The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรุ้หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by orasa, 2019-11-25 03:01:17

แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า

แผนการจัดการเรียนรุ้หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า

ความคดิ เหน็ ของหัวหน้ากลุ่มสาระ ความคดิ เหน็ ของรองผูอ้ านวยการกลุม่
การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ บริหารงานวิชาการ

........................................................ ........................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................

ลงช่อื ............................................ ลงชือ่ ............................................

( นายสุรศักดิ์ ยอดหงษ์ ) ( นายวเิ ชียร ยอดนิล )

หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ

วนั ท่ี เดอื น พ.ศ. 2561 วันท่ี เดอื น พ.ศ. 2561

ขอ้ เสนอแนะของหวั หนา้ สถานศกึ ษา

…………………………………………………………………………………….…………………………………………………………
…………………………………………….…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………..………………………………………………………………………………….……………
……………………………………………………………………………………………………………………………………….………

( นายไพชยนต์ ศรีมว่ ง )
ผ้อู านวยการโรงเรียนวัชรวทิ ยา
วันท่ี ...... เดือน .......................... พ.ศ. 2561

แผนการจัดการเรียนรู้ 19 เรื่อง กาลังไฟฟา้ และพลังงานไฟฟ้า

วิชา วทิ ยาศาสตร์พนื้ ฐาน รหัสวชิ า ว 23101 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 เรือ่ ง พลังงานไฟฟ้า

ชอื่ ผ้สู อน อรษา อภิรมยว์ ไิ ลชยั เวลา 3 ชั่วโมง จานวน 1.5 หนว่ ย

1. สาระการเรียนรู้
สาระการเรยี นรู้ท่ี 4 แรงและการเคลือ่ นที่

2. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 5.1
เข้าใจความสมั พนั ธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลีย่ นรูปพลังงาน ปฏสิ มั พนั ธ์ระหวา่ งสาร
และพลงั งาน ผลของการใช้พลังงานพลงั งานต่อชีวติ และส่ิงแวดล้อม มีกระบวนการสบื เสาะหความรู้
สื่อสารสงิ่ ท่ีเรยี นรู้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

3. มาตรฐานการเรยี นร้ชู ว่ งชัน้
เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหว่างพลงั งานกบั การดารงชวี ติ การเปล่ียนรูปพลงั งาน ปฏสิ มั พนั ธ์

ระหวา่ งสารและพลังงาน ผลของการใชพ้ ลังงานต่อชวี ิตและสิ่งแวดลอ้ ม มกี ระบวนกสารบื เสาะหา
ความรแู้ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ สอื่ สารสง่ิ ท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

4. ตวั ชี้วัด
สืบคน้ ข้อมลู และการคานวณการใช้พลังงานไฟฟ้าของเครื่องใชไ้ ฟฟ้า และค่าไฟฟา้ ได้
จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายความหมายของกาลงั ไฟฟ้าและพลงั งานไฟฟา้ ได้
2. ระบุความสัมพันธร์ ะหวา่ งกาลงั ไฟฟ้าและพลงั งานไฟฟ้าของเคร่อื งใชไ้ ฟฟา้
ในบ้านได้

3. คานวณการใช้พลงั งานไฟฟา้ ของเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ ได้
4. คานวณคิดค่าไฟฟ้าท่ีใช้ในบา้ นได้

5. จดุ เนน้ ทต่ี อ้ งการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น
ทักษะการส่ือสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย

6. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด
เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ เป็นอปุ กรณท์ ีส่ ามารถเปล่ยี นพลังงานไฟฟา้ เป็นพลังงานรูปอ่นื ได้ตามความ

ตอ้ งการ และเคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าแต่ละชนิดจะใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าต่างกนั ทง้ั นี้ข้นึ อย่กู บั ชนิดของ
เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้า และระยะเวลาในการใชง้ าน ดังนัน้ ในเร่ืองของความสัมพันธร์ ะหว่างกาลังไฟฟ้าและ
พลังงานไฟฟา้ จะทาใหท้ ราบถึงความส้ินเปลืองพลังงงาน สามารถนาความรู้ท่ไี ดไ้ ปเลอื กใช้
เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าแตล่ ะชนดิ ได้อยา่ งถกู ต้อง ปลอดภัย และประหยัดพลงั งาน

7. สาระการเรียนรู้
สาระแกนกลาง/สาระทอ้ งถน่ิ (ถา้ มี)
ความรู้
สาระการเรียนรู้
1. ความหมายของกาลังไฟฟา้ และพลังงานไฟฟา้
5. ความสัมพันธข์ องกาลังไฟฟ้า และพลงั งานไฟฟา้
6. การคานวณการใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ ของเคร่อื งใชไ้ ฟฟา้
7. การคานวณคา่ ไฟฟ้าที่ใชใ้ นบา้ น
ทกั ษะ/สมรรถนะ

ทกั ษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวยั
คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ซือ่ สัตย์สจุ รติ
2. ไผเ่ รยี นรู้ มงุ่ ม่ันในการทางาน

