The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรุ้หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by orasa, 2019-11-25 03:01:17

แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า

แผนการจัดการเรียนรุ้หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า

แผนการจดั การเรยี นรู้ 9

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ วิชาวทิ ยาศาสตรพ์ ื้นฐาน รหัสวิชา ว23101
ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 ครผู ูส้ อน อรษา อภิรมย์วไิ ลชยั โรงเรียนวชั รวิทยา
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 3 เรือ่ ง พลังงานไฟฟา้ เวลา 20 ช่วั โมง
แผนการสอนท่ี 9 เรื่อง พลังงานไฟฟ้าจากปฏิกริยาเคมี เวลา 2 ช่ัวโมง

1. สาระสาคญั
ส่ิงที่นาพลังงานไฟฟา้ จากแหลง่ กาเนดิ พลงั งานไฟฟา้ ไปยงั เครื่องใช้ไฟฟา้ ในบ้านและ

โรงงาน อุตสาหกรรมตา่ งๆ ก็คอื กระแสไฟฟา้ ซึ่งได้มาจากแหลง่ ผลติ ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ เซลลไ์ ฟฟา้ เคมี
เซลล์สุรยิ ะ และไดนาโม

2. มาตรฐานการเรียนรู้ ว. 5.1
สาระการเรียนรู้ที่ 5 พลงั งาน
เข้าใจความสัมพันธร์ ะหว่างพลังงานกบั การดารงชวี ิต การเปลยี่ นรูปพลังงาน ปฏสิ ัมพนั ธ์

ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานตอ่ ชวี ิตและสิง่ แวดลอ้ ม มีกระบวนกาสรบื เสาะหา
ความรูแ้ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ ส่ือสารสง่ิ ทีเ่ รยี นรแู้ ละนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์และมีคณุ ธรรม

สาระการเรยี นรู้ท่ี 8 ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

มาตรฐานท่ี ว 8. 1 ใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจติ วทิ ยาศาสตร์ในการสบื เสาะหา
ความรู้ การแก้ปญั หา รวู้ า่ ปรากฏการณท์ างธรรมชาตทิ ่ีเกิดขนึ้ สว่ นใหญ่มรี ปู แบบทแ่ี น่นอน สามารถ
อธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ขอ้ มลู และเครอ่ื งมอื ท่ีมีอยูใ่ นชว่ งเวลาน้ันๆ เขา้ ใจว่า วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ มมคี วามเกยี่ วข้องสัมพนั ธก์ นั

1. ตัง้ คาถามท่ีกาหนดประเด็นหรอื ตัวแปรท่ีสาคญั ในการสารวจตรวจสอบ หรอื ศกึ ษา
คน้ คว้าเร่ืองท่สี นใจไดอ้ ย่างครอบคลมุ และเช่ือถอื ได้

2. สรา้ งสมมติฐานทส่ี ามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลายๆ วธิ ี

3. เลือกเทคนิควธิ กี ารสารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคณุ ภาพท่ไี ด้ผลเที่ยงตรงและ
ปลอดภัย โดยใชว้ สั ดแุ ละเครอ่ื งมอื ท่เี หมาะสม

4. รวบรวมข้อมูล จดั กระทาขอ้ มลู เชงิ ปริมาณและคุณภาพ

5. วิเคราะหแ์ ละประเมนิ ความสอดคลอ้ งของประจักษพ์ ยานกบั ข้อสรปุ ทงั้ ทส่ี นบั สนุนหรอื
ขดั แย้งกับสมมตฐิ าน และความผิดปกติของขอ้ มลู จากการสารวจตรวจสอบ

6. สร้างแบบจาลอง หรือรปู แบบ ทอี่ ธิบายผลหรือแสดงผลของการสารวจตรวจสอบ

7. สรา้ งคาถามที่นาไปสกู่ ารสารวจตรวจสอบ ในเร่ืองท่ีเกยี่ วขอ้ ง และนาความรูท้ ี่ไดไ้ ปใช้
ในสถานการณ์ใหมห่ รอื อธิบายเก่ยี วกบั แนวคดิ กระบวนการ และผลของโครงหงราอืนชน้ิ งานใหผ้ อู้ ่นื เขา้ ใจ

8. บนั ทกึ และอธิบายผลการสงั เกต การสารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพมิ่ เตมิ จากแหลง่ ความรู้
ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมลู ทเี่ ชื่อถือได้ และยอมรบั การเปลีย่ นแปลงความรทู้ ่ีคน้ พบเมอ่ื มีขอ้ มลู และประจักษ์
พยานใหม่เพิ่มข้ึนหรอื โต้แย้งจากเดิม

9. จดั แสดงผลงาน เขยี นรายงาน และ/หรอื อธบิ ายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผล
ของโครงงานหรอื ชิ้นงานให้ผอู้ น่ื เข้าใจ

มาตรฐานการเรียนรชู้ ว่ งชั้น
เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงแมเ่ หล็กไฟฟา้ แรงโนม้ ถ่วง และแรงนวิ เคลียร์ มกี ระบวนการสืบ
เสาะหาความรู้ สอ่ื สารสิง่ ท่เี รยี นรแู้ ละนาความรไู้ ปใช้ประโยชนอ์ ย่างถูกตอ้ งและมคี ณุ ธรรม

3. ตัวชวี้ ดั
สารวจตรวจสอบ สืบคน้ ขอ้ มลู อภปิ รายและอธบิ ายเกย่ี วกบั แหลง่ กาเนดิ ไฟฟา้ และ

พลงั งานไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟา้
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธบิ ายวธิ กี ารผลติ กระแสไฟฟ้าจากปฏกิ ิรยิ าเคมีได้
2. ตรวจสอบการผลิตกระแสไฟฟา้ จากปฏกิ ิริยาเคมีได้
3. สืบคน้ การใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าของเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ ได้

4. สาระการเรยี นรู้

สาระแกนกลาง/สาระทอ้ งถิน่ (ถา้ มี)

ความรู้

การผลิตกระแสไฟฟ้าจากแหล่งกาเนิดไฟฟา้ ต่าง ๆ

ทักษะ/สมรรถนะ

ทั กษะการสื่อสารอย่างสรา้ งสรรค์ตามชว่ งวยั

อธบิ าย และตรวจสอบการผลติ กระแสไฟฟ้าจากเซลลไ์ ฟฟ้าเคมีได้

การบูรณาการ

สาระการเรยี นรู้ท้องถ่ิน -

สาระการเรยี นร้เู กีย่ วกับอาเซียน -

สาระการเรยี นร้เู ศรษฐกิจพอเพียง -

5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น
1. ความสามารถในการส่ือสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย
2. ความสามารถในการคิด คิดวิเคราะห์ และการคิดอยา่ งเป็นระบบ

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ซอื่ สตั ยส์ จุ ริต
2. ไผ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน
จดุ เน้นทีต่ อ้ งการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น
ทักษะการส่ือสารอย่างสรา้ งสรรค์ตามช่วงวัย

7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน
1. ทดสอบกอ่ นเรยี นหน่วยท่ี 3 เรอื่ ง พลังงานไฟฟ้า
2. ทดสอบกอ่ นเรียนเรือ่ ง กาเนดิ พลงั งานไฟฟา้
3. ใบงาน

8. การวดั ผลและประเมนิ ผล

8.1 การประเมินระหว่างจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

ช้นิ งาน/ภาระงาน วธิ ีการประเมิน เครอื่ งมือ เกณฑ์การประเมนิ
-
1. ทดสอบ1ก.่อนเรยี น 1. ให้นกั เรียนทา 1. 1. แบบทดสอบก่อนเรียน

แบบทดสอบก่อนเรียน

2. รายงาน2. 1. สังเกตพฤตกิ รรร2ม.นักเรียน 1. แบบประเมนิ ทักษะการ 1. นักเรียนผ่านเกณฑ์
ปฏิบัติการทดลอง
ภายในกลุ่ม ขณะปฏบิ ัติการ ปฏิบัตกิ ารทดลอง ประเมินตามแบบประเมิน
3.
ทดลอง และศึกษาเ3อ.กสาร ทักษะการปฏบิ ตั กิ ารทดลอง

ประกอบการเรียนการสอน อย่างน้อย 50 %

2. ใหน้ กั เรยี นเขยี นรายงาน

ผลการศกึ ษากิจกรรมการ

ทดลอง

8.2 การประเมินเมอ่ื สนิ้ สดุ การเรยี นรู้

ชน้ิ งาน/ภาระงาน วธิ กี ารประเมนิ เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
1. แบบทดสอบหลงั 1. นักเรยี นทาแบบทดสอบ
1. ทดสอ4บ.หลงั 1. ให้นกั เรียนทา เรียน หลงั เรยี นไดผ้ ่านเกณฑ์
ประเมนิ ร้อยละ 80
เรียน แบบทดสอบหลังเรยี น 1. นกั เรยี นตอบคาถามของ
ครูไดอ้ ย่างนอ้ ย 50 %
3. ใบงาน5/. 1. ใหน้ ักเรยี นทาแบบฝึกหัด 1. ใบงาน/แบบฝึกหดั 2. นักเรียนผ่านเกณฑ์ประเมิน
แบบฝึกหัด หรอื ใบงาน ตามแบบประเมนิ การแสวงหา
ข้อมลู ของ
6. 1. ใหน้ กั เรยี นสรุป - นักเรียนอยา่ งน้อย 50 %
4. สมดุ บ7นั .ทึก สาระสาคัญลงในสมดุ 3. นักเรยี นทาแบบฝกึ หัดได้
คะแนนอยา่ งนอ้ ย 50 %
8. นักเรียนสรปุ สาระสาคัญลงใน
สมุดได้ถูกต้องครบถว้ น

10. กจิ กรรมการจดั การเรียนรู้
ขนั้ นา
1. ทดสอบความรกู้ ่อนเรียนของนักเรียน เรือ่ ง พลังงานไฟฟ้า เพอ่ื ประเมนิ ความร้พู ื้นฐานของ

นกั เรยี น จานวน 40 ขอ้
2. ทดสอบความร้กู อ่ นเรยี นของนกั เรียนเรือ่ งแหลง่ กาเนิดพลงั งานไฟฟ้า จานวน 10 ขอ้

ตามหนงั สือแบบเรยี นวิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน แหลง่ กาเนิดพลงั งานไฟฟา้
3. ครใู ช้คาถาม ถามนานักเรียนพลังงานอะไรบา้ งท่เี กยี่ วข้องกับชีวติ ประจาวันของนักเรียน

ขั้นสอน
4. นักเรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั เขยี นพลังงาน ที่เกี่ยวข้องกบั ชวี ิตประจาวันของนกั เรยี น

( แนวตอบ พลงั งานไฟฟา้ พลงั งานแสง พลงั งานความรอ้ น พลังงานเสยี ง พลังงานกล
พลังงานเชื้อเพลงิ ฯลฯ)
5. ตวั แทนนักเรียนแต่ละกล่มุ นาเสนอพลงั งาน ท่ีเกยี่ วข้องกบั ชีวติ ประจาวนั ของนกั เรียน
6. นักเรียนและครูรว่ มกันอภิปรายพลังงานท่เี กีย่ วข้องในชวี ิตประจาวัน
7. ครฉู ายภาพตัวอย่างเครื่องใชไ้ ฟฟ้า เช่น กาน้ารอ้ นไฟฟ้า พดั ลม หลอดไฟ ให้นักเรยี นดแู ละใช้

คาถาม ถามนานักเรียนดังน้ี
1) เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าเหล่านใี้ หพ้ ลังงานอะไรบา้ ง (แนวตอบ พลงั งานความร้อน พลงั งานกล

พลงั งานแสง ฯลฯ)
2) เครื่องใชภ้ ายในบา้ นของนกั เรยี น ใหพ้ ลังงานอะไรบ้าง (แนวตอบ พลงั งานเสยี ง พลงั งาน

แสง พลงั งานความรอ้ น พลงั งานกล ฯลฯ)
3) เครือ่ งใช้ภายในบ้านของนกั เรียนสว่ นใหญ่ใช้พลงั งานอะไร (แนวตอบ พลงั งานไฟฟ้า)
4) เหตุใดเครอื่ งใช้สว่ นใหญ่ในบา้ น ใช้พลังงานไฟฟ้า(แนวตอบ 1. พลงั งานไฟฟา้ เปลย่ี นรูปเป็น

พลงั งานรปู อน่ื ได้งา่ ย 2. ผู้ผลิตนยิ มผลติ เครอื่ งใชภ้ ายในบ้านให้ใช้พลงั งานไฟฟา้ เปน็ ส่วน
ใหญ่ )
5) พลงั งานไฟฟ้าทใ่ี ช้ภายในบา้ น ไดม้ าจากแหล่งใด (แนวตอบ การไฟฟา้ )
พลงั งานไฟฟ้าผลติ ไดจ้ ากแหลง่ ใดบา้ ง(แนวตอบ พลังงานจากการเคลื่อนทีข่ องกระแสน้า กระแสลม ,
พลงั งานแสงอาทติ ย์ ปฏิกริ ยิ าเคมี ฯลฯ
8. พลงั งานไฟฟา้ จากปฏกิ ริ ิยาเคมี มีวธิ กี ารผลิตอย่างไร
9. นกั เรียนศึกษาหนงั สอื แบบเรียนวทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน เรอ่ื ง แหล่งกาเนิดพลังงานไฟฟา้ เพ่ือหา
คาตอบตามคาถามของครู
10. ตัวแทนนกั เรียนรบั อุปกรณ์การทดลองหนา้ ชนั้ เรียน

11. ครูใหค้ าแนะนาวิธกี ารทดลอง และการปอ้ งกนั อันตรายจากสารเคมี ระหวา่ งการทดลอง
12. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ทาการทดลองตามกิจกรรมของหนงั สือแบบเรยี นวิทยาศาสตรพ์ ืน้ ฐาน

แหลง่ กาเนิดพลังงานไฟฟ้า และ ตัวแทนนกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลการทดลอง

ข้ันสรุป
13. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายผลการทดลอง และนักเรียนแต่ละกล่มุ ปรับปรงุ ผลการศกึ ษา

