The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา
โดยใช้พื้นที่เป็นฐาน ( Area base )
โรงเรียนวัดจันทร์ตะวันออก อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
ด้วยการประยุกต์ใช้รูปแบบการประเมิน
ซิปป์ (CIPP model) ปีการศึกษา 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tippaluk.ss, 2021-05-23 22:00:46

รายงานวิจัย

การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา
โดยใช้พื้นที่เป็นฐาน ( Area base )
โรงเรียนวัดจันทร์ตะวันออก อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
ด้วยการประยุกต์ใช้รูปแบบการประเมิน
ซิปป์ (CIPP model) ปีการศึกษา 2563

๔๖

รายการ x S.D. แปลผล

๑๐. โครงการสนับสนนุ หลักสูตร มโี ครงการทส่ี งเสรมิ การจัดการศึกษา ๔.๓๐ ๙.๖๔ มาก

ใหเปนไปตามวิสยั ทัศนของโรงเรยี น “โครงการพฒั นางานวิชาการที่เนน

คณุ ภาพผูเรียนรอบดานตามหลกั สตู รสถานศึกษาและทุกกลุมเปาหมาย”

๑๑. กิจกรรมเสริมหลักสตู ร มีกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรท่ีเปนไปตาม ๔.๔๕ ๑๓.๕๒ มาก

นโยบายของโรงเรียน

๑๒. การบรหิ ารจดั การ มกี ารจัดตัง้ คณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและ ๔.๔๐ ๑๒.๑๒ มาก

วชิ าการ มีการจดั ต้งั กรรมการบรหิ ารกลุมสาระการเรยี นรู มกี ารจัดทํา

รายงานผลการดาํ เนินงานของบุคลากรทุกระดับ

เฉล่ยี ๔.๓๗ ๑๐.๘๔ มาก

๓. ดานกระบวนการใชหลกั สตู ร Process (P)

๑. กระบวนการจัดการเรยี นรู มีกิจกรรมการเรียนรูที่สอดคลองกับ ๔.๓๕ ๑๐.๕๓ มาก

แผนการจดั การเรียนรู มีกิจกรรมเนนผูเรียนเปนสําคัญ มีกจิ กรรมทเ่ี นน

ทกั ษะ ๘C ตามศตวรรษท่ี ๒๑ ในกิจกรรมการจัดการ เรียนรู มีกจิ กรรม

การเรยี นรโู ดยใชรูปแบบการสอนท่หี ลากหลาย มกี จิ กรรมการเรยี นรทู ่ี

สอดแทรกคุณธรรม มกี ารทําวจิ ัยในช้นั เรียน มีการนําผลการวิจัยไป

ปรับปรุง และพฒั นากจิ กรรมการเรียนรู

๒. กระบวนการวัดและประเมนิ ผล มกี ารแจงวิธีการวัดและประเมนิ ผล ๔.๓๐ ๙.๑๖ มาก

ใหผเู รียนทราบลวงหนา มีการประเมินผลระหวางเรยี น ควบคไู ปกับการ

เรียนการสอน มีการวัดและประเมนิ ผลที่ครอบคลุมการเรียนรูทั้งดาน

ความรู คุณธรรม และกระบวนการ มเี คร่อื งมือการวัดและประเมินผลท่ี

หลากหลาย และสอดคลองกบั จดุ ประสงคการเรียนรู มีการทดสอบกอน

เรยี น และหลงั เรยี น เพ่อื พฒั นาการเรียนรขู อง ผูเรียน รายการ ระดับการ

ประเมนิ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ และมกี ารนาํ ผลการประเมนิ ไปปรบั เปล่ยี นการ

จัดการเรียนรู

๔.๓๕ ๑๐.๕๓ มาก

๓. การนิเทศตดิ ตามการใชหลักสูตร มกี ารประชมุ ใหความรู ติดตามการ

จดั การเรยี นรรู ะหวางเพือ่ นครทู ีส่ อนวิชาเดยี วกัน มีการเขานเิ ทศภายใน

เก่ียวกับการจดั กจิ กรรมการเรียนรู (ผูบรหิ ารสถานศึกษา ครวู ชิ าการ) ครู

ไดรับการประเมินผลการจดั กิจกรรมการเรียนรูเปนระยะ ๆ อยางตอเนื่อง

และมีการนาํ ผลการนเิ ทศไปใชปรบั ปรุงการจัดการเรียนรู

๔๗

รายการ x S.D. แปลผล

๔. การมสี วนรวมของชุมชน มีสวนรวมในการกาํ หนดวสิ ัยทศั น ภารกจิ ๔.๓๐ ๑๒.๔๙ มาก

เปาหมาย มสี วนรวมในการถายทอด ความรู ทกั ษะ ภมู ิปญญา ใหกบั

ผเู รียน มสี วนรวมในการจดั สภาพแวดลอม แหลงการเรียนรู กจิ กรรมการ

เรียนรู ใหผเู รียน และมสี วนรวมในการสนับสนุนงบประมาณ อปุ กรณ

หรอื อ่ืน ๆ ใหการจดั การเรยี นรไู ดอยางราบรนื่

เฉล่ยี ๔.๓๒ ๑๐.๖๐ มาก

เฉล่ียรวม ๔.๓๔ ๑๑.๒๖ มาก

จากตารางที่ ๗ พบวา ในภาพรวม นักเรียนมีความคิดเห็นเกี่ยวกบั การประเมนิ หลกั สตู รสถานศึกษา อยใู น
ระดบั มาก ( x = ๔.๓๔) เม่ือพจิ ารณารายดานพบวา ดานที่นักเรยี น เห็นดวยมาก ไดแกดาน ปจจัยการใชหลกั สตู ร
( x = ๔.๓๗) และ ดาน กระบวนการ ( x = ๔.๓๒) ตามลําดับ

๔๘

ตารางท่ี ๘ คาเฉล่ีย สวนเบ่ยี งเบนมาตรฐานและระดับความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั การประเมนิ ผลการใชหลกั สูตร

สถานศึกษาของผูปกครองนักเรยี น

รายการ x S.D. แปลผล

๒. ดานปจจยั การใชหลกั สูตร Input ( I )

๑. ความพรอมของนกั เรียน นักเรยี นมีความพรอมทง้ั ดานอายุ รางกาย ๔.๒๖ ๘.๗๑ มาก

มีความสามารถในการเรยี นรู และมที กั ษะใฝเรยี นรู

๒. ความพรอมของครูผูสอน ครผู ูสอนจบการศกึ ษาดานการศึกษา มี ๔.๒๕ ๘.๖๖ มาก

ความรคู วามสามารถตรงกับวิชาท่ีสอน มีความรคู วามเขาใจดานจติ วิทยา

เด็ก มีความเขาใจดานหลักสตู ร การจัดการเรียนการสอน การวดั และ

ประเมินผล

๓. ทกั ษะการถายทอดของครู ครผู ูสอนมที ักษะทางการสอน การ ๔.๕๐ ๑๖.๕๒ มาก

ถายทอด เลือกใชรปู แบบการสอนท่ีสอดคลองกับจดุ ประสงค มกี าร วาง

แผนการจัดการเรยี นรูสอดคลองกับจดุ ประสงค และสามารถจัดกิจกรรม

ท่ีสงเสริมทกั ษะในศตวรรษที่ ๒๑

๔. สอ่ื การเรยี นรู ครูสรางนวัตกรรมเพือ่ เปนส่ือการจดั การเรยี นรู มสี อื่ ๔.๒๐ ๖.๒๔ มาก

