเคราะหขอมลู
การวเิ คราะหขอมูลเพื่อการหาคาสถิติทําการวเิ คราะหโดยใชคอมพิวเตอรโปรแกรมสําเร็จรปู

เพ่อื หาคาความถ่ี คารอยละ คาเฉลย่ี และสวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน เพ่ือใชในการวิเคราะหขอมลู
ตอนที่ ๑ วเิ คราะหขอมูลโดยหาคาความถ่ี คารอยละ นาํ เสนอในรปู แบบตารางประกอบ

ความเรยี ง
ตอนที่ ๒ การวเิ คราะหการประเมนิ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดจันทรตะวนั ออก

สาํ นักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต ๑ ใน ๔ ดาน ไดแก ๑. ดานบรบิ ท ๒. ดานปจจัย
การใชหลกั สูตร ๓. ดานกระบวนการใชหลักสตู ร และ ๔. ดานผลผลิต โดยการหาคาเฉลีย่ และสวนเบีย่ งเบน
มาตรฐาน

๓๒

สถติ ิท่ใี ชในการวเิ คราะหขอมลู
๑. วเิ คราะหสถานภาพของผูตอบแบบประเมินเปนคารอยละ (บุญชม ศรีสะอาด:๑๐๔) ๒๕๔๕
๑.๑ หาคารอยละ โดยใชสตู ร (บญุ ชม ศรสี ะอาด, ๒๕๔๖, หนา ๑๐๕)

P= f X 100

n

เมอื่ P แทน คารอยละ
f แทน คาความถี่ทต่ี องการแปลใหเปนรอยละ
n แทน คาจาํ นวนความถที่ งั้ หมด

๒. วเิ คราะหผลการประเมนิ หลกั สตู รสถานศกึ ษาการสรางและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาดาน
ดานการนําหลักสูตรสถานศกึ ษาไปใชดานผลผลติ ของหลักสูตรสถานศกึ ษาและเปนคาเฉลี่ย ( x )
และ สวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) (บญุ ชม ศรีสะอาด, ๒๕๔๖, หนา ๑๐๕)

๑.๒ หาคาเฉล่ยี (mean)

x= x
n

เมื่อ x แทน คาคะแนนเฉลยี่

x แทน ผลรวมของคะแนนทง้ั หมด
n แทน จํานวนคนในกลมุ ตวั อยาง

๑.๓ หาคาเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard deviation) โดยใชสูตร
(ชศู รี วงศรัตนะ. 2541 : 74)

N X2 - ( X)2
S=

n(n-1)

เมอื่ S แทน คาเบ่ยี งเบนมาตรฐานของคะแนน
X2 แทน ผลรวมของคะแนนแตละตวั ยกกําลังสอง

( X)2 แทน ผลรวมของคะแนนท้งั หมดยกกําลงั สอง
n แทน จาํ นวนคนในกลุมตัวอยาง

๓๓

จากระดับความคิดเหน็ ของผูตอบแบบประเมินกาํ หนดไวท่ี ๕ ระดับ

เห็นดวยในระดบั มากที่สุด มคี าคะแนนเทากบั ๕

เหน็ ดวยในระดบั มาก มคี าคะแนนเทากบั ๔

เห็นดวยในระดับปานกลาง มคี าคะแนนเทากับ ๓

เห็นดวยในระดับนอย มีคาคะแนนเทากับ ๒

เห็นดวยในระดับนอยที่สุด มีคาคะแนนเทากบั ๑

นาํ คะแนนระดับคุณภาพมาคิดคํานวณคาเฉล่ีย เพ่ือแปลผล ดงั น้ี

คาเฉลย่ี ระหวาง การแปลผล

๔.๕๐ – ๕.๐๐ เหน็ ดวยมากทีส่ ดุ

๓.๕๐ – ๔.๔๙ เหน็ ดวยมาก

๒.๕๐ – ๓.๔๙ เห็นดวยปานกลาง

๑.๕๐ – ๒.๔๙ เห็นดวยนอย

๑.๐๐ – ๑.๔๙ เหน็ ดวยนอยทส่ี ดุ

๓๔

บทท่ี ๔
ผลการวเิ คราะหขอมลู

การประเมนิ หลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนวดั จันทรตะวันออก สํานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา
ประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต ๑ ผูประเมนิ เสนอผลการวิเคราะหขอมูล ดังน้ี

๑. สญั ลักษณท่ีใชในการวเิ คราะหขอมูล
๒. การวิเคราะหขอมลู
๓. ผลการวเิ คราะหขอมูล
สัญลกั ษณทใ่ี ชในการวเิ คราะหขอมูล
เพ่ือความเขาใจตรงกนั ในการแปลความหมาย ผปู ระเมินขอกาํ หนดสัญลักษณท่ีใชในการวิเคราะห
ขอมลู ดงั นี้

x แทน คาคะแนนเฉลี่ย (mean)
S.D. แทน คาสวนเบย่ี งเบนมาตรฐาน(standard division)
n แทน จาํ นวนกลุมตัวอยาง(sample size)