8. ชน้ิ งาน/ภาระงาน
1. แบบฝึกหัด
2. ปฏบิ ตั ิการทดลอง

9. การวดั ผลและประเมินผล

9.1 การประเมนิ ระหว่างจดั กิจกรรมการเรียนรู้

ช้นิ งาน/ภาระงาน วธิ ีการประเมนิ เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
-
1. ทดสอบ8ก9่อ.นเรยี น 1. ให้นักเรียนทา 34. 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

แบบทดสอบก่อนเรียน

2. รายงาน90. 1. สังเกตพฤตกิ รรร3ม5น.กั เรียน 1. แบบประเมินทักษะการ 1. นักเรียนผ่านเกณฑ์
ปฏิบัติการทดลอง
ภายในกลุ่ม ขณะปฏบิ ตั ิการ ปฏบิ ตั ิการทดลอง ประเมินตามแบบประเมนิ
91.
ทดลอง และศกึ ษาเ3อ6ก.สาร ทกั ษะการปฏิบัตกิ ารทดลอง

ประกอบการเรยี นการสอน อย่างน้อย 50 %

2. ใหน้ ักเรียนเขยี นรายงาน

ผลการศึกษากิจกรรมการ

ทดลอง

9.2 การประเมินเมอ่ื สนิ้ สุดการเรยี นรู้

ชน้ิ งาน/ภาระงาน วธิ ีการประเมนิ เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ
1. แบบทดสอบหลงั 1. นกั เรียนทาแบบทดสอบ
1. ทดสอ9บ2ห.ลัง 1. ใหน้ กั เรียนทา เรียน หลงั เรยี นไดผ้ า่ นเกณฑ์
ประเมนิ รอ้ ยละ 80
เรียน แบบทดสอบหลงั เรยี น 1. นกั เรยี นตอบคาถามของ
ครไู ดอ้ ยา่ งนอ้ ย 50 %
3. ใบงาน9/3. 1. ให้นกั เรียนทาแบบฝึกหดั 1. ใบงาน/แบบฝึกหดั 2. นกั เรียนผา่ นเกณฑ์ประเมนิ
แบบฝึกหดั หรอื ใบงาน ตามแบบประเมินการแสวงหา
ข้อมูลของ
94. 1. ใหน้ กั เรยี นสรุป - นักเรียนอย่างน้อย 50 %
4. สมดุ บ9ัน5ท.กึ สาระสาคญั ลงในสมุด 3. นักเรียนทาแบบฝกึ หัดได้
คะแนนอยา่ งนอ้ ย 50 %
96. นกั เรียนสรุปสาระสาคัญลงใน
สมุดไดถ้ ูกตอ้ งครบถ้วน

10. กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้

จุดประสงค์ กจิ กรรมการเรยี นการสอน ส่ือ การเรยี นรู้
การเรียนรู้ ชวั่ โมงท่ี 1

1. อธบิ าย ครูนาหลอดไฟฟา้ ขนาด 100W 220V และ 10. ตัวอยา่ งหลอดไฟ

ความหมายของ หลอดไฟฟา้ ขนาด 200W 220V มาให้ ที่มกี าลงั วตั ตแ์ ตกตา่ ง

กาลังไฟฟ้าและ นกั เรียนดู กัน

พลังงานไฟฟา้ ได้ ครใู ชค้ าถาม ถามนักเรยี นวา่ 100W หรือ

2. ระบคุ วามสมั พันธ์ 200W หมายความวา่ อยา่ งไร

ระหว่างกาลังไฟฟ้า นักเรียนหาคาตอบได้จากเอกสารประกอบการ 11. เอกสารประกอบการ

และพลงั งานไฟฟ้า เรียนการสอน ชดุ “เรียนรู้เรือ่ งพลังงาน เรียนวิทยาศาสตร์

ของเครื่องใชไ้ ฟฟ้า ไฟฟา้ ” เล่มที่ 4 แลว้ ครูสมุ่ เรยี กตวั แทนแต่ เล่มท่ี 4

ในบา้ นได้ ละกลมุ่ ตอบ

3. คานวณการใช้ ครใู หค้ วามรเู้ พิม่ เตมิ 100W 220V หรือ 200W

พลงั งานไฟฟ้าของ 220V หมายความว่า พลังงานไฟฟ้าท่ี

เครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ ได้ หลอดไฟใช้ใน 1 วนิ าที เป็น 100 จูล หรอื

4. คานวณคดิ คา่ 200 จูล โดยใช้กับความตา่ งศักยไ์ ฟฟา้ 220

ไฟฟ้าที่ใช้ในบ้านได้ โวลต์(V)

ครใู ชค้ าถาม ถามนานักเรยี นดังน้ี

1) ถา้ เปิดหลอดไฟนาน 1 ช่วั โมง โดยใช้

หลอดไฟขนาด 40 W และ 100 W จะใช้

พลังงานไฟฟา้ เทา่ กนั หรอื ไม่ (แนวตอบ ไม่

เทา่ กัน หลอดไฟขนาด 100W จะใช้

พลังงานไฟฟ้ามากกวา่ 100W)

2) จากขอ้ 1) คา่ ไฟฟา้ จากหลอดไฟฟา้ ทัง้

สองเทา่ กันหรือไม่ (แนวตอบไม่เทา่ กนั )

จุดประสงค์ -ต่อ- สอื่ การเรยี นรู้
การเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นการสอน