ของตนเอง
14. นกั เรยี นในกลุม่ ร่วมกนั ตอบคาถามหลังการทดลอง
15. นักเรียนและครูรว่ มกันสรุปผลการทดลองโดยใชค้ าถามหลังการทดลองเปน็ แนวทาง
16. นักเรยี นแก้ไขปรบั ปรุงคาตอบของตนเอง
17. ครใู ช้คาถาม ถามนานกั เรียนวา่ ผักและผลไม้สามารถนามาผลิตกระแสไฟฟ้าได้หรอื ไม่ เพ่ือ

เปน็ แนวทางนาไปสกู่ จิ กรรมการทดลองท่ี 2 เร่ืองเซลล์ไฟฟ้าเคมจี ากผกั และผลไม้ใน
ท้องถนิ่
ครูมอบหมายให้นกั เรียนไปทดลองตามกจิ กรรมท่ี 2 เรื่อง เซลลไ์ ฟฟ้าเคมีจากผักและผลไม้ใน
ทอ้ งถิน่ โดยให้นักเรียนศกึ ษาในช่วั โมงอสิ ระ แลว้ นาผลการทดลองมาสง่ ในช่วั โมงเรยี น
ตอ่ ไป
18. ครใู หน้ กั เรยี นทาแบบฝกึ หดั ท่ี 1 ในหนงั สือแบบเรียนวทิ ยาศาสตร์พ้นื ฐาน และรว่ มกนั
เฉลย
19. นักเรียนนาสมดุ สง่ ครูทา้ ยชว่ั โมง
20. ครูกลา่ วช่ืนชมผลการศึกษาของนกั เรียน ทส่ี ามารถปฏบิ ัติกิจกรรมได้ตรงเวลา
21. ทดสอบหลงั เรียน เร่ือง พลังงานจากเซลลไ์ ฟฟา้ เคมี

10. สื่อการเรยี นรู้ /แหล่ งการเรียนรู้
สอื่ การเรยี นรู้
1. แบบทดสอบก่อนเรียน เร่ืองพลังงานไฟฟ้า
2. แบบทดสอบกอ่ นเรียน เรอ่ื ง แหล่งกาเนิดพลังงานไฟฟ้า
3 แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่อง เซลล์ไฟฟา้ เคมี
4 อปุ กรณก์ ารทดลองตามกจิ กรรมท่ี 1 เร่ืองเซลล์ไฟฟ้าเคมี
5. หนังสือแบบเรียนวทิ ยาศาสตรพ์ ืน้ ฐาน
6. ภาพเครือ่ งใช้ไฟฟ้า เช่น กานา้ รอ้ นไฟฟา้ พดั ลม หลอดไฟ ฯลฯ

แหล่งการเรียนรู้
1. ห้องสมดุ โรงเรียนวชั รวทิ ยา
2. ห้องสมดุ กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
3. สอ่ื ออนไลน์ เรือ่ งแหลง่ กาเนิดพลงั งานไฟฟ้า
http://www.il.mahidol.ac.th/e-
media/electrochemistry/web/electrochem05.htm. สบื ค้น วันท่ี 15 กนั ยายน 2552
http://www.promma.ac.th/main/chemistry/web_electrochemistry/new_page_6
.htm. สบื คน้ วันท่ี 15 กนั ยายน 2552.
http://www.youtube.com/watch?v=-aoDxrR5QCQ&feature=related. สบื คน้ วนั ที่
15 กนั ยายน 2552.
http://www.youtube.com/watch?v=At-umI1cZeU. สืบค้นวันที่ 15 กนั ยายน 2552.

11. กิจกรรมเสนอแนะ
-

บนั ทกึ ผลหลงั การสอนแผนการสอนท่ี 9 เรือ่ ง เซลลไ์ ฟฟ้าเคมี

ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 วชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ นื้ ฐาน รหัสวชิ า ว23101

ครูผสู้ อน นางอรษา อภิรมย์วไิ ลชัย

1. ผลการสอน

1.1 สรุปผลการสอน

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1.2 หาความกา้ วหนา้ ในการเรียน การสอน

จานวน คะแนนเตม็ คะแนน คะแนน คะแนน E1/E2 ความกา้ ว

นักเรียน เฉลยี่ ก่อน เฉลี่ย เฉลย่ี หลัง หนา้ ในการ

เรยี น ระหว่าง เรยี น เรยี น

เรยี น

……………………………ร…อ้ …ย…ละ…ค…ว…าม…ก…า้ …ว…ห…น…า้ …=…………เคระ…ียแ…นน…น…หค…ละงั…แเน…รียน…นเ…ต-คม็…ะ…แ…นน…ก…อ่ …น……X……10…0………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ปญั หา/อุปสรรค์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………..………………………

ลงช่อื ...................................................................................
( นางอรษา อภริ มยว์ ไิ ลชัย )

ตาแหน่ง ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรียนวัชรวิทยา
วนั ที่ เดอื น มิถนุ ายน พ.ศ. 2562

ความคดิ เหน็ ของหัวหน้ากลุ่มสาระ ความคดิ เหน็ ของรองผู้อานวยการกลุม่
การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ บรหิ ารงานวชิ าการ

........................................................ ........................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................

ลงช่อื ............................................ ลงชือ่ ............................................

( นายสุรศักดิ์ ยอดหงษ์ ) ( นายวเิ ชยี ร ยอดนลิ )

หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ รองผอู้ านวยการกลมุ่ บริหารงานวชิ าการ

วนั ที่ เดอื น พ.ศ. 2560 วนั ที่ เดือน พ.ศ. 2560

ขอ้ เสนอแนะของหวั หนา้ สถานศึกษา

…………………………………………………………………………………….…………………………………………………………
…………………………………………….…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………..………………………………………………………………………….……………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….………

( นายจานง อนิ ทพงษ์ )
ผู้อานวยการโรงเรียนวชั รวทิ ยา
วนั ท่ี ...... เดือน ................................ พ.ศ. 2560

แผนการจดั การเรียนรู้ 10

กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ วชิ าวทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน รหัสวชิ า ว23101

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 ครผู ู้สอน อรษา อภิรมย์วไิ ลชยั โรงเรยี นวัชรวิทยา

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 3 เรอื่ ง พลังงานไฟฟ้า เวลา 20 ช่วั โมง

แผนการสอนท่ี 10 เรอื่ ง พลงั งานไฟฟา้ จากเซลล์สุริยะ

และพลงั งานไฟฟ้าเหน่ียวนา เวลา 2 ช่วั โมง

1. สาระสาคัญ
พลังงานไฟฟา้ จากแหล่งกาเนดิ พลงั งานไฟฟ้าไปยังเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้ ในบา้ นและโรงงาน

อุตสาหกรรมต่าง ๆ ก็คอื กระแสไฟฟา้ ซึง่ ไดม้ าจากแหล่งผลิตต่าง ๆ เชน่ เซลลส์ รุ ยิ ะ ปฏิกิรยิ า
ไฟฟ้าเคมี หรือ พลังงานไฟฟ้าเหนยี่ วนา และอ่ืน ๆ

2. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 5.1
สาระการเรยี นรู้ที่ 5 พลังงาน

เขา้ ใจความสัมพันธร์ ะหว่างพลงั งานกับการดารงชีวติ การเปล่ียนรปู พลังงาน ปฏิสัมพันธ์
ระหวา่ งสารและพลงั งาน ผลของการใช้พลงั งานตอ่ ชวี ิตและสิ่งแวดลอ้ ม มีกระบวนกสารืบเสาะหา
ความรู้และจติ วทิ ยาศาสตร์ สอ่ื สารสง่ิ ทเ่ี รียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระการเรยี นรู้ท่ี 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
มาตรฐานท่ี ว 8. 1 ใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละจติ วิทยาศาสตรใ์ นการสืบเสาะหา
ความรู้ การแกป้ ัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาตทิ เ่ี กิดข้นึ ส่วนใหญ่มรี ูปแบบท่ีแนน่ อน สามารถ
อธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมลู และเคร่ืองมือทีม่ ีอยใู่ นช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วทิ ยาศาสตร์
เทคโนโลยี สังคม และส่ิงแวดล้อมมีความเกย่ี วขอ้ งสัมพนั ธ์กนั

1. ตง้ั คาถามทกี่ าหนดประเดน็ หรอื ตวั แปรท่สี าคัญในการสารวจตรวจสอบ หรอื ศึกษา
คน้ ควา้ เร่ืองทสี่ นใจไดอ้ ย่างครอบคลุมและเชือ่ ถือได้

2. สรา้ งสมมตฐิ านทส่ี ามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลายๆ วธิ ี
3. เลอื กเทคนคิ วธิ ีการสารวจตรวจสอบทัง้ เชิงปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพท่ีไดผ้ ลเทย่ี งตรงและ
ปลอดภัย โดยใช้วัสดแุ ละเครอื่ งมอื ท่ีเหมาะสม

4. รวบรวมข้อมูล จัดกระทาข้อมลู เชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ
5. วิเคราะห์และประเมินความสอดคลอ้ งของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนนุ หรอื
ขัดแย้งกบั สมมตฐิ าน และความผิดปกตขิ องขอ้ มลู จากการสารวจตรวจสอบ
6. สร้างแบบจาลอง หรือรปู แบบ ที่อธบิ ายผลหรอื แสดงผลของการสารวจตรวจสอบ
7. สรา้ งคาถามทีน่ าไปสกู่ ารสารวจตรวจสอบ ในเร่อื งทีเ่ กีย่ วขอ้ ง และนาความรทู้ ีไ่ ดไ้ ปใช้
ในสถานการณใ์ หม่หรอื อธิบายเก่ียวกบั แนวคิด กระบวนการ และผลของโครงหงราือนชิ้นงานใหผ้ อู้ ืน่ เขา้ ใจ
8. บนั ทึกและอธิบายผลการสังเกต การสารวจ ตรวจสอบ ค้นควา้ เพิ่มเติมจากแหล่งความรู้
ต่าง ๆ ใหไ้ ดข้ ้อมูลท่เี ช่ือถือได้ และยอมรบั การเปล่ยี นแปลงความรู้ท่ีคน้ พบเมอ่ื มีข้อมลู และประจักษ์
พยานใหม่เพ่มิ ขนึ้ หรอื โตแ้ ยง้ จากเดมิ
9. จดั แสดงผลงาน เขยี นรายงาน และ/หรืออธิบายเก่ียวกับแนวคิด กระบวนการ และผล
ของโครงงานหรอื ช้นิ งานให้ผู้อน่ื เข้าใจ
มาตรฐานการเรียนร้ชู ่วงชั้น
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลงั งานกบั การดารงชวี ติ การเปล่ียนรปู พลงั งาน ปฏิสัมพันธ์
ระหวา่ งสารและพลงั งาน ผลของการใชพ้ ลังงานตอ่ ชวี ิตและส่ิงแวดล้อม มกี ระบวนกสารบื เสาะหา
ความรู้และจติ วิทยาศาสตร์ ส่อื สารสง่ิ ท่ีเรียนรแู้ ละนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

3. ตวั ชี้วัด
สารวจตรวจสอบ สบื คน้ ข้อมูล อภิปรายและอธบิ ายเกย่ี วกบั แหล่งกาเนดิ ไฟฟา้ และ

พลงั งานไฟฟา้ ของเครอื่ งใชไ้ ฟฟา้
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
4. อธบิ ายการผลติ กระแสไฟฟา้ จากเซลล์สรุ ิยะ และพลังงานไฟฟ้าเหนย่ี วนาได้
5. ตรวจสอบการผลติ กระแสไฟฟ้าจากเซลล์สุริยะ และพลงั งานไฟฟ้าเหน่ียวนาได้
6. สืบค้นการผลติ พลังงานไฟฟ้าจากแหลง่ ผลิตต่าง ๆ

4. สาระการเรยี นรู้

สาระแกนกลาง/สาระทอ้ งถ่ิน(ถ้ามี)

ความรู้

1. การผลติ พลังงานไฟฟา้ จากจากเซลล์สรุ ิยะ

2. การผลติ พลงั งานไฟฟ้าเหน่ยี วนา

ทักษะ/สมรรถนะ

ทั กษะการสือ่ สารอย่างสร้างสรรคต์ ามชว่ งวยั

อธบิ าย และตรวจสอบการผลติ กระแสไฟฟา้ จากเซลล์สุริยะได้

การบรู ณาการ

สาระการเรียนรู้ท้องถ่นิ -

สาระการเรียนร้เู ก่ียวกับอาเซยี น -

สาระการเรียนร้เู ศรษฐกจิ พอเพยี ง -

5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน
1. ความสามารถในการส่อื สารอย่างสรา้ งสรรค์ตามช่วงวัย
2. ความสามารถในการคิด คิดวเิ คราะห์ และการคิดอยา่ งเป็นระบบ

6. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ซอ่ื สตั ย์สจุ ริต
2. ไผเ่ รยี นรู้ ม่งุ ม่นั ในการทางาน
จดุ เนน้ ที่ตอ้ งการพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียน
ทักษะการส่ือสารอย่างสร้างสรรค์ตามชว่ งวยั

7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน
1. ทดสอบกอ่ นเรยี นเร่ือง เซลลส์ รุ ิยะ และไดนาโม
2. แบบฝึกหดั
3. ปฏบิ ัติการทดลอง

8. การวดั ผลและประเมินผล

8.1 การประเมินระหวา่ งจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

ชิน้ งาน/ภาระงาน วธิ กี ารประเมิน เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
-
1. ทดสอบ9ก.่อนเรียน 1. ใหน้ กั เรยี นทา 4. 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน

แบบทดสอบก่อนเรียน

2. รายงาน10. 1. สังเกตพฤตกิ รรร5ม.นักเรยี น 1. แบบประเมินทักษะการ 1. นกั เรียนผา่ นเกณฑ์
ปฏิบัติการทดลอง
ภายในกลุม่ ขณะปฏบิ ัตกิ าร ปฏบิ ตั กิ ารทดลอง ประเมินตามแบบประเมนิ
11.
ทดลอง และศึกษาเ6อ.กสาร ทักษะการปฏิบัตกิ ารทดลอง