การวเิ คราะหขอมูล
การวิเคราะหขอมูลคร้งั นี้ ผูประเมนิ ขอนําเสนอผลการวิเคราะหขอมลู ออกเปน ๒ ตอน

ตอนท่ี ๑ ขอมลู เกยี่ วกบั สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม วิเคราะหโดยการแจกแจงความถี่ (frequency) และคา
รอยละ(percentage)

ตอนท่ี ๒ การประเมินหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนวดั จันทรตะวนั ออก สํานกั งานเขตพนื้ ที่ การศกึ ษา
ประถมศึกษาพิษณุโลกเขต ๑ วิเคราะหโดยใชสถิติพ้นื ฐาน คือ การหาคาเฉลีย่ (mean)และสวนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน
(standard division)
ผลการวิเคราะหขอมูล

ตอนที่ ๑ ผลการวิเคราะหสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก ผอู ํานวยการโรงเรยี น
และครผู ูสอน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผปู กครองนกั เรยี น และนกั เรยี น

ตอนที่ ๒ ผลการวเิ คราะหความคิดเหน็ ของผูเกยี่ วของเก่ียวกับ ดานการสรางและพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษา การนาํ หลกั สูตรสถานศึกษาไปใช และดานผลผลิตของหลกั สูตรสถานศึกษา

๓๕

ตอนที่๑ ผลการวเิ คราะหสถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม
ตารางท่ี ๒ สถานภาพของผูบรหิ ารโรงเรยี นและครูผูสอน

สถานภาพ จาํ นวน รอยละ

๑. ตาํ แหนง ๑ ๕.๒๖
ผูอํานวยการโรงเรียน ๑๘ ๙๔.๗๔
ครผู ูสอน
๕ ๒๖.๓๒
๒. เพศ ๑๔ ๗๓.๖๘
ชาย
หญิง ๔ ๒๑.๐๕
๒ ๑๐.๕๓
๓. อายุ ๑ ๕.๒๖
๒๑ – ๓๐ ป ๑๒ ๖๓.๑๖
๓๑ – ๔๐ ป
๔๑ – ๕๐ ป ๑๑ ๕๗.๘๙
๕๑ ปขึ้นไป ๘ ๔๒.๑๑
-
๔. วฒุ กิ ารศกึ ษา -
ปรญิ ญาตรหี รอื เทยี บเทา ๔
ปริญญาโทหรือเทียบเทา ๑ ๒๑.๐๕
สงู กวาปรญิ ญาโท ๑ ๕.๒๖
๓ ๕.๒๖
๕. ประสบการณในตําแหนง ๑๐ ๑๕.๗๙
ปจจบุ นั ๕๒.๖๓

๑-๕ป
๖ - ๑๐ ป
๑๑- ๑๕ ป
๑๖ – ๒๐ ป
มากกวา ๒๐ ปขึน้ ไป

จากตารางท่ี ๒ พบวาผูตอบแบบสอบถาม เปนผอู ํานวยการโรงเรียน ๑ คน คิดเปนรอยละ ๒๑.๐๕
ครูผสู อน ๑๘ คน คดิ เปนรอยละ ๙๔.๗๔ สวนใหญเพศ หญงิ คิดเปนรอยละ๗๓.๖๘ และเพศชาย คดิ เปนรอยละ
๒๖.๓๒ อายอุ ยใู นชวง ๕๑ ปขน้ึ ไป คิดเปนรอยละ๖๓.๑๖ รองลงมามอี ายใุ นชวง ๒๑-๓๐ ปคดิ เปนรอยละ ๒๑.๐๕
อายใุ นชวง ๓๑-๔๐ ป คิดเปนรอยละ ๑๐.๕๓ และอายุในชวง ๔๑-๕๐ ป คิดเปนรอยละ ๑๐.๕๓ วฒุ กิ ารศกึ ษา
สวนใหญจบการศึกษา ระดบั ปรญิ ญาตรี คิดเปนรอยละ๕๗.๘๙ และระดับ ปริญญาโท คดิ เปนรอยละ ๔๒.๑๑
และมีประสบการณทํางานในตําแหนงปจจุบัน๒๐ปขนึ้ ไป คิดเปนรอยละ ๕๒.๖๑ รองลงมามปี ระสบการณ
การทํางาน๑-๕ ป คิดเปนรอยละ ๒๑.๐๕ ตามลําดบั

ตารางท่ี ๓ สถานภาพของนกั เรียน ๓๖ รอยละ

สถานภาพ จาํ นวน ๓๓.๓๓
๑.ระดับชน้ั ๓๓.๓๓
๒๐ ๓๓.๓๓
ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๓ ๒๐
ชนั้ ประถมศึกษาปที่ ๖ ๒๐
ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี ๓