การเรยี นรเู พยี งพอของสาํ หรับครทู กุ กลมุ สาระฯ และครูใชส่ือในการ

จัดการเรยี นรู

๕. เทคโนโลยี จดั ใหมีเทคโนโลยีเพอ่ื การเรียนเพียงพอตอการจดั การ ๔.๓๕ ๑๐.๕๓ มาก

เรยี นรู มีการจดั ระบบเครือขายเพือ่ ความสะดวกในการจดั การเรียนรู

และครมู ีความรูความเขาใจและใชเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู

๖. หองเรียน มจี ํานวนหองเรยี นเพียงพอและเหมาะสม ภายในหองเรยี น ๔.๓๐ ๑๑.๓๕ มาก

มสี ิง่ อาํ นวยความสะดวกตอการเรียนครบถวน

๗. หองปฏิบัติการ หองปฏบิ ตั กิ ารมคี รบทุกกลุมสาระฯ ภายใน ๔.๓๕ ๑๑.๓๕ มาก

หองปฏิบัติการมอี ปุ กรณครบถวนเพียงพอและมีสภาพพรอมใชงาน

๘. เทคนิคการสอน ครมู เี ทคนิคการสอนท่ีหลากหลายรูปแบบและมี ๔.๖๐ ๑๖.๐๑ มากทส่ี ดุ

เทคนิคการสอนทค่ี รใู ชชวยสงเสริมทกั ษะการเรียนรูของนกั เรียน

๙. การวัดและประเมินผล มีการกาํ หนดเกณฑการวัดและประเมินผลท่ี ๔.๒๕ ๘.๖๖ มาก

สอดคลองกับแนวทางการจดั หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

พ.ศ.๒๕๕๑ ครูมีความรูความเขาใจเก่ยี วกบั การวดั และประเมนิ ผล ครู

ปฏิบัตกิ ารประเมินผลระหวางเรียนและหลังเรียนไดถูกตอง เครือ่ งมือการ

วดั และขอสอบมีคณุ ภาพ

๔๙

รายการ x S.D. แปลผล

๑๐. โครงการสนับสนนุ หลักสูตร มโี ครงการทส่ี งเสรมิ การจัดการศึกษา ๔.๒๐ ๖.๙๒ มาก

ใหเปนไปตามวิสยั ทัศนของโรงเรยี น “โครงการพฒั นางานวิชาการที่เนน

คณุ ภาพผูเรียนรอบดานตามหลกั สตู รสถานศึกษาและทุกกลุมเปาหมาย”

๑๑. กิจกรรมเสริมหลักสตู ร มีกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรท่ีเปนไปตาม ๔.๔๕ ๑๓.๕๒ มาก

นโยบายของโรงเรียน

๑๒. การบรหิ ารจดั การ มกี ารจัดตัง้ คณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและ ๔.๔๐ ๑๒.๑๒ มาก

วชิ าการ มีการจดั ต้งั กรรมการบรหิ ารกลุมสาระการเรยี นรู มกี ารจัดทํา

รายงานผลการดาํ เนินงานของบุคลากรทุกระดับ

เฉล่ยี ๔.๓๔ ๑๐.๘๘ มาก

๓. ดานกระบวนการใชหลกั สตู ร Process (P)

๑. กระบวนการจัดการเรยี นรู มีกิจกรรมการเรียนรูที่สอดคลองกับ ๔.๔๕ ๑๓.๕๒ มาก

แผนการจดั การเรียนรู มีกิจกรรมเนนผูเรียนเปนสําคัญ มีกจิ กรรมทเ่ี นน

ทกั ษะ ๘C ตามศตวรรษท่ี ๒๑ ในกิจกรรมการจัดการ เรียนรู มีกจิ กรรม

การเรยี นรโู ดยใชรูปแบบการสอนท่หี ลากหลาย มกี จิ กรรมการเรยี นรทู ่ี

สอดแทรกคุณธรรม มกี ารทําวจิ ัยในช้นั เรียน มีการนําผลการวิจัยไป

ปรับปรุง และพฒั นากจิ กรรมการเรียนรู

๒. กระบวนการวัดและประเมนิ ผล มกี ารแจงวิธีการวัดและประเมนิ ผล ๔.๓๐ ๙.๑๖ มาก

ใหผเู รียนทราบลวงหนา มีการประเมินผลระหวางเรยี น ควบคไู ปกับการ

เรียนการสอน มีการวัดและประเมนิ ผลที่ครอบคลุมการเรียนรูทั้งดาน

ความรู คุณธรรม และกระบวนการ มเี คร่อื งมือการวัดและประเมินผลที่

หลากหลาย และสอดคลองกบั จดุ ประสงคการเรียนรู มีการทดสอบกอน

เรยี น และหลงั เรยี น เพ่อื พฒั นาการเรียนรขู อง ผูเรียน รายการ ระดับการ

ประเมนิ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ และมกี ารนาํ ผลการประเมนิ ไปปรบั เปล่ยี นการ

จัดการเรียนรู

๔.๔๑ ๑๒.๕๒ มาก

๓. การนิเทศตดิ ตามการใชหลักสูตร มกี ารประชมุ ใหความรู ติดตามการ

จดั การเรยี นรรู ะหวางเพือ่ นครทู ีส่ อนวิชาเดยี วกัน มีการเขานเิ ทศภายใน

เก่ียวกับการจดั กจิ กรรมการเรียนรู (ผูบรหิ ารสถานศึกษา ครวู ชิ าการ) ครู

ไดรับการประเมินผลการจดั กิจกรรมการเรียนรูเปนระยะ ๆ อยางตอเนื่อง

และมีการนาํ ผลการนเิ ทศไปใชปรบั ปรุงการจัดการเรียนรู

๕๐

รายการ x S.D. แปลผล

๔. การมีสวนรวมของชุมชน มีสวนรวมในการกําหนดวิสัยทัศน ภารกจิ ๔.๓๓ ๑๓.๒๒ มาก

เปาหมาย มีสวนรวมในการถายทอด ความรู ทกั ษะ ภูมิปญญา ใหกับ

ผูเรยี น มสี วนรวมในการจดั สภาพแวดลอม แหลงการเรียนรู กิจกรรมการ

เรยี นรู ใหผูเรียน และมีสวนรวมในการสนับสนนุ งบประมาณ อปุ กรณ

หรอื อ่ืน ๆ ใหการจัดการเรียนรูไดอยางราบรืน่

เฉลยี่ ๔.๓๕ ๑๑.๑๗ มาก

๔. ดานผลผลติ Product (P)

๑. คณุ ลักษณะอันพึงประสงคของนกั เรียนทจ่ี บการศึกษาเปนไปตาม ๔.๓๐ ๑๐.๘๔ มาก

เปาหมายท่ีกาํ หนด เปนพลเมืองดีของชาติศรัทธายึดมน่ั ในศาสนา เคารพ

เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตรยิ ปฏิบัตติ นตามขอตกลง กฎเกณฑระเบียบ