3) ค่าพลงั งานไฟฟา้ จะมากหรอื น้อยข้ึนอยู่
กบั อะไร(แนวตอบ กาลงั ไฟฟา้ และเวลา
ที่ใช้เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ )
นกั เรยี นศึกษาเอกสารประกอบการเรยี นการ
สอน ชุด “เรียนรเู้ รอ่ื งพลงั งานไฟฟา้ ” เล่ม
ที่ 4 ประกอบการหาคาตอบ
นักเรยี นและครรู ว่ มกันอภิปรายคาตอบตาม
คาถามขอ้ 5
ครูใหค้ วามรเู้ พิ่มเตมิ เรือ่ งกาลงั ไฟฟา้ พลงั งาน
ไฟฟ้า และการคานวณ โดยใช้เอกสาร
ประกอบการเรียนการสอน ชดุ “เรยี นรู้
เรอ่ื งพลงั งานไฟฟา้ ” เลม่ ที่ 4 เปน็ แนวทาง

ช่วั โมงที่ 2 12. ตวั อยา่ งใบเสรจ็ คา่
ครใู ห้นกั เรียนศึกษาตัวอย่างใบเสรจ็ ค่าไฟฟา้ ไฟฟา้

โดยใหต้ วั อย่างกลมุ่ ละ 4 ใบ
นักเรียนร่วมกนั ตอบคาถามหลังจากดตู วั อยา่ ง

บลิ คา่ ไฟฟ้า โดยครูใชค้ าถาม ถามนา
นกั เรียนดังน้ี
1) บิลค่าไฟฟ้าแต่ละบ้านใช้จานวนหนว่ ย
ไฟฟ้าเทา่ กนั หรือไม่(แนวตอบ ไม่เทา่ กนั )
2) แต่ละบ้านเสยี คา่ ไฟฟ้าเทา่ ไร(แนว
ตอบ พจิ ารณาจากคาตอบของนักเรยี น)

จดุ ประสงค์ - ตอ่ - สอื่ การเรยี นรู้
การเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นการสอน

3) ค่าไฟฟา้ ของแตล่ ะบา้ นมากหรือน้อย
ข้ึนอยกู่ บั อะไร(แนวตอบ พลงั งานไฟฟ้า และ
เวลาทีใ่ ชเ้ ครื่องใชไ้ ฟฟ้า)

4) คา่ ไฟฟา้ ท่ตี ้องชาระ ต้องจา่ ยคา่
อะไรบา้ ง (แนวตอบ ค่าพลงั งานไฟฟ้า
ค่าบรกิ าร ค่าFt และค่าภาษมี ลู ค่าเพ่มิ )

นักเรยี นในกลุ่มแตล่ ะกลมุ่ วางแผนการศึกษา

เพ่อื หาคาตอบตามคาถามขอ้ 10 โดยใช้

เอกสารประกอบการเรียนการสอนชุด

“เรียนรู้เร่ืองพลังงานไฟฟ้า” เลม่ 4 เปน็

แนวทาง

นักเรียนในกลุม่ แต่ละกลมุ่ รว่ มกนั ศึกษา เพ่ือหา

เหตผุ ลไปตอบคาถาม

สุ่มตัวแทนนักเรียนแตล่ ะกลุ่ม 2-4 กลุม่ เพอื่

สรุปผลการหาคาตอบของสมาชิกในกลุ่ม

หน้าชนั้ เรียน วา่ มเี หตุผลอย่างไรในการ

ตอบคาถามน้ัน

ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุปสาระสาคญั จากแนว 13. แบบทดสอบหลงั

คาตอบของตวั แทน เรยี นเร่ืองกาลังไฟฟ้า

นกั เรียนบนั ทึกสาระสาคัญจากการสรปุ คาตอบ และพลังงานไฟฟ้า

บันทกึ ในสมดุ 14. แบบทดสอบหลงั

ครใู ห้ความร้เู พิม่ เติมเรื่องการคานวณคา่ ไฟฟา้ เรยี นเรอ่ื งพลังงาน

โดยใชต้ ัวอยา่ ง ในเอกสารประกอบการ ไฟฟ้า

เรียนชุด “เรียนร้เู ร่ืองพลังงานไฟฟ้า” เล่ม

ท่ี 4 เปน็ แนวทาง

จดุ ประสงค์ - ต่อ - สือ่ การเรียนรู้
การเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียนการสอน

นกั เรียนทาแบบฝึกหัดที่ 6 เรื่องกาลังไฟฟา้ และ
พลังงานไฟฟา้ ในเอกสารประกอบการเรียน
ชดุ “เรยี นรเู้ รื่องพลงั งานไฟฟ้า” เล่มท่ี 4

นกั เรยี นเปลยี่ นกันตรวจโดยครูและนกั เรยี น
รว่ มกันเฉลยคาตอบ

นกั เรยี นปรบั ปรงุ ผลงานของตนเอง
ทดสอบหลังเรียน เรื่องเคร่ืองใช้ไฟฟา้

กาลังไฟฟา้ และพลงั งานไฟฟ้า
จานวน 10 ข้อ
ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคาตอบและสรุป
คะแนนของนกั เรยี นแต่ละคน และนาสมุด
และเอกสารประกอบการเรียนการสอนสง่
ครู
ช่วั โมงท่ี 3
ครูนัดหมายสง่ งานทมี่ อบหมาย เรื่องแนวทาง
ประหยดั พลังงานไฟฟา้ ในครอบครวั
ทดสอบหลังเรยี นเรือ่ ง พลงั งานไฟฟ้า ด้วย
แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น
จานวน 40 ขอ้