๒. เพศ ๒๕ ๔๑.๖๗
ชาย ๓๕ ๕๘.๓๓
หญงิ

๓. อายุ ๒๐ ๓๓.๓๓
๘ – ๑๑ ป ๓๐ ๕๐.๐๐
๑๐ ๑๖.๖๗
๑๒ – ๑๕ ป
๑๕ ปขึ้นไป

จากตารางท่ี ๓ พบวาผูตอบแบบสอบถาม เปนนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปท่ี ๓ จาํ นวน ๒๐ คน คิดเปนรอยละ
๓๓.๓๓ นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๖ จาํ นวน ๒๐ คน คิดเปนรอยละ ๓๓.๓๓ และชน้ั มัธยมศึกษาปที่ ๓ จํานวน
๒๐ คน คิดเปนรอยละ ๓๓.๓๓ สวนใหญ เปนเพศ หญิง คดิ เปนรอยละ ๕๘.๓๓ และเพศ ชาย คิดเปนรอยละ
๔๑.๖๗ สวนใหญอายุอยูในชวง ๘-๑๑ ป คดิ เปนรอยละ ๓๓.๓๓ และมอี ายุในชวง ๑๒-๑๕ ป คดิ เปนรอยละ
๕๐.๐๐ ตามลาํ ดับ

๓๗

ตารางท่ี ๔ สถานภาพของผูปกครองนกั เรียน

สถานภาพ จํานวน รอยละ

๑. อาชพี ๒๖ ๔๓.๓๓
เกษตรกร ๓๐ ๕๐.๐๐
รบั จางทั่วไป ๐ ๐.๐๐
พนักงานบริษทั เอกชน ๑ ๑.๖๖
รับราชการ/รฐั วสิ าหกจิ ๒ ๓.๓๒
คาขาย/ประกอบธรุ กจิ สวนตัว ๑ ๑.๖๖
อื่นๆ แมบาน
๒๔ ๔๐.๐๐
๒. เพศ ๓๖ ๖๐.๐๐
ชาย
หญงิ ๐ ๐.๐๐
๗ ๑๑.๖๖
๓. อายุ ๒๙ ๔๘.๓๓
๒๐ – ๒๙ ป ๑๒ ๒๐.๐๐
๓๐ – ๓๙ ป ๓ ๕.๐๐
๔๐ – ๔๙ ป
๕๐ – ๕๙ ป ๖๐ ๑๐๐
๖๐ ปขึน้ ไป ๐ ๐
๐ ๐
๔. วุฒิการศึกษา
ต่ํากวาปรญิ ญาตรี ๒๐ ๓๓.๓๓
ปริญญาตรีหรือเทียบเทา ๔๐ ๖๖.๖๖
ปริญญาโทหรอื เทยี บเทา

๕. ผปู กครองของนักเรยี น
ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี ๓

จากตารางท่ี๔ พบวาผูตอบแบบสอบถาม เปนผูปกครองนักเรียนสวนใหญประกอบอาชีพ รับจางทวั่ ไป
จาํ นวน ๓๐ คน คิดเปนรอยละ ๕๐.๐๐ รองลงมาประกอบอาชพี เกษตรกร จาํ นวน ๒๖ คน คิดเปนรอยละ ๔๓.๓๓
สวนใหญเปนเพศ หญิง คิดเปนรอยละ ๖๐.๐๐ และเพศชายคิดเปนรอยละ ๔๐ อายอุ ยูในชวง ๔๐-๔๙ป คิดเปน
รอยละ ๔๘.๓๓ รองลงมามอี ายใุ นชวง๕๐-๕๙ปคดิ เปนรอยละ ๒๐.๐๐ วฒุ ิ การศึกษาสวนใหญจบการศึกษาระดับ
ตาํ่ กวาระดับปริญญาตรี คิดเปนรอยละ ๑๐๐ และเปนผปู กครองนกั เรยี นช้ันประถมศึกษาปท่ี ๖ จาํ นวน ๒๐ คน
คดิ เปนรอยละ๓๓.๓๓ และเปนผปู กครองนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที่ ๓ จาํ นวน ๔๐ คน คิดเปนรอยละ ๖๖.๖๖
ตามลาํ ดบั

๓๘

ตารางท่ี ๕ สถานภาพของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐาน

สถานภาพ จํานวน รอยละ

๑. อาชพี ๐ ๐
เกษตรกร ๐ ๐
รบั จางทั่วไป ๐ ๐
พนักงานบริษทั เอกชน ๓ ๖๐
รบั ราชการ/รฐั วิสาหกจิ ๑ ๒๐
คาขาย/ประกอบธุรกจิ สวน ๑ ๒๐
อืน่ ๆ นกั การเมืองทองถิ่น
๕ ๑๐๐
๒. เพศ ๐ ๐
ชาย
หญิง ๐

๓. อายุ ๐ ๐
๒๐ – ๒๙ ป ๐ ๒๐
๓๐ – ๓๙ ป ๐ ๘๐
๔๐ – ๔๙ ป ๑
๕๐ – ๕๙ ป ๔ ๖๐
๖๐ ปข้นึ ไป ๔๐
๓ ๐
๔. วุฒิการศึกษา ๒ ๐
ต่ํากวาปรญิ ญาตรี ๐
ปริญญาตรหี รอื เทยี บเทา ๐
ปรญิ ญาโทหรอื เทียบเทา
สูงกวาปริญญาโท