ประกอบการเรยี นการสอน อย่างนอ้ ย 50 %

2. ให้นักเรียนเขียนรายงาน

ผลการศึกษากจิ กรรมการ

ทดลอง

8.2 การประเมินเมอ่ื สิน้ สดุ การเรยี นรู้

ชิ้นงาน/ภาระงาน วิธีการประเมนิ เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมิน
1. แบบทดสอบหลัง 1. นกั เรียนทาแบบทดสอบ
1. ทดสอ1บ2ห.ลัง 1. ใหน้ ักเรียนทา เรยี น หลงั เรยี นไดผ้ า่ นเกณฑ์
ประเมินร้อยละ 80
เรียน แบบทดสอบหลังเรียน 1. นกั เรียนตอบคาถามของ
ครูได้อยา่ งน้อย 50 %
3. ใบงาน1/3. 1. ให้นกั เรียนทาแบบฝึกหดั 1. ใบงาน/แบบฝกึ หดั 2. นักเรยี นผา่ นเกณฑ์ประเมิน
แบบฝกึ หัด หรือใบงาน ตามแบบประเมินการแสวงหา
ขอ้ มูลของ
14. 1. ให้นกั เรียนสรปุ - นกั เรียนอย่างน้อย 50 %
4. สมดุ บ1ัน5ท.กึ สาระสาคญั ลงในสมุด 3. นกั เรียนทาแบบฝึกหดั ได้
คะแนนอย่างนอ้ ย 50 %
16. นักเรียนสรุปสาระสาคัญลงใน
สมุดได้ถูกต้องครบถ้วน

9. กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้
ชว่ั โมงท่ี 1
1. ครทู บทวนการผลิตกระแสจากปฏิกริ ิยาเคมใี นช่วั โมงเรียนทผ่ี า่ นมาใหน้ กั เรียนฟัง
2. ครใู หน้ ักเรียนดสู ือ่ ออนไลน์ เรอื่ ง การผลติ กระแสไฟฟา้ จากเซลลไ์ ฟฟา้ เคมจี ากผลไม้
3. ครูให้ตวั แทนนักเรยี นแต่ละกลมุ่ เล่าประสบการณก์ ารหาพลังงานไฟฟ้าจากปฏิกริ ยิ าเคมี ในผักและ
ผลไมใ้ นทอ้ งถนิ่
4. นักเรียนและครูรว่ มกันอภปิ รายผล และขอ้ สรุปการศึกษา กิจกรรมการทดลองที่ 2 ท่ีครูมอบหมาย
ให้ไปศึกษาในชว่ั โมงอิสระ
5. ครฉู ายภาพตอ่ ไปนีใ้ หน้ ักเรียนศึกษา

1) ภาพหม่บู า้ นท่ีห่างไกลจากเมือง
2) ภาพการใชเ้ คร่อื งใช้ไฟฟา้ ต่าง ๆ ภายในครอบครวั
3) ภาพการใช้พลังงานไฟฟ้าของหมู่บ้านชนบท
6. ครูใช้คาถาม ถามนานักเรยี นต่อไปน้ี
1) จากภาพท่ี 1 เกีย่ วข้องกบั อะไร (แนวตอบ เด็กนง่ั ดทู วี ,ี การใช้พลงั งานไฟฟ้าภายใน
ครอบครวั )
2) หมู่บ้านที่อยู่ไกลจากเมอื ง การไฟฟา้ สง่ กระแสไฟฟ้าไปใหใ้ ช้หรือไม่ (แนวตอบ การไฟฟา้ ไม่
สามารถสง่ กระแสไฟฟ้าไปได้ )
3) หมู่บ้านที่อยใู่ นชนบท มีพลงั งานไฟฟ้าใชห้ รือไม่ (แนวตอบ มี เพราะใชพ้ ลังงานแสงอาทิตย์
เปลี่ยนเปน็ พลงั งานไฟฟ้า)
4) นอกจากการผลติ กระแสไฟฟ้าจากเซลลไ์ ฟฟ้าเคมีแลว้ มีวธิ กี ารใดอกี บ้าง(แนวตอบ การผลิต
กระแสไฟฟ้าจากพลงั งานแสงอาทติ ย์ การไดนาโม)
7. นักเรยี นศกึ ษาสารคดี พลงั งานสะอาด ของกระทรวงพลังงาน จากส่ือออนไลน์
http://www.youtube.com/watch?v=36fUvXDAmiQ
8. ครฉู ายภาพคาถาม ขนึ้ บนจอหนา้ ห้องเรียน แล้วให้นักเรยี นภายในกลมุ่ รว่ มกันตอบคาถามดังนี้
1) พลงั งานสะอาด คอื พลงั งานอะไร(แนวตอบ พลงั งานจากแสงอาทิตย์)
2) เซลล์สรุ ิยะ คอื อะไร(แนวตอบ อปุ กรณท์ เี่ ปลยี่ นพลงั งานแสงอาทิตยใ์ หเ้ ป็นพลังงานไฟฟา้ )
3) เซลลส์ รุ ิยะมสี ่วนประกอบโครงสร้างอยา่ งไร(แนวตอบ ประกอบด้วยสารก่ึงตัวนา 2 ช้ัน 1)
ชั้นบนประกอบด้วยซลิ ิคอนผสมฟอสฟอรัส 2) ชั้นล่างประกอบด้วยซิลคิ อนผสมโบรอน)
4) หลักการทางานของเซลล์สุริยะคอื อะไร (แนวตอบ เปลยี่ นพลังงานแสงอาทติ ยใ์ ห้เป็น
พลงั งานไฟฟ้า)

5) ใหน้ ักเรยี นอธบิ ายการทางานของเซลล์สรุ ิยะ(แนวตอบ เมอื่ แสงตกกระทบ แผน่ ดา้ นบนของ
เซลล์สุริยะจะเกิดความต่างศกั ย์ไฟฟา้ ระหว่างสารกงึ่ ตวั นาทั้งสองแผน่ เมอื่ ต่อสายไฟระหว่างแผ่น
บนและแผ่นล่างกระแสไฟฟา้ จะไหล จากแผน่ ล่างไปยังแผ่นชัน้ บน )
6) เซลล์สรุ ยิ ะมีประโยชนอ์ ยา่ งไร ( แนวตอบ 1.ใชผ้ ลติ กระแสไฟฟา้ ใหก้ ับหมู่บา้ นทอ่ี ยหู่ า่ งไกล
2.ใชใ้ นการเกษตร เชน่ ทาเตาอบผลติ ผลการเกษตร 3.เปน็ แหลง่ พลงั งานใหก้ บั ดาวเทียม เครือ่ ง
คดิ เลข หรอื เครื่องยนต์ 4.ใชต้ ิดตั้งไฟจราจร )
9. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั ศึกษาหนงั สือแบบเรียน เรอื่ งเซลลส์ ุรยิ ะ เพอื่ ตอบคาถามขอ้ 9
10. ครูสุ่มให้ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลมุ่ ตอบคาถามข้อ 9
11. นกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายคาตอบ และนักเรยี นเขยี นคาตอบลงในสมุด
12. นักเรียนและครรู ่วมกันสรุปการเกดิ พลังงานไฟฟา้ จากเซลลส์ รุ ิยะ โดยครูใชภ้ าพพลังงานจาก
เซลลส์ ุริยะประกอบ
13. ครูใช้คาถาม ถามนกั เรยี นต่อไปคือ นอกจาก การผลิตกระแสไฟฟา้ จากเซลล์ไฟฟา้ เคมี เซลล์
สุรยิ ะแล้ว ยังมีวิธีการผลติ กระแสไฟฟา้ จากแหลง่ ใดไดอ้ กี (แนวตอบ พลังงานไฟฟา้ เหนยี่ วนา
จากไดนาโม)
14. ครใู ชค้ าถาม ถามนักเรียนการผลิตพลงั งานไฟฟา้ เหน่ยี วนา จากไดนาโม มหี ลักการอย่างไร
15. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ศึกษาหนงั สอื แบบเรยี น เร่ือง ไดนาโม
16. ตวั แทนนักเรียนรับอปุ กรณ์การทดลอง ตามกจิ กรรมท่ี 3 และครูแนะนาการใชอ้ ุปกรณ์
17. นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ ปฏบิ ตั ิกิจกรรม ทดลองที่ 3
18. ตัวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทดลอง
19. นักเรยี นรว่ มกันอภิปรายผลการทดลองรว่ มกนั
20. นกั เรยี นตอบคาถามหลงั การทดลอง
21. ครูและนกั เรยี นร่วมกันอภิปรายคาตอบ และนกั เรียนปรบั ปรงุ คาตอบของตนเอง
22. ครแู ละนกั เรียนร่วมกันสรุปผลการศึกษา และรวบรวมสมุดส่งครู
23. นกั เรียนทาแบบฝึกหัดท่ี 2 เร่ือง การผลติ พลงั งานไฟฟา้ จากเซลล์สุรยิ ะ และกระแสไฟฟา้
เหนี่ยวนา ในเอกสารประกอบการเรียนการสอน
24. นักเรยี นเปล่ียนกนั ตรวจระหวา่ งกลมุ่ โดยครูและนักเรยี นร่วมกันเฉลยคาตอบ
25. นกั เรยี นแจง้ ผลคะแนนกบั ครู นกั เรยี น ท่ีไดผ้ ลการเรยี นตา่ กวา่ 5 ครูมอบหมายให้กลับไปอา่ น
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเพ่มิ เตมิ และกลบั มาสอบปากเปล่ากับครอู ีกครัง้
26. ครูมอบหมายให้นักเรยี นไปสืบคน้ การผลิตกระแสไฟฟ้าจากแหล่งอืน่ ๆ เพิม่ เตมิ และนัดหมาย
อภปิ รายใน ชวั่ โมงเรียนต่อไป
27. ครูนดั หมายเร่ือง การสอบวดั ความรู้ หลังเรยี น เมอ่ื เรียนจบเรือ่ งแหลง่ กาเนดิ พลังงานไฟฟา้

11. สือ่ การเรยี นรู้ /แห่ลงการเรยี นรู้
สือ่ การเรียนรู้
1. ส่ือออนไลน์
http://www.youtube.com/watch?v=iZNMurrirf0&feature=related.15
กนั ยายน 2551.
2. ภาพหม่บู า้ นห่างไกลเมอื ง, ภาพการใช้เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าในบ้าน, ภาพการใช้เซลล์
สรุ ยิ ะของชาวบา้ นในชนบท, ภาพการผลิตกระแสไฟฟา้ จากเซลล์สุริยะ , ภาพ
คาถาม
3. สือ่ ออนไลน์ http://www.youtube.com/watch?v=36fUvXDAmiQ. 15
กันยายน 2551.
4. เอกสารประกอบการเรยี นการสอน เลม่ ที่ 1 เรอื่ ง แหล่งกาเนดิ พลงั งานไฟฟ้า
5. อุปกรณก์ ารทดลอง กิจกรรมที่ 3 เร่อื ง ไดนาโม
6. แบบฝกึ หดั ท่ี 2 เร่ืองการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์สรุ ิยะและกระแสไฟฟ้า
เหน่ียวนา ในเอกสารประกอบการเรยี นการสอน เลม่ 1

แหล่งการเรียนรู้
1. หอ้ งสมุดโรงเรยี นวชั รวทิ ยา
2. หอ้ งสมดุ กลุม่ สาระวชิ า
3. เวบ็ ไซต์ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับ เซลล์สรุ ยิ ะ ไดนาโม
http://www.neutron.rmutphysics.com/physicsboard/forum/index.php?topic=66
7.0. 15 ตุลาคม 2551.
ttp://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=
434. 15 กนั ยายน 2551.
http://www.ubmthai.com/leksoundsmf3/index.php?topic=1624.0. 15
กันยายน 2551.
http://www.youtube.com/watch?v=36fUvXDAmiQ. 1 มนี าคม 2552.
http://www.youtube.com/watch?v=iZNMurrirf0&feature=related. 15
กันยายน 2551.

11. กิจกรรมเสนอแนะ
-

บนั ทกึ ผลหลังการสอนแผนการสอนท่ี 10 เรื่อง พลังงานไฟฟ้าจากเซลลส์ ุรยิ ะ

และพลงั งานไฟฟ้าเหน่ยี วนา

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 วิชาวทิ ยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน รหสั วชิ า ว23101

ครูผสู้ อน นางอรษา อภริ มยว์ ไิ ลชัย

1. ผลการสอน

1.1 สรุปผลการสอน

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1.2 หาความกา้ วหนา้ ในการเรียน การสอน

จานวน คะแนนเตม็ คะแนน คะแนน คะแนน E1/E2 ความก้าว

นกั เรยี น เฉลย่ี กอ่ น เฉลย่ี เฉลีย่ หลงั หนา้ ในการ

เรยี น ระหว่าง เรียน เรยี น

เรียน

……………………………ร…อ้ …ย…ละ…ค…ว…าม…ก…า้ …ว…ห…น…า้ …=…………เคระ…ยี แ…นน…น…หค…ละัง…แเน…รียน…นเ…ต-ค็ม…ะ…แ…น…นก…่อ…น……X……10…0………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ปัญหา/อุปสรรค์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแกไ้ ข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………..………………………

ลงชอ่ื ...................................................................................
( นางอรษา อภิรมย์วไิ ลชัย )

ตาแหน่ง ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนวชั รวิทยา
วนั ท่ี เดอื น กรกฏาคม พ.ศ. 2562

ความคดิ เหน็ ของหัวหน้ากลุ่มสาระ ความคดิ เหน็ ของรองผู้อานวยการกล่มุ
การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ บรหิ ารงานวชิ าการ

........................................................ ........................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................

ลงช่อื ............................................ ลงช่อื ............................................