11. ส่อื การเรียนรู้ /แหล่งการเรยี นรู้
สือ่ การเรยี นรู้
1. แบบทดสอบหลงั เรียนเรอ่ื ง เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า กาลังไฟฟา้ และพลงั งานไฟฟ้า
2. แบบทดสอบหลังเรยี นเรือ่ ง พลังงานไฟฟา้
3. หลอดไฟทมี่ ีกาลังวตั ต์ขนาด 100W และ 200W
4. ตัวอยา่ งใบเสร็จคา่ ไฟฟ้า
5. เอกสารประกอบการเรียนการสอน ชดุ “เรยี นรเู้ ร่ืองพลงั งานไฟฟ้า” เลม่ ท่ี 4 เรอ่ื ง
เครื่องใชไ้ ฟฟ้า กาลงั ไฟฟ้า และพลงั งานไฟฟ้า
6. แบบฝกึ หดั ที่ 6 เรอ่ื ง กาลังไฟฟา้ และพลังงานไฟฟ้า

แหล่งการเรยี นรู้
1. หอ้ งสมดุ โรงเรยี นวชั รวทิ ยา
2. หอ้ งสมดุ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วชิ าวทิ ยาศาสตร์
3. เว็บไซต์ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับเรื่องกาลังไฟฟา้ และพลงั งานไฟฟ้า
http://www.electricz.igetweb.com/index.php?mo=3&art=154786 .สืบค้นวันที่ 14
กันยายน 2551.
http://www.kosanaland.com/generalknowled.htm .สืบคน้ วันที่ 14 กันยายน 2551.
http://www.linux.kr.ac.th/ebook2/det/05.html .สบื คน้ วนั ท่ี 14 กนั ยายน 2551.
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/sudarat_n-
ok/sec05po1.htmlสบื ค้นวันท่ี 14 กนั ยายน 2551.

2. ตอบคาถามในแบบฝึกหัด ได้ถกู ตอ้ ง อย่างน้อย 50 %
3. นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์ประเมนิ ตามแบบประเมนิ ทักษะการปฏบิ ัตกิ ารทดลองอยา่ งน้อย50 %

12. เอกสารอ้างอิง
ปิน่ ศกั ด์ิ ชุมเกษยี น และปิยาณี สมคิด. วิทยาศาสตร์ 2 ช่วงชัน้ ที่3 (ม.1-ม.3).กรุงเทพฯ :

อกั ษรเจรญิ ทศั น์ , 2544.
พันธ์ ทองชุมนุม. แรงและการเคลอ่ื นทพ่ี ลังงาน. กรุงเทพฯ : ไฮเอด็ พบั ลชิ ชิง่ , 2544.
ศรลี ักษณ์ ผลวฒั นะ และคณะ . วิทยาศาสตร์ ชว่ งช้ันท่ี3 (ม.1-ม.3). กรุงเทพฯ : นยิ มวิทยา, 2544.
ศึกษาธิการ, กระทรวง สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. คมู่ อื ครวู ิทยาศาสตร์
เล่ม 6 ว 306. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พค์ ุรสุ ภา, 2535.
ศึกษาธิการ, กระทรวง สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. คมู่ อื ครแู รงและ
การเคลอื่ นที่ พลังงาน . กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ครุ สุ ภา, 2544
ศกึ ษาธกิ าร, กระทรวง สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. แรงและการเคลอ่ื นท่ี
พลังงาน . กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์คุรสุ ภา, 2544.
ศึกษาธกิ าร, กระทรวง สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. วิทยาศาสตรเ์ ลม่ 6
ว 306 . กรงุ เทพฯ :โรงพมิ พค์ ุรุสภา, 2535.
http://www.stjohn.ac.th/Department/school/www.egat.or.th/thai/misc/file1.html.l.
สบื คน้ วนั ที่ 13

มกราคม 2551
http://online.benchama.ac.th/science/learning/sci/pra_website2/pan14.htm.สบื ค้นวันที่
13 มกราคม

2551
http://www.skn.ac.th/skl/skn422/file/power.htm. สบื คน้ วนั ที่ 13 มกราคม 2551.

ลงชอ่ื ..........................................................................
( นางอรษา อภิรมย์วไิ ลชัย )

ตาแหนง่ ครูชานาญการพเิ ศษโรงเรียนวชั รวทิ ยา

13. ข้อเสนอแนะของหัวหนา้ สถานศึกษาหรือผู้ท่ไี ด้รับมอบหมาย (ตรวจสอบ/นเิ ทศ/
เสนอแนะ/รบั รอง) แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 19 เร่ือง ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งกาลังไฟฟา้ และ
พลงั งานไฟฟ้า

ความคดิ เหน็ ของหัวหน้ากลุ่มสาระ ความคดิ เหน็ ของรองผู้อานวยการกลุม่
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ บรหิ ารงานวิชาการ

........................................................ ........................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................