จากตารางท่ี๕ พบวาผูตอบแบบสอบถาม เปนคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พืน้ ฐานสวนใหญ ประกอบ
อาชพี รบั ราชการ จํานวน ๓ คนคิดเปนรอยละ ๖๐ รองลงมาประกอบอาชพี คาขาย จาํ นวน ๑ คน คดิ เปน
รอยละ ๒๐ สวนใหญเปนเพศ ชาย คิดเปนรอยละ ๑๐๐ อายุอยูในชวง ๖๐ ปขึ้นไปคดิ เปนรอยละ ๘๐
รองลงมามอี ายใุ นชวง ๕๙- ๕๐ ป คิดเปนรอยละ ๒๐ วฒุ กิ ารศกึ ษาสวนใหญจบการศึกษา ระดับ ต่ํากวา
ปรญิ ญาตรคี ดิ เปนรอยละ ๖๐ รองลงมาจบการศึกษาระดบั ปริญญาตรี คดิ เปน รอยละ ๔๐ ตามลําดบั

๓๙

ตอนท่ี ๒ ผลการวเิ คราะหความคิดเห็นของผเู ก่ียวของ
ตารางท่ี ๖ คาเฉล่ีย สวนเบ่ยี งเบนมาตรฐานและระดับความคดิ เหน็ เกีย่ วกับการประเมินหลกั สูตรสถานศกึ ษา
ของผบู ริหารและครผู ูสอน

รายการ x S.D. แปลผล

๑. บริบท (Contact) มาก

องคประกอบที่ ๑ สวนนาํ มาก
มาก
๑.๑ ความนํา มาก
มาก
แสดงความเชอ่ื มโยงระหวางหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน มาก
มาก
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กรอบหลกั สตู รระดับทองถน่ิ จุดเนน และความ มาก
มาก
ตองการของโรงเรยี น ๔.๒๖ ๓.๗๑
มากที่สดุ
๑.๒ วสิ ัยทัศน มากท่สี ุด

๑.๒.๑ แสดงภาพอนาคตท่ีพึงประสงคของผเู รยี นทสี่ อดคลองกับ

วสิ ยั ทศั นของหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

อยางชดั เจน ๔.๔๒ ๔.๑๖

๑.๒.๒ แสดงภาพอนาคตท่ีพงึ ประสงคของผูเรยี นสอดคลองกบั กรอบ

หลกั สตู รระดบั ทองถ่ิน ๔.๒๑ ๒.๓๑

๑.๒.๓ แสดงภาพอนาคต ที่พึงประสงค ของผูเรียน ครอบคลุมสภาพ

ความตองการของโรงเรยี น ชุมชน ทองถ่นิ ๔.๑๐ ๑.๕๓

๑.๒.๔ ชัดเจนสามารถปฏิบตั ไิ ด ๔.๔๒ ๔.๐๔

๑.๓ สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รียน

สอดคลองกบั หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ๔.๒๑ ๓.๕๑

๑.๔ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค

๑.๔.๑ สอดคลองกบั หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ๔.๒๖ ๒.๕๑

๑.๔.๒ สอดคลองกบั วิสยั ทศั นของโรงเรยี น ๔.๔๗ ๔.๙๓

๑.๔.๓ สอดคลองกับเปาหมายจดุ เนน กรอบหลกั สตู รระดับทองถ่ิน ๔.๓๑ ๓.๐๕

องคประกอบท่ี ๒ โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา

๒.๑ โครงสรางเวลาเรยี น

ระดับประถมศกึ ษาชั้นปท่ี ๑-๖

๒.๑.๑ ระบเุ วลาเรยี นของ ๘ กลมุ สาระการเรียนรู ท่ีเปนเวลาเรยี น

พน้ื ฐานและเพมิ่ เตมิ จาํ แนกแตละช้ันปอยางชัดเจน ๔.๖๓ ๖.๖๖

๒.๑.๒ เวลาเรียนของรายวิชาพน้ื ฐานในระดับประถมศึกษาทัง้ ๘ กลุม

สาระ เทากับ ๘๔๐ ชว่ั โมง ๔.๖๓ ๖.๖๖

๔๐

รายการ x S.D. แปลผล
ระดับมธั ยมศึกษาชน้ั ปที่ ๑-๓
มากทส่ี ุด
๒.๑.๓ เวลาเรยี นของรายวชิ าพื้นฐานในระดบั มธั ยมศึกษาตอนตนทัง้ ๘
มากที่สดุ
กลุมสาระ เทากับ ๘๘๐ ชั่วโมง ๔.๕๗ ๕.๕๑
มากที่สดุ
๒.๑.๔ ระบเุ วลาจัดกจิ กรรมพฒั นาผเู รียนจาํ แนกแตละชัน้ ปอยางชัดเจน มากที่สดุ
มากที่สุด
และเปนไปตามโครงสรางเวลาเรยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้น มากที่สุด
มากทส่ี ุด
พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ๔.๕๒ ๕.๐๓ มากทส่ี ุด