ขอบงั คับของครอบครัวโรงเรียนและสังคมอยูเสมอ มีความตง้ั ใจ เพียร

พยายามในการเรียน/เขารวมกิจกรรมแสวงหาความรูอยางสมํา่ เสมอ และ

เปนผูใหและชวยเหลอื ผูอนื่ แบงปนเสยี สละความสขุ สวนตนเพือ่

ประโยชนแกสวนรวม

๒. ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นเปนไปตามเปาหมาย มีความสามารถในการ ๔.๔๕ ๑๔.๓๖ มาก

รับ-สงสาร รูจักเลือกใชวธิ ีการสอ่ื สารทม่ี ีประสิทธภิ าพ มีความสามารถใน

การคิด การสรางปญญา มีความสามารถในการแกปญหา และอปุ สรรค

ตาง ๆ มคี วามสามารถในการเลือกใชทักษะการดําเนินชวี ติ มี

ความสามารถในการเลอื กและใชเทคโนโลยอี ยางถูกตองเหมาะสมและมี

คุณธรรม

เฉลี่ย ๔.๓๗ ๑๒.๖๐ มาก

เฉล่ยี รวม ๔.๓๕ ๑๑.๕๕ มาก

จากตารางท่ี ๘ พบวา ในภาพรวม ผปู กครองนักเรยี น มคี วามคดิ เหน็ เกีย่ วกับการประเมินหลกั สูตร
สถานศึกษา อยใู นระดับ มาก ( x = ๔.๓๕) เม่อื พจิ ารณารายดานพบวา ดานที่ผปู กครองนกั เรยี น เหน็ ดวยมาก
ไดแก ดานผลผลติ ( x = ๔.๓๗)ดาน ปจจัยการใชหลักสตู ร ( x = ๔.๓๕) และดาน กระบวนการ ( x = ๔.๓๔)
ตามลําดับ

๕๑

ตารางท่ี ๙ คาเฉลย่ี สวนเบ่ยี งเบนมาตรฐานและระดับความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั การประเมนิ ผลการใชหลกั สูตร

สถานศึกษาของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน

รายการ x S.D. แปลผล

๒. ดานปจจยั การใชหลกั สูตร Input ( I )

๑. ความพรอมของนกั เรยี น นักเรยี นมีความพรอมทงั้ ดานอายุ รางกาย ๔.๔๖ ๒.๙๕ มาก

มีความสามารถในการเรียนรู และมีทักษะใฝเรยี นรู

๒. ความพรอมของครูผูสอน ครผู ูสอนจบการศกึ ษาดานการศึกษา มี ๔.๔๐ ๒.๘๔ มาก

ความรูความสามารถตรงกบั วชิ าที่สอน มีความรคู วามเขาใจดานจิตวิทยา

เด็ก มีความเขาใจดานหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวัดและ

ประเมินผล

๓. ทักษะการถายทอดของครู ครผู สู อนมีทักษะทางการสอน การ ๔.๕๓ ๓.๕๖ มากทส่ี ดุ

ถายทอด เลือกใชรปู แบบการสอนทสี่ อดคลองกับจุดประสงค มีการ วาง

แผนการจดั การเรียนรสู อดคลองกับจดุ ประสงค และสามารถจัดกิจกรรม

ท่ีสงเสรมิ ทกั ษะในศตวรรษท่ี ๒๑

๔. สื่อการเรียนรู ครูสรางนวัตกรรมเพอ่ื เปนส่อื การจดั การเรียนรู มสี ่อื ๔.๒๖ ๒.๑๙ มาก

การเรยี นรเู พยี งพอของสาํ หรับครทู กุ กลุมสาระฯ และครใู ชสื่อในการ

จัดการเรยี นรู

๕. เทคโนโลยี จัดใหมีเทคโนโลยีเพือ่ การเรยี นเพียงพอตอการจัดการ ๔.๓๓ ๒.๑๘ มาก

เรียนรู มกี ารจัดระบบเครอื ขายเพอ่ื ความสะดวกในการจัดการเรียนรู

และครมู คี วามรูความเขาใจและใชเทคโนโลยใี นการจัดการเรยี นรู

๖. หองเรยี น มจี ํานวนหองเรียนเพยี งพอและเหมาะสม ภายในหองเรียน ๔.๕๓ ๓.๕๖ มากทส่ี ดุ

มีส่งิ อํานวยความสะดวกตอการเรียนครบถวน

๗. หองปฏบิ ตั กิ าร หองปฏิบัตกิ ารมคี รบทกุ กลมุ สาระฯ ภายใน ๔.๔๐ ๒.๘๔ มาก

หองปฏบิ ัตกิ ารมีอุปกรณครบถวนเพียงพอและมสี ภาพพรอมใชงาน

๘. เทคนิคการสอน ครมู ีเทคนคิ การสอนที่หลากหลายรูปแบบและมี ๔.๔๖ ๒.๙๕ มาก

เทคนิคการสอนที่ครใู ชชวยสงเสริมทักษะการเรยี นรขู องนกั เรียน

๙. การวัดและประเมินผล มกี ารกําหนดเกณฑการวดั และประเมนิ ผลท่ี ๔.๔๕ ๓.๒๗ มาก

สอดคลองกับแนวทางการจัด หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน

พ.ศ.๒๕๕๑ ครมู คี วามรคู วามเขาใจเก่ยี วกบั การวดั และประเมนิ ผล ครู

ปฏบิ ตั กิ ารประเมนิ ผลระหวางเรยี นและหลังเรียนไดถูกตอง เครอ่ื งมอื การ

วัดและขอสอบมีคุณภาพ

๕๒

รายการ x S.D. แปลผล

๑๐. โครงการสนบั สนนุ หลกั สูตร มโี ครงการทีส่ งเสรมิ การจดั การศึกษา ๔.๔๖ ๒.๙๕ มาก

ใหเปนไปตามวสิ ยั ทัศนของโรงเรยี น “โครงการพฒั นางานวชิ าการทีเ่ นน

คุณภาพผูเรยี นรอบดานตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุมเปาหมาย”

๑๑. กิจกรรมเสริมหลักสตู ร มีกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรทเ่ี ปนไปตาม ๔.๔๐ ๒.๘๔ มาก

นโยบายของโรงเรียน

๑๒. การบริหารจัดการ มีการจดั ตั้งคณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและ ๔.๖๐ ๒.๙๙ มากทส่ี ดุ

วชิ าการ มกี ารจัดต้ังกรรมการบริหารกลมุ สาระการเรยี นรู มกี ารจัดทํา

รายงานผลการดาํ เนินงานของบุคลากรทุกระดับ

เฉลี่ย ๔.๔๕ ๒.๙๙ มาก

๓. ดานกระบวนการใชหลักสูตร Process (P)