ลงช่อื ............................................ ลงชือ่ ............................................
( นายสรุ ะศักดิ์ ยอดหงษ์ ) ( นายวิเชียร ยอดนิล )

หวั หนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ รองผอู้ านวยการโรงเรยี นวัชรวทิ ยา

ข้อเสนอแนะของผอู้ านวยการโรงเรียน

…………………………………………………………………………………….…………………………………………………………
…………………………………………….…………………………………………………………………………………………………
.…………………………………………………………………………………………….………………………………………………
……………………………………………………….……………………………………………………………………………………..

( นายจานง อนิ ทพงษ์ )
ผอู้ านวยการโรงเรยี นวชั รวทิ ยา
วนั ท่ี ........ เดอื น ................................ พ.ศ. 2559

บันทกึ ผลหลังการสอนแผนการสอนท่ี 20 เร่ืองความสมั พันธร์ ะหว่างกาลังไฟฟา้ และพลงั งาน

ไฟฟา้

ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 วชิ าวิทยาศาสตรพ์ ื้นฐาน รหัสวิชา ว23101

ครผู ู้สอน นางอรษา อภิรมย์วไิ ลชัย

1. ผลการสอน

1.1 สรุปผลการสอน

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1.2 หาความก้าวหนา้ ในการเรยี น การสอน

จานวน คะแนนเต็ม คะแนน คะแนน คะแนน E1/E2 ความกา้ ว

นักเรยี น เฉลี่ยกอ่ น เฉลยี่ เฉล่ียหลงั หนา้ ในการ

เรียน ระหวา่ ง เรยี น เรยี น

เรียน

……………………………ร…อ้ …ย…ละ…ค…ว…าม…ก…า้ …ว…ห…น…า้ …=…………เคระ…ียแ…นน…น…หค…ละัง…แเนร…ียน…นเ…ต-คม็…ะ…แ…นน…ก…่อ…น……X……10…0………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ปญั หา/อปุ สรรค์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………..………………………

ลงชอ่ื ...................................................................................
( นางอรษา อภิรมย์วิไลชัย )

ตาแหนง่ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นวัชรวิทยา
วนั ที่ เดือน กนั ยายน พ.ศ. 2562

บนั ทกึ หลังการสอน วชิ าวทิ ยาศาสตร์พน้ื ฐาน ว 23101 ปกี ารศกึ ษา 2559
แผนการสอนท่ี 19 เรอื่ ง ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งกาลงั ไฟฟา้ และพลงั งานไฟฟ้า

ผลการสอน ปัญหาการสอน ข้อเสนอแนะ/แนวทางการ
แก้ปัญหา

...………………………... ...………………………... ...………………………...
…………………………... …………………………... …………………………...
…………………………... …………………………... …………………………...
…………………………... …………………………... …………………………...
………………………….. ………………………….. …………………………..
…………………………... …………………………... …………………………...
…………………………... …………………………... …………………………...
…………………………... …………………………... …………………………...
…………………………... …………………………... …………………………...
………………………….. ………………………….. …………………………..
………………………….. ………………………….. …………………………..
...………………………... ...………………………... ...………………………...
…………………………... …………………………... …………………………...

ลงชอื่ .......................................................................
(นางอรษา อภิรมย์วิไลชัย)

ครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นวัชรวิทยา อาเภอเมือง

แผนการจดั การเรยี นรบู้ ูรณาการ ชัน้ มธั ยมศกึ ษา
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ว
ปที ี่ 3
สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ เวลา 19
23101 เวลา 1
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 ชีวภาพ พาสุข ครผู ้สู อน นางอรษา อภิรมย์
ช่ัวโมง
เรือ่ ง พลงั งานไฟฟา้ จากปฏกิ ริ ยิ าเคมีกบั นา้ หมกั ชีวภาพ
ชัว่ โมง
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2561
วไิ ลชยั

สาระการเรียนรทู้ ่ี 5 พลังงาน

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 5.1 เขา้ ใจความสัมพันธ์ระหว่างพลงั งานกับการดารงชีวติ การเปลย่ี นรปู

พลังงาน ปฏสิ ัมพนั ธ์ระหวา่ งสารและพลงั งาน ผลของการใชพ้ ลงั งานต่อชีวติ และสิ่งแวดลอ้ ม มี
กระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ ละจิตวิทยาศาสตร์ ส่อื สารสง่ิ ทีเ่ รียนรแู้ ละนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระการเรียนรู้ท่ี 8 ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

มาตรฐานท่ี ว 8. 1 ใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจิตวทิ ยาศาสตรใ์ นการสบื เสาะหา
ความรู้ การแกป้ ญั หา รู้วา่ ปรากฏการณท์ างธรรมชาติที่เกดิ ขึ้นสว่ นใหญม่ รี ปู แบบทีแ่ น่นอน สามารถ
อธบิ ายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครอ่ื งมือท่ีมอี ยู่ในช่วงเวลานน้ั ๆ เข้าใจวา่ วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี สงั คม และส่งิ แวดล้อมมีความเก่ยี วข้องสัมพนั ธก์ ัน

1. ตัง้ คาถามท่ีกาหนดประเดน็ หรอื ตวั แปรท่สี าคญั ในการสารวจตรวจสอบ หรือศกึ ษา
คน้ ควา้ เร่อื งทีส่ นใจไดอ้ ย่างครอบคลมุ และเช่อื ถือได้