๒.๑.๕ เวลาเรียนรวมของหลกั สตู รสถานศึกษาสอดคลองกบั โครงสราง มากทส่ี ุด

เวลาเรยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศกั ราช มากที่สดุ
มากที่สดุ
๒๕๕๑ และเปนไปตามบริบทของสถานศึกษา ๔.๕๗ ๕.๘๖ มากทส่ี ุด
มากทส่ี ุด
๒.๒ โครงสรางหลกั สูตรช้ันป มากทส่ี ดุ
มากท่ีสุด
๒.๒.๑ ระบุรายวชิ าพ้นื ฐานทงั้ ๘ กลมุ สาระการเรียนรพู รอมทั้งระบุเวลาเรียน ๔.๘๔ ๖.๔๓

๒.๒.๒ ระบรุ ายวชิ าเพมิ่ เตมิ ท่สี ถานศึกษากําหนด พรอมท้งั ระบุเวลาเรียน ๔.๖๓ ๖.๖๖

๒.๒.๓ ระบุกจิ กรรมพฒั นาผเู รียน พรอมท้งั ระบเุ วลาเรยี น ๔.๕๗ ๖.๖๖

๒.๒.๔ รายวชิ าพน้ื ฐานทรี่ ะบุรหัสวชิ า ชือ่ รายวชิ า จาํ นวนเวลาเรียนไว

อยางถกู ตองชัดเจน ๔.๕๗ ๖.๖๖

๒.๒.๕ รายวชิ าเพิ่มเติม / กิจกรรมเพิ่มเติม สอดคลองกบั วิสัยทศั น

จุดเนนของโรงเรยี น ๔.๕๗ ๖.๖๖

องคประกอบที่ ๓ คาํ อธบิ ายรายวชิ า

๓.๑ ระบรุ หัสวชิ า ช่ือรายวชิ า และช่ือกลมุ สาระการเรียนรู ไวอยาง

ถกู ตองชดั เจน ๔.๕๗ ๖.๖๖

๓.๒ รายวิชาพน้ื ฐาน ตามกลุมสาระการเรยี นรู กลุมละ ๑ รายวชิ าตอป

ยกเวนกลมุ สาระการเรียนรสู ังคมฯ โดยเปดรายวชิ าประวัติศาสตรให

จดั การเรียนการสอน ๔๐ ชั่วโมงตอป ๔.๕๗ ๕.๘๕

๓.๓ ระบุช้ันปทส่ี อนและจาํ นวนเวลาเรยี นไวอยางถกู ตองชัดเจน ๔.๖๓ ๖.๖๖

๓.๔ การเขยี นคาํ อธบิ ายรายวชิ า เขียนเปนความเรียง โดยระบอุ งค ๔.๕๗ ๕.๐๕

ความรู ทกั ษะกระบวนการ และคุณลักษณะหรอื เจตคติที่ตองการ

๓.๕ จัดทาํ คําอธิบายรายวิชาพ้นื ฐานครอบคลมุ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู ๔.๕๗ ๕.๖๕

แกนกลาง

๓.๖ มีการระบรุ หัสตัวชี้วัด ในรายวชิ าพ้นื ฐาน และจํานวนรวมของ ๔.๖๓ ๖.๓๖

ตวั ช้ีวัด

๓.๗ มีการระบุผลการเรยี นรู ในรายวิชาเพ่มิ เติม และจาํ นวนรวมของผล ๔.๖๓ ๖.๓๕

การเรยี นรู

๔๑

รายการ x S.D. แปลผล
๓.๘ มีการกําหนดสาระการเรยี นรทู องถ่ินสอดแทรกอยใู นคําอธบิ าย ๔.๖๘ ๖.๒๘ มากที่สดุ
มากทส่ี ุด
รายวิชาพ้ืนฐานหรือรายวิชาเพ่มิ เตมิ
มาก
องคประกอบที่ ๔ กิจกรรมพฒั นาผเู รยี น ๔.๕๗ ๔.๙๗ มาก
มากทสี่ ุด
๔.๑ จดั กิจกรรมทั้ง ๓ กจิ กรรมตามท่ีกําหนดไวในหลกั สตู รแกนกลาง
มาก
การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มาก
มาก
๔.๒ จัดเวลาทงั้ ๓ กิจกรรมสอดคลองกับโครงสรางเวลาเรียนทหี่ ลกั สูตร ๔.๓๑ ๒.๖๘ มาก
มาก
แกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มากทสี่ ุด
มาก
๔.๓ มแี นวทางการจดั กิจกรรมทชี่ ัดเจน ๔.๓๑ ๒.๖๘
มาก
๔.๔ มีแนวทางการประเมินกิจกรรมที่ชัดเจน ๔.๕๒ ๔.๗๓
มากท่ีสุด
องคประกอบที่ ๕ เกณฑการจบการศึกษา