( นายสุรศักดิ์ ยอดหงษ์ ) ( นายวเิ ชยี ร ยอดนลิ )

หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ รองผู้อานวยการกลมุ่ บริหารงานวชิ าการ

วนั ที่ เดอื น พ.ศ. 2560 วนั ที่ เดือน พ.ศ. 2560

ขอ้ เสนอแนะของหวั หนา้ สถานศึกษา

…………………………………………………………………………………….…………………………………………………………
…………………………………………….…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………..………………………………………………………………………….……………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….………

( นายจานง อินทพงษ์ )
ผู้อานวยการโรงเรียนวชั รวทิ ยา
วนั ท่ี ...... เดือน ................................ พ.ศ. 2560

แผนการจดั การเรยี นรู้ 11

กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ วิชาวทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน รหสั วชิ า ว23101

ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ครผู ู้สอน อรษา อภิรมยว์ ไิ ลชัย โรงเรียนวัชรวิทยา

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 3 เรอ่ื ง พลงั งานไฟฟา้ เวลา 20 ช่ัวโมง

แผนการสอนท่ี 11 เรอ่ื ง การผลิตพลงั งานไฟฟา้ จากแหล่งต่าง ๆ เวลา 2 ชัว่ โมง

1. สาระสาคญั
สงิ่ ท่ีนาพลงั งานไฟฟา้ จากแหลง่ กาเนดิ พลงั งานไฟฟ้าไปยังเคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ ในบ้านและ

โรงงาน อุตสาหกรรมต่าง ๆ ก็คือ กระแสไฟฟา้ ซงึ่ ได้มาจากแหล่งผลิตต่าง ๆ ได้แก่ เซลล์ไฟฟ้าเคมี
เซลล์สุรยิ ะ และไดนาโม

2. มาตรฐานการเรยี นรู้ ว 5.1
สาระการเรียนรทู้ ่ี 5 พลังงาน

เข้าใจความสัมพันธร์ ะหว่างพลงั งานกับการดารงชวี ติ การเปลี่ยนรูปพลงั งาน

ปฏสิ มั พนั ธ์ระหวา่ งสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานตอ่ ชีวิตและสงิ่ แวดลอ้ ม มกี ระบวนกสารบื
เสาะหาความรู้และจิตวทิ ยาศาสตร์ ส่ือสารสง่ิ ท่เี รยี นรู้ และนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

สาระการเรยี นรู้ท่ี 8 ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐานท่ี ว 8. 1 ใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตรใ์ นการสืบเสาะหา
ความรู้ การแกป้ ญั หา ร้วู ่าปรากฏการณท์ างธรรมชาติทีเ่ กิดขน้ึ ส่วนใหญม่ ีรปู แบบที่แนน่ อน สามารถ
อธิบายและตรวจสอบได้ ภายใตข้ ้อมูลและเครอื่ งมือทีม่ อี ยใู่ นชว่ งเวลานน้ั ๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี สงั คม และสงิ่ แวดล้อมมคี วามเก่ียวขอ้ งสัมพันธก์ นั

1. ตง้ั คาถามท่กี าหนดประเดน็ หรอื ตัวแปรท่สี าคัญในการสารวจตรวจสอบ หรอื ศึกษา
คน้ ควา้ เรอื่ งทีส่ นใจได้อยา่ งครอบคลุมและเช่ือถอื ได้

2. สรา้ งสมมติฐานท่สี ามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลายๆ วธิ ี
3. เลือกเทคนิควธิ ีการสารวจตรวจสอบทั้งเชงิ ปริมาณและเชิงคุณภาพท่ไี ดผ้ ลเท่ยี งตรงและ
ปลอดภัย โดยใช้วสั ดุและเครอ่ื งมอื ทเ่ี หมาะสม
4. รวบรวมข้อมลู จดั กระทาขอ้ มลู เชิงปรมิ าณและคุณภาพ

5. วเิ คราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจกั ษ์พยานกับขอ้ สรปุ ทง้ั ที่สนบั สนนุ หรอื
ขัดแย้งกบั สมมตฐิ าน และความผิดปกติของข้อมูลจากการสารวจตรวจสอบ

6. สร้างแบบจาลอง หรอื รูปแบบ ทีอ่ ธบิ ายผลหรอื แสดงผลของการสารวจตรวจสอบ
7. สร้างคาถามทนี่ าไปสูก่ ารสารวจตรวจสอบ ในเรือ่ งที่เก่ยี วข้อง และนาความร้ทู ี่ได้ไปใช้
ในสถานการณใ์ หม่หรอื อธบิ ายเกีย่ วกบั แนวคดิ กระบวนการ และผลของโครงหงราือนชนิ้ งานใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจ
8. บันทึกและอธิบายผลการสงั เกต การสารวจ ตรวจสอบ ค้นควา้ เพมิ่ เติมจากแหลง่ ความรู้
ตา่ ง ๆ ใหไ้ ด้ขอ้ มูลทีเ่ ช่ือถือได้ และยอมรับการเปล่ยี นแปลงความรูท้ ี่คน้ พบเมือ่ มีข้อมลู และประจกั ษ์
พยานใหม่เพ่มิ ขึ้นหรือโต้แย้งจากเดมิ
9. จดั แสดงผลงาน เขยี นรายงาน และ/หรืออธิบายเกย่ี วกบั แนวคดิ กระบวนการ และผล
ของโครงงานหรอื ชน้ิ งานใหผ้ ้อู ื่นเขา้ ใจ
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชัน้
เขา้ ใจความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งพลงั งานกับการดารงชีวิต การเปล่ียนรูปพลังงาน ปฏิสัมพนั ธ์
ระหวา่ งสารและพลังงาน ผลของการใชพ้ ลงั งานตอ่ ชวี ติ และสิ่งแวดล้อม มกี ระบวนกสารืบเสาะหา
ความรูแ้ ละจติ วิทยาศาสตร์ สอื่ สารสงิ่ ท่ีเรียนรแู้ ละนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

3. ตัวช้ีวดั
สารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมลู อภิปราย และอธบิ ายเก่ียวกบั แหล่งกาเนดิ ไฟฟ้าและ

พลังงานไฟฟ้าของเครื่องใชไ้ ฟฟา้
จุดประสงค์การเรียนรู้
7. อธิบายการผลติ กระแสไฟฟา้ จากพลังงานน้า พลงั งานลม พลงั งานเชอื้ เพลิง ความร้อน

ใตพ้ ภิ พ และพลงั งานนิวเคลยี ร์
8. สบื ค้นการการผลิตกระแสไฟฟา้ จากแหล่งตา่ ง ๆ

7. สาระการเรยี นรู้
สาระแกนกลาง/สาระท้องถนิ่ (ถา้ มี)
ความรู้
1. การผลติ กระแสไฟฟา้ จากพลังงานน้า
2. การผลติ กระแสไฟฟ้าจากพลงั งานลม
3. การผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลงั งานเช้อื เพลิง
4. การผลติ กระแสไฟฟา้ จากความร้อนใต้พิภพ

5. การผลิตกระแสไฟฟา้ จากพลังงานนิวเคลียร์

ทักษะ/สมรรถนะ

ทั กษะการสือ่ สารอย่างสร้างสรรค์ตามชว่ งวยั

อธิบาย และตรวจสอบการผลติ กระแสไฟฟา้ จากแหล่งตา่ งๆ ได้

การบรู ณาการ

สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิน่ -

สาระการเรียนรู้เกี่ยวกบั อาเซยี น -

สาระการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง -

5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสอ่ื สารอยา่ งสรา้ งสรรค์ตามชว่ งวัย
2. ความสามารถในการคิด คิดวิเคราะห์ และการคดิ อย่างเป็นระบบ

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ซ่อื สัตยส์ ุจริต
2. ไผเ่ รยี นรู้ มุ่งมนั่ ในการทางาน
จดุ เน้นท่ตี อ้ งการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น
ทกั ษะการส่อื สารอย่างสร้างสรรคต์ ามช่วงวัย

7. ช้ินงาน/ภาระงาน
1. แบบฝกึ หัด
2. ปฏิบตั ิการทดลอง

8. การวดั ผลและประเมินผล

8.1 การประเมนิ ระหว่างจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

ชิน้ งาน/ภาระงาน วธิ ีการประเมนิ เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมนิ
-
1. ทดสอบ1ก7อ่ .นเรียน 1. ใหน้ ักเรียนทา 7. 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

2. รายงาน18. 1. สงั เกตพฤตกิ รรร8ม.นกั เรยี น 1. แบบประเมินทกั ษะการ 1. นักเรียนผา่ นเกณฑ์
ปฏิบัติการทดลอง
ภายในกลมุ่ ขณะปฏิบัติการ ปฏิบัติการทดลอง ประเมินตามแบบประเมิน
19.
ทดลอง และศึกษาเ9อ.กสาร ทกั ษะการปฏบิ ัตกิ ารทดลอง

ประกอบการเรยี นการสอน อย่างน้อย 50 %

2. ใหน้ ักเรยี นเขยี นรายงาน

ผลการศกึ ษากจิ กรรมการ

ทดลอง

8.2 การประเมินเม่ือสนิ้ สดุ การเรียนรู้

ชนิ้ งาน/ภาระงาน วิธกี ารประเมนิ เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ
1. แบบทดสอบหลงั 1. นักเรยี นทาแบบทดสอบ
1. ทดสอ2บ0ห.ลัง 1. ให้นักเรียนทา เรยี น หลงั เรียนไดผ้ า่ นเกณฑ์
ประเมินร้อยละ 80
เรยี น แบบทดสอบหลงั เรยี น 1. นักเรียนตอบคาถามของ
ครไู ดอ้ ยา่ งนอ้ ย 50 %
3. ใบงาน2/1. 1. ให้นกั เรยี นทาแบบฝกึ หัด 1. ใบงาน/แบบฝกึ หัด 2. นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์ประเมิน
แบบฝึกหดั หรือใบงาน ตามแบบประเมินการแสวงหา
ขอ้ มูลของ
22. 1. ใหน้ ักเรยี นสรุป - นักเรยี นอย่างน้อย 50 %
4. สมุดบ2นั 3ท.กึ สาระสาคัญลงในสมดุ 3. นกั เรยี นทาแบบฝกึ หัดได้
คะแนนอย่างน้อย 50 %
24. นักเรยี นสรปุ สาระสาคัญลงใน
สมดุ ไดถ้ ูกตอ้ งครบถว้ น

9. กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้
ชว่ั โมงที่ 1-2
7. ครทู บทวนความรู้ เร่อื ง การผลิตกระแสไฟฟ้าจาก เซลล์ไฟฟา้ เคมี ไดนาโม เซลล์สุริยะ
8. ครูมอบหมายใหน้ ักเรียนกล่มุ 1 -6 สง่ ตวั แทนนาเสนอผลการสืบค้นเรื่อง แหลง่ กาเนิดพลังงาน

ไฟฟ้าจากแหลง่ ตา่ ง ๆ โดยการจับฉลากเลอื กหวั ขอ้ ท่ีนาเสนอกลุ่มละ8 -10 นาที
กลมุ่ 1 เร่ือง พลงั งานน้า
กลุ่ม 2 เรื่อง พลงั งานลม
กลุ่ม 3 เรื่อง พลงั งานเชอ้ื เพลงิ จากซากดกึ ดาบรรพ์
กลมุ่ 4 เรือ่ ง พลงั งานความร้อนใตพ้ ภิ พ
กลมุ่ 5 -6 เรอ่ื ง พลังงานนวิ เคลียร์
9. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนอภปิ รายพลงั งานและครมู อบหมายให้นักเรียนสรุปสาระเพ่ิมเตมิ จาก
ทแี่ ต่ละกลุม่ นาเสนอ
10. ครูฉายภาพการผลติ กระแสไฟฟ้าจากแหล่ง ตา่ ง ๆ โดยใชส้ ือ่ ออนไลน์ สรปุ ให้นกั เรียนฟังอกี คร้งั
หนึ่ง
11. นักเรียนทาแบบฝกึ หดั ที่ 3 แหลง่ กาเนิดพลังงานไฟฟา้ ในเอกสารประกอบการเรียนการสอน ชดุ
“เรียนรเู้ รื่องพลงั งานไฟฟา้ เล่ม 1 จานวน 5 ขอ้
12. นักเรยี นและครูร่วมกันเฉลย และอภิปรายคาตอบ พรอ้ มกับแกไ้ ขปรบั ปรงุ คาตอบของตนเอง
13. ครูใช้คาถาม ถามนานักเรียนเกย่ี วกบั แหล่งพลังงานลานกระบอื โดยใชค้ าถามดงั น้ี
1) แหลง่ นา้ มันลานกระบอื ผลิตพลังงานอะไร
2) ชัน้ ตอนของการขดุ เจาะน้ามนั ลานกระบือมอี ย่างไร
3) การขนสง่ นา้ มันลานกระบอื ทาอยา่ งไร
4) การใชพ้ ลงั งานของจงั หวัดกาแพงเพชรมีแนวโน้มอย่างไร
14. ครูใชค้ าถาม ถามนักเรยี นเก่ยี วกบั แหลง่ พลังงานของกล่มุ ประเทศอาเซียน โดยใชค้ าถามดังน้ี
1) ประเทศในกลุ่มอาเซียนผลติ พลงั งานไฟฟา้ ใข้เอง จากแหลง่ ใดบา้ ง
2) ประเทศใดในกลุ่มอาเซยี นทข่ี ายพลงั งานไฟฟา้ ใหก้ ับประเทศไทย
3) ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งไทยกับกลุ่มประเทศในอาเซยี นในเรอ่ื งของพลังงานเป็นอยา่ งไร
15. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั อภิปรายคาตอบตามขอ้ 8
16. ทดสอบหลังเรยี นเรอ่ื ง แหล่งกาเนดิ พลังงานไฟฟา้ จานวน 10 ข้อ
17. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั เฉลยคาตอบของแบบทดสอบหลงั เรยี น นักเรียนนาสง่ ครู เพ่ือตรวจสอบ
และบนั ทึกคะแนนทีไ่ ด้

11. สอ่ื การเรียนรู้ /แหล่ งการเรียนรู้
สอื่ การเรียนรู้
3. แบบทดสอบหลงั เรยี น เร่ือง แหล่งกาเนิดพลังงานไฟฟ้า
4. แบบฝึกหดั ที่ 3 เรือ่ ง แหล่งกาเนิดพลังงานไฟฟ้า
3. เอกสารประกอบการเรยี นการสอน ชดุ “เรียนรเู้ ร่ืองพลังงานไฟฟา้ ” เล่มท่ี 1 เรื่อง

แหล่งกาเนิดพลังงานไฟฟ้า
4. ส่อื ออนไลน์ เร่ือง พลงั งานลม พลังงานนา้ พลงั งานความรอ้ นใต้พภิ พ พลังงานนวิ เคลยี ร์

แหล่งการเรียนรู้
1. ห้องสมุดโรงเรียนวชั รวทิ ยา
2. ห้องสมดุ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
3. สื่อออนไลน์ เรอื่ ง แหล่งกาเนิดพลงั งานไฟฟ้า
http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/science04/101/2/html/num
.htm. สบื คน้ วันที่ 2 สิงหาคม 2551
http://media.thaigov.go.th/pageconfig/viewcontent/viewcontent1.asp?pageid=
47 1&directory=1784&contents=26927.สบื คน้ วันท่ี 2 สงิ หาคม 2551

11. กจิ กรรมเสนอแนะ
-

บันทึกผลหลังการสอนแผนการสอนท่ี 11 เร่ือง การผลิตพลังงานไฟฟา้ จากแหล่งตา่ งๆ

ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 วชิ าวทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน รหัสวชิ า ว23101

ครผู ู้สอน นางอรษา อภิรมย์วิไลชัย

1. ผลการสอน

1.1 สรปุ ผลการสอน

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1.2 หาความกา้ วหน้าในการเรียน การสอน

จานวน คะแนนเต็ม คะแนน คะแนน คะแนน E1/E2 ความกา้ ว

นกั เรยี น เฉลย่ี ก่อน เฉลีย่ เฉล่ียหลัง หนา้ ในการ

เรียน ระหว่าง เรยี น เรียน

เรยี น

……………………………ร…อ้ …ย…ละ…ค…ว…าม…ก…า้ …ว…ห…นา้……=…………คเระ…ยี แ…นน…น…หค…ละงั…แเน…รียน…นเ…ต-คม็…ะ…แ…น…นก…่อ…น……X……10…0………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ปญั หา/อุปสรรค์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………..………………………

ลงช่ือ...................................................................................
( นางอรษา อภิรมยว์ ไิ ลชยั )

ตาแหนง่ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นวัชรวทิ ยา
วันที่ เดือน กรกฏาคม พ.ศ. 2562

ความคิดเหน็ ของหัวหน้ากลมุ่ สาระ ความคิดเหน็ ของรองผ้อู านวยการกลุ่ม
การเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ บรหิ ารงานวชิ าการ

........................................................ ........................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................