2. สร้างสมมตฐิ านทสี่ ามารถตรวจสอบไดแ้ ละวางแผนการสารวจตรวจสอบหลายๆ วิธี

3. เลือกเทคนคิ วิธกี ารสารวจตรวจสอบท้งั เชิงปริมาณและเชงิ คุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและ
ปลอดภัย โดยใช้วัสดุและเครอ่ื งมอื ทเ่ี หมาะสม

4. รวบรวมขอ้ มูล จดั กระทาขอ้ มลู เชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ

5. วิเคราะหแ์ ละประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ท้ังทส่ี นับสนนุ หรอื
ขดั แย้งกับสมมติฐาน และความผดิ ปกตขิ องขอ้ มูลจากการสารวจตรวจสอบ

6. สร้างแบบจาลอง หรือรูปแบบ ทีอ่ ธิบายผลหรือแสดงผลของการสารวจตรวจสอบ
7. สรา้ งคาถามทน่ี าไปส่กู ารสารวจตรวจสอบ ในเร่อื งทเ่ี กีย่ วข้อง และนาความรทู้ ไี่ ด้ไปใช้
ในสถานการณใ์ หมห่ รอื อธบิ ายเก่ยี วกับแนวคดิ กระบวนการ และผลของโครงหงราือนชิน้ งานให้ผ้อู น่ื เขา้ ใจ
8. บนั ทกึ และอธบิ ายผลการสงั เกต การสารวจ ตรวจสอบ ค้นควา้ เพ่มิ เตมิ จากแหล่งความรู้
ตา่ ง ๆ ให้ไดข้ ้อมูลทเ่ี ช่ือถือได้ และยอมรบั การเปลย่ี นแปลงความรูท้ ีค่ น้ พบเม่อื มขี ้อมูลและประจักษ์
พยานใหมเ่ พมิ่ ขน้ึ หรือโตแ้ ย้งจากเดิม
9. จัดแสดงผลงาน เขยี นรายงาน และ/หรอื อธิบายเกีย่ วกับแนวคดิ กระบวนการ และผลของ
โครงงานหรือชิ้นงานให้ผอู้ น่ื เข้าใจ

2. ตัวชีว้ ัด
สารวจตรวจสอบ สบื ค้นขอ้ มูล อภปิ รายและอธบิ ายเกย่ี วกบั แหลง่ กาเนิดไฟฟา้ และ

พลังงานไฟฟา้ ของเครื่องใชไ้ ฟฟา้

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายการผลิตกระแสไฟฟ้าจากเซลล์ไฟฟ้าเคมีได้ ( K )
2. ตรวจสอบการผลิตกระแสไฟฟา้ จากเซลล์ไฟฟ้าเคมีจากนา้ หมักชีวภาพได้ ( K )
3. ผลิตพลังงานไฟฟา้ เคมจี ากน้าหมกั ชีวภาพได้ ( P )
4. สามารถนาพลังงานไฟฟ้าผลติ จากนา้ หมักชีวภาพไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์อยา่ งคุ้มคา่ และ
ปลอดภัย ( A )

4.สาระสาคัญ
เซลล์ไฟฟา้ เคมี (Electrochemical cell) คือ เครอ่ื งมอื อุปกรณ์ทางเคมที เี่ กิดจากการ

เปล่ยี นแปลงพลังงานเคมเี ป็นไฟฟา้ หรอื ไฟฟา้ เปน็ เคมี เซลล์อิเล็กโทรไลต์ (Electrolytic cell) คือ
เซลล์ไฟฟ้าเคมที เ่ี ปลยี่ นจากพลงั งานไฟฟ้าเปน็ พลงั งานเคมี เกดิ จากการผ่านกระแสไฟฟ้าลงไปใน
สารเคมที ี่อยใู่ นเซลล์

ปจั จบุ ันประเทศไทยใช้พลังงานไฟฟ้ามาก มีการผลติ พลังงานไฟฟ้าจากแหล่งตา่ งๆ เพือ่ ให้
เพยี งพอตอ่ ความต้องการ เช่นการผลิตกระแสไฟฟา้ จาก เซลลส์ ุริยะ ปฏิกริ ิยาไฟฟ้าเคมี หรอื
พลังงานไฟฟ้าเหน่ยี วนา และอ่นื ๆ ขยะที่เกดิ ขึ้นในชวี ติ ประจาวันสามารถนามาใชเ้ ปน็ สารละลายอิ
เล็กโทรไลต์ เพอื่ ผลิตกระแสไฟฟา้ โดยใช้หลักการของเซลล์ไฟฟา้ เคมี

5. สาระการเรยี นรู้
1) การผลติ กระแสไฟฟ้าจากเซลล์ไฟฟา้ เคมี
2) ตรวจสอบการผลิตกระแสไฟฟา้ จากเซลล์ไฟฟ้าเคมีจากน้าหมกั ชีวภาพ
3) พลังงานไฟฟ้าเคมีจากนา้ หมักชวี ภาพ
4) การนาพลงั งานไฟฟ้าผลติ จากนา้ หมักชีวภาพไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์อยา่ งคมุ้ คา่ และ