๑. กระบวนการจัดการเรยี นรู มีกจิ กรรมการเรยี นรูท่ีสอดคลองกับ ๔.๒๖ ๒.๖๔ มาก

แผนการจดั การเรยี นรู มกี ิจกรรมเนนผูเรียนเปนสาํ คญั มีกจิ กรรมทีเ่ นน

ทกั ษะ ๘C ตามศตวรรษที่ ๒๑ ในกิจกรรมการจดั การ เรียนรู มีกิจกรรม

การเรยี นรโู ดยใชรปู แบบการสอนทหี่ ลากหลาย มีกจิ กรรมการเรยี นรูท่ี

สอดแทรกคุณธรรม มกี ารทําวิจัยในชั้นเรยี น มกี ารนาํ ผลการวิจยั ไป

ปรบั ปรุง และพฒั นากจิ กรรมการเรียนรู

๒. กระบวนการวัดและประเมินผล มีการแจงวธิ กี ารวัดและประเมนิ ผล ๔.๓๓ ๒.๖๔ มาก

ใหผเู รยี นทราบลวงหนา มีการประเมินผลระหวางเรยี น ควบคูไปกับการ

เรียนการสอน มีการวัดและประเมินผลทค่ี รอบคลุมการเรยี นรทู ง้ั ดาน

ความรู คุณธรรม และกระบวนการ มีเครอื่ งมือการวัดและประเมินผลท่ี

หลากหลาย และสอดคลองกบั จุดประสงคการเรียนรู มีการทดสอบกอน

เรียน และหลงั เรียน เพอื่ พฒั นาการเรยี นรขู อง ผเู รียน รายการ ระดบั การ

ประเมนิ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ และมกี ารนาํ ผลการประเมินไปปรบั เปลย่ี นการ

จดั การเรยี นรู

๓. การนิเทศติดตามการใชหลักสูตร มกี ารประชมุ ใหความรู ตดิ ตามการ ๔.๔๖ ๓.๖๐ มาก
จดั การเรยี นรูระหวางเพือ่ นครทู ีส่ อนวิชาเดียวกัน มกี ารเขานิเทศภายใน
เกีย่ วกับการจัดกจิ กรรมการเรียนรู (ผบู รหิ ารสถานศึกษา ครวู ชิ าการ) ครู
ไดรับการประเมินผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรูเปนระยะ ๆ อยางตอเนือ่ ง
และมีการนําผลการนิเทศไปใชปรับปรุงการจดั การเรยี นรู

๕๓

รายการ x S.D. แปลผล

๔. การมสี วนรวมของชุมชน มีสวนรวมในการกําหนดวิสัยทศั น ภารกจิ ๔.๔๐ ๓,๔๖ มาก

เปาหมาย มสี วนรวมในการถายทอด ความรู ทกั ษะ ภูมปิ ญญา ใหกบั

ผเู รียน มีสวนรวมในการจัดสภาพแวดลอม แหลงการเรยี นรู กิจกรรมการ

เรยี นรู ใหผเู รยี น และมสี วนรวมในการสนับสนุนงบประมาณ อุปกรณ

หรืออนื่ ๆ ใหการจัดการเรยี นรไู ดอยางราบรนื่

เฉลย่ี ๔.๓๖ ๓.๐๙ มาก

๔. ดานผลผลิต Product (P)

๑. คุณลักษณะอนั พึงประสงคของนกั เรียนทีจ่ บการศึกษาเปนไปตาม ๔.๔๐ ๓.๔๖ มาก

เปาหมายทกี่ าํ หนด เปนพลเมืองดขี องชาติศรัทธายดึ มนั่ ในศาสนา เคารพ

เทิดทนู สถาบันพระมหากษตั ริย ปฏิบัตติ นตามขอตกลง กฎเกณฑระเบยี บ

ขอบงั คับของครอบครัวโรงเรยี นและสังคมอยูเสมอ มคี วามตง้ั ใจ เพียร

พยายามในการเรียน/เขารวมกจิ กรรมแสวงหาความรอู ยางสมา่ํ เสมอ และ

เปนผูใหและชวยเหลอื ผูอนื่ แบงปนเสยี สละความสุขสวนตนเพือ่

ประโยชนแกสวนรวม

๒. ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนเปนไปตามเปาหมาย มีความสามารถในการ ๔.๔๖ ๔.๓๕ มาก

รับ-สงสาร รจู กั เลือกใชวธิ ีการส่ือสารทมี่ ปี ระสิทธิภาพ มคี วามสามารถใน

การคิด การสรางปญญา มคี วามสามารถในการแกปญหา และอปุ สรรค

ตาง ๆ มคี วามสามารถในการเลอื กใชทักษะการดําเนินชวี ติ มี

ความสามารถในการเลือกและใชเทคโนโลยอี ยางถูกตองเหมาะสมและมี

คณุ ธรรม

เฉลย่ี ๔.๔๓ ๓.๙๑ มาก

เฉลย่ี รวม ๔.๔๑ ๓.๓๓ มาก

จากตารางที่ ๙ พบวา ในภาพรวม คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน มีความคดิ เห็นเกีย่ วกับการ
ประเมินหลักสตู รสถานศึกษา อยใู นระดบั มาก ( x = ๔.๔๑) เมอื่ พิจารณารายดานพบวา ดานท่ีคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน เห็นดวยมาก ไดแกดาน กระบวนการ ( x = ๔.๔๕) ดานผลผลติ ( x = ๔.๔๓)และดาน
ปจจัยการใชหลักสตู ร ( x = ๔.๓๖) ตามลําดับ

๔๐

บทท่ี ๕
สรุปผลอภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การประเมนิ หลักสตู รสถานศกึ ษาของโรงเรยี นวดั จนั ทรตะวนั ออก สาํ นักงานเขตพืน้ ที่

การศกึ ษา ประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก เขต ๑ ครั้งนี้ ผปู ระเมินไดนาํ เสนอสรปุ ผลการประเมนิ ดังน้ี

๑. วัตถุประสงคของการประเมนิ

๒. วิธีดําเนนิ การ

๓. สรปุ ผล

๔. อภปิ รายผล

๕. ขอเสนอแนะ

วัตถปุ ระสงคของการประเมิน

เพื่อประเมินหลกั สตู รสถานศกึ ษา ของโรงเรียนวัดจันทรตะวนั ออก สํานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา

ประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต ๑ ในองคประกอบ ๓ ดาน ไดแก

๑. ดานการสรางและพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา

๒. ดานการนําหลักสูตรสถานศึกษาไปใช

๓. ดานผลผลติ ของหลกั สูตรสถานศกึ ษา

วธิ ดี าํ เนินการ

๑. กลุมเปาหมาย

กลุมเปาหมายท่ใี ชในการประเมนิ คร้ังน้ี กลมุ เปาหมาย ทีใ่ ชในการประเมินครัง้ น้ี

ประกอบดวย

๑) ผูอํานวยการโรงเรียน ๑ คน

๒) ครผู สู อน ๑๘ คน

๓) คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ๕ คน

๔) ผปู กครองนกั เรยี น ใชวิธกี ารสมุ แบบแบงชัน้ อยางเปนสัดสวน ๖๐ คน

๕) นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๓ ๒๐ คน

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี ๖ ๒๐ คน

นกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ ๓ ๒๐ คน

๒. เครือ่ งมือทใ่ี ชในการประเมิน

แบบสอบถามเพ่ือการประเมินหลกั สตู รสถานศึกษา จํานวน ๔ ฉบับ ไดแก

๑) ฉบบั ทแี่ บบสอบถามเพอ่ื การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา๑ สาํ หรบั ผบู รหิ ารและ