ลงชอื่ ............................................ ลงชอื่ ............................................

( นายสรุ ศกั ดิ์ ยอดหงษ์ ) ( นายวิเชยี ร ยอดนิล )

หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รองผอู้ านวยการกลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ

วนั ที่ เดอื น พ.ศ. 2560 วันที่ เดือน พ.ศ. 2560

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษา

…………………………………………………………………………………….…………………………………………………………
…………………………………………….…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………..………………………………………………………………………….……………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………

( นายจานง อินทพงษ์ )
ผอู้ านวยการโรงเรียนวชั รวิทยา
วนั ท่ี ...... เดอื น ................................ พ.ศ. 2560

แผนการจดั การเรยี นรู้ 12

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน รหัสวชิ า ว23101
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ครูผูส้ อน อรษา อภิรมย์วไิ ลชยั โรงเรียนวชั รวิทยา
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เรอื่ ง พลงั งานไฟฟ้า เวลา 20 ชั่วโมง
แผนการสอนท่ี 12 เรอื่ ง ลักษณะเฉพาะของเครือ่ งใชไ้ ฟฟ้า เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด
กระแสไฟฟ้าเกดิ จากการเคลอื่ นทขี่ องประจุไฟฟ้า และการทกี่ ระแสไฟฟา้ จะไหลในตัวนา

ไฟฟา้ หรอื ไมน่ ้นั จะอาศยั ความแตกตา่ งของความตา่ งศักย์ไฟฟา้ ระหวา่ งจุด 2 จดุ บนลวดตวั นา
ไฟฟา้ ถา้ จดุ สองจุดบนลวดตัวนามคี วามแตกตา่ งทางศกั ย์ไฟฟ้าสงู กระแสไฟฟ้าจะไหลได้มาก
ถา้ จดุ สองสดุ ไมม่ คี วามตา่ งศักยท์ างไฟฟ้า กระแสไฟฟา้ กจ็ ะหยุดไหล นอกจากน้ีประมาณ
กระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ายังมีความแตกตา่ งกนั ทง้ั นี้เน่ืองจากลวดตวั นาที่กระแสไฟฟา้ ไหลผ่าน มี
ความต้านทานไฟฟา้ ไม่เท่ากนั จากท่กี ล่าวมาจะเห็นวา่ กระแสไฟฟา้ ความต่างศกั ยไ์ ฟฟา้ และความ
ต้านทานไฟฟา้ มคี วามสัมพนั ธก์ นั

2. มาตรฐานการเรยี นรู้ ว 5.1
สาระการเรยี นร้ทู ่ี 5 พลงั งาน
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลงั งานกับการดารงชีวติ การเปลีย่ นรูปพลังงาน ปฏสิ มั พนั ธ์

ระหวา่ งสารและพลังงาน ผลของการใชพ้ ลังงานต่อชีวิตและส่ิงแวดล้อม มกี ระบวนการสืบเสาะหา
ความรแู้ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ สอื่ สารสิ่งท่ีเรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระการเรียนรู้ท่ี 8 ธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มาตรฐานท่ี ว 8. 1 ใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจติ วทิ ยาศาสตรใ์ นการสบื เสาะหา
ความรู้ การแกป้ ัญหา รู้วา่ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาตทิ เี่ กิดข้นึ สว่ นใหญม่ รี ูปแบบทแี่ นน่ อน สามารถ
อธบิ ายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมลู และเคร่อื งมือท่ีมีอยู่ในช่วงเวลาน้นั ๆ เขา้ ใจวา่ วทิ ยาศาสตร์
เทคโนโลยี สงั คม และส่ิงแวดล้อมมีความเกย่ี วขอ้ งสมั พนั ธ์กัน

1. ตงั้ คาถามทกี่ าหนดประเดน็ หรือตวั แปรที่สาคญั ในการสารวจตรวจสอบ หรอื ศกึ ษา
ค้นควา้ เร่อื งทส่ี นใจได้อยา่ งครอบคลุมและเชือ่ ถอื ได้

2. สร้างสมมตฐิ านทส่ี ามารถตรวจสอบไดแ้ ละวางแผนการสารวจตรวจสอบหลายๆ วธิ ี

3. เลอื กเทคนิควิธีการสารวจตรวจสอบทัง้ เชงิ ปรมิ าณและเชิงคณุ ภาพท่ไี ด้ผลเทีย่ งตรงและ
ปลอดภัย โดยใชว้ ัสดแุ ละเครอื่ งมือทเ่ี หมาะสม

4. รวบรวมข้อมลู จัดกระทาขอ้ มลู เชิงปรมิ าณและคุณภาพ
5. วเิ คราะห์และประเมนิ ความสอดคลอ้ งของประจกั ษ์พยานกบั ขอ้ สรปุ ท้งั ทีส่ นับสนนุ หรอื
ขดั แย้งกบั สมมติฐาน และความผดิ ปกติของข้อมลู จากการสารวจตรวจสอบ
6. สร้างแบบจาลอง หรอื รปู แบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสารวจตรวจสอบ
7. สร้างคาถามทีน่ าไปสู่การสารวจตรวจสอบ ในเรอ่ื งทเี่ ก่ียวข้อง และนาความรู้ทไ่ี ดไ้ ปใช้
ในสถานการณใ์ หมห่ รืออธิบายเกยี่ วกบั แนวคิด กระบวนการ และผลของโครงหงราอืนช้ินงานใหผ้ ู้อ่ืนเข้าใจ
8. บนั ทกึ และอธิบายผลการสังเกต การสารวจ ตรวจสอบ ค้นควา้ เพิม่ เติมจากแหลง่ ความรู้
ตา่ ง ๆ ให้ไดข้ อ้ มลู ท่ีเช่ือถอื ได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความร้ทู ี่ค้นพบเม่อื มขี อ้ มลู และประจกั ษ์
พยานใหม่เพ่ิมข้ึนหรอื โตแ้ ย้งจากเดิม
9. จดั แสดงผลงาน เขยี นรายงาน และ/หรอื อธบิ ายเกย่ี วกับแนวคิด กระบวนการ และผล
ของโครงงานหรอื ชิ้นงานใหผ้ อู้ ่นื เขา้ ใจ
มาตรฐานการเรียนรชู้ ่วงชั้น
เขา้ ใจความสัมพันธร์ ะหว่างพลังงานกับการดารงชวี ิต การเปลยี่ นรปู พลังงาน ปฏิสัมพนั ธ์
ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใชพ้ ลงั งานตอ่ ชีวติ และส่งิ แวดล้อม มีกระบวนกสารืบเสาะหา
ความรแู้ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ ส่ือสารส่งิ ทเี่ รยี นร้แู ละนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

3 ตวั ชีว้ ัด
ทดลองและอธบิ ายความสัมพันธ์ระหวา่ งความต้านทานไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความ

ต้านทานไฟฟ้า และคานวณปริมาณทีเ่ ก่ียวข้อง

จุดประสงค์
1. อธิบายลกั ษณะเฉพาะท่ีปรากฏบนเครอื่ งใช้ไฟฟา้
2. เลอื กซือ้ เครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ ไดอ้ ย่างถูกต้อง และประหยัด

4. สาระการเรียนรู้
สาระแกนกลาง/สาระทอ้ งถ่ิน(ถา้ มี)
ความรู้
1. ลักษณะเฉพาะท่ีปรากฏบนเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้
2. คาทใ่ี ชแ้ สดงปริมาณทางไฟฟา้

ทกั ษะ/สมรรถนะ
ทักษะการส่อื สารอยา่ งสร้างสรรค์ตามช่วงวยั

อธบิ าย และตรวจสอบลกั ษณะที่ปรากฏบนเคร่อื งใช้ไฟฟา้ ได้
การบูรณาการ
สาระการเรยี นรอู้ าเซยี น ปรมิ าณไฟฟ้าในกลุม่ ประเทศอาเซียน
สาระการเรียนรูท้ ้องถ่ิน -
หลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง -

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. ซือ่ สตั ย์สจุ รติ
2. ไผเ่ รียนรู้ ม่งุ ม่นั ในการทางาน

5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสารอยา่ งสรา้ งสรรคต์ ามช่วงวยั
2. ความสามารถในการคดิ คดิ วเิ คราะห์ และการคดิ อย่างเป็นระบบ

6. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ซ่อื สตั ย์สุจรติ
2. ไผ่เรียนรู้ มุง่ ม่นั ในการทางาน
จดุ เน้นทตี่ ้องการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น
ทกั ษะการสอื่ สารอยา่ งสรา้ งสรรค์ตามช่วงวยั

7. ชิ้นงาน/ภาระงาน

1. แบบฝึกหดั

2. ปฏบิ ัติการทดลอง

8. การวดั ผลและประเมินผล

8.1 การประเมนิ ระหว่างจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ช้นิ งาน/ภาระงาน วิธกี ารประเมนิ เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมนิ
-
1. ทดสอบ2ก5่อ.นเรียน 1. ใหน้ กั เรียนทา 10. 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

แบบทดสอบก่อนเรยี น

2. รายงาน26. 1. สงั เกตพฤติกรรร1ม1น.กั เรยี น 1. แบบประเมนิ ทักษะการ 1. นกั เรียนผา่ นเกณฑ์

ปฏิบตั ิการทดลอง ภายในกลุ่ม ขณะปฏบิ ัตกิ าร ปฏบิ ัตกิ ารทดลอง ประเมินตามแบบประเมนิ

ทดลอง และศึกษาเ1อ2ก.สาร ทกั ษะการปฏบิ ตั ิการทดลอง

ประกอบการเรยี นการสอน อยา่ งน้อย 50 %

27. 2. ใหน้ กั เรยี นเขียนรายงาน

ผลการศึกษากจิ กรรมการ

ทดลอง

8.2 การประเมินเม่อื สน้ิ สุดการเรยี นรู้

ช้นิ งาน/ภาระงาน วิธกี ารประเมิน เคร่อื งมอื เกณฑ์การประเมิน

1. ทดสอ2บ8ห.ลงั 1. ใหน้ กั เรียนทา 1. แบบทดสอบหลงั 1. นักเรียนทาแบบทดสอบ

เรียน แบบทดสอบหลังเรยี น เรยี น หลังเรยี นได้ผ่านเกณฑ์

ประเมนิ รอ้ ยละ 80

3. ใบงาน2/9. 1. ใหน้ กั เรียนทาแบบฝกึ หดั 1. ใบงาน/แบบฝึกหัด 1. นกั เรยี นตอบคาถามของ

แบบฝึกหดั หรือใบงาน ครไู ดอ้ ยา่ งนอ้ ย 50 %

30. 2. นกั เรียนผา่ นเกณฑ์ประเมนิ

4. สมดุ บ3นั 1ท.กึ 1. ให้นกั เรียนสรุป - ตามแบบประเมนิ การแสวงหา

สาระสาคัญลงในสมุด ข้อมูลของ

32. นกั เรียนอยา่ งนอ้ ย 50 %

3. นักเรยี นทาแบบฝึกหดั ได้

คะแนนอย่างนอ้ ย 50 %

นักเรียนสรุปสาระสาคญั ลงใน

สมุดได้ถกู ต้องครบถว้ น

9. กจิ กรรมการจดั การเรียนรู้
ข้นั นา
1. ทดสอบก่อนเรยี นเร่อื ง ความตา่ งศักย์ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟา้
2. ครูใชค้ าถาม ถามนานักเรยี น

1) พลังงานไฟฟ้าเปล่ยี นรูปเป็นพลังงานรปู ใด ได้บ้าง ( แนวตอบ พลงั งานไฟฟา้ สามารถ
เปลี่ยนเป็นพลังงานกล พลงั งานแสง พลังงานความรอ้ น พลังงานเสยี ง ฯลฯ)

2) เครอ่ื งใช้ไฟฟ้า ภายในบ้าน มีการเปลี่ยนรูปพลงั งานอย่างไร ( แนวตอบ พดั ลม เปล่ยี น
พลงั งานไฟฟ้า เปน็ พลังงานกล เตารีด เปลยี่ นพลงั งานไฟฟ้า เป็นพลังงานความร้อน
หลอดไฟ เปลีย่ นพลงั งานไฟฟ้า เปน็ พลังงานความรอ้ นฯลฯ )

ขัน้ สอน
3. ครูฉายภาพคาถามบนจอหนา้ หอ้ งเรียนและใหน้ กั เรยี นศึกษาเอกสารประกอบการเรียนการสอน
ชุด “เรียนรเู้ รอ่ื งพลงั งานไฟฟ้า” เลม่ ที่ 2 เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทาน
ไฟฟ้า

1) อุปกรณใ์ ดใช้วดั คา่ พลังงานไฟฟ้าทใ่ี ชภ้ ายในบ้านแ(นวตอบ มาตรกโิ ลวตั ตช์ ัว่ โมง)
2) ใบเสรจ็ ชาระเงินคา่ ไฟฟา้ ระบุขอ้ มลู ทส่ี าคัญอะไรบ้างแ(นวตอบ1.ชอ่ื เจ้าบ้าน 2.ท่ีอยู่เจ้าบ้าน