ปลอดภยั

6. ทกั ษะหรือสมรรถนะสาคัญ
1)ทกั ษะการสื่อสาร
2)ทกั ษะการแกป้ ญั หา

7. คุณลักษะอนั พงึ ประสงค์
1) ใฝ่เรียนรู้
2) มีวนิ ยั
3) มุง่ มัน่ ในการทางาน
4) จติ สาธารณะ

8. ช้นิ งานหรือภาระงาน
ภาระงาน
1) ทาแผน่ พบั สรปุ ความรู้ เก่ยี วกบั การผลิตกระแสไฟฟ้าจากเซลลไ์ ฟฟ้าเคมี ดว้ ยน้าหมัก
ชีวภาพ
2) ตรวจสอบการผลติ กระแสไฟฟา้ จากเซลล์ไฟฟ้าเคมีจากน้าหมักชวี ภาพ
3) นาพลังงานไฟฟา้ ผลติ จากนา้ หมกั ชีวภาพไปใช้ใหเ้ กิดประโยชนอ์ ย่างคมุ้ คา่ และปลอดภยั
ชนิ้ งาน
1) แผน่ พับ เร่ือง การผลิตกระแสไฟฟา้ จากเซลล์ไฟฟ้าเคมี ด้วยนา้ หมกั ชวี ภาพ
2) ป้ายไฟไดโอดพลังงานไฟฟา้ จากเซลลไ์ ฟฟา้ เคมีจากน้าหมกั ชวี ภาพ

9. กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้ (วิธกี ารสอนโดยวธิ ีการจัดการเรียนรแู้ บบ QSCCS สารวจตรวจสอบ
สบื คน้ ขอ้ มลู อภิปรายและอธบิ ายเก่ียวกับแหล่งกาเนิดไฟฟ้าและ
พลังงานไฟฟา้ ของเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ )

ข้ันการกาหนดประเดน็ /ปัญหา/เรื่องทศี่ กึ ษา (Q)
1). นักเรยี นและครูกล่าวทักทายกนั
2). นกั เรยี นฟังการชแ้ี จงจุดประสงค์การเรียนรู้
3). ครูต้งั คาถามกบั นกั เรยี นว่า นักเรยี นคิดวา่ น้าหมักชีวภาพจากขยะทมี่ อี ยใู่ นโรงเรยี นวัชรวิ
ทยา สามารถนามาใช้ผลติ กระแสไฟฟ้าไดห้ รือไม่

ขนั้ การค้นคว้าและรวบรวมข้อมลู (S)
4) นกั เรยี นดูวีดโี อ เร่ืองการผลติ กระแสไฟฟ้าจากเซลล์ไฟฟ้าจากนา้ หมักชวี ภาพ เมอ่ื
นกั เรียนดเู สร็จแล้ว ครูพดู เชือ่ มโยงเขา้ กบั ขยะทเ่ี กิดข้ึนในโรงเรียนวชั รวทิ ยา สามารถนามาใช้เปน็
สารละลายอิเลก็ โทรไลด์ เพ่อื ผลิตกระแสไฟฟ้าได้อยา่ งไร
5) นกั เรยี นแบง่ กลุม่ กล่มุ ละ 6-7 คน และสง่ ตวั แทนกลมุ่ ออกมารบั ใบกิจกรรมเร่อื ง การ

ผลติ กระแสไฟฟ้าจากเซลลไ์ ฟฟ้าเคมี
6) นกั เรยี นแต่ละกลุ่มระดมสมองช่วยกนั คิด ออกแบบ วางแผน ตรวจสอบตามใบกิจกรรม
7) นักเรียนแต่ละกลมุ่ ดาเนินการตามข้ันตอนทไ่ี ดว้ างแผนไว้ในใบกิจกรรม

ขน้ั สร้างองค์ความรู้ สรปุ ความรู้ (C)
8) นกั เรียนภายในกลุ่มระดมสมองชว่ ยกันสรปุ ความรเู้ กยี่ วกับเร่อื งการผลติ กระแสไฟฟา้ จาก

เซลลไ์ ฟฟา้ จากน้าหมกั ชวี ภาพ
9) นกั เรียนในแตล่ ะกลมุ่ สรปุ ผลเร่อื งการผลติ กระแสไฟฟ้าจากเซลล์ไฟฟ้าจากน้าหมกั

ชีวภาพ

ขั้นการนาเสนอ (C)
10) ตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานจากใบงาน เรอื่ ง เร่อื งการผลติ กระแสไฟฟา้ จากเซลลไ์ ฟฟา้

จากนา้ หมักชีวภาพ ใหก้ บั เพือ่ นในห้องฟงั
11) ครูให้นักเรยี นนาขอ้ มลู จากการสารวจมารายงานผลโดยจดั ทาเปน็ แผ่นพบั และนา

พพลงั งานไฟฟา้ ทผ่ี ลิตได้ ไปผลิตเป็นป้ายไฟไอโอด

ขัน้ การใหบ้ ริการสังคม (S)
12) นักเรียนนาแผน่ พับเผยแพรใ่ หก้ ับนักเรยี นคนอน่ื ๆ ในโรงเรยี น

7.สอื่ และแหลง่ การเรียนรู้
1) ใบความรู้ เรือ่ งการผลิตกระแสไฟฟ้าจากเซลล์ไฟฟา้ เคมี
2) วีดิโอ เรือ่ งการผลติ กระแสไฟฟ้าจากเซลลไ์ ฟฟา้
3) อินเทอรเ์ นต็
4) ใบกิจกรรม เรื่องการผลิตกระแสไฟฟา้ จากเซลลไ์ ฟฟ้าเคมี