ครผู สู อน

๒) ฉบับที่ ๒ แบบสอบถามเพ่ือการประเมินหลกั สตู รสถานศกึ ษา สําหรบั นกั เรยี น

๔๑

๓) ฉบบั ที่ ๓ แบบสอบถามเพอื่ การประเมนิ หลกั สตู รสถานศกึ ษา สาํ หรับผปู กครองนกั เรียน
๔) ฉบับท่ี ๔ แบบสอบถามเพอื่ การประเมนิ หลักสตู รสถานศกึ ษา สาํ หรับคณะกรรมการ
สถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน
๓. การเกบ็ รวบรวมขอมลู
๑) ศึกษาแนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจัยเก่ียวกบั การจดั ทาํ หลักสูตรสถานศกึ ษาและ การ
ประเมินหลักสูตร
๒) สรางเครอ่ื งมือทีใ่ ชในการประเมนิ ไดแก แบบสอบถามเพอ่ื การประเมนิ หลกั สตู ร จํานวน
๔ ฉบบั โดยใหผเู ช่ียวชาญเปนผตู รวจสอบเครอ่ื งมอื ไดแก ดร.ชํานาญ ปาณาวงษ ( กศ.ด.) และ อาจารยเบญจา
พูลเกษร ขาราชการบาํ นาญ คศ. ๔
๓) เกบ็ รวบรวมขอมลู และวเิ คราะหขอมูลสอบถามความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั กระบวนการสราง
และพัฒนาหลักสตู ร กระบวนการนําหลกั สูตรไปใช และผลผลติ ของหลกั สตู ร ดงั น้ี

๓.๑) โรงเรียนแตงต้ังคณะทํางานประเมินหลักสูตรสถานศกึ ษา
๓.๒) เก็บรวบรวมขอมลู กําหนดการ ดังนี้

กรกฎาคม ๒๕๖๓ ช้ีแจงรายละเอยี ดการประเมนิ หลกั สูตรสถานศึกษา
มอบหมายงานและแจกแบบสอบถามแก
กลุมเปาหมาย

๑-๑๕ สงิ หาคม ๒๕๖๓ เก็บรวบรวมขอมูล
สงิ หาคม ๒๕๖๓ วิเคราะหขอมลู และเขียนรายงานการ
ประเมิน หลกั สตู รสถานศึกษา

4) สรปุ ผลการประเมินและนาํ เสนอรายงานผลการประเมิน
๔. การวิเคราะหขอมลู
การวเิ คราะหขอมลู เพ่ือการหาคาสถติ ิ ทําการวิเคราะหโดยใชคอมพวิ เตอรโปรแกรมสาํ เรจ็ รปู
เพ่อื หาคาความถ่ี คารอยละ และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานคาเฉลย่ี เพือ่ ใชในการวเิ คราะหขอมลู ดังน้ี
ตอนท่ี ๑ วเิ คราะหขอมลู โดยหาคาความถี่ คารอยละ นาํ เสนอในรูปแบบตารางประกอบ
ความเรียง
ตอนที่ ๒ การวิเคราะหการประเมนิ หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรยี นวัดจนั ทรตะวนั ออก
สํานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณโุ ลก ใน ๓ ดาน ไดแก ดานการสรางและพฒั นาหลกั สูตร ดาน
กระบวนการนาํ หลกั สูตรไปใช และดานผลผลิตของหลกั สูตร โดยการหาคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

๔๒

สรุปผล
๑. ดานการสรางและพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา
ความคดิ เหน็ ของผบู รหิ ารและครผู ูสอนตอดานการสรางและพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษาพบวา

ผูบรหิ ารและครูผสู อนมีความคดิ เห็นเกย่ี วกบั การสรางและพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา มาก เม่อื พจิ ารณาเปน
รายดาน พบวา ดานที่ผูบริหารและครผู สู อนเห็นดวยในระดบั มากที คือ ๑.การกาํ หนดสมรรถนะสาํ คัญ
คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคและการอานและการเขียนคดิ วิเคราะห ครอบคลมุ ทกุ กลุมสาระฯ ๒. มีการกําหนด
เน้ือหาสาระและกจิ กรรมพฒั นาผูเรยี นอยางหลากหลาย และมกี ารออกแบบรายวิชาพ้ืนฐาน เพื่อพัฒนา
นกั เรยี นตามมาตรฐานการเรียนรูและตวั ช้วี ัดท่ี หลกั สตู รแกนกลางสถานศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช
๒๕๕๑กาํ หนด อยางครบถวนและดานทมี่ รี ะดบั ความเห็น นอยท่สี ดุ ไดแก ความพรอมของโรงเรียนดานสอ่ื
วัสดุ อปุ กรณ

ความคดิ เหน็ ของนกั เรียนตอดานการสรางและพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา พบวา นกั เรยี น มี
ความคดิ เหน็ เก่ียวกบั การสรางและพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษาอยใู นระดบั มาก เม่อื พจิ ารณารายดาน พบวา
ดานที่นกั เรียนเหน็ ดวยในระดบั มากทส่ี ุด ๓ อันดับ คอื ๑.โรงเรียนมีความพรอมในดาน สถานที่ และ
สภาพแวดลอม ๒.โรงเรยี นมคี วามพรอมดานครแู ละบคุ ลากรท่ีมคี ุณภาพ เหมาะสม เพยี งพอ ๓.นักเรียนได
รับรูเกย่ี วกบั วสิ ยั ทัศน จุดหมาย สมรรถนะทางการเรยี น และดานท่ีนักเรยี นเห็นดวยในระดับนอยทสี่ ดุ คือ
ความพรอมดานสอื่ วัสดุ อุปกรณและสือ่ ICT

ความคิดเห็นของผูปกครองนกั เรยี นตอดานการสรางและพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา
ผูปกครองนกั เรยี นมีความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั การสรางและพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาอยใู นระดบั มาก เมอ่ื
พิจารณาเปนรายดาน พบวา ดานทผ่ี ูปกครองนกั เรยี นเห็นดวยในระดบั มากที่สุด ๓ อนั ดับ โรงเรยี นมคี วาม
พรอมดานอาคาร สถานท่ี สภาพแวดลอม ๒.หลกั สูตรของโรงเรียนสามารถพัฒนานกั เรียน เปนคนดี มี
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและลักษณะอันพงึ ประสงค ๓.โรงเรยี นมคี วามพรอมดานครูและ บุคลากรที่มคี ณุ ภาพ
เหมาะสม เพียงพอ และดานทผ่ี ปู กครองนกั เรยี นเหน็ ดวยในระดบั นอย ความพรอมดานสอ่ื วสั ดุ อปุ กรณและ
สื่อICTและการมสี วนรวมในการจดั ทาํ หลกั สูตร การจัดการเรียน การสอนของโรงเรียน