3.ค่าพลงั งานไฟฟ้า4. ค่า Ft 5. คา่ ภาษีมูลค่าเพิม่ 6. คา่ ไฟฟา้ ทต่ี อ้ งชาระ)
3) เคร่ืองใช้ไฟฟ้าแตล่ ะชนิด ใช้พลังงานไฟฟ้าเท่ากันหรือไแมน่( วตอบไม่เทา่ กัน)
4) ข้อมูลใดบา้ งทร่ี ะบไุ ว้บนเครื่องใชไ้ ฟฟา้ แ(นวตอบกาลังไฟฟ้า ปริมาณกระแสไฟฟ้า ความตา่ ง

ศกั ย์ไฟฟ้า ชนิดของกระแสไฟฟ้า ฯลฯ)
5 ) การเลือกซือ้ เครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ ตอ้ งศึกษาข้อมูลดา้ นใดบา้ งแน( วตอบ ความต่างศักย์ไฟฟา้

กาลงั ไฟฟ้า ฯลฯ)
4. นักเรียนทากิจกรรมท1่ี เรื่อง ลักษณะเฉพาะที่ระบุไวท้ ่เี คร่อื งใช้ไฟฟา้ โดยครจู ัดเตรยี มตัวอยา่ ง

เคร่อื งใช้ไฟฟ้าไวใ้ หเ้ ปน็ จุด6 ชดุ โดยครมู อบหมายให้
กลุ่มท่ี 1 ศกึ ษา เครือ่ งใช้ไฟฟา้ ชดุ ท1ี่
กลุ่มที่ 2 ศกึ ษา เครื่องใชไ้ ฟฟา้ ชดุ ท2ี่
กลมุ่ ที่ 3 ศกึ ษา เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้า ชุดท3่ี
กล่มุ ที่ 4 ศึกษา เครื่องใชไ้ ฟฟา้ ชุดท4ี่
กลุ่มที่ 5 ศกึ ษา เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า ชุดท5่ี
กลมุ่ ท่ี 6 ศกึ ษา เครือ่ งใช้ไฟฟ้า ชุดท6่ี

5. ตวั แทนนักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลการศกึ ษาใหก้ ับเพื่อนในห้อง
6. นกั เรียนบนั ทกึ ผลการศึกษาของเพ่ือนต่างกลุม่

7. นักเรยี นตอบคาถามหลงั การศึกษาคน้ ควา้
8. นกั เรียนและครูรว่ มกันอภิปรายผลการศกึ ษาค้นคว้า และตอบคาถามท่คี รฉู ายภาพบนจอ
9. ครใู ชค้ าถาม ถามนานกั เรยี นดงั น้ี

1) กล่มุ ประเทศอาเซยี น ใช้ปรมิ าณไฟฟา้ ความต่างศักยไ์ ฟฟ้า อย่างไร
2) ปริมาณความต่างศักดิ์ไฟฟ้า ของประเทศไทย เหมือนหรอื ต่างจากกลมุ่ ประเทศอาเซียน
อยา่ งไร

ขนั้ สรปุ
10. นกั เรียนและครรู ่วมกนั สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
11. นักเรยี นปรับปรุงเพม่ิ เตมิ ขอ้ มลู ทีศ่ ึกษาของตนเอง และนาสมดุ ส่งครู
12. ครมู อบหมายงานใหน้ กั เรียนไปศกึ ษากจิ กรรมที่ 2 เรอ่ื งการใช้พลังงานไฟฟา้ ในบา้ นของนกั เรยี น

โดยกาหนดระยะเวลาสง่ ในเดอื นกันยายน

10. สอื่ การเรียนรู้ /แห่ลงการเรียนรู้
สอื่ การเรยี นรู้

1. เอกสารประกอบการเรียนการสอน ชดุ “เรยี นรูเ้ รือ่ งพลงั งานไฟฟ้า” เลม่ ท่ี 2 เรอื่ ง ความ
ตา่ งศกั ย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า

2. แบบทดสอบก่อนเรยี น เร่อื ง ความต่างศักยไ์ ฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความตา้ นทานไฟฟา้
3. เคร่อื งใช้ไฟฟา้ ท่ีมีแผ่นระบุคุณลกั ษณะเฉพาะปรากฏอยบู่ นเครือ่ งใชไ้ ฟฟา้ จานวน 6 ชุด
เทป, กระตกิ ต้มนา้ ไฟฟา้ , พัดลม, กระทะไฟฟา้ , หม้อหงุ ข้าวไฟฟ้า และเคร่อื งปงิ้ ขนมปัง
( หรือเคร่ืองใช้ไฟฟา้ ท่ีสามารถหาได้ทดแทน )
4. ใบเสรจ็ จา่ ยเงนิ ค่าพลงั งานไฟฟา้
5. แวน่ ขยาย
6. ภาพแสดงคาถาม
แหล่งการเรยี นรู้
1. ห้องสมดุ โรงเรียนวชั รวิทยา
2. ห้องสมุดกล่มุ สาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
3. สือ่ ออนไลน์ทเ่ี ก่ียวข้องกับ เรอ่ื ง ความต่างศกั ยไ์ ฟฟา้ กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า

11. กิจกรรมเสนอแนะ
-

บันทึกผลหลังการสอนแผนการสอนท่ี 12 เรือ่ ง ลกั ษณะของเครื่องใช้ไฟฟ้า

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 วิชาวิทยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน รหัสวิชา ว23101

ครูผ้สู อน นางอรษา อภิรมยว์ ไิ ลชยั

1. ผลการสอน

1.1 สรปุ ผลการสอน

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1.2 หาความก้าวหนา้ ในการเรียน การสอน

จานวน คะแนนเต็ม คะแนน คะแนน คะแนน E1/E2 ความกา้ ว

นักเรยี น เฉลยี่ ก่อน เฉล่ีย เฉล่ยี หลงั หน้าในการ

เรยี น ระหว่าง เรียน เรียน

เรียน

……………………………ร…อ้ …ย…ละ…ค…ว…าม…ก…า้ …ว…ห…น…า้ …=…………คเระ…ียแ…นน…น…หค…ละัง…แเน…รยีน…นเ…ต-คม็…ะ…แ…น…นก…่อ…น……X……10…0………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ปญั หา/อปุ สรรค์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแกไ้ ข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………..………………………

ลงชือ่ ...................................................................................
( นางอรษา อภิรมยว์ ไิ ลชัย )

ตาแหนง่ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นวชั รวิทยา
วันท่ี เดอื น กรกฏาคม พ.ศ. 2562

ความคดิ เหน็ ของหวั หนา้ กล่มุ สาระ ความคดิ เห็นของรองผู้อานวยการกลุ่ม
การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ บรหิ ารงานวชิ าการ

........................................................ ........................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................

ลงชอ่ื ............................................ ลงชอ่ื ............................................

( นายสุรศักด์ิ ยอดหงษ์ ) ( นายวเิ ชียร ยอดนิล )

หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ รองผ้อู านวยการกล่มุ บริหารงานวิชาการ

วันท่ี เดอื น พ.ศ. 2560 วันที่ เดอื น พ.ศ. 2560

ขอ้ เสนอแนะของหวั หน้าสถานศึกษา

…………………………………………………………………………………….…………………………………………………………
…………………………………………….…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………..………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….………

( นายจานง อนิ ทพงษ์ )
ผ้อู านวยการโรงเรียนวัชรวิทยา
วนั ท่ี ...... เดอื น ................................ พ.ศ. 2560

แผนการจดั การเรยี นรู้ 13

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วชิ าวิทยาศาสตร์พนื้ ฐาน รหัสวชิ า ว 23101
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ครูผ้สู อน อรษา อภิรมยว์ ิไลชัย โรงเรยี นวัชรวิทยา
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 เรอ่ื ง พลังงานไฟฟา้ เวลา 20 ชว่ั โมง
แผนการสอนท่ี 13 เรื่อง ความสัมพนั ธร์ ะหว่างความตา่ งศักยไ์ ฟฟา้
เวลา 5 ชั่วโมง
กระแสไฟฟ้า และความตา้ นทานไฟฟา้

1. สาระสาคัญ
กระแสไฟฟ้าเกดิ จากการเคลื่อนทีข่ องประจไุ ฟฟา้ และการทก่ี ระแสไฟฟา้ จะไหลในตัวนา

ไฟฟา้ หรือไมน่ นั้ จะอาศัยความแตกตา่ งของความต่างศักยไ์ ฟฟา้ ระหวา่ งจุด 2 จดุ บนลวดตัวนา
ไฟฟ้า ถา้ จดุ สองจุดบนลวดตัวนามีความแตกต่างทางศกั ย์ไฟฟ้าสงู กระแสไฟฟ้าจะไหลไดม้ าก
ถา้ จดุ สองสดุ ไม่มีความต่างศกั ยท์ างไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าก็จะหยุดไหล นอกจากน้ีประมาณ
กระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟา้ ยงั มคี วามแตกต่างกนั ทัง้ นีเ้ นอื่ งจากลวดตวั นาทีก่ ระแสไฟฟา้ ไหลผา่ น มี
ความต้านทานไฟฟา้ ไม่เท่ากัน จากท่กี ลา่ วมาจะเหน็ ว่า กระแสไฟฟ้า ความตา่ งศกั ย์ไฟฟ้า และความ
ตา้ นทานไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กัน

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 5.1 เขา้ ใจความสัมพันธร์ ะหว่างพลังงานกับการดารงชวี ติ การเปล่ยี นรปู พลงั งาน

ปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชวี ิตและส่งิ แวดล้อม มี
กระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ ส่ือสารส่ิงทีเ่ รยี นรู้และนาความรไู้ ปใช้
ประโยชน์
มาตรฐานท่ี ว 8. 1 ใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตรใ์ นการสบื เสาะหาความรู้
การแกป้ ัญหา รูว้ ่าปรากฏการณท์ างธรรมชาตทิ ี่เกิดข้นึ สว่ นใหญ่มีรปู แบบท่แี นน่ อน สามารถ
อธิบายและตรวจสอบได้ ภายใตข้ ้อมูลและเคร่อื งมือทมี่ ีอยู่ในชว่ งเวลาน้นั ๆ เขา้ ใจวา่
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิง่ แวดลอ้ มมคี วามเกี่ยวขอ้ งสัมพนั ธก์ ัน

1. ตั้งคาถามทก่ี าหนดประเดน็ หรือตัวแปรทีส่ าคัญในการสารวจตรวจสอบ หรอื ศกึ ษา
คน้ ควา้ เรอื่ งท่สี นใจไดอ้ ยา่ งครอบคลมุ และเช่ือถือได้

2. สรา้ งสมมตฐิ านท่ีสามารถตรวจสอบไดแ้ ละวางแผนการสารวจตรวจสอบหลายๆ วธิ ี

3. เลือกเทคนคิ วธิ กี ารสารวจตรวจสอบท้ังเชงิ ปรมิ าณและเชิงคุณภาพทไ่ี ดผ้ ลเที่ยงตรงและ
ปลอดภัย โดยใชว้ สั ดุและเครอ่ื งมือที่เหมาะสม

4. รวบรวมขอ้ มลู จดั กระทาขอ้ มลู เชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ

5. วิเคราะหแ์ ละประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรปุ ทัง้ ทสี่ นบั สนนุ หรอื
ขดั แยง้ กับสมมตฐิ าน และความผดิ ปกติของข้อมูลจากการสารวจตรวจสอบ

6. สร้างแบบจาลอง หรือรูปแบบ ทอ่ี ธบิ ายผลหรือแสดงผลของการสารวจตรวจสอบ

7. สรา้ งคาถามทน่ี าไปสู่การสารวจตรวจสอบ ในเรอื่ งทเี่ กีย่ วขอ้ ง และนาความรทู้ ี่ได้ไปใช้ใน
สถานการณใ์ หม่หรอื อธบิ ายเก่ยี วกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงหงราอืนชน้ิ งานให้ผ้อู ่ืนเขา้ ใจ

8. บันทกึ และอธิบายผลการสงั เกต การสารวจ ตรวจสอบ ค้นควา้ เพ่ิมเตมิ จากแหลง่ ความรู้
ต่าง ๆ ใหไ้ ดข้ ้อมลู ทเี่ ชื่อถือได้ และยอมรับการเปล่ียนแปลงความรู้ท่ีค้นพบเมื่อมขี ้อมูลและประจักษ์
พยานใหม่เพม่ิ ข้ึนหรอื โต้แย้งจากเดมิ

9. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรอื อธิบายเกย่ี วกับแนวคิด กระบวนการ และผล
ของโครงงานหรือชิน้ งานใหผ้ อู้ ่นื เข้าใจ

3. ตวั ชี้วัด
ทดลองและอธบิ ายความสมั พนั ธ์ระหว่างความต้านทานไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ และความ

ต้านทานไฟฟา้ และคานวณปริมาณทีเ่ กีย่ วขอ้ ง
จุดประสงค์
3. อธิบายความสัมพันธ์ระหวา่ งความต่างศกั ย์ไฟฟา้ กบั กระแสไฟฟ้า ได้
4. อธบิ ายความสมั พันธร์ ะหวา่ งความตา้ นทานไฟฟ้ากับกระแสไฟฟ้าได้
5. สรุปความสัมพันธร์ ะหว่างกระแสไฟฟา้ ความตา่ งศกั ย์ไฟฟา้ และความต้านทาน

ไฟฟา้ ได้
6. ทดลองเกีย่ วกับความสมั พนั ธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้า ความต่างศกั ยไ์ ฟฟา้ และความ

ต้านทานไฟฟา้ ได้

4. สาระการเรียนรู้
สาระแกนกลาง/สาระทอ้ งถ่นิ (ถ้ามี)
ความรู้
1. ความตา่ งศักยไ์ ฟฟา้
2. กระแสไฟฟา้
3. ความต้านทานไฟฟา้
ทกั ษะ/สมรรถนะ

ทกั ษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามชว่ งวัย

สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิน่ -

สาระการเรยี นรเู้ กีย่ วกับอาเซียน -

สาระการเรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียง -

5. สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น
1. ความสามารถในการสื่อสารอย่างสรา้ งสรรค์ตามช่วงวัย
2. ความสามารถในการคดิ คิดวเิ คราะห์ และการคิดอย่างเป็นระบบ