8. การวัดผลและประเมนิ ผล

จุดประสงค์ วิธีการวัด เครือ่ งมือวดั เกณฑก์ ารประเมนิ
แบบทดสอบเรอ่ื ง ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 50
1. อธบิ ายการผลิตกระแสไฟฟ้า ทดสอบ เซลลไ์ ฟฟ้าเคมี ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ
แบบประเมินผล
จากเซลล์ไฟฟ้าเคมีได้ ( K ) การปฏบิ ตั ิการ ผา่ นเกณฑ์การประเมิน

2. ตรวจสอบการผลติ ตรวจสอบรายงาน ทดลอง ผา่ นเกณฑ์การประเมิน
แบบประเมินผล
กระแสไฟฟา้ จากเซลล์ไฟฟา้ เคมี ผลการปฏิบัติการ การปฏบิ ตั ิการ

จากน้าหมกั ชีวภาพได้ ( K ) ทดลอง ทดลอง
แบบประเมิน
3. ผลิตพลงั งานไฟฟ้าเคมจี ากน้า ตรวจสอบรายงาน ชิ้นงาน และแผน่
พบั
หมกั ชีวภาพได้ ( P ) ผลการปฏิบัตกิ าร

ทดลอง

4. สามารถนาพลังงานไฟฟ้า ตรวจสอบ

ผลิตจากน้าหมกั ชวี ภาพไปใชใ้ ห้ ช้นิ งาน และแผน่

เกิดประโยชนอ์ ยา่ งคมุ้ คา่ และ พบั

ปลอดภยั ( A )

แบบประเมินแผน่ พบั เร่อื ง “”การผลิตกระแสไฟฟา้ เซลลไ์ ฟฟา้ เคมีจากนา้ หมกั ชีวภาพ”
ระดบั ชน้ั ม. ……………………. กลุ่มท่ี ……………………

ชอ่ื ……………………………………………………………………………. นามสกลุ ………………… เลขที่ …………………….
ชอื่ ……………………………………………………………………………. นามสกุล ………………… เลขท่ี …………………….
ชื่อ ……………………………………………………………………………. นามสกุล ………………… เลขที่ …………………….
ชื่อ ……………………………………………………………………………. นามสกุล ………………… เลขท่ี …………………….
ชอ่ื ……………………………………………………………………………. นามสกุล ………………… เลขที่ …………………….
ชอ่ื ……………………………………………………………………………. นามสกุล ………………… เลขที่ …………………….

ท่ี รายการประเมิน เกณฑก์ ารใหร้ ะดับคะแนน
3 21
1 ความสวยงาม
2 เนอื้ หาสาระถูกตอ้ งครบถ้วน
3 รปู แบบของแผ่นพบั
4 กระบวนการกลมุ่
5 เวลา

เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการประเมิน คะแนน
เกณฑ์การใหร้ ะดับคะแนน ดมี าก 10
11 - 15 8
6 - 10 ปานกลาง 6
1-5 น้อย

ลงช่อื ………………….…………….……………..........
ผู้ประเมิน
(……..../………./……..….)

เกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั คะแนน
ท่ี ประเด็นทปี่ ระเมนิ
1 ความสวยงาม 32 1

2 เนอ้ื หาสาระถูกต้อง ลกั ษณะ ขนาด สขี อง ลกั ษณะ ขนาด สขี อง ลักษณะ ขนาด สขี อง
ครบถว้ น
ตวั อกั ษร ชัดเจน เป็น ตัวอกั ษร ชดั เจน บา้ ง ตวั อักษร ไมช่ ัดเจน

สว่ นใหญ่ สวยงาม อา่ นงา่ ย

อา่ นงา่ ย

เนือ้ หาถกู ตอ้ งครบถว้ น - เขียนขอ้ มลู การ - เขียนข้อมูลการผลิต

ตามรายวชิ าได้แก่ ผลติ สารละลาย สารละลายอเิ ลก็ โทร

วิทยาศาสตร์ : อเิ ล็กโทรไลดจ์ าก ไลดจ์ ากขยะชวี ภาพ

- เขียนขอ้ มลู การผลติ ขยะชีวภาพ - เขียนข้อมลู หลกั การ

สารละลาย -เขียนข้อมลู หลกั การ ของเซลล์ไฟฟ้าเคมี

อิเลก็ โทรไลดจ์ าก ของเซลล์ไฟฟา้ เคมี

ขยะชีวภาพ เขยี นข้อมูลวิธกี าร

-เขยี นข้อมลู หลักการ ผลติ กระแสไฟฟ้า

ของเซลล์ไฟฟ้าเคมี เซลล์ไฟฟ้าเคมีจาก

เขยี นขอ้ มลู วธิ ีการ น้าหมักชวี ภาพ

ผลติ กระแสไฟฟ้า

เซลล์ไฟฟ้าเคมีจาก

นา้ หมกั ชวี ภาพ

- เขียนประโยชนก์ าร

ใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ จาก

เซลล์ไฟฟ้าเคมี


Click to View FlipBook Version