ความคดิ เห็นของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐานตอดานการสรางและพฒั นาหลักสตู ร
สถานศึกษา พบวา คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานมคี วามคิดเหน็ เก่ยี วกบั การสรางและพัฒนาหลกั สตู ร
สถานศกึ ษาอยูในระดับ มาก เม่อื พจิ ารณาเปนรายดาน พบวา ดานที่ คณะกรรมการสถานข้นั พ้ืนฐานเห็นดวย
ในระดับมากทสี่ ดุ ๓ อนั ดับ คอื ๑. โรงเรยี นมีความพรอมในการพฒั นาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน
๒.โรงเรียนจัดประชมุ และไดใหความรู ความเขาใจเกยี่ วกบั การจดั ทําหลกั สูตรสถานศึกษา และ ๓.หลักสูตร
ของโรงเรียนสามารถพฒั นานกั เรยี นใหเปนคนดี มีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค และดาน
ทคี่ ณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานเหน็ ดวยในระดบั มากคอื หลักสตู รของโรงเรยี นสามารถพฒั นานกั เรียน
ไดตามความถนดั ความสนใจของนักเรยี นอยางเหมาะสม

๔๓

๒. ดานการนาํ หลกั สูตรสถานศึกษาไปใช
ความคดิ เห็นของผบู รหิ ารและครูผสู อนตอดานการนาํ หลักสตู รสถานศกึ ษาไปใช พบวา

ผูบริหารและครูผสู อนมคี วามคดิ เหน็ เกี่ยวกับการนาํ หลักสตู รสถานศึกษาไปใชอยูในระดบั มาก เมือ่ พจิ ารณา
เปนรายดาน พบวา ดานทผ่ี ูบริหารและครูผสู อนเหน็ ดวยในระดับมากทสี่ ุด คือ ๑. มกี ารจดั บรรยากาศท่ี
เอื้อตอการเรียนรูและดูแลชวยเหลอื นกั เรยี นใหเกดิ การเรียนรู กิจกรรมโดยใหนักเรยี นรจู ักแสวงหาความรู
จากแหลงเรยี นรตู างๆ และ ๓. มกี ารศึกษา วิเคราะห นกั เรยี นเปนรายบุคคล และดานท่ผี บู รหิ ารและ
ครผู สู อนนอยทสี่ ุดเหน็ ดวยในระดบั คอื มีการจดั การเรียนรทู ต่ี อบสนองความแตกตางระหวางบคุ คล และ
พัฒนาการทางสมอง เพ่ือนาํ นกั เรียนไปสเู ปาหมาย

ความคิดเหน็ ของนักเรยี นตอดานการนาํ หลักสตู รสถานศกึ ษาไปใช พบวา นักเรียนมีความ
คิดเหน็ เกย่ี วกบั การนําหลกั สูตรสถานศึกษาไปใช อยูในระดบั เมื่อพิจารณาเปนรายดานมาก พบวา ดานที่
นกั เรียนเหน็ ดวยในระดับมากทีส่ ุด ๓ รายการ คอื ๑.ครูจดั กจิ กรรมหลากหลาย เพื่อสงเสริมความสามารถ
พเิ ศษของนกั เรยี นอยางเหมาะสม ๒.ครูแจงจดุ ประสงคการเรยี นรใู หนกั เรียนทราบ จัดการเรียนการสอน
ในแตละรายวิชา และ๓.ครจู ดั กิจกรรมสงเสรมิ ความรู ความสามารถทางวชิ าการของ นักเรยี นอยาง
เหมาะสม และดานทน่ี ักเรียนเหน็ ดวยในระดบั นอยทสี่ ดุ คือ ครจู ัดการเรยี นการสอนใหนกั เรยี นไดลงมอื
ปฏิบัตจิ รงิ ทงั้ การปฏิบตั ิโดยลาํ พังหรอื เปนกลมุ .

ความคิดเห็นของผปู กครองนกั เรยี นตอดานการนําหลกั สตู รสถานศึกษาไปใช
พบวาผูปกครอง นักเรยี นมีความคิดเหน็ เก่ียวกบั การนําหลกั สตู รสถานศกึ ษาไปใชอยูในระดบั เมอ่ื พิจารณา
เปนรายดาน พบวา ดานท่ีผูปกครองนกั เรยี นเหน็ ดวยในระดับมากทสี่ ดุ ๓ อันดับโรงเรยี นวางแผนการใช
หลักสูตรอยางเปนระบบ ๒.การจดั การเรยี นการสอนสงเสรมิ ใหนักเรยี น ความสามารถในการคดิ และ
๓.ครูมคี วามพรอมในการใชหลกั สตู รสถานศกึ ษา เชน จดั หองเรียนสวย สะอาด มีแผนการจัดการเรยี นรู
และดานทผ่ี ูปกครองนักเรยี นเห็นดวยในระดับนอยที่สุด การประชาสมั พนั ธเพอ่ื สรางความเขาใจเก่ยี วกบั
การใชหลกั สูตรสถานศกึ ษาแกผูปกครองและบุคลทเ่ี กีย่ วของ

ความคิดเหน็ ของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐานตอดานการนําหลกั สูตรสถานศกึ ษา
ไปใช พบวา คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานมีความคดิ เหน็ เกย่ี วกับการนําหลกั สูตรสถานศึกษาไปใช
อยูในระดบั มาก เมอ่ื พจิ ารณาเปนรายดาน พบวา ดานท่ี คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานมคี วามเห็น
ระดับมากทส่ี ดุ คือ โรงเรยี นมกี ารนเิ ทศ ตดิ ตามและชวยแกปญหาในการใชหลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรยี น
มีการประชาสัมพันธเกย่ี วกบั หลักสตู รสงเสริมความจดั กจิ กรรมการเรยี นรสู ูความสามารถ มีการจดั กจิ กรรม
หลากหลายเพอื่ สงเสรมิ ทักษะและความสามารถของนักเรียน เปนอนั ดบั รองลงมา และดานที่ คณะกรรมการ
สถานศึกษาขน้ั พื้นฐานเหน็ ดวยในระดับนอยทสี่ ดุ คอื การจดั การเรียนการสอนท่ีนักเรยี นไดลงมอื ปฏบิ ตั จิ ริง

๓.ดานผลผลิตของหลกั สูตรสถานศึกษา
ความคดิ เห็นของผูบรหิ ารและครผู สู อนตอดานผลผลิตของหลักสตู รสถานศึกษาผูบรหิ ารและ

ครผู ูสอนมีความคิดเหน็ เกย่ี วกบั ผลผลิตของหลกั สตู รสถานศึกษาอยใู นระดบั มาก เมอ่ื พิจารณาเปนรายดาน
พบวา ดานท่ผี ูบรหิ ารและครผู สู อนเหน็ ดวยในระดบั มากทสี่ ุด ๓ อันดบั คือ ๑. นกั เรียนมคี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ
ประสงค เรอื่ ง ความจงรักภักดตี อชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริยและ ระบอบประชาธปิ ไตย ๒.นกั เรียนมี
ความ สามารถในการใชเทคโนโลยี และ ๓.นกั เรยี นมคี วามซือ่ สัตยและดานทผ่ี บู ริหารและครผู สู อนเห็นดวย

๔๔

ในระดบั นอยทสี่ ดุ คือ นักเรยี นมีความสามารถใชภาษาองั กฤษสื่อสารในชีวติ ประจําวัน
ความคิดเห็นของนักเรยี นตอดานผลผลติ ของหลักสตู รสถานศกึ ษา พบวา นกั เรียนมีความ