6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. ซื่อสัตย์สุจริต
2. ไผ่เรียนรู้ มุ่งมน่ั ในการทางาน
จุดเนน้ ทีต่ อ้ งการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น
ทกั ษะการส่ือสารอยา่ งสร้างสรรคต์ ามชว่ งวัย

7. ช้ินงาน/ภาระงาน
1) ทดสอบก่อนเรียน
2) ทดสอบหลงั เรียน
3) รายงานปฏิบัติการทดลอง
4) ใบงาน/แบบฝึก
5) สมุดบันทกึ การเรียน

8. การวัดผลและประเมนิ ผล

8.1 การประเมนิ ระหวา่ งจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ชิ้นงาน/ภาระงาน วิธกี ารประเมิน เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ
-
1. ทดสอบ3ก3่อ.นเรยี น 1. ใหน้ กั เรยี นทา 13. 1. แบบทดสอบก่อนเรียน

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

2. รายงาน34. 1. สังเกตพฤติกรรร1ม4น.กั เรียน 1. แบบประเมนิ ทักษะการ 1. นักเรียนผ่านเกณฑ์
ปฏิบตั ิการทดลอง
ภายในกลมุ่ ขณะปฏบิ ัติการ ปฏิบัตกิ ารทดลอง ประเมนิ ตามแบบประเมิน
35.
ทดลอง และศึกษาเ1อ5ก.สาร ทกั ษะการปฏิบตั กิ ารทดลอง

ประกอบการเรยี นการสอน อยา่ งน้อย 50 %

2. ให้นักเรียนเขียนรายงาน

ผลการศกึ ษากจิ กรรมการ

ทดลอง

8.2 การประเมินเมือ่ ส้ินสดุ การเรียนรู้

ชิ้นงาน/ภาระงาน วิธกี ารประเมนิ เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
1. แบบทดสอบหลงั 1. นักเรียนทาแบบทดสอบ
1. ทดสอ3บ6ห.ลงั 1. ให้นักเรยี นทา เรียน หลงั เรยี นไดผ้ า่ นเกณฑ์
ประเมินรอ้ ยละ 80
เรยี น แบบทดสอบหลงั เรยี น 1. นกั เรียนตอบคาถามของ
ครูไดอ้ ยา่ งนอ้ ย 50 %
3. ใบงาน3/7. 1. ใหน้ ักเรียนทาแบบฝึกหัด 1. ใบงาน/แบบฝึกหดั 2. นกั เรียนผา่ นเกณฑ์ประเมนิ
แบบฝกึ หัด หรอื ใบงาน ตามแบบประเมินการแสวงหา
ข้อมลู ของ
38. 1. ให้นกั เรียนสรุป - นกั เรียนอยา่ งน้อย 50 %
4. สมุดบ3ัน9ท.ึก สาระสาคญั ลงในสมดุ 3. นกั เรยี นทาแบบฝึกหัดได้
คะแนนอยา่ งน้อย 50 %
40. นักเรียนสรุปสาระสาคัญลงใน
สมุดไดถ้ ูกต้องครบถว้ น

9. กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้
ชัว่ โมงที่ 1-2

ขน้ั นา
1. ครูสาธติ การทดลองการตอ่ วงจรไฟฟ้า
อย่างง่ายใหน้ กั เรยี นดู โดยใช้ถ่านไฟฉายต่อกับสายไฟพร้อมหลอดไฟ แลว้ ครถู ามนกั เรียนวา่

1) เหตใุ ดหลอดไฟจงึ สว่าง
2) ถา้ เอาสายไฟออกจากขั้วหลอดไฟ นักเรยี นคิดว่าจะสวา่ งหรือไม่
3) อะไรเปน็ แหล่งจ่ายพลังงานให้วงจรไฟฟ้า
( แนวตอบ ขณะท่หี ลอดไฟฟา้ สวา่ ง เพราะวงจรไฟฟ้าต่อครบวงจร กระแสไฟฟา้ จากถ่านไฟฉาย
จะเคลอ่ื นทีจ่ ากขั้วบวก (ศักย์ไฟฟา้ สงู ) ผา่ นกระแสไฟฟ้าตามสายไฟ ผ่านหลอดไฟทาให้หลอดไฟ
สวา่ ง ไหลผา่ นไปยงั ขั้วลบ (ศักย์ไฟฟา้ ตา่ ) ถา้ เอาสายไฟออกแสดงว่ากระแสไฟฟ้าไม่สามารถไหล
ผ่านครบวงจร)
2. ครแู จง้ ผลการเรยี นรู้ทค่ี าดหวัง และจดุ ประสงคก์ ารเรยี นให้นกั เรียนทราบ

ขั้นสอน
3. ครนู าถา่ นไฟฉายท่มี คี วามตา่ งศักย์ไฟฟ้าแตกต่างกนั ใหน้ กั เรยี นสงั เกต แลว้ ใชค้ าถาม ถามนกั เรยี น

ดงั น้ี
1) ถา่ นไฟฉายทนี่ กั เรยี นเห็นมีความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟ้าเทา่ กนั หรอื ไม่ (แนวตอบ ไม่เทา่ กนั )
2) ถา้ เราใชถ้ า่ นไฟฉายไปเรื่อย ๆ ปรมิ าณความตา่ งศกั ย์ไฟฟ้าจะเท่าเดมิ หรอื ไม่ (แนวตอบ
ความต่างศักย์ไฟฟา้ จะลดลง)
3) ถา่ นไฟฉายที่มีความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟ้าไม่เท่ากัน ใหพ้ ลังงานไฟฟ้าได้เท่ากนั หรือไม่
(แนวตอบ ไมเ่ ท่ากนั )
4) ถา้ ต้องการวดั คา่ พลังงานไฟฟา้ ในวงจร เราทาได้อยา่ งไร (แนวตอบ ตอ่ วงจรไฟฟา้ สงั เกต
ความสว่างของหลอดไฟ หรอื ตอ่ วงจรไฟฟ้าแลว้ ใช้เครือ่ งมอื วัดค่าพลังงานไฟฟา้ )
5) เครอ่ื งมืออะไรใชว้ ดั คา่ พลังงานไฟฟา้ (แนวตอบโวลตม์ เิ ตอร์)
4. นกั เรยี นศกึ ษาหนังสือแบบเรยี นวิทยาศาสตรพ์ ้นื ฐาน เรอื่ งความตา่ งศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟา้ และ
ความตา้ นทานไฟฟา้ และรับใบกิจกรรมท่ี 3 เรอ่ื ง ศกึ ษาความต่างศกั ย์ไฟฟ้าของถา่ นไฟฉาย

5. นกั เรียนรับอปุ กรณก์ ารทดลองตามกจิ กรรมที่ 3 เรอ่ื ง ศกึ ษาความต่างศักยไ์ ฟฟ้าของถ่านไฟฉาย
โดยครแู นะนาการใชเ้ คร่ืองมือ และอปุ กรณท์ ่ีถกู ต้องใหน้ กั เรยี น

6. นักเรยี นทาการทดลองตามกิจกรรม ท่ีครแู จก

ขั้นสรปุ
7. นักเรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั อภปิ รายผลจากการทาการทดลอง พรอ้ มตอบคาถามหลงั กจิ กรรม
8. ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศกึ ษาแลกเปลย่ี นกบั เพ่อื นในหอ้ ง
9. ครูและนักเรียนรว่ มกันอภิปรายผลการศกึ ษาและสรุปการศึกษา โดยใชค้ าถามหลังทากิจกรรมการ
ทดลองเป็นแนวทาง
10. นักเรยี นบนั ทึกสาระสาคญั จากการอภิปราย สรปุ ลงในกิจกรรม และนาสง่ ครู
11. ครชู ่ืนชมนกั เรียนท่ีร่วมกันศึกษาทดลอง และใหก้ าลังใจกลุ่มท่ยี ังต้องปรบั ปรุงแกไ้ ข

ชัว่ โมงท่ี 3
ขัน้ นา
12. ครูต่อวงจรไฟฟา้ อยา่ งง่ายให้นักเรยี นดูแล้วใช้คาถาม ถามนานักเรียนดงั น้ี

1) การทหี่ ลอดไฟสวา่ ง เพราะเหตใุ ด (แนวตอบมีกระแสไฟฟ้าไหลผา่ นหลอดไฟ )
2) ถา้ เราเพม่ิ จานวนของถ่านไฟฉายในวงจร ความสว่างของหลอดไฟ จะเป็นอยา่ งไร

(แนวตอบสวา่ งมากข้ึน)
3) เครอื่ งมือชนดิ ใด ใช้วัดปรมิ าณกระแสไฟฟา้ ในวงจร(แนวตอบ แอมมิเตอร์)
4) นกั เรยี นมีวิธกี ารวดั กระแสไฟฟา้ ในวงจรไดอ้ ย่างไร (แนวตอบ ตามกจิ กรรมที่ 4)

ขั้นสอน
13. นักเรยี นศึกษากจิ กรรมการทดลองที่ 4 เรือ่ ง การวัดกระแสไฟฟา้ ตามหนังสอื แบบเรียน

วทิ ยาศาสตร์พน้ื ฐาน และรบั เอกสารใบงานจากครู
14. ครูใหค้ วามรูเ้ รือ่ ง การใชแ้ อมมิเตอร์กบั นกั เรียน
15. นกั เรยี นรบั อปุ กรณก์ ารทดลองกิจกรรมการทดลองท่ี 4 เร่อื ง การวัดกระแสไฟฟา้ และทาการ

ทดลอง โดยครูแนะนาการต่อวงจรไฟฟ้า ท่ถี กู ต้องให้ทราบ

ข้ันสรปุ
16. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกันอภปิ รายผลจากการทาการทดลองตามกิจกรรม พรอ้ มตอบคาถามหลัง

ทากจิ กรรม
17. ครูและนักเรยี นร่วมกนั อภิปรายผล และสรุปการวัดกระแสไฟฟา้
18. นักเรยี นบันทึกสาระสาคัญจากการสรุปในกจิ กรรม และนาส่งครู

ช่วั โมงท่ี 4-5
ข้นั นา
19. ครทู บทวนเรอ่ื งความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟ้า และกระแสไฟฟา้
20. ครูใช้คาถาม ถามนักเรยี น ความตา่ งศกั ย์ไฟฟา้ และกระแสไฟฟ้ามคี วามสัมพนั ธก์ นั อย่างไร
(แนวตอบ วงจรไฟฟ้าที่มคี วามต่างศกั ย์ไฟฟ้ามาก กระแสไฟฟา้ ก็มากตามไปด้วย)

ขน้ั สอน
21. ครมู อบหมายให้นักเรยี นศึกษากจิ กรรมการทดลองที่ 5 เรอ่ื งความสัมพนั ธ์ระหว่างความต่าง
ศักยไ์ ฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า ตามหนังสอื แบบเรียนวทิ ยาศาสตร์พืน้ ฐาน และใบความรู้
22. นกั เรียนรับอุปกรณก์ ารทดลอง และทาการทดลอง โดยครูแนะนาการต่อวงจรไฟฟา้ ใหน้ กั เรียน
23. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลการศกึ ษาของกลุม่ ตนเอง
24. ครูและนกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายผลการศึกษา
25. นักเรยี นปรบั ปรุงผลการศกึ ษาของตนเอง
26. ครูใหค้ วามรู้เรอื่ ง ความตา้ นทานไฟฟ้า
27. ครูใชค้ าถาม ถามนักเรียน

1) ความตา้ นไฟฟา้ จะมากหรือนอ้ ยขน้ึ อยู่กับสิ่งใด(แนวตอบ 1.ชนิดของลวดตวั นา 2.ความยาว
ของลวดตวั นา 3. พืน้ ทห่ี นา้ ตดั ของลวดตัวนา 4. อณุ หภมู ิของลวดตัวนา )

2) ความต่างศกั ย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟา้ และความต้านทานไฟฟ้า มคี วามสัมพนั ธก์ นั หรอื ไม่
อยา่ งไร (แนวตอบ ความต่างศักยไ์ ฟฟ้าสูง กระแสไฟฟ้าจะมาก ความต้านทานไฟฟา้ จะนอ้ ย)
28. นกั เรียนศกึ ษาหนงั สือแบบเรียนวทิ ยาศาสตรพ์ ้ืนฐาน และร่วมกันตอบคาถามของครู
29. นกั เรียนบนั ทึกสาระสาคญั ลงสมุดและนาสมดุ ส่งครู
30. ทดสอบหลังเรยี น

11. สือ่ การเรยี นรู้ /แห่ลงการเรยี นรู้
สอ่ื การเรยี นรู้
1. หนงั สอื แบบเรียน
2. ชุดวงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย
3. ถ่านไฟฉายที่มคี วามต่างศักยไ์ ฟฟา้ ขนาดต่าง ๆ
4. อุปกรณ์การทดลองตามกจิ กรรมการทดลองท่ี 3
5. อุปกรณก์ ารทดลองตามกิจกรรมการทดลองที่ 4
6. อุปกรณ์การทดลองตามกิจกรรมการทดลองท่ี 5

แหล่งการเรียนรู้
1. ห้องสมดุ โรงเรียนวชั รวิทยา
2. ห้องสมุดกลุ่มสาระวชิ า
3. เว็บไซตท์ เ่ี กี่ยวข้องกบั ความตา่ งศักยไ์ ฟฟ้า และกระแสไฟฟา้

12. กจิ กรรมเสนอแนะ
1. ให้นกั เรยี นสืบค้น เร่อื งความสัมพนั ธุร์ ะหว่าง ความต่างศกั ย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟา้ และ
ความต้านทานไฟฟา้ จากสื่อออนไลน์ ดงั นี้

บนั ทึกผลหลังการสอนแผนการสอนที่ 13 เรื่อง ความสมั พันธ์ระหว่าง ความตา่ งศักยไ์ ฟฟา้

กระแสไฟฟา้ และ ความตา้ นทานไฟฟ้า

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 วชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน รหสั วชิ า ว23101

ครูผู้สอน นางอรษา อภริ มย์วไิ ลชยั

1. ผลการสอน

1.1 สรุปผลการสอน

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

1.2 หาความกา้ วหน้าในการเรยี น การสอน

จานวน คะแนนเตม็ คะแนน คะแนน คะแนน E1/E2 ความกา้ ว

นักเรยี น เฉลยี่ กอ่ น เฉล่ยี เฉลย่ี หลัง หนา้ ในการ

เรียน ระหวา่ ง เรียน เรยี น

เรียน

……………………………ร…อ้ …ย…ละ…ค…ว…าม…ก…า้ …ว…ห…นา้……=…………คเระ…ียแ…นน…น…หค…ละงั…แเน…รยีน…นเ…ต-ค็ม…ะ…แ…น…นก…่อ…น……X……10…0………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ปญั หา/อปุ สรรค์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………..………………………

ลงชื่อ...................................................................................
( นางอรษา อภิรมย์วไิ ลชัย )

ตาแหน่ง ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นวัชรวิทยา
วนั ที่ เดอื น สงิ หาคม พ.ศ. 2562

ความคิดเห็นของหวั หนา้ กลุ่มสาระ ความคดิ เห็นของรองผู้อานวยการกลุ่ม
การเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ บริหารงานวิชาการ

........................................................ ........................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................