๕.๑ มกี ารระบเุ วลาเรียน/หนวยกติ รายวิชาพ้นื ฐานและรายวิชาเพ่ิมเติม

ตามเกณฑการจบหลกั สตู รของโรงเรยี นไวอยางชัดเจนและ

สอดคลองกับโครงสรางหลักสตู รของโรงเรยี น ๔.๒๖ ๒.๕๑

๕..๒ มีการระบุเกณฑการประเมินการอานคิดวเิ คราะห และเขียนไวอยางชดั เจน ๔.๔๒ ๔.๒๔

๕.๓ มกี ารระบเุ กณฑการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคไวอยางชดั เจน ๔.๔๒ ๔.๐๓

๕.๔ มีการระบเุ กณฑการผานกิจกรรมพฒั นาผูเรยี นไวอยางชดั เจน ๔.๔๒ ๓.๗๘

เฉลี่ย ๔.๔๘ ๔.๘๗

๒. ดานปจจัยการใชหลกั สูตร Input ( I )

๑. ความพรอมของนักเรยี น นกั เรียนมคี วามพรอมทั้งดานอายุ รางกาย ๔.๕๒ ๔.๒๗

มคี วามสามารถในการเรียนรู และมีทกั ษะใฝเรียนรู

๒. ความพรอมของครูผูสอน ครูผูสอนจบการศึกษาดานการศึกษา มี ๔.๓๑ ๒.๗๑

ความรูความสามารถตรงกบั วชิ าที่สอน มคี วามรคู วามเขาใจดานจติ วิทยา

เด็ก มคี วามเขาใจดานหลกั สูตร การจัดการเรียนการสอน การวดั และ

ประเมินผล

๓. ทกั ษะการถายทอดของครู ครูผสู อนมีทักษะทางการสอน การ ๔.๒๖ ๒.๓๖

ถายทอด เลอื กใชรปู แบบการสอนท่ีสอดคลองกบั จดุ ประสงค มกี าร วาง

แผนการจดั การเรยี นรูสอดคลองกับจดุ ประสงค และสามารถจัดกิจกรรม

ทีส่ งเสรมิ ทกั ษะในศตวรรษท่ี ๒๑

๔. ส่อื การเรยี นรู ครูสรางนวัตกรรมเพื่อเปนสือ่ การจดั การเรยี นรู มสี อ่ื ๔.๕๒ ๔.๒๗

การเรยี นรเู พียงพอของสําหรับครูทุกกลุมสาระฯ และครูใชส่อื ในการ

จัดการเรยี นรู

๔๒

รายการ x S.D. แปลผล
มาก
๕. เทคโนโลยี จัดใหมเี ทคโนโลยีเพื่อการเรยี นเพยี งพอตอการจัดการ ๔.๓๑ ๒.๗๐
มาก
เรยี นรู มกี ารจัดระบบเครือขายเพ่ือความสะดวกในการจดั การเรียนรู มากทส่ี ดุ

และครมู คี วามรูความเขาใจและใชเทคโนโลยีในการจดั การเรยี นรู มาก
มาก
๖. หองเรยี น มจี ํานวนหองเรยี นเพยี งพอและเหมาะสม ภายในหองเรยี น ๔.๒๖ ๒.๓๖
มาก
มีสิง่ อาํ นวยความสะดวกตอการเรยี นครบถวน
มาก
๗. หองปฏิบัตกิ าร หองปฏิบตั ิการมีครบทุกกลุมสาระฯ ภายใน ๔.๕๒ ๔.๑๒ มาก

หองปฏบิ ัติการมอี ุปกรณครบถวนเพียงพอและมสี ภาพพรอมใชงาน มาก
มาก
๘. เทคนิคการสอน ครูมเี ทคนิคการสอนที่หลากหลายรปู แบบและมี ๔.๔๗ ๓.๗๗

เทคนคิ การสอนท่คี รใู ชชวยสงเสริมทักษะการเรียนรขู องนักเรียน

๙. การวัดและประเมินผล มีการกําหนดเกณฑการวัดและประเมนิ ผลที่ ๔.๔๒ ๓.๕๖

สอดคลองกับแนวทางการจัด หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน

พ.ศ.๒๕๕๑ ครมู คี วามรูความเขาใจเก่ยี วกบั การวดั และประเมนิ ผล ครู

ปฏบิ ัตกิ ารประเมนิ ผลระหวางเรียนและหลังเรียนไดถูกตอง เคร่ืองมอื การ

วดั และขอสอบมีคณุ ภาพ

๑๐. โครงการสนับสนุนหลกั สตู ร มโี ครงการที่สงเสรมิ การจดั การศึกษา ๔.๓๖ ๓.๔๐

ใหเปนไปตามวิสยั ทศั นของโรงเรียน “โครงการพฒั นางานวิชาการทีเ่ นน

คุณภาพผูเรียนรอบดานตามหลักสูตรสถานศกึ ษาและทกุ กลุมเปาหมาย”