คดิ เห็นเกยี่ วกับผลผลิตของหลกั สูตรสถานศึกษา มากอยใู นระดับเมอ่ื พจิ ารณาเปนรายดาน พบวา ดานท่ี
นักเรยี นเหน็ ดวยในระดับมากที่สดุ ๓ อนั ดบั คือ ๑.นกั เรยี นมีความซอ่ื สัตย สจุ รติ ๒.นกั เรียนรัก และ
เอ้ืออาทรในเพอื่ นมนษุ ย ๓.นกั เรียนคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค เรื่อง จงรกั ภักดตี อชาติ ศาสนา
พระมหากษตั ริยและยึดมน่ั ในระบอบประชาธปิ ไตย และดานทน่ี กั เรียนเหน็ ดวยในระดับ นอยทสี่ ุด นกั เรียน
สามารถใชภาษาองั กฤษส่ือสารในชีวิตประจาํ วัน

ความคิดเห็นของผปู กครองนกั เรียนตอดานผลผลิตของหลักสตู รสถานศกึ ษา พบวา ผปู กครอง
นกั เรยี นมคี วามคิดเห็นเกยี่ วกับผลผลิตของหลกั สตู รสถานศกึ ษา อยูในระดับ มาก เมอ่ื พิจารณา เปนรายดาน
พบวา ดานทผ่ี ปู กครองนกั เรียนเหน็ ดวยในระดบั มากทสี่ ดุ ๓ อันดับ คอื ๑.นักเรียน ขยันหมน่ั เพยี ร ๒.นักเรยี น
มีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค เร่อื ง จงรักภักดตี อชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย และยดึ มั่นในระบอบ
ประชาธิปไตย ๓.นกั เรยี นมคี วามซอ่ื สตั ย สจุ ริต และดานท่ผี ปู กครองนักเรียนเห็นดวย ในระดับนอยทส่ี ุด
คือ นกั เรยี นสามารถ ใชภาษาอังกฤษสอ่ื สารในชวี ิตประจาํ วนั

ความคดิ เห็นของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พื้นฐานตอดานผลผลิตของหลักสูตร
สถานศึกษาพบวาคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานมคี วามคิดเหน็ เกย่ี วกับผลผลติ ของหลักสตู ร
สถานศึกษาอยใู นระดบั มาก เม่ือพจิ ารณาเปนรายดาน พบวา ดานท่ี คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพนื้ ฐาน
เหน็ ดวยในระดบั มากทสี่ ุด ๓ อันดบั คือ ๑.นักเรยี นมคี ณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค เรื่อง ชาติ ศาสนา
พระมหากษตั รยิ และยดึ ม่นั ในระบอบประชาธปิ ไตย ๒.นักเรียนใชภาษาไทยไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ และ
นักเรยี นสามารถใชเทคโนโลยี มจี ิตสาธารณะ มีความซ่ือสตั ย สจุ รติ ขยันหมน่ั เพียร เปนอันดบั ท่ี ๓ .
และดานทีค่ ณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานเหน็ ดวย ในระดบั นอยท่สี ุด คอื นักเรียนมีความสามารถ
ในการใชภาษาองั กฤษสือ่ สารในชวี ิตประจาํ วัน
อภิปรายผล

๑.ดานการสรางและพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา
จากบทสรปุ ผลพบวาการสรางและพฒั นา หลกั สูตรสถานศกึ ษามีการปฏบิ ัตอิ ยูในระดบั มาก
โดยทีค่ วามเห็นของทุกสวนทเ่ี กยี่ วของตรงกันโดยเฉพาะ ดานความพรอมของอาคาร สถานทแี่ ละ
สภาพแวดลอม ความพรอมของครแู ละบุคลากร ตลอดจนการพฒั นานกั เรียนใหเปนไปตามสมรรถนะ
คุณลักษณะอันพึงประสงค แสดงใหเปนวาหลักสูตรสถานศกึ ษาของโรงเรยี น มีความเหมาะสมกับปจจบุ นั
อยางไรก็ตามเม่อื พิจารณาสวนท่ีมกี ารปฏบิ ตั ินอย ไดแก ความพรอม ของสอ่ื วสั ดุ อุปกรณและส่ือ ICT
ทน่ี ักเรียนและผูปกครองเหน็ ตรงกันวาควรมกี ารพัฒนาตอไป

๒. ดานการนําหลักสูตรสถานศึกษาไปใช
จากบทสรปุ พบวาโรงเรียนมีการนําหลักสูตรสถานศกึ ษาไปใชใน ระดับ มาก โดยเฉพาะการจดั
กจิ กรรมทหี่ ลากหลาย มบี รรยากาศทเี่ อื้อตอการเรยี นรู มกี ารสงเสรมิ ความสามารถพิเศษเหมาะสมครู
วเิ คราะหความแตกตางระหวางบุคคลแลววางแผนการจดั การเรียนการสอนทีใ่ หนักเรยี นไดเรียนรจู าก
แหลงเรียนรูอน่ื ๆ ทั้งนผี้ ูปกครองและนักเรียนเห็นวาการจดั การเรยี นการสอนใหลงมือปฏบิ ัตจิ ริงทั้งท่ี
ปฏบิ ัตติ ามลาํ พงั และเปนกลมุ ยังมนี อย และควรสรางความรู หลกั สตู รสถานศึกษาแกผูเก่ียวของดวย

๔๕

๓. ดานผลผลติ ของหลักสูตรสถานศกึ ษา พบวาผลผลติ ของหลกั สูตรสถานศึกษาของโรงเรียน
สามารถปฏบิ ัตไิ ดในระดับ มาก โดยผบู ริหารครู นกั เรยี นและผูปกครองเห็นวาหลกั สูตรสถานศึกษาไดสราง
ผลผลติ ใหเปนคนซอื่ สัตย คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค เรื่องความจงรกั ภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ
และยึดมั่น ในระบอบประชาธปิ ไตย รวมท้งั ยงั สงั่ สอนและผลติ นักเรียนใหเปนบุคคลท่ีมคี วามใฝเรียนรูขยัน
หมั่นเพียร อยางไรกต็ ามทงั้ ๔ กลมุ เหน็ ผลผลผลิตท่ียงั เปนจดุ ท่ีควรพฒั นาไดแก ความสามารถในการใช
ภาษาอังกฤษในชวี ติ ประจาํ วัน

เมือ่ พจิ ารณาประเด็นทัง้ ๓ ดาน ของหลกั สตู รสถานศกึ ษาผบู รหิ ารครแู ละบุคลากรเห็นควร
ไดรบั การพัฒนาคือดานผลผลิตของหลักสตู รสถานศึกษา สวนนกั เรยี นและผปู กครอง เหน็ วาดานทคี่ วร
ไดรบั การพฒั นา ไดแก การสรางและการพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา สวนคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
ของโรงเรียน เหน็ วาดานผลผลิตของหลักสตู ร ควรไดรบั การพัฒนา
ขอเสนอแนะ

จากการสรปุ และอภปิ รายการประเมนิ หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนวัดจันทรตะวนั ออก พบ
จุดเดนและจดุ ทค่ี วรพัฒนา ดงั น้ี