ลงชือ่ ............................................ ลงช่ือ............................................

( นายสรุ ศักดิ์ ยอดหงษ์ ) ( นายวิเชียร ยอดนิล )

หวั หน้ากล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ รองผู้อานวยการกล่มุ บริหารงานวชิ าการ

วนั ท่ี เดอื น พ.ศ. 2561 วนั ท่ี เดือน พ.ศ. 2561

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษา

…………………………………………………………………………………….…………………………………………………………
…………………………………………….…………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………..………………………………………………………………………….……………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….………

( นายไพชยนต์ ศรมี ่วง )
ผอู้ านวยการโรงเรียนวัชรวทิ ยา
วนั ท่ี ...... เดอื น ................................ พ.ศ. 2561

11. เอกสารอ้างอิง

ป่ิ นศกั ด์ิ ชุมเกษียน และปิ ยาณี สมคิด . พมิ พค์ ร้งั ท่ี 1 .วทิ ยาศาสตร์ 2 ช่วงช้ันท่ี3 (ม.1-ม.3) ,
กรุงเทพฯ .สานกั อกั ษรเจริญทศั น์ .2544

พมิ พนั ธ์ เดชะคุปตแ์ ละคณะ . วทิ ยาศาสตร์ ช่วงช้ันท่ี 3 ,กรุงเทพฯ . สานกั พมิ พบ์ ริษทั พฒั นา
คุณภาพวชิ าการ(พว.) จากดั .2548

ศรีลกั ษณ์ ผลวฒั นะ และคณะ . พมิ พค์ ร้ังท่ี 1 . วทิ ยาศาสตร์ ช่วงช้ันท่ี3 (ม.1-ม.3) , กรุงเทพฯ .
สานกั พมิ พน์ ิยมวทิ ยา .2544

ศกึ ษาธิการ,กระทรวงศึกษาธิการ.สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี .
วิทยาศาสตร์เล่ม 6 , ว 306 . กรุงเทพฯ: โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพร้าว.กรุงเทพ . 2535

ศกึ ษาธิการ,กระทรวงศกึ ษาธิการ.สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี .คู่มอื ครู
วทิ ยาศาสตร์เล่ม 6 , ว 306 . กรุงเทพฯ: โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพร้าว.กรุงเทพ . 2535

ลงชื่อ..........................................................................
( นางอรษา อภิรมยว์ ไิ ลชยั )
ตาแหน่ง ครูโรงเรียนวชั รวทิ ยา

12. ความเห็นของผู้บริหาร แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 27 เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ า
และความต้านทานไฟฟ้ า

ความคดิ เห็นของหวั หนา้ ความคดิ เห็นของรองผอู้ านวยการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ กลุ่มบริหารงานวชิ าการ

........................................................ ........................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................
....................................................... .......................................................

ลงช่ือ............................................ ลงชื่อ............................................
( นางนิภาวดี น่วมอินทร์ ) ( นายวเิ ชียร ยอดนิล )

หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ รองผอู้ านวยการโรงเรียนวชั รวทิ ยา

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา

…………………………………………………………………………………….…………………
…………………………………………………………………………………….…………………
……………………………………………………………………………….………………………
…………………………………………………………………….…………………………………
…………………………………………………………………….…………………………………

( นายศภุ ชาติ บดีรฐั )
ผอู้ านวยการโรงเรียนวชั รวทิ ยา
วนั ที่ ........ เดือน ................................ พ.ศ. 2554

แผนการจดั การเรียนรู้ 14

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ วชิ าวทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน รหัสวชิ า ว23101
ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นที่ 1 ครูผ้สู อน อรษา อภริ มยว์ ิไลชยั โรงเรยี นวชั รวทิ ยา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรอ่ื ง พลังงานไฟฟา้ เวลา 20 ช่วั โมง
แผนการสอนท่ี 14 เร่ือง เรือ่ งกฎของโอหม์ เวลา 1 ชั่วโมง

1. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

กระแสไฟฟ้าเกดิ จากการเคลอ่ื นท่ีของประจไุ ฟฟา้ และการท่กี ระแสไฟฟา้ จะไหลใน

ตัวนาไฟฟา้ หรือไม่นั้น จะอาศยั ความแตกตา่ งของความตา่ งศักยไ์ ฟฟ้าระหวา่ งจุด 2 จุด บนลวด

ตัวนาไฟฟ้า ถ้าจดุ สองจดุ บนลวดตัวนามีความแตกต่างทางศักย์ไฟฟ้าสูงกระแสจะไหลได้มาก ถา้

จดุ สองสดุ ไมม่ คี วามตา่ งศกั ยท์ างไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ กจ็ ะหยดุ ไหล นอกจากนปี้ ระมาณกระแสไฟฟา้

ในวงจรไฟฟ้ายงั มคี วามแตกตา่ งกนั ทง้ั น้ีเน่ืองจากลวดตัวนาท่กี ระแสไฟฟา้ ไหลผา่ น มีความต้านทาน

ไฟฟ้าไมเ่ ท่ากนั จากทีก่ ลา่ วมาจะเห็นวา่ กระแสไฟฟา้ ความต่างศักย์ไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้ามี

ความสมั พนั ธ์กัน

2. มาตรฐานการเรยี นรู้ ว 5.1
สาระการเรยี นรู้ที่ 5 พลังงาน
เขา้ ใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างพลังงานกับการดารงชวี ิต การเปลีย่ นรูปพลังงาน ปฏสิ ัมพนั ธ์

ระหว่างสารและพลงั งาน ผลของการใช้พลังงานตอ่ ชวี ติ และสง่ิ แวดล้อม มกี ระบวนการสืบเสาะหา
ความรูแ้ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ สือ่ สารสิง่ ที่เรยี นร้แู ละนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

สาระการเรยี นรู้ท่ี 8 ธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

มาตรฐานท่ี ว 8. 1 ใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจติ วิทยาศาสตรใ์ นการสืบเสาะหา
ความรู้ การแก้ปญั หา รู้วา่ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติทเ่ี กิดข้นึ สว่ นใหญ่มีรูปแบบท่แี น่นอน สามารถ
อธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ขอ้ มูลและเคร่ืองมือท่มี ีอย่ใู นช่วงเวลานนั้ ๆ เขา้ ใจวา่ วทิ ยาศาสตร์
เทคโนโลยี สังคม และสิง่ แวดลอ้ มมคี วามเกยี่ วขอ้ งสัมพันธ์กนั

1. ตั้งคาถามท่ีกาหนดประเด็นหรือตวั แปรท่ีสาคญั ในการสารวจตรวจสอบ หรอื ศกึ ษา
ค้นควา้ เร่อื งที่สนใจได้อยา่ งครอบคลมุ และเช่อื ถอื ได้

2. สร้างสมมตฐิ านท่สี ามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสารวจตรวจสอบหลายๆ วธิ ี

3. เลือกเทคนิควิธีการสารวจตรวจสอบทั้งเชงิ ปริมาณและเชิงคุณภาพท่ีไดผ้ ลเท่ียงตรงและ
ปลอดภัย โดยใช้วสั ดุและเครื่องมือทีเ่ หมาะสม

4. รวบรวมขอ้ มลู จัดกระทาขอ้ มลู เชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ

5. วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ความสอดคลอ้ งของประจกั ษพ์ ยานกับขอ้ สรปุ ทั้งที่สนบั สนุนหรือ
ขัดแยง้ กบั สมมติฐาน และความผดิ ปกตขิ องข้อมลู จากการสารวจตรวจสอบ

6. สรา้ งแบบจาลอง หรอื รปู แบบ ทอ่ี ธิบายผลหรอื แสดงผลของการสารวจตรวจสอบ

7. สรา้ งคาถามทน่ี าไปสู่การสารวจตรวจสอบ ในเรอื่ งที่เกี่ยวข้อง และนาความร้ทู ไี่ ด้ไปใช้
ในสถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกย่ี วกบั แนวคิด กระบวนการ และผลของโครงหงราือนชน้ิ งานให้ผู้อ่นื เข้าใจ

8. บันทึกและอธิบายผลการสงั เกต การสารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพม่ิ เตมิ จากแหล่งความรู้
ต่าง ๆ ให้ไดข้ ้อมูลทเี่ ชื่อถอื ได้ และยอมรับการเปลีย่ นแปลงความรูท้ ี่ค้นพบเม่อื มีขอ้ มลู และประจกั ษ์
พยานใหม่เพิม่ ขน้ึ หรือโต้แย้งจากเดมิ

9. จัดแสดงผลงาน เขยี นรายงาน และ/หรืออธบิ ายเกยี่ วกบั แนวคิด กระบวนการ และผล
ของโครงงานหรือชน้ิ งานให้ผ้อู ื่นเขา้ ใจ

มาตรฐานการเรียนร้ชู ่วงช้นั
เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งพลงั งานกบั การดารงชีวิต การเปลยี่ นรูปพลงั งาน ปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างสาร
และพลงั งาน ผลของการใช้พลังงานตอ่ ชีวิตและสง่ิ แวดลอ้ ม มีกระบวนกาสรืบเสาะหาความร้แู ละ
จิตวิทยาศาสตร์ ส่อื สารส่งิ ท่เี รยี นรู้และนาความรู้ไปใชป้ ระโยช

3. ตวั ชี้วัด
ทดลองและอธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่างความตา้ นทานไฟฟา้ กระแสไฟฟ้า และความ

ตา้ นทานไฟฟา้ และคานวณปริมาณทเ่ี ก่ียวข้อง
จดุ ประสงค์
1. คานวณความสัมพันธร์ ะหวา่ งกระแสไฟฟา้ ความตา่ งศักย์ไฟฟ้า และความต้านทาน

ไฟฟ้าได้

4. สาระการเรียนรู้ -
สาระแกนกลาง/สาระท้องถ่ิน(ถา้ มี)
ความรู้
กฎของโอห์ม
ทกั ษะ/สมรรถนะ

ทกั ษะการสอื่ สารอยา่ งสรา้ งสรรคต์ ามช่วงวยั
คานวณคา่ พลงั งานไฟฟา้ ตามกฎของโอห์มได้

การบูรณาการ
สาระการเรียนรทู้ ้องถิน่
สาระการเรียนรเู้ กย่ี วกบั อาเซียน -
สาระการเรียนรู้เศรษฐกจิ พอเพยี ง-

5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน
1. ความสามารถในการสื่อสารอยา่ งสรา้ งสรรค์ตามชว่ งวัย
2. ความสามารถในการคิด คดิ วิเคราะห์ และการคิดอย่างเปน็ ระบบ

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ซอ่ื สตั ย์สุจรติ
2. ไผเ่ รียนรู้ ม่งุ มัน่ ในการทางาน
จุดเน้นท่ตี อ้ งการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน
ทกั ษะการส่ือสารอยา่ งสร้างสรรค์ตามชว่ งวยั

7. ช้นิ งาน/ภาระงาน
1. แบบฝึกหัด
2. ปฏบิ ตั ิการทดลอง

8. การวดั ผลและประเมินผล

8.1 การประเมินระหว่างจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

ช้นิ งาน/ภาระงาน วธิ ีการประเมิน เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ
-
1. ทดสอบ4ก1อ่ .นเรยี น 1. ให้นกั เรียนทา 16. 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

2. รายงาน42. 1. สงั เกตพฤติกรรร1ม7น.กั เรยี น 1. แบบประเมนิ ทกั ษะการ 1. นักเรยี นผ่านเกณฑ์
ปฏิบัติการทดลอง
ภายในกลมุ่ ขณะปฏบิ ัติการ ปฏิบตั ิการทดลอง ประเมนิ ตามแบบประเมนิ
43.
ทดลอง และศกึ ษาเ1อ8ก.สาร ทักษะการปฏบิ ัติการทดลอง

ประกอบการเรยี นการสอน อย่างนอ้ ย 50 %

2. ใหน้ ักเรียนเขยี นรายงาน

ผลการศกึ ษากิจกรรมการ

ทดลอง

8.2 การประเมินเมื่อส้ินสดุ การเรียนรู้

ชน้ิ งาน/ภาระงาน วธิ ีการประเมิน เคร่ืองมอื เกณฑ์การประเมิน
1. แบบทดสอบหลัง 1. นกั เรียนทาแบบทดสอบ
1. ทดสอ4บ4ห.ลงั 1. ให้นักเรียนทา เรยี น หลังเรียนได้ผ่านเกณฑ์
ประเมินร้อยละ 80
เรียน แบบทดสอบหลงั เรียน 1. นักเรยี นตอบคาถามของ
ครูไดอ้ ย่างน้อย 50 %
3. ใบงาน4/5. 1. ใหน้ กั เรียนทาแบบฝึกหัด 1. ใบงาน/แบบฝึกหัด 2. นักเรียนผา่ นเกณฑ์ประเมิน
แบบฝกึ หัด หรอื ใบงาน ตามแบบประเมินการแสวงหา
ข้อมลู ของ
46. 1. ใหน้ ักเรยี นสรุป - นักเรียนอย่างน้อย 50 %
4. สมุดบ4นั 7ท.ึก สาระสาคญั ลงในสมดุ 3. นกั เรยี นทาแบบฝกึ หัดได้
คะแนนอย่างน้อย 50 %
48. นักเรียนสรุปสาระสาคญั ลงใน
สมดุ ไดถ้ ูกต้องครบถว้ น


Click to View FlipBook Version