๑๑. กิจกรรมเสริมหลกั สตู ร มกี ิจกรรมเสรมิ หลักสูตรท่เี ปนไปตาม ๔.๔๒ ๓.๕๖

นโยบายของโรงเรียน

๑๒. การบริหารจัดการ มีการจัดต้งั คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและ ๔.๓๖ ๓.๔๐

วชิ าการ มีการจดั ตั้งกรรมการบรหิ ารกลุมสาระการเรียนรู มีการจดั ทํา

รายงานผลการดําเนนิ งานของบคุ ลากรทกุ ระดบั

เฉล่ีย ๔.๓๙ ๓.๓๗

๓. ดานกระบวนการใชหลกั สูตร Process (P)

๑. กระบวนการจัดการเรียนรู มีกจิ กรรมการเรียนรูที่สอดคลองกับ ๔.๔๒ ๓.๕๖

แผนการจดั การเรียนรู มีกิจกรรมเนนผเู รยี นเปนสําคัญ มีกจิ กรรมทเ่ี นน

ทักษะ ๘C ตามศตวรรษที่ ๒๑ ในกิจกรรมการจัดการ เรียนรู มกี จิ กรรม

การเรยี นรโู ดยใชรปู แบบการสอนทห่ี ลากหลาย มกี ิจกรรมการเรยี นรูที่

สอดแทรกคุณธรรม มกี ารทาํ วจิ ยั ในชนั้ เรยี น มกี ารนาํ ผลการวิจัยไป

ปรับปรงุ และพัฒนากจิ กรรมการเรยี นรู

๔๓

รายการ x S.D. แปลผล
มาก
๒. กระบวนการวัดและประเมนิ ผล มีการแจงวิธีการวดั และประเมินผล ๔.๓๗ ๓.๔๐
มาก
ใหผูเรียนทราบลวงหนา มีการประเมนิ ผลระหวางเรยี น ควบคูไปกับการ มาก
มาก
เรยี นการสอน มีการวัดและประเมนิ ผลทคี่ รอบคลุมการเรียนรูทง้ั ดาน มาก

ความรู คุณธรรม และกระบวนการ มีเครอ่ื งมือการวัดและประเมินผลที่ มาก

หลากหลาย และสอดคลองกบั จดุ ประสงคการเรียนรู มีการทดสอบกอน

เรียน และหลงั เรียน เพอื่ พัฒนาการเรยี นรขู อง ผูเรยี น รายการ ระดบั การ

ประเมิน ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ และมกี ารนําผลการประเมนิ ไปปรบั เปลีย่ นการ

จดั การเรยี นรู

๓. การนิเทศติดตามการใชหลกั สูตร มกี ารประชมุ ใหความรู ติดตามการ ๔.๔๒ ๔.๐๔

จัดการเรยี นรรู ะหวางเพื่อนครูทีส่ อนวิชาเดียวกนั มีการเขานเิ ทศภายใน

เกยี่ วกบั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู (ผูบริหารสถานศกึ ษา ครวู ิชาการ) ครู

ไดรบั การประเมินผลการจดั กิจกรรมการเรียนรเู ปนระยะ ๆ อยางตอเนื่อง

และมีการนําผลการนิเทศไปใชปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู

๔. การมีสวนรวมของชุมชน มีสวนรวมในการกําหนดวิสัยทัศน ภารกจิ ๔.๓๗ ๔.๗๙

เปาหมาย มีสวนรวมในการถายทอด ความรู ทักษะ ภมู ิปญญา ใหกับ

ผูเรียน มสี วนรวมในการจัดสภาพแวดลอม แหลงการเรียนรู กิจกรรมการ

เรยี นรู ใหผเู รยี น และมีสวนรวมในการสนบั สนุนงบประมาณ อปุ กรณ

หรอื อื่น ๆ ใหการจดั การเรียนรไู ดอยางราบรน่ื

เฉลี่ย ๔.๓๙ ๔.๑๒

๔. ดานผลผลติ Product (P)

๑. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคของนักเรยี นที่จบการศกึ ษาเปนไปตาม ๔.๒๖ ๒.๕๑

เปาหมายทีก่ าํ หนด เปนพลเมอื งดขี องชาติศรัทธายดึ ม่ันในศาสนา เคารพ

เทิดทนู สถาบันพระมหากษตั ริย ปฏิบตั ิตนตามขอตกลง กฎเกณฑระเบยี บ

ขอบังคบั ของครอบครัวโรงเรียนและสังคมอยเู สมอ มคี วามต้ังใจ เพยี ร

พยายามในการเรียน/เขารวมกจิ กรรมแสวงหาความรูอยางสมํา่ เสมอ และ

เปนผูใหและชวยเหลอื ผอู ่ืน แบงปนเสียสละความสุขสวนตนเพือ่

ประโยชนแกสวนรวม

๒. ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนเปนไปตามเปาหมาย มีความสามารถในการ ๔.๓๖ ๔.๐๘