๑.จุดเดน
๑.๑.ดานการสรางและการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา มีจดุ เดน ดงั นี้
๑.สถานศกึ ษามกี ารกาํ หนดสมรรถนะ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค การอาน การ

คดิ วิเคราะหและการเขยี นครอบคลุมทกุ กลุมสาระการเรียนรู
๒.สถานศกึ ษามีความพรอมดานอาคาร สถานท่ี สภาพแวดลอม
๓.สถานศกึ ษามีความพรอมดานการพฒั นาหลกั สูตรและการเรยี นการสอน

๑.๒.ดานการนาํ หลกั สูตรสถานศึกษาไปใช มีจดุ เดน ดงั น้ี
๑.มีการจัดบรรยากาศท่เี ออื้ ตอการเรียนรแู ละดแู ลชวยเหลอื นักเรยี นใหเกิดการเรียนรู
๒.ครูจัดกจิ กรรมหลากหลาย เพอื่ สงเสรมิ ทกั ษะ ความสามารถพิเศษของ

นกั เรียนอยางเหมาะสม
๓.สถานศึกษาวางแผนการพฒั นาหลักสตู รอยางเปนระบบ
๔.สถานศึกษามีการนเิ ทศ ติดตามและชวยแกปญหาในการใชหลกั สตู ร

๑.๓.ดานผลผลติ ของหลกั สูตรสถานศกึ ษา มจี ุดเดน ดงั น้ี
๑.นักเรยี นมีคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค เร่ือง จงรกั ภกั ดีตอชาติ ศาสนา

พระมหากษตั ริยและยึดมนั่ ในระบอบประชาธปิ ไตย
๒.นกั เรยี นมคี วามซ่อื สตั ย สจุ ริต
๓.นกั เรยี นใฝเรียนรู ขยันหม่ันเพยี ร
๔.นักเรยี นมจี ติ สาธารณะ รัก และเออ้ื อาทรตอเพอ่ื มนษุ ย

๔๖

๒.จดุ ทีค่ วรพัฒนา
๒.๑.ดานการสรางและการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา มจี ดุ ที่ควรพฒั นา ดงั นี้
๑.ความพรอมของสถานศึกษาดานสอื่ วสั ดุ อปุ กรณICT และส่อื
๒.การมสี วนรวมในการท าหลักสูตรและการเรยี นการสอน
๓.การพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาใหตรงตามความถนัด ความสนใจ
๒.๒.ดานการนาํ หลกั สูตรสถานศกึ ษาไปใช มีจดุ ท่ีควรพฒั นา ดังน้ี
๑.การจดั การเรยี นรทู ่ตี อบสนองความแตกตางระหวางบคุ คลและพฒั นา การทาง

สมองเพ่อื นํานกั เรียนไปสเู ปาหมาย
๒.การจัดการเรยี นการสอนทเี่ นนการปฏบิ ตั จิ รงิ ท้งั บคุ คลและเปนกลมุ
๓.การประชาสมั พนั ธการใชหลกั สตู รแกผปู กครองใหมคี วามเขาใจ

๒.๓.ดานผลผลติ ของหลกั สตู รสถานศึกษามจี ุดทคี่ วรพฒั นา ดงั น้ี
๑.ความสามารถในการใชภาษาอังกฤษสื่อสารในชีวิตประจาํ วนั
๒.ความสามารถในการคิด
๓.ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นในกลมุ สาระการเรียนรทู ่ีสะทอนตามมาตรฐานการเรยี นรู

และตัวชีว้ ัดของหลักสตู ร

๓.ขอเสนอแนะในการศึกษาและวิจัยตอไป
จากผลการประเมินหลักสตู รสถานศึกษาของโรงเรยี นวดั จันทรตะวันออก ครงั้ น้ี เห็นวา

สถานศึกษาควรมกี ารปรบั ปรุงและพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา ตามขอมูลทมี่ กี ารประเมนิ หลักสตู รที่ปรากฏ
อีกครัง้ หนง่ึ หลังจากใชไประยะหนงึ่ แลว.

๔๗
บรรณานกุ รม

๔๘

บรรณานุกรม

กระทรวงศกึ ษาธิการ.(๒๕๕๑). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑.
กรุงเทพฯ: โรงพมิ พชุมนมุ สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จาํ กดั .

กัมพล ธิตกิ ร.(๒๕๔๒). การพฒั นาการใชและการประเมินหลกั สตู ร วารสารการวัดผล
การศกึ ษา. (พฤษภาคม – สงิ หาคม ๒๕๔๒)

ทิศนา แขมมณี.(๒๕๔๐). หลกั การศกึ ษา กรงุ เทพมหานคร.: ไทยวัฒนาพานชิ .
นริ มล ศตวุฒ.ิ (๒๕๔๓). การประเมินหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นสริ นิ ธรราชวิทยาลยั จงั หวดั นครปฐม.

วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาหลกั สูตรและการสอน มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร.
วชิ ัย วงษใหญ.(๒๕๔๐). กระบวนการพัฒนาหลกั สูรและการสอน ภาคปฏิบัติ กรงุ เทพมหานคร.:

สวุ ีรยิ าสารน.
ศกั ดศิ์ รี ปาณะกลุ .(๒๕๔๙). พื้นฐานและหลักการพฒั นาหลักสูตรพิมพคร้งั ท.่ี ๓, กรงุ เทพมหานคร:

ภาควชิ าบรหิ ารการศกึ ษา คณะครศุ าสตร จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั .
โสภา ชมชนื่ .(๒๕๔๖). การประเมินหลักสตู รหมวดวชิ าการศึกษาทัว่ ไป สถาบันราชภัฎในภาค

ตะวนั ออกเฉียงเหนอื สาขาพฒั นาหลักสตู รและการเรียนการสอน. สถาบนั ราชภัฎ
อุบลราชธานี.
สําราญ มีแจง.(๒๕๔๓). วิธวี ิทยาการประเมินทางการศึกษา กรุงเทพมหานคร.: สาํ นักพิมพแหง
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
สาํ นกั วชิ าการและมาตรฐานการศึกษา.(๒๕๕๐). การประเมินโครงการทางการศึกษา กรุงเทพมหานคร.
: วี.ที.ซ.ี คอมมิวนิเคชัน่ .
สํานกั นายกรฐั มนตร.ี (๒๕๕๒). แนวคิดพื้นฐานการสรางและการพัฒนาหลักสูตร กรุงเทพมหานคร.:
โรงพมิ พจฬุ าลงกรณมหาวิทยาลยั .
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน.(๒๕๕๓). การประเมนิ โครงการทางการศกึ ษา.
กรงุ เทพมหานคร: สํานักพมิ พวัฒนาพานชิ .
Cronbach, K. (๑๙๗๐). Educational Technology. Maryland : Penguin Book.
Good. Carter V. (๑๙๗๓). Dictionary of Education. New York : McGraw Hill.
Kittisunthorn, C. (๒๐๐๓). Dictionary of Education. New York : McGraw Hill.
Nutravong, V., (๒๐๐๒). Active Learning. New York : Education Technology
Publication, Englewood Cliffs.
Stufflebeam, et all. (๑๙๗๑). Principles of instructional design.
U.S.A. : Holt, Rinehart and Winston.

๔๙

ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version