รบั -สงสาร รจู ักเลอื กใชวิธกี ารสื่อสารท่มี ปี ระสิทธภิ าพ มีความสามารถใน

การคิด การสรางปญญา มีความสามารถในการแกปญหา และอุปสรรค

ตาง ๆ มีความสามารถในการเลอื กใชทกั ษะการดําเนนิ ชีวิต มี

ความสามารถในการเลือกและใชเทคโนโลยีอยางถูกตองเหมาะสมและมี

คุณธรรม

๔๔

รายการ x S.D. แปลผล
เฉลย่ี ๔.๓๑ ๓.๓ มาก
เฉลย่ี รวม มาก
๔.๓๙ ๓.๙๔

จากตารางที่ ๖ พบวา ในภาพรวม ผูบรหิ ารโรงเรยี นและคณะครู มีความคิดเห็นเกีย่ วกบั การประเมิน
หลกั สตู รสถานศึกษา อยูในระดับ มาก ( x = ๔.๓๙) เม่อื พจิ ารณารายดานพบวา ดานท่ีผูบรหิ ารโรงเรยี นและคณะ
ครู เห็นดวยมากที่สดุ ไดแก ดาน บรบิ ท ( x = ๔.๔๘) รองลงมาไดแกดาน กระบวนการ ( x = ๔.๓๙) ดาน ปจจัย
การใชหลกั สตู ร ( x = ๔.๓๙)และ ดานผลผลติ ( x = ๔.๓๑) ตามลําดบั

๔๕

ตารางที่ ๗ คาเฉลีย่ สวนเบย่ี งเบนมาตรฐานและระดบั ความคดิ เหน็ เก่ียวกบั การประเมนิ ผลการใชหลักสตู ร
สถานศึกษาของนกั เรยี น

รายการ x S.D. แปลผล
๒. ดานปจจัยการใชหลกั สตู ร Input ( I )

๑. ความพรอมของนกั เรียน นกั เรยี นมีความพรอมทั้งดานอายุ รางกาย ๔.๓๕ ๑๐.๕๓ มาก

มีความสามารถในการเรียนรู และมีทักษะใฝเรยี นรู

๒. ความพรอมของครผู สู อน ครูผูสอนจบการศึกษาดานการศึกษา มี ๔.๓๕ ๑๑.๓๖ มาก

ความรูความสามารถตรงกบั วชิ าที่สอน มีความรูความเขาใจดานจิตวิทยา

เด็ก มีความเขาใจดานหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวดั และ

ประเมินผล

๓. ทกั ษะการถายทอดของครู ครผู ูสอนมที ักษะทางการสอน การ ๔.๓๕ ๑๑.๓๖ มาก

ถายทอด เลือกใชรปู แบบการสอนที่สอดคลองกบั จดุ ประสงค มีการ วาง

แผนการจัดการเรยี นรูสอดคลองกับจุดประสงค และสามารถจัดกิจกรรม

ทส่ี งเสรมิ ทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑

๔. ส่อื การเรยี นรู ครสู รางนวัตกรรมเพื่อเปนสอ่ื การจดั การเรียนรู มสี อ่ื ๔.๕๕ ๑๖.๕๒ มากทส่ี ดุ

การเรยี นรูเพียงพอของสาํ หรบั ครทู กุ กลุมสาระฯ และครใู ชส่ือในการ

จัดการเรียนรู

๕. เทคโนโลยี จัดใหมเี ทคโนโลยเี พื่อการเรียนเพยี งพอตอการจัดการ ๔.๒๕ ๘.๖๖ มาก

เรยี นรู มกี ารจดั ระบบเครือขายเพ่ือความสะดวกในการจัดการเรยี นรู

และครูมคี วามรคู วามเขาใจและใชเทคโนโลยใี นการจัดการเรียนรู

๖. หองเรียน มีจาํ นวนหองเรียนเพียงพอและเหมาะสม ภายในหองเรยี น ๔.๓๐ ๙.๖๔ มาก

มีสงิ่ อาํ นวยความสะดวกตอการเรียนครบถวน

๗. หองปฏิบัติการ หองปฏิบัติการมคี รบทกุ กลุมสาระฯ ภายใน ๔.๕๕ ๑๖.๕๒ มากทสี่ ดุ

หองปฏบิ ตั กิ ารมอี ุปกรณครบถวนเพียงพอและมีสภาพพรอมใชงาน

๘. เทคนิคการสอน ครมู ีเทคนิคการสอนที่หลากหลายรูปแบบและมี ๔.๔๕ ๑๓.๕๒ มาก

เทคนิคการสอนท่คี รใู ชชวยสงเสริมทกั ษะการเรยี นรูของนกั เรยี น

๙. การวัดและประเมินผล มีการกาํ หนดเกณฑการวัดและประเมินผลท่ี ๔.๒๕ ๘.๖๖ มาก

สอดคลองกบั แนวทางการจัด หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

พ.ศ.๒๕๕๑ ครมู คี วามรูความเขาใจเกี่ยวกับการวดั และประเมนิ ผล ครู

ปฏบิ ัติการประเมนิ ผลระหวางเรยี นและหลังเรยี นไดถกู ตอง เคร่ืองมอื การ

วัดและขอสอบมีคณุ ภาพ


Click to View FlipBook Version